Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_26

tripitaka_26

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:37

Description: tripitaka_26

Search

Read the Text Version

พระสุตตันตปฎ ก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 1 พระสตุ ตันตปฎ ก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เลม ที่ ๒ขอนอบนอ มแดพ ระผูมีพระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา พระองคน้นั ๑. อภิสมยสังยตุ พุทธวรรคท่ี ๑ ๑. เทสนาสตู ร วา ดวยปฏจิ จสมุปบาท [๑] ขาพเจาไดสดบั มาอยางนี้ :- สมัยหนงึ่ พระผูมพี ระภาคเจาประทับอยู ณ พระเชตวนั อารามของทา นอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี. ณ ท่ีนั้น พระผมู ีพระภาคเจาตรัสเรียกภิกษทุ ั้งหลายวา ดกู อนภกิ ษุท้ังหลาย ภกิ ษุเหลานั้น ทลู รบัพระผูมีพระภาคเจา วา พระเจาขา พระผูมีพระภาคเจา ไดตรสั พระพุทธ-ดาํ รสั น้ีวา ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย เราจักแสดงปฏิจจสมุปบาทแกเ ธอท้ังหลายเธอทั้งหลายจงฟง ปฏจิ จสมุปบาทนนั้ จงใสใ จใหดเี ถดิ เราจกั กลาว.ภกิ ษุเหลานน้ั ทูลรับพระผมู ีพระภาคเจาแลว. [๒] พระผูม ีพระภาคเจาไดต รัสวา ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย ก็

พระสุตตนั ตปฎก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 2ปฏิจจสมุปบาทเปน ไฉน ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย เพราะอวชิ ชาเปน ปจ จยัจึงมสี งั ขาร เพราะสังขารเปน ปจจัย. จงึ มีวญิ ญาณ เพราะวิญญาณเปนปจจยั จึงมีนามรปู เพราะนามรูปเปนปจจัย จึงมสี ฬายตนะ เพราะสฬายตนะเปน ปจ จัย จงึ มีผัสสะ เพราะผัสสะเปน ปจ จัย จึงมเี วทนาเพราะเวทนาเปน ปจ จัย จงึ มตี ณั หา เพราะตัณหาเปน ปจจัย จึงมีอุปาทานเพราะอุปาทานเปนปจจยั จงึ มีภพ เพราะภพเปนปจจยั จึงมชี าติ เพราะชาติเปนปจจยั จงึ มชี ราและมรณะ โสกปรเิ ทวทุกขโทมนสั และอุปายาสความเกิดขึ้นแหงกองทกุ ขทั้งมวลน้ี ยอ มมีดวยประการอยา งนี้ นเ้ี ราเรียกวาปฏจิ จสมปุ บาท. [๓] กเ็ พราะอวิชชานนั่ แหละดบั ดว ยการสาํ รอกโดยไมเหลือสงั ขารจึงดับ เพราะสังขารดบั วญิ ญาณจงึ ดับ เพราะวิญญาณดับนามรูปจงึ ดบั เพราะนามรปู ดับ สฬายตนะจึงดบั เพราะสฬายตนะดบัผัสสะจึงดบั เพราะผัสสะดบั เวทนาจงึ ดับ เพราะเวทนาดบั ตัณหาจงึ ดับ เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอปุ าทานดบั ภพจึงดบัเพราะภพดบั ชาตจิ งึ ดบั เพราะชาตดิ บั ชราและมรณะโสกปริเทวทกุ ข-โทมนัสและอปุ ายาสจึงดับ ความดบั แหง กองทกุ ขทั้งมวลนี้ ยอมมดี ว ยประการอยางน้ี. พระผมู ีพระภาคเจาไดตรสั พระพทุ ธภาษติ นีแ้ ลว ภกิ ษุเหลานนั้ มใี จยินดชี ่นื ชมภาษิตของพระผมู ีพระภาคเจาแลว . จบเทศนาสูตรท่ี ๑

พระสตุ ตันตปฎก สังยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 3 สารัตถปกาสนิ ี อรรถกถาสงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค อภสิ มยสังยตุ พทุ ธวรรคที่ ๑ อรรถกถาปฐมปฏจิ จสมุปบาทสตู รท่ี ๑๑ ขอนอบนอ มแดพ ระผมู ีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจาพระองคน ้ัน. ปฏจิ จสมุปบาทสูตร๒ พระสตู รแรกในนทิ านวรรคเรมิ่ ตน วาเอวมเฺ ม สตุ  ขาพเจาไดฟ ง มาแลว อยางน้ี. ในปฏิจจสมุปบาทสตู รนัน้ พรรณนาตามลําดับบทวา ตตฺร โขภควา ภิกขฺ ู อามนฺเตสิ ดงั ตอ ไปน้ี. บรรดาบทเหลาน้นั บทวา ตตรฺ เปนคําแสดงถงึ เทศะ สถานและกาลเวลา. จรงิ อยู คาํ วา ตตฺร นั้น ยอ มแสดง (ความหมาย) วา ในสมยั ที่พระผูม ีพระภาคเจา ประทับอยู และในพระเชตวันท่พี ระผูม พี ระภาคเจาประทบั อยู หรือแสดงถงึ เทศะ และกาลทส่ี มควรแกค ําที่พระองคค วรตรัส.ดวยวาพระผมู พี ระภาคเจา ไมต รสั ธรรมะ ในเทศะและกาละท่ีไมค วร.ก็ในเรอื่ งนม้ี ีคําวา อกาโล โข ตาว พาหยิ เปนขอสาธก. ศัพทว าโข เปน นิบาต ใชใ นความหมายวา สักวาทาํ บทใหเ ต็มความหมายวาหา มความอ่ืน หรือในความหมายถึงกาลเบ้ืองตน. คาํ วา ภควา เปน๑-๒. บาลีเปน เทศนาสูตร

พระสุตตนั ตปฎก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 4คาํ แสดงวา พระผูมพี ระภาคเจาทรงเปน ครูของชาวโลก. ดวยคําวา ภิกฺขูเปน คําระบุถงึ บุคคลผคู วรแกการฟงพระดํารสั อีกนยั หนึ่ง ในคําวา ภกิ ฺขูน้ี พึงทราบความหมายถอยคาํ โดยนัยเปนตน วา ทชี่ ่ือวา ภกิ ษุ เพราะอรรถวา ขอ ( และ) ทช่ี ื่อวาภิกษุ เพราะอรรถวา เขา ถึงการภิกษาจาร. บทวาอามนฺเตสิ แปลวา ตรัสเรียก คือไดตรัส ไดแก ใหรตู ัว. ในคําวาอามนฺเตสิ น้ี มอี ธบิ ายดังน้ี แตในที่อน่ื มีความหมายวาใหรูเ หมอื นอยา งท่ีตรสั ไวว า ภิกษุทง้ั หลาย เราขอเดอื นเธอท้งั หลาย ภิกษุท้งั หลายเราขอประกาศแกเ ธอท้ังหลาย. มีความหมายวา เรียกก็มี เหมือนอยา งทต่ี รัสไววา มาเถดิ ภิกษุ เธอจงเรียกพระสารบี ุตรมาตามคาํ ของเรา. บทวาภิกขฺ โว เปน บทแสดงอาการ คือการตรัสเรยี ก. ก็คําวา ภกิ ฺขโว น้นัพระผมู พี ระภาคเจา ตรสั แกเ หลาภกิ ษุ เพราะสําเร็จดวยการประกอบดว ยคุณมคี วามเปน ผขู อเปน ปกตกิ ด็ ี ผปู ระกอบดว ยคุณมกี ารขอเปนธรรมดากด็ ี ผูประกอบดวยคุณคือทาํ ความดีในเพราะการขอกด็ ี ช่อื วาภิกษุ เพราะเหตุนน้ั พระผูม ีพระภาคเจา เมอ่ื ทรงประกาศความประพฤติของภิกษุเหลา นน้ั อนั คนช้นั เลวและคนชนั้ ดเี สพแลว ดว ยถอ ยคาํ ท่ีสําเรจ็ดว ยการประกอบดว ยคุณ มีการขอเปนปกติเปนตน จึงทรงทาํ การขมภาวะท่ีเหลาภกิ ษผุ ผู ยองขึน้ เปนตน. อนึง่ ดว ยคาํ วา ภกิ ขฺ โว นี้ ซ่ึงมีการทอดพระเนตรลง อนัแสดงถงึ พระฤทัยอนั เยอื กเยน็ ซึง่ แผซานดว ยพระกรุณา พระผูมีพระ-ภาคเจา ทรงกระทําภิกษเุ หลา นัน้ ใหหนั มาทางพระองค ทรงใหภกิ ษุเหลา นน้ั เกดิ ความเปน ผูใครฟง ดวยพระดํารัสซง่ึ แสดงความเปน ผใู ครจ ะตรัสนนั้ นน่ั แล ทรงประกอบภกิ ษเุ หลาน้นั ไวใ นมนสิการดว ยดี ดวย

พระสุตตันตปฎ ก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 5อรรถคือการปลกุ ใหต น่ื นั่นแล เพราะการทาํ คําสอนใหถงึ พรอม ตอ งประกอบดวยมนสกิ ารใหด ี. หากจะมีคาํ ถามวา เมือ่ มีทวยเทพ และมนษุ ยอื่น ๆ อยู เหตไุ ฉนพระผมู พี ระภาคเจาจงึ ตรัสเรียกแตภ ิกษเุ ทานน้ั . ตอบวา เพราะภกิ ษุเหลา นนั้ เปน หัวหนา เปนผูประเสริฐ อยูใกลและมจี ติ ตัง้ มนั่ แลวในกาลทุกเมอื่ . จรงิ อยู พระธรรมเทศนาของพระผูม-ีพระภาคเจา เปนสาธารณะแกบรษิ ทั ทกุ เหลา . ภกิ ษุทงั้ หลายชอ่ื วา เปนหวั หนาบรษิ ทั เพราะเกดิ ขึน้ กอ น ช่ือวา เปน ผปู ระเสรฐิ เพราะประพฤติคลอยตามพระจริยาวัตรพระศาสดาตง้ั ตน แตความเปน ผูไมมีเรือน และเพราะรบั เอาคําสอน ( ของพระศาสดา) ท้ังสิ้น ช่ือวา เปน ผอู ยูใ กล เพราะนั่งใกลพระศาสดา ( และ ) ชอ่ื วา มจี ิตตัง้ มน่ั แลว ในกาลทุกเม่ือ เพราะเทยี่ วไปในสํานักพระศาสดา. อีกอยางหนึ่ง ภิกษุเหลานน้ั เปนภาชนะรองรับพระธรรมเทศนา เพราะเปน ผูปฏบิ ัตติ ามคําสอน (ของพระศาสดา) และเพราะเปน ผพู เิ ศษ. แมพ ระธรรมเทศนาน้ี ทรงหมายถึงภิกษบุ างพวกเทานั้น. เพราะฉะน้นั จงึ ตรสั เรียกอยา งนี้ ถามวาพระผูมพี ระภาคเจา เมื่อทรงแสดงธรรม ตรสั เรยี กภกิ ษกุ อ น ยอมไมแสดงธรรมเลยเพื่ออะไร. ตอบวา เพือ่ ให (พวกภกิ ษุ) เกดิ สติ(เพราะ) ภกิ ษทุ ้ังหลาย เม่อื คดิ เรือ่ งอ่นื จะนั่งมวั มจี ิตฟงุ ซานบา งมัวพิจารณาธรรมอยูบ าง มัวทาํ ใจในกมั มฏั ฐานบาง เมื่อพระผมู ี-พระภาคเจาไมตรัสเรยี กพวกเธอเลย ทรงแสดงธรรมไป พวกเธอจะไมสามารถก าหนดไดวา พระธรรมเทศนาน้ี มอี ะไรเปน เบือ้ งตน มีอะไรเปนปจ จัย ทรงแสดงเพราะอตั ถุปตติอยา งไหน จะพงึ รบั เอาไดไมดี หรอื

พระสตุ ตนั ตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 6รักเอาไมไดเ ลย เพราะเหตนุ นั้ เพ่ือจะใหภกิ ษุเหลาน้ันเกดิ สติ พระผมู ี-พระภาคเจาจงึ ตรสั เรียกเสยี กอน แลวจงึ แสดงธรรมภายหลงั . คาํ วา ภทนเฺ ต นัน้ เปนคาํ แสดงความเคารพ. อีกอยางหน่ึงคาํ นั้นเปนการใหคําตอบแกพระศาสดา อกี ประการหนง่ึ ในคาํ นี้พระผูมพี ระภาคเจา เมื่อตรัสวา ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย ช่อื วา ยอมตรสั เรียกภกิ ษุเหลา นนั้ . ภกิ ษเุ หลา น้ันเมือ่ กราบทลู วา ขาแตพระองคผเู จริญ ชอื่ วาใหคําตอบพระผมู ีพระภาคเจา. จรงิ อยา งน้ัน พระผูมพี ระภาคเจาจงึตรัสวาภิกษทุ งั้ หลาย ภกิ ษุท้ังหลายยอมกราบทลู วา พระองคผูเจริญ.คําวา ภกิ ขฺ โว คอื พระผมู พี ระภาคเจา โปรดใหพ วกภกิ ษใุ หคําตอบ.คําวา ภทนเฺ ต คอื พวกภกิ ษุใหค าํ ตอบ. บทวา เต ภิกฺขู ไดแ กเหลา ภกิ ษทุ พ่ี ระผูมีพระภาคเจาตรสั เรยี ก. บทวา ภควโต ปจจฺ สโฺ สสุ ความวา รับการตรัสเรียกของพระผมู พี ระภาคเจา อธิบายวา หนั หนา ฟง ไดแ กรับ คือรบั ปฏิบัต.ิ คําวา ภควา เอตทโวจ ความวา พระผมู พี ระภาคเจา ไดต รสัพระสูตรทงั้ สิน้ นี้ ทีค่ วรตรสั ในบดั น.ี้ การพจิ ารณาเนื้อความแหงคําเร่มิ ตน ซ่งึ ประดบั ดวยกาละ เทศะเทสกะ ( ผูแสดง) บรษิ ัท และ อปเทส (ขออา ง ) ของพระสตู รนี้อนั สมบูรณดว ยอรรถและพยัญชนะ สองถงึ ความทพ่ี ระสูตรน้ลี ึกซึง้ ดว ยเทศนาญาณของพระพทุ ธเจา ทที่ านพระอานนทภ าษิตไว เพอ่ื ก าหนดไดสะดวกจบบรบิ ูรณแลว ดวยคํามปี ระมาณเทาน้.ี บดั น้ี โอกาสแหง การพรรณนาพระสตู รท่ีพระผมู ีพระภาคเจาทรงตั้งไวโ ดยนัยวา ปฏิจจฺ สมปุ ฺปาท โว เปน ตน มาถึงโดยลาํ ดบั . กเ็ พราะ

พระสตุ ตนั ตปฎก สังยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 7การพรรณนาพระสูตรนี้นน้ั พระผมู ีพระภาคเจา ไดท รงพจิ ารณาเหตุตัง้พระสูตรกอนแลว จึงตรัสปรากฏชัดแลว เพาะฉะนั้น ขาพเจาจกั พิจารณาเหตุต้งั พระสตู รกอน. แทจริง เหตุตัง้ พระสตู รมี ๔ อยาง คอื อธั ยาศัยของพระองคเอง ๑ อัธยาศัยของผูอื่น ๑ เปนไปดว ยอาํ นาจคําถาม ๑ เกดิ เรอ่ื งขนึ้ ๑. บรรดาเหตุตั้งพระสูตร ๔ อยางนัน้ พระผมู ีพระภาคเจาอันชนอื่นไมไ ดอ าราธนาเลย ตรสั พระสตู รเหลาใด เพราะอัธยาศยั ของพระองคอยางเดียวเทานน้ั คือ วสลสูตร จันโทปมสูตร วโี ณปมสตู ร สัมมัป-ปธานสตู ร อิทธิบาทสตู ร อนิ ทรยิ สูตร พลสูตร โพชฌังคสตู ร มัคคสตู รและ มงคลสูตร เปนตน พระสตู รเหลานน้ั ช่อื วา มีอัธยาศัยของพระองคเองเปนเหตุตั้งพระสูตร. พระผูมีพระภาคเจา ทรงพจิ ารณาอัธยาศยั ความอดทน ความพอใจ ความรู อภินหิ าร และความตรัสรูของคนอ่นื อยา งนว้ี า ธรรมทงั้ หลายที่บม วมิ ตุ ติ ของพระราหลุแกก ลา แลว ถากระไรเราพึงแนะนาํ ราหลุ ในธรรมเปน ทสี่ น้ิ อาสวะใหย ่งิ ๆข้ึน ดงั นแี้ ลว ตรสั พระสตู รเหลา ใดไวดวยอัธยาศยั ของผอู น่ื คอืจูฬราหุโลวาทสูตร มหาราหุโลวาทสตู ร ธมั มจักกปั ปวัตตนสตู รอนัตตลกั ขณสตู ร อาสวี โิ สปมสูตร (และ) ธาตวุ ภิ งั คสตู ร เปนตนพระสูตรเหลา นัน้ ชอื่ วา มอี ัธยาศยั ของผอู ่นื เปนเหตตุ ง้ั พระสูตร. อนึง่ ชนท้งั หลายมีเปน ตน วา บรษิ ัท ๔ วรรณะ ๔ นาค ครฑุคนธรรพ อสูร ยกั ษ ทา วจตุมหาราช เทวดาชั้นดาวดงึ สเ ปน ตน(และ) ทา วมหาพรหม เขา ไปเฝาพระผมู พี ระภาคเจาแลว ทลู ถามปญ หาโดยนยั เปนตนวา พระเจา ขา ธรรมเหลานี้ พระองคตรสั เรียกวา

พระสุตตนั ตปฎก สังยตุ ตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 8โพชฌงค โพชฌงค หรอื พระเจาขา ธรรมเหลาน้ี พระองคตรสั เรียกวานวี ารณะ นีวารณะ หรือพระเจา ขา ธรรมเหลานี้พระองคตรสั เรยี กวาปญจุปาขนั ธหรอื พระเจาขา ในโลกน้ีอะไรเปน ทรัพยเครือ่ งปลม้ื ใจอนั ประเสรฐิ ทส่ี ุดของคน พระผูมพี ระภาคเจา อันชนมบี ริษัท ๔ เปนตนนน้ั ทลู ถามแลวอยา งนี้ ไดต รัสพระสูตรเหลา ใด มีโพชฌังคสังยตุ เปนตนหรือแมสูตรอนื่ ใดมเี ทวดาสงั ยุต สกั กปญ หสูตร จูฬเวทลั ลสูตร มหา-เวทลั ลสตู ร สามญั ญผลสตู ร อาฬวกสตู ร สูจิโลมสตู ร และขรโลมสูตรเปน ตน พระสตู รเหลานั้นชือ่ วา มเี หตุต้ังพระสตู รเปนไปดวยอํานาจคาํ ทลู ถาม. พระผูมีพระภาคเจา ทรงอาศยั เกิดข้ึนแลว ตรัสพระสูตรเหลา น้ันใด คือ ธมั มทายาทสตู ร มงั สปู มสูตร ทารขุ นั ธปู มสูตร อัคคขิ ันธูปม-สูตร เผณปณ ฑูปมสูตร (และ) ปารฉิ ัตตกูปมสูตร เปน ตน พระสตู รเหลา น้นั ช่อื วา เหตตุ ้งั พระสูตรคอื เกดิ เร่ืองขนึ้ . บรรดาเหตุตั้ง (พระสูตร) ๔ อยา งเหลา น้ี ดงั วา มาน้ี ปฏิจจ-สมปุ บาทสตู รนี้ ชือ่ วามีเหตุต้ัง (พระสตู ร) คือ อธั ยาศยั คนอน่ื .จรงิ อยู พระผมู พี ระภาคเจา ทรงตั้งพระสตู รน้ีไวด วยอาํ นาจอัธยาศัยบุคคลอืน่ ถามวา ทรงตั้งไวดว ยอาํ นาจอธั ยาศัยบุคคลชนดิ ไหน. ตอบวาชนิดอุคฆตติ ญั ู. จริงอยู บุคคลมี ๔ จําพวก คือ อุคฆตติ ญั ู วปิ จิตัญู เนยยะ(และ) ปทปรมะ. บรรดาบุคคล ๔ จาํ พวกน้ัน บุคคลทไี่ ดตรสั รธู รรมพรอ มกับเวลาท่ที านยกหัวขอธรรมข้ึนแสดง นีเ้ รยี กวา อุคฆติตญั ู.บคุ คลทต่ี รสั รูธ รรมในเม่ือทานขยายความของขอธรรมทที่ า นกลา วไว

พระสตุ ตันตปฎ ก สังยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 9โดยยอใหพศิ ดาร น้เี รยี กวา วปิ จิตัญ.ู บุคคลเมอื่ ใชโยนโิ สมนสกิ ารโดยอุทเทสและปรปิ ุจฉา เสพคนนั่งใกลกัลยาณมติ ร จงึ ไดตรัสรูธรรมนีเ้ รียกวา เนยยะ. บุคคลถงึ จะฟงมากก็ดี กลาวมากก็ดี ทรงจํามากก็ดีทองบน มากกด็ ี ก็ไมไ ดตรัสรูธรรมในชาตินนั้ เรยี กวา ปทปรมะ. พระผูมีพระภาคเจาทรงต้ังพระสตู รน้ี ดว ยอํานาจอธั ยาศัยของเหลาบคุ คลผเู ปนอคุ ฆตติ ญั ู ในบรรดาบคุ คลเหลานี้ ดว ยประการฉะน้ี. ทราบวาในคราวน้ันภกิ ษชุ าวชนบทจาํ นวน ๕๐๐ รปู ท้ังหมดแลเทย่ี วไปรูปเดียว (บาง) เทีย่ วไป ๒ รูป (บาง) เท่ยี วไป ๓ รูป(บา ง) เทีย่ วไป ๔ รปู (บา ง) เที่ยวไป ๕ รูป (บา ง) มีความประพฤตเิ ปนสภาคกนั ถอื ธดุ งค ปรารภความเพยี ร ประกอบความเพียรเปน นกั วิปสสนา ปรารถนาการแสดงปจจยาการท่ลี ะเอยี ด สุขมุ แสดงความวา งเปลา เวลาเยน็ จงึ เขา ไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจา ถวายบงั คมแลว มุงหวงั การแสดงปจจยาการ จงึ พากันนั่งแวดลอ ม (พระองค)เหมอื นแวดลอ มดวยมานผา กัมพลสแี ดงฉะนั้น พระผูมีพระภาคเจา ทรงปรารภพระสูตรนี้ เพราะอํานาจอธั ยาศยั ขอกพวกเธอ. เปรียบเหมอื นจิตรกรผฉู ลาดไดฝาเรือนท่ยี ังไมไ ดฉ าบทาเลย ยังไมสรางรูปภาพตง้ั แตตน เลยแตเ ขาทาํ การฉาบฝาเรือนดว ยการฉาบทาดวยดนิ เหนยี วเปนตนกอนแลวสรา งรูปภาพทฝ่ี าเรือนท่ฉี าบทาแลว แตค ร้ันไดฝาเรือนทฉ่ี าบทาแลว ไมตองทําการขวนขวายในฝาเรือนเลย ผสมสีแลว เอาสายเชอื กหรอื แปลงทาสสี รางรปู ภาพอยางเดยี วฉนั ใด พระผูม ีพระภาคเจากฉ็ ันนั้น ไดกลุ บุตรผเู รม่ิ บาํ เพญ็ เพียร แตย ังไมท าํ ความเชื่อมั่น จึงมไิ ดต รัสบอกลกั ษณะวิปสสนากมั มฏั ฐานซ่งึ ละเอยี ด สขุ ุม แสดงความวางเปลา อัน

พระสุตตนั ตปฎก สงั ยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 10เปนปทฏั ฐานพระอรหนั ตแกเ ธอแตช ้นั ตน แตทรงประกอบ (เธอ)ไวใ นสัมปทาคือ ศลี สมาธิ และกัมมัสสกตาทฏิ ฐิ ความเห็นวาสตั วมีกรรมเปนของตนเสียกอ น จงึ ตรัสบอกปฏปิ ทาอนั เปนสว นเบอื้ งตน ซึง่พระองคทรงมงุ หมายตรัสวา ดูกอ นภกิ ษุ เพราะเหตนุ น้ั แล เธอจงชําระปฏิปทาเบือ้ งตนในกศุ ลธรรม กอ็ ะไรเปน เบื้องตนของกุศลธรรม (คอื )ศีลท่ีบริสุทธิ์และทิฏฐทิ ตี่ รง ดูกอ นภกิ ษุ เธอจักมศี ีลบริสุทธิ์ และทิฏฐิตรงในกาลใดแล ดกู อนภกิ ษุ ในกาลนนั้ เธออาศยั ศลี ดํารงในศลี แลวเจรญิ สตปิ ฏฐาน ๔ โดย ๓ อยา ง. สติปฏฐาน ๔ เปน ไฉน. ภิกษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ พิจารณาเหน็ กายในกายอยู มคี วามเพียร มีสัมปชญั ญะมีสติ พงึ กาํ จดั อภิชฌา โทมนสั ในโลก พิจารณาเห็นกายภายนอก ฯลฯพจิ ารณาเหน็ ท้งั ภายในและภายนอก ฯลฯ พิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมอยู มคี วามเพยี ร มีสัมปชัญญะ มีสติ พึงกําจดั อภชิ ฌา และโทมนัสไดในโลก. ดูกอ นภิกษุ ในกาลใดแล เธออาศัยศีล ดํารงอยูในศีล พึงเจริญสติปฏฐาน ๔ เหลานี้ อยางนี้ ดกู อนภิกษุ ในกาลนัน้ กลางคืนหรือกลางวนั จักมาถึงเธอ ความเจริญอยางเดียวในกุศลธรรม เธอพึงหวงัได ไมมีความเสอ่ื มเลย. พระผมู พี ระภาคเจา ครน้ั ตรัสการอบรมดว ยศลี กถาแกอ าทกิ มั มิก-กลุ บุตร ดว ยประการฉะน้ีแลว จงึ ตรสั บอกลักษณะแหงวิปส สนา อนัละเอียด สขุ มุ แสดงความวางเปลา ซงึ่ เปนปทัฏฐานแหง พระอรหัตและครน้ั ไดภิกษุนักวปิ สสนา ผูมีศีลอนั บริสุทธิ์ ปรารภความเพยี รประกอบความเพียรแลว ก็ไมตรสั บอกปฏิปทาอันเปนสว นเบอ้ื งตน แกเ ธอแตจ ะตรัสบอกลักษณะแหงวปิ ส สนาอนั ละเอียด สุขมุ แสดงความวา งเปลา

พระสตุ ตันตปฎ ก สงั ยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 11ซ่ึงเปน ปทัฏฐานแหง พระอรหตั ตรง ๆ เลย. ภิกษจุ ํานวน ๕๐๐ รปูเหลา นี้ครนั้ ชาํ ระปฏปิ ทาอันเปนสวนเบอื้ งตน แลว ดํารงอยูเหมือนทองคําบรสิ ทุ ธิ์ คลายกับกอ นมณีท่ขี ดั แลว . โสกุตรมรรคอยางหนงึ่ ไมไดม าถึงพวกเธอเลย พระศาสดาไดพ จิ ารณาอธั ยาศยั ของพวกภกิ ษเุ หลานนั้เพ่ือจะใชถึงโลกตุ รมรรคนัน้ จึงทรงนาํ พระสูตรนมี้ า. บรรดาบทเหลา นั้น บทวา ปฏจิ ฺจสมุปฺปาท ไดแ กปจจยาการ.จริงอยู ปจจยาการอาศยั กนั แลว ยอ มใหสหชาตธรรมเกิดขนึ้ . เพราะ-ฉะนั้น ปจ จยาการพระผูมพี ระภาคเจา จึงตรัสวา ปฏจิ จสมุปบาท.ความสงั เขปในนทิ านวรรคนี้ เทาน.้ี สวนความพสิ ดารนกั ศึกษาพึงคนควาจากคัมภรี ป กรณวิเสสวิสทุ ธิมรรค. ศพั ทว า โว ในคําวา โว นี้ ยอมใชไ ดทั้งในปฐมาวภิ ัตติทตุ ิยาวิภตั ติ ตติยาวภิ ตั ติ จตตุ ถีวิภตั ติ ฉฏั ฐีวภิ ตั ติ และในการทาํ บทใหเตม็ จรงิ อยู โว ศัพทนี้ ยอ มปรากฏในปฐมาวภิ ตั ติ ในประโยคเปนตน วา กจจฺ ปน โว อนรุ ุทฺธา สมคฺคา สมฺโมทมานา ดกู อ นอนุรทุ ธ และอานนท พวกเธอยงั บนั เทิงพรอมเพรยี งกันดอี ยหู รอื .ใชใ นทตุ ยิ าวภิ ตั ติ ในประโยคเปนตนวา คจฉฺ ถ ภกิ ขฺ เว ปณาเมมิ โวภิกษทุ ง้ั หลาย พวกเธอจงไปเสยี เราประณามพวกเธอ ใชใ นตตยิ าวภิ ัตติในประโยคเปน ตน วา น โว มม สนฺตเิ ก วตถฺ พฺพ อนั เธอทงั้ หลายไมค วรอยใู นสาํ นักของเรา. ใชในจตตุ ถีวภิ ัตติ ในประโยคเปน ตนวาวนปฏ ปริยาย โว ภกิ ฺขเว เทเสสสฺ ามิ ภิกษทุ ง้ั หลาย เราจกั แสดงวนปต ถปริยายสูตรแกพ วกเธอ. ใชในฉฏั ฐวี ภิ ตั ติ ในประโยคเปน ตน วาสพฺเพส โว สารีปตุ ตฺ สุภาสติ  สารบี ตุ ร คาํ ของพวกเธอทั้งหมด

พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาท่ี 12เปนสภุ าษติ . ใชในปทปรู ณะ. (ทําบทใหเ ต็ม) ในประโยคเปนตนวาเย หิ โว อริยา ปริสุทฺธกายกมฺมนติ า ก็พระอรยิ เจา ทง้ั หลายเหลาใดแล มีการงานทางกายบรสิ ทุ ธ์.ิ แตใ นที่นี้ ศัพทว า โว น้ี พงึ เหน็ วาลงในจตตุ ถวี ิภัตติ.คาํ วา ภิกขฺ เว เปนคาํ รอ งเรยี กเหลาภิกษุผปู รากฏเฉพาะพระพักตรดวยรบั พระดาํ รสั . คาํ วา เทเสสฺสามิ เปนคาํ ปฏญิ ญาท่จี ะแสดง (ธรรม).คําวา ต สณุ าถ ความวา เธอทั้งหลายจงฟงปฏิจจสมุปบาทนนั้ คอืเทศนากัณฑน ้ันท่ีเรากําลงั กลา วอยู.กค็ าํ วา สาธกุ  น้ัน ในคําวา สาธุก มนสิกโรถ นี้ มีเนื้อความเปนอนั เดียวกนั วา สาธุ อนงึ่ สาธุ ศพั ทน ้ี ใชในอรรถวา ทูลขอการตอบรับ การทําใหรา เริง ความดแี ละการทาํ ใหม่นั คงเปน ตน. จริงอยูสาธุ ศัพทน ้ี ใชในอรรถวา ทลู ขอ ในประโยคเปนตน วา สาธุ เม ภนฺเตภควา สงฺขิตฺเตน ธมมฺ  เทเสตุ ขา แตพระองคผ เู จริญ ดังขาพระองคขอวโรกาส ขอพระผูมีพระภาคเจา โปรดแสดงธรรมโดยยอแกพ ระองคเ ถิดใชใ นอรรถวา ตอบรบั ในคาํ เปนตน วา สาธุ ภนฺเตติ โข โส ภกิ ขฺ ุภควโต ภาสิต อภินนฺทติ วฺ า อนโุ มทติ ฺวา ภกิ ษนุ ั้นแล กราบทลู วาดแี ลว พระเจา ขา ดังน้ี ชืน่ ชม อนุโมทนาภาษิตพระผูมพี ระภาคเจา.ใชในอรรถวา ทาํ ใจใหร า เรงิ ในประโยคเปน ตนวา สาธุ สาธุสารีปุตฺต ดแี ลว ดีแลว พระสารีบุตร. ใชในอรรถวา ดี ในประโยคเปนตนวาสาธุ ธมมฺ รุจิราชา สาธุ ปฺาณวา นโรสาธุ มติ ตฺ านมทุพโฺ ภ ปาปสสฺ อกรณ สุข .

พระสตุ ตนั ตปฎก สังยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 13 พระราชาผูทรงชอบพระทัยในธรรมดี นรชนผมู ี ปญญาดี การไมประทุษรายมิตรดี การไมทําความชัว่ เปน สขุ . สาธุก ศัพทน ัน่ แลใชในการกระทําใหม ั่นเขา ในประโยคเปนตนวาเตนหิ พฺราหมฺ ณ สาธกุ  สุณาหิ พราหมณ ถาอยางน้นั เธอจงสดบัใหม น่ั . สาธกุ ศพั ทน ีท้ านกลาววา ใชใ นการบังคับก็ได. แตในทีน่ ี้สาธุก ศพั ทนีใ้ ชในอรรถวา การกระทําใหม ั่นเขา อยา งเดียว. อนง่ึ อรรถแหงการบังคบั พงึ ทราบตอ ไป แมใ นอรรถวา เปน ความดีก็ใชไ ด. สาธุกศพั ทในอรรถทั้งสองงนน้ั ทานแสดงไวดวยอรรถแหง การทาํ ใหม่นั วา ทฬฺหอิม ธมฺม สณุ าก สคุ หิต คณหฺ นตฺ า เม่ือจะถอื เอาใหดี พวกเธอก็จงฟง ธรรมน้ีใหมัน่ ดว ยอรรถแหง การบังคบั วา มม อาณตฺติยา สุณาถเธอทัง้ หลายจงฟงตามคําสัง่ ของเรา ดว ยอรรถวา เปน ความดีวา สนุ ทฺ รมมิ ภททฺ ก ธมฺม สณุ าถ เธอจงฟงธรรมนีใ้ ห ใหเจรญิ . บทวามนสกิ โรถ ความวา จงระลึก คอื ประมวลมา. อธบิ ายวา เธอจงมจี ิตไมฟงุ ซา นตั้งใจฟง คือทําไวในใจ. บดั นี้ คําวา ต สณุ าถ ในท่ีนี้น้นั เปนคาํ หามการท่ีโสตินทรยี ฟงุ ซา น. คาํ วา สาธุก มนสิกโรถ เปน คําหา มการท่ีมนนิ ทรยี ฟุงซา น ดวยการประกอบใหมัน่ ในมนสิการ ก็ใน ๒ คาํ นี้ คาํ แรกเปนการยึดถอื ดวยความคลาดเคลือ่ นแหงพยัญชนะ คําหลังเปนการหา มการยดึถอื ความคลาดเคลือ่ นแหง เน้อื ความ. พระผมู พี ระภาคเจา ประกอบภกิ ษุไวในการฟง ธรรมดวยคําแรก. ทรงประกอบภกิ ษุไวในการทรงจําและสอบสวนธรรมที่ภิกษุฟง แลวดวยคาํ หลัง. อนึง่ ดวยคาํ แรกยอมทรง

พระสตุ ตันตปฎ ก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 14แสดงวา ธรรมน้เี ปน ไปดว ยพยัญชนะ เพราะฉะนัน้ จงึ ควรฟง ดว ยคําหลงั ทรงแสดงวา ธรรมนเี้ ปนไปดว ยเนอื้ ความ เพราะฉะนนั้ จึงควรทาํ ไวในใจ. อีกอยางหนง่ึ ควรประกอบสาธุกบทดวยบท ๒ บท พงึทราบการประกอบความอยางน้วี า เพราะธรรมน้ีลึกซึ้งโดยธรรม และลกึ ซ้ึงโดยทศนา ฉะนนั้ พวกเธอจงฟง ใหด.ี เพราะเหตุท่ีธรรมน้ีลึกซ้ึงโดยอรรถและลกึ ซง้ึ โดยปฏิเวธ ฉะน้ัน พวกเธอจงทาํ ในใจใหด.ี บทวาภาสสิ ฺสามิ แปลวา จกั แสดง. ในคําวา ต สณุ าถ นี้ ทานอธิบายวา เราจักสงั เขปความ แสดงเทศนาท่เี ราปฏญิ ญาไวแลวน้ัน. อีกอยา งหนึง่ แล เราจักไมก ลา วแมโ ดยพสิ ดาร. อนึ่ง บทเหลา น้ีเปน บทบอกความยอ และพสิ ดารไว เหมอื นดังทท่ี านพระวงั คสี เถระกลาวไวว า สงขฺ ติ เฺ ตนป เทเสติ วิตถฺ าเรนป ภาสติ สาลิกายิว นิคฺโฆโส ปฏิภาณ อทุ ิรยี ต . พระผมู ีพระภาคเจาทรงแสดงธรรมโดยยอ บาง ตรสั โดยพิสดารบา ง ทรงมพี ระสรุ เสยี งกงั วานดัง นกสาลิกา ทรงแสดงออกซ่ึงปฏิภาณ. เมอ่ื พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสแลว อยา งน้ี ภกิ ษุเหลา นั้นแลเกิดความอตุ สาหะแลว ฟงตอบพระผมู ีพระภาคเจา มีคาํ อธิบายรบั แลว คอื รับรองพระดํารัสของพระศาสดาวา อยา งน้ัน พระเจาขา . บทวา ภควา เอตทโวจ ความวา ลาํ ดบั นัน้ พระผูมีพระภาคเจา

พระสตุ ตนั ตปฎก สังยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 15ไดตรสั พระสตู รทั้งสิ้นนท้ี ีจ่ ะพงึ ตรัสในบดั นีแ้ กภกิ ษเุ หลานั้น มอี าทิวากตโม จ ภกิ ฺขเว ปฏจิ ฺจสมปุ ปฺ าโท. บรรดาบทเหลานัน้ กตโม จภกิ ขฺ เว ปฏจิ จฺ สมปุ ฺปาโท เปน กเถตุกมั ยตาปุจฉา คําถามเพือ่ จะตรัสตอบเอง. จรงิ อยู การถามมี ๕ อยา ง คือ การถามสองความที่ยังไมเ หน็การถามเทยี บเคยี งทีเ่ หน็ แลว การถามตัดความสงสัย การถามเหน็ ตาม(อนมุ ัติ ) การถามเพ่อื จะตรสั ตอบเสยี เอง การถาม ๕ อยางเหลานัน้ มีความตา งกันดงั ตอ ไปนี้ :- การถามสองความท่ียงั ไมเ หน็ เปน ไฉน. ลกั ษณะแหง คาํ ถามตามปกติ อันชนอืน่ ไมรู ไมเหนิ ไมไ ตรต รอง ไมพจิ ารณา ไมแจม แจงไมไขใหแจง. บุคคลยอ มถามปญหา เพอื่ รเู ห็น ไตรต รอง พจิ ารณาแจม แจง ไขปญ หานน้ั ใหเห็นแจง การถามน้ี ช่ือวา การถามสองความที่ยงั ไมเหน็ . การถามเทยี บเคียงความทเ่ี ห็นแลวเปนไฉน. ลกั ษณะ (คาํ ถาม )ตามปกติ อันตนรเู หน็ ไตรต รอง พจิ ารณา แจม แเจง ชัดเจนแลวบุคคลนน้ั ยอ มถามปญหาเพ่ือเทียบเคยี งกับบัณฑติ เหลา อ่ืน. การถามน้ี ช่อืวา การถามเทียบเคยี งความทตี่ นเหน็ แลว. การถามตัดความสงสยั เปน ไฉน ตามปกตบิ ุคคลผูแ ลนไปสูความสงสัย. ผแู ลน ไปสูความเคลือบแคลง เกดิ ความคดิ แยกเปน ๒ แพรงวาอยา งนใี้ ชหรอื หนอ หรือมใิ ช หรอื เปน อยางไร เขาจึงถามปญ หาเพอ่ืตัดความสงสยั การถามอยางน้ี ช่ือวาการถามตดั ความสงสัย. การถามเห็นตาม (อนุมตั ิ ) เปนไฉน. พระผูม พี ระภาคเจา

พระสุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 16ยอ มตรสั ถามปญหาเพ่อื การเหน็ ตามของภกิ ษุวา ภกิ ษุทั้งหลาย เธอยอ มสาํ คญั ความขอ นนั้ เปนไฉน รูปเทยี่ งหรอื ไมเที่ยง ภกิ ษกุ ราบทลู วา รปูไมเ ทีย่ ง พระเจาขา. พระผูมีพระภาคเจาตรสั วา ก็รปู ใดไมเทยี่ ง รูปนน้ัเปนทุกขห รอื เปน สุขเลา. พวกภิกษกุ ราบทลู วา เปนทกุ ข พระเจาขา .พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสวา ก็รูปใดไมเทีย่ ง เปน ทกุ ข มีการแปรปรวนเปน ธรรมดา ควรหรอื เพ่ือจะเหน็ รปู นนั้ วา นน่ั ของเรา เราเปนนัน่ นัน่เปนตวั ตนของเรา. พวกภกิ ษุกราบทลู วา การยึดถอื อยางนน้ั ไมค วรพระเจาขา . การถามอยา งน้ี ชอื่ วาการถามเหน็ ตาม. การถามเพ่อื จะตรสั ตอบเสยี เองเปนไฉน พระผมู ีพระภาคเจายอ มตรสั ถามปญหา เพ่อื ใครจะตรสั ตอบภกิ ษทุ ้งั หลายวา ภิกษุท้ังหลาย สต-ิปฏ ฐาน ๔ เหลา น้แี ล สตปิ ฏฐาน ๔ เปน ไฉน เปน ตน การถามนี้ชอ่ื วา การถามเพ่อื จะตรสั ตอบเสียเอง. บรรดาการถาม ๕ อยางเหลานี้ สําหรบั พระพทุ ธเจา ไมม ีการถาม ๓ อยางขา งตน เลย. ถามวา เพราะเหตไุ ร. ตอบวา อะไรทีถ่ ูกปจ จัยปรุงแตง ในกาล ๓ อยา ง หรอื พน จากกาล ไมถ ูกปจ จัยปรงุ แตงชื่อวา ไมท รงเห็น ไมส วาง ไมไ ดไ ตรตรอง ไมพิจารณา ไมเหน็ แจงไมแ จง ชัดแลว ไมมีแกพระพุทธเจา เลย เพราะเหตุนน้ั การถามเพ่ือสองอรรถทีพ่ ระพทุ ธเจาเหลา นั้นยังไมทรงเหน็ จึงไมมี ก็สิ่งใดอนั พระผ-ูมพี ระภาคเจา ทรงแทงตลอดแลว ดว ยพระญาณของพระองค กิจดวยการเทยี บเคยี งสง่ิ นน้ั กับ สมณะ พราหมณ เทวดา มาร หรือพรหมอ่ืนของพระองค จึงไมมี เพราะเหตุนน้ั การถามเทยี บเคียงความทพ่ี ระองค

พระสุตตนั ตปฎ ก สังยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 17เหน็ แลว จงึ ไมม .ี ก็เพราะเหตุที่พระผูมีพระภาคเจา พระองคน ัน้ ไมทรงสงสยั วา อยา งไร ทรงขา มความสงสยั ได ขจดั ความสงสัยในธรรมท้งั ปวงได ฉะนัน้ การถามตัดความสงสยั ของพระองค จงึ ไมมี สว นการถาม๒ อยา งทเ่ี หลอื ของพระผมู พี ระภาคเจา ยงั มีอยู บัณฑิตพงึ ทราบวาในคําถาม ๒ อยางนนั้ การถามเพ่อื ใครจ ะตรสั ตอบเสยี เอง ดงั ตอ ไปนี้ :- บัดนี้ พระผูม ีพระภาคเจาเม่ือทางจําแนกปจ จยาการดว ยการถามน้นั จงึ ตรัสวา อวิชชฺ าปจจฺ ยา ภกิ ขฺ เว สงขฺ ารา เปน ตน . ก็ในคาํ วาอวิชชฺ าปจฺจยา ภกิ ฺขเว สงฺขารา เปน ตนน้ัน พงึ ทราบวินิจฉยั ดงั ตอ ไปน้ี :- เปรียบเหมือนบคุ คลเริ่มกลา ววา เราจกั พูดถงึ บดิ า ยอมพดู ถงึ บิดากอนวา บิดาของตสิ สะ บดิ าของโสณะ ฉันใด พระผูมีพระภาคเจาก็ฉนั นน้ั เหมือนกัน ทรงเรมิ่ เพื่อตรัสปจ จยั เมอ่ื ตรัสถึงธรรมมีอวชิ ชาเปนตน ซง่ึ เปน ปจจยั แหงธรรมมสี ังขารเปนตน โดยนัยเปนตน วา อวิชชฺ า-ปจจฺ ยา สงฺขารา ดังนีแ้ ลว จงึ ตรัสถึงธรรมทอี่ าศัยปจ จยั เกิดขึน้ . แตในท่ีสุดแหงอาหารวรรค พระผูมีพระภาคเจา จงึ ตรสั ธรรมแม ๒ อยางวา ภกิ ษทุ ัง้ หลาย เราจักแสดงปฏิจจสมุปบาท (การอาศัยกนั และกันเกิดขนึ้ ) และปฏจิ จสมปุ ปนนธรรม แกเธอทัง้ หลาย. กบ็ ดั นี้ พงึ ทราบวนิ ิจฉัยในคาํ วา อวชิ ฺชาปจจฺ ยา สงขฺ ารา เปนตนดังตอ ไปนี้. อวชิ ชานั้นดวย เปน ปจจัยดวย ชื่อวา อวิชชาเปนปจจัย.เพราะเหตนุ ั้น พงึ ทราบเนอ้ื ความโดยนยั นวี้ า สงั ขารยอ มเกดิ มเี พราะอวิชชาเปนปจ จัย. ในคําวา อวิชชฺ าปจฺจยา สงฺขารา นี้ มคี วามยอเทานี้แตว า โดยพิสดาร อนโุ ลมปฏจิ จสมุปปาทกถา ซ่ึงเกดิ พรอมกันทุกอยางทานกลาวไวแ ลว ในคมั ภรี ว ิสทุ ธิมรรค เพราะเหตุนน้ั อนโุ ลมปฏจิ จ-

พระสตุ ตนั ตปฎก สังยุตตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 18สมปุ ปาทกถา น้นั ผศู กึ ษาพงึ ถอื เอาโดยความที่กลาวไวในคมั ภีรว ิสทุ ธ-์ิมรรคนัน้ แล. กใ็ นปฏิโลมกถา คําวา อวิชชฺ ายเตฺวว ตดั เปน อวชิ ชฺ าย ตุ เอว.บทวา อเสสวิราคนิโรธา ไดแกเ พราะอวิชชาดับโดยไมเหลอื ดวยมรรคกลา วคอื วริ าคะ (การสํารอก). การท่สี งั ขารดับโดยไมเ กดิ ข้ึน (อกี )ช่อื สังขารนโิ รธะ (สงั ขารดับ). ก็เพ่ือแสดงวา เพราะการดบั สังขารและเพราะการดบั ขนั ธ ๕ มวี ญิ ญาณเปนตน ทด่ี บั ไปแลว อยา งนี้ นามรูปช่ือวา เปน ของดบั ไปแลวเหมือนกัน พระผมู พี ระภาคเจาจึงตรสั วาสงขฺ ารนิโรธา วิ ฺาณนโิ รโธ เพราะสงั ขารดบั วิญญาณจึงดบัเปน ตน แลวตรสั วา เอวเมตสฺส เกวลสสฺ ทุกขฺ กขฺ นธฺ สสฺ นิโรโธโหติ ความดับแหงกองทกุ ขท ้ังมวลนี้ ยอ มมดี ว ยประการฉะน้.ี บรรดาบทเหลา น้นั บทวา เกวลสสฺ แปลวา ทงั้ สน้ิ คือลวน ๆ อธิบายวาเวนแลว จากสัตว. บทวา ทกุ ขฺ กฺขนฺธสสฺ แปลวา กองทุกข. คําวานิโรโธ โหติ คือการไมเกิดขนึ้ . ดงั นนั้ พระผูม พี ระภาคเจาคร้ันตรัสวัฏกถา ( กถาวาดวยวัฏฏะ)ดวยบท ๑๒ บท โดยอนุโลม ยอมกลับบทน้นั แลว ตรัสววิ ัฏกถา(นิพพาน) ดวยบท ๑๒ บท ทรงยดึ ยอดพระเทศนาดว ยอรหัต. ในเวลาจบเทศนา ภิกษุนกั วิปส สนาจาํ นวน ๕๐๐ รูปเหลา นนั้ เปนบุคคลช้นั อคุ ฆตติ ญั ู แทงตลอดสจั จะ ดาํ รงอยูในพระอรหตั ผล เหมือนดอกปทุมทถ่ี ึงความแกกลา พอตองแสงอาทติ ยก บ็ านแลว ฉะนัน้ . บทวา อทิ มโว จ ภควา ไดแกพระผูมีพระภาคเจาไดตรสั คําน้ี คือพระสตู รทง้ั สน้ิ คือวัฏกถาและวิวฏั กถา. บทวา อตตฺ มนา เต

พระสุตตันตปฎ ก สังยตุ ตนิกาย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 19ภกิ ฺขู ความวา ภกิ ษุจํานวน ๕๐๐ รูปเหลานัน้ มีจิตยินดี เปนพระขณี าสพแลว . บทวา ภควโต ภาสติ  อภนิ นฺทุ ความวา (ภกิ ษุเหลานน้ั )พากนั ชืน่ ชมพระดํารสั พระผมู ีพระภาคเจา ผูตรัสดว ยพระสุรเสียงดังเสียงพรหมไพเราะดจุ เสียงนกการเวก ระร่นื โสตเสมือนกบั อมฤดาภเิ ษกโสรจสรงหทัยบณั ฑิตชน อธิบายวา อนโุ มทนา รับพรอมกนั แลว. เพราะเหตุนนั้พระโบราณาจารย จงึ กลา ววาสภุ าสิต สลุ ปต  เอต สาธตุ ิ ตาทิโนอนโุ มทมานา สริ สา สมปฺ ฏจิ ฺฉึสุ ภิกขฺ โว.ภิกษุทง้ั หลายอนโุ มทนาตอ พระผูมีพระภาคเจาผูคงท่วี า พระดํารัสพระผูมพี ระภาคเจาทรงภาษิตแลวตรัสไวแ ลว ยังประโยชนใ หส ําเร็จ ดังน้ี รบั พรอมกนั แลว ดว ยเศียรเกลา.จบอรรถกถาปฏิจจสมุปบาทสตู รท่ี ๑ ๒. วิภังคสูตรวา ดวยการจําแนกปฏจิ จสมปุ บาท [๔] พระผูมีพระภาคเจาประทบั อยู ณ พระเชตวัน อารามของทานอนาถบิณฑกิ เศรษฐี กรงุ สาวตั ถี. พระผมู พี ระภาคเจา ไดต รสั วาดกู อ นภิกษุท้งั หลาย เราตถาคตจักแสดง จกั จําแนกปฏจิ จสมปุ บาทแกพวกเธอ พวกเธอจงฟงปฏิจจสมุปบาทนัน้ จงใสใจใหดีเถิด เราตถาคตจกั กลาว ภิกษเุ หลาน้นั ทลู รบั พระผูมพี ระภาคเจา แลว.

พระสุตตันตปฎ ก สงั ยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนาที่ 20 [๕] พระผูมพี ระภาคเจา ไดต รสั วา ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย ก็ปฏจิ จสมปุ บาทเปน ไฉน. ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลาย เพราะอวชิ ชาเปน ปจ จัยจงึ มสี งั ขาร เพราะสังขารเปน ปจจัย จงึ มีวิญญาณ เพราะวิญญาณเปนปจจยั จึงมีนามรปู เพราะนามรปู เปน ปจจัย จงึ มสี ฬายตนะ เพราะสฬายตนะเปนปจ จยั จึงมีผัสสะ เพราะผสั สะเปนปจ จยั จึงมีเวทนาเพราะเวทนาเปน ปจจัย จึงมีตัณหา เพราะตณั หาเปนปจ จยั จึงมอี ปุ าทานเพราะอปุ าทานเปน ปจจัย จงึ มภี พ เพราะภพเปนปจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเปน ปจจยั จึงมชี ราและมรณะ โลกปรเิ ทวทกุ ขโทมนัสและอปุ ายาสความเกิดขึ้นแหง กองทุกขท้งั มวลน้ี ยอมมดี วยประการอยางน.ี้ [๖] ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย ก็ชราและมรณะเปนไฉน. ความแกภาวะของความแก ฟน หลุด ผมหงอก หนงั เปนเกลยี ว ความเสื่อมแหงอายุ ความแกห งอมแหง อินทรีย ในหมสู ัตวน ้ัน ๆ ของเหลาสัตวน ั้น ๆนีเ้ รยี กกวา ชรา. กม็ รณะเปนไฉน. การเคล่อื นท่ี การยา ยที่ ความทําลายความอันตรธาน ความมวยมรณ การถึงแกกรรม ความแตกแหง ขันธความทอดท้ิงซากศพ ความขาดแหง ชีวติ นิ ทรีย จากหมสู ตั วน ้ัน ๆ ของเหลา สัตวน ้ัน ๆ นเี้ รยี กวามรณะ. ชราและมรณะ ดงั พรรณนามาฉะน้ีเรยี กวา ชราและมรณะ. [๗] กช็ าติเปน ไฉน. ความเกดิ ความกอเกดิ ความหยั่งลง๑ความบงั เกดิ ๒ ความเกิดจําเพาะ๓ ความปรากฏแหงขันธ ความไดอ ายตนะครบในหมสู ัตวน นั้ ๆ ของเหลาสตั วน น้ั ๆ นี้เรียกวา ชาต.ิ๑. คือเปน ชลาพุชะหรอื อัณฑชปฏิสนธิ ๒. คือเปน สงั เสทชปฏิสนธิ ๓. คือเปนอุปปาติก-ปฏิสนธิ.

พระสุตตนั ตปฎ ก สังยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 21 [๘] ก็ภพเปน ไฉน. ภพ ๓ เหลานี้คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพน้ีเรียกวาภพ. [๙] ก็อุปาทานเปนไฉน. อปุ าทาน ๔ เหลาน้คี ือ กามปุ าทานทิฏุปาทาน สีลพัตตปุ าทาน อัตตวาทปุ าทาน นีเ้ รยี กวา อปุ าทาน. [๑๐] กต็ ัณหาเปนไฉน. ตณั หา ๖ หมวดเหลาน้คี ือ รปู ตัณหาสัททตณั หา คันธตณั หา รสตณั หา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา นี้เรียกวาตณั หา. [๑๑] กเ็ วทนาเปนไฉน. เวทนา ๖ หมวดเหลา นี้คอื จกั ข-ุสัมผัสสชาเวทนา โสตสมั ผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชวิ หา-สมั ผสั สชาเวทนา กายสมั ผสั ชาเวทนา มโนสัมผสั สชาเวทนา นเ้ี รียกวาเวทนา. [๑๒] ก็ผสั สะเปน ไฉน. ผัสสะ ๖ หมวดเหลา นคี้ ือ จักขุสัมผัสโสตสัมผสั ฆานสมั ผสั ชวิ หาสัมผัส กายสัมผสั มโนสมั ผสั นีเ้ รยี กวาผสั สะ. [๑๓] กส็ ฬายตนะเปน ไฉน. อายตนะคอื ตา หู จมูก ล้ินกาย ใจ นเี้ รียกวา สฬายตนะ. [๑๔] กน็ ามรปู เปน ไฉน. เวทนา สญั ญา เจตนา ผัสสะมนสกิ าร น้ีเรียกวานาม, มหาภูตรูป ๔ และรปู ท่ีอาศยั มหาภูตรูป ๔นเ้ี รียกวารปู , นามและรูปดงั พรรณนาฉะนี้ เรียกวา นามรูป. [๑๕] ก็วิญญาณเปน ไฉน. วญิ ญาณ ๖ หมวดเหลานีค้ อื จักขุ-วิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวญิ ญาณ ชวิ หาวิญญาณ กายวิญญาณมโนวญิ ญาณ นเ้ี รยี กวา วญิ ญาณ.

พระสุตตันตปฎก สังยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 22 [๑๖] ก็สงั ขารเปนไฉน. สังขาร ๓ เหลา น้ีคอื กายสังขารวจีสงั ขาร จติ ตสงั ขาร นีเ้ รียกวาสงั ขาร. [๑๗] ก็อวิชชาเปน ไฉน. ความไมร ใู นทกุ ข ความไมร ูในเหตุเกิดแหง ทกุ ข ความไมรใู นความดบั ทุกข ความไมรใู นปฏิปทาท่จี ะใหถ ึงความดับทุกข นเี้ รยี กวาอวชิ ชา ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย เพราะอวิชชาเปนปจจยั จงึ มสี งั ขาร เพราะสังขารเปนปจ จยั จงึ มวี ิญญาณ. . .ดังพรรณนามาฉะน้.ี ความเกิดขน้ึ แหงกองทกุ ขทั้งมวลนี้ ยอ มมดี ว ยประการอยา งน้ี. [๑๘] กเ็ พราะอวชิ ชานั่นแหละดับดวยการสํารอกโดยไมเหลอืสังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ วญิ ญาณจงึ ดับ. . .ความดับแหงกองทกุ ขท้งั มวลนี้ ยอมมดี วยประการอยา งนี.้ จบวภิ งั คสูตรที่ ๒ อรรถกถาวิภงั คสตู รท่ี ๒ แมในวภิ งั คสูตรท่ี ๒ มวี ินจิ ฉยั ดงั ตอ ไปน้ี. พงึ ทราบเหตตุ งั้ พระสตู รตามนยั ที่กลา วแลว นน่ั แล. แตความแปลกกนั มดี งั น้ี พระสตู รแรกพระองคทรงแสดงไวโ ดยยอ โดยอคฆติตัญูบุคคลพระสูตรนี้ ทรงแสดงไวโ ดยพสิ ดาร โดยวปิ จติ ญั บู ุคคล. ก็แลในพระสตู รน้ี พงึ กลา วอปุ มาดวยบุรษุ นําเถาวลั ยไ ป ๔ อุปมา. อุปมานนั้ ทา นกลาวไวแ ลวในคมั ภีรว สิ ทุ ธมิ รรคนัน่ แล. เปรยี บเหมือนบรุ ุษผูนาํ เถาวลั ยไป พบยอดเถาวลั ยแ ลวก็คนหาราก ตามแนวยอดเถาวลั ยน้ัน พบราก(เถาวลั ย) แลว กต็ ดั ที่รากเถาวลั ย ถอื เอาไปใชใ นการงานไดฉนั ใด

พระสตุ ตนั ตปฎก สงั ยุตตนิกาย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนา ที่ 23พระผูม พี ระภาคเจากฉ็ ันนน้ั เม่อื ทรงแสดงเทศนาอยา งพิสดาร ทรงนาํเทศนาตั้งแตชรามรณะอนั เปนยอดแหงปฏิจจสมุปบาท จนถึงอวิชชาบทซ่ึงเปน รากเหงา แสดงวฏั กถาและววิ ัฏกถาซ้าํ อกี ใหจบลงแลว . ในคํานั้น พึงทราบวินจิ ฉัยเน้อื ความแหงชราและมรณะเปน ตนโดยวิตถารเทศนา ดังตอ ไปน้ี :- พึงทราบวนิ จิ ฉยั ในชรามรณนเิ ทศกอน.ศัพทวา เตส เตส นี้ โดยยอ พงึ ทราบวา เปน ศัพทแสดงความหมายทว่ัไปแกเหลา สัตวเปนอันมาก. จรงิ อยู เมือ่ บุคคลกลา วอยแู มต ลอดวันหน่ึงอยางนว้ี า ชรามาถงึ พระเทวทัต ชรามาถึงพระโสมทัต สตั วท ง้ั หลายยอ มไมถ ึงความแกร อบทเี ดยี ว แตดว ย ๒ บทน้ี สตั วอ ะไร ๆ ท่ชี ่ือวาไมถ กู ชรามรณะครอบงําหามีไม เพราะฉะนนั้ ทา นจึงกลา ววา ศัพทว าเตส เตส น้ี วา โดยยอเปน ศัพทแสดงความท่ัวไปแกหมูสัตวเปนอนั มากดงั น้.ี ศพั ทว า ตมหฺ ิ ตมหฺ ิ นี้ เปน ศพั ทแ สดงความหมายท่วั ไปแกหมสู ตั วจํานวนมาก โกยจดั ตามคติและชาติ. คาํ วา สตตฺ นิกาเย เปนคําแสดงโดยสรปุ ถงึ ความท่ีทานแสดงไวแลวในสาธารณนเิ ทศ. กศ็ พั ทวาชรา ในคาํ วา ชรา ชีรณตา เปน ตนั เปนศัพทแสดงสภาวธรรม.ศัพทว า ชรี ณตา เปนศพั ทแสดงอาการ. ศัพทวา ขณฺฑิจจฺ  เปนตนเปนศพั ทแ สดงกจิ ในการลว งกาล. ศพั ท ๒ ศัพทส ดุ ทา ยเปน ศพั ทแสดงความปกติ กด็ ว ยบทวา ชรา น้ี พระผูมีพระภาคเจา ทรงแสดงชราแมโ ดยความเปน สภาวธรรม. เพราะเหตนุ นั้ ศัพทวา ชรา น้ี จงึ เปนศพั ทแ สดงสภาวธรรมแหง ชรานั้น. ดวยคําวา ชีรณตา นี้ ทรงแสดงโดยอาการ. เพราะเหตนุ ัน้ ศัพทวา ชรา น้ี จึงเปน ศพั ทแ สดงอาการของชรานน้ั . ดวยบทวา ขณฺฑิจฺจ น้ี ทรงแสดงโดยกจิ คอื ภาวะทฟี่ น

พระสตุ ตนั ตปฎ ก สงั ยุตตนกิ าย นทิ านวรรค เลม ๒ - หนาที่ 24และเลบ็ หักในเมอ่ื เวลาลว งไป. ดวยบทวา ปาลจิ จฺ  นี้ ทรงแสดงโดยกจิ คือภาวะท่ีผมและขนหงอก ดว ยบทวา วลิตจตา นี้ ทรงแสดงโดยกจิ คือภาวะทเ่ี น้ือเหี่ยวแหงและหนังหยอน เพราะเหตนุ น้ั ศพั ท ๓ ศพั ทมีศพั ทวา ขณฺฑจิ ฺจ เปน ตนเหลาน้ี เปนศัพทแสดงกิจในเพราะเวลาลวงไปถงึ ชรา. ดว ยศัพททง้ั ๓ นั้น ทา นแสดงชราทป่ี รากฏโตง ๆ โดยแสดงความเปลีย่ นแปลง เปรยี บเหมือนทางไปของนา้ํ ลม หรอื ไฟ ยอ มปรากฏ เพราะหญา และตนไมเ ปน ตนถูกเผาทําลายหรอื ไหม แตท างไปของหญาและตน ไมนน้ั ไมป รากฏ ปรากฏแตน ้ําเปนตนเทา นัน้ ฉนั ใดทางไปของชราปรากฏโดยทฟี่ น หกั เปน ตน ฉันนน้ั เหมอื นกนั อวัยวะมีฟน เย็นตน บคุ คลแมลืมตาดูกจ็ ับเอาได แตค วามทฟ่ี นหกั เปน ตน แมลมื ตากจ็ ะรูท างจักษุไมไ ด จบั เอาไมได ชราก็ไมไ ดเหมอื นกนั เพราะวาชราไมพึงรูดว ยจกั ษุ. กด็ วยบทวา อายโุ น ส หานิ อนิ ฺทรฺ ยิ าน ปริปาโก (ความเสือ่ มแหง อายุ ความหงอ มแหงอนิ ทรยี ) น้ี พระผมู ีพระภาคเจา ทรงแสดงไวต ามปกติ เพราะบุคคลจะเขาใจความสิ้นไปแหงอายุ และความหงอ มแหงอนิ ทรยี มีจกั ษเุ ปนตน เพราะสงั ขารแปรปรวนไปในเมือ่ เวลาลว งไปนัน่ แล. เพราะเหตุน้ัน บท ๒ บทหลงั น้ี แหงคําวา ชรานัน้พึงทราบวา เปนบทแสดงความปกติ. เพราะใน ๒ บทเหลานั้น บคุ คลผูถึงชรา อายยุ อมเสื่อมไป ฉะนั้น ชรา พระผมู พี ระภาคเจาจึงตรัสไวโดยอิงเหตุใกลกบั ผลวา ความเส่ือมอายุ. และเพราะในเวลาเปน หนมุอินทรียมจี กั ษเุ ปน ตนก็ผองใส สามารถจะรบั อารมณข องตนแมท ่ลี ะเอียดไดโ ดยงา ยนกั เมอ่ื บุคคลถงึ ความชราแลวยอ มแกห งอม คอื ขนุ มวั ไดแก

พระสุตตนั ตปฎ ก สงั ยตุ ตนกิ าย นิทานวรรค เลม ๒ - หนา ท่ี 25ไมผองใส ไมส ามารถจะรับอารมณของตนแมท ีห่ ยาบได เพราะเหตนุ ั้นชรานน้ั พระผมู พี ระภาคเจา จึงตรสั ไวโ ดยองิ เหตใุ กลกับผลวา ความแกหงอ มแหงอนิ ทรยี . กช็ ราแมท งั้ หมดทพ่ี ระองคท รงแสดงไวอยา งน้นี ้นั มี ๒ อยา ง คอืปากฏชรา ปฏจิ ฉนั นชรา. ในชรา ๒ อยา งนนั้ ความแกไปรปู ธรรมเพราะแสดงถงึ ฟนหกั เปนตน ชื่อวา ปากฏชรา. สวนความแกใ นอรูปธรรม เพราะไมแ สดงวกิ าร (เปล่ยี นแปลง) เชนนน้ั ชอ่ื วา ปฏิจ-ฉนั นชรา. ชราอกี นยั หน่ึงมี ๒ อยาง อยา งน้คี ือ อวจิ ิชรา สวจิ ชิ ราในชรา ๒ อยา งน้ัน ชรา ช่ือวา อวิจชิ รา เพราะธรรมชาตมิ ีความแปลกแหงวรรณะติดตอกันเปน ตน รูไดย าก เหมือนแกว มณี ทอง เงินแกว ประพาฬ พระจันทร พระอาทติ ย เปนตน เหมือนเหลา สิง่ มีปราณในสัตวม นั ททสกะเปนตน และเหมอื นส่งิ ท่ีไมมีปราณในดอกไม ผลไมและใบออนเปน ตนฉะนน้ั อธิบายวาชราท่ตี ดิ ตอ กนั อนง่ึ ชราพงึ ทราบวาท่ชี ือ่ วา สวิจชิ รา เพราะธรรมชาติมีความแปลกแหงวรรณะตดิ ตอ กันเปน ตน วัตถเุ หลาอืน่ จากนั้นตามท่กี ลา วแลว บคุ คลรไู ดง าย คาํ วาเตส เตส เปน ตนนอกจากนี้ พงึ ทราบตามนัยทกี่ ลา วแลว น่ันแล.กค็ าํ วา จุติ ในคาํ วา จุติ จวนตา เปน ตน ทานกลา วดวยอํานาจการเคลอ่ื นจากภพ (เดิม). คําวา จุติ นนั้ เปนชอื่ ของขนั ธ ๑ ขนั ธ ๔ ขนั ธ ๕และอายตนะ. จวนตา เปนคาํ แสดงลักษณะ ดว ยคาํ แสดงภาวะ. คาํ วาเภโท เปนคาํ แสดงความเกดิ ขนึ้ และดบั ไปแหง จตุ ิขันธ. คาํ วา อนฺตร-ธาน เปนคําแสดงภาวะของสิง่ ทว่ี ิโรธปิ จจยั กระทบแตกไปของจตุ ิขันธท ี่แตกไปโดยปริยายอยา งใดอยางหน่งึ . บทวา มจฺจุ มรณ ไดแ กมรณะ


















































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook