พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 1 พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ท่ี ๓ ภาคที่ ๑ขอนอบนอ มแดพ ระผมู ีพระภาคอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจา พระองคน ั้น เอกนิบาตชาดก ๑. อปณ ณกวรรค ๑. อปณณกชาดก วา ดวยการรูฐานะและมใิ ชฐ านะ [๑] คนพวกหนึง่ กลา วฐานะอันหนึ่งวา ไมได นกั เดาทงั้ หลาย กลา วฐานะอันนน้ั วา เปนท่สี อง คนมี ปญ ญารูฐานะและมใิ ชฐ านะนน้ั แลว ควรถือเอาฐานะ ท่ไี มผิดไว. จบอปณณกชาดกท่ี ๑
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 2 ชาตกัฏฐกถา อรรถกถาชาดก เอกนิบาตขอนอบนอ มแดพ ระผูมพี ระภาคเจา อรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธเจา พระองคนน้ั ทเู รนิทาน ประณามคาถา ขาพเจา ขอกราบไหวพ ระพุทธเจา ผูประเสริฐ สดุ หาบุคคลผเู ปรยี บปานมไิ ด ผเู สดจ็ ข้นึ จากสาคร แหงไญยธรรม ผทู รงขามสงสารสาครเสียไดดว ย เศยี รเกลา พรอ มท้ังพระธรรมอนั ลึกซ้งึ สงบยง่ิ ละเอียดยากที่คนจะมองเหน็ ได ที่ทําลายเสียไดซึง่ ภพ นอยและภพใหญ สะอาดอนั เขาบูชาแลว เพราะพระ- สทั ธรรม อกี ทั้งพระสงฆผูไมมีกิเลสเครื่องขอ ง ผสู ูง สุดแหง หมู ผูสูงสุดแหง ทักขิไณยบุคคล ผมู อี นิ ทรยี อันสงบแลว หาอาสวะมิได. ดวยการประณามที่ขา พเจาไดกระทาํ แลวตอ- พระรัตนตรยั ดว ยความนับถอื เปน พิเศษนี้นัน้ ขาพเจา อันผทู ี่เปนนักปราชญย ่งิ กวา นักปราชญ ผูร ูอาคม [ปริยัติ] เปนวิญูชน มยี ศใหญไ ดขอรอ งดวยการ เอาใจแลว ๆ เลา ๆ เปนพเิ ศษวา ทา นขอรับ ทา น
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 3 ควรจะแตง อรรถกถาอปทาน [ชีวประวตั ]ิ เพราะ ฉะนนั้ ขา พเจา จักแสดงการพรรณนาเน้อื ความอนั งาม แหงพระบาลีในพระไตรปฎกทเี ดยี ว พรอมทั้งชวี - ประวัติที่ยังเหลืออยู เรือ่ งราวอันดีเยยี่ มนใ้ี ครกลาวไว กลาวไวทีไ่ หน กลาวไวเม่อื ไรและกลา วไวเพอื่ อะไร ขา พเจา จกั กลาวเร่อื งน้ัน ๆ แลว กม็ าถงึ วิธีเพ่ือทีจ่ ะให ฉลาดในเรอื่ งนิทาน เพราะจะทําใหเลาเรยี นและทรง จําไดงา ยขนึ้ เพราะฉะนั้น เรื่องราวทท่ี านจัดใหแ ปลก ออกไปตามทเี่ กดิ กอ นและหลัง รจนาไวในภาษา สงิ หลของเกาก็ดี ในอรรถกถาของเกา ก็ดี เมือ่ มาถึง วิธนี นั้ ๆ แลว ยอมไมใ หสําเรจ็ ประโยชนต ามท่สี าธ-ุ ชนตองการ เหตนุ ้ันขาพเจาก็จกั อาศัยนยั ตามอรรถ กถาของเกา นั้น เวน ไมเ อาเนอื้ ความท่ีผิดเสยี แสดง แตเ นือ้ ความทแ่ี ปลกออกไป กระทาํ การพรรณนา เฉพาะแตท แ่ี ปลก ซึง่ ดที ีส่ ดุ เทา นน้ั ดวยประการฉะน.้ี เพราะเหตทุ ่ไี ดปฏิญาณไวแลววา เรอื่ งราวอันดีเยีย่ มใครกลาวไวกลาวไวใ นทไี่ หนและกลา วไวเม่อื ไร และวา ขา พเจา จกั ทาํ การพรรณนาเนื้อความดงั น้ี กก็ ารพรรณนาเน้อื ความแหงชวี ประวัตนิ ้นั เม่อื ขาพเจา แสดงนทิ านสามอยางเหลานี้ คือ ทูเรนทิ าน [นิทานในทไี่ กล] อวิทูเรนิทาน [นทิ านในทไ่ี มไกลนัก] สันตเิ กนทิ าน [นิทานในท่ีใกล] พรรณนาอยกู ็จกั เปนทเ่ี ขาใจไดแจม แจง เพราะคนทไ่ี ดฟ ง ไดเขาใจมาตั้งแตไ ดอ านแลว เพราะฉะน้นั ขาพเจาจงึ จักแสดงนทิ านเหลา นัน้ พรรณนาชวี ประวัตินน้ั บรรดานทิ านเหลานน้ั กอ น-
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 4อืน่ ควรทราบปรเิ ฉท [ขอ ความที่กําหนดไวเปนตอนๆ] เสียกอน. กถามรรคที่เลา เรือ่ งตงั้ แตพระะมหาสตั วไดต ง้ั ปรารถนาอยา งจริงจัง ณ เบอื้ งบาทมลของพระพุทธเจา ทรงพระนามวา ท่ปี ง กร จนถงึ จตุ จิ ากอัตภาพเปน พระเวสสันดรแลวไปเกิดในสวรรคช น้ั ดุสิต จดั เปน ทเู รนิทาน. กถามรรคที่เลา เรือ่ งท้งั แตจตุ จิ ากภพสวรรคช ้นั ดสุ ิตจนถงึ บรรลุพระ-สพั พัญตุ ญาณที่ควงไมโพธ์ิ จัดเปน อวทิ เู รนทิ าน. สว นสันตเิ กนิทานมปี รากฏอยูในท่ตี าง ๆ ของพระองคท ่เี สด็จประทบัอยูในทีน่ ั้น ๆ ดว ยประการฉะน.ี้ ทูเรนิทาน ในนทิ านเหลาน้นั ทีช่ ่อื ทูเรนิทานมดี งั ตอ ไปน้ี เลากันมาวา ในท่สี ดุส่ีอสงไขยย่ิงดว ยแสนกปั นับแตน้ี ไดมนี ครหนง่ึ นามวา อมรวดี ในนครนน้ั มีพราหมณชื่อสุเมธอาศยั อยู เขามีกาํ เนิดดี มคี รรภอ ันบริสทุ ธิ์ ทั้งทางฝา ยมารดาและฝายบิดานบั ไดเ จด็ ช่วั ตระกลู ใครจะดถู ูกมไิ ด หาผูตาํ หนิมิไดเ กี่ยวกับเร่ืองเชื้อชาติ มรี ปู สวย นาดู นา เลอื่ มใส ประกอบดวยผิวพรรณอันงามยิง่ เขาไมก ารทําการงานอยางอ่นื เลย ศกึ ษาแตศิลปะของพราหมณ บดิ าและมารดาของเขาไดถงึ แกกรรมเสียตง้ั แตเขารนุ หนุม ตอมาอํามาตยผจู ัดการผลประโยชนน ําเอาบัญชที รัพยสินมา เปดหองคลังที่เต็มไปดว ยทองเงนิ แกว มณีและแกว มุกดาเปนตน บอกใหทราบถงึ ทรัพยต ลอดเจ็ดช่วั ตระกูลวา ขาแตก มุ าร ทรัพยส ินเทานเี้ ปนของมารดา เทานี้เปน ของบิดา เทาน้ีเปนของปูตาและทวดแลว เรียนวา ขอทานจงจัดการเถิด สเุ มธบัณฑติ คิดวา ปเู ปน ตนของเราสะสมทรัพยน ้ีไวแลว เม่อื จะไปสูป รโลกท่ีช่อื วา จะถอื เอาทรพั ยเเมก หาปณะหน่งึ ตดิ ตัวไปดว ยหามไี ม แตเ ราควรการทาํ เหตุท่ีจะใหถ ือเอาทรพั ยไปดวยได ดงั น้แี ลวได
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 5กราบทูลแดพ ระราชา ใหต ีกลองปาวรอ งไปในพระนครใหท านแกมหาชนแลวออกบวชเปนดาบส กเ็ พ่ือท่จี ะใหเนือ้ ความนี้แจม แจง ควรจะกลา วสุเมธกถาไวในท่นี ี้ดวย แตส เุ มธกถาน้ีมมี าแลวในพทุ ธวงศติดตอกนั แตเ พราะเลาเรอื่ งประพนั ธเ ปนคาถาจงึ ไมใครจะแจมชดั ดนี ัก. เพราะฉะนน้ั ขา พเจาจักกลาวพรอมกับแสดงคาํ ที่ประพันธเ ปน คาถาแทรกไวในระหวางๆ ในทสี่ ดุ แหงสอ่ี สง-ไขยยงิ่ ดวยแสนกปั ไดมพี ระนครมนี ามวา อมรวดี และอีกนามหน่งึ วา อมรอกึ ทึกไปดวยเสียง ๑๐ เสียง ทที่ านหมายถึงเสยี งท่กี ลาวไวในพทุ ธวงศ วา ในสอ่ี สงไขยย่ิงดวยแสนกัป มีพระนครหน่ึง นามวา อมร เปนเมืองสวยงามนาดู นารินรมย สมบรู ณดวยขา วและน้าํ อึกทึกไปดวยเสียง ๑๐ เสียง. บรรดาบทเหลาน้นั บทวา ทสหิ สทเฺ ทหิ อววิ ติ ตฺ ความวาอกึ ทกึ ไปดวยเสียงเหลานี้คอื เสียงชาง เสยี งมา เสยี งรถ เสยี งกลอง เสยี งตะโพน เสียงพณิ เสียงขบั รอง เสียงสังข เสยี งกงั สดาล เสียงที่ ๑๐ วาเชญิ กนิ เชิญขบเค้ยี ว เชิญดม่ื ซ่ึงทา นถอื เอาเพยี งเอกเทศหน่ึงแหงเสยี งเหลา นัน้ จงึ กลา วคาถานไี้ วในพุทธวงศว า กึกกอ งดวยเสียงชา ง เสยี งมา เสียงกลอง เสียง สงั ขแ ละเสียงรถ เสียงปาวรอ งดว ยขาวและนา้ํ วา เชญิ ขบเคยี้ ว เชิญด่มื .แลว กลา ววา พระนครอนั สมบูรณด วยคณุ ลกั ษณะทกุ ประการ เขาถึงความเปนพระนครท่ีมีส่ิงตอ งการทกุ ชนิด สม - บรู ณดว ยแกว เจ็ดประการ ขวกั ไขวไ ปดวยเหลา ชน
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 6 ตา ง ๆ ม่ังคง่ั เปนดุจเทพนารี เปน ท่ีอาศัยอยูข องเหลา ผมู ีบุญ. พราหมณช ่ือสเุ มธ มีสมบัตสิ ะสมไวน้ันได หลายโกฏิ มีทรพั ยแ ละขา วเปลอื กมากมาย เปน ผูค ง แกเ รียน ทรงมนตไดมาก เรียนจบไตรเพท ถงึ ความ สาํ เรจ็ บรบิ ูรณในลักขณศาสตร อติ ิหาสศาสตร และ ในสทั ธรรม. ตอมาวนั หน่ึง สเุ มธบณั ฑิตน้ัน ไปในที่เรน ณ พ้นื ปราสาทช้นั บนน่งัขัดสมาธิคดิ วา นีแ่ นะบัณฑติ การเกดิ อีก. ชอ่ื วา การถือปฏิสนธเิ ปน ทุกข การแตกดับแหง สรีระในท่ที ่ีเกิดแลว ก็เปน ทกุ ขเ ชนกัน และเราก็มกี ารเกดิ เปนธรรมดามคี วามแกเ ปนธรรมดา มีความเจ็บปวยเปน ธรรมดา มคี วามตายเปน ธรรมดาควรท่ีเราผเู ปน เชนนี้ จะแสวงหาพระมหานพิ พานทไ่ี มม เี กดิ ไมม แี ก ไมม ีทกุ ขมีแตส ุข เยอื กเยน็ ไมร ูจกั ตาย ทางสายเดียวทพี่ น จากภพมปี รกตนิ าํ ไปสูพระนพิ พานจะพงึ มแี นนอน ดังนี้ เพราะเหตุนนั้ ทานจึงกลา ววา เราเขา ไปสูทีเ่ รนน่งั แลว ในตอนน้นั ไดคดิ วา ขึน้ ช่ือวา การเกิดใหมเ ปน ทกุ ข การแตกดบั แหง สรีระก็ เปนทกุ ข เรามคี วามเกดิ เปน ธรรมดา มีความแกเ ปน ธรรมดา มคี วามเจ็บปว ยเปน ธรรมดาเชนกัน เราจัก แสวงหาพระนพิ พานท่ไี มแ ก ไมต าย เปนแดนเกษม ไฉนหนอเราไมพ ึงมเี ยอื่ ใย ไรความตองการทิ้งรา งกาย เนาซึ่งเต็มไปดายทรากศพนานาชนดิ น้เี สียได แลวไป ทางน้นั มีอยู จักมแี น ทางนัน้ อนั ใคร ๆ ไมอาจทีจ่ ะไม ใหมีได เราจกั แสวงหาทางนนั้ เพื่อพนจากภพใหได ดังน้ี.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 7 ตอจากนนั้ ก็คิดยง่ิ ข้ึนไปอีกอยางน้ีวา เหมือนอยางวา ช่ือวา สุขท่ีเปนปฏิปก ษต อทุกขม ีอยูใ นโลกฉันใด เมอ่ื ภพมีอยแู มสิ่งที่ปราศจากภพอนั เปน ปฏิ-ปก ษต อภพนนั้ ก็พึงมีฉนั นนั้ และเหมือนเม่อื ความรอนมอี ยู แมความเยน็ ทจี่ ะระงบั ความรอ นนน้ั ก็ตอ งมีฉนั ใด แมพ ระนพิ พานทีร่ ะงับไฟมรี าคะเปน ตนก็พงึ มฉี ันนนั้ ธรรมท่ไี มมโี ทษอันงามทเี่ ปน ปฏปิ กษตอ ธรรมอันเปนบาปอนัลามก ยอ มมีอยูฉันใด เม่อื ชาติอันลามกมีอยู แมพระนิพพานกลาวคือความไมเกิด เพราะใหค วามเกดิ ทุกอยา งสนิ้ ไป กพ็ งึ มีฉนั นั้น ดงั นี้ เพราะเหตนุ ั้นทานจงึ กลาววา เมอ่ื ทกุ ขม อี ยู ข้นึ ชื่อวาสุขก็ตอ งมฉี ันใด เมอื่ ภพมอี ยู แมส ภาพทป่ี ราศจากภพก็ควรปรารถนาฉนั น้นั เม่อื ความรอ นมีอยู ความเย็นอีกอยา งกต็ องมี ฉันใด ไฟสามอยา งมอี ยู พระนพิ พานกค็ วรปรารถนา ฉันนัน้ เมื่อสิง่ ชว่ั มอี ยู แมความดงี ามก็ตอ งมฉี นั ใด ความเกดิ มีอยู แมความไมเ กดิ ก็ควรปรารถนาฉนั นน้ั ดงั นี.้ ทานยงั คิดขอ อื่น ๆ อีกวา บรุ ุษผูจมอยูในกองคถู เห็นสระใหญด าดาษไปดวยดอกปทุมหาสแี ตไกล ควรท่จี ะแสวงหาสระนั้นดวยคดิ วา เราควรจะไปที่สระน้นั โดยทางไหนหนอ การไมแสวงหาสระนนั้ หาเปน ความผิดของสระนนั้ ไมแตเ ปนความผิดของบรุ ษุ น้ันเทาน้นั ฉันใด เมื่อสระใหญคืออมตนพิ พานเปนทช่ี ําระลา งมลทินคอื กเิ ลสมีอยู การไมแ สวงหาสระนนั้ ไมเปนความผดิ ของสระใหญค ืออมตนพิ พาน แตเ ปนความผดิ ของบรุ ุษน้ันเทาน้นั ฉันนั้นเหมือนกนัอนง่ึ บรุ ุษผถู กู พวกโจรหอมลอ ม เม่ือทางหนีมอี ยู ถาเขาไมห นไี ป ขอ นั้นหาเปน ความผดิ ของทางไม แตเ ปน ความผดิ ของบรุ ษุ นนั้ เทานน้ั ฉนั ใด บรุ ุษผูถ กู
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 8กิเลสหอ มลอมจับไวไ ดแลว เมอื่ ทางอันเยอื กเยน็ เปน ทไ่ี ปสพู ระนพิ พานมีอยูแตไมแสวงหาทางนัน้ หาเปนความผดิ ของทางไม แตเ ปนความผิดของบคุ คลนน้ัเทานั้น ฉันน้ันเหมอื นกนั และบุรุษผูถ กู พยาธิเบยี ดเบียน เม่อื หมอผูร ักษาความเจบ็ ปว ยมอี ยู หากเขาไมแสวงหาหมอนัน้ ใหร กั ษาความเจ็บปว ย ขอ น้นั หาเปนความผิดของหมอไม แตเปนความผิดของบรุ ุษนั้นฉนั ใด ผูใ ดถูกพยาธิคือกิเลสเบียดเบียน ไมแสวงหาอาจารยผูฉลาดในการระงับกิเลสซ่ึงมีอยู ขอนั้นเปนความผดิ ของผูน้นั เทาน้ัน หาเปนความผดิ ของอาจารยผูทํากิเลสใหพินาศไมฉันนัน้ เหมอื นกัน ดังน้ี เพราะฉะนั้น ทา นจึงกลา ววา บุรุษผตู กอยูใ นคูถ เหน็ สระมีนา้ํ เต็มเปย ม ไมไป หาสระน้ัน ขอ นน้ั หาเปนความผิดของสระไมฉ นั ใด เม่อื สระคืออมตะในการท่ีจะชําระลางมลทินคอื กิเลส มีอยู เขาไมไปหาสระนัน้ ขอน้ันหาเปน ความผิดของ สระคืออมตะไม ฉนั นน้ั เหมอื นกัน. คนผถู ูกศตั รกู ลมุ รุมเมอ่ื ทางหนีไปมอี ยูไมหนีไป ขอ นนั้ หาเปน ความผดิ ของทางไมฉ ันใด คนทถี่ กู กเิ ลส กลมุ รมุ เมอื่ ทางปลอดภยั มีอยไู มไ ปหาทางน้นั ขอ น้นั หาเปน ความผิดของทางที่ปลอดภัยน้นั ไม ฉนั น้ัน เหมือนกัน. คนผูเ จบ็ ปวยเมอ่ื หมอรกั ษาโรคมอี ยู ไมยอมให รักษาความเจ็บปว ยนน้ั ขอ นน้ั หาเปนความผิดของ หมอน้ันไม ฉันใด คนผไู ดร ับทุกขถ กู ความเจ็บปวย คือกิเลสเบียดเบียนแลว ไมไ ปหาอาจารยนั้น ขอ น้นั หาเปน ความผิดของอาจารยผแู นะนําไม ฉนั นนั้ เหมือนกัน.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 9 ทานยังนึกถึงแมขอ อน่ื ๆ อีกวา คนผขู อบแตงตวั พงึ ท้ิงซากศพท่ีคลองไวท ่คี อไปไดอยา งมคี วามสขุ ฉันใด แมเ รากค็ วรทิ้งกายอนั เนา น้ีไมมีอาลยั เขา ไปสูนิพพานนครฉันน้นั ชายหญิงทัง้ หลายถา ยอจุ จาระและปส สาวะรดบนพื้นทอ่ี ันสกปรกแลว ยอ มไมเ กบ็ ใสพ กหรือเอาชายผาหอ ไป ตา งรังเกียจไมมอี าลัยเลย กลับท้ิงไปเสยี ฉนั ใด แมเ รากค็ วรจะไมมีอาลยั ทิ้งกายเนานีเ้ สยีเขาไปสนู พิ พานนครอันเปน อมตะฉันนน้ั และนายเรอื ไมมอี าลยั ท้งิ เรอื ลาํ เกาคร่าํ ครา ไปฉันใด แมเ ราก็จะละกายอนั เปน ท่หี ลง่ั ไหลออกจากปากแผลทัง้ เกานี้ไมมีอาลยั เขา ไปสนู ิพพานบุรี ฉนั นน้ั อนงึ่ บุรุษพาเอาแกวนานาชนิดเดนิ ทางไปพรอมกบั โจร จงึ ละท้งิ พวกโจรเหลา นั้นเสยี เพราะกลัวจะเสียแกว ของตนถอื เอาทางทปี่ ลอดภยั ฉันใด กรชกาย (กายทเี่ กดิ จากธุล)ี แมนี้ กฉ็ ันนนั้เปนเชน กับโจรปลน แกว ถา เราจกั กอ ตณั หาขนึ้ ในกายน้ี แกวคอื พระธรรมอันเปน กศุ ล คืออริยมรรคจะสญู เสยี ไป เพราะฉะนั้นควรท่ีเราจะละทงิ้ กายอันเชนกบั โจรน้เี สยี แลว เขา ไปสูน พิ พานนคร ดังนี้ เพราะเหตุนน้ั ทา น จงึกลาววา บรุ ษุ ปลดเปล้อื งซากศพท่นี าเกลยี ด ซึ่งผกู ไว ทคี่ อแลวไป อยอู ยา งสขุ เสรี อยลู าํ พังตนได ฉันใด คนก็ควรละทิ้งรา งกายเนา ทม่ี ากมูลดว ยซากศพ นานาชนิดไปอยา งไมม อี าลยั ไมม คี วามตอ งการอะไร ฉนั น้นั . ชายหญงิ ทง้ั หลายถา ยกรีสลงในท่ีถายอจุ จาระท้ิง ไปอยา งไมม อี าลยั ไมม ีความตองการอะไร ฉนั ใด เราจะละทง้ิ กายที่เต็มไปดว ยซากศพนานาชนิดนีไ้ ป เหมอื นคนถา ยอจุ จาระแลว ละท้งิ สว มไปฉะนัน้ .
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 10 เจาของละท้ิงเรือทเี่ กา ครํ่าคราผุพงั นํ้ารั่วเขา ไป ได ไมม คี วามอาลยั ไมมีความตอ งการอะไร ฉนั ใด เราจกั ละทิ้งกายนี้ที่มีชอ งเกาชอง หลง่ั ไหลออกเปน นติ ย เหมือนเจา ของทิง้ เรือเกา ไป ฉะนั้น. บรุ ุษไปพรอมกับโจรถือหอ ของไป เหน็ ภัยท่จี ะ เกิดจากการตัดหอของจงึ ทิ้งแลว ไปเสียฉนั ใด กายนี้ เปรยี บเหมือนมหาโจร เราจักละทิ้งกายน้ไี ปเพราะ กลวั จะถูกตัดกุศล ฉนั น้ันเหมือนกนั . สุเมธบณั ฑิตคดิ เน้ือความประกอบดว ยเนกขัมมะน้ี ดวยอปุ มาตาง ๆอยา งแลว สละกองแหง โภคสมบตั ินับไมถวนในเรอื นของตน แกเหลา ชนมีคนกําพราและคนเดนิ ทางไกลเปนตน ตามนยั ที่กลา วมาแลว แตห นหลงั ถวายมหาทานละวตั ถกุ ามและกิเลสกามแลว ออกจากอมรนครคนเดียวเทา นั้น อาศยัภเู ขาช่ือธรรมกิ ะในปา หมิ พานต สรางอาศรม เนรมติ บรรณศาลาและทจี่ งกรมเนรมิตขน้ึ ดว ยกาํ ลงั แหงบุญของตน เพือ่ จะละเวน เสยี จากโทษแหง นวิ รณท ัง้หา นาํ มาซึง่ กาํ ลัง กลาวคืออภญิ ญาที่ประกอบดวยเหตุ อนั เปนคุณ ๘ อยางตามที่ทานกลาวไวโ ดยนยั เปน ตน วา เม่ือจิตมั่นคงแลว อยา งนี้ ดังนี้ แลว ละท้ิงผาสาฎกท่ีประกอบดวยโทษ ๙ ประการไวในอาศรมบทน้นั แลวนงุ หมผา เปลอื กไมทีป่ ระกอบดวยคณุ ๑๒ ประการบวชเปนฤาษี. ทานเม่ือบวชแลว อยา งนี้ก็ละบรรณศาลานั้น ซ่ึงเกล่อื นกลน ไปดวยโทษ ๘ ประการ เขา ไปหาโคนตนไมซ ง่ึ ประกอบดว ยคณุ ๑๐ ประการ เลกิ ละขา วตา ง ๆ อยางทั้งปวง หันมาบรโิ ภคผลไมท หี่ ลนจากตนเอง เริม่ ตง้ั ความเพียรดว ยอาํ นาจการนง่ั การยืนและการจงกรม ในภายในเจด็ วันนนั่ เองกไ็ ดอ ภญิ ญา ๕ สมาบัติ ๘ ทานไดบรรลุกาํ ลังแหงอภิญญาตามทปี่ รารถนาไวน ัน้ ดวยประการฉะนี้. เพราะเหตนุ ้ัน ทานจึงกลา ววา
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 11 เราคดิ อยา งนีแ้ ลว ไดใหทรพั ยนนั้ ไดหลายรอย โกฏิ แกค นยากจนอนาถา แลวเขา ไปสูปาหมิ พานต ในทีไ่ มไกลแหงปา หิมพานตม ภี เู ขาช่อื ธรรมกิ ะ เรา สรา งอาศรมอยางดีไว เนรมิตบรรณศาลาไวอ ยางดี ทั้งยงั เนรมิตท่จี งกรมเวนจากโทษ ๕ ประการไวใ น อาศรมนน้ั เราไดกําลงั อภญิ ญาประกอบดวยองคแ ปด ประการ เราเลิกใชผาสาฎกอันประกอบดว ยโทษ ๙ ประการ หนั มานุง ผา เปลือกไมอ ันประกอบดว ยคณุ ๑๒ ประการ เราเลิกละบรรณศาลาท่เี กล่อื นกลน ไปดว ยโทษ ๘ ประการ เขาไปสูโ คนไมอนั ประกอบ ดวยคุณ ๑๐ ประการ เราเลกิ ละขาวท่ีหวานที่ปลูกโดย ไมม สี ว นเหลือเลย หันมาบริโภคผลไมหลน เองที่ สมบูรณดว ยคุณเปน อเนกประการ เราเริม่ ต้ังความ เพยี รในทีน่ ัง่ ท่ยี ืนและทจ่ี งกรมในอาศรมบทนั้น ภาย ในเจด็ วนั ก็ไดบ รรลุกําลงั แหงอภญิ ญา ดังน.ี้ ในคาถาน้นั ดวยบาลนี วี้ า อสฺสโม สกุ โต มยฺห ปณณฺ สาลสมุ าปต ทานกลา วถึงบรรณศาลาและทจี่ งกรมไวร าวกะวา สุเมธบัณฑติ สรางข้ึนดว ยมือของตนเอง แตใ นคาถานี้มใี จความดงั ตอไปน้ี ทาวสักกะทรงเห็นวา พระมหาสัตวจกั เขา ไปสูปา หมิ พานตแ ลว วันน้จี ักถงึ ภเู ขาชือ่ ธรรมกิ ะ จึงรบั สัง่ เรียกวิสสุกรรมเทพบตุ รวา นพ่ี อ สเุ มธบัณฑติ ออกมาดวยคดิ วา เราจักบวช ทา นจงเนรมิตท่อี ยใู หแ กพระมหาสตั วนนั้ วิสสุกรรมเทพบุตรน้ัน รับพระดาํ รสั ของพระองคแ ลว จงึ เนรมติ อาศรมนา ร่นื รมย บรรณศาลาสรางอยา งดี
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 12ท่ีจงกรมนา เบิกบานใจ แตพระผมู พี ระภาคเจาทรงอาศยั อาศรมบทน้ัน ที่สําเรจ็ ดว ยอานภุ าพแหง บญุ ของพระองค จึงตรัสวา ดกู อนสารีบุตรทธี่ รรมิก-บรรพตน้ัน อาศรมเราไดส รา งขน้ึ อยา งดแี ลว เนรมติ บรรณศาลาไวอ ยา งดีท้งั ยังเนรมิตท่จี งกรมเวน จากโทษ ๕ ประการไวใ กลอาศรมนน้ั ดวย ดงั นี้. บรรดาบทเหลานน้ั บทวา สุกโต มยหฺ แปลวา เราสรา งอาศรมไวอยางดีแลว. บทวา ปณณฺ สาล สมมาปต ความวา แมบ รรณศาลาที่มงุ ดวยใบไมเรากส็ รางไวด แี ลว. บทวา ปจฺ โทสวิวชฺชติ ความวา ชอื่วา โทษของท่จี งกรมมี ๕ อยา งเหลานี้ คือ แข็งกระดา งและขรุขระ มีตน ไมภ ายในมงุ ไวร กรุงรงั คับแคบมากนัก กวา งขวางเกินไป จริงอยู เมื่อบุคคลเดินจงกรมบนท่จี งกรมมพี น้ื ดนิ แข็งกระดางและขรุขระ เทา ทงั้ สองจะเจ็บปวดเกิดการพองขึน้ จติ จึงไมไดค วามเเนว แน และกรรมฐานก็จะวิบตั ิ แตก รรมฐานจะถึงพรอมเพราะอาศยั การอยูส บาย ในพนื้ ที่ออนนุมและราบเรียบ เพราะฉะนน้ั พงึ ทราบวา พื้นที่แขง็ กระดางและขรุขระเปน โทษอนั หนงึ่ . เมือ่ ตน ไมมีอยภู ายในหรอื ทามกลาง หรือทสี่ ดุ แหงที่จงกรม เมือ่ อาศัยความประมาทเดินจงกรม หนาผากหรอื ศรี ษะก็จะกระทบ เพราะฉะนั้น มตี น ไมภายในจึงเปน โทษขอท่ี ๒. เมื่อเดนิ จงกรมบนทจี่ งกรมมุงไวรกรุงรังดว ยหญา และเถาวัลยเปนตน ในเวลากลางคนื กจ็ ะเหยียบสตั วม ีงูเปนตน ทาํ ใหม ันตาย หรือจะถกู พวกมันกดั ไดร ับความเดือดรอน เพราะฉะนน้ั การทม่ี ุงบังรกรงุ รังจงึ จดัเปน โทษขอ ที่ ๓. เมื่อเดินจงกรมบนที่จงกรมแคบเกนิ ไป จึงมีกาํ หนดโดยกวา งเพียงศอกเดียวหรือคร่งึ ศอก เลบ็ บา ง นิว้ มอื บาง จะไปสะดดุ เขา แลวแตกเพราะฉะนน้ั ความคบั แคบเกนิ ไปจงึ เปนโทษขอที่ ๔. เมือ่ เดนิ จงกรมบนท่ีจงกรมกวา งขวางเกนิ ไปจิตยอมวิง่ พลาน จะไมไ ดค วามมีอารมณแนวแนเพราะฉะน้นั การท่ีทก่ี วางขวางเกนิ ไปจงึ เปน โทษขอ ท่ี ๕. ทเ่ี ดนิ จงกรมโดย
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 13สวนกวา งไดศอกคร่งึ ในสองขา งมีประมาณศอกหนง่ึ ทเี่ ดินจงกรมโดยสว นยาวมปี ระมาณ ๖๐ ศอก มพี ้ืนออ นนุม มที รายโรยไวเรยี บเสมอ กใ็ ชไ ดเหมือนที่เดนิ จงกรมของพระมหนิ ทเถระ. ผูปลกู ฝง ความเลื่อมใสใหชาวเกาะที่เจติยคริ ีวหิ ารกไ็ ดเ ปน เชน นี้ เพราะเหตุนัน้ ทานจึงกลาววา เราไดสรางที่เดินจงกรมไวในอาศรมนน้ั อนั เวน จากโทษ ๕ ประการ. บทวา ปฏคุณสมุเปต คอื ประกอบดว ยสขุ ของสมณะ ๘ ประการชอ่ื วา สุขของสมณะ ๘ ประการน้นั มีดังนคี้ อื ไมม ีการหวงแหนทรัพยสินและขาว แสวงหาแตบ ิณฑบาตท่ีไมม โี ทษ บรโิ ภคแตบ ิณฑบาตทีเ่ ยน็ ไมมกี ารบีบบังคับราษฎร ในเมื่อพวกลูกหลวงทง้ั หลายเทีย่ วบบี บงั คับราษฎรถือเอาทรพั ยม คี าและเหรยี ญกษาปณตะกั่วเปนตน ปราศจากความกาํ หนดั ดวยอาํ นาจความพอใจในเครือ่ งอปุ กรณท ัง้ หลาย ไมม ีความกลัวภยั ในเรอ่ื งถูกโจรปลนไมตองไปคลุกคลีกับพระราชาและราชอํามาตย ไมถ กู กระทบกระท่ังในทิศทง้ั๔. ทา นกลาวอธบิ ายไวว า ผูอยูในอาศรมน้นั สามารถทีจ่ ะประสบสขุ ของสมณะ๘ อยา ง เหลานี้ไดฉนั ใด เราสรางอาศรมนั้นประกอบดวยคณุ ๘ อยา ง ฉนั น้ัน.บทวา อภิ ฺ าพลมาหรึ ความวา ภายหลงั เม่อื เราอยใู นอาศรมนนั้ กระ-ทาํ บริกรรมในกสิณแลว เริม่ วปิ สสนาโดยความเปนของไมเทยี่ งและโดยความเปนทกุ ข เพอื่ ตองการความเกิดขึน้ แหงอภญิ ญาและสมาบตั ิ แลวก็ไดกาํ ลงั แหงวิปส สนาอันทรงเร่ียวแรง. อธบิ ายวา เมอื่ เราอยใู นอาศรมน้นั สามารถนํากําลงันนั้ มาได ฉนั ใด เราไดสรางอาศรมนน้ั กระทําใหเหมาะสมแกกาํ ลังแหง วิปสสนานั้น เพือ่ ประโยชนแกอ ภิญญา. ในคาถานวี้ า วสฏก ปชหึ ตตฺถ นวโทสมุปาคต มีคําทจี่ ะกลา วไปตามลําดับดังตอไปน้ี ไดย ินวาในกาลน้นั เมอ่ื วสิ สุกรรมเทพบตุ รเนรมติ อาศรม ทีป่ ระกอบดวยกระทอม ท่ีเรน และทเ่ี ดนิ จงกรมโดยทางโคง
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 14ดาดาษไปดวยตน ไมผลดิ อกออกผล มนี ํ้ามรี สอรอ ยนา รื่นรมย ปราศจากสตั วรายและนกมเี สียงรองนา สะพรงึ กลวั ตา ง ๆ ควรแกการสงบสงัด จดั หาพะนกัสําหรับพงิ ไวทท่ี ส่ี ุดสองขา งแหง ท่เี ดินจงกรมอันตกแตง แลว ตงั้ แผนหินมีสีดงั ถั่วเขียวมีหนาเสมอไวท ่ีตรงทา มกลางที่เดนิ จงกรม ในภายในบรรณศาลาเนรมิตส่ิงของทกุ อยา งทจ่ี ะเปนไปเพอื่ อปุ การะแกบ รรพชติ อยา งนค้ี ือ ชฎามณ-ฑล (ชฎาทรงกลม) ผา เปลือกไม บรขิ ารของดาบสมีไมส ามงา มเปน ตน ที่ซมุนามหี มอนาํ้ ดมื่ สังขตักนาํ้ ดมื่ ขันตักนํา้ ดื่ม ที่โรงไฟมกี ะทะรองถานและไมฟน เปน ตน ท่ีฝาผนงั แหง บรรณาศาลาเขียนอกั ษรไววา ใคร ๆ มปี ระสงคจ ะบวชจงถอื เอาบริขารเหลานบี้ วชเถดิ แลว ไปสเู ทวโลก สุเมธบณั ฑิตไปสปู าหิมพานตต ามทางแหงซอกเขา มองหาท่ีผาสกุ ควรจะอาศยั อยไู ดข องตน มองเห็นอาศรมนา รนื่ รมย ทว่ี สิ สกุ รรมเทพบตุ รเนรมิตไว อันทา วสกั กะประทานใหท ่ีทางไหลกลับแหง แมนํา้ จงึ ไปทท่ี ายทเี่ ดินจงกรม มิไดเ ห็นรอยเทา จึงคิดวาบรรพชติ แสวงหาภกิ ขาในบานใกล แลว เหนด็ เหนอื่ ยจักมา เขา ไปสบู รรณศาลาแลว น่งั แนแ ท จงึ รออยูหนอยหน่งึ คิดวา บรรพชติ ชกั ชา เหลอื เกนิ เราอยากจะรูนัก จงึ เปดประกฏุ ิในบรรณศาลาเขาไปขางใน ตรวจดูขางโนนและขา งนี้ อา นอกั ษรที่ฝาผนังแผน ใหญแลวคิดวา กปั ปย ะบริขารเหลา นน้ั เปนของเราเราจกั ถือเอาบริขารเหลานนั้ บวช จงึ เปลอ้ื งท้ิงผา สาฎกท้งั คทู ่ตี นนุงและหมแลวไว เพราะเหตุน้ันทานจงึ กลาววา เราเปล้ืองท้ิงผา สาฎกไวในบรรณศาลานนั้ .พระผูมพี ระภาคเจาทรงแสดงวา ดูกอ นสารบี ุตร เราเขา ไปอยา งนแี้ ลว เปล้ืองทิง้ผาสาฎกอันประกอบดวยโทษ ๙ ประการ ไวใ นบรรณศาลานนั้ เพราะฉะน้ันเราเมือ่ จะเปล้ืองทง้ิ ผา สาฎก จงึ เปลอ้ื งทิ้งไปเพราะเหน็ โทษ ๙ ประการ. จรงิอยสู ําหรบั ผูทบี่ วชเปน ดาบส โทษ ๙ ประการยอ มปรากฏในผาสาฎก คือ มคี ามากเปนโทษอันหน่งึ . เกดิ ขึ้นเพราะเก่ียวเน่อื งกบั คนอื่นหนง่ึ เศรา หมองเร็ว
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 15เพราะการใชสอยหนงึ่ เศรา หมองแลวจะตองชักและตอ งยอม การทเ่ี กาไปเพราะการใชส อยเปน โทษอันหนงึ่ . ก็สําหรับผา ที่เกา แลวจะตองทําการชุนหรอืใชผ าดาม การที่จะไดร บั ดว ยการแสวงหาอีกกย็ าก เปน โทษอนั หนงึ่ , ไมเหมาะสมกบั การบวชเปนดาบส เปน โทษอนั หนงึ่ . เปน ของทว่ั ไปแกศ ตั รูเปน โทษอันหน่งึ . เพราะจะตอ งคมุ ครองไวโดยอาการทศ่ี ัตรจู ะถอื เอาไมไ ดเปนเครอื่ งประดับประดาของผใู ชสอยเปน โทษอันหนงึ่ . สาํ หรับผถู อื เทย่ี วไปเปนคนมักมากในส่งิ ทเ่ี ปน ของใชประจาํ ตวั เปนโทษอนั หนึง่ . บทวา วากจีรนวิ าเสสึ ความวา ดกู อ นสารีบตุ ร ครง้ั นัน้ เราเห็นโทษ ๙ ประการเหลานั้นจึงเปลื้องทง้ิ ผาสาฎกนุงผา เปลือกไม คอื ใชผ าเปลอื กไมท่ฉี ีกหญา มงุ กระตา ยใหเปนชิ้นนอยใหญถ ักเขากนั กระทาํ ข้นึ เพ่ือประโยชนจะใชเปนผานุง และผา หม. บทวา ทฺวาทสคุณมปุ าคต คือประกอบดวยอานิสงส ๑๒ ประการก็ในผาเปลือกไมม อี านสิ งส ๑๒ ประการ คอื ราคาถกู ดีสมควร นี้เปนอานสิ งสอนัหนึง่ กอ น สามารถทาํ ดว ยมอื ตนเอง นเี้ ปนอานสิ งสท ่ี ๒ จะเศราหมองชา ๆดวยการใชสอย แมซกั กไ็ มชักชา นีเ้ ปน อานิสงสที่ ๓ แมจ ะเกาไปเพราะการใชสอยกไ็ มตอ งเยบ็ นี้เปนอานสิ งสท ี่ ๔ เมอ่ื แสวงหาใหมกท็ าํ ไดง าย น้ีเปนอานิสงสท ี่ ๕ เหมาะกับการบวชเปนดาบส เปน อานสิ งสท ี่ ๖ ผเู ปน ศัตรูไมใชสอย เปน อานสิ งสท ่ี ๗ เมือ่ ใชสอยอยูก็ไมเ ปน ทตี่ งั้ แหงการประดับประดาเปน อานิสงสท่ี ๘ จะนุง หมกเ็ บา นีเ้ ปนอานิสงสท ่ี ๙ แสดงวา มกั นอ ยในปจจัยคือจวี ร น้เี ปน อานสิ งสท ่ี ๑๐ การเกิดขึ้นแหงเปลอื กไม เปนของชอบธรรมและไมม ีโทษ เปน อานิสงสที่ ๑๑ เมอื่ ผาเปลอื กไมแมจ ะสญู หายไปก็ไมมอี าลัย นเี้ ปน อานิสงสท ่ี ๑๒. บทวา อฏ โทสสมากณิ ฺณ ปชหึ ปณณฺ สาลก ความวา เราละอยา งไร ไดยนิ วา สุเมธบัณฑติ น้ันเปล้ืองผา สาฎกเนื้อดที ั้งคอู อกแลว ถอื เอาผา
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 16เปลือกไมส ีแดงเชน กบั พวงแหง ดอกองั กาบ ซ่งึ คลองอยทู รี่ าวจวี ร แลวนุงหมผา เปลือกไมส ดี ังทองอกี ผนื หนง่ึ บนผา เปลอื กไมน ัน้ กระทาํ หนงั เสือพรอมทั้งเล็บเชน กับสณั ฐานของดอกบนุ นาคพาดเฉวียงบา รวบชฎามณฑลแลว สอดปนปก ผมทําดว ยไมแข็งเขาไปตรึงไวก ับมวย เพ่ือทําใหไมไ หวติง ไดวางคนโทนํา้ มีสีดงั แกว ประพาฬในสาแหรกเชน กบั พวงแกว มกุ ดา ถือเอาหาบโคงในท่ีสามแหง คลอ งคนโทนา้ํ ไวท ี่ปลายหาบ ขอและตะกรา ไมสามงามเปน ตน ไวทป่ี ลายขา งหนงึ่ เอาหาบดาบสบริขารวางบนบา เอามือขวาถอื ไมเทาออกไปจากบรรณศาลาเดนิ จงกรมอยไู ปมาบนทีเ่ ดนิ จงกรม มปี ระมาณ ๖๐ ศอก มองดเู พศของตนแลวคิดวา มโนรถของเราถึงท่ีสุดแลว การบรรพชาของเรางามจรงิ หนอ ขน้ึ ชอื่ วาบรรพชาน้อี นั ทานผูเ ปน ธรี บุรุษท้ังปวง มีพระพทุ ธเจาและพระปจเจกพทุ ธเจา เปน ตน สรรเสริญชมเชยแลว เคร่อื งผูกมดั ของคฤหสั ถเราละแลว เรากําลงั ออกบวช เราออกบวชแลวไดบรรพชาอนั สงู สุด เราจักกระทําสมณธรรม เราจกั ไดสขุ อนั เกดิ แตมรรคผล ดังนแ้ี ลวเกิดความอุตสาหะวางหาบดาบสบริขารลง นั่งลงบนแผนหนิ มีสีดงั ถ่ัวเขียวเหมอื นดงั รปู ปน ทองฉะนัน้ ใหเ วลากลางวันสนิ้ ไป เขา ไปสูบรรณศาลาในเวลาเยน็ นอนบนเสอ่ืท่ถี ักดว ยแขนงไมข างเตยี งหวาย ใหต วั ไดรับอากาศพอสบาย แลว ตืน่ ข้ึนตอนใกลรุง คาํ นงึ ถงึ การมาของตนวา เราเหน็ โทษในฆราวาสแลว สละโภคสมบตั ินบั ไมถว น ยศอนั หาที่สดุ มไิ ด เขา ไปสูปาแสวงหาเนกขัมมะบวช จาํ เดมิ แตน ี้ไปเราจะประพฤตติ วั ดว ยความประมาทหาควรไม เพราะแมลงวัน คอื มิจฉาวิตกยอ มจะกดั กนิ ผูทีล่ ะความสงบสงดั เทยี่ วไป บดั น้ี ควรที่เราจะพอกพนู ความสงบสงดั ดว ยวา เรามองเหน็ การอยคู รองเรือนโดยความเปนของมีแตกังวลจึงออกมา บรรณศาลานา พอใจนี้ พนื้ ทซ่ี งึ่ ลอมรัว้ ไวราบเรยี บแลวมสี ดี ังมะตูมสุกฝาผนังสขี าวมสี ีราวกะเงนิ หลงั คาใบไมมีสีดงั เทานกพิราบ เตยี งหวายมสี ีแหง
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 17เครือ่ งปูลาดอนั งดงาม ที่อยูพ ออยูอาศยั ไดอยา งผาสกุ ความพรอ มมลู แหงเรือนของเรา ปรากฏเหมอื นจะมียิ่งกวา น้ี ดงั น้เี ลอื กเฟน โทษของบรรณศาลาอยู กไ็ ดเหน็ โทษ ๘ ประการ. จริงอยใู นการใชสอยบรรณศาลามโี ทษ ๘ประการ คือ จะตอ งแสวงหาดวยการรวบรวมขึ้นดวยทัพสมั ภาระท่ีมีนํ้าหนักมากกระทาํ เปน โทษขอ หนงึ่ จะตอ งชอ มแซมอยเู ปน นิตย เพราะเมอ่ื หญาใบไมแ ละดนิ เหนยี วรว งหลน ลงมาจะตอ งเอาของเหลา น้นั วางไวทีเ่ ดมิ แลว ๆเลา ๆ เปน โทษขอ ที่ ๒ ธรรมดาเสนาสนะจะตอ งตกแกคนแกกอน เมือ่เขาเขา มาใหเ ราลกุ ขึน้ ในเวลาท่ไี มเ หมาะ ความแนวแนแหงจติ กจ็ ะมีไมไดเพราะฉะน้นั การที่ถกู ปลุกใหล ุกข้ึนจงึ เปน โทษขอที่ ๓ เพราะกําจัดเสียไดซ ึง่หนาวและรอ น กจ็ ะทําใหรางกายบอบบาง (ไมแ ข็งแรง) เปน โทษขอ ท่ี ๔คนเขา ไปสูเรือนอาจทาํ ความช่วั อยา งใดอยางหนึง่ ได เพราะฉะนั้น การที่ปกปด ส่งิ นา ตเิ ตียน เปน โทษขอที่ ๕ การหวงแหนดว ยคิดวาเปน ของเรา เปนโทษขอ ท่ี ๖ ธรรมดาการมเี รอื นแสดงวาตอ งมภี รรยา เปน โทษขอ ที่ ๗ เปนของทัว่ ไปแกตนหมูมาก เพราะเปน สาธารณะแกสัตวมเี ล็น เรือด และตกุ แกเปน ตน เปน โทษขอที่ ๘. บทวา อเิ ม ความวา พระมหาสตั วเ หน็ โทษ๘ ประการเหลานี้ แลว จึงเลกิ ละบรรณศาลา. เพราะเหตุนน้ั ทา นจึงกลาววาเราเลิกละบรรณศาลาท่ีเกล่อื นกลนดว ยโทษ ๘ ประการ. บทวา อปุ าคมึ รุกฺขมูล คุเณ ทสหุปาคต ความวา พระมหา-สตั วก ลา ววา เราหามที่มุงบัง เขาหาโคนตน ไมท ่ปี ระกอบดว ยคณุ ๑๐ ประการในขอ นั้น คณุ ๑๐ ประการมดี งั ตอ ไปนี้ มีความยงุ ยากนอยเปนคุณขอ ที่ ๑ เพราะเพียงแตเ ขา ไปเทา น้ันก็อยูทนี่ ่นั ได เพราะฉะนัน้ จงึ ไมตองดูแลรักษา เปน คณุขอท่ี ๒ ก็ทน่ี ้นั จะหัดกวาดก็ตาม ไมป ดกวาดก็ตาม กใ็ ชสอยไดอยางสบายเหมอื นกนั การที่ไมตองบากบ่ันนัก เปน คณุ ขอ ท่ี ๓ ทน่ี ้นั ปกปดความนินทา
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 18ไมได เพราะเมอ่ื คนทาํ ความชัว่ ในที่น้ันยอ มละอาย เพราะฉะนัน้ การปกปดความนินทาไมได เปนคณุ ขอท่ี ๘ โคนไมเ หมือนกบั อยใู นที่กลางแจง ยอมไมย งั รางกายใหอดึ อัด เพราะฉะนน้ั การทรี่ า งกายไมอ ึดอัดจงึ เปนคุณขอ ๕ไมม กี ารตอ งทาํ การหวงแหนไว เปนคุณขอ ที่ ๖ หา มเสียไดซ ึ่งความอาลัยในบา นเรอื น เปน คณุ ขอ ท่ี ๗ ไมม กี ารทีจ่ ะตอ งพูดวา เราจักปด กวาดเชด็ ถูพวกทา นจงออกไป แลวก็ไลไ ปเหมอื นในเรือนที่ทั่วไปแกค นหมมู าก เปนคุณขอที่ ๘ ผอู ยกู ไ็ ดรบั ความเอิบอมิ่ ใจ เปนคณุ ขอท่ี ๙ ไมตอ งอาลยั อาวรณเพราะเสนาสนะคอื โคนตนไมหาไดงายไมวาจะไปท่ีไหน เปนคุณขอ ที่ ๑๐.พระมหาสัตวเ หน็ คุณ ๑๐ อยางเหลา นนั้ จึงกลาววา เราเขาอาศัยโคนตน ไมดงั นี้. พระมหาสตั วก ําหนดเหตุมปี ระมาณเทานี้เหลานน้ั แลว วนั รุงขึน้ กเ็ ขา ไปเพอ่ื ภกิ ษา. คร้งั นน้ั พวกมนุษยใ นบา นทท่ี านไปถงึ ไดถวายภิกษาดว ยความอตุ สาหะใหญ ทานทาํ ภัตกจิ เสรจ็ แลวมายงั อาศรม น่งั ลงแลว คิดวา เราบวชดวยคดิ วา เราจะไมไดอ าหารกห็ าไม ธรรมดาวาอาหารทอี่ รอยนยี้ อ มยังความเมาดวยอํานาจมานะและความเมาในความเปน บุรุษใหเ จรญิ และที่สุดแหง ทุกขอันมอี าหารเปนมูลไมม ี ถากระไรเราพึงเลิกละอาหารทีเ่ กิดจากขาวทีเ่ ขาหวา นและปลูก บรโิ ภคผลไมที่หลน เองดงั น้.ี จาํ เดิมแตนัน้ ทา นกระทําอยา งน้ันพากเพียรพยายามอยูใ นภายในสปั ดาหหนงึ่ ทาํ ใหสมาบตั ิ ๘ และอภิญญา ๕เกิดขนึ้ ไดแ ลว. เพราะเหตุนน้ั ทา นจงึ กลา ววา เราเลกิ ละขาวทหี่ วา นทปี่ ลูกโดยเด็ดขาด มา บริโภคผลไมทีห่ ลน เอง ท่ีสมบูรณด วยคุณเปนอันมาก เราเรมิ่ ตง้ั ความเพียรในการนง่ั การยืน และการเดิน จงกรมท่ีโคนตน ไมนั้น ในภายในสปั ดาหหน่ึง กไ็ ด บรรลอุ ภิญญาพละ ดงั น.ี้
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 19 เมื่อสุเมธดาบสบรรลอุ ภญิ ญาพละอยา งน้แี ลว ใหเวลาลว งไปดวยสขุอันเกิดจากสมาบัติ พระศาสดาทรงพระนามวาท่ปี งกร เสด็จอบุ ตั ขิ ึน้ ในโลกแลว ในการถือปฏิสนธิ การอุบัติขน้ึ การตรัสรูและการประกาศพระธรรม-จกั ร โลกธาตุหมื่นหนง่ึ แมท ้ังสน้ิ หว่ันไหวสน่ั สะเทอื นรองลั่นไปหมด บุรพ-นมิ ิต ๓๒ ประการปรากฏขนึ้ แลว. สุเมธบัณฑิตใหเวลาลวงเลยไปดว ยสุขอนัเกดิ แตส มาบัติ ไมไดย ินเสียงนัน้ เลย ท้ังไมไ ดเ ห็นนิมติ แมเ หลานั้นดว ย.เพราะเหตุนน้ั ทานจึงกลาววา เมอื่ เราบรรลคุ วามสาํ เรจ็ ในศาสนาเปน ผูม ีความ ชํานิชํานาญอยา งน้ี พระชนิ เจาผเู ปนโลกนายกทรง พระนามวาที่ปง กร เสด็จอุบตั ิขึ้นแลว เม่อื พระองค ทรงถือกําเนดิ เสด็จอบุ ัติข้นึ ตรัสรู แสดงพระธรรม เทศนา เราเอิบอ่ิมอยดู ว ยความยินดีในณาน มิไดเห็น นิมติ ท้ัง ๔ เลย. ในกาลนั้นพระทศพลทรงพระนามวา ทีปง กร มีพระขณี าสพส่แี สนหอมลอ มแลว เสด็จจารกิ ไปตามลาํ ดบั เสดจ็ ถงึ นครชอื่ รัมมกะ๑ เสดจ็ ประทบัณ สทุ สั นมหาวิหาร. พวกชาวรมั มกนครไดก ลาววา ไดย ินวาพระพทุ ธเจา ทรงพระนามวาทปี งกร ผูเปน ใหญก วาสนณะ ทรงบรรลอุ ภิสมั โพธอิ ยางยิง่ ทรงประกาศพระธรรมจกั รอันบวร เสด็จจาริกไปโดยลําดับ เสด็จถึงรัมมกนครแลวเสดจ็ ประทับอยทู ส่ี ทุ สั นมหาวหิ าร ตางพากันถอื เภสชั มเี นยใสและเนยขน เปนน้ี และผา เครือ่ งนงุ หม มมี ือถอื ของหอมและดอกไมเ ปนตน พระพทุ ธพระธรรม พระสงฆอยู ณ ทใ่ี ด ก็หล่ังไหลพากันตดิ ตามไป ณ ท่ีนนั้ ๆ เขาไปเฝาพระศาสดาแลวถวายบงั คม บูชาดวยของหอมและดอกไมเ ปนตนแลว นั่งณ ทีค่ วรขางหน่ึง ฟง พระธรรมเทศนาแลว ทลู นิมนตเพอ่ื เสวยในวันรุงข้ึน๑. บางแหงเปน รมั มนคร
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 20พากนั ลุกจากท่นี ่ังแลว หลีกไป. ในวันรุง ขึ้นตา งพากนั ตระเตรยี มมหาทานประดบัประดานคร ตกแตง หนทางทจ่ี ะเสดจ็ มาของพระทศพล ในทมี่ ีนา้ํ เซาะก็เอาดนิ ถมทําพน้ื ทด่ี นิ ใหร าบเสมอ โรยทรายอนั มสี ดี ังแผนเงิน โปรยปรายขา วตอกและดอกไม ปกธงชายและธงแผน ผา พรอมดว ยผา ยอมสีตา ง ๆ ตั้งตนกลวยและหมอ นาํ้ เต็มดว ยดอกไมเ รยี งรายเปนแถว. ในกาลน้ันสุเมธดาบสเหาะจากอาศรมบทของตน มาโดยทางอากาศ เบ้ืองบนของพวกมนษุ ยเ หลา น้นัเหน็ พวกเขารา เรงิ ยินดีกนั คดิ วา มีเหตอุ ะไรกันหนอ จึงลงจากอากาศยืน ณท่ีควรขางหนึง่ ถามพวกเขาวา ทา นผเู จริญ พวกทานพากนั ประดับ ประดาทางน้ีเพอ่ื ใคร ดังน้ี เพราะเหตุนน้ั ทานจึงกลา ววา พวกมนษุ ยม ใี จยนิ ดนี ิมนตพ ระตถาคต ในเขต แดนแหงปจจนั ตประเทศแลว พากนั ชําระสะสางทาง เสดจ็ ดาํ เนนิ มาของพระองค สมัยนัน้ เราออกไปจาก อาศรมของตน สะบดั ผา เปลอื กไมไปมาแลว ทน่ี น้ั ก็ เหาะไปทางอากาศ. เราเห็นชนตางเกดิ ความดใี จ ตางยนิ ดีราเรงิ ตาง ปราโมทย จงึ ลงจากทอ งฟา ไตถามพวกมนุษยท นั ที่วา มหาชนยินดีราเริงปราโมทย เกดิ ความดใี จ พวกเขา ชําระสะสางถนนหนทางเพือ่ ใคร. พวกมนุษยจึงเรยี นวา ขา แตทานสเุ มธผเู จรญิ ทานไมทราบอะไร พระ-ทศพลทปี ง กรทรงบรรลุสมั โพธิญาณแลว ประกาศพระธรรมจักรอนั ประเสรฐิเสดจ็ จาริกมาถึงนครของพวกเราแลว เสดจ็ พาํ นักท่ีสุทัสนมหาวหิ าร พวกเรานิมนตพ ระผูมพี ระภาคเจา พระองคนั้นมา จงึ ตกแตง ทางนี้ ท่ีจะเปนท่เี สดจ็ มาของพระผูมพี ระภาคพทุ ธเจา พระองคนัน้ . สเุ มธดาบสคิดวา แมเพยี งคําประกาศ
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาท่ี 21วา พระพทุ ธเจา กห็ าไดย ากในโลก จะปวยกลาวไปไยถงึ การอุบตั ขิ นึ้ แหง พระ-พุทธเจา แมเ ราก็ควรจะรวมกับมนุษยเหลานนั้ ตกแตง ทางเพ่ือพระทศพลดวย.ทานจึงกลาวกะพวกมนษุ ยเหลา นนั้ วา ทานผเู จริญ ถา พวกทา นตกแตงทางนเ้ี พื่อพระพทุ ธเจา ขอจงใหโอกาสสวนหน่งึ แกเ ราบา ง แมเรากจ็ ักตกแตงทางเพื่อพระทศพลพรอ มกับพวกทาน พวกเขากร็ ับปากวา ดีแลว ตางรูวา สุเมธ-ดาบสมฤี ทธ์ิ จึงกาํ หนดท่วี างซ่งึ มนี าํ้ เซาะใหก ลา ววา ทานจงแตงทน่ี ีเ้ ถิด แลวมอบใหไ ป สุเมธดาบสยดึ เอาปติซง่ึ มีพระพุทธเจาเปน อารมณคดิ วา เราสามารถจะตกแตง ที่วางนี้ดว ยฤทธิ์ได แตเมื่อเราตกแตงเชน น้ี ใจก็จะไมยนิ ดนี ัก วนันเี้ ราควรจะกระทําการรับใชด วยกาย ดังน้ีแลว ขนดินมาเทลงในทว่ี างนนั้ .เมอ่ื ท่วี างแหงนนั้ ยังตกแตงไมเสรจ็ เลย พระทศพลทปี ง กร มีพระขีณาสพผูไดอภิญญา ๖ มีอานุภาพมาก ส่แี สนรูปหอมลอม เม่อื เหลา เทวดาบูชาอยูดวยของหอมและดอกไมทพิ ย เมื่อสังคีตบรรเลงอยู เมื่อเหลามนุษยบ ชู าอยดู วยของหอมและดอกไม เสดจ็ เยื้องกรายบนพ้นื มโนสลิ า ดวยพระพทุ ธลลี าอนั หาทส่ี ดุ มิได ประดุจราชสหี เสด็จดําเนนิ นาสูทางท่ตี กแตงประดับประดาแลว นนั้ .สเุ มธดาบสลืมตาท้งั สองข้ึนมองดูพระวรกายของพระทศพลผูเสด็จดําเนนิ มาตามทางทตี่ กแตงแลว ซ่ึงถึงความเลศิ ดว ยพระรูปโฉม ประดบั ดวยพระมหาปรุ สิ -ลกั ษณะ ๓๒ ประการ สวยงามดวยพระอนุพยญั ชนะ (ลกั ษณะสว นประกอบ)๘๐ ประการ แวดวงดว ยแสงสวางมีประมาณวาหน่ึง เปลง พระพทุ ธรศั มีหนาทึบมสี ี ๖ ประการออกนาดปู ระหน่งึ สายฟา หลายหลาก ในพน้ื ทอ งฟา มสี ีดจุ แกวมณี ฉายแสงแปลบปลาบอยูไปมาและเปน คู ๆ กัน จึงคดิ วา วนั นเ้ี ราควรกระทําการบริจาคชวี ิตแดพ ระทศพล เพราะฉะน้ัน ขอพระผูม พี ระภาคเจา อยาไดท รงเหยียบเปอ กตม แตจ งทรงยํ่าหลังของเรา เสด็จพรอมกบั พระขณี าสพส่แี สนเหมอื นทรงเหยยี บสะพานแกวมณีเถดิ ขอนน้ั จกั เปน ไปเพอ่ื ประโยชนเ พอื่
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 22ความสุขแกเราตลอดกาลนาน ดังนแ้ี ลว แกผมออก ลาดหนังเสือ ชฎาและผาเปลอื กไมว างลงบนเปอกตม ซ่งึ มีสีดํา อนบนหลงั เปอ กตมเหมือนสะพานแผนแกว มณี เพราะเหตุนั้น ทานจงึ กลาววา พวกมนุษยเหลานน้ั ถกู เราถามแลวยืนยนั วา พระพุทธเจา ผยู อดเยย่ี มเปนพระชินะเปน พระโลกนายก ทรงพระนานวา ทปี ง กร เสดจ็ อบุ ตั ขิ ้นึ แลว ในโลก พวกเขาแลวถางถนนหนทางเพ่อื พระองค ปต ิเกิดขึน้ แลว แกเราทันใดเพราะไดฟ งคําวา พทุ โธ เราเม่อื กลา ว อยูวา พุทโธ พทุ โธ กไ็ ดเสวยโสมนัสแลว เรายนื อยใู นท่นี ั้นยนิ ดี มใี จเกดิ ความสงั เวชจึงคิดวา เราจกั ปลูกพืชไวใ นที่นั้น ขณะอยา ไดลวงเลยเราไปเสียเปลา ขา พวกทานจะแผวถางหนทางเพือ่ พระพทุ ธเจา ก็จง ใหท ่วี างแหงหนึง่ แกเ รา แมเรากจ็ กั แผว ถาง ถนนหน ทางทน่ี นั้ พวกเขาไดใหท ่ีวา งแกเ ราเพ่อื จะแผวถางทาง. เวลาน้นั เรากําลงั คดิ อยูวา พทุ โธ พุทโธ แผว ถางทาง เมอื่ ทีว่ างของเราทําไมเสรจ็ พระมหามนุ ี ทีปงกรผเู ปนพระชนิ เจา พรอมกับพระขณี าสพสแ่ี สน ไดอ ภิพญา ๖ ผคู งท่ีปราศจากมลทนิ เสด็จดาํ เนินมา ทางนน้ั การตอ นรับตาง ๆ ก็มขี นึ้ กลองมากมาย บรรเลงข้นึ เหลา คนและเทวดาลว นรา เริง ตางทาํ เสยี งสาธุการลั่นไปทั่ว เหลาเทวดาเห็นพวกมนุษยและ แมเหลามนุษยก เ็ หน็ เทวดา แมท ั้งสองพวกน้ันตาง
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 23 ประคองอัญชลีเดินตามพระตถาคตไป เหลา เทวดาท่ี เหาะมาทางอากาศก็โรยปรายดอกมณฑารพ ดอกบวั หลวง ดอกปาริฉัตรอนั เปน ทพิ ยไปทวั่ ทกุ ทศิ เหลาคน ท่อี ยูบ นพน้ื ดนิ ตางกช็ ดู อกจาํ ปา ดอก (สัลลชะ) ดอก กระทมุ ดอกกากะทงิ ดอกบุนนาค ดอกการะเกดไปทว่ั ทุกทิศ เราแกผ มออก เปลอื้ งผา เปลือกไมแ ละหนงั เสือ ในท่นี ้นั ลาดลงบนเปอกตมนอนควํา่ หนา พระ พุทธเจา พรอ มดวยศิษยจ งทรงเหยยี บเราเสดจ็ ไป อยา ไดเหยยี บบนเปอ กตมเลย ขอ น้นั จักเปน ไปเพ่ือ ประโยชนแ กเ รา ดงั นี้. สุเมธดาบสนัน้ นอนบนหลงั เปอกตมนั้นแล ลมื ตาทงั้ สองเห็นพระ-พทุ ธสิรขิ องพระทศพลทปี งกรจงึ คดิ วา ถาเราพงึ ตองการ กพ็ งึ เผากิเลสทั้งปวงหมดแลวเปน พระสงฆนวกะเขาไปสรู ัมมกนครได แตเราไมมีกจิ ดวยการเผากิเลสดว ยเพศทใ่ี ครไมรจู ักแลว บรรลุนิพพาน ถา กระไรเราพึงเปนดังพระทศพลทีปงกรบรรลุพระอภสิ ัมโพธิญาณอยา งสงู ยิง่ แลวขึน้ สูธรรมนาวา ใหมหาชนขา มสงสารสาครไดแ ลวปรินิพพานภายหลัง ขอ นสี้ มควรแกเรา ดังน้แี ลว ตอจากนัน้ ประมวลธรรม ๘ ประการกระทําความปรารถนาอยา งย่งิ ใหญเพอ่ื ความเปนพระพทุ ธเจา แลวนอนลง. เพราะเหตนุ ัน้ ทานจงึ กลาววา เมอ่ื เรานอนบนแผน ดนิ ไดมคี วามคดิ อยา งนวี้ า วนั นีเ้ ราเมือ่ ปรารถนาอยูก พ็ งึ เผากเิ ลสของเราได จะมี ประโยชน อะไรแกเราเลา ดวยการทําใหแจง ธรรมในท่ี น้ดี ว ยเพศท่ใี คร ๆ ไมร ูจกั เราบรรลุพระสัพพญั ุต-
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 24 ญาณจกั เปนพระพุทธเจา ในโลกพรอ มทั้งเทวโลก จะ มีประโยชนอะไรแกเราดวยลกู ผชู าย ผูมรี ูปรางแข็ง แรงนข้ี ามฝงไปคนเดยี ว เราบรรลุพระสพั พญั ตุ ญาณ แลวจกั ใหมนษุ ยพรอมท้งั เทวดาขามฝง ดวยการกระ- ทําอันย่ิงใหญของเรา ดว ยลูกผชู ายผูมีรปู รา งแข็งแรง น้ี เราบรรลพุ ระสพั พัญุตญาณแลว จะใหเหลาชน มากมายขามฝง เราตัดกระแสน้าํ คือสงสาร ทาํ ลาย ภพท้งั สามแลว ขน้ึ สธู รรมนาวา จกั ใหมนุษยพรอ ม ทง้ั เทวดาขามฝง ดังน.้ี ก็เมื่อบคุ คลปรารถนาความเปน พระพทุ ธเจา อยู ความปรารถนาท่ยี ่งิใหญจ ะสาํ เรจ็ ไดเพราะประมวลมาซึ่งธรรม ๘ ประการ คือความเปนมนษุ ย ๑ความถึงพรอมดว ยเพศ ๑ เหตุ ๑ การเห็นพระศาสดา ๑ การบรรพชา ๑ การสมบูรณด วยคุณ ๑ การกระทาํ ยิง่ ใหญ ๑ ความพอใจ ๑. จรงิ อยู เมื่อบุคคลดํารงอยใู นภาวะแหง ความเปน มนุษยน่ันแหละปรารถนาความเปน พระพทุ ธเจา ความปรารถนายอ มสําเรจ็ ความปรารถนาของนาค ครุฑหรือเทวดาหาสําเร็จไม แมใ นภาวะแหง ความเปนมนษุ ยเม่ือเขาดํารงอยูในเพศบุรุษเทานัน้ ความปรารถนาจงึ จะสาํ เรจ็ ความปรารถนาของหญงิหรอื บณั เฑาะกก ระเทยและอภุ โตพยญั ชนก กห็ าสาํ เรจ็ ไม แมสาํ หรับบรุ ษุ ความปรารถนาของผูสมบรู ณด วยเหตุที่จะบรรลุอรหัต แมใ นอตั ภาพน้นั เทาน้นั จึงจะสาํ เรจ็ ได นอกน้ีหาสาํ เรจ็ ไม แมส าํ หรบั ผทู สี่ มบูรณด ว ยเหตถุ า เม่ือปรารถนาในสํานักของพระพุทธเจา เทานน้ั ความปรารถนาจึงจะสาํ เร็จ เมอื่ พระพทุ ธ.เจา ปรินิพพานแลว เม่อื ปรารถนาในทีใ่ กลเ จดยี หรือที่โคนตนโพธิ์ ก็หาสําเร็จไม แมเมือ่ ปรารถนาในสํานักของพระพุทธเจา ความปรารถนาของผทู ี่
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 25ดาํ รงอยูในเพศบรรพชติ เทานนั้ จงึ จะสําเรจ็ ผูที่ดาํ รงอยใู นเพศคฤหสั ถหาสําเรจ็ไม แมผ เู ปน บรรพชิต ความปรารถนาของผูทีไ่ ดอภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘เทานั้นจงึ จะสําเร็จ ผทู ่ีเวน จากคุณสมบตั นิ ี้ นอกน้หี าสําเร็จไม แมผ ูท่ีสมบูรณดว ยคุณแลวกต็ าม ความปรารถนาของผูที่ไดก ระทําการบริจาคชวี ติ ของตนแดพระพุทธเจา ซึ่งเปน ผูสมบรู ณดว ยการกระทําอนั ย่งิ ใหญน ี้เทาน้นั จงึ จะสําเร็จของตนนอกน้ีหาสาํ เร็จไม แมผูทจี่ ะสมบรู ณด วยการกระทําอันยง่ิ ใหญแ ลวยงัจะตอ งมีฉันทะอนั ใหญห ลวง อุตสาหะ ความพยายามและการแสวงหาอันใหญเพื่อประโยชนแ กธ รรมท่ีกระทาํ ใหเ ปน พระพุทธเจาอกี ความปรารถนาจงึ จะสําเรจ็ คนอื่นนอกจากนห้ี าสาํ เรจ็ ไม. ในขอทฉี่ ันทะจะตองยง่ิ ใหญน ้นั มีขออปุ มาดงั ตอ ไปน้ี. กถ็ า จะพงึ เปนไปอยา งนีว้ า ผใู ดสามารถทจี่ ะใชก ําลังแขนของตนขา มหวงแหงจกั รวาลทง้ั สิ้นท่ีเปนน้าํ ผนื เดยี วกนั หมดแลว ถงึ ฝงได ผนู ัน้ ยอ มบรรลคุ วามเปน พระพทุ ธเจาได หรือวา ผใู ดเดินดวยเทาสามารถที่จะเหยียบย่าํ หวงแหง จกั รวาลท้งั สิน้ ที่ปกคลมุ ดว ยกอไผแลวถงึ ฝงได ผนู ั้นยอมบรรลุความเปนพระพทุ ธเจา ได หรอืวา ผูใดปก ดาบท้ังหลายลงแลวเอาเทา เหยยี บหวงแหงจักรวาลท้งั สิน้ ซึง่ เต็มไปดว ยฝกดาบสามารถทจ่ี ะถงึ ฝง ได ผนู ้ันยอมบรรลคุ วามเปนพระพุทธเจาไดหรอื วาผูใ ดเอาเทายํ่าหวงแหง จกั รวาลท้งั สิ้น ซงึ่ เต็มไปดว ยถานมีเปลวเพลงิลกุ โชติชวงสามารถทจ่ี ะถงึ ฝง ได ผูนั้นยอ มไดบ รรลุความเปนพระพทุ ธเจา ได.ผูใดไมส ําคญั เหตุเหลานั้นแมเ หตุหนึง่ วาเปน ของท่คี นทาํ ไดยาก คดิ แตวา เราจกัขา มหรือไปถือเอาซง่ึ ฝง ขา งหนง่ึ จนได ดงั น้ี เขาผูน ัน้ จดั วาเปนผปู ระกอบดว ยฉนั ทะอุตสาหะความพยายามและการแสวงหาอันใหญ ความปรารถนาของเขายอ มสาํ เร็จ คนนอกนีห้ าสําเร็จไม. ก็สุเมธดาบสแมจะประมวลธรรมทงั้ ๘ประการเหลานั้นไดแ ลว ยังการทําความปรารถนาอยางยิ่งใหญ เพ่ือความเปน
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 26พระพุทธเจาแลว นอนลง. ฝา ยพระผมู พี ระภาคเจา ทรงพระนามวาทปี งกรเสดจ็มาประทับยืนทเี่ บื้องศรี ษะของสเุ มธดาบส ทรงลมื พระเนตรทง้ั สองอนั สมบูรณดวยประสาทมีวรรณะ ๕ ชนิด ประหนงึ่ วา เปด อยูซึ่งสหี บัญชรแกว มณี ทอดพระเนตรเห็นสุเมธดาบสนอนบนหลังเปอกตมทรงดําริวา ดาบสน้กี ระทาํ ความปรารถนาอยางยง่ิ ใหญเพ่อื ความเปนพระพุทธเจาความปรารถนาของเขาจกั สาํ เรจ็หรอื ไมห นอ ทรงสงพระอนาคตังสญาณใครครวญอยู ทรงทราบวา ลวงส่อี สง-ไขยยิง่ ดวยแสนกปั นับแตนี้ เขาจักไดเ ปนพระพทุ ธเจานามวาโคดม ยงั ประทับยนื อยูน ั่นแหละทรงพยากรณแ ลวดวยตรสั วา พวกทานจงดาบสผูม ตี บะสงู นี้ ซง่ึนอนอยูบ นหลังเปอ กตม. ภกิ ษุทั้งหลายกราบทูลวา เหน็ แลวพระเจาขา จงึ ตรสั วาดาบสนก้ี ระทําความปรารถนายิ่งใหญ เพ่ือความเปน พระพุทธเจา นอนแลวความปรารถนาของเขาจกั สาํ เรจ็ ในทสี่ ุดแหง สอี่ สงไขยย่งิ ดวยแสนกปั นบั แตน้ีเขาจกั ไดเ ปน พระพทุ ธเจา นามวาโคดม ก็ในอตั ภาพนัน้ ของเขา นครนามวากบิลพัสดุจักเปน ทีอ่ ยูอาศัย พระเทวีทรงพระนามวา มายาเปนพระมารดา พระ-ราชาทรงพระนามวาสทุ โธทนะเปน พระราชบดิ า พระเถระชือ่ อุปติสสะเปนอัครสาวก พระเถระชือ่ โกลิตะเปน อัครสาวกทสี่ อง พทุ ธอุปฐากชือ่ อานนท พระเถรีนามวาเขมาเปนอคั รสาวกิ า พระเถรีนามวา อุบลวรรณาเปนอคั รสาวิกาท่ีสองเขามีญาณแกก ลาแลว ออกมหาภิเนษกรมณ ตง้ั ความเพยี รอยา งใหญ รับขา วปายาสทโ่ี คนตน ไทร เสวยทฝ่ี ง เเมน ํา้ เนรญั ชรา ข้นึ สูโ พธิมณฑลจักตรสั รทู ี่โคนตนอสั สัตถพฤกษ ดงั นี้ เพราะเหตุนน้ั ทา นจึงกลาววา พระพุทธเจา ทรงพระนามวา ทีปงกร ผูท รงรูแ จง ซ่งึ โลก ผูทรงรับเครือ่ งบชู า ประทับยืน ณ เบอื้ งศรี ษะ ไดตรสั คาํ น้ีกะเราวา พวกทา นจงดูดาบสผเู ปนชฏิลผมู ี ตบะสูงน้ี เขาจกั ไดเปนพระพุทธเจา ในโลกในกปั ทีน่ ับ
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 27 ไมถ ว นแตกปั นี้ เขาเปน ตถาคตจะออกจากนครชื่อ กบิลพสั ดุ อันนาร่ืนรมย ต้ังความเพียร กระทาํ ทุกร- กิรยิ า นัง่ ท่ีโคนตนอชปาลนโี้ ครธประคองขา วปายาส ไปยังแมน า้ํ เนรญั ชราในทน่ี ้นั พระชินเจา พระองคน ้ัน ทรงถอื ขาวปายาสไปทีฝ่ ง แมนา้ํ เนรัญชรา เสดจ็ ถงึ โคน ตนโพธิโ์ ดยทางทเี่ ขาแตงไวด แี ลว ลําดบั นนั้ พระสัม- พุทธเจาผูท รงมพี ระยศใหญม มิ ีใครยิ่งกวากระทาํ ประ- ทกั ษณิ โพธมิ ณฑลแลว จักตรัสรทู ่โี คนตน โพธิ พระ- มารดาผูเ ปนชนนีของเขาจักมีนามวา มายา พระบดิ าจกั มนี ามวา สทุ โธทนะ เขาจกั มนี ามวา โคดม พระโกลติ ะ และอุปติสสะจักเปนอัครสาวก ผหู าอาสวะมิไดป ราศ จากราคะแกว มจี ติ อนั สงบตัง้ มั่น. อปุ ฐากนามวา อานนทจ กั เปนอปุ ฐากพระชนิ เจานัน้ . นางเขมาและ นางอบุ ลวรรณาจกั เปน อคั รสาวกิ า ผูห าอาสวะมไิ ด ปราศราคะแลว มจี ิตสงบต้ังมนั่ . ตนไมท ่ีตรสั รูของ พระผมู พี ระภาคเจาน้ัน จักเรยี กกนั วา อัสสัตถพฤกษ ดังน.้ี สุเมธดาบสไดบงั เกิดโสมนสั วา นยั วาความปรารถนาของเราจกั สําเรจ็ดังนี้ มหาชนไดฟงพระดาํ รสั ของพระทศพลทีปงกรแลว ตางไดพากันรา เริงยินดีวา นยั วาสุเมธดาบสเปน พืชแหงพระพทุ ธเจา เปนหนอแหง พระพทุ ธเจาและพวกเขาเหลานน้ั ก็ไดมคี วามคิดอยา งน้วี า ธรรมดาวาบรุ ษุ เม่ือจะขามแมนาํ้ ไมสามารถขา มโดยทา โดยตรงได ยอ มขา มโดยทา ขา งใตฉนั ใด แมพวกเราก็ฉนั น้ันเหมอื นกนั เมือ่ ไมไดม รรคและผลในศาสนาของพระทศพลทีปงกร ในกาลใดในอนาคตทา นจักเปนพระพทุ ธเจา ในกาลน้ันพวกเราพงึ สามารถกระทํา
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 28ใหแจง ซง่ึ มรรคและผลในท่ตี อ หนาของทา นดงั น้ี ตา งพากันต้งั ความปรารถนาไว.แมพระทศพลทีปงกรทรงสรรเสริญพระโพธสิ ตั ว ทรงบชู าดว ยดอกไม ๘ กาํ มือทรงกระทาํ ประทักษิณแลวเสด็จหลกี ไป แมพระขีณาสพนับไดส ี่แสนตา งกพ็ ากันบชู าพระโพธิสตั ว ดว ยของหอมและพวงดอกไม กระทาํ ประทกั ษณิ แลวหลกี ไป พระโพธิสัตวลกุ ขนึ้ จากท่นี อนในเวลาท่ีคนทงั้ ปวงหลกี ไปแลว คิดวาเราจักตรวจตราดูบารมีท้ังหลาย ดังน้ี จึงนัง่ ขัดสมาธิบนทสี่ ุดของกองดอกไมเมื่อพระโพธิสตั วนั่งแลวอยา งน้ี เทวดาในหม่ืนจกั รวาลทง้ั สน้ิ ไดใหส าธกุ ารกลา ววา ขาแดพ ระผเู ปนเจาสุเมธดาบสในเวลาทพี่ ระโพธิสัตวเ กา กอ นทัง้ หลายน่ังขัดสมาธิดวยคดิ วา เราจักตรวจตราบารมีทั้งหลาย ชือ่ วา บุรพนมิ ติ เหลาใดจะปรากฏ บุรพนมิ ติ เหลานั้นแมทงั้ หมดปรากฏแจม แจง แลว ในวันน้ี ทา นจักเปนพระพุทธเจาโดยไมตองสงสัย พวกเรากร็ ขู อนัน้ นมิ ติ เหลา นี้ปรากฏแกผ ใู ด ผนู ัน้ จะเปนพระพทุ ธเจา โดยสวนเดยี ว ทานจงประคองความเพียรของตนใหม ่นั ดังน้ี กลา วสรรเสรญิ พระโพธิสัตว ดวยคําสรรเสริญนานาประการ.เพราะเหตุนั้นทานจึงกลา ววา คนและเทวาดาไดฟ ง คําน้ี ของพระพทุ ธเจา ผหู า ผเู สมอมไิ ด ผูท รงแสวงหาคุณใหญ ตา งยินดีวา ดาบส นีเ้ ปน พชื และเปน หนอ พระพุทธเจา เสยี งโหรอ งดัง ลั่นไป มนษุ ยพรอมเทวดาในหมื่นโลกธาตุ ตางปรบมอื หัวเราะรา ตางประคองอญั ชลนี มัสการ ถา พวกเรา จักพลาดศาสนาของพระโลกนาถ กจ็ ักอยเู ฉพาะหนา ทา นผูน้ีในกาลไกลในอนาคต มนุษยเ มอ่ื จะขา มฝง พลาดทาทีต่ ั้งอยูเฉพาะหนากจ็ ะถือเอาทาขางใตข ามแม- น้ําใหญต อ ไปไดฉนั ใด พวกเราแมท ้ังหมดก็ฉนั น้ัน
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 29เหมอื นกนั ถาพนพระชินเจานี้ไปกจ็ ักอยูเฉพาะหนาทานผนู ้ีในกาลไกลในอนาคต พระพุทธเจา ทรงพระนามวา ทีปงกร ผทู รงรูแจง โลก ผทู รงรับเคร่อื งบชู าทรงกาํ หนดกรรมของเราไวแลว จึงทรงยกพระบาทเบอ้ื งขวาเสดจ็ ไป พระสาวกผเู ปนพระชนิ บตุ รเหลาใดไดมอี ยใู นท่ีนนั้ เหลา นั้นท้งั หมดไดทําประทักษิณเรา. คน นาค คนธรรพ ตางก็กราบไหวแ ลว หลกี ไปเมือ่ พระโลกนายกพรอ มดวยพระสงฆลวงทศั นวสิ ยัของเราแลว มจี ิตยินดีและรา เรงิ เราจงึ ลุกขึ้นจากอาสนะในบดั น้นั ครั้งนั้นเราสบายใจดว ยความสุขบนั เทงิ ใจดว ยความปราโมทย ทวมทนดว ยปติ นงั่ ขดัสมาธอิ ยู ที่นัน้ เรานง่ั ขัดสมาธแิ ลวคดิ ไดอยางนว้ี า เราเปน ผชู ํานาญในฌาน ถึงความเต็มเปย มในอภญิ ญาแลวในโลกตง้ั พันฤๅษีทเี่ สมอกบั เราไมมี เราไมม ีใครเสมอในฤทธธิ รรม จึงไดความสขุ เชน นี้ ในการนัง่ ขัดสมาธขิ องเราเทวดาและมนุษยผ อู าศยั อยูในหม่ืนจักร-วาลตา งเปลงเสียงบรรลอื ลัน่ วา ทานจักเปน พระพทุ ธเจาแนนอน นิมติ ใดจะปรากฏในการน่ังขัดสมาธิของพระโพธสิ ัตวในกาลกอนนมิ ิตเหลานั้น ก็ปรากฏแลวในวันน้ี. ความหนาวกเ็ หอื ดหาย ความรอ นกร็ ะงบัเหลานี้ก็ปรากฏในวันนี้ ทานจกั เปน พระพทุ ธเจาแนน อน โลกธาตุหมน่ื หนงึ่ ก็ปราศจากเสยี ง ไมมีความยุงเหยงิ เหลา น้กี ็ปรากฏในวนั น้ี ทานจกั เปน
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 30พระพทุ ธเจา แนนอน พายใุ หญก ไ็ มพ ดั แมนาํ้ ลําคลองกไ็ มไหล เหลา น้ีปรากฏในวนั น้ี ทา นจกั เปน พระพทุ ธเจา แนน อน ดอกไมท ั้งหลายที่เกิดบนบกและเกิดในนา้ํ ทั้งหมดตางกบ็ านในทนั ใด ดอกไมเ หลาน้นัทัง้ หมดก็ผลติ ผลในวันนี้ รตั นะทั้งหลายทต่ี ัง้ อยใู นอากาศและตั้งอยบู นพน้ื ดนิ ตา งก็สองแสงในทนั ใดรัตนะแมเหลา นั้น ก็สองแสงในวันน้ี ทา นจักเปน พระ-พทุ ธเจา แนน อน ดนตรที ้งั ของมนษุ ยและเปน ทพิ ยต า งบรรเลงขนึ้ ในทนั ใด แมท ้งั สองอยางน้นั ก็ขับขานข้นึในวันน้ี ทานจักเปน พระพทุ ธเจาแนน อน ทองฟา มีดอกไมสวยงาม ก็ตกลงเปน ฝนในทนั ใด แมเ หลาน้ันกป็ รากฏในวันนี้ ทานจักเปนพระพทุ ธเจาแนน อนมหาสมทุ รก็มวนตวั ลง โลกธาตหุ มน่ื หน่ึงกห็ วัน่ ไหวแมท้งั สองอยางนัน้ ก็ดงั ลัน่ ไปในวันนี้ ทา นจักเปนพระพทุ ธเจาแนนอน พระอาทติ ยกป็ ราศจากเมฆ-หมอก ดาวท้งั ปวงกม็ องเห็นได แมเหลานี้ ก็ปรากฏในวนั น้ี ทานจกั เปน พระพทุ ธเจาแนน อน นํ้าพงุประทขุ ึ้นจากแผน ดนิ โดยท่ฝี นมิไดตกเลย วนั นน้ี ้าํ ก็พุงประทุขน้ึ ในทนั ใดนนั้ ทานจักเปน พระพทุ ธเจาแนน อน หมูดาวก็สวางไสว ดาวฤกษก็สวางไสวในทองฟา พระจันทรป ระกอบดว ยวิสาขฤกษ ทา นจักเปนพระพุทธเจา แนน อน สัตวท่อี าศัยอยูในโพรง
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 31อาศัยอยใู นซอกเขา ตา งถืออกมาจากทีอ่ ยขู องตนวนั นแี้ มส ัตวเ หลานีก้ ท็ ง้ิ ทอี่ ยอู าศยั ทา นจกั เปนพระ-พุทธเจา แนน อน ความไมยินดีไมม แี กสตั วท ัง้ หลายเขาตางถือสันโดษ วนั นีส้ ตั วแ มเหลา น้ันทงั้ หมดก็ถอืสนั โดษ ทานจกั เปนพระพุทธเจา แนน อน คราวน้นัโรคท้ังหลายก็สงบระงบั และความหิวกพ็ นิ าศไป วันนี้กป็ รากฏ ทานจกั เปนพระพทุ ธเจา แนนอน คราวนัน้ราคะกเ็ บาบาง โทสะโมหะก็พินาศ กเิ ลสเหลา น้นัท้ังปวงกป็ ราศจากไป ทานจกั เปนพระพทุ ธเจาแนนอนคราวน้นั ภยั กไ็ มมี แมว ันนขี้ อนนั้ ก็ปรากฏ พวกเรารูไดดว ยนิมิตนน้ั ทานจักเปน พระพุทธเจา แนน อนธุลีไมฟ งุ ขึ้นเบ้อื งบน แมว ันนขี้ อ น้นั ก็ปรากฏ พวกเรารูไ ดดวยนิมติ นัน้ ทานจกั เปนพระพุทธเจา แนนอน กลนิ่ ท่ีไมพ งึ ปรารถนาก็ถอยหา งไป มีแตกลนิ่ทพิ ยฟงุ ไปท่ัว วนั น้แี มก ล่นิ ก็ฟงุ อยู ทา นจักเปนพระพุทธเจาแนน อน เหลา เทวดาท้งั สิ้นเวน อรูป-พรหมก็ปรากฏ วันน้เี ทวดาแมเหลา นั้นทงั่ หมดก็มองเหน็ ได ทานจกั เปนพระพุทธเจาแนนอน ขึน้ ชื่อวานรกมีเพียงใด ทง้ั หมดนน้ั ก็เหน็ ไดในทันใด แมวนั นี้ก็ปรากฏทั้งหมด ทา นจักเปนพระพทุ ธเจา แนน อนคราวนน้ั ฝาผนัง บานประตู แผนหนิ ไมเปนเครื่องกีดขวางได แมส งิ่ เหลานั้นวันน้กี ก็ ลายเปน ท่ีวา งหมดทา นจักเปน พระพทุ ธเจาแนนอน การจุติ การอบุ ตั ิ
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 32 ไมม ใี นขณะนัน้ วนั นนี้ มิ ิตเหลานั้น กป็ รากฏ ทาน จักเปน พระพทุ ธเจาแนน อน ทานจงประคองความ เพียรใหมัน่ อยา ไดล อยกลับ จงกาวหนา ไป แมพวก เราก็รูขอ น้นั ทานจักเปนพระพทุ ธเจา แนนอน ดังนี้. พระโพธสิ ัตวไ ดฟ งพระดาํ รสั ของพระทศพลทปี ง กรและถอ ยคําของเทวดาในหมื่นจกั รวาล เกิดความอุตสาหะโดยประมาณยงิ่ ขนึ้ จงึ คดิ วา ธรรมดาพระพทุ ธเจา ทัง้ หลายมีพระดาํ รสั ไมว า งเปลา ถอยคาํ ของพระพุทธเจาทง้ั หลายไมมเี ปน อยา งอนื่ เหมือนอยา งวา กอนดินทข่ี วา งไปในอากาศจะตองตก สตั วท่ีเกิดแลว จะตองตาย เมือ่ อรณุ ข้ึนพระอาทิตยก็ตอ งข้นึ ราชสหี ท อี่ อกจากถ้ําที่อาศยั จะตองบันลอื สหี นาท หญิงทคี่ รรภแกจะตองปลดเปล้ืองภาระ [คลอด]เปนของแนนอน จะตองมเี ปนแนแ ทฉนั ใด ธรรมดาพระดํารสั ของพระพุทธ-เจาทงั้ หลาย ยอมเปน ของแนน อนไมวางเปลา ฉนั นัน้ เราจักเปน พระพทุ ธเจาแน ดังนี้ เพราะเหตุนั้นทา นจงึ กลา ววา เราฟง พระดาํ รสั ของพระพุทธเจา และของ เทวดาในหม่ืนจักรวาลท้งั สองฝา ยแลว มีความราเรงิ ยนิ ดเี กิดปราโมทย จงึ คิดข้นึ อยางนีใ้ นคราวนน้ั วา พระพุทธเจาท้ังหลายผูเ ปนพระชินเจา ไมม พี ระดาํ รสั เปนสอง มีพระดาํ รัสไมวางเปลา พระพทุ ธเจา ทงั้ หลาย ไมมีพระดํารัสไมจริง เราจะเปนพระพทุ ธเจา แนน อน กอ นดินทีข่ วางไปในทองฟายอ มตกบนพน้ื ดนิ แนน อน ฉนั ใด พระดํารสั ของพระพทุ ธเจา ผปู ระเสริฐก็ฉันนั้น เหมอื นกัน ยอมแนนอนและเทยี่ งตรงแมฉนั ใด พระ
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 33 ดาํ รสั ของพระพทุ ธเจาผปู ระเสริฐ ก็ฉันน้นั เหมือนกัน ยอ มแนนอนและเทีย่ งตรง เมื่อถงึ เวลาราตรสี ิน้ พระ- อาทติ ยก็ข้นึ แนนอนฉนั ใด พระดํารสั ของพระพทุ ธเจา ผูประเสริฐก็ฉนั น้ันเหมอื นกัน ยอ มแนนอนและเท่ียง ตรง ราชสหี ท่ีลกุ ขึ้นจากที่นอนจะตอ งบนั ลอื สีหนาท แนน อนฉันใด พระดาํ รสั ของพระพทุ ธเจา ผปู ระเสรฐิ ก็ฉนั นนั้ เหมือนกัน ยอมแนนอนและเท่ยี งตรง สัตว ผูมีครรภจ ะตอ งเปลอื้ งภาระ [หญิงมคี รรภจะตอ ง ตลอด] ฉนั ใด พระดาํ รัสของพระพทุ ธเจาผูป ระเสริฐ ก็ฉนั นน้ั เหมือนกัน ยอ มแนนอนและเทยี่ งตรง ดงั น.้ี สุเมธดาบสน้ัน กระทําการตกลงใจอยา งนว้ี า เราจกั เปน พระพุทธเจาแนนอน เพื่อทจี่ ะใครครวญถึงธรรมที่กระทาํ ใหเปนพระพุทธเจา เมอ่ื ตรวจตราดธู รรมธาตุทัง้ สน้ิ โดยลําดบั วา ธรรมท่ีกระทาํ ใหเปน พระพุทธเจา มอี ยู ณ ท่ีไหนหนอ เบอื้ งสงู หรือเบอ้ื งตํา่ ในทิศใหญหรอื ทิศนอย ดงั นี้ ไดเ ห็น ทานบารมขี อ ที่ ๑ ทพ่ี ระโพธิสตั วแ ตเกากอ นท้ังหลายถอื ปฏิบตั เิ ปน ประจาํ จงึ กลาวสอนตนอยางนว้ี า ดกู อนสุเมธบัณฑิต จําเดิมแตนไ้ี ปทานพึงบําเพ็ญทานบารมีขอแรกใหเ ต็ม เหมือนอยา งวา หมอนาํ้ ท่คี วาํ่ แลว ยอ มคายน้าํ ออกไมเหลือไมน าํกลบั เขาไปอกี ฉนั ใด แมทา นเม่ือไมเ หลยี วแลทรัพย ยศ บตุ ร ภรยิ าหรืออวัยวะใหญนอ ย ใหส่งิ ทเ่ี ขาตองการอยากไดท ง้ั หมดแกผูขอที่มาถงึ กระทาํ มิใหมีสวนเหลอื อยูจกั ไดนงั ทโ่ี คนตนโพธิ์เปนพระพทุ ธเจาไดดังน้ี ทา นไดอธษิ ฐานทานบารมีขอแรกทาํ ใหมน่ั แลว เพราะฉะนัน้ ทา นจงึ กลา ววา เอาเถอะเราจะเลอื กเฟนธรรม ทีก่ ระทาํ ใหเ ปน พระพุทธเจา ทางโนน และทางน้ีทัง้ เบอื้ งสูงและเบอื้ ง
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 34 ตํ่า ตลอดสิบทิศ ตราบเทา ถงึ ธรรมธาตุน้ี คร้งั นน่ั เมื่อเราเลอื กเฟน อยจู งึ ไดเ หน็ ทานบารมีทีเ่ ปน ทางใหญ เปนขอแรก ท่ที า นผูแสวงหาคณุ ใหญแตเกากอน ประพฤตสิ ืบกนั มาแลว ทา นจงยึดทานบารมีขอ ที่ ๑ นที้ าํ ใหม น่ั กอ น จงถงึ ความเปน ทานบารมี หากทา น ปรารถนาจะบรรลโุ พธิญาณ หมอท่เี ตม็ น้าํ ใครผใู ดผ-ู หนงึ่ คว่าํ ลงกจ็ ะคายนาํ้ ออกจนไมเ หลอื ไมยอมรักษา ไว แมฉันใด ทา นเหน็ ยาจกไมวาจะตํ่าทราม สงู สง และปานกลาง จงใหทานอยา ใหเหลือไว เหมอื น หมอนา้ํ ที่เขาควํ่าลงฉนั น้นั เถดิ ดงั น.้ี ลาํ ดับนั้น เมอ่ื เขาใครค รวญอยยู ่ิง ๆ ขึ้นดว ยคิดวา ธรรมทีก่ ระทําใหเ ปนพระพุทธเจา ไมพ ึงมเี พียงเทานเ้ี ลย เขาไดเห็นศีลบารมีขอที่ ๒ ไดมคี วามคดิ วา ดูกอ นสเุ มธบณั ฑิต นับจาํ เดมิ แตนี้ไปทา นพึงบาํ เพ็ญศีลบารมีใหเต็มเปยม เหมือนอยางวา ธรรมดาวาเน้อื จามรีไมเ หลียวแลแมชวี ิต รักษาหางของตนอยา งเดียว ฉนั ใด จาํ เดมิ แตน ้ีแมทา นก็ไมเ หลยี วแลแมชีวติ รักษาศลี อยา งเดยี ว จกั เปน พระพทุ ธเจา ไดดังน้ี เขาไดอ ธิษฐานศีลบารมีขอ ทส่ี องทําใหมนั่ แลว . เพราะฉะน้นั ทานจึงกลา ววา ความจรงิ พทุ ธธรรมเหลา น้ี จกั หามเี พยี งเทาน้ีไม เราจกั เลอื กเฟนธรรมแมอ ยา งอน่ื ท่ีเปนเคร่อื งบมโพธ-ิ ญาณ คร้ังนน้ั เราเม่อื เลือกเฟนอยู กไ็ ดเ ห็นศลี บารมีขอ ๒ ทีท่ านผแู สวงหาคุณใหญแ ตเ กา กอนถอื ปฏบิ ตั เิ ปน ประจาํ ทานจงยดึ ถอื ศีลบารมีขอท่ี ๒ น้ี กระทาํ ใหม่นั กอน จงถึงความเปนศีลบารมี หากทานปรารถนาจะ
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ท่ี 48ผล ครง้ั แรก [ปฐมโพธกิ าล] พระพุทธเจาใหส ตั วตรัสรูไดห นงึ่ รอ ยโกฏิ ในการไดบ รรลมุ รรคผลครงั้ ทสี่ อง[มชั ฌิมโพธกิ าล] พระนาถะใหส ตั วต รัสรูไดแสนโกฏิและการไดบรรลมุ รรคผลครงั้ ที่สาม [ปจ ฉมิ โพธิกาล]ไดมีแตสัตวเ กาสบั พนั โกฏิ ในเมื่อพระพทุ ธเจา ไดทรงแสดงพระธรรมในเทวพภิ พ การประชมุ ของพระ -ศาสดาทปี ง กรไดม ีสามคร้งั การประชมุ ครงั้ แรกมีชนแสนโกฏิ อกี คร้งั เมอื่ พระชนิ เจา ประทบั อยูวิเวกท่ียอดเขานารทะ พระขีณาสพผูป ราศจากมลทินรอยโกฏิประชุมกัน ในกาลใดพระมหาวีระประทบั อยูบ นเขาในเมืองสทุ ัสนะ ในกาลน้ันพระมหามุนที รงหอ มลอมไปดวยพระขณี าสพเกา สิบพนั โกฏิ เราในสมัยน้นั เปนชฏิลผมู ตี บะกลา เหาะไปในท่ีกลางหาวได ไดส าํ เร็จในอภญิ ญา ๕ การตรัสรูธรรมไดม ีแตชนนับไดเ ปนสิบพันยี่สบิ พนั การตรสั รูของคนเพยี งหน่งึ คน สองคน ไมจาํ เปน ตองนบั . ในกาลน้นั ศาสนาของพระผูมีพระภาคเจาทรงพระนามวา ทีปง กร แผไ ปกวางขวางชนรกู ันมากมาย ม่ังคง่ั แพรหลาย บรสิ ุทธผิ ดุ ผอ งพระผูไดอ ภญิ ญา ๖ มีฤทธมิ์ ากนบั ไดส ี่แสนหอมลอ มพระทปี ง กรผูทรงรแู จง โลกในกาลทุกเมื่อ ในสมัยนั้นใคร ๆ ก็ตามจะละภพมนษุ ยไ ป [ตาย] เขาเหลาน้นัมิไดบรรลุอรหตั ยังเปนเสขบคุ คลจะตอ งถกู เขาตาํ หนิตเิ ตยี น พระพทุ ธศาสนากบ็ านเบกิ ดวยพระอรหันตผู
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนาที่ 49คงที่ งามสงาอยใู นโลกพรอมท้ังเทวโลกดวยพระขีณาสพผปู ราศจากมลทิน นครชื่อรมั มวดี กษตั ริยทรงพระนามสุเมธ เปนพระชนก พระชนนีทรงพระนามวาสเุ มธา ของพระศาสดาทปี ง กร พระองคทรงครองเรอื นอยูห มนื่ ป มปี ราสาทอยางดที ี่สดุ อยูสามหลัง ช่อื รมั มะ สุรมั มะและสุภะ มเี หลานารีแตง ตวั สวยงามนับไดสามแสน มพี ระจอมนารีพระ-นามวา ยโสธรา มพี ระโอรสพระนามวา อสภุ ขันธะพระองคทรงเห็นนมิ ิต ๔ อยา ง เสด็จออกบวชดวยยานคอื ชา ง พระชนิ เจา ทรงต้งั ความเพยี รอยูไมหยอนกวา หมน่ื ป พระมุนที รงบาํ เพญ็ เพยี รทางใจไดตรัสรแู ลว พระมหาวีระทรงประกาศพระธรรมจกั รท่ปี า นันทวัน อันหนาแนน ไปดวยสริ ิ ไดทรงกระทาํการย่ํายีเดียรถียทีโ่ คนตนซกึ อนั นารน่ื รมย มพี ระอคั ร-สาวกคอื พระสมุ งั คละและพระตสิ สะ พระศาสดาทีปง กรมพี ระอุปฐากนามวา สาคระ มีพระอัครสาวกิ าคือ พระนางนันทาและพระนางสนุ นั ทา ตน ไมต รัสรูของพระผูม ีพระภาคเจา พระองคน ั้น เรียกกนั วาตนปป ผลิ พระมหามนุ ที ีป่ งกรมพี ระวรกายสูงได ๘๐ ศอกพญาไมสาละมดี อกบานสะพรง่ั เปน ตน ไมป ระจาํ ทรปีดงู าม พระผแู สวงหาพระคุณใหญน ัน้ มพี ระชนมายุไดแสนป พระองคท รงพระชนมอยูเ ทานัน้ ทรงใหเ หลาชนเปน อนั มากขา มถึงฝง [นิพพาน] พระ-
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย ชาดก เลม ๓ ภาค ๑ - หนา ที่ 50 องคพ รอ มท้ังพระสาวก ใหพ ระสทั ธธรรมสวางไสว แลว ใหม หาชนขามถึงฝง รงุ โรจนอยรู าวกะกองอคั คี ปรินพิ พานแลว . พระฤทธิ์ พระยศและจักรรตั นะท่ี พระบาทท้ังสอง ทุกอยางกอ็ ันตรธานไปหมด สงั ขาร ทง้ั หลายเปนของวา งเปลา ดังน้ี และหลังจากพระ- ทปี งกร กม็ พี ระนายกทรงพระนามวา โกณฑญั ญะ ทรงมีพระเดชหาท่ีสุดมิได ทรงมีพระยศนับไมได มี พระคณุ หาประมาณมิได ยากท่ใี ครจะตอกรได. ก็ในกาลตอ จากพระผูม ีพระภาคเจา ทปี ง กร ลว งมาไดห นง่ึ อสงไขยพระศาสดาทรงพระนามวา โกณฑญั ญะ เสด็จอบุ ตั ขิ ้ึนแลว แมก ารประชมุสาวกของพระองคกไ็ ดมสี ามครัง้ ในการประชุมครง้ั แรกมีสาวกแสนโกฏิ ในครั้งท่ีสองมีพันโกฏิ ในครง้ั ทีส่ ามมเี กา สิบโกฏิ ในกาลนั้น พระโพธสิ ัตวเ ปนพระเจา จักรพรรดทิ รงพระนามวา วชิ ิตาวี ไดถวายมหาทานแดพระภกิ ษุสงฆ มีพระพทุ ธเจาเปน ประมขุ นบั ไดแสนโกฏิ พระศาสดาทรงพยากรณพ ระโพธิสัตววาจักไดเปน พระพุทธเจา แลว ทรงแสดงธรรม เขาฟง ธรรมกถาของพระศาสดาแลวสละราชสมบัติออกบวช เขาเรียนพระไตรปฎก ทาํ สมบัติ ๘ และอภิญญา ๕ ใหเกิดขึ้นแลว มฌี านไมเ สื่อมไปเกิดในพรหมโลก. ก็สาํ หรบั พระโกณฑัญญพุทธเจา พระนครนามวา รัมมวดี กษตั รยิ พระนามวา อานันทะ เปน พระราชบิดา พระเทวพี ระนามวา สชุ าดา เปนพระราชมารดา พระภตั ทะและพระสุภัททะเปนพระอคั รสาวก พระพทุ ธอุป-ฐากนามวา อนรุ ุทธะ พระตสิ สาเถรแี ละพระอุปติสสาเถรี เปนพระอัครสาวิกาตนไมท ่ตี รัสรูช่ือ สาลกลั ยาณี [ตนขานาง] พระวรกายสูงได ๘๘ ศอกประมาณพระชนมายุไดแ สนป.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376