หน้าท่ี 240 บทที่ 8 เครอื่ งมือ วิธกี ารทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 2) การสัมภาษณ์เป็นกลุ่มหรอื การสนทนากลุ่ม (Forcus Group Interview) เปน็ การสัมภาษณท์ ีป่ ระยุกตม์ าจากการอภปิ รายกลุ่มผสมผสานกบั วธิ ีการสัมภาษณ์ที่จะ ไดข้ ้อมลู เชิงปฏิสัมพนั ธ์ของกล่มุ บคุ คลด้วย โดยมีหลกั การเบือ้ งตน้ ในการดาเนนิ การ ดงั นี้ (นงพรรณ พิริยานุพงศ,์ 2546:130-142) (1) จุดมุ่งหมายของการสนทนากลุ่ม มดี งั น้ี (1.1) ใชใ้ นการกาหนดสมมุติฐาน (1.2) ใช้ในการสารวจความคดิ เหน็ เจตคติและคุณลกั ษณะ ทส่ี นใจ (1.3) ใชท้ ดสอบแนวคิดเก่ียวกบั ประเด็น/ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ (1.4) ใชใ้ นการประเมินผลทางธรุ กจิ (1.5) ใช้ในการกาหนดคาถามและทดลองใช้แบบสอบถาม (1.6) ใช้ค้นหาคาตอบที่ยังคลุมเครือที่ไดจ้ ากเครือ่ งมือเกบ็ ขอ้ มลู อื่น ๆ (2) ขนาดของกลุม่ ในการสัมภาษณ์ประมาณ 6-12 คน เพือ่ ให้ สมาชกิ กลมุ่ ไดม้ ีโอกาสในการแสดงความคดิ เห็นอย่างทวั่ ถึง (3) จานวนกลมุ่ ควรคานึงถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการใช้ข้อมูลว่า ตอ้ งการเปรยี บเทียบหรือไม่ อาทิ ตอ้ งการเปรยี บเทยี บความคดิ เหน็ ระหวา่ งเพศ ควรใช้แยกกลุม่ เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลทช่ี ดั เจนและลึกซ้ึง (4) ผ้สู มั ภาษณห์ รือผู้นาสนทนากลมุ่ มบี ทบาทในการช้ีแจง วัตถุประสงค์และกระตนุ้ ให้สมาชกิ กลมุ่ สนทนาทุกคนแสดงความคดิ เหน็ เท่าน้ันไมค่ วรนาความคดิ ของ ตนเอง หรือเชื่อมโยงความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่มสนทนา (5) เวลาทีใ่ ชใ้ นการสนทนากล่มุ อย่างต่อเน่ือง ใช้เวลาประมาณ 1- 2 ช่ัวโมง ถ้าใชเ้ วลานานกวา่ น้สี มาชกิ อาจจะหมดความสนในในประเด็นท่ตี อ้ งการ (6) การบันทกึ ข้อมลู ควรใชว้ ธิ กี ารจดบนั ทกึ ข้อมูล ประกอบ กบั การบันทึกเทป/วดี ีทศั น์เพื่อนามาเก็บรายละเอียดของข้อมลู แต่ควรได้รบั การอนุญาตจาก สมาชิกกลุ่ม (7) ผจู้ ดบนั ทึกตอ้ งบันทกึ ผังการนั่งสนทนา/จดบนั ทกึ ข้อมลู (เพียงอยา่ งเดยี วเท่าน้นั )และเป็นผู้ถอดเทปด้วยตนเองเพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจทสี่ อดคล้องกัน ซงึ่ การสัมภาษณเ์ ปน็ กลุ่ม มขี อ้ ดี-ขอ้ จากัด ดังแสดงในตารางท่ี 8.4 (Issac and Michael,1982 :131)
ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 241 ตารางท่ี 8.4 ขอ้ ดี-ข้อจากัดของการสมั ภาษณ์เป็นกลุ่ม ขอ้ ดี ข้อจากดั 1. ประหยดั ค่าใช้จ่ายและแรงงาน 1.ย่งุ ยากในการนดั หมายผใู้ ห้สมั ภาษณ์ 2. ได้ข้อมูลของสมาชิกที่แสดง ทจ่ี ะมาพรอ้ มกัน พฤติกรรมกลุ่ม 2. กลุ่มมีความคิดเหน็ ท่สี อดคล้องกนั 3. รบั ทราบแบบแผนการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ โดยขาดเหตุผล ของกลุ่ม 3. จากดั ความคดิ ของบคุ คลท่ีมี 4. เปน็ การระดมสมองทท่ี าให้ได้ ความเกรงใจหรือเคารพในสถานภาพ คาตอบทมี่ คี ุณภาพเน่ืองจากมีการ ของบุคคลในกล่มุ ชี้แจงในประเดน็ ท่ีไมช่ ัดเจน 4. ผทู้ ่ีมีความอ่อนแอทางความคดิ จะ ไดร้ บั การครอบงาจากผู้ท่ีมคี วามคดิ ทเ่ี ขม้ แข็ง 3.3.3 หลักการสัมภาษณ์ทีด่ ี ในการสัมภาษณ์เพ่ือให้ไดข้ ้อมูลตามท่ีต้องการอยา่ งมีประสิทธภิ าพ มีหลกั การ ในการปฏิบตั ิ ดังนี้ 3.3.3.1 กาหนดจดุ มุง่ หมายและข้ันตอนในการสมั ภาษณใ์ หช้ ดั เจน ว่าใน การสัมภาษณต์ ้องการข้อมลู อะไร กาหนดคาถามอะไรก่อน-หลงั และการใช้แบบสมั ภาษณ์ท่มี ี โครงสร้างจะทาให้ได้ขอ้ มลู ที่ครบถว้ น สมบรู ณ์ และวิเคราะหข์ ้อมูลได้งา่ ยกว่า 3.3.3.2 ผ้สู มั ภาษณจ์ ะต้องเตรียมตัวและวสั ดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ให้พรอ้ ม กล่าวคอื ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์จะต้องศกึ ษาในประเด็นทตี่ ้องการสมั ภาษณ์ให้ชดั เจน กว้างขวางและลกึ ซึง้ และประวัติ สว่ นตัวหรือลกั ษณะพิเศษของผู้ใหส้ มั ภาษณ์จะไดส้ ร้างบรรยากาศในการให้ข้อมูล พรอ้ มทั้งจัดเตรยี ม วสั ดอุ ุปกรณ์ อาทิ เทปบันทึกเสยี ง หรอื กลอ้ งถ่ายรูปฯลฯ ให้พรอ้ มและสามารถใชง้ านได้เม่อื ต้องการ 3.3.3.3 การจัดเตรยี มผู้ใหส้ มั ภาษณ์ทจ่ี ะต้องคดั เลือกผู้ที่มีและสามารถใหข้ ้อมูลที่ ต้องการอย่างแท้จรงิ โดยการศกึ ษาประวตั ิเปน็ รายบุคคลทั้งอดตี และปัจจุบนั วา่ มีความสัมพันธ์กบั ข้อมูลท่ีต้องการมากหรอื น้อยเพยี งใด มีความลาเอียงทจ่ี ะบิดเบือนข้อมูลท่ีใหห้ รอื ไม่ 3.3.4 กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยการสัมภาษณ์ สนิ พนั ธ์พุ ินจิ (2547:220-222) ไดน้ าเสนอกระบวนการเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดย การสัมภาษณ์ ท่ีประกอบด้วยการเตรยี มสัมภาษณ์ การสมั ภาษณ์ และการตดิ ตามการสัมภาษณ์ ดงั แสดงในภาพท่ี 8.5(สิน พันธ์พุ นิ จิ ,2547:222)
หนา้ ที่ 242 บทท่ี 8 เครอ่ื งมือ วธิ กี ารทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู การเตรียมสัมภาษณ์ กระบวนการเก็บข้อมลู การตดิ ตามการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์ ภาพที่ 8.5 กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการสัมภาษณ์ 3.3.4.1 การเตรียมสัมภาษณ์ เป็นขนั้ ตอนในการวางแผน/กาหนด วัตถปุ ระสงค์วา่ จะสัมภาษณ์ ใคร ทไี่ หน เมื่อไร และอย่างไรใหช้ ัดเจน และจัดเตรียมวัสดุอปุ กรณ์ ผู้ชว่ ยวจิ ยั หรือยานพาหนะ ฯลฯ โดยมขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) กาหนดวัตถปุ ระสงค์และวางแผนการสัมภาษณ์ โดยให้ระบุ วัน-เวลา สถานที่และผู้ให้สัมภาษณ์ทชี่ ัดเจน 2) ประสานงานกับผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ หน่วยงาน และผู้ทเี่ กีย่ วข้อง 3) เตรียมเครอื่ งมือในการสมั ภาษณ์ อาทิ แบบสัมภาษณ์ กล้องถ่ายรปู เทปบนั ทึกเสียง ปากกา/ดินสอ ฯลฯ 4) มกี ารฝกึ อบรมผูส้ ัมภาษณ์ในกรณที ่ีมผี ู้สัมภาษณ์หลายคน เพอื่ ให้ความเข้าใจในประเด็นทีต่ ้องการสอดคลอ้ งกัน ดงั น้ี(นงพรรณ พริ ิยานุพงศ,์ 2546 : 110) (1) อธิบายใหท้ ราบวตั ถุประสงคแ์ ละความจาเปน็ ที่ตอ้ งสารวจ ข้อมลู วา่ มีอย่างไรใหม้ ีความเข้าใจอยา่ งชดั เจน (2) ใหผ้ สู้ มั ภาษณท์ ุกคนเขา้ ใจในข้อคาถามที่ถกู ต้อง/ สอดคลอ้ งกัน โดยการชีแ้ จงข้อคาถามตามแบบสอบถามทีละประเด็น พรอ้ มการใชเ้ ทคนิคในการถาม (3) ใหผ้ ูส้ ัมภาษณร์ ับทราบประเภทของข้อมูลในแตล่ ะข้อทจี่ ะ นามาวิเคราะหเ์ พ่ือให้เกบ็ รวบรวมข้อมลู ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (4) ให้ศกึ ษาสภาพท้องถ่นิ และลักษณะของสงั คมทจี่ ะไป สัมภาษณ์ เพื่อเป็นการเตรียมตัว (5) พยามยามปรบั ตวั ให้เขา้ กบั คณะ มีความอดทน เสียสละ (6) รกั ษาระเบยี บวนิ ยั ของหมูค่ ณะ รักษาเวลา/มารยาท หรือ การใช้ภาษาที่ถูกต้องและเหมาะสม กับผใู้ ห้สัมภาษณ์ (7) การบริหารจัดการในการสมั ภาษณ์ อาทิ การแบ่งกลุ่ม การเลือกหวั หนา้ กลุ่ม เวลานดั หมาย การรบั -ส่ง ฯลฯ ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 243
5) ประชมุ ผู้สัมภาษณ์ เพือ่ รับทราบแผนปฏบิ ตั กิ ารและแนวทาง การเก็บข้อมลู ค่าใช้จ่าย และกาหนดนดั หมายทีช่ ดั เจน พร้อมท่จี ะสมั ภาษณ์ 3.3.4.2 การสมั ภาษณ์ ในการสัมภาษณผ์ ู้สัมภาษณค์ วรไปใหท้ นั เวลา กาหนดการทไ่ี ดน้ ัดหมายกบั ผู้ให้สัมภาษณ์ โดยมกี ารแตง่ กายให้เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมในทอ้ งถิน่ พร้อมดว้ ยวัสดอุ ุปกรณ์ทจ่ี ดั เตรียมไว้ มีขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) แนะนาตนเอง พรอ้ มกับช้แี จงวตั ถปุ ระสงค์/ความสาคญั ขอบเขตและประโยชนข์ องการให้ข้อมูล และสนทนาเรื่องท่ัว ๆ ไปเพือ่ เป็นการสรา้ งความคุน้ เคย 2) ใช้คาถามท่ชี ดั เจนโดยใช้ภาษาพดู หรอื ภาษาท้องถิน่ ทสี่ ภุ าพ ทีละคาถาม และใหค้ าอธบิ ายกรณีทผี่ ู้ให้สัมภาษณไ์ ม่เขา้ ใจ 3) ใช้การสงั เกตพฤติกรรมระหว่างการให้ข้อมูลวา่ ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ ใหข้ ้อมลู ท่ีเป็นจรงิ หรอื ไม่ ถ้าพบว่าไม่แนใ่ จให้ปรบั เปลี่ยนประเด็นคาถามใหม่เพื่อให้ไดข้ ้อมลู ท่แี ทจ้ รงิ 4) ไมค่ วรซักถามข้อมูลท่สี ามารถเก็บรวบรวมได้โดยใช้การสงั เกต อาทิ เพศ บา้ นเลขท่ี ลักษณะของบา้ น เป็นต้น 5) ไมค่ วรใช้เวลาเกนิ ไปในการสัมภาษณ์และควรหยดุ พัก เมื่อพิจารณาสงั เกตเหน็ ผใู้ ห้สัมภาษณไ์ มค่ ่อยใหค้ าตอบ และผสู้ มั ภาษณ์จะไมแ่ สดงอาการเบื่อหน่ายใน การซกั ถาม 6) พยายามให้ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ให้ข้อมูลมาก ๆ โดยผู้สมั ภาษณ์เป็น ผฟู้ ังท่ีดี แต่มวี ธิ ีการกระตนุ้ ให้ผใู้ หส้ มั ภาษณ์พูด/แสดงความคดิ เหน็ ในประเด็นข้อมลู ทีต่ ้องการ 7) ไม่แสดงอาการเบ่ือหน่ายในขณะฟงั คาให้สัมภาษณ์ทอี่ าจจะ เกี่ยวขอ้ งหรือไมเ่ ก่ียวข้องกบั ประเดน็ ท่ีต้องการ 8) จดบนั ทกึ ข้อมลู ตามที่ได้รบั ตามความเป็นจริงโดยไม่ต้องแปล ความหรอื ขยายความเพราะมิฉะนน้ั จะทาให้เกดิ ความคลาดเคลื่อน 9) ถา้ การสัมภาษณ์จาเปน็ จะต้องถ่ายรปู หรือบันทึกเสียงควรจะต้อง ขออนญุ าตและไดร้ ับการอนญุ าตจากผู้ให้สัมภาษณ์ก่อน 10) เมื่อจะส้นิ สุดการสัมภาษณ์ผูส้ ัมภาษณค์ วรแจ้งข้อมลู /ผลการ สัมภาษณใ์ หแ้ กผ่ ใู้ ห้สมั ภาษณ์ไดร้ ับทราบเพ่ือเพ่ิมเตมิ หรอื แก้ไขข้อมลู /ประเด็นในการสัมภาษณท์ ่ียัง ไมช่ ัดเจน 11) การปิดการสัมภาษณ์ เป็นการดาเนนิ การน้ี (1) กล่าวขอบคณุ ผู้ใหส้ ัมภาษณ์ท่ีใหค้ วามอนเุ คราะห์ใหข้ อ้ มูล กอ่ ใหผ้ ู้ใหส้ มั ภาษณเ์ กิดเจตคติที่ดใี นการให้สมั ภาษณแ์ ก่ผู้อืน่ ต่อไปในอนาคต หรอื ให้ความร่วมมอื ใน โอกาสทต่ี ้องการได้รับขอ้ มูลเพิม่ เตมิ (2) ทบทวนความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของข้อมูลทไ่ี ดร้ บั โดยการแจง้ ข้อมูลให้ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ไดร้ ับทราบเพ่อื ความชัดเจน หรือแก้ไขปรับปรงุ ข้อมูลให้ถกู ต้อง มากขึ้น
หน้าท่ี 244 บทท่ี 8 เครื่องมือ วธิ กี ารทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 3.3.4.3 การติดตามการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยจะต้องมกี ารติดตามการสมั ภาษณ์ ของผสู้ ัมภาษณ์อย่างใกลช้ ิดว่าไดด้ าเนนิ การตามแผนปฏบิ ัตกิ ารหรือไม่ และได้จานวนผู้ให้สัมภาษณ์ ครบตามจานวนที่ต้องการหรือไม่(ร้อยละ 85-90) ถ้าไมค่ รบตามจานวนจะต้องมาดาเนนิ การตาม ข้ันตอนใหมเ่ พื่อให้ได้ข้อมลู จากผสู้ ัมภาษณท์ เ่ี พยี งพอตามวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 3.3.5 การจดบันทึกในการสมั ภาษณ์ ในการจดบนั ทึกข้อมูลในการสมั ภาษณ์ ผูส้ มั ภาษณ์จะต้องดาเนินการดังน้ี (นภิ า ศรีไพโรจน์,2531:100) 3.3.5.1 จดบนั ทึกข้อมูลทนั ทหี ลงั จากเสร็จสน้ิ การสัมภาษณเ์ พื่อป้องกัน การลืมสาระสาคัญของข้อมลู ระหวา่ งการสัมภาษณ์ 3.3.5.2 จดบนั ทึกข้อมูลเฉพาะเนือ้ หาสาระทสี่ าคัญเทา่ นนั้ โดยไม่ตอ้ งแสดง ความคดิ เหน็ ผ้สู มั ภาษณป์ ระกอบ เพราะอาจจะทาใหข้ ้อมูลมีอคติ 3.3.5.3 อย่าเว้นขอ้ คาถามใหว้ า่ งในแบบฟอรม์ การสัมภาษณ์โดยไม่มีการ จดบนั ทกึ ถ้าไม่มีคาตอบควรบันทึกสาเหตุว่าเพราะเหตุใด 3.3.5.4 บนั ทึกผลโดยใช้ภาษาของผู้ใหส้ ัมภาษณ์ แต่ถ้ายาวมากควรบนั ทึก เนือ้ หาสาระทีต่ อ้ งการ และใช้ภาษาท่ชี ัดเจน ไม่คลมุ เครือ 3.3.5.5 ข้อความทบ่ี นั ทึก จะประกอบด้วย 1) ชอื่ -นามสกลุ และท่ีอยู่ 2) วนั -เดือน-ปี ทสี่ ัมภาษณ์ 3) ผลการสัมภาษณ/์ ข้อสงั เกตขณะสัมภาษณ์ หรือข้อเสนอแนะ ของผู้ให้สมั ภาษณ์ 4) สรุปผลการสมั ภาษณ์ 3.3.6 ลักษณะของผสู้ ัมภาษณท์ ดี่ ี ในการสัมภาษณใ์ ด ๆ ผสู้ ัมภาษณ์ เป็นเครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ที่ควรจะ มลี ักษณะ ดงั น้ี(นภิ า ศรีไพโรจน,์ 2531:101) 3.3.6.1 มมี นุษยสัมพันธ์ทีด่ ี เป็นผู้ที่มอี ธั ยาศยั ดี ย้มิ แยม้ แจ่มใสในระหว่าง การสนทนา และสามารถทางานร่วมกับผ้อู ่ืนได้เป็นอย่างดี มีประสทิ ธิภาพ 3.3.6.2 มบี ุคลกิ ลักษณะทดี่ ี เปน็ ผู้ที่มกี ิริยาสภุ าพ เรียบรอ้ ย วางตวั ได้ เหมาะสมกับกาลเทศะ การพูดจาทไ่ี พเราะ อ่อนหวาน ฯลฯ จะทาให้ได้รับข้อมูลที่มปี ระสิทธิภาพจาก ผ้ใู หส้ มั ภาษณด์ ว้ ยความเต็มใจและพงึ พอใจ 3.3.6.3 มคี วามว่องไวในการรับรู้/ไหวพรบิ ดี เปน็ ผทู้ ่มี ปี ระสาทในการรับรูท้ ด่ี ี รวดเรว็ และสามารถแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดข้ึนเฉพาะหนา้ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3.3.6.4 มีความอดทน เปน็ ผทู้ ่ีอดทนตอ่ ความยากลาบากในการเดินทางไป สมั ภาษณ์ การรอคอยผู้ใหส้ มั ภาษณ์ และการซกั ถามเพือ่ ให้ไดร้ ับข้อมูลในระหว่างการสัมภาษณ์ โดย ไมแ่ สดงกิรยิ าอาการที่เบือ่ หน่าย
ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 245 3.3.6.5 มคี วามซอื่ สตั ย์ เปน็ ผทู้ ี่มีความซื่อสัตยต์ ่อตนเองในการจดบันทึก ข้อมูลตามความเป็นจริง และตอ่ ผู้อ่ืนในการแจ้งผลการสมั ภาษณใ์ ห้ผู้ใหส้ ัมภาษณไ์ ด้รับทราบและ ปรบั ปรงุ แก้ไข 3.3.6.6 มีความยุตธิ รรม เปน็ ผทู้ มี่ คี วามยุติธรรมในการปฏิบตั ิตนต่อผู้ให้ สมั ภาษณ์ทุกคนอยา่ งเท่าเทียมกนั และไมม่ ีอคติตอ่ ข้อมูลที่ไมส่ อดคลอ้ งกับความคิดเหน็ ของตนเอง 3.3.6.7 มีความละเอยี ดรอบคอบ เป็นผ้ทู ส่ี ามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจาก การสมั ภาษณ์ได้อยา่ งครบถว้ นตามประเด็นสาคญั ที่กาหนด ท้งั จากการซกั ถามและการสังเกตสภาวะ แวดลอ้ มในระหวา่ งการสัมภาษณเ์ พื่อนาข้อมลู มาประกอบการพิจารณาสรปุ ผล 3.3.6.8 มีความรูค้ วามเขา้ ใจในแบบสมั ภาษณ์ เปน็ ผู้ทม่ี ีความเข้าใจใน ประเด็นที่กาหนดในแบบสมั ภาษณ์อยา่ งชัดเจน และสามารถใชแ้ บบสัมภาษณใ์ นการสมั ภาษณไ์ ด้ อยา่ งคล่องแคล่ว 3.3.6.9 มคี วามสนใจในการสมั ภาษณ์ เป็นผ้ทู ่ใี หค้ วามสนใจในประเด็น ท่จี ะสมั ภาษณ์/ข้อคาถามทาใหส้ ามารถซักถามผ้ใู หส้ ัมภาษณเ์ พื่อใหไ้ ดร้ ับข้อมลู ตามวัตถุประสงค์ 3.3.7 ลกั ษณะของการใชค้ าถามในการสมั ภาษณ์ ในการใช้คาถามในการสมั ภาษณ์ไดจ้ าแนกลกั ษณะการใชค้ าถามตามช่วงเวลา การสมั ภาษณ์ ดงั น้ี(โยธนิ แสวงดี,2541 :143) 3.3.7.1 คาถามสร้างความคนุ้ เคย เปน็ คาถามที่กาหนดข้นึ ในช่วงเริ่มต้น ของการสัมภาษณเ์ พ่ือสร้างความคุ้นเคย/บรรยากาศทีเ่ ป็นกันเองระหวา่ งผ้สู ัมภาษณ์กบั ผู้ให้สมั ภาษณ์ โดยท่ผี สู้ ัมภาษณแ์ นะนาตนเอง/ทีมงานแล้วใหผ้ ู้ให้สมั ภาษณไ์ ด้แนะนาตนเอง และนาสนทนา ในเร่ืองท่วั ๆ ไป 3.3.7.2 คาถามหลกั ทเ่ี ฉพาะเจาะจง เป็นคาถามทกี่ าหนดขึ้นใชใ้ นระหว่าง การสัมภาษณ์ทเ่ี กยี่ วกับประเดน็ หลักทีต่ อ้ งการคาตอบอย่างแท้จริง ทผ่ี ้สู มั ภาษณ์จะต้องมี ความเข้าใจอยา่ งชัดเจนลึกซง้ึ ทจ่ี ะสามารถนามาใช้เปน็ ประเด็นในการสนทนาไดอ้ ย่างต่อเนือ่ ง และเป็นไปตามธรรมชาตใิ หม้ ากทส่ี ดุ 3.3.7.3 คาถามสร้างผ่อนคลาย/เพ่ิมเติม เป็นคาถามที่กาหนดขึน้ เมื่อผู้ สัมภาษณพ์ ิจารณาว่าได้รับข้อมลู จากการสัมภาษณเ์ พยี งพอแล้ว ทอ่ี าจจะเปน็ การสรุปข้อมูลท่ไี ดร้ ับ เพ่ือให้ผ้ใู หส้ ัมภาษณ์ได้ทบทวนคาตอบทใี่ ห้ข้อมูลดว้ ยตนเอง หรอื การกลา่ วเพอื่ แสดงการขอบคุณ/ มอบของท่รี ะลึก และการเปดิ โอกาสใหใ้ นภายหลังในกรณีต้องการได้รับข้อมูลเพิ่มเติม ดังแสดงลักษณะของคาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ในภาพที่ 8.6(โยธนิ แสวงด,ี 2541: 143)
หน้าที่ 246 บทท่ี 8 เครอ่ื งมือ วิธีการท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู คาถามหลัก คาถามเฉพาะเจาะจง เริม่ ต้นการสัมภาษณ์ ระหว่างการสมั ภาษณ์ สิน้ สดุ การสมั ภาษณ์ คาถามสรา้ งความคุ้นเคย คาถามสรา้ งผอ่ นคลาย คาถามเพิม่ เตมิ ภาพที่ 8.6 ลกั ษณะของคาถามท่ีใชใ้ นการสัมภาษณ์ เทียนฉาย กรี ะนันท์(2544 : 103) ได้เสนอวิธีการซกั ถามในการสัมภาษณ์ มีดังนี้ 1) การซักถามเพื่อให้ได้ประเดน็ ท่สี มบูรณม์ ากย่ิงขนึ้ อาทิ มีขอ้ มูลท่ีต้องการจะ เพม่ิ เติมอีกไหมครบั ฯลฯ 2) การซักถามเพ่ือให้ไดป้ ระเดน็ ที่ชัดเจนเพิม่ ข้ึน อาทิ กรุณาอธิบายเพิ่มเตมิ หรอื ยกตัวอย่างประกอบด้วย ฯลฯ 3) การซักถามเพ่ือให้ไดป้ ระเดน็ ที่มีรายละเอยี ดที่ตอ่ เนื่อง ลึกซ้งึ อาทิ รับทราบ ข้อมลู มาจากไหน มคี วามคดิ เห็นอยา่ งไรต่อประเดน็ น้ี ฯลฯ 4) การซักถามที่มีการกาหนดขอ้ สมมุตทิ ี่เป็นเง่ือนไข อาทิ สมมตุ ใิ ห้ท่านมีโอกาส เลือกท่านจะเลือกเป็น..........ฯลฯ 5) การซักถามเพื่อให้ไดป้ ฏิกิริยาโตต้ อบของผ้ใู หส้ ัมภาษณท์ ่ีจะมตี ่อสถานการณ์ ทก่ี าหนดขนึ้ หรือให้ไดข้ ้อมลู ท่ีซ่อนเร้นในความคิดนน้ั ๆ อาทิ...........คุณเหน็ ด้วยหรอื ไม่ อย่างไร ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ(2538:135)ไดน้ าเสนอว่าในการสัมภาษณ์เพ่ือให้ได้รบั ข้อมลู ตามวตั ถุประสงค์ ผสู้ มั ภาษณ์ควรใช้คาถามที่มีลักษณะดงั น้ี 1) การสัมภาษณ์ตอ้ งใชเ้ ทคนิคคาถามที่ยั่วยุให้ผใู้ ห้สมั ภาษณ์ต้องการตอบคาถาม ด้วยความเตม็ ใจ 2) การใชค้ าถามที่ตรงประเด็น ชัดเจนไม่กากวมเพอ่ื ใหผ้ ใู้ หส้ ัมภาษณ์ให้คาตอบ ทต่ี รงประเดน็ 3) การใช้คาถามที่มคี วามเชือ่ มน่ั สงู หมายถึง การใชค้ าถามเดิมจะไดค้ าตอบที่ เหมอื นเดมิ 4) คาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ควรจะได้คาตอบท่ีสามารถนาไปใช้อ้างอิงใน กรณที ี่คล้ายคลึงกันไดเ้ ป็นอย่างดี
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 247 3.3.8 วิธีวเิ คราะห์และสรปุ ผลจากการสัมภาษณ์ หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสมั ภาษณ์ จะมกี ารนาข้อมูลมาวิเคราะห์และ สรุปผล ดงั น้ี(ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกูล,2543 :177) 3.3.8.1 ตรวจสอบขอ้ มูลเบอ้ื งต้น ว่านา่ เช่ือถอื เพียงใด มหี ลักฐานใดใน การพจิ ารณาประกอบ ดังนี้ 1) ใช้เทคนิคการวเิ คราะห์เน้ือหา(Content Analysis) 2) พิจารณาความเชอื่ มโยงระหวา่ งขอ้ มลู 3.3.8.2 ลดทอนข้อมูลจากรายละเอียดไปส่ภู าพรวมท่ีแสดงแบบแผนของ ความคดิ หรือพฤติกรรม 3.3.8.3 ในกรณกี ารสัมภาษณก์ ลุ่ม ข้อมลู ที่สรปุ จะต้องเป็นภาพรวมของกล่มุ ท่ีสะท้อนอิทธิพลของปฏสิ ัมพันธ์ทีเ่ กดิ ขึ้นภายในกลมุ่ ดว้ ย 3.3.8.4 การนาเสนอข้อมูล ทง้ั ในการสัมภาษณ์รายบุคคลหรือรายกลมุ่ จะ ใชว้ ิธีการบรรยาย ท่ีเสรมิ ดว้ ยคาพดู ของให้ผูส้ มั ภาษณ์บางตอนที่เน้นความหมายใหเ้ กดิ ความชัดเจน มากยิง่ ข้นึ 3.3.9 ข้อดแี ละขอ้ จากดั ของการสมั ภาษณ์ มีดังนี้ ในการใชส้ มั ภาษณเ์ พอ่ื เกบ็ รวบรวมข้อมลู มีข้อดแี ละข้อจากดั ดงั น้ี (นิภา ศรีไพโรจน์ ,2531 : 101-102 ; นงพรรณ พิรยิ านพุ งศ,์ 2546 : 127-128) 3.3.9.1 ข้อดีของการสัมภาษณ์ มีดงั น้ี 1) แก้ปัญหาการไดร้ ับแบบสอบถามสง่ กลับคนื มาค่อนข้างน้อย 2) สามารถให้คาช้แี จงเพ่ิมเติมในข้อคาถามท่ผี ู้ใหข้ ้อมูลเกิด ความสงสยั ใหม้ คี วามชัดเจนมากข้นึ และซักถามข้อมูลเพิ่มเติมเม่ือพจิ ารณาวา่ ยังได้รับข้อมลู ไมค่ รบถ้วน 3) นาไปใชไ้ ด้กบั ผูใ้ ห้สัมภาษณ์อยา่ งหลากหลายลักษณะ และ มคี วามเหมาะสมทจี่ ะนาไปใช้กบั บคุ คลทอ่ี ่านและเขียนหนังสือไม่ได้ 4) ใช้การสงั เกตในระหวา่ งการสมั ภาษณ์ทั้งบคุ ลิกภาพ แววตา กริ ิยาท่าทางของผูใ้ ห้สัมภาษณ์ และสภาวะแวดล้อมที่จะนามาประกอบการพจิ ารณาสรุปผลขอ้ มลู 5) ผใู้ ห้สมั ภาษณม์ คี วามพยายามที่จะใหข้ ้อมูล เนอื่ งจากเป็นการ ให้ขอ้ มลู แบบเผชิญหนา้ 3.3.9.2 ขอ้ จากัดของการสัมภาษณ์ มีดังน้ี 1) ตอ้ งใช้เวลา แรงงาน และงบประมาณจานวนมาก โดยเฉพาะ ผู้ใหส้ มั ภาษณท์ ี่อย่หู า่ งไกลกัน 2) ผู้ให้สัมภาษณ์ อาจจะเกดิ ความละอายในการให้ขอ้ มลู บางลกั ษณะที่ต้องการความเป็นส่วนตัว 3) ผู้สัมภาษณจ์ ะต้องเป็นบคุ คลท่มี มี นุษยสัมพนั ธ์ทีด่ ี จงึ จะทาให้ ไดร้ บั ความรว่ มมือในการให้ข้อมูลท่ถี ูกต้อง ชัดเจน และครบถว้ น
หน้าที่ 248 บทที่ 8 เคร่อื งมือ วิธีการทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4) กรณใี ชแ้ บบสมั ภาษณ์แบบไม่มีโครงสรา้ งทาให้ข้อมูลทีน่ ามา วเิ คราะหค์ ่อนข้างย่งุ ยากโดยเฉพาะกรณีที่มผี สู้ ัมภาษณ์หลายคน 5) ขจัดอคติของผสู้ ัมภาษณ์ท่ีมตี อ่ ผ้ใู ห้สัมภาษณ์ไดย้ ากในกรณี รู้จักกันเปน็ สว่ นตัว 6) ภาษาของผสู้ ัมภาษณ์และผูใ้ ห้สัมภาษณ์ในการส่ือความหมาย ทีไ่ มส่ อดคล้องกันก่อให้เกดิ ความเข้าใจท่ีคลาดเคล่อื น 3.3.10 การหาประสิทธภิ าพของการสมั ภาษณ์ 3.3.10.1 ความเทย่ี งตรงของการสมั ภาษณ์ พิจารณาได้จากเนอ้ื หา สาระในข้อคาถามที่กาหนดท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์/ประเดน็ ของการสมั ภาษณ์ และจะตอ้ งได้รบั มาอยา่ งครบถ้วน สมบูรณ์ โดยใหผ้ ู้เช่ียวชาญเป็นผู้พจิ ารณาตรวจสอบ 3.3.10.2 ความเชอื่ มั่นจะตรวจสอบได้จากการหาความสอดคล้องของ การตอบจากการสัมภาษณ์มดี ังน้(ี วิเชยี ร เกตสุ ิงห,์ 2530 :122-124) 1) การสมั ภาษณซ์ า้ เป็นการสัมภาษณ์ซา้ โดยให้ผู้สมั ภาษณ์ คนเดียวไปสัมภาษณ์ผใู้ หส้ ัมภาษณ์คนเดียวแล้วนาผลมาหาคา่ สหสมั พนั ธ์ หรือค่ารอ้ ยละของ ความคงที่ในการตอบ ถ้าพบว่ามีค่าสหสมั พันธ์หรือค่าร้อยละของความคงท่ีในการตอบสงู แสดงวา่ การสัมภาษณม์ คี วามเช่อื มั่นสูง 2) การสมั ภาษณ์โดยใชผ้ สู้ ัมภาษณ์หลายคน เปน็ การสมั ภาษณ์โดยใชผ้ ู้สมั ภาษณ์หลายคนเก็บข้อมลู โดยใช้ข้อมูลชดุ เดยี วกัน แล้วนาข้อมลู มาหา ความสอดคล้องระหวา่ งข้อมูลที่ได้ โดยใชว้ ธิ ีการของแคลดอล(Kendall) หรือวิธีการวิเคราะห์ ความแปรปรวนของฮอยส์ 3.4 การสังเกต 3.4.1 ความหมายของการสังเกต การสงั เกต(Observation) เป็นการใช้ประสาทสัมผัสท้งั ห้า(ตา หู จมกู ลน้ิ และ รา่ งกาย) ในการสงั เกตหรือศึกษาพฤตกิ รรมและปรากฏการณต์ ่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ้น ท่ีได้รบั การกระตนุ้ หรอื ไม่กระตนุ้ กไ็ ด้ เพื่อหาข้อสรุปหรือข้อเท็จจรงิ ทตี่ ้องการทราบ(บญุ ธรรม กจิ ปรดี าบริสุทธ์ิ, 2534 : 39) การสังเกต เป็นวิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู ที่เปน็ การกระทา กิรยิ าอาการ หรอื พฤติกรรมที่สามารถใช้ประสาทสัมผัสและเครื่องมือช่วยในการรบั ร้แู ละจดบันทึกเป็นข้อมูลได้ (นงลักษณ์ วริ ชั ชัย,2543 : 69) การสังเกต เปน็ การเฝา้ ดูสงิ่ ท่เี กิดขน้ึ /ปรากฏการณ์อยา่ งเอาใจใสแ่ ละกาหนดไว้อย่างมี ระเบยี บวิธเี พือ่ วิเคราะห์หรือหาความสัมพันธ์ของสง่ิ ที่เกดิ ขน้ึ กับส่ิงอื่น ๆ(นงพรรณ พิรยิ านพุ งศ์, 2546 : 80)
ระเบียบวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 249 การสงั เกตเป็นการเก็บรวบรวมข้อมลู ท่เี กีย่ วกับปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมท่ีใช้ ประสาทสัมผัสของผู้สงั เกต ซึ่งการสังเกตจะต้องกระทาโดยทผ่ี ูถ้ กู สงั เกตไม่รตู้ ัวจงึ จะทาใหไ้ ดร้ บั ข้อมูล ทเี่ ป็นจริง และความสาเร็จของการสังเกตข้ึนอยู่กบั ประสาทสมั ผัสของผู้สงั เกต ทจี่ ะต้องใช้ประสาท สมั ผสั ท้งั หา้ การตีความพฤติกรรม การบันทึกข้อมูลอย่างรวดเร็ว ละเอียด และจะต้องไม่มอี คติตอ่ การสรุปข้อมลู ที่ได้รับข้อมูล(กฤติยา วงศ์ก้อม,2545:110) การสงั เกต หมายถงึ การเฝา้ ดอู ย่างเอาใจใส่ การพิจารณาและกาหนดไว้อยา่ งมี ระเบยี บวิธี การเฝา้ ดแู ละกาหนดอย่างแม่นยาในส่งิ ที่เกิดขึน้ เพ่อื หาความสัมพนั ธ์หรอื ความสัมพันธ์ เชิงสาเหตทุ ่เี กดิ ขึน้ (อาธง สุทธาศาสน์,2527 : 152 ) 3.4.2 ระบบการสงั เกต แอนเดอรส์ ันและเบริน์(Anderson and Burn,1989 : 135) ไดน้ าเสนอระบบ การสังเกตท่ปี ระกอบดว้ ยบทบาทของผสู้ ังเกตและสิง่ ทีส่ งั เกต ดงั แสดงในภาพที่ 8.7(Anderson and Burn,1989 : 135) ผู้สังเกต บันทึกอย่างเดียว สิ่งทีส่ ังเกต การสงั เกต การสังเกต สิง่ สงั เกตขน้ึ กับ ระบุไว้ลว่ งหน้า แบบมีโครงสรา้ ง แบบไมม่ โี ครงสรา้ ง ผูส้ งั เกต ผู้สังเกต บันทึกและตคี วาม ภาพที่ 8.7 บทบาทของผ้สู ังเกตและสิง่ ท่จี ะสังเกต จากภาพท่ี 8.7 สามารถอธบิ ายรายละเอียดเกี่ยวกับบทบาทของผ้สู งั เกต จาแนกเป็น 2 ลักษณะ ดงั น้ี 1) ผูส้ งั เกตท่ีเป็นผบู้ ันทกึ อย่างเดียว จะตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีประสาทสมั ผัสท่ีดใี นการเก็บรายละเอียด ของขอ้ มูลแลว้ จดบันทึกโดยไม่ตอ้ งตีความหมาย เพ่ือปอ้ งกันความมีอคติ 2) ผสู้ งั เกตทเี่ ป็นผู้บันทกึ และตคี วาม จะต้องเปน็ ผทู้ ่ีมปี ระสบการณ์สูงและใช้ เทคนิคการสงั เกตที่เน้นภาพรวมของปรากฏการณ์(Holistic View)ในระหวา่ งการสงั เกต ท่ีเปรยี บเสมอื นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เบื้องตน้
หน้าท่ี 250 บทที่ 8 เครื่องมือ วธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.4.3 ประเภทของการสงั เกต จาแนกได้ ดงั น้ี 3.4.3.1 จาแนกตามโครงสร้างของเครื่องมือที่ใช้ 1) การสังเกตแบบมโี ครงสรา้ ง (Structured Observation) เป็น การสังเกตทีม่ รี ายละเอียดพฤตกิ รรมหรอื ปรากฏการณ์ท่ไี ด้ระบุไว้ล่วงหนา้ เปน็ การสงั เกตที่มีระบบ ชัดเจน โดยจะใชเ้ ครือ่ งมือท่ีได้สรา้ งไวอ้ ย่างเป็นมาตรฐานให้ผสู้ งั เกตได้ใชเ้ ป็นคมู่ ือการสงั เกต และจดบันทึก โดยมีหลักการเบอ้ื งต้นและข้อดแี ละข้อจากัดในการใช้ ดงั น้ี (1) หลักการเบ้ืองตน้ ของการสงั เกตแบบมโี ครงสร้าง มดี ังน้ี (Wilkinson, 1995 : 218-221) - เลอื กพฤติกรรมที่จะสงั เกตและผูท้ ี่ไดร้ บั การสังเกต ใหม้ ีความชัดเจนว่าจะสงั เกตพฤติกรรมอะไร ของใคร - กาหนดความหมายของพฤติกรรมท่ีจะสงั เกตไว้ อยา่ งชดั เจน - เลือกสถานการณ์/เวลาท่จี ะสังเกต - เลอื กและสร้างเครอ่ื งมือในการสังเกต -ในกรณที ี่มีผสู้ ังเกตหลายท่าน ควรได้มีการชี้แจง พฤติกรรมท่ีต้องการสงั เกตให้มีความสอดคล้องกัน (2) ข้อดี-ขอ้ จากัดของการสงั เกตแบบมโี ครงสรา้ ง (Anderson and Burn,1989 : 141-142) ดงั แสดงในตารางท่ี 8.5 ตารางท่ี 8.5 ข้อดีและข้อจากัดของการสังเกตแบบมีโครงสร้าง ข้อดีของการสังเกตแบบมโี ครงสรา้ ง ข้อจากัดของการสังเกตแบบมโี ครงสร้าง 1. เปน็ วธิ ีการทีม่ คี วามเข้าใจร่วมกนั และส่ือสาร 1. มีรายละเอียดของประเด็นทตี่ ้องทาความเขา้ ใจ ระหวา่ งกันได้อย่างชัดเจนวา่ ประเด็นท่จี ะสงั เกต และตอ้ งจดบันทึกข้อมูลทุกประเดน็ ทาใหน้ ่าเบื่อ คืออะไร สงั เกตแล้วจะได้ขอ้ มูลอยา่ งไร และจะ หน่ายเม่ือจะต้องดาเนินการสังเกตหลาย ๆ ครั้ง นาไปตีความอยา่ งไร 2. ไม่มีโอกาสที่จะสังเกตสภาวะแวดล้อมท่ีจะ 2. มคี วามคงที่ในข้อมูลที่ไดจ้ ากการสงั เกตที่ นามาประกอบการวิเคราะหข์ ้อมลู ทาให้ข้อมูลที่ กาหนดประเด็นไว้อย่างชัดเจน ดงั นน้ั ผู้สงั เกต ไดอ้ าจจะเปน็ ข้อมูลเบ้ืองตน้ ท่ีเป็นเพียงตัวเลขท่ี หรอื ผ้ชู ่วยสงั เกตทไี่ ด้รับการชี้แจงจะสามารถเกบ็ ระบุไวแ้ ต่ไมม่ ีความหมายท่ลี กึ ซง้ึ และครอบคลุม รวบรวมขอ้ มูลได้ในลักษณะเดียว 3. ขอ้ มลู ท่ีได้ส่วนมากจะเป็นขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ หรือประเดน็ ที่ชัดเจน ทเี่ อ้ือต่อการวิเคราะห์ ข้อมลู ท่ีจะสามารถดาเนนิ การไดอ้ ย่างสะดวก และรวดเรว็
ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 251 2) การสังเกตแบบไมม่ โี ครงสร้าง(Unstructured Observation)เปน็ การสังเกตท่ไี ม่ไดร้ ะบุรายละเอยี ด เปน็ วธิ ที ีใ่ หผ้ ูส้ งั เกตได้ใช้วิจารณญาณใน การเลือกประเดน็ ท่ีจะสงั เกตและจดบนั ทึก โดยสว่ นมากผใู้ ชว้ ิธกี ารนจี้ ะเปน็ ผทู้ ่ีมปี ระสบการณ์สูง สามารถรับรู้และเขา้ ถึงปรากฏการณไ์ ดง้ ่าย และมีความไวเชิงทฤษฏ(ี Theoretical Sensitivity) 3.4.3.2 จาแนกตามพฤติกรรมหรือบทบาทของผู้สงั เกต(Merriam,1998 : 100-101) 1) การสงั เกตแบบมสี ว่ นรว่ ม(Participant Observation) เป็น การสงั เกตทีผ่ ู้สังเกตเปน็ สว่ นหน่ึง(Complete Participant)หรอื ท่มี สี ว่ นร่วม(Participant as Observer)ของปรากฏการณ์ทศ่ี กึ ษาซึ่งสมาชิกอาจจะทราบหรือไม่ทราบบทบาทของผู้สังเกต เป็น วิธกี ารศึกษาทีม่ คี วามเปน็ ธรรมชาติ ทาให้สามารถเขา้ ถึงความหมายแฝงเร้นของพฤตกิ รรมท่ี แสดงออกไดอ้ ย่างลึกซง้ึ มากขึ้น จาแนกเป็น ดงั น้ี 2) การเข้าไปรว่ มโดยสมบูรณ์ (Complete Participant)ผ้สู งั เกต จะเปน็ สมาชกิ คนหนงึ่ ของกลุ่มทท่ี าการสงั เกต โดยทีผ่ ู้ถูกสังเกตจะไม่รู้ตัวว่ากาลงั ถกู สงั เกตพฤติกรรม ผสู้ งั เกตจะต้องปกปดิ บทบาททแ่ี ทจ้ รงิ ของตนเองและต้องเป็นผ้ทู ีม่ คี วามสามารถสงู ท่ีได้รับการฝึกฝน มาเป็นอย่างดี 3) การเขา้ ร่วมโดยไมส่ มบูรณ์(Incomplete Participant) ผูส้ งั เกตจะเข้าร่วมและมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมต่าง ๆ ของกลุ่มที่ทาการสังเกตตามทีส่ มควรเพอ่ื สร้าง ความคนุ้ เคยแล้วสงั เกตพฤติกรรมหรอื ปรากฏการณ์ท่เี กดิ ขึ้น และผถู้ กู สงั เกตจะรตู้ วั ว่ากาลงั ได้รับการสงั เกต 4) การสงั เกตแบบไมม่ ีส่วนรว่ ม(Non-Participant Observation) เป็นการสงั เกตท่ีผู้สังเกตเป็นเพยี งผู้สังเกตที่อาจจะซ่อนเรน้ หรือเปิดเผยอยูภ่ ายนอก เพอ่ื สงั เกตพฤติกรรมที่เกดิ ขึ้นโดยทผ่ี ู้ถกู สังเกตจะรู้ตัวหรือไมร่ ตู้ ัว 3.4.3.3 จาแนกตามบทบาทของวิธีการ(ปาริชาติ สถาปิตานนท.์ 2546 : 145) 1) การสงั เกตโดยตรง(Direct Observation) เป็นการสังเกตใน สถานการณ์ที่เกิดขึ้นจรงิ หรอื สภาพแวดล้อมจรงิ 2) การสังเกตโดยอ้อม (Indirect Observation) เปน็ การสังเกต จากข้อมลู เทป ภาพถา่ ย หรือส่อื มวลชน 3) การสงั เกตจากสถานการณจ์ าลอง เป็นการสงั เกตโดย การกาหนดสถานการณจ์ าลองแลว้ ให้บุคคลทต่ี ้องการสงั เกตไดอ้ ยู่ในสถานการณนัน้ ๆ เพอ่ื แสดง พฤติกรรม
หนา้ ท่ี 252 บทที่ 8 เครอ่ื งมือ วิธีการทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.4.4 หลกั การในการสงั เกต ในการสงั เกต มหี ลกั การท่ีควรปฏิบตั ดิ งั น้ี(กฤติยา วงศก์ ้อม,2545 : 111; นงลักษณ์ วริ ัชชัย,2543 : 69; บุญธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ทุ ธ,์ิ 2534 : 41-42) 3.4.4.1 กาหนดจุดมุง่ หมายการสงั เกตท่ีชัดเจน เฉพาะเจาะจง ท้งั พฤติกรรมทส่ี ังเกตและผู้ท่ีได้รบั การสังเกต 3.4.4.2 กาหนดความหมายของพฤติกรรมหรือคณุ ลักษณะท่สี งั เกตให้ ชดั เจนวา่ คืออะไร เป็นอยา่ งไร ขอบเขตการสังเกต เชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ โดยอาจจะกาหนด เป็นรายการของพฤติกรรมทต่ี ้องการสังเกตไวล้ ว่ งหน้า 3.4.4.3 การสงั เกตจะต้องวางแผนดาเนนิ การอยา่ งเป็นระบบ อาทิ ใช้การสงั เกตพฤติกรรมหรอื คุณลกั ษณะนัน้ ๆในชว่ งเวลาใด นานเทา่ ไร(ที่แตกตา่ งกัน) 3.4.4.4 การสงั เกตทดี่ จี ะต้องมกี ารบนั ทกึ ผลการสงั เกตตามสภาพจริง ที่เป็นระบบ ชัดเจนและรวดเร็วที่อาจจะเปน็ แบบตรวจสอบรายการ หรือมาตราส่วนประมาณค่า หรือ แบบจดบันทึกขอ้ มลู ท่ีเปน็ คาถามปลายเปิดท่ีควรมกี ารช้ีแจงใหเ้ ปน็ แนวทางเดียวกันในกรณี ทมี่ ีผ้สู งั เกตหลายคน และไมต่ ้องตคี วามเนื่องจากจะก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนเนื่องจากเกดิ ความกงั วลกับการตีความ 3.4.4.5 ควรมีการสงั เกตในพฤติกรรมหรอื คุณลักษณะหนึ่ง ๆ หลาย ๆ คร้ังเพ่ือให้ได้รบั ข้อมูลที่มคี วามเชือ่ มนั่ และหลาย ๆ สถานการณเ์ พอ่ื ให้ได้รบั ขอ้ มูลทม่ี ีความเทีย่ งตรง 3.4.4.6 ผูส้ งั เกตจะตอ้ งมีศึกษาและค้นควา้ ให้มีความรอบรู้ ชดั เจนใน พฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ท่ีสังเกตใหม้ ากท่ีสุด ฝึกทักษะการสงั เกต รวมท้ังมปี ระสาทในการรบั รู้ที่ สมบรู ณ์และสขุ ภาพการที่สมบูรณ์ แขง็ แรง 3.4.5 กระบวนการเกบ็ ขอ้ มูลโดยการสังเกต ในการสงั เกตปรากฏการณห์ รือพฤติกรรมใด ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ผูส้ ังเกตจะกระบวนการ ที่จาแนกเปน็ ขั้นตอนในการสังเกต ดังแสดงในภาพท่ี 8.8
ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 253 การเตรยี มการ การสนิ้ สดุ กระบวนการการสงั เกต การดาเนนิ การ การบนั ทึกขอ้ มลู ภาพที่ 8.8 กระบวนการเกบ็ ข้อมลู โดยการสังเกต จากภาพท่ี 8.8 สามารถอธิบายรายละเอยี ดของขนั้ ตอนในกระบวนการสังเกต ดงั น้ี 3.4.5.1 ขัน้ การเตรยี มการ เปน็ การเตรยี มการก่อนทีจ่ ะดาเนินการสงั เกต ทจ่ี ะมีข้นั ตอนในการดาเนนิ การดังน้ี 1) กาหนดประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ งทจี่ ะสงั เกตตามวตั ถุประสงค์ ของการวจิ ัย 2) จัดเตรยี มแบบสงั เกต และวัสดอุ ปุ กรณ์ในการสงั เกต อาทิ กล้องถ่ายรูป เทปบันทึกเสียง เป็นต้น 3) ประสานงานกับบุคคล ชมุ ชน หรอื หนว่ ยงานในพื้นที่ เพื่อขอ อนญุ าตเขา้ สังเกต 4) จดั ฝกึ อบรมผู้สงั เกตในการใช้แบบสังเกตการจดบันทึก และ ทกั ษะการอยรู่ ว่ มกับชุมชน 5) จัดเตรียมคา่ ใชจ้ ่าย และยานพาหนะ และอน่ื ๆ 3.4.5.2 ขั้นการดาเนนิ การ มีขั้นตอนในการดาเนินการ ดังนี้ 1) พดู คุย หรือแนะนาตนเองเพ่อื สร้างความสมั พันธ์ท่ีดกี ับผู้ไดร้ บั การสังเกตใหเ้ กิดความเขา้ ใจ ไวว้ างใจ และความคุน้ เคย 2) สงั เกตสภาพแวดล้อมทวั่ ไป และข้อมูลของกลุ่มตวั อยา่ ง ทางกายภาพในภาพรวมที่สามารถสงั เกตได้ อาทิ เพศ วยั ความเป็นอยู่ และบทบาทของบคุ คล เปน็ ตน้
หน้าที่ 254 บทที่ 8 เครอ่ื งมือ วิธกี ารท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3) เมือ่ เกดิ ความคนุ้ เคยกบั กลุ่มตวั อย่างแล้วจงึ ดาเนนิ การสงั เกต แบบเจาะลกึ กบั ข้อมลู ท่ีเฉพาะเจาะจงจากแบบสังเกตท่ีจัดเตรียมไว้ โดยการใชค้ าถาม และภาษา ท้องถนิ่ ทแ่ี สดงความเป็นกนั เอง 3.4.5.3 ขัน้ การจดบันทกึ ข้อมลู เป็นการบันทกึ ข้อมลู ทเ่ี ปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ทไ่ี ด้ จากการสังเกตอย่างรวดเร็ว และทนั ทที ี่พบข้อมูลเพื่อป้องกันการลมื ข้อมลู หรอื ถา้ ไม่มีโอกาสใน ขณะน้ันใหจ้ ดบนั ทึกทนั ทหี ลังจากสน้ิ สดุ การดาเนนิ การสังเกต 3.4.5.4 ขนั้ การสน้ิ สุดการสงั เกต เป็นข้ันตอนหลังจากไดพ้ ิจารณา ความเพยี งพอของข้อมูลท่ตี ้องการตามวตั ถุประสงค์ของการสังเกตแล้วให้แสดงการขอบคณุ ในความอนเุ คราะห์และความร่วมมอื หรือมอบของทีร่ ะลึก เป็นการส้นิ สุดกระบวนการสังเกต 3.4.6 กรอบในการสงั เกต ในการสงั เกตใด ๆ เพ่อื ให้การสังเกตมีระบบ ชดั เจนมากขนึ้ ได้กาหนดกรอบ ในการสังเกต ดังน้(ี นงพรรณ พิริยานพุ งศ์,2546 : 85-87) 3.4.6.1 การกระทา(Act) เป็นการกระทาหรอื พฤตกิ รรมทีเ่ กิดขน้ึ ทั่ว ๆ ไป ในสถานการณ์ปกติ 3.4.6.2 กจิ กรรม(Activities) เป็นการกระทาหรือพฤตกิ รรมท่ีมขี ้ึนก่อน และตอ่ เน่ืองท่ีแสดงสถานภาพ บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในกลมุ่ ที่ทาการสงั เกต 3.4.6.3 ความหมาย(Meaning) เปน็ การปฏิบตั ิหนา้ ทขี่ องบคุ คลที่แสดง ความเข้าใจสภาพสงั คม วฒั นธรรม และคา่ นิยม 3.4.6.4 ความสมั พนั ธ์(Relationship) เปน็ ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล ในกลมุ่ ที่สังเกตทจี่ ะนามาวเิ คราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล 3.4.6.5 การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม(Participant) เป็นความรว่ มมือของ สมาชกิ ในกจิ กรรมทีแ่ สดงความสมั พนั ธท์ ี่ดแี ละความขดั แย้งไดช้ ดั เจนมากขึน้ ในการสังเกต 3.4.6.6 สภาพสังคม(Setting) เป็นภาพรวมทีเ่ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู และ ประเมนิ จากสภาพสังคมของกลุ่ม สถานที่ ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลฯลฯ 3.4.7 เทคนคิ ในการสงั เกต นงพรรณ พิริยานุพงษ์(2546 : 89-90 อ้างองิ มาจาก Wolcott,1981) ได้ นาเสนอเทคนิคในการสงั เกต ดงั น้ี 3.4.7.1 สงั เกตและจดบันทกึ ทุกส่งิ ทุกอย่างทม่ี องเหน็ และพิจารณาแล้ววา่ มคี ณุ คา่ แก่การจดบันทึก 3.4.7.2 ไมส่ ังเกตและจดบันทึกอะไรเลย รอคอยให้เหตกุ ารณ์ทนี่ า่ สนใจ เกดิ ขนึ้ แล้วจึงเรม่ิ สังเกตและจดบันทึก 3.4.7.3 สังเกตในส่ิงหรอื ประเดน็ ทีข่ ัดแยง้ กบั การรบั รู้ของตนเอง 3.4.7.4 สงั เกตจากสง่ิ หรือประเด็นท่ีบุคคลทัว่ ไปพจิ ารณาแลว้ ว่าเปน็ ปญั หา
ระเบียบวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 255 3.4.8 ลกั ษณะของผสู้ ังเกตทด่ี ี ลักษณะของผ้สู งั เกตที่จะสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีต้องการได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ควรมลี ักษณะ ดังนี้ 3.4.8.1 เปน็ ผทู้ มี่ ีจิตวญิ ญาณทางมนุษยวิทยา มคี วามซาบซ้ึงและสนใจท่ี จะศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ มีความอดทน มีความต้ังใจ และมสี มาธิ 3.4.8.2 เปน็ ผ้ทู ี่มปี ระสาทสัมผสั การรับรู้ทีด่ ี มที ักษะการสังเกต มีความละเอียดรอบคอบ 3.4.8.3 เปน็ ผ้มู ีจริยธรรมของนักวจิ ยั ไมเ่ ปิดเผยความลบั ของกลุม่ ตวั อย่าง และไม่ลาเอยี ง 3.4.8.4 เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามสามารถในการวิเคราะหแ์ ละการแปลความ มคี วามเขา้ ใจในปรากฏการณ์ สามารถวเิ คราะห์และแปลความหมายได้ถูกตอ้ ง 3.4.8.5 เป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์ ประกอบด้วยประสบการณเ์ ก่ยี วกบั ชมุ ชน การสงั เกตอนั เกดิ จากทักษะของตนเอง การฝึกอบรม และการศกึ ษาจากแหลง่ ความรตู้ า่ ง ๆ 3.4.9 บทบาทของผ้สู งั เกต ในการสงั เกตใด ๆ ไดจ้ าแนกบทบาทของผสู้ ังเกต ดังนี้(นงพรรณ พริ ิยานุพงศ์, 2546 : 91 อา้ งอิงมาจาก Denzin : 1978) 3.4.9.1 ผู้เข้ารว่ มโดยสมบรู ณ์ เป็นการสังเกตท่ีผสู้ ังเกตเขา้ ร่วมกิจกรรม โดยทผ่ี ถู้ กู สงั เกตไม่รู้ตวั วา่ ถูกสงั เกตพฤติกรรมหรือเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.4.9.2 ผเู้ ขา้ ร่วมในฐานะนักสังเกต เปน็ ผูส้ ังเกตท่ีผ้ถู ูกสงั เกตรตู้ ัวโดยท่ี ผู้สงั เกตจะต้องสร้างความคนุ้ เคย/ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลในกล่มุ เพื่อให้ได้รบั ข้อมลู 3.4.9.3 ผสู้ งั เกตในฐานะผเู้ ขา้ รว่ ม เปน็ บทบาทของผสู้ งั เกตทเ่ี ปน็ ทางการ โดยการไปสมั ภาษณบ์ ุคคล โดยการแนะนาตนเองให้เป็นท่รี ู้จกั แล้วเกบ็ รวบรวมข้อมูลทต่ี ้องการ ในระยะเวลาสั้น ๆ 3.4.9.4 ผสู้ งั เกตโดยสมบูรณ์ เปน็ บทบาทของผู้สงั เกตที่ไม่มคี วามสมั พันธ์ กับผใู้ หข้ ้อมลู จะไม่ทราบวา่ กาลังถกู สงั เกตพฤติกรรมผา่ นสื่อต่าง ๆ อาทิการสงั เกตผ่านกระจก ดา้ นเดยี ว เป็นตน้ 3.4.10 เครอ่ื งมือที่ใช้ประกอบการสังเกต ในการสังเกตจาเป็นจะตอ้ งมีการจดบันทกึ พฤตกิ รรมการแสดงออกหรือ คณุ ลักษณะต่าง ๆ จึงมเี คร่ืองมอื ท่ีใช้ประกอบการสงั เกต ดังนี้ 3.4.10.1 แผนภูมกิ ารมีส่วนร่วม เปน็ การสังเกตพฤติกรรมท่เี กิดขนึ้ ตาม ธรรมชาติในการเขา้ ร่วมกิจกรรมของสมาชิกในกลุ่มเลก็ ๆ โดยทผ่ี ู้สงั เกตเปน็ ผู้สังเกตการณ์ ภายนอกเพ่อื ป้องกันความลาเอียง และจดบนั ทกึ ทนั ทเี มื่อไดส้ งั เกตพบพฤตกิ รรมหรือใน คุณลกั ษณะที่ต้องการเพ่ือป้องกนั การลมื แลว้ จึงนาผลการบันทกึ มาแปลความหมายตามจดุ ม่งุ หมาย อีกคร้ังหน่งึ ดงั ตวั อย่างตารางแผนภูมิการมีสว่ นร่วมในการอภปิ รายกลุ่มในตารางท่ี 8.6
หน้าที่ 256 บทที่ 8 เครื่องมือ วิธกี ารทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตารางที่ 8.6 แบบจดบันทึกแผนภมู กิ ารมสี ว่ นรว่ มในการสังเกต แนวความคิดท่ีนาเสนอ สมศักดิ์ ผูเ้ รยี นทร่ี ่วมอภิปราย สมควร ในการอภปิ ราย สมศรี สมชาย มคี วามสาคัญมาก มคี วามสาคญั น่าสงสัย-ไม่ชัดเจน อภปิ รายไม่ตรงประเด็น 3.4.10.2 แบบตรวจสอบรายการ ท่เี ปน็ การรายการแสดงขนั้ ตอน กจิ กรรมหรือพฤติกรรมและคุณลักษณะของกลุ่มหรอื รายบุคคลทผี่ ู้สงั เกตไดจ้ ดบันทกึ ไวว้ า่ มี-ไมม่ ี/ จริง-ไม่จริง/ใช่-ไม่ใช่ แตจ่ ะไม่มกี ารประมาณค่าระดับความเขม้ ของพฤติกรรมทเี่ กดิ ขึน้ ดังตวั อย่าง การสังเกตกระบวนการสร้างแบบทดสอบของผ้เู รยี นในตารางท่ี 8.7 ตารางท่ี 8.7 แบบตรวจสอบรายการกระบวนการสร้างแบบทดสอบ พฤตกิ รรมทส่ี ังเกต มี ไมม่ ี 1.กาหนดจดุ ม่งุ หมายเชิงพฤติกรรม 2. แสดงรายละเอยี ดของเนือ้ หาและพฤติกรรมทว่ี ดั 3.กาหนดลักษณะของแบบทดสอบท่ีใช้ 4. ตัดสนิ ใจจะใช้ข้อสอบกี่ข้อ 5. กาหนดระดบั ความยากของขอ้ สอบ 6.ลงมอื เขียนข้อสอบ 7. ตรวจสอบความถูกต้อง 8. เฉลยคาตอบ 3.4.10.3 มาตราส่วนประมาณค่า เป็นการกาหนดรายการหรอื พฤติกรรมท่ตี ้องการสังเกตในลักษณะของการประเมินทีม่ ีค่าระดบั ความเขม้ ของพฤติกรรมหรอื คณุ ลักษณะท่ีเกิดข้ึน(กระบวนการ/ผลลัพธ)์ โดยมีผสู้ ังเกตเปน็ ผปู้ ระเมนิ แต่จะตอ้ งระมัดระวังใน การกาหนดข้อความท่ีกากวม ความลาเอียงของผู้สังเกตท่ีเป็นในลกั ษณะ Hallo Effect หรอื ธรรมชาติ และสภาวะแวดลอ้ มของสิ่งท่ีจะสงั เกต
ระเบียบวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 257 3.4.11 ขอ้ เสนอแนะท่ีควรคานงึ ในการดาเนินการสังเกต บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสุทธ(์ิ 2534: 51)ได้ใหข้ ้อเสนอแนะในการสังเกต มดี งั น้ี 3.4.11.1 ผู้สงั เกตต้องมีความรใู้ นประเด็นท่จี ะไปสังเกตเป็นอยา่ งดี หรือศกึ ษาหาความร้เู กีย่ วกับประเดน็ นัน้ ๆ ให้มากทีส่ ุด 3.4.11.2 กาหนดจดุ ม่งุ หมายของการสงั เกตให้ชัดเจน สอดคลอ้ งกบั ประเด็นที่ต้องการได้ขอ้ มลู 3.4.11.3 ก่อนสังเกตจะต้องเตรียมเคร่อื งมือชว่ ยบันทึกข้อมูลใหพ้ ร้อม และสามารถใชบ้ นั ทึกขอ้ มูลได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็ 3.4.11.4 พยายามจาแนกข้อมูลที่สังเกตเปน็ หมวดหมู่ ตามประเดน็ ที่ ต้องการ และสังเกตทลี ะประเด็น เพือ่ ป้องกันความสบั สนทเี่ กดิ ขนึ้ 3.4.11.5 ในการสังเกตต้องเน้นความเฉพาะเจาะจง และต้ังใจสงั เกต ด้วยความระมดั ระวัง เพราะปรากฏการณห์ รือพฤตกิ รรมบางอยา่ งเกิดข้นึ อย่างรวดเรว็ และจะ สญู หายไปโดยไมเ่ กิดข้ึนอกี กเ็ ปน็ ไปได้ 3.4.11.6 พยายามสงั เกตให้เป็นปรนยั มากท่ีสดุ โดยใชแ้ บบจดบนั ทึก ข้อมูลที่จัดเตรียมไว้ลว่ งหน้าแลว้ 3.4.11.7 ก่อนจะสงั เกตควรเตรียมการให้พรอ้ มทัง้ วิธีการ ประเด็น และเครื่องมือทชี่ ว่ ยในการบันทกึ ข้อมูลทจ่ี ะต้องมีการทดลองใชม้ าแล้ว 3.4.12 ขอ้ ดแี ละข้อจากัดในการสังเกต ในการสงั เกต ผู้สังเกตควรไดค้ านึงถึงข้อดแี ละขอ้ จากัดของการสังเกต ดงั แสดง ในตารางที่ 8. 8(นงลักษณ์ วิรชั ชยั ,2543 : 70 )
หน้าที่ 258 บทท่ี 8 เครอื่ งมือ วิธกี ารทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ตารางที่ 8.8 ข้อดีและข้อจากัดของเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสงั เกต ขอ้ ดีในการเกบ็ ขอ้ มูลโดยใช้การสังเกต ข้อจากัดในการเกบ็ ขอ้ มลู โดยใช้การสงั เกต 1. เป็นข้อมูลตามธรรมชาตจิ ากแหล่งปฐมภมู ทิ ่ีได้ 1.บางกรณจี ะใช้งบประมาณจานวนมากหรอื จากพฤตกิ รรมการแสดงออกท่ีชดั เจน ลกึ ซึ้ง เวลานานกวา่ วิธีเกบ็ ข้อมลู อนื่ ๆ เนอ่ื งจากต้องรอ 2. ได้รบั ข้อมลู ทีไ่ มค่ าดหวงั หรือผูถ้ ูกสังเกต คอยการเกิดพฤติกรรม ไมเ่ ตม็ ใจในระหวา่ งการสงั เกตทใ่ี ช้กับผทู้ ไี่ ม่ 2) เป็นข้อมลู ในเชงิ บรรยายที่ยุ่งยากใน สามารถให้ข้อมลู โดยตรง อาทิ เด็กเล็ก ๆ หรอื การวเิ คราะห์ข้อมลู เพื่อหาข้อสรุปโดยเฉพาะใน ผพู้ กิ ารท่ีพูดไมไ่ ด้ เป็นต้น เชิงเปรยี บเทียบ 3) สามารถแปลความหมายจากข้อมลู ทสี่ ังเกตได้ 3) ถ้ากลุ่มตวั อย่างรตู้ ัวว่าถูกสังเกตอาจจะมี 4) เป็นหลักฐานขอ้ มลู เพ่ิมเติมท่ีใช้ใน ความระมัดระวังในพฤติกรรมการแสดงออกที่ การสัมภาษณ์ใหเ้ กดิ ความถูกต้อง และชัดเจน ไมส่ อดคลอ้ งกับพฤติกรรมท่ตี ้องการ มากยิ่งข้ึน 4) คุณภาพของข้อมลู ขึน้ กบั ทักษะวธิ ีการ การสงั เกตของผสู้ งั เกตทจี่ ะต้องได้รบั การฝกึ อบรม/ชแี้ จงให้มีความเข้าใจทสี่ อดคล้อง กันและมีประสาทในการรับรู้ท่ีดี 5) บางพฤตกิ รรมท่ีอาจจะเกิดขึ้นอยา่ งรวดเรว็ / เกดิ ขน้ึ เพียงครั้งเดยี วในขณะท่ผี สู้ งั เกตไมไ่ ด้ สงั เกต 6) ใช้กบั รายบุคคลที่ไม่สามารถให้ข้อมลู ด้วย วิธกี ารใด ๆ หรือกล่มุ ตัวอยา่ งขนาดเลก็ 7) พฤตกิ รรมบางอยา่ งเปน็ พฤติกรรมท่ีซ่อนเรน้ ทีจ่ ะแสดงออกนาน ๆ ครง้ั ท่ผี ู้สังเกตอาจจะ ไมไ่ ด้รับข้อมูล 3.4.13 การหาประสทิ ธิภาพของการสังเกต 3.4.13.1 ความเท่ยี งตรงของการสังเกต พิจารณาได้จากเน้ือหาสาระ ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์/ประเดน็ ของการสังเกต และจะตอ้ งได้รับมาอย่างครบถ้วน สมบูรณ์ โดยจะพิจารณา ดังน้ี 1) ความสอดคลอ้ งของข้อมูลและลักษณะของข้อมูลท่ีกาหนดไว้ วา่ สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์หรอื ประเด็นท่ีตอ้ งการหรือไม่ โดยใช้ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเน้อื หาสาระ เปน็ ผตู้ รวจสอบ
ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 259 2) วิธีการทีใ่ ช้สงั เกต เลือกใชว้ ิธกี ารสังเกตท่ีให้ได้รับขอ้ มูลท่ี เปน็ จริง โดยการมีสว่ นร่วมหรอื ไม่มีสว่ นรว่ มของผู้สังเกต ที่ขน้ึ อยกู่ ับสถานการณแ์ ละปรากฏการณ์ นน้ั ๆ 3) ผู้สงั เกต จะต้องเป็นผู้ทม่ี ลี ักษณะของผสู้ ังเกตทช่ี ว่ ยให้ การสังเกตมปี ระสทิ ธิภาพ 3.4.13.2 ความเช่ือมั่นของการสงั เกต เป็นความสอดคล้องของการสังเกต มวี ธิ ีการดาเนนิ การดงั นี้(วเิ ชยี ร เกตสุ ิงห,์ 2530 :124-126) 1) ใช้ผสู้ งั เกตคนเดยี วแต่ใช้เวลาทต่ี า่ งกัน แล้วนาผลที่ได้มาหา สัมประสทิ ธ์ิสหสัมพันธ์ระหวา่ งขอ้ มูล 2 คร้งั หรือหาร้อยละของความคงท่ขี องข้อมลู ทั้ง 2 ครง้ั กไ็ ด้ ถ้ามีสัมประสิทธสิ์ หสมั พันธห์ รือค่าร้อยละสงู กแ็ สดงว่าการสังเกตน้ันมีความเชอ่ื มั่นสูง 2) ใช้ผ้สู ังเกตหลายคนในเวลาเดยี วกนั แล้วนาผลของผู้สังเกต มาหาความสมั พันธ์กันโดยใช้สตู รการดชั นคี วามสอดคลอ้ งความเชือ่ มนั่ ของสก็อต(Scott ) 4. องคป์ ระกอบที่มีผลต่อการเลือกเครื่องมือในการวิจยั ในการเลือกเคร่ืองมือในการวิจัย มอี งค์ประกอบท่ีผู้วิจยั จะต้องพิจารณาเพอื่ เลือกใช้ใน การเกบ็ รวบรวมข้อมูลที่ต้องการอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มดี ังน้ี(ปาริชาต สถาปิตานนท.์ 2546:163-165) 4.1 คาถามการวจิ ยั การกาหนดคาถามการวิจยั ทช่ี ัดเจนจะทาให้ทราบประเด็นหลกั ใน การวจิ ัย และประชากรในการวิจยั ท่ีจะเปน็ เกณฑเ์ บื้องตน้ ในการกาหนดวธิ ีการ/เครอ่ื งมือสาหรบั เก็บรวบรวมข้อมูล เพ่อื ตอบคาถามการวิจัย 4.2 กรอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฏี การกาหนดกรอบแนวคดิ เชิงทฤษฎีท่ีครอบคลุม จะช่วยให้ เห็นแนวทางของการศกึ ษาประเดน็ การวิจัยในอดีตว่าใช้ระเบียบวิธีวิจยั อยา่ งไร และมีแนวทาง ในการวดั ประเดน็ หรือตัวแปรท่ีสนใจอย่างไร 4.3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั การศกึ ษาระเบยี บวธิ ีวิจยั แตล่ ะประเภทให้เกิดความชดั เจน จะทาให้ ทราบปรชั ญา แนวคาถาม และแนวทางในการศึกษาขอ้ มูล ตลอดจนลกั ษณะของเคร่ืองมือที่ สอดคลอ้ งกบั ปรชั ญา ทจ่ี ะสามารถนามาเป็นแนวทางในการดาเนินการวจิ ยั 4.4 หน่วยการวเิ คราะห์ ในการวจิ ยั ใด ๆ การกาหนดหน่วยการวเิ คราะห์ที่แตกต่างกัน ทอี่ าจจะเปน็ หน่วยแตล่ ะหน่วย หรือเป็นกลมุ่ ท่ีจะทาให้มผี ลต่อการเลือกใช้เครื่องมือในการวิจยั ทต่ี อ้ งสอดคล้องกบั หน่วยการวเิ คราะห์ 4.5 ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง/ประชากร ในการกาหนดขนาดของกลุม่ ตวั อย่างและประชากร ท่แี ตกตา่ งกัน จะต้องมีความสอดคล้องกับการเลือกใชเ้ ครื่องมอื ในการวิจยั ระยะเวลา และ งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4.6 คณุ สมบัติของกลมุ่ ตัวอย่าง/ประชากร ท่ีเป็นคุณลักษณะเฉพาะหรือขอ้ จากัดใน การเก็บรวบรวมข้อมลู อาทิ ในการศึกษาพฤติกรรมของเด็ก ๆ อาจจะต้องเลอื กใชก้ ารสงั เกต หรอื การสัมภาษณ์แทนการใชแ้ บบสอบถาม เปน็ ต้น
หนา้ ที่ 260 บทท่ี 8 เครือ่ งมือ วิธกี ารที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 5. ข้อจากัดของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล การใช้เคร่อื งมือเกบ็ ในการรวบรวมขอ้ มลู มีขอ้ จากัดท่ีผวู้ ิจัยควรระมัดระวงั ดงั นี้ (บญุ ธรรม กิจปรดี าบรสิ ทุ ธิ,์ 2534 : 19-20) 5.1 เครอ่ื งมือเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการวดั ทางอ้อมทใ่ี ช้ข้อคาถามเป็นสง่ิ เร้าใหผ้ ใู้ หข้ ้อมูล แสดงพฤติกรรม(คาตอบ)แลว้ วดั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ ท่ีอาจเป็นพฤติกรรมท่เี ป็นจรงิ หรือเปน็ เทจ็ ก็ได้ 5.2 เครอ่ื งมือเกบ็ รวบรวมข้อมลู เปน็ เคร่ืองมือที่ใชว้ ดั พฤตกิ รรมเพยี งบางสว่ นทเ่ี ปน็ ตัวแทนเท่าน้ัน แตจ่ ะไมส่ ามารถวดั พฤติกรรมทตี่ ้องการท้ังหมดได้ 5.3 เคร่อื งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูล ทใี่ ชแ้ ตล่ ะคร้ัง จะมีความคลาดเคลื่อนท่ีเกิดขึน้ เสมอ ๆ ทง้ั จากการสรา้ งของผูเ้ ก็บข้อมลู และจากการตอบคาถามของผใู้ หข้ ้อมลู 5.4 เครอ่ื งมอื เก็บรวบรวมข้อมลู เปน็ เครือ่ งมือที่ยงั วัดได้ไม่ละเอยี ด ความแตกต่างของ ผลการวัดท่ีได้จากเคร่ืองมือที่มเี ล็กน้อยเม่อื ทดสอบความแตกต่างแลว้ อาจจะไม่พบความแตกต่างกัน กไ็ ด้ 5.5 หนว่ ยการวดั ของเครื่องมอื เก็บรวบรวมข้อมูลไมเ่ ทา่ กนั เมอ่ื นามาเปรยี บเทียบกนั จะตอ้ งมีความระมดั ระวังในการใหค้ วามหมาย
ระเบียบวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 261 สาระสาคญั บทที่ 8 เคร่อื งมือ วิธกี ารทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในการเรียนรู้บทน้ีมสี าระสาคัญ ดังน้ี 1. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เป็นกระบวนการท่ีมีระบบ มขี ้ันตอน ทีน่ ามาใช้ในการดาเนนิ การ ของการวจิ ยั เพ่อื ให้ได้ข้อมลู ทง้ั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพจากแหล่งข้อมลู ทีก่ าหนดไว้ ท่จี ะนามา วิเคราะหใ์ นการตอบปัญหาการวจิ ัยตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2. แบบทดสอบ เป็นข้อคาถาม หรือสถานการณท์ ่ีกาหนดขึ้น เพื่อใชก้ ระตนุ้ หรือเรง่ เร้า ความสนใจให้ผ้เู รียนได้แสดงพฤติกรรมตา่ ง ๆ ของตนเอง ตามทีก่ าหนดไว้ในจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3. ขนั้ ตอนการสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนมีขนั้ ตอนในการดาเนนิ การดังนี้ 1) กาหนดจดุ มุ่งหมายของการทดสอบท่ีไดม้ าจากสรา้ งตารางการวเิ คราะห์หลักสตู ร ทจี่ าแนกให้เห็น ความสัมพันธ์ระหวา่ งองค์ประกอบย่อยท่เี ก่ียวขอ้ งกนั ได้แก่ จดุ ม่งุ หมาย เนอื้ หา กจิ กรรมหรือ ประสบการณ์ และพฤติกรรมท่เี ป็นจดุ หมายปลายทางของหลักสูตรทจี่ ะทาให้เห็นว่า สอนหรือทดสอบ ทาไม(จุดมงุ่ หมายของการเรยี นร้แู ละการทดสอบ) และสอนหรือทดสอบอะไร(เน้ือหาและนา้ หนัก ความสาคญั ) และควรดาเนนิ การสอนหรือทดสอบอยา่ งไร(วธิ กี ารสอน ส่อื และเวลาที่ใช้หรอื วิธีการสอบ รปู แบบของแบบทดสอบและเวลาท่ีใช้) 4. แบบสอบถาม เปน็ ชดุ ของคาถามที่กาหนดขึน้ เพ่อื ใชว้ ัดคุณลกั ษณะ เจตคตหิ รอื ความคดิ เห็นของบุคคล โดยใช้ข้อคาถามเปน็ ตัวกระตุ้น หรือสิ่งเร้า จาแนกเปน็ แบบสอบถาม ปลายเปิดและ แบบสอบถามปลายปิด เป็นแบบสอบถามท่ีกาหนดทั้งคาถามและตัวเลือก โดยให้ ผูต้ อบได้เลือกคาตอบจากตวั เลือกน้ัน ๆ และเป็นแบบสอบถามทใ่ี ชเ้ วลาในการสรา้ งค่อนข้างมาก แต่จะสะดวกสาหรับผตู้ อบ ซึ่งขอ้ มูลท่ไี ด้จะสามารถนาไปวิเคราะห์ไดง้ า่ ย และนาเสนอได้อยา่ งถูกต้อง ชัดเจน 5. ข้ันตอนในการสรา้ งและพัฒนาแบบสอบถาม มีขน้ั ตอนในการดาเนนิ การ ดังนี้ 1) ศกึ ษาคุณลักษณะหรือประเด็นที่ตอ้ งการ 2) กาหนดลักษณะของแบบสอบถามทเี่ หมาะสม 3) จาแนกคุณลักษณะหรือประเด็นท่ีต้องการออกเป็นประเด็นยอ่ ย ๆ 4) กาหนดคาชี้แจงในการตอบ แบบสอบถาม 5) การปรบั ปรุงแกไ้ ขร่างแบบสอบถาม 6) นาแบบทดสอบไปทดลองใช้กับ กลมุ่ ตวั อย่าง 7) ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามและ8) จัดพมิ พแ์ บบสอบถามฉบับสมบูรณ์ 6. มาตรการวัดชว่ งเท่ากนั หรือมาตราวัดทัศนคติของเทอรส์ โตน เป็นมาตรการวดั ท่เี นน้ คุณสมบัติของการวัดให้มีความเทา่ กนั โดยจาแนกชว่ งการวัดออกเปน็ 11 ช่วง โดยเร่ิมจากนอ้ ยทสี่ ุด ไปหามากที่สดุ โดยมีขน้ั ตอนการสร้าง ดังนี้ 1) กาหนดข้อความเกย่ี วกบั เจตคติท่ีต้องการใหม้ ากทสี่ ุด จากเอกสาร ผรู้ ว่ มงาน ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือจากปรากฏการณ์ทั้งเชงิ บวกและเชงิ ลบ 2)จดั ทา โครงร่างแบบมาตรการวัดทีร่ ะบุข้อความเพื่อใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญไดพ้ ิจารณาความเก่ียวข้องของขอ้ ความท่ี กาหนดกับทศั นคติท่ตี ้องการ 3) ให้ตดั ข้อความท่ไี ด้คะแนนน้อยออก 4) การหาคา่ ทางสถิตติ าม ความคิดเห็นของร่างมาตรวดั โดยใชค้ า่ มธั ยฐาน และส่วนเบย่ี งเบนควอไทล์ และ 5) การเลอื ก ขอ้ ความทีน่ ามาใช้
หน้าท่ี 262 บทที่ 8 เครือ่ งมือ วิธกี ารทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 7. วธิ ีการประมาณค่ารวมตามวธิ ีการของลิเคริท์ เป็นการใช้หนว่ ยความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เปน็ เกณฑใ์ นการวัดประมาณความเขม้ ของความคิดเห็นท่ีมีตอ่ สง่ิ ต่าง ๆ ท่ปี ระกอบด้วยส่วนทเี่ ป็น ส่งิ เรา้ / ขอ้ คาถาม และ ส่วนที่เปน็ การตอบสนอง โดยมีขน้ั ตอนการสร้างดังนี้ 1) กาหนดข้อความ เกี่ยวกบั เจตคติท่ีต้องการใหม้ ากทสี่ ดุ จากเอกสาร ผรู้ ่วมงานผทู้ รงคุณวุฒิ หรอื จากปรากฏการณท์ ้งั เชิงบวกและเชิงลบ ทมี่ ีความชัดเจน 2) การตรวจสอบข้อความ ที่กาหนดขึ้น 3)นาไปให้ผ้เู ช่ยี วชาญได้ พจิ ารณาเพอ่ื แก้ไขปรบั ปรุง แล้วนาไปทดลองใช้กบั กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั กลุ่มตวั อยา่ ง ท่ีตอ้ งการนามาตรการวดั ไปใช้ แลว้ นาขอ้ มูลมาคานวณหาคา่ สถติ เิ พือ่ ใชเ้ ปน็ ดัชนีบง่ ชค้ี ุณภาพของ ขอ้ ความ 8. มาตราวดั ทีใ่ ชก้ ารจาแนกความหมายของคาของออสกดู เปน็ การสรา้ งคาถามวัดเจตคติ ความรูส้ กึ หรือความคิดเหน็ ท่ีใชค้ วามหมายของคาเปน็ ส่ิงเร้าประกอบกบั ความคิดรวบยอดต่าง ๆ โดยแต่ละข้อคาถามจะมคี าคุณศัพท์ทีม่ ีความหมายตรงกันขา้ มเป็นคู่ ๆ ดังนี้ มติ ิดา้ นการประเมนิ คา่ มติ ิดา้ นศักยภาพ มิติด้านกิจกรรม โดยมหี ลกั การ ดังน้ี 1) กาหนดโครงสร้างของเจตคต/ิ ความรสู้ กึ และ ความคิดเหน็ 2) กาหนดข้อความในลกั ษณะความคิดรวบยอด 3)เลือกคาคณุ ศัพท์เปน็ คู่ทม่ี คี วามหมาย ตรงกนั ขา้ ม และ4)นามาสร้างเปน็ มาตราวัดตามรูปแบบ 9.ในกระบวนการเก็บข้อมลู มีขั้นตอนดังนี้ 1) การประสานงาน ระหวา่ งผูว้ ิจัยกบั ผใู้ ห้ข้อมูล 2) การจัดสง่ แบบสอบถาม ( ทาจดหมายนาส่ง/ขออนญุ าตหน่วยงาน จดั เตรียม ซองจดหมายในการส่งแบบสอบถามกลับ และจดั ทารหสั แบบสอบถาม ) 3) การติดตามแบบสอบถาม 10. การสมั ภาษณ์ เป็นวิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใช้การสนทนาอยา่ งมีจดุ ประสงคร์ ะหวา่ ง ผู้สัมภาษณ์ และผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ เพื่อให้ได้ความรู้ความจรงิ เกย่ี วกับพฤติกรรมคุณลักษณะทต่ี ้องการ และในกรณที ่ีมีข้อสงสยั หรือคาถามใดไมช่ ดั เจนกส็ ามารถถามซา้ หรอื ทาความชัดเจนได้ทนั ที โดยมี กระบวนการสมั ภาษณ์ 3 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมสมั ภาษณ์ การสัมภาษณ์ การติดตาม การสัมภาษณ์ 11. การสังเกต เป็นวธิ กี ารการเก็บรวบรวมข้อมูลท่เี กยี่ วกับปรากฏการณห์ รือพฤติกรรมท่ี ใช้ประสาทสมั ผัสของผูส้ ังเกต ท่จี ะตอ้ งใช้ประสาทสัมผัสทั้งหา้ การตีความพฤติกรรม การบันทึกข้อมูล อย่างรวดเร็ว ละเอียด และจะต้องไมม่ ีอคตติ ่อการสรุปขอ้ มูลท่ไี ดร้ ับ โดยมีขัน้ ตอนในการสัมภาษณ์ ดังน้ี 1)ข้นั การเตรยี มการ( กาหนดประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง จดั เตรียมแบบสงั เกต และวสั ดุอปุ กรณ์ ประสานงานกบั บคุ คล ชุมชน หรือหนว่ ยงานในพนื้ ที่ จัดฝกึ อบรมผู้สังเกตและจัดเตรยี มค่าใช้จา่ ย) 2) ขน้ั การดาเนินการ ( พดู คยุ หรอื แนะนาตนเอง สงั เกตสภาพแวดลอ้ มและดาเนินการสงั เกต แบบเจาะลกึ กับข้อมลู ที่เฉพาะเจาะจง) 3) ข้ันการจดบนั ทึกข้อมูล และ 4) ขัน้ การสิ้นสุดการสงั เกต 12.องคป์ ระกอบท่ีมีผลต่อการเลือกเคร่ืองมือในการวิจยั มดี ังน้ี 1) คาถามการวจิ ัย 2) กรอบ แนวคิดเชิงทฤษฏี 3) ระเบยี บวิธีวจิ ยั 4) หน่วยการวิเคราะห์ 5) ขนาดของกลุ่มตวั อย่าง/ประชากร และ6) คุณสมบตั ิของกลุม่ ตวั อย่าง/ประชากร “แม้วา่ การคน้ พบความรู้-ความจรงิ เป็นส่ิงทดี่ ี แต่การเคารพ ในความเป็นปัจเจกบุคคลย่ิงดีกว่า แมว้ ่าในทสี่ ดุ จะทาให้ พลาดโอกาสทจ่ี ะพบคาตอบที่ม่งุ แสวงหาก็ตาม” (Cavan อ้างองิ ใน Cohen and Manion,1994 :359)
ระเบียบวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 263 คาถามเชิงปฏบิ ัตกิ ารบทที่ 8 เครื่องมือ วิธกี ารท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล คาชี้แจง ให้ตอบคาถามจากประเด็นคาถามที่กาหนดให้อยา่ งถูกค้องและชดั เจน 1. ใหร้ ะบคุ วามสาคัญของการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลที่มีต่อการวิจัย 2. ลักษณะของข้อมลู ท่ีดีมีอะไรบา้ ง อย่างไร 3. ใหท้ า่ นเปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่างข้อมูลจากแหลง่ ปฐมภูมิ และจาก แหลง่ ทุตยิ ภมู ิ 4. ใหท้ า่ นอธบิ ายความหมาย ลักษณะ การใชแ้ ละขัน้ ตอนการสรา้ งของเคร่อื งมือ วิธีการ ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4.1 แบบทดสอบ/การทดสอบ 4.2 แบบสอบถาม 4.3 การสมั ภาษณ์ 4.4 การสงั เกต 5. ให้ทา่ นไดศ้ ึกษางานวจิ ยั 1 เรื่อง แล้วใหพ้ ิจารณาในสว่ นของเครื่องมือ วธิ กี ารที่ใช้ใน การเกบ็ รวบรวมข้อมูลวา่ มีอะไรบ้าง แล้วถ้าให้ท่านไดเ้ พิม่ เติมเคร่ืองมือ วธิ ีการทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวม ข้อมูล ท่านจะเลือกใชเ้ ครื่องมอื วธิ กี ารอะไร อย่างไร 6. ทา่ นจะใชว้ ธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณใ์ นกรณีใดบ้าง 7. ทา่ นมขี นั้ ตอนในการใช้การสมั ภาษณ์เพ่ือเก็บรวบรวมขอ้ มูลอย่างไร 8. การใช้ “การสังเกต” มีวิธกี ารดาเนนิ การอยา่ งไร เพ่ือให้ได้รับผลการสงั เกตทีม่ ีคุณภาพ 9. คุณสมบัตขิ องผู้สงั เกตทจ่ี ะชว่ ยใหก้ ารเก็บรวบรวมข้อมูลมีประสทิ ธภิ าพว่ามีอะไรบ้าง อยา่ งไร 10. ใหท้ า่ นเปรยี บเทียบ “การสงั เกตแบบมสี ่วนร่วมและไม่มีส่วนรว่ ม” 11. จากวัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัยให้ระบเุ ครื่องมือ วธิ กี ารท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู 11.1 เพ่ือศึกษาเจตคติของประชาชนที่มตี อ่ การเลือกต้ังสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร์ 11.2 เพือ่ ศกึ ษาความคดิ สร้างสรรค์ของวยั รุ่น 11.3 เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั ศึกษาทีม่ ีต่อการให้บรกิ ารลงทะเบียน 11.4 เพ่อื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าคณิตศาสตรข์ องนกั เรียน 11.5 เพอื่ ศึกษาความคิดเหน็ ของภรรยาที่มีสามเี ปน็ โรคเอดส์ 11.6 เพ่ือศึกษาพฤติกรรมกลมุ่ ของสมาชิกในสหกรณ์แหง่ หน่ึง
บทที่ 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย ในการสร้างและพัฒนาเครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการวิจยั ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ท่ีจะสามารถนาไปใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ทน่ี ามาวเิ คราะหเ์ พอ่ื ตอบปัญหาการวิจยั ไดเ้ ปน็ อย่างดี จาเป็นจะต้องมี ขน้ั ตอนท่ีเป็นระบบในการสร้างและพัฒนา โดยหลงั จากสร้างเครอ่ื งมือเสร็จแล้วจะตอ้ งนาเครอื่ งมือ ไปทดลองใช้แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะหเ์ พอ่ื หาค่าดัชนีท่ีบง่ ช้ีคุณภาพของเคร่ืองมอื น้ัน ๆ วา่ เปน็ อย่างไร ท่เี ปน็ ข้ันตอนของ “การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัย” ความเท่ยี งตรง 1. ความหมายของความเท่ยี งตรง ความเท่ยี งตรง(Validity) มลี กั ษณะทีเ่ รียกว่า “Measure What to Measure” ทีห่ มายถงึ เครอ่ื งมอื วดั ในส่ิงท่ตี อ้ งการวัด ไม่ใช่ตอ้ งการวัดอยา่ งหนง่ึ แลว้ ไดส้ ่งิ อืน่ มาทดแทน ความเทย่ี งตรง เป็นความสอดคล้องหรอื ความเหมาะสมของผลการวดั กบั เน้อื เร่ือง หรือเกณฑ์ หรือทฤษฏที ีเ่ ก่ยี วกับลักษณะที่มุ่งวัด(ศิริชัย กาญจนวาสี ,2544 : 73) ความเที่ยงตรง เป็นคุณภาพของเครื่องมือทส่ี ร้างขนึ้ อย่างมีประสิทธภิ าพในการทานาย อนาคตของพฤตกิ รรม หรือเป็นค่าสหสัมพนั ธ์ของเคร่ืองมือที่สร้างขน้ึ กับองค์ประกอบท่ตี ้องการวดั ซ่งึ เคร่อื งมือแต่ละอย่างจะมจี ดุ มุ่งหมายเฉพาะอยา่ ง ดังนัน้ เครื่องมือทม่ี ีความเท่ียงตรงในจุดมุง่ หมายหนงึ่ ไม่จาเป็นต้องมีความเทยี่ งตรงในจดุ มุง่ หมายทงั้ หมด(Wainer and Braun,1988 : 20) สรปุ ได้ว่าความเทีย่ งตรง หมายถึง คณุ ภาพของเครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ทสี่ รา้ งข้นึ เพ่ือใช้วดั ในคุณลกั ษณะ/พฤติกรรม/เนื้อหาสาระที่ต้องการวดั ได้อย่างถกู ต้อง ครอบคลมุ มีประสทิ ธิภาพ และ วัดไดถ้ กู ต้องตามความเปน็ จริง 2. ธรรมชาติของความเท่ียงตรง ในเครอ่ื งมอื การวิจัย มธี รรมชาติของความเทย่ี งตรงทีน่ ักวจิ ยั ควรพจิ ารณา ดังน้ี (Gronlund,1985 : 51) 2.1 ความเทย่ี งตรง เป็นประเดน็ ท่ีอ้างองิ จากการตีความหมายของผลทไ่ี ด้รบั จากการใช้ เครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ไม่ใชเ่ ป็นความเท่ยี งตรงของเครอ่ื งมอื โดยตรง 2.2 ความเท่ยี งตรงเปน็ การนาเสนอผลในลักษณะของระดับว่ามมี ากหรือนอ้ ยท่มี คี ่าที่ แตกตา่ งกนั 2.3 ความเท่ยี งตรงเปน็ คุณสมบัติเฉพาะประเดน็ /จุดประสงคท์ ่ีต้องการเก็บรวบรวมข้อมลู เท่านั้น แต่จะไม่มเี คร่ืองมือประเภทใดที่มีความเท่ยี งตรงที่ครบถว้ น สมบูรณใ์ นทุกประเด็นหรอื จดุ ประสงค์ 2.4 ความเทยี่ งตรงเปน็ ความคิดรวบยอดเชงิ เด่ยี ว เป็นคา่ ของตัวเลขท่ีได้มาจากหลกั ฐาน หลากหลายแหลง่ หลกั การพ้ืนฐานท่ีใชพ้ จิ ารณาตีความหมายของความเที่ยงตรง ได้แก่ จุดประสงค์ เนือ้ หา เกณฑ์ หรอื โครงการ เป็นตน้
หนา้ ที่ 266 บทที่ 9 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั 3. ประเภทของความเทย่ี งตรง ในเคร่อื งมือวจิ ัยใด ๆ จาแนกประเภทของความเท่ียงตรง ดงั น้ี(บญุ ใจ ศรีสถิตย์นรากูร. 2547 : 226-227) 3.1 ความเทยี่ งตรงเชิงเนือ้ หา(Content Validity) เปน็ การตรวจสอบสรุปอา้ งองิ ถงึ มวลเน้ือหาสาระ ความรู้ หรือประสบการณ์ ท่ีเคร่ืองมือมุง่ วัดว่ามีความครอบคลมุ หรือเป็นตัวแทน มวลความรู้ หรอื ประสบการณ์ไดด้ ีเพยี งไรท่ีสามารถดาเนินการได้ 2 ขน้ั ตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 จาแนก ตวั แปรให้ครอบคลุมตามแนวคดิ หรอื วัตถปุ ระสงค์โดยการสร้างตารางวิเคราะห์ประเดน็ /หลกั สูตร และขน้ั ตอนที่ 2 พฒั นาเคร่ืองมือให้มีความครอบคลุมตวั แปรและวัตถุประสงค์ และสามารถตรวจสอบ ไดโ้ ดย 1)ให้ผูเ้ ชย่ี วชาญในศาสตร์นน้ั ๆ ตรวจสอบความเหมาะสมของนิยาม ขอบเขตของเนื้อหา หรอื ประสบการณ์ทม่ี ุ่งวัด 2) ตรวจสอบเน้อื หาหรือพฤตกิ รรมบางสว่ นว่ามคี วามสอดคล้องกับเนอ้ื หาหรอื พฤติกรรมท้งั หมดหรือไมแ่ ละ 3) เปรียบเทยี บสัดสว่ นของข้อคาถามว่ามีความสอดคล้องกบั นา้ หนัก ความสาคัญของแตล่ ะเน้ือเร่ืองทมี่ ุง่ วดั มากนอ้ ยเพียงไร ดงั แสดงการตรวจสอบความเทีย่ งตรง ตามเนอ้ื หา(Bailey.1987 :67) ในภาพท่ี 9.1(Bailey,1987 :67) เคร่อื งมือในการวจิ ัย หรือแนวคิด ผู้เชย่ี วชาญ ข้อมลู เชิงประจกั ษ/์ ตรรกะ ภาพที่ 9.1 การตรวจสอบความเทีย่ งตรงตามเนื้อหา 3.2 ความเท่ยี งตรงเชิงเกณฑ์สัมพนั ธ์ (Criterion-related Validity)เป็นการตรวจสอบ สรุปอา้ งอิงสมรรถนะการดาเนนิ งานของสิ่งทม่ี ุ่งวดั ว่าการวดั ได้ผลสอดคล้องกับการดาเนินงานน้ัน เพียงใด ท่จี าแนกได้ดังนี้ 3.2.1 ความเท่ียงตรงเชิงสภาพ(Concurrent Validity)ท่ใี ชเ้ กณฑเ์ ทียบ ความสมั พนั ธท์ ่ีเป็นสถานภาพการดาเนนิ การที่เปน็ อยู่จรงิ ในปจั จบุ นั ท่ีสามารถตรวจสอบไดโ้ ดย คานวณค่าสมั ประสิทธส์ิ หสมั พนั ธ์ระหวา่ งคะแนนท่ีวัดได้จากเคร่ืองมือนั้นกับคะแนนที่วัดไดจ้ าก เคร่อื งมือมาตรฐานอน่ื ๆ ที่วัดส่งิ นั้นได้ในปจั จุบนั โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธต์ ัง้ แต่0.80 ข้นึ ไป ดงั แสดงการตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงสภาพในภาพที่ 9.2 (Bailey,1987 :68)
ระเบียบวธิ ีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 267 ข้อมูลจากเคร่ืองมือ: X เวลาเดยี วกัน R xy คะแนนเกณฑ์ : Y ภาพท่ี 9.2 การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงสภาพ 3.2.1 ความเท่ียงตรงเชิงพยากรณ์(Predictive Validity)ทใ่ี ชเ้ กณฑ์เทยี บ ความสัมพนั ธเ์ ปน็ ผลสาเรจ็ ของการปฏบิ ตั ิงานนนั้ ในอนาคต ท่ตี รวจสอบได้โดยคานวณค่าสมั ประสทิ ธิ์ สหสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคะแนนท่วี ัดได้จากเครอื่ งมอื นัน้ กบั คะแนนท่วี ดั ได้จากเคร่ืองมือมาตรฐานอื่น ๆ ที่ วดั สิ่งนั้นไดใ้ นอนาคต ดังแสดงในภาพท่ี 9.3 (Bailey,1987:68) ขอ้ มูลจากเคร่ืองมือ: X เวลาตา่ งกนั คะแนนเกณฑ์ : Y R xy ภาพที่ 9.3 การตรวจสอบความเท่ยี งตรงเชิงพยากรณ์ 3.3 ความเท่ยี งตรงเชิงโครงสรา้ ง(Construct Validity) เปน็ การสรปุ อา้ งอิงโครงสร้าง ของส่ิงท่มี ุ่งวัดวา่ การวัดไดผ้ ลตรงตามทฤษฏขี องโครงสร้างน้นั ๆ ได้ดีเพียงไร(Punch,1998: 101) ท่ีตรวจสอบได้ โดยศึกษาความสัมพันธร์ ะหว่างผลที่ได้จากเครื่องมือน้นั กับโครงสร้างและความหมาย ทางทฤษฏขี องสงิ่ ทม่ี ุ่งวดั ด้วยวิธีตัดสนิ โดยใช้ผเู้ ชี่ยวชาญพิจารณา เปรียบเทยี บคะแนนกับกลมุ่ ท่ีไดผ้ ล หรอื วธิ วี ิเคราะห์เมตริกพหุลกั ษณะ-พหุวธิ ี หรอื การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ เป็นตน้ ดงั แสดงวิธกี าร ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชงิ โครงสร้างในภาพท่ี 9.4(ศิรชิ ยั กาญจนวาสี,2544 : 92)
หนา้ ที่ 268 บทที่ 9 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั ทฤษฏี/แนวคิด/หลกั การ นามธรรม รปู ธรรม ตวั บ่งช้คี ณุ ลกั ษณะ ลกั ษณะทมี่ งุ่ วดั : แนวคดิ และโครงสร้าง เคร่อื งมอื ลักษณะท่ีคาดหมาย ผลการวดั เชงิ ประจกั ษ์ สมมตุ ิฐานหรือคาทานาย ความเทีย่ งตรงเชิงโครงสรา้ ง ภาพที่ 9.4 การตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชงิ โครงสร้าง 4. แนวทางปฏบิ ตั เิ บือ้ งตน้ ในการสร้างเคร่ืองมือวิจัยให้มีความเท่ยี งตรง ในการสรา้ งเครื่องมือวจิ ัยให้มีความเทย่ี งตรง มีแนวทางการปฏิบตั เิ บ้อื งตน้ ดงั นี้ (อาธง สุทธาศาสน์,2527 : 100-101) 4.1 ในการกาหนดความหมายของตัวแปรตอ้ งใหม้ คี วามสอดคล้องและครอบคลมุ ประเดน็ ท่ตี ้องการโดยใช้แนวคดิ ทฤษฏี และปรึกษากับผ้เู ช่ียวชาญ 4.2 การกาหนดข้อคาถาม/สร้างเครอ่ื งมือวิจยั ควรคานงึ ถึงหลกั ตรรกศาสตร์และทฤษฏี ท่ีเกย่ี วข้องเปน็ กรอบแนวทาง 4.3 ให้ผู้เช่ียวชาญไดพ้ จิ ารณาเบือ้ งตน้ ในการพิจารณาความเหมาะสมและความครอบคลุม 4.4 ระมดั ระวงั ในความสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามและการกาหนดความหมายของ ตัวแปรทตี่ อ้ งการอย่ตู ลอดเวลา 5. การตรวจสอบความเท่ียงตรงของเครอื่ งมือ ในการตรวจสอบความเท่ียงตรงของเคร่ืองมือ จาแนก ไดด้ ังนี้ 5.1 วธิ ีการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้อื หา เป็นการตรวจสอบเคร่ืองมือมีความ เป็นตวั แทน หรอื ครอบคลมุ เน้ือหาหรอื ไม่ โดยพิจารณาจากตารางวิเคราะห์เนือ้ หา หรอื ตรวจสอบ ความสอดคล้องของเนื้อหากับจุดประสงคท์ ี่กาหนด จาแนกได้ดงั นี้ 5.1.1 วธิ ที ่ี 1 จากการพิจารณาของผู้เชีย่ วชาญในศาสตร์นั้น ๆ จานวน 3-7 คนเพื่อลงสรปุ โดยใชด้ ัชนคี วามสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามกบั จดุ ประสงค(์ Index of Item- Objective Congruence : IOC) ทีม่ ีเกณฑใ์ นการพิจารณาให้คะแนน ดงั น้ี ให้ 1 เม่ือแน่ใจว่าข้อคาถามมีความสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ 0 เมื่อไม่แนใ่ จว่าข้อคาถามมีความสอดคล้องกับจดุ ประสงคห์ รอื ไม่ -1 เมือ่ แนใ่ จวา่ ข้อคาถามไม่สอดคล้องกับจดุ ประสงค์
ระเบียบวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 269 หลงั จากนน้ั นาคะแนนของผ้เู ชีย่ วชาญมาหาคา่ ดชั นคี วามสอดคล้องฯ โดยใชส้ ูตรของ โรวเิ นลลี และแฮมเบิลตนั มสี ูตรการคานวณ (Rovinelli and Hambleton, 1977 : 49-60) IOC R N โดยท่ี IOC เป็นคา่ ดัชนคี วามสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์ R เปน็ ผลรวมของคะแนนจากการพิจารณาของผเู้ ช่ยี วชาญ N เป็นจานวนผู้เช่ยี วชาญ โดยกาหนดเกณฑก์ ารพจิ ารณาระดบั ค่าดัชนคี วามสอดคล้องฯ ของขอ้ คาถามที่ได้จาก การคานวณจากสูตรทีจ่ ะมีคา่ อยู่ระหวา่ ง 0.00 ถึง 1.00 มรี ายละเอียดของเกณฑก์ ารพิจารณา ดังน้ี มคี า่ IOC ตงั้ แต่ 0.5 ขน้ึ ไป คดั เลอื กขอ้ สอบข้อนน้ั ไว้ใชไ้ ด้ แตถ่ ้าไดค้ ่า IOC ตา่ กวา่ 0.5 ควรพจิ ารณาแก้ไขปรับปรุง หรือตดั ท้ิง โดยกาหนดรปู แบบของแบบตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชิงเนือ้ หาของแบบทดสอบ ดงั แสดงในตารางท่ี 9.1 ตารางท่ี 9.1 รปู แบบของแบบตรวจสอบที่ใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญพจิ ารณาความเทย่ี งตรง เชงิ เนื้อหาของเครื่องมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั จดุ ประสงคท์ ่ี/ ขอ้ คาถาม ผลการพิจารณา เนอ้ื หา 1........................................ +1 0 -1 1.......................... 2........................................ 3........................................ ...... ...... ...... 2.......................... 4........................................ ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ดังแสดงตวั อยา่ งการหาค่าดชั นีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกบั จุดประสงค์ใน ตัวอย่างที่ 9.1
หน้าที่ 270 บทที่ 9 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ตัวอย่างที่ 9.1 การหาความสอดคลอ้ งระหว่างข้อคาถามกับจดุ มุ่งหมายของผ้เู ชี่ยวชาญ จานวน 3 คนในการพิจารณาขอ้ คาถามขอ้ ที่ 1-4 กับจดุ ประสงคข์ ้อท่ี 1 มีดังนี้ วธิ ีทา ข้อที่ คนท่ี 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 ผลรวม IOC ผลการ 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 R R วเิ คราะห์ N 1 3 3 1 นาไปใช้ได้ 3 2 0 00 ใช้ไม่ได้ 3 3 -1 1 0.33 ใชไ้ มไ่ ด้ 3 4 2 2 0.67 นาไปใช้ได้ 3 จากตารางแสดงว่ามีข้อสอบในการหาความสอดคล้องระหวา่ งขอ้ สอบกบั จดุ มุ่งหมายมี ขอ้ สอบทส่ี อดคล้องกบั เกณฑ์ จานวน 2 ข้อ คือ ขอ้ ท่ี 1 และข้อที่ 4 ทส่ี ามารถนาไปใชไ้ ด้(คา่ IOC มากกว่า0.5) 5.1.2 วิธที ่ี 2 วธิ กี ารหาดชั นคี วามเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาท้ังฉบบั เป็นวิธีการท่ี ประยกุ ตจ์ ากแฮมเบลตันและคณะ (บุญใจ ศรี สถิตยน์ รากูล,2547 : 224-225) มดี งั น้ี 5.1.2.1 ขัน้ ที่ 1 นาแบบทดสอบพร้อมเน้ือหาสาระ/โครงสรา้ งทต่ี ้องการ วดั ไปใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญได้พจิ ารณาความสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามกับเน้ือหาสาระ/โครงสร้างทกี่ าหนด เกณฑเ์ พื่อแสดงความคิดเห็น ดังนี้ ให้ 1 เมอื่ พิจารณาว่า ข้อคาถามไมส่ อดคล้องกับเนื้อหาสาระ/โครงสรา้ ง 2 เม่ือพิจารณาว่า ข้อคาถามจะต้องไดร้ ับการปรับปรุงแก้ไขอย่างมาก 3 เมื่อพิจารณาว่า ข้อคาถามจะตอ้ งได้รับแกไ้ ขปรบั ปรงุ เลก็ น้อย 4 เมื่อพจิ ารณาวา่ ขอ้ คาถามมีความสอดคล้องกับเนื้อหาสาระ/โครงสร้าง ตาราง 5.1.2.2 ขัน้ ที่ 2 รวบรวมความคดิ เหน็ ของผู้เชี่ยวชาญมาการแจกแจงเป็น คิดเห็นในระดับ 3 และ 4 5.1.2.3 ขน้ั ท่ี 3 รวมจานวนขอ้ คาถามที่ผเู้ ช่ยี วชาญทกุ คนทใ่ี ห้ความ
ระเบียบวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 271 5.1.2.4 ข้ันที่ 4 หาดัชนคี วามเที่ยงตรงเชงิ เนือ้ หาจากสูตรคานวณ CVI R 3,4 N เมื่อ CVI เป็นดัชนคี วามเท่ียงตรงเชิงเนือ้ หา R3,4 เป็นจานวนขอ้ ที่ผู้เช่ยี วชาญทุกคนใหร้ ะดับ 3 และ4 N เป็นจานวนขอ้ สอบทง้ั หมด โดยมีเกณฑ์การพจิ ารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาท่ีใชไ้ ด้ ต้ังแต่0.8 ขน้ึ ไป(Davis 1992:104) และควรนาข้อคาถามท่ีได้จากขอ้ ท่ี 1 และ 2 ไปปรับปรุงแก้ไขเพ่อื ใหเ้ คร่ืองมือวจิ ัยมี ความครอบคลุมตัวแปรท่ีต้องการศึกษา ดังตวั อย่างการหาคา่ ดัชนคี วามเที่ยงตรงเชงิ เน้ือหา ดงั แสดงตวั อยา่ งการหาคา่ ดัชนคี วามเที่ยงตรงเชงิ เนื้อหาทั้งฉบบั ในตวั อยา่ งท่ี 9.2 ตัวอย่างท่ี 9.2 การหาคา่ ดัชนคี วามเทีย่ งตรงเชงิ เน้ือหา/โครงสร้างของแบบทดสอบฉบับหนึ่งท่มี ี ผลการพจิ ารณาของผู้เชีย่ วชาญ ดงั แสดงข้อมลู ในตาราง วิธีทา ข้อ ระดับความคิดเห็นของผเู้ ช่ียวชาญ ที่ คนท่ี 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนที่ 5 1 2 3 4 1 2 3 41 2 3 4 12 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 จากตารางวิเคราะห์พบว่าข้อที่ผเู้ ชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นในระดบั 3 และ 4 ได้แก่ 1,2,4,5,6 เป็นจานวน 5 ข้อ ดังนั้น CVI R 3,4 N แทนคา่ CVI 5 0.83 6 แสดงวา่ แบบสอบถามฉบับน้ีมีค่าความเท่ยี งตรงเชงิ เนื้อหาเท่ากับ 0.83 ผา่ นเกณฑ์ การพจิ ารณา
หนา้ ที่ 272 บทท่ี 9 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวิจัย 5.2 วธิ ีการตรวจสอบความเท่ียงตรงเชงิ โครงสรา้ ง มีวิธกี ารตรวจสอบ ดงั น้ี 5.2.1 การตรวจเชิงเหตผุ ล เปน็ การตรวจสอบเนือ้ หาของขอ้ คาถามว่า สอดคล้องกบั กรอบแนวความคดิ หรอื ทฤษฏที ่ีใชก้ าหนดเป็นโครงสร้างในการวดั หรอื ไม่ โดยจัดทาเปน็ ตารางโครงสร้างใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญได้พจิ ารณาตรวจสอบ 5.2.2 การตรวจสอบความสอดคลอ้ งภายใน โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสมั พนั ธร์ ะหวา่ งข้อคาถามแต่ละข้อกับคะแนนรวมของท้ังชุด หรอื หาสหสมั พนั ธแ์ บบไบซีเรียล ระหว่างกลมุ่ ที่ได้คะแนนสงู กับคะแนนต่า ถ้าข้อใดมคี ่าสัมประสิทธิส์ หสมั พนั ธ์สูงอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติ แสดงว่ามีความเท่ยี งตรงเชิงโครงสร้าง(ประชมุ สุข อาชวี บารุง, 2519 : 117 อ้างอิงใน บญุ ธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ทุ ธ์ิ,2534 :190) 5.2.3 เทคนคิ วิธีการใช้กล่มุ ท่ีคุ้นเคย(Known-Group Technique) เป็นวิธีการนา เครือ่ งมือชุดทตี่ ้องการตรวจสอบไปให้กลมุ่ ตวั อย่าง 2 กลุ่ม(จานวนสมาชิกเทา่ กัน)ได้ตอบคาถาม โดยที่กลุม่ ตวั อย่างจะมีลักษณะตรงกนั ขา้ ม กลา่ วคือ กลุ่มแรกจะมลี ักษณะสอดคลอ้ งกบั ส่งิ ท่ตี ้องการในแบบสอบถาม ส่วนอีกกลมุ่ หนงึ่ จะมีลักษณะตรงกนั ขา้ มกบั กลมุ่ แรก แลว้ นาขอ้ มลู ที่ได้มาวเิ คราะห์เพ่ือหาอานาจจาแนกเปน็ รายข้อโดยใชก้ ารทดสอบคา่ ที จากสตู ร(Mclver and Carmines,1981 :24) t X1 X2 S12 S22 n เมอ่ื t เป็นคา่ อานาจจาแนกเป็นรายขอ้ X1 เป็นค่าเฉล่ียของกลุม่ ท่ี 1 X2 เปน็ ค่าเฉล่ยี ของกลมุ่ ท่ี 2 S12 เป็นความแปรปรวนของกลุ่มที่ 1 S 2 เป็นความแปรปรวนของกลุ่มท่ี 2 2 n เปน็ จานวนคนในกลุ่มตวั อย่างกลมุ่ ที่ 1 หรอื 2 โดยคา่ อานาจจาแนกรายข้อท่ีได้จะต้องมีค่า t มากกวา่ 1.75 จงึ จะเปน็ ข้อคาถามทีม่ ีอานาจ จาแนกคุณลักษณะของตวั แปรที่ตอ้ งการ และเมื่อนามาพิจารณาในภาพรวมจะระบุวา่ แบบสอบถาม ฉบับนั้นมคี วามเทีย่ งตรงเชงิ โครงสรา้ ง 5.2.4 การวเิ คราะห์องค์ประกอบ ที่เป็นการวิเคราะห์หาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งข้อ คาถามแต่ละข้อเพ่ือระบุลกั ษณะรว่ มกันวา่ ขอ้ คาถามท้งั หมดประกอบด้วยองคป์ ระกอบอะไรบ้าง สอดคลอ้ งกับทฤษฏีหรอื สมมุติฐานท่ีกาหนดไว้หรอื ไม่ ถ้ามีความสอดคล้องก็แสดงวา่ มี ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 273 5.2.5 การใชเ้ มตรกิ ลักษณะหลาก-วิธีหลาย ทเ่ี ปน็ วิธีการตรวจสอบความเท่ยี งตรง เชงิ ล่เู ขา้ (Convergent)ที่เป็นการหาสหสมั พันธร์ ะหว่างเครื่องมือท่วี ดั ลักษณะเดยี วกนั แต่ใช้วิธกี าร ต่างกัน และความเที่ยงตรงเชิงจาแนก(Discriminant)ที่ใชห้ าสหสัมพนั ธ์ระหวา่ งเคร่ืองมือที่วัดลกั ษณะ ตา่ งกนั แต่วัดดว้ ยวธิ กี ารเดียวกัน(Brown,1979 : 135) 5.3 การตรวจสอบความเท่ยี งตรงตามเกณฑ์ มีวิธีการดงั นี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสทุ ธิ,์ 2534 :192-193) 5.3.1 การหาสัมประสทิ ธ์คิ วามเที่ยงตรง โดยการหาสมั ประสทิ ธิส์ หสมั พันธ์ แบบเพียรส์ นั (กรณที เ่ี ปน็ คะแนน) หรือสหสมั พันธแ์ บบไบซีเรยี ล(กรณคี ะแนนเป็น 2 กรณี อาทิ ผ่าน-ไม่ผ่าน)ระหว่างผลของการวดั จากเครอื่ งมือทส่ี ร้างข้ึนกับเกณฑท์ ่ีกาหนด(เชงิ พยากรณ์) 5.3.2 การเปรียบเทียบความแตกตา่ งระหว่างกลมุ่ เป็นการแบง่ กลุ่มตวั อยา่ งที่ ตอ้ งการนาเครื่องมือไปทดลองใชเ้ ปน็ 2 กลุม่ ตามเกณฑท์ ี่กาหนด แล้วนาคะแนนทไี่ ด้มาหาค่าเฉล่ีย และความแปรปรวนแลว้ นาไปเปรยี บเทียบด้วยการทดสอบที ถา้ ผลการเปรียบเทียบพบวา่ แตกตา่ ง อยา่ งมีนยั สาคญั โดยกลุ่มที่ได้คะแนนเฉลี่ยที่สงู กว่าเปน็ กลมุ่ ที่มลี ักษณะทตี่ อ้ งการ แสดงว่า เครอ่ื งมอื นัน้ มีความทีย่ งตรงตามเกณฑส์ ัมพนั ธ์(เชงิ สภาพจริง) 6. องคป์ ระกอบทม่ี ผี ลต่อความเท่ยี งตรง ในการสร้างเคร่ืองมือวิจยั ใหม้ ีความเทย่ี งตรง มอี งคป์ ระกอบที่ควรพจิ ารณาดาเนนิ การ เพ่อื ให้เกดิ ความเท่ียงตรง ดังนี้ 6.1 องค์ประกอบจากเครื่องมือวจิ ัย เคร่อื งมอื วิจยั ที่มีความเที่ยงตรง จะต้องมี กระบวนการสรา้ งที่ดี และมคี าช้แี จงทีช่ ัดเจน มีโครงสรา้ งการใชภ้ าษาทง่ี ่าย ๆ ไม่กากวม ไม่มีคาถามนา มคี วามยากง่ายทเี่ หมาะสม มรี ปู แบบการดาเนินการทเ่ี หมาะสมและไมม่ จี านวน ขอ้ คาถามท่ีน้อยเกินไป 6.2 องค์ประกอบจากการบริหารจัดการและการตรวจใหค้ ะแนน ในการดาเนนิ การ จะต้องกาหนดให้เวลาทีเ่ หมาะสม มแี นวคาตอบท่ีไมเ่ ป็นระบบและมีการตรวจให้คะแนนที่เปน็ ปรนัย 6.3 องค์ประกอบจากผู้ให้ข้อมลู เคร่ืองมือวิจยั ที่มคี วามเทยี่ งตรงกลุม่ ผู้ให้ข้อมลู ต้องมี ความแตกต่างกันหา้ มเดา/คาดคะเนคาตอบ รปู แบบของเครอ่ื งมือวิจยั และความไมพ่ ร้อม ท้งั ทางดา้ นร่างกาย และจิตใจของผ้ใู ห้ข้อมลู 6.4 องคป์ ระกอบจากเกณฑท์ ี่ใชอ้ า้ งอิง ในการใช้เกณฑ์อา้ งอิงจะต้องมีความเช่อื ถือได้ ตามประเภทความเทีย่ งตรง อาทิ ความชัดเจนของเนือ้ หาท่มี ุ่งวัดเปน็ เกณฑ์ในการตรวจสอบ ความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา,ความเหมาะสมของการคัดเลือกเกณฑ์สมรรถนะทีเ่ ป็นเกณฑ์ใน การตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชงิ เกณฑส์ มั พนั ธ์และความเหมาะสม/การยอมรับของทฤษฏี/แนวคิด/ หลักการที่เก่ยี วข้องกับลกั ษณะทม่ี งุ่ วัดทเ่ี ป็นเกณฑใ์ นการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชงิ โครงสรา้ ง
หน้าท่ี 274 บทที่ 9 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ความเชื่อม่ัน 1. ความหมายของความเช่ือม่ัน นกั วิชาการได้นาเสนอความหมายของความเชื่อมั่น ดงั นี้ ความเชื่อมน่ั (Reliability) เปน็ คุณสมบตั ิของเครอื่ งมือวัดสง่ิ ที่ตอ้ งการวัดไมว่ ่าจะวดั กี่ครั้ง หรือวัดในสภาพการณท์ แ่ี ตกต่างกันจะได้รับผลการวดั คงเดิม (นงลกั ษณ์ วิรัชชัย,2543 : 170 ; บุญธรรม กิจปรดี าบรสิ ุทธิ์,2534 :17) ความเชื่อมั่นมคี วามหมายของความเชอ่ื มนั่ ใน 3 ลักษณะดงั น้ี 1) ความเช่อื มน่ั เป็นความคงท่ี ความเช่ือถือได้ และความสามารถทท่ี านายได้ 2) ความเช่ือม่ันที่เปน็ ความถูกต้องในการวัดสิง่ ท่ี ตอ้ งการวัดอยา่ งไม่ผดิ พลาด และ 3) ความเชื่อมนั่ เปน็ คุณสมบัตขิ องการวดั ที่ไม่มีความคลาดเคล่อื น ในการวดั ใหผ้ ลการวดั ที่ถกู ต้อง ชัดเจนแนน่ อน(Kerlinger,1986 : 405) ความเชื่อมั่น เป็นสมั ประสทิ ธิ์สหสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคะแนนชดุ หนงึ่ กับคะแนนอกี ชดุ หนึ่งของ เคร่อื งมอื วัดลกั ษณะท่ีเหมือนกนั สองชดุ และเปน็ อสิ ระจากกนั ทไ่ี ด้จากผูใ้ หข้ ้อมูลกลมุ่ เดียวกัน(Ebel and Frishie, 1986 :71) ความเชอ่ื มัน่ เป็นคุณภาพของเคร่อื งมอื ทสี่ ามารถใช้วัดหลายๆคร้งั แลว้ ได้ผลของการวัด ทมี่ คี วามคลา้ ยคลงึ กัน “ความคงเสน้ คงวา” หมายถงึ ในการทดสอบครั้งที่ 1นาย B ได้ลาดับท่ี 1 ,นาย A ไดล้ าดับท่ี 2 และ นาย C ได้ลาดับท่ี 3 และในการทดสอบคร้งั ที่ 2,3,... ผลการทดสอบ ยังคงมลี าดับท่ีคล้าย ๆ เดมิ ดังแสดงดังภาพที่ 9.5 A B CC B AB A C คร้ังที่ 1 คร้ังท่ี 2 คร้ังที่ 3 ภาพท่ี 9.5 ความเชื่อมั่นของเคร่อื งมือในการวิจยั สรปุ ไดว้ ่า เครื่องมือในการวิจัยท่ดี ีจะต้องมีความเชือ่ ม่นั ไดว้ ่าผลทไ่ี ดจ้ ากการวัดจะมี ความคงท่ี ชดั เจนไม่เปล่ยี นแปลงไปมา ผลการวัดครั้งแรกเปน็ อย่างไร เม่อื วัดซา้ โดยใช้เครื่องมือวดั ผล ชดุ เดิม จะวดั ก่คี รง้ั กจ็ ะให้ผลการวดั เหมือนเดิม ใกลเ้ คยี งกัน หรือสอดคล้องกัน
ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 275 2. วธิ ีการประมาณค่าความเช่ือมั่น ในการตรวจสอบความเช่อื มน่ั ของเครอ่ื งมอื วจิ ยั มีวธิ ีการดังน้ี 2.1 ความเชือ่ มั่นแบบวัดความคงท่ี(Measure of Stability) ทเ่ี ปน็ วิธกี ารทดสอบซ้า (Test-Retest Method) โดยใช้เครอ่ื งมือชุดเดียวกันไปทดสอบกับผู้ใหข้ ้อมลู กล่มุ เดียวกัน 2 ครง้ั ท่ใี ชช้ ว่ งเวลาทตี่ า่ งกนั แลว้ นาคะแนนท่ีได้มาคานวณหาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ดงั แสดงข้ันตอนในภาพท่ี 9.6 (ศริ ิชัย กาญจนวาส,ี 2544 : 37) เครื่องมือ ชดุ A เวลาท่ตี ่างกนั เครอ่ื งมือชดุ B คะแนน x xy คะแนน y ภาพท่ี 9.6 ขั้นตอนวิธีการทดสอบซ้า โดยมสี ตู รการคานวณ ค่าสมั ประสิทธ์ิสหสัมพันธแ์ บบเพยี ร์สนั ดังน้ี(Best and Kahn,1993 : 304) ρXY NXY XY [N X2 ( X)2 ][N Y2 ( Y) 2 ] โดยที่ XY เป็นคา่ สัมประสทิ ธ์สิ หสัมพันธ์ระหวา่ งคะแนนคร้งั ที่ 1 และคร้ังท่ี 2 X เป็นผลรวมของคะแนนในครัง้ ที่ 1 Y เป็นผลรวมของคะแนนในคร้งั ท่ี 2 X2 เปน็ ผลรวมของคะแนนในคร้ังท่ี 1 แต่ละตวั ยกกาลังสอง Y2 เป็นผลรวมของคะแนนในครงั้ ที่ 2 แต่ละตวั ยกกาลงั สอง XY เป็นผลรวมของผลคูณของคะแนนในคร้ังท่ี 1 และคร้งั ที่ 2 N เปน็ จานวนผใู้ หข้ ้อมูล ดงั แสดงการคานวณหาค่าสัมประสิทธ์ิสหสมั พันธแ์ บบเพยี ร์สันในตวั อยา่ งที่ 9.3
หน้าท่ี 276 บทที่ 9 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ตัวอย่างที่ 9.3 จากตารางผลการทดสอบจานวน 2 ครงั้ ของผู้สอบจานวน 5 คน ใหห้ า ความเชื่อมน่ั ของแบบทดสอบฉบับน้โี ดยใช้สัมประสทิ ธิส์ หสมั พันธ์ของเพยี ร์สัน วิธที า คนท่ี ครง้ั ที่ 1( X ) คร้ังท่ี 2( Y ) X2 Y2 XY 1 8 7 64 49 56 2 5 6 25 36 30 3 7 8 49 34 56 4 6 7 36 49 42 5 8 9 64 81 72 รวม X 34 Y 37 X2 238 Y2 279 XY 256 จากสูตร สัมประสทิ ธส์ิ หสมั พันธ์แบบเพยี รส์ นั ρ XY N XY X Y [N X2 ( X)2 ][N Y2 ( Y) 2 ] แทนคา่ ρXY 5(256) - (34)(37) 0.74 [5(238) - (34)2 ][5(279) (37)2 ] แสดงวา่ แบบทดสอบฉบับน้ีมีความเช่ือมนั่ เท่ากับ 0.74 โดยท่ีคา่ สมั ประสิทธ์คิ วามเชอ่ื ม่ันท่ไี ด้จากการคานวณจะมคี ่าต้งั แต่ -1 ถงึ 1 แต่เนอื่ งจากเปน็ การคานวณจากคะแนนเดิมและคะแนนใหม่ของผู้ใหข้ ้อมูลกล่มุ เดียวกนั ดงั นั้นจะได้ความเช่อื มั่น มคี า่ สัมประสทิ ธอ์ิ ยรู่ ะหว่าง 0 ถึง 1 เท่าน้นั แตป่ ระเดน็ ท่ีควรระมดั ระวังในการใช้วิธกี ารน้ี คือ คณุ ลักษณะท่จี ะวัดจะต้องมีความคงที่ และระยะเวลาท่ีทดสอบซา้ จะต้องมคี วามเหมาะสม กลา่ วคือ ไม่เรว็ เกนิ ไปเนอ่ื งจากมีผลตกคา้ ง(การจดจา)จากการทดลองคร้ังแรก และไม่ชา้ เกินไปทจ่ี ะมี ตวั แปรแทรกซ้อน อาทิ วฒุ ภิ าวะ หรือการเรียนรู้ทีเ่ พ่ิมขึน้ 2.2 ความเชื่อมน่ั แบบสมมูล(Measure of Equivalence) หรอื วธิ กี ารทดสอบโดยใช้ เครือ่ งมือวจิ ยั ทีส่ มมลู กนั (Equivalent-Form Method) เป็นการนาเครื่องมือวิจยั 2 ชุดทมี่ ี ความสมมลู กันไปทดสอบกบั ผู้ใหข้ อ้ มลู กลมุ่ เดยี วกนั ในเวลาเดียวกนั แลว้ นาคะแนนที่ได้จากเคร่ืองมือ วิจัยทั้ง 2 ชดุ มาหาคา่ สัมประสทิ ธิ์สหสมั พนั ธแ์ บบเพยี รส์ นั ดังแสดงข้ันตอนในภาพที่ 9.7 (ศริ ชิ ัย กาญจนวาส,ี 2544 : 39)
ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 277 เครอื่ งมือชดุ A สมมลู กนั เครอื่ งมอื ชุด B (คูข่ นาน)กัน) คะแนน x xy คะแนน x ภาพท่ี 9.7 วิธีการทดสอบแบบสมมูล เคร่อื งมือวิจัยที่สมมลู กนั /คู่ขนาน หมายถงึ เคร่ืองมือวจิ ัย 2 ชดุ ท่ีคู่ขนานกันหรือเท่าเทียม โดยมีโครงสร้างการวดั และเน้ือหาเดียวกันมีค่าเฉลีย่ และความแปรปรวน ความเช่ือมัน่ และ ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของคะแนนที่ไดจ้ ากใกล้เคยี งกันและเพ่ือให้เกดิ ความสมดุลในการนาไปใช้ อาจจะต้องแบ่งให้ร้อยละ 50 ทาเครอื่ งมือชุดA กอ่ นชดุ B และอกี ร้อยละ 50 ทาเครื่องมอื วิจัยชุด B กอ่ นชุด A ค่าสัมประสิทธ์ิสหสมั พันธท์ ี่ไดจ้ ะมีคา่ อย่รู ะหว่าง 0 ถงึ 1 2.3 ความเช่ือมน่ั แบบวัดความคงท่ีและสมมูลกัน( Measure of Stability and Equivalence)หรือวิธีทดสอบซ้าดว้ ยเครอื่ งมือทส่ี มมูล เป็นการทดสอบผู้ให้ข้อมูลกลุม่ เดียวกนั 2 ครง้ั ในเวลาทีต่ า่ งกันโดยใช้เคร่ืองมือการวิจัยทม่ี คี วามสมมูลกัน แลว้ นาคะแนนที่ไดจ้ ากแบบทดสอบ ท้งั 2 ฉบับหาค่าสัมประสิทธส์ิ หสัมพันธ์แบบเพียรส์ นั ดังแสดงขั้นตอนในภาพที่ 9.8 ( ศริ ชิ ยั กาญจนวาส,ี 2544 : 40) เครื่องมอื วจิ ยั ชุด A สมมลู กัน เคร่อื งมอื วจิ ัยชดุ B ใช้เวลาต่างกนั คะแนน x xy คะแนน x ภาพท่ี 9.8 วิธกี ารทดสอบแบบซ้าและสมมลู สาหรบั องคป์ ระกอบทีส่ ง่ ผลต่อวิธีการนก้ี ็คือ คุณลกั ษณะท่ีจะวัดตอ้ งคงที่ การใช้ช่วงเวลา สอบซา้ ท่ีเหมาะสม และความสมมูลกนั ของเคร่ืองมือวจิ ยั และวิธีการทสี่ มดลุ ในการจัดการดาเนินการ ท้งั 2 ฉบับ 2.4 ความเช่อื มนั่ แบบวัดความสอดคล้องภายใน( Measure of Internal Consistency) หรอื วธิ กี ารตรวจสอบความสอดคล้องภายใน(Internal Consistency Method) เป็นวิธีการประมาณ คา่ ความเชื่อมั่นของเคร่ืองมือวจิ ยั ทใ่ี ชก้ ารทดสอบเพยี งครั้งเดยี ว,เคร่ืองมือวิจยั ชดุ เดียวและผูใ้ หข้ ้อมูล กล่มุ เดยี วแลว้ นาผลไปวิเคราะหค์ วามเป็นเอกพนั ธเ์ น้ือหา(Homogeneity)ของเคร่ืองมือว่า วดั เน้อื หาสาระเดยี วกันเพียงใด โดยถา้ วัดเน้อื หาสาระเดยี วกันเม่ือทาการวัดซ้าจะได้ผลการวดั ที่สอดคล้องกัน โดยมีวธิ ีการตรวจสอบความสอดคลอ้ งภายในที่ใช้ ดงั น้ี
หน้าที่ 278 บทที่ 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมือที่ใช้ในการวจิ ัย 2.4.1 วิธีการแบบแบ่งครงึ่ แบบทดสอบ(Split-half Method) เปน็ การนา แบบทดสอบฉบบั เดียวไปทดสอบกบั ผู้สอบกลมุ่ เดยี ว แล้วแบง่ ขอ้ สอบออกเปน็ 2 ส่วนทมี่ ี ความสมมูลกันมากทสี่ ดุ (จาแนกตามข้อคู่-ข้อค,ี่ จบั ฉลาก,จับคตู่ ามเนื้อหาแลว้ แยกเปน็ 2 ฉบับ) นามาตรวจให้คะแนนแลว้ นาคะแนนท่ไี ด้จากแบบทดสอบทง้ั 2 ส่วน มาหาค่าสมั ประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สันได้คา่ สัมประสทิ ธ์คิ วามเชื่อม่ันครึง่ ฉบับ จะต้องนาไปคา่ ท่ีได้คานวณหาสัมประสทิ ธ์ิ ความเชอื่ มัน่ ทง้ั ฉบบั ของสเปียร์แมน-บราวน์(Spearman-Brown) ดงั แสดงขน้ั ตอนในภาพท่ี 9.9 (ศริ ิชยั กาญจนวาส,ี 2544 : 42) แบบทดสอบ คะแนน คะแนนคร่ึงฉบับ คะแนน x คะแนน y ρ 1xy (สมั ประสิทธ์คิ วามเชื่อมน่ั ครง่ึ ฉบับ) 2 ρxy (สัมประสิทธค์ิ วามเชอ่ื มน่ั ทงั้ ฉบับ) ภาพที่ 9.9 วิธีการทดสอบการแบง่ ครง่ึ แบบทดสอบ การหาค่าความเชื่อมั่นทงั้ ฉบับของสเปียรแ์ มน-บราวน(์ Spearman-Brown) คานวณ ค่าสัมประสิทธคิ์ วามเช่อื ม่นั ได้ดงั สูตรคานวณ(Mehrens and Lehmann,1984 : 195) 2ρ 1 xy ρxy 2 1 ρ 1xy 2 เมือ่ ρxy เปน็ สมั ประสทิ ธิค์ วามเชื่อม่ันทัง้ ฉบบั เมอื่ ρ 1xy เป็นสมั ประสิทธค์ิ วามเชื่อมัน่ คร่ึงฉบับ 2 ดังแสดงการคานวณหาค่าสมั ประสทิ ธ์สิ หสมั พันธแ์ บบสเปียรแ์ มน-บราวน์ในตวั อย่าง ที่ 9.4
ระเบียบวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 279 ตัวอย่างที่ 9.4 จากตารางผลการทดสอบท่ีแบ่งเปน็ ข้อมลู ครง่ึ แรก-ครง่ี หลงั ของผู้สอบจานวน 5 คน ให้หา ความเช่อื ม่ันของแบบทดสอบฉบับนีโ้ ดยใชส้ มั ประสิทธ์สิ หสัมพันธ์ของสเปียร์แมน วธิ ที า คนที่ ครงึ่ แรก 1( X ) คร่ึงหลัง 2( Y ) X2 Y2 XY 18 7 64 49 56 25 6 25 36 30 37 8 49 34 56 46 7 36 49 42 58 9 64 81 72 รวม X 34 Y 37 X2 238 Y2 279 XY 256 จากสตู ร สัมประสิทธส์ิ หสมั พันธ์แบบเพยี ร์สนั ρ1 NXY XY XY [N X2 ( X)2 ][N Y2 ( Y) 2 ] 2 แทนคา่ ρ 1XY 5(256) - (34)(37) 0.74 2 [5(238) - (34)2 ][5(279) (37)2 ] นาค่าความเช่ือมนั่ ครึง่ ฉบบั (ρ1XY = 0.74) นามาแทนคา่ ในสตู ร 2 ρxy 2ρ 1 xy 2 1 ρ 1xy 2 แทนคา่ ρxy 2(0.74) 0.85 1 0.74 แสดงวา่ แบบทดสอบฉบบั น้ีมีความเชื่อมั่นทง้ั ฉบบั เทา่ กบั 0.85 2.4.2 วธิ ีสมั ประสทิ ธิ์แอลฟาของครอนบาค(Cronbach’s Alpha Method) เป็น การแบ่งเครื่องมือวิจยั ออกเป็น k ส่วน และเม่อื คานวณความแปรปรวนของคะแนนแต่ละสว่ นและ ความแปรปรวนของคะแนนรวมสามารถนาไปใชป้ ระมาณค่าความเช่ือมน่ั แบบความสอดคล้องภายใน ทีน่ าเสนอในชอ่ื “สมั ประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค(-Coefficient)”(Cronbach,1951 อ้างถึงใน ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ,2538 : 200) มสี ูตรคานวณ
หนา้ ท่ี 280 บทท่ี 9 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั α k 11 σ 2 i k σ 2 x เมอื่ α เป็นสมั ประสิทธแ์ิ อลฟาของครอนบาค σ 2 เป็นความแปรปรวนของข้อท่ีหรือองค์ประกอบที่ i i σ 2 เป็นความแปรปรวนของคะแนนรวม x k เปน็ จานวนขอ้ สอบ/องค์ประกอบของทงั้ ฉบับ แต่ถ้าเปน็ การคานวณคา่ ความเช่ือม่ันโดยใช้สมั ประสิทธแ์ิ อลฟาจากกลุม่ ตวั อย่างจะใช้ α Si2 สตู รคานวณ k 1 1 k S 2 x เมื่อ α เปน็ สมั ประสทิ ธิ์แอลฟาของครอนบาค Si2 เป็นความแปรปรวนของข้อที่หรือองค์ประกอบที่ i S 2 เป็นความแปรปรวนของคะแนนรวม x ดงั แสดงตัวอยา่ งการคานวณค่าความเชือ่ ม่ันด้วยสมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟาของครอนบาคใน ตัวอยา่ งที่ 9.5 ตวั อยา่ งท่ี 9.5 ความเชื่อม่นั ของแบบทดสอบโดยใช้สัมประสทิ ธแิ์ อลฟาของครอนบาค วิธที า ผู้เรยี น ข้อท่ี คนท่ี 1 2 3 4 5 6 1 010101 2 000000 3 101110 4 111111 5 001000 6 001110 7 000100 8 101110 9 000010 10 1 1 1 1 1 1 pi 0.4 0.3 0.6 0.7 0.6 0.3 qi 0.6 0.7 0.4 0.3 0.4 0.7 pi qi 0.24 0.21 0.24 0.21 0.24 0.21 piqi 1.35
ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 281 วิธีทา จากตารางจะได้ Si2 1.35และSx 2.02 สูตรการคานวณสัมประสิทธิแ์ อลฟาของครอนบาค α k k 1 1 Si2 S2x แทนค่า α 6 6 11 (1.35) 2 0.80 (2.02) 2 ดงั นนั้ ความเชอื่ มั่นของแบบทดสอบฉบบั นี้เท่ากับ 0.80 ในการหาสมั ประสทิ ธิ์แอลฟาจะใหค้ ่าความเชื่อม่ันของเคร่ืองมือวจิ ัยได้ดี ก็ตอ่ เมื่อเครือ่ งมือ วิจยั ชุดนน้ั ไดว้ ดั คณุ ลกั ษณะเพียงคุณลักษณะเดียวเท่านั้น และจานวนขอ้ หรือองค์ประกอบแตล่ ะ องค์ประกอบในฉบบั มีความเทา่ เทียมกันจะทาให้ไดค้ ่าความเชอื่ มน่ั ที่ใกลเ้ คยี งกับความเช่ือมัน่ ทีแ่ ท้จรงิ ของเครอ่ื งมือการวิจยั และเป็นวิธกี ารที่ได้รบั ความนยิ มเนอื่ งจากเกบ็ ขอ้ มลู กลุ่มผู้ให้ข้อมูลครง้ั เดยี ว และใชไ้ ด้อยา่ งหลากหลายทง้ั เครื่องมือที่ให้คะแนนแบบ 0,1 หรอื แบบถว่ งน้าหนัก หรอื แบบมาตรสว่ น ประมาณคา่ หรือแบบทดสอบแบบอัตนัย 2.4.3 วิธีของคูเดอร์-ริชาร์ดสนั (Kuder-Richardson Method) เป็นวิธกี ารที่พัฒนา โดยคเู ดอร์และรชิ าร์ดสัน ที่เป็นการแก้ปัญหาของการประมาณค่าความเชอื่ มั่นท่ีใชว้ ธิ กี ารแบง่ คร่งึ แบบทดสอบท่แี ตกตา่ งกันจะใหค้ ่าความเชอ่ื มัน่ ทีแ่ ตกตา่ งกัน และใช้สาหรบั แบบทดสอบทใ่ี ห้คะแนน แบบ 0,1 เทา่ นน้ั จาแนกเป็นสตู รคานวณ ดงั นี้ 2.4.3.1 สูตรของคเู ดอร์-รชิ าร์ดสนั 20 (KR-20) ท่ีข้อสอบแตล่ ะข้อ ไมจ่ าเป็นต้องมีความยากเท่ากัน แตค่ วรมีจานวนข้อสอบอย่างน้อย 20 ข้อ โดยมสี ตู รคานวณ (Mehrens and Lehmann,1984 : 276) KR 20 k k11 piqi S2x เม่ือ KR 20เป็นสมั ประสทิ ธคิ์ วามเช่ือมน่ั ของคเู ดอร์-รชิ าร์ดสนั pi เปน็ สัดส่วนของผตู้ อบถกู ในข้อท่ี i qi เป็นสัดสว่ นของผู้ตอบผิดในข้อที่ i S2x เป็นความแปรปรวนของคะแนนรวม k เปน็ จานวนขอ้ สอบ โดยทส่ี ูตรการคานวณ KR-20 จะมีความคล้ายกับสตู รการหาสมั ประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค เนื่องจาก piqi ของKR-20 กค็ ือความแปรปรวนของคะแนนรายขอ้ (Si2 ) ของสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคนั่นเอง
หนา้ ท่ี 282 บทท่ี 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย 2.4.3.2 สตู ร KR-21 เป็นสูตรการคานวณค่าสมั ประสทิ ธิ์ความเชือ่ ม่ันที่มี ขอ้ ตกลงเบือ้ งตน้ วา่ ข้อสอบแต่ละข้อต้องมคี วามยากเท่ากัน ทาใหส้ ูตรการคานวณมคี วามซบั ซอ้ น น้อยลงแต่สตู รการคานวณ KR-21 จะให้คา่ ความเชื่อม่นั ท่ีตา่ กวา่ การคานวณด้วยสตู ร KR-20 มสี ูตรคานวณ(Mehrens and Lehmann,1984 : 276) KR 21 k X(k X) 1 k 1 kSX2 เมื่อ KR 21เปน็ สัมประสทิ ธิ์ความเช่ือมั่นของคูเดอร์-รชิ าร์ดสนั X เปน็ ค่าเฉล่ียของคะแนนรวม S2x เป็นความแปรปรวนของคะแนนรวม k เปน็ จานวนข้อสอบ ตวั อย่างท่ี 9.6 จากตัวอย่างท่ี 9.5 แสดงผลการตอบข้อสอบจานวน 6 ข้อ ของผู้เรยี น จานวน 10 คน ท่มี คี ะแนนเฉล่ียเท่ากับ 2.90 และส่วนเบ่ียงเบนทัง้ ฉบบั เทา่ กับ 2.02 ให้หา ความเช่อื มั่นของแบบทดสอบโดยใช้สูตร KR-20 และ KR-21 KR วิธีทา สูตร การคานวณหา 20 k 11 pi q i S2t k แทนค่า KR 20 6 6 11 1.35 2 0.80 (2.02) ดงั นัน้ ความเช่ือมนั่ ของแบบทดสอบฉบบั น้เี ท่ากบั 0.80 สูตรการคานวณหา KR 21 k 1 1 X(k X) k kS2t แทนคา่ KR 21 6 1 1 2.90(6 2.90) 0.76 6 6(2.02) 2 ดงั น้นั ความเช่อื ม่ันของแบบทดสอบฉบับนเี้ ท่ากบั 0.76 2.4.4 วธิ กี ารวเิ คราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance) โดยการแปลผลการสัมภาษณ์ของผสู้ ัมภาษณ์มาเป็นคะแนนทีไ่ ด้ แล้วนามาแจกแจงเป็นตาราง 2 ทางระหวา่ งผสู้ ัมภาษณก์ ับผู้ใหส้ มั ภาษณ์ แล้ววิเคราะหค์ วามแปรปรวนและหาคา่ ความเชือ่ มนั่ จากสตู รคานวณ(Hoyt,1941 อา้ งอิงใน ศิรชิ ยั กาญจนวาสี,2544 : 51)
ระเบยี บวิธกี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 283 rtt 1 M Se M Sp โดยท่ี rtt เปน็ ความเชอ่ื มน่ั ของการสัมภาษณ์ M Sp เป็นMean Square ของผู้สัมภาษณ์ SS p k 1 M Se เป็น Mean Square ของความคลาดเคล่ือน SS e n(k 1) ดงั แสดงการวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยส์ ในตัวอย่างที่ 9.7 ตัวอย่างที่ 9.7 จากผลการสัมภาษณ์ผใู้ ห้สมั ภาษณ์จานวน 5 คนของผสู้ ัมภาษณ์ 3 คน ผู้ใหส้ มั ภาษณ์ ผูส้ ัมภาษณ์คนที่ รวม 1 123 26 2 22 3 989 17 4 778 16 5 656 24 565 105 X 897 765 X2 35 35 35 25 25 25 555 วิธที า มขี ั้นตอนดังนี้ 1. SSt X 2 ( Xt )2 765 (105)2 30 t nt 35 2. SSc ( Xc )2 ( Xt )2 352 352 352 (105)2 0 n nt 5 35 3.SSp ( Xr )2 ( Xt )2 262 222 172 162 242 (105)2 25 n nt 3 35 4. SSe SSt SSc SSp 30 0 25 5 5. M Sp SS p 25 12.5 k 1 31
หน้าท่ี 284 บทท่ี 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการวิจยั 6. M Se SS e 5 0.5 n(k 1) 5(3 1) 7. rtt 1 M Se 1 0.5 0.96 M Sp 12.5 ดงั นัน้ ในการสัมภาษณค์ รง้ั นี้มีความเช่อื มน่ั เทา่ กบั 0.96 2.4.5 ความเชอ่ื มนั่ ของการจัดสมั ภาษณ์โดยใชส้ มั ประสทิ ธ์ิคอนคอแรนทข์ องเคนดอล (Kendall)ในกรณีทมี่ ีผสู้ ัมภาษณ์มากกว่า 2 คนขนึ้ ไป มีสตู รการคานวณ(วิเชยี ร เกตุสิงห์, 2530 : 124-125) W 12S2 nk 2 (n 2 1) เมอ่ื W เปน็ สมั ประสทิ ธขิ์ องการจดั อันดบั S เป็นผลรวมทง้ั หมดของอันดบั ของสง่ิ ของแตล่ ะชนดิ ท่เี บ่ียงเบนออกจากคะแนนอนั ดบั เฉลี่ย k เป็นจานวนผูจ้ ัดอันดบั n เป็นจานวนสิ่งของทีจ่ ัดอนั ดับ ดังแสดงตัวอย่างการหาความเช่ือมน่ั ของการจัดอันดบั /การสงั เกตในตัวอย่างท่ี 9.8 ตัวอย่างท่ี 9.8 ในการจดั อนั ดับความพึงพอใจในการสอนของครผู สู้ อน 6 คน โดยนักเรียน 3 คน ได้ผลดังตาราง ความเชอื่ ม่นั ของการจดั อันดบั วธิ กี ารสอนของครทู ั้ง 6 คน นักเรียน คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 รวม ครผู สู้ อนคนที่ 1 3 1 15 2 1 2 36 3 2 3 27 4 6 4 3 16 5 4 6 4 14 6 5 5 5 15 21 21 21 63
ระเบียบวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 285 วธิ ีทา หาคะแนนเฉลีย่ ของอันดับเฉล่ยี 63 10.5 6 S (5 10.5)2 (6 10.5)2 (7 10.5)2 (16 10.5)2 (14 10.5)2 (15 10.5)2 125.5 k 3และ n 6 จากสูตร W 12S2 nk 2 (n 2 1) แทนคา่ 12(125.5)2 1506 0.80 6(3)2 (62 1) 1890 ดังนนั้ ความเชอ่ื มน่ั ของการจัดอนั ดับความพึงพอใจในวธิ สี อนของครูผู้สอนทัง้ 6 คนของ นกั เรียน 3 คน เท่ากับ0.80 2.4.6 การหาความเช่อื มั่นของการสังเกต ในการสังเกตใด ๆ มวี ธิ กี ารหาความเชื่อมนั่ ของการสงั เกต โดยใชว้ ธิ ีการหาค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ ง(Intra and Inter Observer Reliability) ของสกอตดังสตู รคานวณ (วเิ ชยี ร เกตุสงิ ห์,2530 : 125) π Po Pe 1 Pe โดยท่ี π เปน็ ดชั นีความสอดคล้องระหว่างผูส้ งั เกต P0 เป็นความแตกต่างระหวา่ ง 1.00 กับผลรวมของสัดส่วนของความแตกตา่ ง ระหว่างผสู้ งั เกต 2 คน(รวมทง้ั ขอ้ หรือทกุ ลักษณะของการสงั เกต) Pe เปน็ ผลบวกของกาลังสองของค่าสัดสว่ นของคะแนนจากลักษณะ ที่สังเกตไดส้ ูงสุดกับค่าท่ีสูงรองลงมา โดยจะเลือกเอาจากผลของการสงั เกตคนใดคนหน่ึงก็ได้ ดงั แสดงตัวอยา่ งการหาความเชื่อม่ันดัชนคี วามสอดคลอ้ งของสกอตในตัวอย่างที่ 9.9 ตัวอย่างที่ 9.9 จากการสงั เกตคณุ ลกั ษณะ 4 คณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นในห้องหนึ่ง ของ ครผู ูส้ อน 2 คน ดังปรากฏผลในตารางข้อมลู การสังเกต คุณลักษณะ ผลการสงั เกต ความแตกตา่ ง ที่ ระหวา่ ง ครูคนท่ี 1 ครูคนท่ี 2 1 สัดส่วนของครู 2 คะแนน สดั ส่วน คะแนน สดั สว่ น 3 0.002 4 13 0.482 15 0.484 0.075 0.050 9 0.333 8 0.258 0.023 3 0.111 5 0.161 0.15 2 0.074 3 0.097 27 1.00 31 1.00
หนา้ ที่ 286 บทที่ 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย วธิ ีทา P0 1 0.15 0.85 Pe (0.482)2 (0.333)2 0.343 จากสตู ร π Po Pe 1 Pe แทนคา่ 0.850 0.343 0.772 1 0.343 ดังนัน้ ดชั นคี วามสอดคล้องของการสังเกต(ความเช่ือมนั่ )เท่ากบั 0.77 3. องค์ประกอบท่มี ีผลต่อสมั ประสทิ ธิ์ความเชือ่ มั่น การหาสัมประสิทธ์ิของความเชือ่ มน่ั ใด ๆ ที่ได้คา่ สัมประสทิ ธต์ิ ่า หรอื สงู จะข้ึนอยู่กับ องคป์ ระกอบ ต่อไปนี(้ Crocker and Algina,1986 อ้างอิงใน ศริ ชิ ยั กาญจนวาส,ี 2544: 60-65) 3.1 ความเปน็ เอกพนั ธข์ องกลมุ่ ผ้ใู ห้ข้อมลู (Group Homogeneity) ในกลุ่มผู้ใหข้ ้อมูลท่มี ี ลกั ษณะท่ใี กลเ้ คียงกันเม่ือนาคะแนนมาหาสมั ประสิทธค์ิ วามเช่ือม่นั จะได้ค่าที่ตา่ กวา่ สัมประสทิ ธ์ิความ เชื่อมัน่ ที่ได้จากกลุ่มผใู้ ห้ข้อมูลที่มลี กั ษณะทหี่ ลากหลายคละกัน(วิวิธพนั ธ)์ และขนาดของ กลุ่มผู้ใหข้ ้อมูล ควรมปี ระมาณ6-10 เทา่ ของจานวนข้อสอบจงึ จะได้ความเชอ่ื ม่ันท่ีเป็นจริง 3.2 ความยาวของแบบทดสอบ(Test Length) การเพ่มิ จานวนข้อสอบที่มีความคู่ขนานกับ ข้อสอบเดิมท่ีมอี ยูจ่ ะทาให้ค่าสมั ประสทิ ธิ์ความเช่ือม่นั ของแบบทดสอบฉบบั นนั้ ๆ มีค่าทสี่ ูงขน้ึ ดงั แสดงในภาพท่ี 9.10( Alen and Yen,1979) 1.0 ρ yy .8 0.9 ρ yy .6 .8 ρyy .4 .7 ρyy .2 .6 ρXX .5 .4 .3 .2 .1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 จานวนขอ้ ภาพท่ี 9.10 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความยาวของแบบทดสอบและความเชื่อมน่ั
ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 287 3.3 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งข้อสอบ(Interitem Correlation)แบบทดสอบฉบับใดทมี่ ี ความเป็นเอกพนั ธ์ของคณุ ลกั ษณะหรือเนื้อหาแสดงว่าแบบทดสอบฉบับนั้นมีความสัมพนั ธ์ระหว่าง ขอ้ สอบสูง อันจะส่งผลต่อค่าสัมประสิทธิค์ วามเช่อื มนั่ ของแบบทดสอบฉบับน้ัน 3.4 กาหนดเวลาทใ่ี ชใ้ นการแบบทดสอบ(Time Limit) แบบทดสอบทส่ี ร้างและพฒั นา เปน็ อยา่ งดีและได้กาหนดเวลาท่ีใชใ้ นการทดสอบทีเ่ หมาะสมกับแบบทดสอบจะได้ค่าสมั ประสทิ ธ์ิ ความเชอ่ื ม่นั ทสี่ ูง แต่ถา้ ใหเ้ วลาท่จี ากัดหรือมากเกนิ ไปจะทาใหส้ มั ประสิทธค์ิ วามเชื่อม่นั มี แนวโนม้ ลดลง 3.5 วธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการประมาณค่าสัมประสิทธิ์ความเชือ่ มั่น(Method of Estimating Reliability)ในการเลือกใช้วิธกี ารประมาณค่าสมั ประสิทธ์ิความเชอื่ มัน่ มหี ลายวิธีและแตล่ ะวธิ จี ะ มีความเหมาะสมกับแบบทดสอบท่ีมลี ักษณะและจดุ มงุ่ หมายท่แี ตกต่างกนั อาทิ แบบทดสอบความเร็ว ไมค่ วรใชว้ ธิ กี ารแบง่ คร่ึงแบบทดสอบหรือวธิ ตี รวจสอบความสอดคล้องภายในเพราะจะได้ คา่ ความเชอ่ื มั่นที่สงู กว่าปกติ และวธิ สี มั ประสิทธ์ิแอลฟาควรใชก้ บั แบบทดสอบท่วี ดั เพยี งคุณลักษณะ เดียวมากกว่าหลากหลายคุณลกั ษณะ หรือสูตรของสเปยี ร์แมน-บราวน์จะให้ค่าสัมประสิทธ์ิ ความเชือ่ มั่นตา่ หรือสูงกวา่ ความเป็นจริงถา้ ข้อสอบไมม่ ีความเป็นคู่ขนาน เป็นตน้ (Kerlinger, 1981 :110) 4. แนวทางปฏิบัตเิ บอื้ งต้นในการสร้างเคร่ืองมือใหม้ ีความเช่อื มัน่ ในการสรา้ งเคร่ืองมือวิจัยให้มีความเช่ือมัน่ มีแนวทางปฏบิ ัติเบือ้ งต้น ดังนี้ (อาธง สุทธาศาสน์,2527 : 97-98 ; Kerlinger,1986 :415) 4.1 เขยี นข้อคาถามที่ต้องการให้ชัดเจน ไมค่ ลุมเครือทอ่ี าจจะก่อใหเ้ กิดความเข้าใจที่ ไมส่ อดคล้องกนั 4.2 เขยี นขอ้ คาถามใหม้ ีจานวนขอ้ มากทีส่ ดุ แล้วตัดข้อคาถามที่มคี ณุ ภาพต่าออกภายหลงั การหาคณุ ภาพของเครือ่ งมอื 4.3 ถ้าขอ้ คาถามใดจาเปน็ ตอ้ งมีคาอธิบายเพ่ิมเตมิ ก็ให้เพ่มิ เติมอย่างชดั เจน 4.4 ระมัดระวังการใช้เคร่อื งมือในสถานการณป์ กติ มิฉะน้นั ข้อมลู ท่ีได้อาจจะไม่สอดคลอ้ ง กับความเปน็ จริง 5.ความสัมพันธ์ระหวา่ งความเที่ยงตรงและความเชอื่ ม่ันของเคร่อื งมอื วจิ ัย(Fraenkel and Wallen, 1993:147) มดี งั น้ี 5.1 เครอื่ งมอื วดั ผลที่ไม่มีความเที่ยงตรงย่อมไม่มีความเชอื่ มน่ั (รปู ที่ 1) 5.2 เครื่องมือวดั ผลมคี วามเทีย่ งตรงสงู ขึ้นย่อมจะมีความเชื่อมนั่ สงู ขึ้น(รปู ท่ี 2) 5.3 เครื่องมือวัดผลบางประเภทมีความเชอื่ มนั่ ปานกลางแต่จะมีความเทีย่ งตรงตา่ (รปู ที่ 3) 5.4 เครือ่ งมือวดั ผลบางประเภทมคี วามเช่ือมน่ั สูงแต่จะมคี วามเทย่ี งตรงตา่ (รูปที่ 4) 5.5 เครอ่ื งมือวัดผลท่ีตอ้ งการคือเคร่ืองมือท่ีมคี วามเที่ยงตรงสูงและความเช่ือม่ันสงู (รปู ที่ 5) ดังแสดงความสัมพนั ธ์ในภาพที่ 9.11(Fraenkel and Wallen, 1993:147)
หนา้ ที่ 288 บทท่ี 9 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย รปู ท่ี 1 รูปท่ี 2 รูปท่ี 3 รปู ท่ี 4 รปู ที่ 5 ไมม่ ีความเชื่อมน่ั มคี วามเช่อื มัน่ และ มีความเชอื่ ม่ัน มคี วามเช่ือมนั่ สงู มคี วามเชื่อมน่ั และไมม่ ี มีความเท่ียงตรง ปานกลางแต่มี แต่มี และความเทย่ี งตรงสงู ความเทยี่ งตรง ปานกลาง ความเท่ียงตรงต่า ความเท่ียงตรงต่า ขอ้ มูลทไี่ ด้จากเคร่อื งมือ ข้อมลู ท่ีตอ้ งการ ภาพท่ี 9.11 ความสมั พันธร์ ะหว่างความเช่อื มน่ั กับความเท่ียงตรง 6. เกณฑ์พจิ ารณาคา่ ความเชื่อมนั่ ของเคร่ืองมือวจิ ัย คา่ ความเช่ือมั่นของเครื่องมอื ในการวจิ ยั มีเกณฑ์สาหรับพิจารณาว่าเปน็ ความเชื่อมั่น ทใ่ี ชไ้ ดใ้ นการนาเคร่ืองมือนั้น ๆ ไปใช้ มดี งั น(้ี Burns and Grove,1997 : 327) 6.1 เคร่ืองมือทใี่ ช้วดั การทาหนา้ ที่ของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายของมนุษย์ควรมี ความเช่ือมน่ั เท่ากับ 0.95 ข้นึ ไป 6.2 เครือ่ งมอื ท่ีมีมาตรฐานทัว่ ๆ ไปควรมีความเช่ือม่นั เท่ากับ0.8 แตถ่ ้าเป็นเคร่ืองมือ ทีส่ รา้ งและพัฒนาข้นึ ควรมคี วามเชอ่ื มนั่ อย่างน้อย 0.70 6.3. เคร่อื งมอื ท่ีใช้วัดเจตคติ ความรู้สึก ควรมคี วามเชื่อม่ันตั้งแต่ 0.70 ข้นึ ไป 6.4 เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการสังเกต ควรมคี ่าความเชือ่ ม่ันตง้ั แต่ 0.80 ขึ้นไป คณุ ภาพของเครื่องมือในการวจิ ัย ในการสรา้ งและพัฒนาเคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย นอกจากจะนามาหาความเทยี่ งตรง และ ความเชื่อมน่ั แลว้ ในการสร้างและพัฒนาเคร่ืองมือยังมคี ุณภาพของเครื่องมือวจิ ยั ทคี่ วรพจิ ารณา ดังน้ี 1. อานาจจาแนก 1.1 ความหมายของอานาจจาแนก อานาจจาแนก(Discrimination) หมายถงึ คณุ ภาพของเครือ่ งมือทีท่ ่สี ร้างขึ้นแลว้ สามารถจาแนกกลุ่ม/บุคคลแยกออกจากกันเปน็ กลุม่ ตามลกั ษณะท่ีตนเองเป็นอยู/่ เกณฑ์ของความ รอบรู้ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ (บุญเชดิ ภญิ โญอนนั ต์พงษ.์ มปป.135-139) อานาจจาแนก เปน็ ค่าทแี่ สดงประสิทธภิ าพของขอ้ สอบแตล่ ะข้อในการจาแนก กลุ่มผูส้ อบออกเปน็ กลมุ่ เก่ง และกลมุ่ อ่อน คานวณหาค่าได้ดงั สตู รคานวณ
ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 289 r PH PL n โดยท่ี r เป็นคา่ อานาจจาแนกของข้อสอบแตล่ ะข้อ PH เป็นจานวนผตู้ อบถูกในกลมุ่ สูง PL เปน็ จานวนผ้ตู อบถกู ในกลมุ่ ต่า n เป็นจานวนผตู้ อบท้งั หมดในกลมุ่ สูงหรือกลุ่มต่า(มีจานวนเทา่ กนั ) 1.2 การหาคา่ อานาจจาแนก 1.2.1 กรณแี บบทดสอบ เป็นการนาแบบทดสอบไปทดลองใชก้ ับนักเรยี น มสี ตู ร การคานวณ ดงั น้ี 1.2.1.1 กรณีคาตอบข้อสอบเป็นตัวถูก มีสูตรการคานวณ r RH RL NH เมอ่ื r เป็นคา่ อานาจจาแนกของข้อสอบ R H เปน็ จานวนคนทตี่ อบถกู ของกลุ่มสงู R L เปน็ จานวนคนท่ีตอบถกู ของกลุ่มต่า NH เป็นจานวนคนในกล่มุ สงู (จานวนคนในกลมุ่ สงู และกลุ่มต่าเท่ากนั ) เกณฑ์ในการพจิ ารณาอานาจจาแนกของข้อสอบมหี ลักเกณฑ์ ดังนี้ 1) ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบจะมคี ่าอยรู่ ะหวา่ ง 1 ถึง -1 มรี ายละเอียดของ เกณฑ์การพจิ ารณาตัดสนิ ดังน(ี้ Ebel,1978 : 267) ได้ 0.40 r เป็นข้อสอบทมี่ ีอานาจจาแนกดีมาก 0.30 r 0.39 เป็นขอ้ สอบท่มี ีอานาจจาแนกดี 0.20 r 0.29 เปน็ ขอ้ สอบทม่ี ีอานาจจาแนกพอใช้ ปรับปรงุ ตวั เลอื ก r 0.19 เป็นขอ้ สอบทีม่ ีอานาจจาแนกตา่ ควรตดั ทง้ิ 2)ถ้าคา่ อานาจจาแนกมีค่ามาก ๆ เขา้ ใกล้ 1 แสดงวา่ ขอ้ สอบข้อน้ันสามารถจาแนก คนเกง่ และคนอ่อนออกจากกันได้ดี 3) ถา้ ค่าอานาจจาแนกที่ได้มีค่าเปน็ ลบ จะเป็นข้อสอบท่ีไม่ดีไมส่ ามารถจาแนก กลุ่มผ้สู อบในลักษณะกลมุ่ เก่งตอบผิดและกลุ่มต่าตอบถกู ท่ีอาจเนื่องมาจากคาถามที่ไมช่ ัดเจน/ เฉลยคาตอบผิด/ตรวจใหค้ ะแนนทค่ี ลาดเคลื่อน หรือข้อสอบยากมาก 4) ถา้ คา่ อานาจจาแนกเปน็ ศูนย์ แสดงว่าข้อสอบขอ้ นั้นไม่สามารถจาแนกคนเก่ง และคนอ่อนแยกออกจากกนั ได้
หนา้ ที่ 290 บทท่ี 9 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวิจยั 5) ข้อสอบท่มี ีค่าอานาจจาแนกต้ังแต่0.2 ขนึ้ ไปจึงจะเปน็ ข้อสอบท่ีมอี านาจจาแนก ทีด่ แี ละข้อสอบทีม่ ีอานาจจาแนกทด่ี ีจะมีสดั สว่ นของคนเก่ง ปานกลาง และอ่อน เทา่ กับ 16 : 68 : 16 1.2.1.2 กรณีคาตอบข้อสอบเป็นตวั ลวง มีสตู รการคานวณ r RL RH NH เมือ่ r เปน็ ค่าอานาจจาแนกของขอ้ สอบ R H เป็นจานวนคนทีต่ อบถูกของกลมุ่ สูง R L เป็นจานวนคนทตี่ อบถกู ของกลมุ่ ต่า NH เปน็ จานวนคนในกลุ่มสูง(จานวนคนในกลุ่มสงู และกลุ่มต่าเทา่ กนั ) เกณฑ์พจิ ารณาอานาจจาแนกของตวั ลวงที่ดจี ะต้องมีอานาจจาแนกตั้งแต่0.05 ขึน้ ไปจึงจะ เป็นตวั ลวงท่ีมีอานาจจาแนกทีด่ ี 1.2.2 กรณีแบบสอบถาม เปน็ การนาแบบสอบถามไปทดลองใช้แลว้ นามา คานวณตามวิธีของ Normal Deviate Rating โดยใชเ้ ทคนคิ 25 % ของกลุ่มสงู และกลุม่ ตา่ ที่ วิเคราะหอ์ านาจจาแนกเปน็ รายขอ้ ดว้ ยการทดสอบที ทมี่ ีสตู รการคานวณ (Mclver and Carmines,1981:24) t XH XL S2H 2 S L nH nL เมื่อ t เปน็ คา่ ที XH เปน็ ค่าเฉลีย่ ข้อมูลของกลมุ่ สูง XL เปน็ ค่าเฉลีย่ ข้อมลู ของกลมุ่ ต่า SH2 เปน็ ความแปรปรวนของข้อมูลของกลุ่มสงู S 2 เปน็ ความแปรปรวนของข้อมูลของกลุ่มตา่ L nH เป็นจานวนคนในกลุม่ สงู 25 % nL เป็นจานวนคนในกลมุ่ ต่า 25 % เกณฑ์พจิ ารณาอานาจจาแนกจากการคานวณคา่ ที โดยพิจารณาวา่ ถา้ ค่าทมี ีค่าต้ังแต่ 1.75 ขึ้นไป แสดงวา่ ข้อคาถามข้อน้ันมอี านาจจาแนกสูงมีความเชื่อม่ันในการนาไปใช้ 1.3 ประโยชน์ของอานาจจาแนก มีดังนี้ 1.3.1 ใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการปรับปรงุ ข้อสอบเป็นรายตวั เลอื ก วา่ ควรจะปรับปรงุ ที่ตวั เลือกตวั ใดในแตล่ ะขอ้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 453
Pages: