Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-19 11:52:10

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คคูมูมือือคครรู รูายายวชิวชิาพาพ้นื น้ื ฐฐานาน วทิ ยาศาสตร เลม ๒ ตตาามมมมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรยีียนนรรแููแลละะตตัวัวชชี้วี้วัดดั กกลลมุมุ สสาารระะกกาารรเเรรยียี นนรรวููว ทิิทยยาาศศาาสสตตรร ((ฉฉบบบัับปปรรับับปปรรงุุง พพทุทุ ธธศศกักั รราาชช ๒๒๕๕๖๖๐๐)) ตตาามมหหลลักกั สสูตูตรรแแกกนนกกลลาางงกกาารรศศกึึกษษาาขขั้นนั้ พพน้ื้นื ฐฐาานน พพุทุทธธศศกัักรราาชช ๒๒๕๕๕๕๑๑

คูมอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๔ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตวั ชวี้ ดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จัดทาํ โดย สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาํ ชีแ้ จง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู แกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพื่อตองการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถที่ ทัดเทียมกับนานาชาติ ไดเรียนรูวิทยาศาสตรที่เช่ือมโยงความรูกับกระบวนการในการสืบเสาะหาความรูและ การแกปญหาท่ีหลากหลาย มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติเพ่ือใหผูเรียนไดใชทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ ซึ่งในปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนไปน้ี โรงเรียนจะตองใชหลักสูตร กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) สสวท. จึงไดจัดทําหนังสือเรียนท่ีเปนไป ตามมาตรฐานการเรยี นรูและตวั ช้ีวัดของหลกั สูตรเพ่ือใหโ รงเรียนไดใชส ําหรับจดั การเรยี นการสอนในชั้นเรยี น คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๔ เลม ๒ กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เลมนี้ สสวท. ไดพัฒนาขึ้น เพ่ือนําไปใชประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษา ปท ่ี ๔ เลม ๒ โดยภายในคมู ือครปู ระกอบดวยผังมโนทศั น ตวั ชว้ี ัด ขอแนะนําการใชคูมือครู ตารางแสดงความ สอดคลอ งระหวา งเน้ือหาและกจิ กรรมในหนงั สือเรียนกบั มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่มุงเนนการพัฒนาทักษะรอบดาน ทั้งการอาน การฝกปฏิบัติ การสาํ รวจตรวจสอบ การปฏบิ ัติการทดลอง การสืบคนขอ มลู และการอภปิ ราย โดยมีเปาหมาย ใหนักเรียนพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑ จิตวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู ทักษะการคิด การอาน การส่ือสาร การแกปญหา ตลอดจน การนาํ ความรูไ ปใชในชวี ติ ประจําวนั อยา งมีคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมแหง การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อยางมีความสุข ในการจัดทําคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมน้ี ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจาก คณาจารย ผูทรงคณุ วฒุ ิ นกั วิชาการ และครูผูสอน จากสถาบนั การศกึ ษาตา ง ๆ จงึ ขอขอบคุณไว ณ ท่นี ี้ สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมน้ี จะเปนประโยชนแกครูและผูเกี่ยวของทุกฝาย ที่จะชวยใหการจัด การศึกษาดานวิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีขอเสนอแนะใดท่ีจะทําใหคูมือครูเลมนี้ สมบรู ณย ิง่ ข้นึ โปรดแจง สสวท. ทราบดว ย จกั ขอบคุณยิ่ง (ศาสตราจารยชกู ิจ ลิมปจ ํานงค) ผอู าํ นวยการ สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

สารบญั หนา คําช้แี จง เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร ก คุณภาพของผูเรียนวิทยาศาสตรเมอื่ จบช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ข ทักษะท่ีสาํ คัญในการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ง ผังมโนทัศนร ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ช้นั ประถมศึกษาปท่ี 4 เลม 2 ซ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลางวิทยาศาสตร ช้นั ประถมศึกษาปท่ี 4 เลม 2 ฌ ขอ แนะนาํ การใชค ูม ือครู ฎ การจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตรในระดับประถมศึกษา น การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนการสืบเสาะความรูทางวทิ ยาศาสตร น การจัดการเรยี นการสอนทีส่ อดคลอ งกบั ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร พ การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ม ตารางแสดงความสอดคลองระหวา งเนอ้ื หาและกิจกรรม ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 เลม 2 ล กบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) หนวยที่ 4 วสั ดแุ ละสสาร 1 ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนว ยท่ี 4 วัสดแุ ละสสาร 1 บทท่ี 1 สมบตั ิทางกายภาพของวสั ดุ 3 บทน้ีเร่มิ ตนอยางไร 6 เร่อื งที่ 1 ความแขง็ ของวัสดุ 11 กจิ กรรมท่ี 1 วัสดแุ ตละชนิดมีความแข็งเปนอยา งไร 15 เรอ่ื งท่ี 2 สภาพยืดหยนุ ของวัสดุ 32 กจิ กรรมท่ี 2 วสั ดุแตละชนดิ มีสภาพยืดหยนุ เปน อยางไร 37 เร่อื งที่ 3 การนาํ ความรอ นของวัสดุ 54 กิจกรรมที่ 3 วัสดแุ ตละชนดิ มกี ารนาํ ความรอนเปนอยา งไร 60 เรือ่ งท่ี 4 การนาํ ไฟฟาของวสั ดุ 78 กิจกรรมท่ี 4 วัสดแุ ตละชนดิ มกี ารนําไฟฟาเปนอยางไร 82 กิจกรรมทายบทที่ 1 สมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุ 93 แนวคําตอบในแบบฝกหดั ทายบท 94

บทท่ี 2 สถานะของสสาร สารบญั บทน้เี ร่มิ ตน อยางไร หนา เรื่องท่ี 1 ของแข็ง 100 กจิ กรรมที่ 1.1 ของแขง็ มีมวลและตองการท่ีอยูหรือไมและมีรูปรา งอยางไร 103 กจิ กรรมที่ 1.2 ของแขง็ มีปริมาตรเปน อยางไร 106 110 เร่ืองที่ 2 ของเหลว 126 กจิ กรรมท่ี 2.1 ของเหลวมีมวลและตองการที่อยูห รือไม 139 กิจกรรมที่ 2.2 ของเหลวมีปริมาตร รปู รา ง และระดบั ผวิ หนา เปนอยางไร 143 156 เรือ่ งที่ 3 แกส 172 กิจกรรมท่ี 3.1 แกสมีมวลและตองการท่ีอยูหรือไม 176 กจิ กรรมท่ี 3.2 แกสมปี ริมาตรและรปู รา งเปน อยา งไร 189 202 กิจกรรมทา ยบทท่ี 2 สถานะของสสาร 209 หนวยท่ี 5 โลกและอวกาศ 209 ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจําหนว ยที่ 5 โลกและอวกาศ 211 214 บทท่ี 1 ดวงจนั ทรข องเรา 218 บทนเี้ ริ่มตนอยางไร 223 235 เรือ่ งท่ี 1 การขน้ึ และตกและรูปรา งของดวงจนั ทร 248 กิจกรรมท่ี 1.1 ดวงจนั ทรมกี ารข้ึนและตกหรือไม อยา งไร 249 กจิ กรรมที่ 1.2 ในแตละวันมองห็นดวงจันทรม รี ปู รางอยางไร 251 258 กิจกรรมทายบทท่ี 1 ดวงจันทรข องเรา 263 แนวคาํ ตอบในแบบฝก หดั ทายบท 277 บทท่ี 2 ระบบสุริยะของเรา 278 เรอ่ื งที่ 1 ระบบสุริยะ 281 286 กจิ กรรมท่ี 1 ระบบสรุ ิยะมีลักษณะอยางไร 287 กจิ กรรมทา ยบทที่ 2 ระบบสรุ ิยะของเรา แนวคาํ ตอบในแบบฝกหดั ทายบท แนวคําตอบในแบบทดสอบทา ยเลม บรรณานุกรม คณะทาํ งาน

ก คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 เปาหมายของการจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนเร่ืองของการเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติและนําผลท่ีไดมาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด น่นั คอื ใหไดท งั้ กระบวนการและองคความรู การจดั การเรียนรูวทิ ยาศาสตรใ นสถานศกึ ษามเี ปา หมายสาํ คญั ดงั น้ี 1. เพอ่ื ใหเขา ใจแนวคิด หลักการ ทฤษฎี กฎและความรูพื้นฐานในวทิ ยาศาสตร 2. เพอื่ ใหเ ขา ใจขอบเขตของธรรมชาติของวิทยาศาสตร และขอจาํ กัดของวทิ ยาศาสตร 3. เพือ่ ใหมีทกั ษะทส่ี ําคญั ในการสบื เสาะหาความรูและพฒั นาเทคโนโลยี 4. เพื่อใหตระหนักการมีผลกระทบซ่ึงกันและกันระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ สภาพแวดลอม 5. เพื่อนําความรูในแนวคิดและทักษะตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอ สงั คมและการดาํ รงชีวติ 6. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการ แกปญหาและการจัดการ ทักษะใน การสอ่ื สาร และความสามารถใน การประเมนิ และตัดสินใจ 7. เพื่อใหเปนผูที่มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยอี ยางสรา งสรรค  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ข คณุ ภาพของนักเรยี นวิทยาศาสตร เม่ือจบชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 6 นักเรียนท่ีเรียนจบช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ควรมีความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร ดังน้ี 1. เขาใจโครงสราง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของส่ิงมีชีวิต รวมท้ังความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตใน แหลงทอี่ ยู การทาํ หนา ที่ของสวนตาง ๆ ของพชื และการทาํ งานของระบบยอยอาหารของมนุษย 2. เขาใจสมบัติและการจําแนกกลุมของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลาย การเปล่ยี นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงที่ผนั กลบั ไดแ ละผนั กลบั ไมได และการแยกสารอยางงาย 3. เขาใจลักษณะของแรงโนมถวงของโลก แรงลัพธ แรงเสียดทาน แรงไฟฟาและผลของแรงตางๆ ผลที่ เกิดจากแรงกระทําตอวัตถุ ความดัน หลักการที่มีตอวัตถุ วงจรไฟฟาอยางงาย ปรากฏการณเบ้ืองตน ของเสียง และแสง 4. เขาใจปรากฏการณก ารขึน้ และตก รวมถึงการเปล่ียนแปลงรูปรางปรากฏของดวงจันทร องคประกอบ ของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห ความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษ การข้ึน และตกของกลุมดาวฤกษ การใชแผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชนของเทคโนโลยี อวกาศ 5. เขาใจลักษณะของแหลงนํ้า วัฏจักรนํ้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง นํ้าคางแข็ง หยาดน้ําฟา กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใชประโยชนหินและแร การเกิดซากดึกดําบรรพ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ ปรากฏการณเ รือนกระจก 6. คน หาขอ มลู อยางมปี ระสทิ ธภิ าพและประเมนิ ความนา เชอ่ื ถอื ตดั สนิ ใจเลือกขอมูลใชเหตุผลเชิงตรรกะ ในการแกปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทํางานรวมกัน เขาใจสิทธิและหนาท่ี ของตน เคารพสทิ ธิของผูอนื่ 7. ตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาเก่ียวกับส่ิงที่จะเรียนรูตามท่ีกําหนดใหหรือตามความสนใจ คาดคะเน คําตอบหลายแนวทาง สรางสมมติฐานท่ีสอดคลองกับคําถามหรือปญหาที่จะสํารวจตรวจสอบ วางแผนและสํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการ เก็บรวบรวมขอ มูลทัง้ เชิงปริมาณและคุณภาพ 8. วิเคราะหขอมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธของขอมูลที่มาจากการสํารวจตรวจสอบใน รูปแบบท่ีเหมาะสม เพื่อส่ือสารความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบไดอยางมีเหตุผลและหลักฐาน อา งองิ 9. แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามความ สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในขอมูลท่ีมีหลักฐานอางอิง และรับฟงความ คิดเห็นผอู ื่น สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ค คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 10. แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย จน งานลุลวงเปนผลสําเร็จ และทํางานรวมกับผอู ่นื อยา งสรา งสรรค 11. ตระหนักในคณุ คาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในการดํารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกยอง และเคารพสิทธิในผลงานของผูคิดคนและศึกษาหาความรู เพิ่มเติม ทําโครงงานหรอื ชนิ้ งานตามที่กําหนดใหห รอื ตามความสนใจ 12. แสดงถึงความซาบซ้ึง หวงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอมอยา งรคู ุณคา  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ง ทกั ษะทส่ี าํ คญั ในการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ทกั ษะสําคัญท่ีครผู ูส อนจาํ เปนตอ งพัฒนาใหเกิดขน้ึ กบั นักเรียนเมื่อมีการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เชน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science Process Skills) การเรียนรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพ่ือนําไปสู การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอื่นๆ เพ่ือนําขอมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร ประกอบดว ย ทกั ษะการสงั เกต (Observing) เปนความสามารถในการใชป ระสาทสมั ผัสอยางใดอยางหน่ึง หรือ หลายอยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของ ผสู งั เกตลงไปดว ย ประสาทสัมผสั ท้งั 5 อยาง ไดแก การดู การฟง เสียง การดมกลิ่น การชมิ รส และการสัมผัส ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือในการวัดปริมาณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งตาง ๆ จากเครื่องมือท่ีเลือกใชออกมาเปน ตัวเลขไดถ กู ตอ งและรวดเร็ว พรอมระบุหนวยของการวดั ไดอยา งถูกตอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) เปนความสามารถในการคาดการณอยางมี หลักการเกี่ยวกับเหตุการณหรือปรากฏการณ โดยใชขอมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ท่ีเคย เก็บรวบรวมไวในอดีต ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปนความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม ส่ิงตาง ๆ ท่ีสนใจ เชน วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณท่ีตองการศึกษาออกเปน หมวดหมู นอกจากน้ียังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะ หนึ่งของสงิ่ ตา ง ๆ ทต่ี อ งการจําแนก ทักษะการหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พื้นท่ีท่ีวัตถุครอบครอง ในที่น้ีอาจเปนตําแหนง รูปราง รูปทรงของวัตถุ ส่ิงเหลาน้ีอาจมีความสัมพันธกัน ดงั น้ี การหาความสมั พนั ธระหวางสเปซกับสเปซ เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ สั ม พั น ธ กั น ร ะ ห ว า ง พ้ื น ที่ ท่ี วั ต ถุ ต า ง ๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

จ คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 การหาความสมั พันธร ะหวางสเปซกับเวลา เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ (Relationship between Space and Time) สัมพันธกันระหวางพื้นท่ีท่ีวัตถุครอบครอง เมื่อเวลาผานไป ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และ การคํานวณเพ่ือบรรยายหรอื ระบุรายละเอยี ดเชงิ ปริมาณของสง่ิ ท่ีสงั เกตหรือทดลอง ทักษะการจัดกระทําและส่ือความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปน ความสามารถในการนาํ ผลการสังเกต การวดั การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบท่ี มคี วามหมายหรือมีความสมั พนั ธก ันมากขน้ึ จนงา ยตอการทาํ ความเขา ใจหรอื เห็นแบบรปู ของขอมูล นอกจากน้ี ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขยี นบรรยาย เพ่อื สอ่ื สารใหผ อู ื่นเขาใจความหมายของขอ มูลมากขึ้น ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ การสังเกต การทดลองที่ไดจากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณที่ แมนยําจึงเปนผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดท่ีถูกตอง การบันทึก และการจัดกระทํากับขอมูลอยาง เหมาะสม ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบ ลวงหนากอนจะทําการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพ้ืนฐานคําตอบที่คิด ลวงหนาที่ยังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การตั้งสมมติฐานหรือคําตอบท่ีคิดไว ลวงหนามักกลาวไวเปนขอความท่ีบอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเปนไปตามที่ คาดการณไ วหรือไมก ็ได ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการ กาํ หนดความหมายและขอบเขตของส่ิงตา ง ๆ ที่อยใู นสมมตฐิ านของการทดลอง หรือที่เกี่ยวของกับการทดลอง ใหเขาใจตรงกนั และสามารถสงั เกตหรอื วดั ได ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เปนความสามารถในการ กําหนดตัวแปรตาง ๆ ทั้งตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ ใหสอดคลองกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอ่ืน ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน แตอาจ สงผลตอผลการทดลอง หากไมควบคุมใหเหมือนกันหรือเทากัน ตัวแปรท่ีเก่ียวของกับการทดลอง ไดแก ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ีตอ งควบคมุ ใหค งที่ ซงึ่ ลวนเปน ปจ จัยทีเ่ ก่ยี วขอ งกับการทดลอง ดังน้ี ตวั แปรตน ส่งิ ท่เี ปน ตน เหตุทาํ ใหเกิดการเปลี่ยนแปลง จงึ ตองจัด (Independent Variable) สถานการณใหม ีส่งิ น้แี ตกตางกัน  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ฉ ตัวแปรตาม สง่ิ ทีเ่ ปน ผลจากการจัดสถานการณบางอยางให (Dependent Variable) แตกตา งกัน และเราตอ งสังเกต วดั หรือตดิ ตามดู ตัวแปรท่ีตองควบคมุ ใหค งที่ ส่ิงตา ง ๆ ทอ่ี าจสงผลตอการจัดสถานการณ จึงตองจัด (Controlled Variable) ส่งิ เหลานีใ้ หเ หมอื นกนั หรอื เทากัน เพ่ือใหม นั่ ใจวาผล จากการจัดสถานการณเกดิ จากตัวแปรตน เทา นั้น ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองไดอยางรอบคอบ และสอดคลองกับคําถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึง ความสามารถในการดําเนินการทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองไดละเอียด ครบถว น และเทีย่ งตรง ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของขอมูลที่มีอยู ตลอดจน ความสามารถในการสรปุ ความสัมพันธข องขอ มลู ทั้งหมด ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรางและใชส่ิงท่ีทํา ข้ึนมาเพ่ือเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณท่ีศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคล่ือนไหว รวมถึงความสามารถในการนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพื่อใหผูอ่ืนเขาใจในรูป ของแบบจําลองแบบตา ง ๆ ทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานไดระบุทักษะที่จําเปนแหงศตวรรษท่ี 21 ท่ีสอดคลองกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง ยุคใหมรวม 7 ดาน (สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดับประถมศกึ ษาจะเนน ใหค รูผสู อนสงเสรมิ ใหน ักเรียนมีทักษะ ดังตอ ไปนี้ การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับสถานการณ มีการคดิ อยางเปนระบบ วิเคราะห และประเมินหลกั ฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองท่ี หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจัดทําขอสรุป สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใช ประสบการณแ ละกระบวนการเรียนรู การแกปญ หา (Problem Solving) หมายถึง การแกปญหาทไี่ มค ุน เคย หรือปญหาใหมได โดยอาจ ใชความรู ทกั ษะ วิธกี ารและประสบการณทีเ่ คยรูม าแลว หรือการสืบเสาะหาความรู วิธีการใหมมาใชแกปญหา กไ็ ด นอกจากน้ียังรวมถงึ การซักถามเพ่ือทําความเขา ใจมมุ มองทแ่ี ตกตาง หลากหลายเพื่อใหไดวิธีแกปญหาท่ีดี มากข้ึน สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ช คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 การสื่อสาร (Communications) หมายถึง ความสามารถในการส่ือสารไดอยางชัดเจน เชื่อมโยง เรียบเรยี งความคิดเเละมมุ มองตาง ๆ แลวส่ือสารโดยการใชคําพูด ไมใชคําพูดหรือการเขียน เพ่ือใหผูอื่นเขาใจ ไดหลากหลายรูปแบบและวัตถุประสงคนอกจากนี้ยังรวมไปถึงการฟงอยางมีประสิทธิภาพเพ่ือใหเขาใจ ความหมายของผูสง สาร ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง การแสดงความสามารถในการทํางานรวมกับคนกลุมตาง ๆ ท่ีหลากหลายอยางมีประสิทธิภาพและใหเกียรติ มีความยืดหยุนและยินดีที่จะประนีประนอม เพื่อใหบรรลุ เปาหมาย การทํางาน พรอมทั้งยอมรับและแสดงความรับผิดชอบตองานท่ีทํารวมกัน และเห็นคุณคาของ ผลงานท่ีพัฒนาขึน้ จากสมาชิกแตละคนในทมี การสรางสรรค (Creativity) หมายถึง การใชเทคนิคท่ีหลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด เชน การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตอยอดแนวคิดเดิม หรือไดแนวคิดใหม และ ความสามารถในการกล่นั กรอง ทบทวน วเิ คราะห และประเมินแนวคิด เพ่ือปรับปรุงใหไดแนวคิดที่จะสงผลให ความพยายามอยา งสรางสรรคน ี้เปนไปไดม ากทีส่ ุด การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อเปนเคร่ืองมือในการสืบคน จัดกระทํา ประเมินและสอ่ื สารขอ มูลความรูตลอดจนรูเ ทา ทนั ส่ือโดยการใชสือ่ ตาง ๆ ไดอ ยางเหมาะสมมีประสทิ ธิภาพ  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ซ ผงั มโนทศั น (concept map) รายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 4 เลม 2 เนื้อหาการเรยี นรวู ิชาวทิ ยาศาสตร ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 4 เลม 2 ประกอบดวย หนวยที่ 4 วสั ดุและสสาร หนว ยที่ 5 โลกและอวกาศ ไดแ ก ไดแ ก ความแข็งของวัสดุ การขน้ึ และตกและ รปู รางของดวงจันทร สภาพยืดหยนุ ของวัสดุ ระบบสรุ ยิ ะ การนาํ ความรอ นของวัสดุ การนาํ ไฟฟา ของแข็ง ของเหลว แกส สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฌ คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง วิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ตัวชีว้ ดั ช้นั ป สาระการเรียนรแู กนกลาง มาตรฐาน ว ๒.๑ เปรยี บเทยี บสมบัตทิ าง วสั ดแุ ตละชนิดมสี มบัตทิ างกายภาพแตกตางกัน วัสดุท่ีมี กายภาพ ดา นความแข็ง ความแข็งจะทนตอแรงขูดขีด วัสดุท่ีมีสภาพยืดหยุนจะ สภาพยดื หยนุ การนาความ เปล่ียนแปลงรูปรางเมื่อมีแรงมากระทําและกลับสภาพ รอ น และการนาไฟฟาของ เดิมได วัสดุที่นําความรอนจะรอนไดเร็วเม่ือไดรับความ วสั ดุโดยใชหลกั ฐานเชิง รอน และวัสดุที่นําไฟฟาได จะใหกระแสไฟฟาไหลผาน ประจักษจากการทดลองและ ได ดังนั้น จึงอาจนําสมบัติตาง ๆ มาพิจารณาเพื่อใชใน ระบุการนาสมบัตเิ รือ่ งความ กระบวนการออกแบบชิ้นงานเพ่ือใชประโยชนใน แขง็ สภาพยดื หยุน การนา ชวี ติ ประจาํ วนั ความรอ น และการนาไฟฟา ของวสั ดไุ ปใชในชวี ิตประจา วนั ผานกระบวนการ ออกแบบชน้ิ งาน มาตรฐาน ว ๒.๑ แลกเปล่ยี นความคิดกบั ผอู ่ืน โดยการอภิปรายเกย่ี วกับ สมบตั ิทางกายภาพของวัสดุ อยา งมเี หตุผลจากการทดลอง มาตรฐาน ว ๒.๑ เปรยี บเทยี บสมบัติของสสาร วัสดุเปนสสารเพราะมีมวลและตองการท่ีอยู สสารมี ทงั้ ๓ สถานะ จากขอ มลู ทไี่ ด สถานะเปนของแข็ง ของเหลว หรือแกส ของแข็งมี จากการสงั เกตมวล การ ปริมาตรและรูปรางคงท่ี ของเหลวมีปริมาตรคงท่ีแตมี ตอ งการทอี่ ยู รปู รางและ รูปรา งเปลยี่ นไปตามภาชนะเฉพาะสวนท่ีบรรจุของเหลว ปริมาตรของสสาร สวนแกสมีปริมาตรและรูปรางเปล่ียนไปตามภาชนะท่ี บรรจุ มาตรฐาน ว ๒.๑ ใชเ คร่ืองมือเพือ่ วัดมวล และ ปริมาตรของสสารทั้ง ๓ สถานะ มาตรฐาน ว ๒.๒ ระบุผลของแรงโนมถวงที่มี แรงโนมถวงของโลกเปนแรงดึงดูดท่ีโลกกระทําตอวัตถุมี ตอวัตถุจากหลักฐานเชิง ทิศทางเขาสูศูนยกลางโลกและเปนแรงไมสัมผัส แรง ประจักษ ดึงดูดท่ีโลกกระทํากับวัตถุหนึ่ง ๆ ทําใหวัตถุตกลงสูพ้ืน  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ญ ตัวชว้ี ดั ชนั้ ป สาระการเรียนรูแกนกลาง โลก และทําใหวัตถุมีน้ําหนัก วัดนํ้าหนักของวัตถุไดจาก เครื่องช่ังสปริง นํ้าหนักของวัตถุขึ้นกับมวลของวัตถุ โดย วัตถุที่มีมวลมากจะมีนํ้าหนักมาก วัตถุที่มีมวลนอยจะมี น้ําหนักนอย มาตรฐาน ว ๒.๒ ใชเคร่ืองช่ังสปริงในการวัด น้ําหนักของวตั ถุ มาตรฐาน ว ๒.๒ บรรยายมวลของวัตถุที่มีผล มวล คือ ปริมาณเนื้อของสารท้ังหมดท่ีประกอบกันเปน ตอการเปล่ียนแปล งการ วัตถุซึ่งมีผลตอความยากงายในการเปล่ียนแปลงการ เ ค ล่ื อ น ท่ี ข อ ง วั ต ถุ จ า ก เคลื่อนท่ีของวัตถุวัตถุที่มีมวลมากจะเปล่ียนแปลงการ หลกั ฐานเชิงประจักษ เคลือ่ นทไ่ี ดยากกวา วัตถทุ ม่ี มี วลนอ ย ดังน้ันมวลของวัตถุนอกจากจะหมายถึงเน้ือท้ังหมดของ วัตถุนั้นแลวยังหมายถึงการตานการเปลี่ยนแปลงการ เคลื่อนที่ของวตั ถนุ ั้นดวย มาตรฐาน ว ๒.๓ จําแนกวัตถุเปนตัวกลาง เม่ือมองส่ิงตาง ๆ โดยมีวัตถุตางชนิดกันมากั้น จะทําให โปรงใส ตัวกลางโปรงแสง การมองเห็นส่ิงน้ันชัดเจนตางกัน จึงจําแนกวัตถุท่ีมากั้น และวัตถุทึบแสง โดยใช แสงออกเปนตัวกลางโปรงใส ซึ่งทําใหมองเห็นส่ิงตาง ๆ ลักษณะการมองเห็นสิ่งตาง ไดช ดั เจน ตวั กลางโปรงแสงทาํ ใหม องเหน็ ส่ิงตาง ๆ ไดไม ๆ ผานวัตถุนั้นเปนเกณฑ ชดั เจน และวัตถุทึบแสงทําใหมองไมเหน็ ส่ิงตา ง ๆ จากหลักฐานเชงิ ประจักษ มาตรฐาน ว ๓.๑ อธิบายแบบรูปเสนทางการ ดวงจันทรเปนบริวารของโลก โดยดวงจันทรโคจรรอบ ขึ้นและตกของดวงจันทร โลกพรอมกับหมุนรอบตัวเอง ขณะที่โลกก็หมุนรอบ โดยใชหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ ตัวเองดวยเชนกัน การหมุนรอบตัวเองของโลกจากทิศ ตะวันตกไปทิศตะวันออกในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเมื่อ มองจากขวั้ โลกเหนือ ทําใหมองเห็นดวงจันทรปรากฏข้ึน ทางดานทิศตะวันออกและตกทางดานทิศตะวันตก หมุนเวียนเปน แบบรูปซํ้า ๆ มาตรฐาน ว ๓.๑ สรางแบบจาํ ลองท่ี อธบิ าย ดวงจันทรเปนวัตถุที่เปนทรงกลม แตรูปรางของดวง แบบรปู การเปล่ียนแปลง จันทรท่ีมองเห็นหรือรูปรางปรากฏของดวงจันทรบน รปู รา งปรากฏของดวงจันทร ทองฟาแตกตางกันไปในแตละวัน โดยในแตละวันดวง และพยากรณร ปู รางปรากฏ จันทรจะมีรูปรางปรากฏเปนเส้ียวที่มีขนาดเพ่ิมข้ึนอยาง ของดวงจันทร ตอเนื่องจนเต็มดวง จากน้ันรูปรางปรากฏของดวงจันทร จะแหวงและมีขนาดลดลงอยางตอเน่ืองจนมองไมเห็น สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฎ คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ตวั ชี้วัดช้นั ป สาระการเรยี นรแู กนกลาง ดวงจันทร จากนั้นรูปรางปรากฏของดวงจันทรจะเปน มาตรฐาน ว ๓.๑ สรา งแบบจาํ ลองแสดง เสี้ยวใหญข้ึนจนเต็มดวงอีกคร้ัง การเปล่ียนแปลงเชนนี้ องคประกอบของระบบสรุ ิยะ เปนแบบรูปซํ้ากนั ทกุ เดือน และอธิบาย เปรียบเทียบคาบ การโคจรของดาวเคราะหตา ง ระบบสรุ ยิ ะเปน ระบบที่มดี วงอาทิตยเ ปน ศนู ยกลางและมี ๆ จากแบบจําลอง บริวารประกอบดวยดาวเคราะหแปดดวงและบริวาร ซ่ึง ดาวเคราะหแตละดวงมีขนาดและระยะหางจากดวง อาทิตยแตกตางกัน และยังประกอบดวย ดาวเคราะห แคระ ดาวเคราะหนอย ดาวหาง และวัตถุขนาดเล็กอ่ืน ๆ โคจรอยูรอบดวงอาทิตย วัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ เม่ือเขา มาในชั้นบรรยากาศเน่ืองจากแรงโนมถวงของโลกทําให เกดิ เปน ดาวตกหรือผพี งุ ไตแ ละอกุ กาบาต  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ฏ ขอแนะนําการใชคมู ือครู คูม อื ครเู ลมนีจ้ ัดทําขน้ึ เพือ่ ใชเ ปนแนวทางการจัดกจิ กรรมสําหรับครู ในแตละหนวยการเรียนรูนักเรียน จะไดฝกทกั ษะจากการทํากิจกรรมตา ง ๆ ทัง้ การสงั เกต การสํารวจ การทดลอง การสืบคนขอมูล การอภิปราย การทํางานรว มกัน ซ่ึงเปนการฝกใหน ักเรยี นชา งสงั เกต รูจักต้ังคําถาม รูจักคิดหาเหตุผล เพ่ือตอบปญหาตาง ๆ ไดดวยตนเอง ใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากท่ีสุด ดังนั้นในการจัดการเรียนรูครูจึงเปนผู ชวยเหลอื สง เสรมิ และสนับสนุนนักเรียนใหร ูจักสืบเสาะหาความรูและมีทักษะจากการศึกษาหาความรูจากสื่อ และแหลงการเรียนรตู าง ๆ และเพม่ิ เตมิ ขอมูลที่ถูกตองแกน กั เรยี น เพื่อใหเกิดประโยชนจากคูมือครูเลมนี้มากท่ีสุด ครูควรทําความเขาใจในรายละเอียดของแตละหัวขอ และขอ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ดงั น้ี 1. สาระการเรยี นรูแ กนกลาง เปนสาระการเรียนรูเฉพาะกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีปรากฏในมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซง่ึ กําหนดไวเฉพาะสว นท่ีจาํ เปนสําหรับเปนพื้นฐานเก่ียวของกับชีวิตประจําวัน และเปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน โดยสอดคลองกับสาระและความสามารถ ความถนัด และความสนใจของนักเรียน และในทุกกิจกรรมจะมีสาระสําคัญ ซ่ึงเปนเนื้อหาสาระที่ปรากฏอยูตาม สาระการเรยี นรูโดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพ่ิมเติมไดตามความเหมาะสม สําหรับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดเพิ่มสาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบดวยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคํานวณ ท้ังนี้เพื่อเอ้ือตอการจัดการเรียนรู บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวิศวกรรมตามแนวคิด สะเตม็ ศกึ ษา 2. ภาพรวมการจัดการเรียนรปู ระจาํ หนว ย เปนภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนวยมีไวเพ่ือเช่ือมโยงเน้ือหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรู และตวั ชีว้ ดั ที่จะไดเ รียนในแตละกิจกรรมของหนวยน้ัน ๆ และเปนแนวทางใหครูผูสอนนําไปปรับปรุง และเพมิ่ เตมิ ตามความเหมาะสม 3. จุดประสงคการเรยี นรู ในแตละหนวยการเรียนรูนักเรียนจะไดทํากิจกรรมอยางหลากหลาย ในแตละสวนของหนังสือเรียน ท้ังสวนนําบท นําเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้นปเพ่ือให นักเรียน เกิดการเรยี นรู โดยยึดหลักใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการแกปญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตและ ในสถานการณใ หม มีทักษะในการใชเ ทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสม สามารถอยใู นสงั คมไทยไดอยางมีความสขุ สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ฐ คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 4. บทนม้ี ีอะไร เปนสวนท่ีบอกรายละเอียดในบทน้ัน ๆ ซ่ึงประกอบดวยชื่อเรื่อง คําสําคัญ และช่ือกิจกรรม เพื่อ ครูจะไดท ราบองคประกอบโดยรวมของแตล ะบท 5. สอื่ การเรียนรแู ละแหลงเรียนรู เปน สว นทีบ่ อกรายละเอียดสือ่ การเรียนรูและแหลงเรียนรูที่ตองใชสําหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมนั้น ๆ โดยส่ือการเรียนรูและแหลงเรียนรูประกอบดวยหนาหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต เว็บไซต สื่อสิ่งพิมพ สื่อโสตทัศนูปกรณหรือตัวอยางวีดิทัศนปฏิบัติการ ทางวทิ ยาศาสตรเ พือ่ เสรมิ สรางความมัน่ ใจในการสอนปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตรส ําหรับครู 6. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะท่ีนักเรียนจะไดฝกปฏิบัติในแตละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เปนทักษะท่ีนักวิทยาศาสตรนํามาใชในกระบวนการตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู สวนทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะท่ีชวยเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความสามารถของนักเรียนในดานตาง ๆ เพ่อื ใหทันตอ การเปลย่ี นแปลงของโลก  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ฑ ตวั อยางวีดิทศั นป ฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตรเพอ่ื ฝกฝนทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต า ง ๆ มีดังน้ี รายการตัวอยา งวีดิทศั น ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code วิทยาศาสตร ปฏบิ ตั กิ าร ทางวิทยาศาสตร วดี ทิ ัศน การสังเกตและการลง การสังเกตและการลง http://ipst.me/8115 ความเหน็ จากขอมลู ความเหน็ จากขอมลู ทําไดอ ยางไร วดี ทิ ัศน การวัดทําไดอยา งไร การวดั http://ipst.me/8116 วดี ิทัศน การใชตวั เลข การใชจ าํ นวน http://ipst.me/8117 ทาํ ไดอยา งไร วีดิทศั น การจาํ แนกประเภท การจําแนกประเภท http://ipst.me/8118 ทาํ ไดอยา งไร วีดทิ ัศน การหาความสัมพันธ การหาความสัมพนั ธ http://ipst.me/8119 ระหวา งสเปซกบั สเปซ ระหวา งสเปซกบั สเปซ http://ipst.me/8120 http://ipst.me/8121 ทําไดอยา งไร http://ipst.me/8122 วดี ิทศั น การหาความสัมพนั ธ การหาความสัมพนั ธ ระหวา งสเปซกับเวลา ระหวางสเปซกับเวลา ทาํ ไดอยา งไร วีดทิ ัศน การจดั กระทาํ และสื่อ การจัดกระทาํ และส่ือ ความหมายขอมูล ความหมายขอมลู ทําไดอยา งไร วีดิทศั น การพยากรณ การพยากรณ ทําไดอยางไร สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฒ คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 รายการตวั อยางวดี ิทศั น ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code ปฏิบตั ิการ วิทยาศาสตร http://ipst.me/8123 ทางวิทยาศาสตร การทดลอง วีดทิ ศั น ทําการทดลองได อยา งไร วดี ิทัศน การตงั้ สมมติฐานทําได การตั้งสมมตฐิ าน http://ipst.me/8124 อยางไร วดี ทิ ศั น การกําหนดและ การกาํ หนดและควบคุม http://ipst.me/8125 ควบคมุ ตัวแปรและ ตัวแปรและ http://ipst.me/8126 การกําหนดนยิ ามเชิง การกําหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบัตกิ ารทาํ ได ปฏิบัติการ อยา งไร การตคี วามหมายขอมูลและ วดี ทิ ัศน การตีความหมายของ ลงขอ สรุป ขอ มูลและลงขอสรปุ ทาํ ไดอยา งไร วีดทิ ศั น การสรางแบบจาํ ลอง การสรา งแบบจาํ ลอง http://ipst.me/8127 ทําไดอยางไร  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ณ 7. แนวคิดคลาดเคลื่อน เปนความเช่ือ ความรู หรือความเขาใจท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียน ซ่ึงอาจเกิดข้ึนจากประสบการณใน การเรียนรูที่รับมาผิดหรือนําความรูที่ไดรับมาสรุปความเขาใจของตนเองผิด แลวไมสามารถอธิบาย ความเขาใจน้ันได โดยเม่ือเรียนจบบทนี้แลวครูควรแกไขแนวคิดคลาดเคล่ือนน้ันใหเปนแนวคิดท่ี ถูกตอง 8. บทนเ้ี ร่ิมตน อยา งไร เปนแนวทางสําหรบั ครูในการจัดการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรเพ่ือสงเสริมใหน ักเรียนรจู ักคิดดวยตนเอง รูจกั คนควาหาเหตุผล โดยครูกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้น ๆ และใหนักเรียนตอบ คาํ ถามสาํ รวจความรกู อ นเรยี น จากนัน้ ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนโดยครูยังไมเฉลยคําตอบ ท่ีถูกตอง เพอื่ ใหน กั เรียนไปหาคําตอบจากเร่ืองและกจิ กรรมตา ง ๆ ในบทนัน้ 9. เวลาทีใ่ ช เปนการเสนอแนะวาในแตละสวนควรใชเวลาประมาณกี่ช่ัวโมง เพ่ือชวยใหครูผูสอนไดจัดทํา แผนการจดั การเรยี นรูไ ดอยา งเหมาะสม อยางไรก็ตามครูอาจปรับเปลี่ยนเวลาไดตามสถานการณและ ความสามารถของนกั เรียน 10. วสั ดอุ ปุ กรณ เปนรายการวัสดุอุปกรณท่ีใชท้ังหมดในการจัดกิจกรรม โดยอาจมีท้ังวัสดุสิ้นเปลือง อุปกรณ สําเรจ็ รปู อุปกรณพน้ื ฐาน หรืออ่ืน ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว งหนา สาํ หรบั ครู เพ่อื จดั การเรียนรูในคร้ังถัดไป เปนการเตรยี มตัวลวงหนาสําหรบั ครสู ําหรบั การจดั การเรียนรูในครั้งถัดไป เพื่อครูจะไดเตรียมสื่อ อุปกรณ เครื่องมือตาง ๆ ที่ตองใชในกิจกรรมใหอยูในสภาพที่ใชการไดดีและมีจํานวนท่ีเพียงพอกับ นักเรียน โดยอาจมีบางกิจกรรมตองทําลวงหนาหลายวัน เชน การเตรียมถุงปริศนาและขาวโพดค่ัว หรือสิ่งที่กนิ ได ขอ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษา มีกระบวนการคิดที่เปนรูปธรรม จึงควรจัดการเรียนการสอนท่ี มุงเนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติหรือทําการทดลองซึ่งเปนวิธีหน่ึงท่ีนักเรียนจะไดมีประสบการณตรง ดังนั้น ครูผูสอนจงึ ตองเตรียมตัวเองในเรื่องตอไปน้ี 11.1 บทบาทของครู โดยครูจะตองเปล่ียนแปลงบทบาทจากการเปนผูช้ีนําหรือผูถายทอด ความรูเปนผูชวยเหลือ สงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรูจากส่ือและ แหลงการเรียนรูตาง ๆ และใหขอมูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพ่ือนําขอมูลเหลาน้ันไปใช สรา งสรรคความรขู องตนเอง สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ด คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน โดยครูควรเตรียมนักเรียนใหพรอมอยูเสมอในการทํา กจิ กรรมตาง ๆ บางคร้ังนักเรียนไมเขาใจและอาจจะทํากจิ กรรมไมถูกตอง ดังนั้นครูจึงตอง เตรียมตัวเอง โดยทําความเขาใจในเรื่องตอไปนี้ การสืบคน ขอ มลู หรอื การคนควา เปน การหาความรูดว ยตนเอง โดยวิธีการตาง ๆ เชน การสอบถามจากผูรูในทองถิ่น การดูจากรูปภาพแผนภูมิ การอานหนังสือหรือเอกสาร เทาที่หาได นั่นคือการใหนักเรียนเปนผูหาความรูและพบความรูหรือขอมูลดวยตนเอง ซ่ึง เปน การเรียนรูวิธแี สวงหาความรู การนําเสนอ มีหลายวธิ ี เชน การใหนักเรียนหรือตัวแทนกลุมออกมาเลาเร่ืองที่ไดรับ มอบหมายใหไปสํารวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจใหเขียนเปนคําหรือเปนประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอ่ืนตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจใหวาดรูป หรือตัด ขอ ความจากหนงั สือพิมพ แลว นาํ มาตดิ ไวใ นหอง เปน ตน การสํารวจ ทดลอง สืบคนขอมูล สรางแบบจําลองหรืออื่น ๆ เพ่ือสรางองคความรู เปนส่ิงสําคัญยิ่งตอการเรียนรูวิทยาศาสตร ครูผูสอนสามารถใหนักเรียนทํากิจกรรมไดทั้ง ในหองเรียน นอกหองเรยี นหรือท่ีบาน โดยไมจาํ เปนตองใชอุปกรณวิทยาศาสตรราคาแพง ซ่ึงอาจดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช หรือใชวัสดุธรรมชาติมาทํากิจกรรมได ขอสําคัญ คือ ครูผสู อนตอ งใหน กั เรียนทราบวา ทําไมจึงตอ งทํากิจกรรมน้ัน และจะตองทําอะไร อยางไร ผลจากการทํากิจกรรมจะสรุปผลอยางไร ซ่ึงจะทําใหนักเรียนไดความรู ความคิด และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรพรอมกับเกิดคานิยม คุณธรรม เจตคติทาง วทิ ยาศาสตรด ว ย 12. แนวการจดั การเรียนรู เปนแนวทางสําหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรที่มุงสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิด ดว ยตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผลและสามารถแกปญหาไดดวยการนําเอาวิธีการตาง ๆ ของกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรไปใช วิธีการจัดการเรียนรูที่ สสวท. เห็นวาเหมาะสมท่ีจะนํานักเรียนไปสูเปาหมายท่ี กําหนดไวก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู ซ่ึงมีองคประกอบท่ีสําคัญ คือ การมองเห็นปญหา การ สาํ รวจตรวจสอบ และอภปิ รายซักถามระหวางครกู ับนักเรยี นเพ่ือนําไปสขู อมลู สรปุ ขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ นอกจากครูจะจัดกิจกรรมตาง ๆ ตามคูมือครูน้ี ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูตามบริบทของ ตนเองใหบ รรลจุ ดุ มงุ หมาย โดยจะคาํ นึงถงึ เรอื่ งตาง ๆ ดงั ตอ ไปน้ี 12.1 การมสี วนรว มในกิจกรรมการเรียนรูของนักเรียน โดยครูควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมใน กิจกรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมและอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตาง ๆ ของการสอน เชน การใชคําถาม การเสริมพลังมาใชใหเปนประโยชน ทีจ่ ะทาํ ใหการเรยี นการสอนนาสนใจและมชี วี ติ ชวี า  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ต 12.2 การใชค าํ ถาม โดยครูควรวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนํานักเรียนเขา สูบทเรียนและลงขอสรุปไดโดยที่ไมใชเวลานานเกินไป ซ่ึงครูควรเลือกใชคําถามที่มีความ ยากงายพอเหมาะกับความสามารถของนักเรยี น 12.3 การสํารวจตรวจสอบซํ้า เปนส่ิงจําเปนเพื่อใหไดขอมูลท่ีนาเช่ือถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู ครู ควรเนนยํ้าใหนักเรยี นไดส ํารวจตรวจสอบซ้ําเพื่อนาํ ไปสูข อ สรปุ ทีถ่ กู ตอ งมากขนึ้ และเชื่อถือได 13. ขอเสนอแนะเพ่ิมเตมิ เปน ขอเสนอแนะสําหรับครูที่อาจเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู เชน ตัวอยางวัสดุอุปกรณที่ เหมาะสม หรือใชแทน ขอควรระวัง วิธีการใชอุปกรณใหเหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทํากิจกรรม เพือ่ ลดขอ ผดิ พลาด ตัวอยางตาราง และเสนอแหลงเรยี นรเู พือ่ การคน ควาเพ่มิ เตมิ 14. ความรูเ พม่ิ เติมสาํ หรบั ครู เปนความรูเพิ่มเติมในเนื้อหาที่สอนซ่ึงจะมีรายละเอียดท่ีลึกขึ้น เพื่อเพ่ิมความรูและความมั่นใจ ใหกับครูในเรื่องท่ีจะสอนและแนะนํานักเรียนท่ีมีความสามารถสูง แตครูตองไมนําไปสอนนักเรียน เพราะไมเ หมาะสมกบั วัยและระดบั ช้ัน 15. อยาลมื นะ เปนสวนท่ีเตือนไมใหครูเฉลยคําตอบท่ีถูกตองใหกับนักเรียน หรือครูรับฟงความคิดและ เหตุผลของนักเรียนกอน โดยครูควรใหคําแนะนําท่ีจะชวยใหนักเรียนหาคําตอบไดดวยตนเองและให ความสนใจตอคาํ ถามของนกั เรยี นทุกคน เพ่อื ใหน ักเรียนไดคดิ ดวยตนเองและครูจะไดทราบวานักเรียน มีความรูค วามเขาใจในเรื่องนน้ั อยางไรบาง 16. แนวการประเมินการเรยี นรู เปนการประเมินการเรียนรูของนักเรียนที่ไดจากการอภิปรายในช้ันเรียน คําตอบของนักเรียน ระหวางการจัดการเรียนรูและในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทํากจิ กรรมของนกั เรยี น 17. กจิ กรรมทา ยบท เปน สว นท่ีใหน ักเรยี นไดส รุปความรู ความเขา ใจ ในบทเรยี น และไดตรวจสอบความรใู น เนื้อหาทเ่ี รียนมาทง้ั บท หรอื อาจตอ ยอดความรูในเรอื่ งนน้ั ๆ ขอแนะนาํ เพิม่ เตมิ 1. การสอนการอาน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคําวา “อาน” หมายถึง วาตาม ตวั หนงั สอื ถา ออกเสยี งดวย เรียกวา อานออกเสียง ถาไมตองออกเสียง เรียกวา อานในใจ หรืออีกความหมาย ของคําวา “อาน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพ่ือใหเขาใจ เชน อานสีหนา อานริมฝปาก อานใจ ตีความ เชน อานรหสั อานลายแทง สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ถ คูมือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 เม่ือปพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานไววา การอานเปนทักษะที่ สาํ คัญ จาํ เปนตอ งเนนและฝก ฝนใหแกน กั เรยี นเปนอยางมาก เน่ืองจากการอานเปนกระบวนการสําคัญที่ทําให ผูอ า นสรา งความหมายหรอื พัฒนาการวิเคราะห ตีความในระหวา งอาน ผูอานจะตอ งรูหวั เรื่อง รจู ุดประสงคการ อาน มีความรูทางภาษาใกลเคียงกับภาษาที่ใชในหนังสือท่ีอานและจําตองใชประสบการณเดิมท่ีเปน ประสบการณพ้ืนฐานของผูอาน ทําความเขาใจเรื่องที่อาน ทั้งนี้นักเรียนแตละคนอาจมีทักษะในการอานที่ แตกตางกนั ข้นึ กับองคประกอบหลายอยาง เชน ประสบการณเดิมของนักเรียน ความสามารถดานภาษา หรือ ความสนใจเร่ืองที่อาน ครูควรสังเกตนักเรียนวานักเรียนแตละคนมีความสามารถในการอานอยูในระดับใด ซึ่ง ครูจะตองพิจารณาทั้งหลักการอาน และความเขาใจในการอานของนักเรียน ท้ังนี้ สสวท. ขอเสนอแนะวิธีการ สอนแบบตา ง ๆ เพื่อเปนการฝกทักษะการอา นของนักเรียน ดังน้ี  เทคนคิ การสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) เปน การสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด กล่ันกรองและตรวจสอบขอมูลท่ีไดจากการ อานดว ยตนเอง โดยใหนักเรียนคาดคะเนเน้ือหาหรือคําตอบลวงหนาจากประสบการณเดิมของนักเรียน โดยมี ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ดังน้ี 1. ครจู ัดแบง เน้อื เร่ืองท่ีจะอานออกเปน สวนยอ ย และวางแผนการสอนอา นของเน้อื เรือ่ งทง้ั หมด 2. ในการนาํ เขา สบู ทเรียน ครชู กั ชวนใหนกั เรยี นคิดวา นกั เรยี นรอู ะไรเก่ยี วกบั เรอ่ื งทจี่ ะอานบา ง 3. ครูใหน ักเรียนสงั เกตรูปภาพ หวั ขอ หรืออื่น ๆ ท่เี ก่ยี วกับเนื้อหาทจี่ ะเรยี น 4. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนคาดคะเนเน้ือหาของเร่ืองที่กําลังจะอาน ซ่ึงอาจใหนักเรียนคิดวาจะไดเรียน เก่ียวกับอะไร โดยครพู ยายามกระตนุ ใหน ักเรียนไดแ สดงความคดิ เหน็ หรอื คาดคะเนเนื้อหา 5. ครูอาจใหนักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองคาดคะเนไว โดยจะทําเปนรายคนหรือเปนคูก็ได หรือครูนํา อภิปรายแลวเขยี นแนวคดิ ของนกั เรยี นแตละคนไวบ นกระดาน 6. นักเรียนอานเน้ือเร่ือง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายวาการคาดคะเนของตนเองตรง กบั เนื้อเร่อื งทีอ่ านหรือไม ถานักเรียนประเมินวาเรื่องท่ีอานมีเนื้อหาตรงกับที่คาดคะเนไวใหนักเรียน แสดงขอ ความทส่ี นับสนุนการคาดคะเนของตนเองจากเน้ือเรื่อง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกัน โดยครูวิเคราะหวานักเรียนแตละคนสามารถใชการคาดคะเนดวย ตนเองอยา งไรบาง 8. ทําซ้ําข้ันตอนเดิมในการอานเนื้อเร่ืองสวนอ่ืน ๆ เมื่อจบท้ังเรื่องแลว ครูปดเรื่องโดยการทบทวน เนื้อหาและอภปิ รายถงึ วธิ ีการคาดคะเนของนักเรยี นท่คี วรใชสาํ หรับการอานเรื่องอน่ื ๆ  เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) เปนการสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดเชื่อมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมอยางเปน รปู ธรรมและเปนระบบ โดยผานตาราง 3 ชอง คือ K-W-L (นักเรียนรูอะไรบางเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะอาน นักเรียน ตองการรูอ ะไรเก่ียวกบั เรือ่ งทจ่ี ะอาน นักเรียนไดเรยี นรูอะไรบา งจากเรื่องที่อาน) โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียน การสอน ดังนี้  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ท 1. ครูนําเขาสูบทเรียนดวยการกระตุนความสนใจของนักเรียนเพ่ือเชื่อมโยงเขาสูเร่ืองท่ีจะอาน เชน การใชคาํ ถาม การนําดว ยรูปภาพหรอื วดี ิทศั นท ่เี กีย่ วกับเน้อื เรื่อง 2. ครูทําตารางแสดง K-W-L และอธิบายขั้นตอนการทํากิจกรรมโดยใชเทคนิค K-W-L วามีขั้นตอน ดงั นี้ ขนั้ ท่ี 1 กิจกรรมกอนการอาน เรียกวา ขั้น K มาจาก know (What we know) เปนขั้นตอนที่ให นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองที่จะอาน แลวบันทึกสิ่งที่ตนเองรูลงใน ตารางชอง K ขั้นตอนน้ีชวยใหนักเรียนรูวาตนเองรูอะไรแลวตองอานอะไร โดยครูพยายาม ตั้งคําถามกระตุนใหนกั เรียนไดแ สดงความคิดเหน็ ข้ันที่ 2 กิจกรรมระหวางการอาน เรียกวา ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เปน ข้ันตอนที่ใหนักเรียนต้ังคําถามเก่ียวกับส่ิงที่ตองการรูเก่ียวกับเร่ืองท่ีกําลังจะอาน โดยครูและ นักเรยี นรว มกันกําหนดคําถาม แลว บนั ทกึ ส่งิ ทต่ี อ งการรูลงในตารางชอง W ข้ันที่ 3 กิจกรรมหลังการอาน เรียกวา ข้ัน L มาจาก learn (What we have learned) เปน ข้ันตอนที่สํารวจวาตนเองไดเรียนรูอะไรบางจากการอาน โดยหลังจากอานเน้ือเร่ือง นักเรียน หาขอความมาตอบคําถามท่ีกําหนดไวในตารางชอง W จากน้ันนําขอมูลท่ีไดจากการอานมา จดั ลาํ ดับความสําคัญของขอมลู และสรุปเน้ือหาสําคัญลงในตารางชอง L 3. ครูและนักเรียนรว มกนั สรปุ เนอื้ หา โดยการอภิปรายหรอื ตรวจสอบคําตอบในตาราง K-W-L 4. ครูและนักเรยี นอาจรวมกันอภปิ รายเกี่ยวกับการใชตาราง K-W-L มาชวยในการเรยี นการสอนการอาน  เทคนคิ การสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) เปนการสอนอานที่มุงเนนใหนักเรียนมีความเขาใจในการจัดหมวดหมูของคําถามและตั้งคําถาม เพ่ือจะ ไดมาซึ่งแนวทางในการหาคําตอบ ซึ่งนักเรียนจะไดพิจารณาจากขอมูลในเน้ือเรื่องที่จะเรียนและประสบการณ เดิมของนกั เรยี น โดยมขี น้ั ตอนการจัดการเรยี นการสอน ดงั นี้ 1. ครูจดั ทาํ ชุดคําถามตามแบบ QAR จากเรื่องท่ีนักเรียนควรรูหรือเรื่องใกลตัวของนักเรียน เพ่ือชวยให นักเรียนเขาใจถึงการจัดหมวดหมูของคําถามตามแบบ QAR และควรเชื่อมโยงกับเร่ืองที่จะอาน ตอไป 2. ครูแนะนําและอธิบายเก่ียวกับการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนในการอานและตั้งคําถาม ตามหมวดหมู ไดแ ก คําถามท่ีตอบโดยใชเนื้อหาจากสิ่งท่ีอาน คําถามที่ตองคิดและคนควาจากส่ิงท่ีอาน คาํ ถามทีไ่ มมีคาํ ตอบโดยตรงในเน้อื หาซง่ึ นักเรียนใชความรูเดิมและส่ิงที่ผูเขียนเขียนไว และคําถามท่ี ใชความรูเ ดิมของนักเรยี นในการตอบคาํ ถาม 3. นกั เรยี นอานเน้ือเร่ือง ต้ังคําถามและตอบคําถามตามหมวดหมู และรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปคําตอบ ของคาํ ถาม 4. ครแู ละนักเรียนรวมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั การใชเ ทคนิคน้ดี ว ยตนเองไดอยา งไร 5. ครแู ละนักเรียนอาจรว มกันอภปิ รายเก่ียวกับการใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ธ คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 2. การใชงานส่อื QR CODE QR CODE เปนรหัสหรือภาษาท่ีตองใชโปรแกรมอานหรือสแกนขอมูลออกมา ซ่ึงตองใชงานผาน โทรศัพทเคลื่อนท่ีหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ติดต้ังกลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน LINE (สําหรับโทรศัพทเคลื่อนท่ี) Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สําหรับ ผลติ ภัณฑข อง Apple Inc.) ขนั้ ตอนการใชง าน 1. เปด โปรแกรมสาํ หรบั อา น QR Code 2. เลอื่ นอปุ กรณอ ิเล็กทรอนิกส เชน โทรศัพทเคลอ่ื นที่ แท็บเล็ต เพ่อื สองรูป QR Code ไดทง้ั รปู 3. เปดไฟลหรอื ลงิ กท ่ีข้ึนมาหลงั จากโปรแกรมไดอ าน QR CODE **หมายเหตุ อุปกรณท ่ใี ชอา น QR CODE ตองเปด Internet ไวเพอ่ื ดึงขอมูล 3. การใชง านโปรแกรมประยุกตค วามจรงิ เสริม (ภาพเคล่ือนไหว 3 มิติ) โปรแกรมประยุกตค วามจรงิ เสรมิ (AR) เปนโปรแกรมที่สรางข้ึนเพื่อเปนสื่อเสริมชวยใหนักเรียนเขาใจ เนื้อหาสาระของแตละชั้นปอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น ซ่ึงสําหรับระดับประถมศึกษาปที่ 4 จะใชงานผาน โปรแกรมประยุกต “วทิ ย ป.4” ซึ่งสามารถดาวนโ หลดไดทาง Play Store หรือ Apps Store **หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟลท่ีใหญประมาณ 150 เมกะไบต หากพื้นท่ีจัดเก็บไมเพียงพออาจ ตองลบขอ มูลบางอยางออกกอนติดตั้งโปรแกรม ขน้ั ตอนการตดิ ตง้ั โปรแกรม 1. เขาไปที่ Play Store ( ) หรือ Apps Store ( ) 2. คนหาคาํ วา “วทิ ย ป.4” 3. กดเขาไปทีโ่ ปรแกรมประยกุ ตที่ สสวท. พฒั นา 4. กด “ติดตัง้ ” และรอจนติดตั้งเรยี บรอ ย 5. เขาสูโปรแกรมจะปรากฏหนาแรก จากน้ันกด “วิธีการใชงาน” เพื่อศึกษาการใชงานโปรแกรม เบื้องตน ดว ยตนเอง 6. หลังจากศึกษาวิธีการใชงานดวยตนเองแลว กด “สแกน AR” และเปด หนงั สอื เรียนหนา ท่มี สี ัญลกั ษณ AR 7. สองรูปที่อยูบริเวณสัญลักษณ AR โดยมีระยะหางประมาณ 10 เซนตเิ มตร และเลอื กดูภาพในมมุ มองตา ง ๆ ตามความสนใจ  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 น การจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตรใ นระดบั ประถมศึกษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแลวมีความอยากรูอยากเห็น เกย่ี วกบั สิง่ ตางๆ รอบตวั และเรยี นรูไดดที สี่ ดุ ดวยการคนพบ จากการลงมอื ปฏบิ ตั ดิ วยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสทั้งหา สวนนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4 - ป.6) มีพัฒนาการทางสติปญญาจากขั้นการคิด แบบรูปธรรมไปสูขั้นการคิดแบบนามธรรม มีความสนใจในส่ิงตาง ๆ รอบตัว และสนใจวาส่ิงตาง ๆ ถูกประกอบ เขาดวยกันอยางไร และสิ่งเหลานั้นทํางานกันอยางไร นักเรียนในชวงวัยน้ีสามารถทํางานรวมกันเปนกลุมได ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนใหกับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน คือ การใหโอกาสนักเรียนมีสวน รว มในการลงมือปฏบิ ตั ิ การสํารวจตรวจสอบ การคน พบ ตามดวยการต้ังคําถามเพ่ือนําไปสูการอภิปราย มีการ แลกเปล่ียนผลการทดลองดวยคําพูด หรือวาดภาพ และมีการอภิปรายเพื่อสรุปผลรวมกัน สําหรับนักเรียนใน ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายตองการโอกาสท่ีจะมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุมโดยการทํางานแบบ รวมมือ ดังนั้นจึงควรสงเสริมใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตรรวมกันซ่ึงจะเปนการสรางความสามัคคี และ ประสานสมั พันธระหวา งนกั เรียนในระดับนด้ี ว ย การจัดการเรียนการสอนที่เนนการสบื เสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร หมายถึงวิธีการท่ีนักวิทยาศาสตรใชเพ่ือศึกษาสิ่งตาง ๆ รอบตัวอยาง เปนระบบ และเสนอคําอธิบายเกี่ยวกับส่ิงท่ีศึกษาดวยขอมูลที่ไดจากการทํางานทางวิทยาศาสตร มีวิธีการอยู หลากหลาย เชน การสํารวจ การสืบคน การทดลอง การสรา งแบบจําลอง นกั เรียนทุกระดบั ช้นั ควรไดร บั โอกาสในการสืบเสาะหาความรูท างวิทยาศาสตรและพัฒนาความสามารถในการ คิดและแสดงออกดวยวิธีการท่ีเช่ือมโยงกับการสืบเสาะหาความรูซ่ึงรวมท้ังการต้ังคําถาม การวางแผนและดําเนินการ สืบเสาะหาความรู การใชเคร่ืองมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรวบรวมขอมูล การคิดอยางมีวิจารณญาณและมี เหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานและการอธิบาย การสรางและวิเคราะหคําอธิบายที่หลากหลาย และการสื่อสารขอโตแยงทางวิทยาศาสตร การจดั การเรียนการสอนทเี่ นนการสบื เสาะหาความรู เปนการจัดการเรียนการสอนที่ใหนักเรียนมีสวนรวมใน กระบวนการทํานาย จัดกระทําและตีความหมายขอมูล และส่ือสารเก่ียวกับผลท่ีไดโดยใชคําศัพททางวิทยาศาสตร วิธีการน้ีมีศักยภาพสูงในการจูงใจนักเรียนและทําใหนักเรียนต่ืนตัว เปนการกระตุนความอยากรูอยากเห็นเก่ียวกับ สิ่งตางๆ รอบตัวนักเรียน และในขณะเดียวกันก็พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรดวย การนําวิธีนี้ไปใชได อยางประสบความสาํ เรจ็ ตอ งอาศัยการเตรียมตัวและการคิดลวงหนาของครูผูสอน การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนการ สืบเสาะหาความรู ควรมีหลายรูปแบบ แตละรูปแบบมีความตอเน่ืองกันจากที่เนนครูเปนสําคัญไปจนถึงเนนนักเรียน เปน สําคัญ ดังน้ี การสบื เสาะหาความรแู บบครูเปนผูกําหนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรูแบบ ท้งั ครแู ละนักเรยี นเปนผกู ําหนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Open Inquiry) นกั เรียนทาํ กจิ กรรมตามท่ีครกู ําหนด นกั เรยี นพฒั นาวิธี ดําเนินการสํารวจ ตรวจสอบจากคําถามท่ีครู ตงั้ ข้นึ นักเรยี นต้ังคําถามในหวั ขอ ที่ครเู ลือก พรอ มทัง้ ออกแบบการสํารวจตรวจสอบดว ยตนเอง สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

บ คมู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 การสบื เสาะหาความรแู บบครเู ปน ผกู าํ หนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีน้ีครูเปนผูต้ังคําถามและบอกวิธีการใหนักเรียนคนหาคําตอบ ครูชี้แนะ นักเรียนทุกขั้นตอนโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เน้ือหาบางเรื่องในสาระการเรียนรูเหมาะที่จะใชการ สืบเสาะดว ยวธิ นี ี้ โดยเฉพาะเร่อื งทเ่ี กย่ี วของกับคําถามตามมาตรฐานการเรียนรูท่ีตองใชเครื่องมือทดลองพิเศษ เชน  พชื สญู เสียนา้ํ โดยผานทางใบใชห รอื ไม  อะไรบา งท่จี ําเปนตอการเผาไหม  อะไรคอื ความสัมพนั ธร ะหวา งแรงและการเคลือ่ นที่ ประโยชนของการสบื เสาะหาความรโู ดยวิธีนีค้ ือ ทาํ ใหนกั เรยี นคนุ เคยกับวธิ กี ารสบื เสาะหาความรู เพื่อนําไปสู การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เนือ่ งจากนักเรียนจะไดรับการฝกฝนเทคนิคบางอยาง เชน การทดสอบ คา pH หรือการคาํ นวณหาคา ความหนาแนน ซึ่งครูสามารถทราบลวงหนาถึงคําถามที่นักเรียนจะต้ังขึ้นเพื่อหาคําตอบ จงึ ทําใหครูมีความพรอ มในส่งิ ทตี่ องอภปิ รายรวมกนั การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปนผูกําหนดแนวทางอาจไมไดทําใหนักเรียนมีสวนรวมทั้งหมดหรือไมได พฒั นาทกั ษะการคิดวจิ ารณญาณข้ันสงู เหมือนอยางสองรูปแบบถัดไป การสบื เสาะหาความรูแบบทั้งครแู ละนักเรียนเปนผูก ําหนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ครูเปนผูต้ังคําถามและจัดหาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจตรวจสอบ ใหกับนักเรียน นักเรียนจะเปนผูออกแบบการทดลองดวยตัวเอง หัวขอเรื่องตามมาตรฐานการเรียนรูหลายหัวขอ สามารถใชก ารสบื เสาะหาความรูแบบนี้ คําถามทีค่ รอู าจใชถามนักเรียน เชน ● จะเกดิ อะไรข้ึนกับบอลลนู ถาบอลลนู ลอยจากบรเิ วณทีม่ ีอากาศรอนไปสูบริเวณทม่ี ีอากาศเย็น ● พชื โดยทว่ั ไปมีโครงสรางอะไรท่ีเหมือนกัน ● จะเกดิ อะไรขึน้ เม่ือหยอนวตั ถทุ ่ีมมี วลตา งกนั ลงในน้าํ การสืบเสาะหาความรูแบบท้ังครูและนกั เรียนเปนผูกําหนดแนวทางตองการใหนักเรียนคุนเคยกับขั้นตอน หลักของการสืบเสาะหาความรู ครูมีความรับผิดชอบในการเตรียมการประเมินที่เนนการสืบเสาะหาความรูและ ติดตามประเมนิ นักเรียน การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรยี นเปนผกู ําหนดแนวทาง (Open Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ครูเปนผูจัดหาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจตรวจสอบใหกับนักเรียน แต นักเรียนเปนผูตัง้ คาํ ถามและออกแบบการสํารวจตรวจสอบดวยตัวเอง ตอไปน้ีเปนตัวอยางวัสดุอุปกรณท่ีครูจัดหา ใหกับนักเรียน แลว ใหน กั เรยี นตงั้ คาํ ถามปญ หาที่เกี่ยวของกับวัสดุอปุ กรณทจ่ี ดั ให เชน ● เทยี นไข ไมข ีดไฟ แผนกนั แสงทีแ่ สงผานไดตางกนั ● สง่ิ ของตางๆ หลายชนิดท่อี าจจมหรือลอยนํ้า ● ของแข็ง บกี เกอร น้าํ และแทงแกว คน ● ถุงทม่ี กี อ นหนิ ขนาดตาง ๆ 1 ถงุ  สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ป เน่ืองจากนักเรียนเปนผูออกแบบการทดลองตามคําถามที่ตั้งข้ึนเอง จึงเปนการยากที่จะใชวิธีการน้ีกับ หัวขอเรื่องตามมาตรฐานการเรียนรู สิ่งสําคัญในการสืบเสาะหาความรูแบบน้ีคือ การท่ีนักเรียนเลือกหัวขอเรื่อง หลังจากการตรวจสอบวัสดุอุปกรณที่กําหนดมาให เพื่อใหประสบความสําเร็จกับการสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ ครูควรสามารถ จัดการเรียนการสอนไดดังน้ี ● วางแผนการประเมินท่ีเนนการสืบเสาะหาความรอู ยางรอบคอบ ● สรางกฎระเบียบในหองเรียนในการทํางานรวมกันของนักเรียน และการใชวัสดุอุปกรณการ ทดลองไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ ● ใหคําแนะนาํ กับนกั เรยี นทีย่ งั สับสนเกยี่ วกับการสืบเสาะหาความรูโดยวธิ ีนี้ ● เตรียมคาํ ถามหลงั จากการทํากิจกรรมเพ่ือเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู การจัดการเรียนการ สอนแบบการสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทางนี้ อาจทําใหครูตองเผชิญ ปญหาเฉพาะหนามากข้ึนกวา การจัดการเรียนการสอนแบบการสืบเสาะหาความรูแบบครู เปนผูกําหนดแนวทาง แตถาใชหัวขอท่ีเหมาะสมและมีการเตรียมบทเรียนอยางรอบคอบ วิธี นี้สามารถทําใหท้ังนักเรียนและครูต่ืนตัว และยังเปนการใหโอกาสนักเรียนในการพัฒนา ทกั ษะการสืบเสาะหาความรแู ละการใหเหตผุ ลเชิงวิทยาศาสตรอีกดวย การสบื เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรในหอ งเรยี น เราสามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรูทาง วิทยาศาสตรตามท่ีหลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมี รปู แบบท่หี ลากหลายตามบรบิ ทและความพรอ มของครูและนกั เรียน เชน การสืบเสาะหาความรูแบบปลายเปด (Opened Inquiry) ที่นักเรียนเปนผูควบคุมการสืบเสาะหาความรูของตนเองตั้งแตการสรางประเด็นคําถาม การสํารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธบิ ายสงิ่ ท่ศี กึ ษาโดยใชข อมลู (Data) หรือหลักฐาน (Evidence) ท่ี ไดจากการสํารวจตรวจสอบ การประเมินและเช่ือมโยงความรูท่ีเก่ียวของหรือคําอธิบายอ่ืนเพ่ือปรับปรุง คําอธิบายของตนและนําเสนอตอผูอื่น นอกจากนี้ ครูอาจใชการสืบเสาะหาความรูที่ตนเองเปน ผูกําหนด แนวในการทาํ กิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครูสามารถแนะนํานกั เรียนไดตามความเหมาะสม ในการจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ครูสามารถออกแบบการสอนใหมี ลักษณะสาํ คญั ของการสบื เสาะ ดังน้ี 1. นักเรยี นมสี ว นรวมในประเดน็ คําถามทางวิทยาศาสตร คําถามทางวิทยาศาสตรในที่น้ีหมายถึงคําถาม ท่ีนําไปสูการสืบเสาะคนหาและรวบรวมขอมูลหลักฐาน คําถามท่ีดีควรเปนคําถามท่ีนักเรียนสามารถ หาขอ มลู หรือหลักฐานเชงิ ประจกั ษเ พอื่ ตอบคําถามนน้ั ๆ ได 2. นักเรียนใหความสําคัญกับขอมูลหลักฐานในการอธิบายและประเมินคําอธิบายหรือคําตอบ นักเรียน ตองลงมือทําปฏิบัติการ เชน สังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง เพ่ือนําหลักฐานเชิงประจักษตาง ๆ มาเชื่อมโยง หาแบบรปู และอธิบายหรอื ตอบคําถามทีศ่ ึกษา สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ผ คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 3. นักเรียนอธิบายแนวคิดทางวิทยาศาสตรจากหลักฐานเชิงประจักษ โดยตองอยูบนพ้ืนฐานของเหตุผล ตองแสดงความสัมพันธชองขอมูลเชิงประจักษท่ีรวบรวมได สามารถจําแนก วิเคราะห ลงความเห็น จากขอมูล พยากรณ ตง้ั สมมติฐาน หรอื ลงขอ สรุป 4. นักเรียนประเมินคําอธิบายของตนกับคําอธิบายอ่ืนๆ ท่ีสะทอนใหเห็นถึงความเขาใจแนวคิด ทางวิทยาศาสตร นักเรียนสามารถประเมิน (Judge) ขอมูลและหลักฐานตางๆ เพื่อตัดสินใจ (Make Decision) วาควรเพิกเฉยหรือนําคําอธิบายนั้นมาพิจารณาและปรับปรุงคําอธิบายของตนเอง ในขณะเดียวกันก็สามารถประเมินคําอธิบายของเพ่ือน บุคคลอื่น หรือแหลงขอมูลอ่ืน แลวนํามา เปรยี บเทียบ เชอ่ื มโยง สัมพันธ แลว สรา งคําอธิบายอยางมีเหตผุ ลและหลกั ฐานสนับสนนุ ซึง่ สอดคลอง กบั ความรูท างวิทยาศาสตรท ่ไี ดรับการยอมรับแลว 5. นักเรียนสื่อสารการคนพบของตนใหผูอ่ืนเขาใจ นักเรียนไดส่ือสารและนําเสนอการคนพบของตนใน รูปแบบท่ีผูอ่ืนเขาใจ สามารถทําตามได รวมท้ังเปดโอกาสใหไดมีการซักและตอบคําถาม ตรวจสอบ ขอมูล ใหเหตุผล วิจารณและรับคําวิจารณและไดแนวคิดหรือมุมมองอื่นในการปรับปรุงการ อธบิ าย หรอื วิธีการสืบเสาะคนหาคาํ ตอบ แผนผังการสืบเสาะหาความรู มสี วนรว มในคาํ ถาม สอื่ สารและใหเ หตุผล เกบ็ ขอมลู หลกั ฐาน เชอ่ื มโยงส่ิงท่พี บกับสิง่ ที่ผูอน่ื พบ อธิบายส่ิงท่ีพบ ภาพ วฏั จักรการสบื เสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตรในหอ งเรยี น ในการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรแบบสืบเสาะหาความรู ครูสามารถออกแบบการสอนใหเหมาะสม และสอดคลองกับเนื้อหาที่สอน สภาพหองเรียน ความพรอมของครูและนักเรียน และบริบทอื่นๆ การยืดหยุน ระดบั การเรียนรูแบบสบื เสาะหาความรูสามารถอธิบายไดดงั ตารางที่ 1  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ฝ ตารางที่ 1 ลกั ษณะจําเปนของการสืบเสาะหาความรใู นชนั้ เรยี นและระดับของการสบื เสาะหาความรู ลกั ษณะจําเปน ระดบั การสบื เสาะหาความรู 1. นักเรียนมสี ว นรว ม นกั เรียนเปนผูถ าม นักเรียนเลือกคาํ ถาม นกั เรียนพิจารณา นกั เรยี นสนใจคาํ ถาม ในประเดน็ คาํ ถาม คาํ ถาม และสรา งคําถามใหม และปรับคําถามทค่ี รู จาก ส่อื การสอนหรือ ทางวิทยาศาสตร จากรายการคําถาม ถามหรือคําถามจาก แหลงอืน่ ๆ แหลง อ่ืน 2. นกั เรยี นให นักเรียนกาํ หนด นกั เรยี นไดร บั การ นกั เรียนไดรบั ขอ มลู นกั เรยี นไดร ับขอ มลู ความสาํ คญั กับ ขอมลู ท่ีจาํ เปน ในการ ชี้นาํ ในการเกบ็ เพอ่ื นาํ ไปวิเคราะห และการบอกเลา ขอ มูลหลักฐานท่ี ตอบคําถามและ รวบรวมขอ มลู ที่ เกี่ยวกับ การวิเคราะห สอดคลอ งกบั รวบรวมขอ มลู จําเปน ขอ มลู คาํ ถาม 3. นักเรียนอธบิ ายสิ่ง นกั เรียนอธบิ ายสง่ิ ท่ี นกั เรยี นไดรับการ นักเรยี นไดร บั นกั เรียนไดร ับหลักฐาน ที่ศกึ ษาจาก ศกึ ษาหลังจาก ชีแ้ นะในการสรา ง แนวทาง หรอื ขอ มูล หลักฐานหรือ รวบรวมและสรปุ คําอธิบายจากขอมลู ท่เี ปน ไปไดเ พ่อื สรา ง ขอ มลู ขอ มูล/หลกั ฐาน หลักฐาน คําอธิบายจากขอมลู หลักฐาน 4. นกั เรียนเชือ่ มโยง นักเรียนตรวจสอบ นกั เรยี นไดรับการ นกั เรยี นไดร บั การ นกั เรียนไดรบั การ คําอธิบายกับ แหลง ขอมูลอนื่ และ ชี้นาํ เกย่ี วกับ แนะนําถงึ ความ เช่อื มโยงทง้ั หมด องคค วามรูทาง เช่ือมโยงกับ แหลง ขอ มลู และ เชอ่ื มโยงที่เปน ไปได วทิ ยาศาสตร คาํ อธบิ ายที่สรางไว ขอบเขตความรทู าง วิทยาศาสตร 5. นักเรยี นส่ือสาร นกั เรยี นสราง นกั เรยี นไดร ับการ นกั เรียนไดรบั นักเรียนไดรับ และใหเหตุผล ขอคิดเห็นทมี่ เี หตผุ ล ฝกฝนในการพฒั นา แนวทางกวางๆ คาํ แนะนําถงึ ขัน้ ตอน เกี่ยวกบั การ และมีหลักการเพ่อื วธิ ีการสอื่ สาร สําหรับการสอื่ สารที่ และวิธกี ารสื่อสาร คน พบของตน สอื่ สารคาํ อธิบาย ชดั เจน ตรงประเดน็ มาก ปริมาณการจัดการเรยี นรโู ดยนกั เรยี น นอย นอย ปรมิ าณการชน้ี าํ โดยครูหรือส่อื การสอน มาก สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

พ คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 การจดั การเรยี นการสอนทสี่ อดคลอ งกับธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร และกระบวนการทางวิทยาศาสตร ธรรมชาติของวิทยาศาสตร เปนลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตรท่ีมีความแตกตางจากศาสตรอ่ืน ๆ เปนคานิยม ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายท่ีบอกวา วิทยาศาสตรคืออะไร มีการทํางานอยางไร นักวิทยาศาสตรคือใคร ทํางานอยางไร และงานดานวิทยาศาสตรมีความสัมพันธอยางไรกับสังคม คานิยม ขอ สรปุ แนวคิด หรอื คําอธบิ ายเหลาน้จี ะผสมกลมกลนื อยูในตัววิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตร และการ พฒั นาความรูท างวิทยาศาสตรส ําหรบั นักเรียนในระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน ความเขา ใจเกี่ยวกับธรรมชาติของ วิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรขึ้นอยูกับระดับพัฒนาการทางสติปญญาของนักเรียนและ ประสบการณที่ครูจัดใหกับนักเรียน ความสามารถของนักเรียนในการสังเกตและการส่ือความหมายในสิ่งที่ สังเกตของนักเรียนในระดับนี้คอย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอํานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรและแนวคิดทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นักเรียนในระดับน้ีเริ่มท่ีจะเขาใจวาวิทยาศาสตร คืออะไร วิทยาศาสตรทํางานอยางไร และนักวิทยาศาสตรทํางานกันอยางไรจากการทํากิจกรรมในหองเรียน จากเร่อื งราวเก่ยี วกับนกั วทิ ยาศาสตร และจากการอภิปรายในหองเรยี น นกั เรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซ่ึงกําลังพัฒนาฐานความรูโดยใชการสังเกตมากข้ึน สามารถ นาํ ความรมู าใชเพ่อื กอ ใหเกิดความคาดหวงั เกย่ี วกบั ส่งิ ตาง ๆ รอบตวั โอกาสการเรียนรูสําหรับนักเรียนในระดับน้ี ควรเนนไปที่ทักษะการต้ังคําถามเชิงวิทยาศาสตร การสรางคําอธิบายท่ีมีเหตุผลโดยอาศัยพยานหลักฐานท่ี ปรากฏ และการสื่อความหมายเกี่ยวกับความคิดและการสาํ รวจตรวจสอบของตนเองและของนักเรียนคนอื่นๆ นอกจากนี้เรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถเพ่ิมความตระหนักถึงความหลากหลายของคนในชุมชน วิทยาศาสตร นักเรียนในระดับนี้ควรมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีชวยใหเขาคิดอยางมีวิจารณญาณเก่ียวกับ พยานหลักฐานและความสัมพนั ธระหวางพยานหลกั ฐานกบั การอธบิ าย การเรยี นรูวิทยาศาสตรข องนักเรียนแตละระดบั ชัน้ มีพฒั นาการเปน ลําดบั ดังน้ี นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 สามารถตั้งคําถาม บรรยายคําถามดวยคําพูด และเขียน เกี่ยวกับคําถาม เขาสามารถสํารวจตรวจสอบคําถาม และรวบรวมพยานหลักฐานจากการสังเกต การสังเกต ของเขาจะมีรายละเอียดมากข้ึนและมีความสัมพันธกับคําถามท่ีมีอยู นักเรียนสามารถบันทึกขอมูลในส่ิงที่ สังเกตและจากประสบการณของเขา นักเรียนควรไดรับโอกาสในการฝกทักษะเหลานี้โดยผานการสํารวจ ตรวจสอบในหองเรียน นักเรียนควรไดรับโอกาสในการมองหาพยานหลักฐานและสังเกตแบบแผนท่ีเกิดข้ึน การอภิปรายในช้ันเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนพยานหลักฐานและความคิดควรไปดวยกันกับการสํารวจตรวจสอบ เพื่อใหนักเรียนไดใชความสามารถท่ีเกิดขึ้นในการทบทวนความคิดท่ีตั้งอยูบนพยานหลักฐานใหม เรื่องราว ตางๆ ท่ีเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตรสามารถชวยใหนักเรียนในระดับช้ันนี้เรียนรูวา นักวิทยาศาสตรมีความคิด สรา งสรรคแ ละมคี วามอยากรูอ ยากเห็น และเขาสามารถเรียนรูรวมกันและแลกเปล่ียนความคิดของกันและกัน โดยผา นเรือ่ งราวตางๆทีป่ รากฏ นักเรียนสามารถเรียนรวู า ทุกคนสามารถเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรได  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ฟ นักเรยี นในระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 2 สามารถพัฒนาความสามารถในการออกแบบและดําเนินการ สํารวจตรวจสอบเพื่อตอบคําถามท่ีไดต้ังไว เขาควรไดรับการกระตุนในการวาดภาพส่ิงท่ีสังเกตไดและ สือ่ ความหมายความคิดของเขาจากสิ่งท่ีสังเกต เขาควรไดรับคําแนะนําในการใชการสังเกตเพ่ือสรางคําอธิบายที่ มีเหตุผลในการตอบคําถามของตัวเอง การอานและการอภิปรายเร่ืองราวตางๆ วาวิทยาศาสตรคืออะไร และ วิทยาศาสตรทํางานไดอยางไร เหลาน้ีลวนเปนกลวิธีที่มีประสิทธิภาพท่ีจะทําใหนักเรียนเรียนรูธรรมชาติของ วทิ ยาศาสตรและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร และสามารถชวยนาํ เสนอแนวคิดเชิงวิทยาศาสตรใ หม ๆ ดว ย นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ในระดับนี้ครูสามารถสรางความอยากรูอยากเห็นเก่ียวกับ ส่ิงตา ง ๆ รอบตัว โดยการใหนักเรียนไดต้ังคําถามท่ีสามารถตอบไดโดยการใชฐานความรูทางวิทยาศาสตรและ การสังเกตของตัวนักเรียนเอง นักเรียนสามารถทํางานในกลุมแบบรวมมือเพ่ือทําการสํารวจตรวจสอบที่ เร่ิมตนจากคําถามและกระบวนการที่นําไปสูการคนหาขอมูลและการสื่อความหมายเก่ียวกับคําตอบของ คําถามน้ันๆ ครูควรเนนใหนักเรียนสังเกตอยางละเอียดถี่ถวนและสรางคําบรรยายและคําอธิบายจากสิ่งท่ี สังเกต ควรนําเสนอตัวอยางทางประวัติศาสตรท่ีนาสนใจของความแตกตางระหวางนักวิทยาศาสตรหญิงและ ชายท่ีทํางานในชุมชนวิทยาศาสตรจากเร่ืองราวและวีดิทัศน ตัวอยางเหลานี้สามารถใหขอมูลเก่ียวกับวา วทิ ยาศาสตรคืออะไรและวิทยาศาสตรทํางานอยา งไร นกั เรยี นในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ควรไดรับโอกาสท่ีจะพัฒนาและทําการทดลองอยางงาย ๆ ท่ี มกี ารเปลี่ยนแปลงตัวแปรเพยี งตวั เดียวในแตล ะครัง้ ทที่ ําการทดลอง นักเรียนอาจตองการคําแนะนําบางในการ ทดลอง ครูจึงควรเขาไปมสี วนรว มในกจิ กรรมทจ่ี ะชว ยเขาใหเหตุผลเก่ียวกับการสังเกต การส่ือความหมายกับ คนอ่ืน ๆ และวิจารณการทํางานของตนเองและของคนอ่ืน ๆ โดยผานกิจกรรมที่ลงมือปฏิบัติการทดลองและ การอภิปราย นักเรียน สามารถเรียนรูถึงความแตกตางระหวางการสังเกตและการลงความคิดเห็น (การ ตีความหมายสิ่งท่ีสังเกตได) ขณะท่ีนักเรียนสํารวจตรวจสอบคําถาม นักเรียนตองการคําแนะนําในการคนหา แหลง ขอ มูลทเ่ี ชื่อถือไดและบูรณาการขอมลู เหลานน้ั กับการสังเกตของตนเอง นักเรียนควรอานเรื่องราวตาง ๆ และดูวดี ิทัศนเ กี่ยวกบั ตวั อยางทางประวัติศาสตรของนักวิทยาศาสตรชายและหญิงท่ีไดชวยพัฒนาวิทยาศาสตร นักเรียนควรมีสวนรวมในการอภิปรายเกี่ยวกับวาวิทยาศาสตรคืออะไร วิทยาศาสตรทํางานอยางไร และใคร ทาํ งานวิทยาศาสตร นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 ตองการคําแนะนําในการพัฒนาและนําการสํารวจ ตรวจสอบไปใช การสํารวจตรวจสอบน้ีตองทันสมัยและแสดงถึงความสัมพันธระหวางการอธิบายและ พยานหลักฐานทีม่ ี กจิ กรรมทน่ี ักเรยี นทําใหคําถามชัดเจนชวยใหเขาพัฒนาความสามารถในการตั้งคําถามทาง วิทยาศาสตรท่ีทดสอบได นักเรียนควรไดรับโอกาสในการตีความหมายขอมูลและคิดอยางมีวิจารณญาณวา ใชหรือไมท่ีพยานหลักฐานสนับสนุนหรือไมสนับสนุนคําอธิบายทางวิทยาศาสตร ตัวอยางทางประวัติศาสตร สามารถนํามาใชเพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่วา วิทยาศาสตรค อื ความมานะอตุ สาหะของมนุษยแ ละของคนในชุมชนวิทยาศาสตร และมนุษยจะไดผลประโยชน จากความรูท่ีเพิ่มขนึ้ โดยผานทางวิทยาศาสตร สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ภ คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ควรเนนการสํารวจตรวจสอบท่ีทาทายคําอธิบายและความ เขาใจในปจจุบันของพวกเขา นักเรียนในระดับน้ีควรดําเนินการสํารวจตรวจสอบท่ีเนนการหาคําอธิบายของ คําถาม การสํารวจตรวจสอบเหลานี้จะพัฒนานักเรียนในเรื่องทักษะการสังเกต การทดสอบความคิด การ รวบรวมขอมูลที่เก่ียวของ การมองหาแบบแผนของขอมูล การสื่อความหมายและการแลกเปล่ียนเรียนรู กับคนอ่ืน ๆ การฟงและการถามคําถามเก่ียวกับคําอธิบายที่นําเสนอโดยคนอื่นๆ เม่ือนักเรียนไดพัฒนาทักษะ เหลาน้ี นักเรียนเริ่มตนที่จะเขาใจวานักวิทยาศาสตรสรางคําอธิบายโดยอาศัยพยานหลักฐานจํานวนมาก วิทยาศาสตรเปดกวางสูแนวคิดใหม วิทยาศาสตรยอมรับความคิดใหมถาพยานหลักฐานชี้วาความคิดใหมเปน คําอธิบายท่ีดีท่ีสุด และพยานหลักฐานใหมอาจเปนสาเหตุใหเกิดการทบทวนความคิด การทําใหเกิดความ แตกตางระหวางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สามารถเริ่มตนไดในนักเรียนระดับน้ีถึงแมวาจะไมงายนัก สําหรับนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ก็ตาม การมีสวนรวมในการออกแบบและการแกปญหาเปน พื้นฐานท่ีทําใหเขาใจถึงความเหมือน ความแตกตาง และความสัมพันธระหวางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสามารถชวยใหนักเรยี นเกดิ การเรียนรูวา วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีตางก็ขึน้ อยูกับกันและกัน การใชกรณี ตัวอยางและเรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถชวยใหนักเรียนเขาใจวาชุมชนวิทยาศาสตรมีหลากหลาย นักวิทยาศาสตรจํานวนมากทํางานเปนทีม และนักวิทยาศาสตรทั้งหมดสื่อสารกันและกันในเร่ืองงานวิจัย พยานหลักฐาน และคําอธิบายของพวกเขา โดยผานทั้งตัวอยางทางประวัติศาสตรและตัวอยางสมัยใหม ครู สามารถแสดงใหนักเรียนเห็นวานักวิทยาศาสตรชายและหญิงไมวาจะมาจากภูมิหลังทางเช้ือชาติ หรือ วัฒนธรรมที่แตกตางกันสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมทางวิทยาศาสตร และวิทยาศาสตรก็คือ ความมานะ พยายาม และความอตุ สาหะของมนุษยและคนในขมุ ชนวิทยาศาสตรท่ีมพี ื้นฐานของความซื่อสัตยทางสติปญญา ความสงสยั ใครร ู และใจกวางตอแนวคดิ ใหม  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ม การวัดผลและประเมินผลการเรียนรูวทิ ยาศาสตร แนวคดิ สําคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และ ที่แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ที่เนนนักเรียนเปนสําคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปด โอกาสใหนักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเอง เต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูใน หองเรยี น เพราะสามารถทําใหครปู ระเมินระดับพัฒนาการการเรียนรูของนักเรยี นได กิจกรรมการเรียนรูของนักเรียนมีหลากหลาย เชน กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศกึ ษาคน ควา กจิ กรรมศกึ ษาปญ หาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร อยางไรก็ ตามในการทํากิจกรรมเหลานี้ตองคํานึงวานักเรียนแตละคนมีศักยภาพแตกตางกัน นักเรียนจึงอาจทํางาน ช้นิ เดียวกันไดเ สรจ็ ในเวลาท่ีแตกตางกัน และผลงานที่ไดก็อาจแตกตางกันดวย เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมเหลาน้ี แลวก็ตองเก็บรวบรวมผลงาน เชน รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติตาง ๆ เจตคติทาง วิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร ความรัก ความซาบซ้ึง กิจกรรมท่ีนักเรียนไดทําและผลงานเหลานี้ตองใช วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกตางกันเพื่อชวยใหสามารถประเมินความรูความสามารถและความรูสึก นึกคิดท่แี ทจ รงิ ของนักเรยี นได การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ตอเม่ือมีการประเมินหลายๆ ดาน หลากหลายวิธี ในสถานการณตาง ๆ ทีส่ อดคลอ งกับชีวิตจริง และตองประเมินอยางตอเน่ือง เพ่ือจะไดขอมูลท่ี มากพอท่จี ะสะทอ นความสามารถที่แทจ ริงของนกั เรยี นได จดุ มุงหมายหลกั ของการวดั ผลและประเมนิ ผล 1. เพ่ือคนหาและวินิจฉัยวานักเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหาวิทยาศาสตร มีทักษะความชํานาญใน การสํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตรอยางไรและในระดับใด เพื่อเปน แนวทางใหครสู ามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนได อยางเต็มศักยภาพ 2. เพือ่ ใชเ ปน ขอมูลยอ นกลับใหกับนกั เรียนวา มีการเรียนรูอ ยางไร 3. เพื่อใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดานการเรียนรูของนักเรียน แตละคน การประเมินการเรียนรูของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือคนหาและวินิจฉัย การประเมิน เพ่อื ปรับปรงุ การเรยี นการสอน และการประเมนิ เพอ่ื ตดั สินผลการเรยี นการสอน การประเมนิ เพือ่ คนหาและวินิจฉัย เปนการประเมินเพ่ือบงชี้กอนการเรียนการสอนวา นักเรียนมีพื้น ฐานความรู ประสบการณ ทกั ษะ เจตคติ และแนวคิดที่คลาดเคลื่อนอะไรบาง การประเมินแบบน้ีสามารถบงช้ี ไดวานักเรียนคนใดตองการความชวยเหลือเปนพิเศษในเรื่องท่ีขาดหายไป หรือเปนการประเมินเพื่อพัฒนา ทักษะที่จําเปนกอนท่ีจะเรียนเรื่องตอไป การประเมินแบบน้ียังชวยบงช้ีทักษะหรือแนวคิดที่มีอยูแลวของ นักเรียนอกี ดว ย การประเมนิ เพือ่ ปรับปรงุ การเรียนการสอน เปน การประเมินในระหวางชว งทีม่ ีการเรยี นการสอน การ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ย คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ประเมนิ แบบนจ้ี ะชวยครบู งชร้ี ะดบั ที่นักเรยี นกําลังเรยี นอยใู นเรื่องที่ไดสอนไปแลว หรือบงชี้ความรูของนักเรียนตาม จุดประสงคการเรียนรูที่ไดวางแผนไว เปนการประเมินที่ใหขอมูลยอนกลับกับนักเรียนและกับครูวาเปนไปตาม แผนการที่วางไวหรือไม ขอมลู ท่ีไดจ ากการประเมินแบบนไ้ี มใชเพ่ือเปา ประสงคในการใหระดบั คะแนน แตเพอ่ื ชวยครู ในการปรับปรงุ การสอน และเพอื่ วางแผนประสบการณต างๆ ท่ีจะใหก บั นกั เรยี นตอ ไป การประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอน เกิดข้ึนเม่ือสิ้นสุดการเรียนการสอนแลว สวนมากเปน “การ สอบ” เพื่อใหระดับคะแนนกับนักเรียน หรือเพ่ือใหตําแหนงความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเปนการบงชี้ ความกาวหนาในการเรียนของนักเรียน การประเมินแบบน้ีถือวาสําคัญในความคิดของผูปกครองนักเรียน ครู ผูบริหาร อาจารยแนะแนว ฯลฯ แตก็ไมใชเปนการประเมินภาพรวมทั้งหมดของความสามารถของนักเรียน ครูตอง ระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมในการตัดสินผลการเรียนของนักเรียนเพ่ือใหเกิดความสมดุล ความยุติธรรม และเกิด ความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับส่ิงอางอิง สวนมากการประเมินมักจะ อางอิงกลุม (norm reference) คือเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุมหรือ คะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ การประเมินแบบกลุมน้ีจะมี “ผูชนะ” และ “ผูแพ” แตในหลายบริบท กลุมอางอิง หรือกลุมเปรียบเทียบน้ีจะมีความตรงและเหมาะสม อยางไรก็ตาม การประเมินแบบอิงกลุมน้ีจะมีนักเรียน ครึ่งหน่ึงท่ีอยูตํ่ากวาระดับคะแนนเฉล่ียของกลุม นอกจากน้ียังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ (criterion reference) ซึ่งเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑที่ตั้งเอาไวโดยไมคํานึงถึงคะแนนคนอ่ืนๆ ฉะนั้น จุดมุงหมายในการเรียนการสอนจะตองชัดเจนและมีเกณฑที่บอกใหทราบวาความสามารถระดับใดจึงจะเรียกวา บรรลุถึงระดับ “รอบรู” โดยท่ีนักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละชั้น หรือโรงเรียนแตละโรงจะไดรับการตัดสิน วาประสบผลสําเร็จก็ตอเม่ือ นักเรียนแตละคน หรือช้ันเรียนแตละชั้น หรือโรงเรียนแตละโรงไดสาธิตผลสําเร็จ หรือสาธิตความรอบรูตามจุดประสงคการเรียนรูหรือตามเกณฑที่ตั้งไว ขอมูลท่ีใชสําหรับการประเมินเพ่ือวินิจฉัย หรือเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอนสามารถใชการประเมินแบบอิงกลุมหรือ องิ เกณฑ เทาท่ผี า นมาการประเมินเพื่อตัดสนิ ผลการเรยี นการสอนจะใชการประเมนิ แบบอิงกลุม แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู การเรยี นรูจะบรรลตุ ามเปา หมายของการจัดกจิ กรรมการเรียนรูทวี่ างไวไ ด ควรมีแนวทางดงั ตอ ไปน้ี 1. วัดและประเมินผลทั้งความรูความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คานยิ มในวทิ ยาศาสตร รวมท้ังโอกาสในการเรียนรูข องนกั เรยี น 2. วิธีการวัดและประเมนิ ผลตองสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว 3. เก็บขอ มลู ท่ีไดจ ากการวดั และประเมินผลอยางตรงไปตรงมา และตอ งประเมินผลภายใตขอมูลท่ีมีอยู 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนตองนําไปสูการแปลผลและลงขอสรุปท่ี สมเหตสุ มผล 5. การวดั และประเมนิ ผลตองมคี วามเที่ยงตรงและเปนธรรม ทง้ั ในดานของวิธกี ารวัดและโอกาสของการประเมิน  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ร วิธีการและแหลง ขอ มูลทใ่ี ชใ นการวดั ผลและประเมนิ ผล เพ่ือใหก ารวดั ผลและประเมนิ ผลไดส ะทอนความสามารถที่แทจ ริงของนกั เรียน ผลการประเมินอาจ ไดมาจากแหลงขอมูลและวิธกี ารตางๆ ดงั ตอไปนี้ 1. สังเกตการแสดงออกเปน รายบุคคลหรือรายกลมุ 2. ช้นิ งาน ผลงาน รายงาน 3. การสมั ภาษณท ั้งแบบเปนทางการและไมเปน ทางการ 4. บันทึกของนักเรยี น 5. การประชุมปรึกษาหารอื รว มกนั ระหวางนักเรียนและครู 6. การวัดและประเมนิ ผลภาคปฏิบัติ 7. การวดั และประเมินผลดานความสามารถ 8. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูโดยใชแ ฟม ผลงาน สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ล คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 ตารางแสดงความสอดคลองระหวางเนื้อหาและกจิ กรรม ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 4 เลม 2 กับตัวชวี้ ดั กลุมสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนว ยการ ช่ือกิจกรรม เวลา ตวั ช้วี ัด เรยี นรู (ชัว่ โมง) หนวยท่ี 4 ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจําหนวยที่ 4 มาตรฐาน ว 2.1 ป. 4 วัสดแุ ละ วสั ดแุ ละสสาร 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพดานความแข็ง สสาร บทท่ี 1 สมบัตทิ างกายภาพของวัสดุ สภาพยืดหยุน การนําความรอน และการนํา บทนีเ้ ริม่ ตนอยางไร 1.5 ไฟฟาของวัสดุโดยใชหลักฐานเชิงประจักษจาก เร่อื งที่ 1 ความแข็งของวัสดุ 0.5 การทดลองและระบุการนําสมบัติเรื่องความแข็ง กจิ กรรมท่ี 1 วสั ดุแตล ะชนดิ มี 1.5 สภาพยืดหยุน การนําความรอน และการนํา ความแขง็ เปน ไฟฟาของวัสดุไปใชในชีวิตประจําวัน ผาน อยางไร กระบวนการออกแบบชน้ิ งาน เร่ืองท่ี 2 สภาพยดื หยนุ ของวสั ดุ 0.5 2. แลกเปลี่ยนความคิดกับผูอ่ืนโดยการอภิปราย กิจกรรมท่ี 2 วสั ดุแตล ะชนดิ มี 2 เกีย่ วกับสมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุ สภาพยดื หยนุ เปน อยา งไร เร่ืองท่ี 3 การนําความรอนของวัสดุ 0.5 กจิ กรรมที่ 3 วสั ดุแตล ะชนดิ มี 1 การนาํ ความรอน เปน อยางไร เรอื่ งท่ี 4 การนาํ ไฟฟาของวัสดุ 0.5 กจิ กรรมท่ี 4 วสั ดแุ ตล ะชนดิ มี 1 การนําไฟฟาเปน อยางไร กจิ กรรมทายบทท่ี 1 สมบตั ิทางกายภาพ 1 ของวสั ดุ แนวคําตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม บทท่ี 2 สถานะของสสาร มาตรฐาน ว 2.1 ป. 4 บทน้เี ร่ิมตนอยางไร 1 3. เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง 3 สถานะ จาก 0.5 ขอมลู ที่ไดจ ากการสังเกต มวล การตองการที่อยู เรือ่ งที่ 1 ของแข็ง 1 รปู รา งและปรมิ าตรของสสาร กจิ กรรมท่ี 1.1 ของแข็งมมี วล  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ว หนวยการ ชือ่ กิจกรรม เวลา ตวั ชีว้ ดั เรยี นรู (ชวั่ โมง) และตอ งการท่ี 4. ใชเคร่ืองมือเพ่อื วัดมวล และปรมิ าตรของสสารท้ัง อยูห รือไมแ ละมี 3 สถานะของวัสดุ รูปรา งอยา งไร กิจกรรมที่ 1.2 ของแข็งมี 1 ปริมาตรเปน อยางไร เรื่องท่ี 2 ของเหลว 0.5 กิจกรรมที่ 2.1 ของเหลวมีมวล 1 และตอ งการท่ี อยหู รือไม กิจกรรมที่ 2.2 ของเหลวมี 1 ปรมิ าตร รปู ราง และระดับ ผิวหนาเปน อยา งไร เรอ่ื งท่ี 3 แกส 0.5 กจิ กรรมที่ 3.1 แกส มีมวลและ 1 ตอ งการท่อี ยู หรอื ไม กจิ กรรมที่ 3.2 แกส มีปรมิ าตร 1 และรุปรางเปน อยา งไร กจิ กรรมทายบทท่ี 2 สถานะของสสาร 1 แนวคําตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม หนว ยที่ 5 ภาพรวมการจดั การเรียนรูประจาํ หนวยท่ี 5 มาตรฐาน ว 3.1 ป. 4 โลกและ โลกและอวกาศ 1. อธิบายแบบรูปเสนทางการข้ึนและตกของดวง อวกาศ บทท่ี 1 ดวงจนั ทรของเรา จนั ทร โดยใชห ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ บทนีเ้ รม่ิ ตนอยางไร 1 2. สรางแบบจําลองที่อธิบายแบบรูปการ เรอื่ งท่ี 1 การข้ึนและตกและรูปรา งของ 1 เปล่ียนแปลงรูปรางปรากฏของดวงจันทร และ ดวงจนั ทร พยากรณรปู รา งปรากฏของดวงจนั ทร กจิ กรรมที่ 1.1 ดวงจันทรมีการ 2 สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ศ คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 หนว ยการ ช่อื กิจกรรม เวลา ตัวชวี้ ัด เรียนรู (ช่ัวโมง) ขึ้นและตก หรอื ไม อยา งไร กจิ กรรมท่ี 1.2 ในแตละวนั มอง 2 ดวงจนั ทรม ี รปู รา งอยางไร กิจกรรมทายบทท่ี 1 ดวงจนั ทรข องเรา 1 แนวคําตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม บทที่ 2 ระบบสุริยะของเรา มาตรฐาน ว 3.1 ป. 4 บทนเี้ รม่ิ ตน อยางไร 1 1. สรางแบบจาํ ลองแสดงองคประกอบของระบบ เรอ่ื งท่ี 1 ระบบสุรยิ ะ 1 สรุ ยิ ะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจร กจิ กรรมที่ 1 ระบบสุรยิ ะมี 3 ของดาวเคราะหตาง ๆ จากแบบจําลอง ลกั ษณะอยางไร กิจกรรมทายบทที่ 2 ระบบสรุ ิยะของเรา 1 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม รวมจาํ นวนชั่วโมง 32.5 หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาทใ่ี ช และส่งิ ที่ตองเตรียมลวงหนา น้นั ครสู ามารถปรบั เปลย่ี นเพิ่มเตมิ ไดตามความ เหมาะสมของสภาพทองถน่ิ  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 ษ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

1 คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยที่ 4 วัสดุและสสาร ˹‹Ç·Õè 4 ÇÑÊ´ØáÅÐÊÊÒà ภาพรวมการจดั การเรยี นรปู ระจําหนวยท่ี 4 วัสดุและสสาร บท เรอ่ื ง กิจกรรม ลําดับการจัดการเรยี นรู ตัวชวี้ ดั บทที่ 1 สมบัติทางกายภาพ เรอื่ งที่ 1 ความแข็งของวสั ดุ กิจกรรมที่ 1 วัสดุแตล ะชนดิ • ความแขง็ ของวัสดุ คือความ มาตรฐาน ว 2.1 ป.4 ของวัสดุ มีความแขง็ เปน อยา งไร ทนทานตอการเกิดรอยของ 1. เปรียบเทียบสมบัติ เรอ่ื งที่ 2 สภาพยดื หยนุ ของวัสดุ วั ส ดุ เ มื่ อ มี แ ร ง ม า ก ร ะ ทํ า กจิ กรรมที่ 2 วสั ดุแตล ะชนิด ทดสอบโดยการนําวัสดุมา ท า ง ก า ย ภ า พ ด า น เรอ่ื งท่ี 3 การนําความรอ นของ มสี ภาพยดื หยุนเปน อยางไร ขูดขีด กัน สั งเกต รอย ท่ี ความแข็ง สภาพ วัสดุ เกดิ ขน้ึ บนเน้อื วสั ดุ ยื ด ห ยุ น ก า ร นํ า กิจกรรมท่ี 3 วสั ดแุ ตล ะชนิด ความรอน และการ เรื่องที่ 4 การนาํ ไฟฟา ของวัสดุ มีการนาํ ความรอ นเปน • สภาพยืดหยุนของวัสดุ คือ นํ า ไ ฟ ฟ า ข อ ง วั ส ดุ อยา งไร การเปล่ียนแปลงสภาพของ โดยใชหลักฐานเชิง วัสดุ เมื่อมีแรงมากระทํา ป ร ะ จั ก ษ จ า ก ก า ร กิจกรรมที่ 4 วัสดแุ ตละชนิด และสามารถกลับสูสภาพ ทดลองและระบุการ มกี ารนําไฟฟา เปนอยางไร เดิมเมื่อหยดุ ออกแรงกระทํา นําสมบัติเร่ืองความ ทดสอบโดยการออกแรงดึง แข็ง สภาพยืดหยุน วั ส ดุ แ ล ะ ห ยุ ด อ อ ก แ ร ง ก า ร นํ า ค ว า ม ร อ น สั ง เ ก ต ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง แ ล ะ ก า ร นํ า ไ ฟ ฟ า สภาพของวัสดุ ข อ งวั ส ดุ ไ ป ใช ใ น ชีวิตประจําวัน ผาน • การนําความรอน คือการ กระบวนการ ถ า ย โ อ น ค ว า ม ร อ น ผ า น ออกแบบชิน้ งาน อนุภาคของวัสดุจากบริเวณ 2. แลกเปลี่ยนความคิด ท่ี มี อุ ณ ห ภู มิ สู ง ก ว า ไ ป ยั ง กั บ ผู อ่ื น โ ด ย ก า ร บริเวณที่มีอุณหภูมิตํ่ากวา อ ภิ ป ร า ย เ กี่ ย ว กั บ วัสดุที่ความรอนถายโอน สมบัติทางกายภาพ ผานไดดี เรียกวา ตัวนํา ของวัสดุ ความรอ น • วัสดุท่ีความรอนถายโอน ผานไดไมดี หรือไมถายโอน ความรอน เรียกวา ฉนวน ความรอน ทดสอบโดยการ ใหความรอนแกวัสดุแลว  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วัสดุและสสาร 2 บท เรอ่ื ง กิจกรรม ลาํ ดับการจัดการเรียนรู ตัวชี้วดั บทที่ 2 สถานะของสสาร สั ง เ ก ต ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เรื่องที่ 1 ของแข็ง เรือ่ งท่ี 2 ของเหลว อุณหภมู ขิ องวสั ดุ เร่อื งท่ี 3 แกส • วัสดุแ ตละ ชนิดมี สมบั ติ แ ต ก ต า ง กั น เ น่ื อง จ า ก องคประกอบของวัสดุน้ัน วัสดุบางชนิดประกอบดวย สารชนิดเดียว วัสดุบางชนิด ประกอบดว ยสารหลายชนิด จึ ง นํ า ม า ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ใ น รว มคดิ รวมทํา ชีวิตประจําวนั • วัสดุตาง ๆ เปนสสารซึ่งมี มาตรฐาน ว 2.1 ป.4 สถานะของแข็ง ของเหลว 3. เปรียบเทียบสมบัติ และแกส สสารในสถานะ ข อ ง ส ส า ร ท้ั ง 3 ตาง ๆ มีสมบัติบางประการ สถานะ จากขอมูลที่ เหมือนกันและสมบัติบาง ไดจากการสังเกต มวล การตองการที่ ประการแตกตางกัน อ ยู รู ป ร า ง แ ล ะ กิจกรรมที่ 1.1 ของแข็งมี • ของแขง็ มีมวล ตองการท่ีอยู ปรมิ าตรของสสาร มวลและตองการที่อยูห รอื ไม รูปรา งและปริมาตรคงท่ี 4. ใชเคร่ืองมือเพ่ือวัด และมีรูปรางเปนอยางไร มวล และปริมาตร กิจกรรมท่ี 1.2 ของแข็งมี ข อ ง ส ส า ร ทั้ ง 3 ปรมิ าตรเปน อยา งไร สถานะของวสั ดุ กิจกรรมที่ 2.1 ของเหลวมี • ของเหลวมีมวล ตองการที่ มวลและตอ งการท่ีอยูห รอื ไม อยู รูปรางจะเปล่ียนแปลง กิจกรรมท่ี 2.2 ของเหลวมี ไ ป ต า ม ภ า ช น ะ ท่ี บ ร ร จุ ปริมาตร รูปรางและระดับ ปริมาตรคงท่ี ผิวหนาเปนอยา งไร กิจกรรมที่ 3.1 แกสมีมวล • แกสมีมวล ตองการที่อยู และตอ งการท่อี ยูห รือไม รูปรางและปริมาตรของแกส กิจกรรมที่ 3.2 แกสมี จะเปลี่ยนแปลงไปตามรูปราง ปริมาตรและรูปรางเปน และปริมาตรของภาชนะที่ อยา งไร บรรจุ และฟุงกระจายเต็ม ภาชนะทบี่ รรจุเสมอ สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

3 คูม อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 วสั ดแุ ละสสาร บทที่ 1 สมบตั ิทางกายภาพของวัสดุ จุดประสงคการเรยี นรูประจาํ บท บทนีม้ ีอะไร ความแข็งของวสั ดุ ความแขง็ (hardness) เมอื่ เรยี นจบบทน้ี นักเรียนสามารถ เรื่องที่ 1 วัสดุแตละชนดิ มีความแข็งเปน อยางไร คาํ สาํ คญั สภาพยืดหยุนของวสั ดุ 1. เปรียบเทยี บสมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุในดา น กิจกรรมท่ี 1 สภาพยืดหยนุ (elasticity) ความแข็ง สภาพยืดหยุน การนําความรอน และ เรือ่ งท่ี 2 วั ส ดุ แ ต ล ะ ช นิ ด มี ส ภ า พ ยื ด ห ยุ น เ ป น การนําไฟฟา คาํ สาํ คญั อยางไร กิจกรรมท่ี 2 การนาํ ความรอนของวัสดุ 2. อธบิ ายการนําสมบัตทิ างกายภาพของวัสดุในดา น การถา ยโอนความรอน (heat transfer) ความแข็ง สภาพยืดหยนุ การนําความรอ นและ เรือ่ งที่ 3 การนําความรอน(heat conductivity) การนาํ ไฟฟาไปใชใ นชีวิตประจาํ วนั คาํ สาํ คัญ วัสดุแตละชนิดมีการนําความรอนเปน อยางไร 3. เลือกใชว สั ดุอยางเหมาะสมตามสมบัติทาง กจิ กรรมที่ 3 การนาํ ไฟฟา ของวัสดุ กายภาพในการออกแบบหรือสรางช้นิ งาน ตวั นาํ ไฟฟา (electrical conductivity) เรอ่ื งท่ี 4 วั ส ดุ แ ต ล ะ ช นิ ด มี ก า ร นํ า ไ ฟ ฟ า เ ป น แนวคดิ สําคัญ คําสําคญั อยา งไร กจิ กรรมที่ 4 ความแข็ง สภาพยืดหยุน การนําความรอน และการ นําไฟฟา เปนสมบัติทางกายภาพของวัสดุ ซ่ึงวัสดุแตละ ชนิดมีสมบัติแตกตางกัน จึงนํามาใชประโยชนใน ชวี ิตประจาํ วนั ไดแ ตกตา งกนั สอื่ การเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู 1. หนงั สือเรียน ป.4 เลม 2 หนา 1-37 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.4 เลม 2 หนา 2-33  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วัสดแุ ละสสาร 4 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 รหสั ทักษะ กจิ กรรมที่ 1234 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต  S2 การวดั  S3 การใชจํานวน S4 การจําแนกประเภท S5 การหาความสัมพันธร ะหวา ง  สเปซกับสเปซ  สเปซกบั เวลา S6 การจดั กระทาํ และสือ่ ความหมายขอ มลู  S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอมูล  S9 การตัง้ สมมติฐาน  S10 การกาํ หนดนยิ ามเชิงปฏบิ ตั กิ าร  S11 การกําหนดและควบคุมตัวแปร  S12 การทดลอง  S13 การตคี วามหมายขอมูลและลงขอสรุป  S14 การสรา งแบบจําลอง ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 C1 การสรางสรรค C2 การคิดอยา งมีวิจารณญาณ  C3 การแกปญหา C4 การสอ่ื สาร  C5 ความรว มมอื  C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร     สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

5 คูมอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วสั ดุและสสาร แนวคิดคลาดเคล่อื น ครบู นั ทึกแนวคดิ ท่ีไดจากการฟง การสนทนาและการอภิปราย เพ่ือนาํ ไปใชใ นการจดั การเรยี นรใู หส ามารถแกไ ขแนวคิด คลาดเคล่ือนและตอยอดแนวคิดที่ถูกตอง แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น แนวคดิ ทถี่ กู ตอง การสงั เกตคอื การมองดู การสงั เกตคือการใชป ระสาทสมั ผัสทัง้ การดู การดม การฟง การชิมรส และการสมั ผสั เพ่อื บอกลกั ษณะของสิ่งตาง ๆ  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วัสดแุ ละสสาร 6 บทนเี้ ร่มิ ตนอยา งไร (1.5 ชั่วโมง) 1. ครูทบทวนความหมายและชนิดของวัสดุโดยใหนักเรียนสังเกตวัตถุ หรือสิ่งของท่ีอยูรอบ ๆ ตัว เชน หนังสือ แกวน้ํา ปากกา รองเทา นักเรียน ไมบรรทัดสเตนเลส ตุกตา แลวอภิปรายเกี่ยวกับวัตถุแตละ ชิ้นวา ทํามาจากวัสดุอะไร เขยี นคําตอบลงในตารางบนกระดาน ตัวอยา งตารางบนั ทึกคาํ ตอบ ดังนี้ วตั ถุ วัสดุ สมบัติ 1. หนงั สือ 2. แกว นา้ํ 3. ปากกา 4. รองเทา นกั เรยี น 5. ไมบรรทัดสเตนเลส 6. ตุกตา 2. ครูนําอภิปรายคาํ ตอบในตารางตามแนวคําถาม ดังน้ี ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง 2.1 วัตถุแตละชนิดทาํ จากวสั ดอุ ะไรบาง (ตวั อยางคาํ ตอบ เชน กระดาษ นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม แกว พลาสติก หนงั โลหะ ผา ) เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให 2.2 วัสดุคืออะไร (วัสดุ คือ สิ่งท่ีนํามาประกอบกันเปนวัตถุหรือสิ่งของ หาคาํ ตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม ตาง ๆ) ตา ง ๆ ในบทเรียนี้ 2.3 วัสดุอนื่ ๆ ท่ีนกั เรียนรจู กั มีอะไรบา ง (ตวั อยางคําตอบ เชน คอนกรีต เสน ใย เหลก็ ทองแดง ไม) 2.4 วัสดุเหลา นี้ใชทาํ วัตถอุ ะไรบาง (คาํ ตอบสอดคลอ งกับวัสดุท่ีนักเรียน ตอบในขอ 2.3 เชน คอนกรีตใชทํากระเบ้ืองมุงหลังคา ทําพ้ืน อาคาร เสน ใยใชทอเปนผา ทองแดงใชทาํ สายไฟฟา ไมใ ชทาํ โตะ ) 3. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาสมบัติตาง ๆ ของวัสดุโดยนักเรียนอานช่ือบทและ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู ในหนังสอื เรยี นหนา 1 จากน้ันครูสอบถามวาเมื่อจบ บทเรียนนักเรียนจะสามารถทําอะไรไดบาง (เปรียบเทียบสมบัติทาง กายภาพของวัสดุ อธิบายการนําสมบัติทางกายภาพของวัสดุไปใชและ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

7 คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วัสดุและสสาร เลือกใชวัสดุตามสมบัติทางกายภาพดานความแข็ง สภาพยืดหยุน การนํา การเตรียมตัวลวงหนา สําหรับครู ความรอ นและการนาํ ไฟฟา) เพ่ือจัดการเรยี นรใู นครง้ั ถดั ไป 4. นักเรียนอาน แนวคิดสําคัญ จากน้ันครูสอบถามถึงเรื่องที่จะเรียนใน บทเรยี นนี้ (ในบทนีเ้ ราจะเรยี นเรื่องสมบัติทางกายภาพของวัสดุไดแก ความ ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดเรียนเร่ือง แขง็ สภาพยดื หยนุ การนาํ ความรอน และการนําไฟฟารวมถึงการนําวัสดุมา ความแข็งของวัสดุ โดยครูเตรียมการจัด ใชป ระโยชนใ นชีวติ ประจําวนั ) กจิ กรรม ดงั นี้ 5. นักเรียนอานเน้ือเร่ืองในหนังสือเรียน หนา 2 ครุใชวิธีอานตามความ เหมาะสมตามความสามารถของนักเรียน จากน้ันสอบถามเพ่ือประเมิน 1. แผนไม 1 แผน ความเขา ใจจากการอานโดยใชแ นวคําถามดงั ตอ ไปนี้ 2. ดินน้ํามัน(มีรูปรางเปนแผน 5.1 จากรูป มีอุปกรณกีฬาอะไรบาง (ลูกฟุตบอล ลูกบาสเกตบอล ลูก เหมือนกับแผนไมในขอ 1) 1 ปงปอง ลกู เทนนสิ ลกู ขนไก ไมต ลี ูกปงปอง ไมตีลกู ขนไก) กอ น 5.2 นักเรียนคิดวา อุปกรณกีฬาแตละชนิดทําจากวัสดุอะไร (นักเรียนตอบ ตามความเขาใจ) 5.3 นักเรียนคิดวา วัสดุแตละชนิดมีสมบัติอะไรบาง (นักเรียนตอบตาม ความเขาใจ) 5.4 การเรียนรูสมบัติของวัสดุจะมีประโยชนกับเราอยางไร (นักเรียนตอบ ตามความเขา ใจ) 6. ครูชักชวนนักเรียนทําสํารวจความรูกอนเรียน เพื่อตรวจสอบความรูเดิม เกี่ยวกบั สมบัติทางกายภาพของวสั ดใุ นกจิ กรรมน้ี 7. นักเรียนทํากิจกรรมสํารวจความรูกอนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 1-2 โดยอา น ชือ่ หนวย ชอ่ื บท 8. นกั เรียนอา นสถานการณและคําถาม ครตู รวจสอบจนแนใจวานักเรียนเขาใจ คําถามแตละขอและสามารถทําไดดวยตนเอง จึงใหนักเรียนตอบคําถาม โดยคําตอบของนักเรียนแตละคนอาจแตกตางกัน และอาจตอบถูกหรือผิดก็ ได 9. ครูรวบรวมคําตอบของนักเรียนเพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีแนวคิดเกี่ยวกับ สมบัติทางกายภาพของวัสดุและวิธีทดสอบอยางไรบาง ครูยังไมตองเฉลย คําตอบทีถ่ กู ตอง แตจ ะใหน ักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบคําตอบอีกครั้งหลัง เรียนจบบทนี้แลว (ครูอาจบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือนของนักเรียน แลว นํามาออกแบบการจดั การเรียนรูเพ่อื แกไ ขแนวคิดใหถูกตองตอไป)  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนวยท่ี 4 วัสดุและสสาร 8 ความรเู พิม่ เตมิ สําหรบั ครู ลูกฟุตบอลมีสวนประกอบหลกั 2 สว นคือ สว นทีเ่ ปนลกู บอลดา นในและสวนที่เปนผิวดานนอก ลูก บอลดานในทําจากยาง ผิวดา นนอกทาํ จากหนังซง่ึ อาจเปน หนงั แทห รือหนงั เทียม ลกู ฟุตบอลเม่อื เติมลมแลว ควรมสี มบตั ิ ไมร ว่ั ซึม ดดู ซมึ น้ําไดนอย กระดอนไดด ี และมีความคงทน ลูกเทนนสิ มสี ว นประกอบหลกั 2 สว นคอื สว นทีเ่ ปนลกู บอลขางในและสวนที่เปนผิวดานนอก ลูก บอลดา นในทาํ จากยาง ผวิ ดา นนอกทําจากผาสกั หลาด ลูกเทนนสิ ควรมสี ภาพยดื หยุนดี ทนทาน เอกสารอา งอิง 1. ชณิ รตั น ลาภพลู ธนอนันต ลูกฟุตบอล ศูนยวจิ ยั เทคโนโลยยี าง มหาวิทยาลัยมหิดล 2. ชิณรัตน ลาภพูลธนอนนั ต ลกู เทนนสิ ศูนยวจิ ยั เทคโนโลยยี าง มหาวิทยาลยั มหิดล สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

9 คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.4 เลม 2 | หนว ยที่ 4 วัสดแุ ละสสาร แนวคําตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม การสาํ รวจความรูกอนเรยี น นักเรียนอาจตอบคําถามถูกหรือผิดก็ไดขนึ้ อยูกบั ความรูเดมิ ของนักเรยี น แตเ ม่ือเรยี นจบบทเรียนแลว ใหนกั เรยี นกลับมาตรวจสอบคําตอบอีกคร้ังและแกไขใหถูกตอง ดงั ตัวอยาง  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี