Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบัญชีชั้นสูง 1

การบัญชีชั้นสูง 1

Published by kitthanachon01, 2022-06-14 00:36:28

Description: การบัญชีชั้นสูง 1

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการบญั ชีชนั้ สงู 1 (Advanced Accounting 1) วนั วิสา เนื่องสมศรี คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี 2557

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการบญั ชีชนั้ สงู 1 (Advanced Accounting 1) วนั วิสา เนื่องสมศรี บช.ม. (บญั ชีมหาบณั ฑิต) คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี 2557

คำนำ เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าการบญั ชชี นั้ สงู 1 น้ี ไดแ้ บ่งเน้ือหาการเรยี นการสอน ไว้ 12 หวั เร่อื ง ประกอบดว้ ย นโยบายการบญั ชี การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี และ การแก้ไขข้อผดิ พลาดในงวดก่อน การบญั ชีฝากขาย การบญั ชขี ายผ่อนชาระ การบญั ชี อสังหาริมทรัพย์ การบัญชีสาหรบั สัญญาก่อสร้าง การบัญชีสาหรบั สัญญาเช่า การบัญชี สานกั งานใหญ่และสาขา การบญั ชสี าหรบั เงนิ ตราต่างประเทศ และการแปลงค่างบการเงนิ การ บญั ชสี าหรบั การปรบั โครงสรา้ งหน้ีทม่ี ปี ญั หา งบกระแสเงนิ สด งบการเงนิ ระหว่างกาล การบญั ชี สาหรบั กจิ การท่ดี าเนินธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุน หวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ ศกึ ษาและผสู้ นใจทวั่ ไป ขอขอบพระคุณ ผมู้ สี ่วนชว่ ยเหลอื สนบั สนุนให้เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ีสาเรจ็ ลง ด้วยดี ขอขอบพระคุณบิดา มารดา และอาจารย์ท่ีคอยช่วยเหลือและเป็ นกาลังใจ ขอขอบพระคุณ พ่ี น้อง เพ่อื น ผู้มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งทุกท่านท่ีไม่อาจกล่าวนามไดท้ งั้ หมด ท่ีเป็น กาลงั ใจในการทาเอกสารครงั้ น้มี าโดยตลอด หากท่านใดมขี อ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ทจ่ี ะนามาปรบั ปรุงเอกสารประกอบการสอนเล่มน้ี ใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ ต่อไป ผเู้ ขยี นยนิ ดนี ้อมรบั ฟงั และขอขอบคุณในความอนุเคราะหม์ า ณ โอกาสน้ีดว้ ย วันวิสา เน่ืองสมศรี ตุลาคม 2557

สารบญั คานา……………………………………………………………...…………………...…… หน้า สารบญั ……………………………………………………………………………………... (ก) สารบญั ภาพ……………………………………………..…………………………………. (ค) สารบญั ตาราง………………………………………………………………………..…….. (ฌ) แผนบรหิ ารการสอน.................................................................................................... (ฎ) (ฐ) แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 1.......................................................................... 1 บทที่ 1 นโยบายการบญั ชี การเปล่ียนแปลงประมาณการทางบญั ชี และ 3 การแก้ไขข้อผิดพลาดในงวดก่อน............................................................. 3 นโยบายการบญั ช…ี ………………………..................................................... 10 การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ช.ี ........................................................ 13 การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน.................................................................. 20 บทสรปุ ........................................................................................................ 21 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... 26 เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2.......................................................................... 27 บทที่ 2 การบญั ชีฝากขาย....................................................................................... 29 29 ความหมายของการขายและการฝากขาย....................................................... 30 ขอ้ แตกต่างระหว่างการขายกบั การฝากขาย................................................... ขนั้ ตอนการฝากขาย..................................................................................... 31 สญั ญาการฝากขาย....................................................................................... 32 สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผฝู้ ากขาย........................................................................ 35 สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผรู้ บั ฝากขาย.................................................................... 36 ประโยชน์ของการฝากขาย............................................................................ 39 วธิ กี ารบญั ชเี กย่ี วกบั การฝากขาย.................................................................. 41 การขายสนิ คา้ ฝากขายไดบ้ างส่วน................................................................. 63 การส่งคนื และการรบั คนื สนิ คา้ ฝากขาย.......................................................... 72

(ง) สารบญั (ต่อ) บทสรปุ ........................................................................................................ หน้า 73 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. 74 80 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3.......................................................................... 81 บทที่ 3 การบญั ชีขายผอ่ นชาระ.............................................................................. 83 83 ความหมายและลกั ษณะของการขายผ่อนชาระ............................................... 86 ความแตกต่างระหว่างการขายเช่อื กบั การขายผ่อนชาระ................................. 87 ประโยชน์ของการขายผ่อนชาระ.................................................................... 88 วธิ กี ารบญั ชเี กย่ี วกบั การขายผอ่ นชาระ.......................................................... 90 การบนั ทกึ บญั ชขี ายผ่อนชาระ....................................................................... 100 สนิ คา้ รบั แลกเปลย่ี น..................................................................................... 103 การผดิ สญั ญาและการยดึ คนื สนิ คา้ ................................................................. 106 การคานวณดอกเบย้ี จากการขายผ่อนชาระ.................................................... 112 บทสรปุ ........................................................................................................ 113 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... 118 เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 4.......................................................................... 119 บทท่ี 4 การบญั ชีอสงั หาริมทรพั ย.์ .......................................................................... 121 121 ความหมายและประเภทของอสงั หารมิ ทรพั ย.์ ................................................ 122 123 ตน้ ทุนการพฒั นาอสงั หารมิ ทรพั ย.์ ................................................................. 124 124 ลกั ษณะของธรุ กจิ อสงั หารมิ ทรพั ย.์ ................................................................ 134 การบญั ชขี องธรุ กจิ อสงั หารมิ ทรพั ย.์ .............................................................. 135 140 วธิ กี ารรบั รเู้ ป็นรายไดอ้ สงั หารมิ ทรพั ย.์ .......................................................... บทสรปุ ........................................................................................................ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... เอกสารอา้ งองิ ..............................................................................................

(จ) สารบญั (ต่อ) แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5.......................................................................... หน้า บทท่ี 5 การบญั ชีสญั ญาก่อสร้าง............................................................................ 141 143 ความหมายของสญั ญาก่อสรา้ ง...................................................................... 143 ลกั ษณะของสญั ญาก่อสรา้ ง……………………………………………………... 143 การรวมและการแยกสญั ญาก่อสรา้ ง……………………………………………. 144 องคป์ ระกอบของรายไดค้ ่าก่อสรา้ งและตน้ ทุนการก่อสรา้ ง.............................. 145 ประเภทของตน้ ทุนการก่อสรา้ ง..................................................................... 148 วธิ กี ารบญั ชเี กย่ี วกบั การรบั รรู้ ายไดค้ า่ ก่อสรา้ งและตน้ ทุนการก่อสรา้ ง............. 149 การเปิดเผยขอ้ มลู ในงบการเงนิ ..................................................................... 158 บทสรปุ ........................................................................................................ 159 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... 160 เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. 164 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6.......................................................................... 165 บทที่ 6 การบญั ชีสญั ญาเช่า.................................................................................... 167 167 ความหมายของสญั ญาเชา่ ............................................................................ 167 ลกั ษณะของสญั ญาเช่า.................................................................................. 168 169 ประโยชน์ของสญั ญาเช่า............................................................................... ประเภทสญั ญาเชา่ การเงนิ ............................................................................ 170 หลกั เกณฑก์ ารพจิ าณาสญั ญาเช่า.................................................................. วธิ กี ารบญั ชสี ญั ญาเช่าการเงนิ ....................................................................... 176 วธิ กี ารบญั ชสี ญั ญาเชา่ ดาเนินงาน.................................................................. การเปิดเผยขอ้ มลู สญั ญาเช่าในงบการเงนิ ...................................................... 190 การขายและเช่ากลบั คนื .......................................................................... บทสรปุ ........................................................................................................ 192 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. 194 203 204 208

(ฉ) สารบญั (ต่อ) แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 7.......................................................................... หน้า บทที่ 7 การบญั ชีสานักงานใหญ่และสาขา............................................................. 209 211 ความหมายของสานกั งานใหญ่และสาขา........................................................ 211 การบญั ชสี านกั งานใหญ่และสาขา.................................................................. 211 วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างบญั ชสี าหรบั สานกั งานใหญ่และสาขา......................................... 212 การบนั ทกึ บญั ชสี นิ ทรพั ยถ์ าวรของสาขา........................................................ 230 คา่ ขนสง่ สนิ คา้ จากสานกั งานใหญ่ไปสาขา..................................................... 232 บทสรปุ ........................................................................................................ 236 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... 237 เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. 244 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 8.......................................................................... 245 บทท่ี 8 อตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และการแปลงค่างบการเงิน......... 247 คานิยามศพั ทท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง.............................................................................. 247 การรายงานรายการทเ่ี ป็นเงนิ ตราต่างประเทศดว้ ยสกุลเงนิ ทใ่ี ชใ้ น 249 การดาเนนิ งาน....................................................................................... 262 การแปลงค่างบการเงนิ ของหน่วยงานต่างประเทศ.......................................... 266 267 การเปิดเผยขอ้ มลู ในงบการเงนิ ..................................................................... 268 บทสรปุ ........................................................................................................ 273 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 9.......................................................................... 275 บทที่ 9 การบญั ชีสาหรบั การปรบั โครงสร้างหนี้ท่ีมีปัญหา..................................... 277 277 คานยิ ามศพั ทท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง.............................................................................. 278 279 ลกั ษณะของการปรบั โครงสรา้ งหน้ี................................................................ 292 วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างบญั ชสี าหรบั การปรบั โครงสรา้ งหน้ีทม่ี ปี ญั หา............................. 294 การเปิดเผยขอ้ มลู ......................................................................................... บทสรปุ ........................................................................................................

(ช) สารบญั (ต่อ) แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... หน้า เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. 295 298 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 10........................................................................ 299 บทท่ี 10 งบกระแสเงินสด......................................................................................... 301 301 ความหมายของงบกระแสเงนิ สด................................................................... วตั ถุประสงคข์ องงบกระแสเงนิ สด.................................................................. 301 ประโยชน์ของขอ้ มลู กระแสเงนิ สด.................................................................. 302 องคป์ ระกอบของงบประแสเงนิ สด................................................................. 302 รายการทม่ี ใิ ช่เงนิ สด..................................................................................... รปู แบบการนาเสนองบกระแสเงนิ สด............................................................. 304 การจดั ทางบกระแสเงนิ สด............................................................................ 305 บทสรปุ ........................................................................................................ 306 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... 317 เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. 318 326 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 11........................................................................ 327 บทท่ี 11 งบการเงินระหว่างกาล............................................................................... 329 329 ความหมายของงบการเงนิ ระหวา่ งกาล.......................................................... 329 332 หลกั การบญั ชเี กย่ี วกบั การจดั ทางบการเงนิ ระหวา่ งกาล.................................. 333 การเปิดเผยขอ้ มลู ในงบการเงนิ ประจาปี......................................................... 335 การรบั รรู้ ายการและการวดั ค่า....................................................................... 362 ตวั อยา่ งงบการเงนิ ระหวา่ งกาล..................................................................... 363 บทสรปุ ........................................................................................................ 364 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... เอกสารอา้ งองิ ..............................................................................................

(ซ) สารบญั (ต่อ) แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 12....................................................................... หน้า บทท่ี 12 การบญั ชีสาหรบั กิจการท่ีดาเนินธรุ กิจเฉพาะด้านการลงทุน................. 365 367 ลกั ษณะและประเภทของกจิ การลงทุน........................................................... 367 วธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กจิ การลงทนุ .................................................................... 368 วธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กจิ การทม่ี สี ่วนไดเ้ สยี ในสนิ ทรพั ยส์ ุทธเิ ป็นหน่วยลงทุน...... 371 การรบั รรู้ ายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ย.......................................................................... 373 การนาเสนองบการเงนิ .................................................................................. 374 ตวั อยา่ งวธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กองทุนสารองเลย้ี งชพี ......................................... 375 บทสรปุ ........................................................................................................ 386 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท....................................................................................... 387 เอกสารอา้ งองิ .............................................................................................. 388 บรรณานุกรม........................................................................................................... 389

(ฌ) สารบญั ภาพ ภาพท่ี 1-1 ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสนิ คา้ คงเหลอื ...................................... หน้า ภาพท่ี 1-2 การเปลย่ี นแปลงทางการบญั ช.ี ............................................................ ภาพท่ี 2-1 แสดงขนั้ ตอนการฝากขาย................................................................... 9 ภาพท่ี 2-2 ตวั อยา่ งสญั ญาฝากขาย...................................................................... ภาพท่ี 2-3 ตวั อยา่ งการจดั ทารายงานการขาย...................................................... 19 ภาพท่ี 3-1 ตวั อยา่ งสญั ญาเชา่ ซอ้ื ......................................................................... 32 ภาพท่ี 6-1 หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาสญั ญาเชา่ การเงนิ ........................................... 34 ภาพท่ี 6-2 หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาสญั ญาเช่าการเงนิ เพมิ่ เตมิ .............................. 38 85 174 175

(ฎ) สารบญั ตาราง ตารางท่ี 1-1 แสดงการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน โดยวธิ ปี รบั ยอ้ นหลงั .............. หน้า ตารางท่ี 1-2 16 สรปุ วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชตี ามประเภทของการเปลย่ี นแปลง ตารางท่ี 2-1 ทางการบญั ช.ี ............................................................................ 19 ตารางท่ี 2-2 30 ตารางท่ี 3-1 สรปุ ขอ้ แตกต่างระหว่างการขายกบั การฝากขาย................................ 41 ตารางท่ี 3-2 ประโยชน์ของการฝากขาย................................................................ 87 ความแตกต่างระหวา่ งการขายเชอ่ื กบั การขายผ่อนชาระ.................... ตารางท่ี 6-1 มลู ค่าปจั จุบนั ของเงนิ งวด 1 บาทต่องวด เป็นเวลา n งวด 111 ตารางท่ี 6-2 169 (PVIFA i,n)................................................................................. ตารางท่ี 6-3 สรปุ ประโยชน์ของการเช่า................................................................. 189 ตารางท่ี 6-4 การรบั รรู้ ายการกาไร/ขาดทุนจากการใหเ้ ชา่ สนิ ทรพั ยต์ ามสญั ญาเช่า 202 ตารางท่ี 8-1 การเงนิ ดา้ นผใู้ หเ้ ช่า.................................................................... 202 ตารางท่ี 8-2 มลู คา่ ปจั จบุ นั ของเงนิ 1 บาท เมอ่ื สน้ิ งวดท่ี n (PVIF i,n)..................... 247 มลู คา่ ปจั จุบนั ของเงนิ งวด 1 บาทต่องวด เป็นเวลา n งวด ตารางท่ี 9-1 251 ตารางท่ี 9-2 (PVIFA i,n)................................................................................. 277 ตารางท่ี 9-3 คานยิ ามศพั ทท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง.................................................................. 293 การรบั รผู้ ลต่างของอตั ราแลกเปลย่ี นในการแปลงคา่ รายการทเ่ี ป็น 294 เงนิ ตราต่างประเทศ.................................................................... คานยิ ามศพั ทท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง.................................................................. มลู ค่าปจั จุบนั ของเงนิ 1 บาท เมอ่ื สน้ิ งวดท่ี n (PVIF i,n)..................... มลู ค่าปจั จบุ นั ของเงนิ งวด 1 บาทต่องวด เป็นเวลา n งวด (PVIFA i,n).................................................................................

(ฐ) แผนบริหารการสอนประจาวิชา รหสั วิชา AC20304 3(2-2-5) รายวิชา การบญั ชชี นั้ สงู 1 Advanced Accounting 1 คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษานโยบายการบญั ชี การเปล่ยี นแปลงประมาณการทางการบญั ชแี ละขอ้ ผดิ พลาด งบการเงนิ ระหว่างกาล การบญั ชสี าหรบั รายการทเ่ี ป็นเงนิ ตราต่างประเทศ และการแปลงค่างบ การเงนิ การบญั ชสี านกั งานใหญ่และสาขาทงั้ ในและต่างประเทศ สญั ญาก่อสรา้ ง ธุรกจิ ฝากขาย ธุรกิจขายผ่อนชาระ ธุรกิจให้เช่า ธุรกิจอสงั หารมิ ทรพั ย์ ธุรกิจด้านการลงทุน และการบญั ชี สาหรบั การปรบั โครงสรา้ งหน้ี และงบกระแสเงนิ สด วตั ถปุ ระสงคท์ วั่ ไป 1. เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั นโยบายการบญั ชี การเปลย่ี นแปลง ประมาณการทางบญั ชแี ละขอ้ ผดิ พลาด การบญั ชฝี ากขาย การบญั ชขี ายผ่อนชาระ การบญั ชี อสงั หารมิ ทรพั ย์ การบญั ชสี ญั ญาก่อสรา้ ง และการบญั ชสี ญั ญาเชา่ การเงนิ 2. เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การบญั ชสี านกั งานใหญ่และสาขาทงั้ ในและต่างประเทศ การบญั ชสี าหรบั เงนิ ตราต่างประเทศ และการแปลงค่างบการเงนิ การบญั ชี สาหรบั การปรบั โครงสรา้ งหน้ีทม่ี ปี ญั หา งบกระแสเงนิ สด งบการเงนิ ระหว่างกาล และการบญั ชี อสงั หารมิ ทรพั ยเ์ พอ่ื การลงทนุ 3. เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในคุณค่าแห่งวชิ าชพี มคี วามซ่อื สตั ย์ สุจรติ มี วนิ ยั และมจี ติ สานกึ และพฤตกิ รรมทค่ี านึงถงึ ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอยา่ ง มคี ุณธรรม 4. เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษามที กั ษะทางปญั ญา โดยสามารถประยกุ ตค์ วามรทู้ างการบญั ชแี ละ ดา้ นอ่นื ทส่ี มั พนั ธก์ นั ใหท้ กั ษะทางวชิ าชพี และดุลยพนิ ิจในการแก้ไขปญั หาในสถานการณ์ต่างๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ และสามารถตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ครบถว้ น 5. ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ โดยสามารถปฏบิ ตั งิ านและ รบั ผดิ ชอบงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมถงึ การมมี นุษยส์ มั พนั ธท์ ด่ี ี สามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

(ฑ) 6. ปญั หาทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตวั เลข และทกั ษะการส่อื สารและการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศโดยสามารถส่อื สารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทงั้ การพูดและการเขยี น รจู้ กั เลอื กใชร้ ปู แบบ การนาเสนอทเ่ี หมาะสมกบั ปญั หากบั กลุ่มผฟู้ งั ทแ่ี ตกต่างกนั เนื้อหา นโยบายการบญั ชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบญั ชี 4 ชวั่ โมง บทที่ 1 และการแก้ไขข้อผิดพลาด นโยบายการบญั ชี การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทท่ี 2 การบญั ชีฝากขาย 4 ชวั่ โมง ความหมายของการขายและการฝากขาย ขอ้ แตกต่างระหวา่ งการขายกบั การฝากขาย ขนั้ ตอนการฝากขาย สญั ญาการฝากขาย สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผฝู้ ากขายและผรู้ บั ฝากขาย ประโยชน์ของการฝากขาย วธิ กี ารบญั ชดี า้ นผรู้ บั ฝากขาย วธิ กี ารบญั ชดี า้ นผฝู้ ากขาย การขายสนิ คา้ ฝากขายไดบ้ างส่วน การส่งคนื และการรบั คนื สนิ คา้ ฝากขาย บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทที่ 3 การบญั ชีขายผอ่ นชาระ 8 ชวั่ โมง ความหมายและลกั ษณะของการขายผอ่ นชาระ ความแตกต่างระหว่างการขายเช่อื กบั การขายผอ่ นชาระ ประโยชน์ของการขายผอ่ นชาระ

วธิ กี ารบญั ชเี กย่ี วกบั การขายผ่อนชาระ (ฒ) การบนั ทกึ บญั ชขี ายผ่อนชาระ 4 ชวั่ โมง 4 ชวั่ โมง สนิ คา้ รบั แลกเปลย่ี น การผดิ สญั ญาและการยดึ คนื สนิ คา้ การคานวณดอกเบย้ี จากการขายผ่อนชาระ บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทที่ 4 การบญั ชีอสงั หาริมทรพั ย์ ความหมายและประเภทของอสงั หารมิ ทรพั ย์ ตน้ ทนุ การพฒั นาอสงั หารมิ ทรพั ย์ ลกั ษณะของธรุ กจิ อสงั หารมิ ทรพั ย์ การบญั ชขี องธรุ กจิ อสงั หารมิ ทรพั ย์ วธิ กี ารรบั รเู้ ป็นรายไดอ้ สงั หารมิ ทรพั ย์ บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทที่ 5 การบญั ชีสญั ญาก่อสรา้ ง ความหมายของสญั ญาก่อสรา้ ง ลกั ษณะของสญั ญาก่อสรา้ ง การรวมและการแยกสญั ญาก่อสรา้ ง องคป์ ระกอบของรายไดค้ ่าก่อสรา้ งและตน้ ทนุ การก่อสรา้ ง ประเภทของตน้ ทนุ การก่อสรา้ ง วธิ กี ารบญั ชเี กย่ี วกบั การรบั รรู้ ายไดค้ ่าก่อสรา้ งและ ตน้ ทุนการก่อสรา้ ง การเปิดเผยขอ้ มลู ในงบการเงนิ บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ

(ณ) บทที่ 6 การบญั ชีสญั ญาเช่า 8 ชวั่ โมง ความหมายของสญั ญาเชา่ ลกั ษณะของสญั ญาเชา่ ประโยชน์ของสญั ญาเช่า ประเภทสญั ญาเช่าการเงนิ หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาสญั ญาเชา่ วธิ กี ารบญั ชสี ญั ญาเช่าการเงนิ วธิ กี ารบญั ชสี ญั ญาเช่าดาเนินงาน การเปิดเผยขอ้ มลู สญั ญาเช่าในงบการเงนิ การขายและเชา่ กลบั คนื บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทที่ 7 การบญั ชีสานักงานใหญ่และสาขา 8 ชวั่ โมง ความหมายของสานกั งานใหญ่และสาขา การบญั ชสี านักงานใหญ่และสาขา วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างบญั ชสี าหรบั สานกั งานใหญ่และสาขา การบนั ทกึ บญั ชสี นิ ทรพั ยถ์ าวรของสาขา คา่ ขนส่งสนิ คา้ จากสานกั งานใหญ่ไปสาขา บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทท่ี 8 อตั ราแลกเปล่ียนเงินตราต่างประเทศ และการแปลงค่างบ 8 ชวั่ โมง การเงิน คานยิ ามศพั ทท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง การรายงานรายการทเ่ี ป็นเงนิ ตราต่างประเทศดว้ ยสกุลเงนิ ทใ่ี ชใ้ น การดาเนินงาน การแปลงค่างบการเงนิ ของหน่วยงานต่างประเทศ การเปิดเผยขอ้ มลู ในงบการเงนิ บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท

เอกสารอา้ งองิ (ด) 4 ชวั่ โมง บทที่ 9 การบญั ชีสาหรบั การปรบั โครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา 4 ชวั่ โมง คานยิ ามศพั ทท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง ลกั ษณะของการปรบั โครงสรา้ งหน้ี 4 ชวั่ โมง วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างบญั ชสี าหรบั การปรบั โครงสรา้ งหน้ีทม่ี ปี ญั หา การเปิดเผยขอ้ มลู บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทท่ี 10 งบกระแสเงินสด ความหมายของงบกระแสเงนิ สด วตั ถุประสงคข์ องงบกระแสเงนิ สด ประโยชน์ของขอ้ มลู กระแสเงนิ สด องคป์ ระกอบของงบประแสเงนิ สด รายการทม่ี ใิ ชเ่ งนิ สด รปู แบบการนาเสนองบกระแสเงนิ สด การจดั ทางบกระแสเงนิ สด บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทที่ 11 งบการเงินระหว่างกาล ความหมายของงบการเงนิ ระหวา่ งกาล หลกั การบญั ชเี ก่ยี วกบั การจดั ทางบการเงนิ ระหวา่ งกาล การเปิดเผยขอ้ มลู ในงบการเงนิ ประจาปี การรบั รรู้ ายการและการวดั คา่ ตวั อยา่ งงบการเงนิ ระหวา่ งกาล บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ

บทที่ 12 การบญั ชีสาหรบั กิจการที่ดาเนินธรุ กิจเฉพาะด้านการลงทนุ (ต) ลกั ษณะและประเภทของกจิ การลงทุน 4 ชวั่ โมง วธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กจิ การลงทุน วธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กจิ การทม่ี สี ่วนไดเ้ สยี ในสนิ ทรพั ยส์ ุทธเิ ป็น หน่วยลงทนุ การรบั รรู้ ายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย การนาเสนองบการเงนิ ตวั อยา่ งวธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กองทนุ สารองเลย้ี งชพี บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ วิธีสอนและกิจกรรม 1. บรรยาย/อภปิ รายพรอ้ มยกตวั อยา่ ง 2. การคน้ ควา้ หาความรจู้ ากแหล่งขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3. ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและแหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ 4. ทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท ส่ือการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน วชิ าการบญั ชชี นั้ สงู 1 2. ชุดการสอน PowerPoint ประจารายวชิ า 3. แหลง่ เวบ็ ไซตท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งจากสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 4. แหล่งความรจู้ ากวารสารและหนงั สอื พมิ พต์ ่าง ๆ การวดั ผลและประเมินผล การวดั ผล 1. คะแนนระหว่างภาคเรยี น 1.1 แบบฝึกหดั 10 คะแนน 1.2 การเขา้ ชนั้ เรยี นและการมสี ว่ นรว่ ม 10 คะแนน 1.3 สอบเกบ็ คะแนนระหว่างภาค 40 คะแนน 60 คะแนน 2. คะแนนสอบปลายภาค 40 คะแนน 100 คะแนน รวม

(ถ) การประเมินผล 80 – 100 ไดเ้ กรดระดบั A คะแนนระหว่าง 75 – 79 ไดเ้ กรดระดบั B+ คะแนนระหว่าง 70 – 74 ไดเ้ กรดระดบั B คะแนนระหว่าง 65 – 69 ไดเ้ กรดระดบั C+ คะแนนระหว่าง 60 – 64 ไดเ้ กรดระดบั C คะแนนระหวา่ ง 55 – 59 ไดเ้ กรดระดบั D+ 50 – 54 ไดเ้ กรดระดบั D คะแนนระหวา่ ง 0 – 49 ไดเ้ กรดระดบั F คะแนนระหว่าง คะแนนระหวา่ ง

1 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 1 นโยบายการบญั ชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบญั ชี และการแก้ไขข้อผิดพลาดในงวดก่อน หวั ข้อเนื้อหาประจาบท 1. นโยบายการบญั ชี 2. การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี 3. การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน 4. บทสรปุ 5. แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 6. เอกสารอา้ งองิ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายความหมาย เหตุผล และวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชี ของการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชไี ด้ 2. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายความหมาย เหตุผล และวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชี ของการเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชไี ด้ 3. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายความหมาย เหตุผล และวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชี ของการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อนได้ 4. สามารถเปิดเผยรายการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี การเปลย่ี นแปลง ประมาณการทางบญั ชี และแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในหมายเหตุประกอบงบการเงนิ ได้ วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. อธบิ าย/อภปิ รายพรอ้ มยกตวั อยา่ ง 2. การคน้ ควา้ หาความรจู้ ากสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3. ศกึ ษาคน้ ควา้ หาความเพมิ่ เตมิ ในศูนยว์ ทิ ยบรกิ ารและแหลง่ ขอ้ มลู อ่นื ๆ 4. ทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท บทท่ี 1

2 สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง นโยบายการบญั ชี การเปลย่ี นแปลงประมาณการ ทางบญั ชี และการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน (วนั วสิ า เน่อื งสมศร,ี 2557 : 1-26) 2. ชดุ การสอน Power Point ประจาบท 3. แหล่งเวบ็ ไซตท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งจากสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 4. มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 8 (ปรบั ปรงุ 2557) เรอ่ื ง นโยบายการบญั ชี การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี และขอ้ ผดิ พลาด การวดั ผลและการประเมินผล 1. สอบถามเพ่อื ประเมนิ ความเขา้ ใจในเน้อื หา และทาแบบฝึกหดั ในชนั้ เรยี น 2. มอบหมายแบบฝึกหดั เป็นการบา้ น 3. ตรวจสอบการทาแบบฝึกหดั ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย บทท่ี 1

3 บทที่ 1 นโยบายการบญั ชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบญั ชี และการแก้ไขข้อผิดพลาดในงวดก่อน การเปลย่ี นแปลงทางการบญั ชี ประกอบดว้ ย การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี การ เปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี และขอ้ ผดิ พลาด ซง่ึ ในเน้ือหาบทน้ีจะกล่าวถงึ ความหมาย และวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชี ตลอดจนการเปิดเผยรายการในหมายเหตุประกอบงบการเงนิ โดย อ้างอิงตามมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 8 (ปรับปรุง 2557) เร่ือง นโยบายการบัญชี การ เปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี และขอ้ ผดิ พลาด นโยบายการบญั ชี 1. ความหมายของนโยบายการบญั ชี ตามมาตรฐานการบญั ชีฉบับท่ี 8 (ปรบั ปรุง 2557) เร่อื ง นโยบายการบญั ชี การ เปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี และขอ้ ผดิ พลาด ไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ ่า นโยบายการบญั ชี หมายถงึ หลกั การ หลกั เกณฑ์ ประเพณีปฏบิ ตั ิ กฎและวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี ฉพาะท่กี จิ การนามาใชใ้ น การจดั ทาและนาเสนองบการเงนิ เช่น เกณฑท์ ่ใี ช้ในการตรี าคาทุนของสนิ ค้าคงเหลอื วธิ กี าร รบั รรู้ ายได้ และวธิ กี ารตงั้ ค่าเผอ่ื หน้สี งสยั จะสญู 2. การเลือกใช้และการปฏิบตั ิตามนโยบายการบญั ชี เมอ่ื การกาหนดนโยบายการบญั ชตี อ้ งเป็นไปตามหลกั การ หลกั เกณฑ์ หรอื เป็นวธิ ี ปฏบิ ตั เิ ฉพาะกจิ การนนั้ ๆ จงึ ตอ้ งมกี ารเลอื กใชแ้ ละการปฏบิ ตั ติ ามนโยบายการบญั ชี มดี งั น้ี 2.1 เมอ่ื กจิ การนามาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ไปถอื ปฏบิ ตั เิ ป็นการเฉพาะ กบั รายการเหตุการณ์อ่นื หรอื สถานการณ์ทางบญั ชี นโยบายการบญั ชหี รอื วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างบญั ชที ่ี นามาใช้ปฏบิ ตั กิ บั รายการดงั กล่าวต้องเป็นไปตามข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทาง การเงนิ สาหรบั เรอ่ื งนนั้ 2.2 ในกรณีไม่มมี าตรฐานการรายงานทางการเงนิ โดยเฉพาะสาหรบั รายการ เหตุการณ์อ่นื หรอื สถานการณ์ ฝ่ายบรหิ ารต้องใชด้ ุลยพนิ ิจในการเลอื กใช้นโยบายการบญั ชที ่ี ส่งผลใหข้ อ้ มลู ในงบการเงนิ มลี กั ษณะดงั ต่อไปน้ี บทท่ี 1

4 2.2.1 มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั การตดั สนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ของผใู้ ชง้ บการเงนิ 2.2.2 มคี วามน่าเชอ่ื ถอื โดยทาใหง้ บการเงนิ ของกจิ การ 2.2.2.1 แสดงฐานะการเงนิ ผลการดาเนินงาน และกระแสเงนิ สดของ กจิ การอยา่ งเทย่ี งธรรม 2.2.2.2 สะทอ้ นเน้อื หาเชงิ เศรษฐกจิ ของรายการ เหตุการณ์อ่นื และ สถานการณ์โดยไมค่ านึงถงึ รปู แบบทางกฎหมาย 2.2.2.3 มคี วามเป็นกลาง กล่าวคอื ปราศจากความลาเอยี ง 2.2.2.4 จดั ทาขน้ึ ตามหลกั ความระมดั ระวงั และ 2.2.2.5 มคี วามครบถว้ นในทกุ ส่วนทม่ี สี าระสาคญั 3. ความสมา่ เสมอของนโยบายการบญั ชี กจิ การตอ้ งเลอื กใชแ้ ละนานโยบายการบญั ชมี าถอื ปฏบิ ตั อิ ย่างสม่าเสมอกบั รายการคา้ เหตุการณ์และสถานการณ์อ่นื ทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั เวน้ แต่มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ไดก้ าหนดหรอื อนุญาตเป็นการเฉพาะใหใ้ ชน้ โยบายการบญั ชที แ่ี ตกต่างกนั ไดส้ าหรบั รายการแต่ ละประเภท ทงั้ น้ีเพ่อื ใหง้ บการเงนิ เปรยี บเทยี บกนั ได้ 4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบญั ชี ขวญั สกุล เต็งอานวย, (2553 : 8-3) ได้ให้ความหมายไวว้ ่า การเปล่ยี นแปลง นโยบายการบญั ชี หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชที ใ่ี ชอ้ ยา่ งหน่ึงในงวดบญั ชหี น่ึง ไปใช้นโยบายการบญั ชอี กี อย่างหน่ึงในอกี งวดบญั ชหี น่ึง เช่น งวดบญั ชกี ่อนกจิ การตรี าคาทุน ของสนิ คา้ คงเหลอื ด้วยวธิ เี ข้าก่อนออกก่อน แต่งวดบญั ชปี จั จุบนั กจิ การตรี าคาทุนของสนิ ค้า คงเหลอื ดว้ ยวธิ ถี วั เฉลย่ี ถ่วงน้าหนัก การเปลย่ี นแปลงวธิ คี ดิ ค่าเส่อื มราคาจากวธิ เี สน้ ตรงเป็นวธิ ี ผลรวมจานวนปี เป็นตน้ 5. เหตผุ ลของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบญั ชี ž กจิ การอาจตอ้ งเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี ถา้ การเปลย่ี นแปลงนนั้ เกดิ จากเงอ่ื นไข ขอ้ ใดขอ้ หน่งึ ดงั น้ี 5.1 เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงของขอ้ กาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ถอื ว่าเป็นการถูกบงั คบั จากภายนอกกจิ การ (Mandatory Changes in Accounting Policy) เพ่อื ใหไ้ ปตามขอ้ กาหนดใหม่ บทท่ี 1

5 5.2 ผบู้ รหิ ารเปลย่ี นเพ่อื ทาใหง้ บการเงนิ ใหข้ อ้ มลู ทน่ี ่าเช่อื ถอื และเกย่ี วขอ้ งกบั การตดั สนิ ใจมากขน้ึ ในส่วนผลกระทบของรายการ เหตุการณ์อ่นื หรอื สถานการณ์ ทม่ี ตี ่อฐานะ การเงนิ ผลการดาเนินงาน และกระแสเงนิ สดของกจิ การ ถอื เป็นการเปล่ยี นแปลงโดยสมคั รใจ ของผบู้ รหิ าร (Voluntary Changes in Accounting Policy) 6. วิธีปฏิบตั ิเมื่อมกี ารเปลี่ยนแปลงนโยบายการบญั ชี เมอ่ื มเี หตุผลทต่ี อ้ งทาใหก้ จิ การตอ้ งเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี ไมว่ า่ จะถกู บงั คบั จากภายนอกกจิ การ หรอื โดยสมคั รใจ จะมวี ธิ ปี ฏบิ ตั เิ มอ่ื มกี ารเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี แบ่งได้ 2 วธิ ี คอื (ปรบั ปรงุ จากขวญั สกุล เตง็ อานวย, 2553 : 8-4 ถงึ 8-5) ž 6.1 วธิ ปี รบั ยอ้ นหลงั (Retrospective Approach) มลี กั ษณะการรบั รผู้ ลกระทบ การเปลย่ี นแปลงโดยนานโยบายการบญั ชใี หมม่ าถอื ปฏบิ ตั ิ ซง่ึ กจิ การตอ้ งปรบั งบการเงนิ ทน่ี ามาเปรยี บเทยี บกบั ปีปจั จบุ นั ยอ้ นหลงั โดยเสมอื นหน่งึ ขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อนไมเ่ คยเกดิ ขน้ึ 6.2 วธิ เี ปลย่ี นทนั ทเี ป็นต้นไป (Prospective Approach) หากกจิ การไม่สามารถ ระบผุ ลกระทบสะสมทเ่ี กดิ ขน้ึ ณ วนั ตน้ งวดบญั ชปี จั จบุ นั จากการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี ของงวดก่อนๆ ได้ในทางปฏิบตั ิ กิจการต้องปรบั ปรุงข้อมูลเปรยี บเทียบเพ่ือแสดงถึงการ เปล่ยี นแปลงนโยบายการบญั ชโี ดยใช้วธิ เี ปล่ยี นทนั ทเี ป็นต้นไป นับจากวนั แรกสุดท่สี ามารถ ปฏบิ ตั ไิ ด้ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ เก่ยี วกบั การเปลย่ี นแปลงนโยบายการ บญั ชี จะขอยกตวั อย่างเก่ยี วกบั การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี ดงั แสดงในตวั อย่างท่ี 1-1 ดงั น้ี ตวั อย่างที่ 1-1 บรษิ ทั อุดรการค้าไทย จากดั ใช้วธิ เี ขา้ ก่อนออกก่อนในการตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื มา ตัง้ แต่เร่มิ กิจการในปี 25x1 ต่อมา ต้นปี 25x2 บริษัทตัดสินใจเปล่ียนวิธีการตีราคาสินค้า คงเหลอื เป็นวธิ ถี วั เฉลย่ี ถ่วงน้าหนกั ขอ้ มลู มลู คา่ สนิ คา้ คงเหลอื ณ วนั สน้ิ งวด มดี งั น้ี ปี วิธีเข้าก่อนออกก่อน (บาท) วิธีถวั เฉล่ียถ่วงน้าหนัก (บาท) 25x1 800,000 680,000 25x2 900,000 750,000 บทท่ี 1

6 งบแสดงฐานะการเงนิ (บางสว่ น) ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 มดี งั น้ี บริษทั อดุ รการค้าไทย จากดั หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน) xx ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 xx 800,000 สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น:- เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด ลกู หน้กี ารคา้ สนิ คา้ คงเหลอื – เขา้ ก่อนออกก่อน จากขอ้ มลู ของบรษิ ทั อุดรการคา้ ไทย จากดั สามารถแสดงรายการเปลย่ี นแปลง นโยบายการบญั ชตี ามขนั้ ตอน แยกพจิ ารณาไดด้ งั น้ี กรณีไม่มีผลกระทบทางภาษี: ž 1. สนิ คา้ คงเหลอื ณ วนั ท่ี 1 มกราคม 25x2 ตามวธิ ถี วั เฉลย่ี ถ่วงน้าหนกั จะมี ยอดลดลงจานวน 120,000 บาท = (800,000 – 680,000) ž 2. บนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ ณ 1 มกราคม 25x2 ž สมดุ รายวนั ทวั่ ไป พ.ศ. 25x2 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 1 ผลสะสมของการเปลย่ี นแปลง- 120,000 - 120,000 - วธิ กี ารตรี าคาสนิ คา้ คงเหลอื สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวด ปรบั ปรงุ สนิ คา้ คงเหลอื ตามการ เปลย่ี นแปลงวธิ กี ารตรี าคาสนิ คา้ คงเหลอื บทท่ี 1

7 กรณีมีผลกระทบทางภาษี: 1. สนิ คา้ คงเหลอื ณ วนั ท่ี 1 มกราคม 25x2 ตามวธิ ถี วั เฉลย่ี ถ่วงน้าหนกั จะมยี อด ลดลงจานวน 120,000 บาท = (800,000 – 680,000) 2. บนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ ณ 1 มกราคม 25x2 ž ž สมดุ รายวนั ทวั่ ไป พ.ศ. 25x2 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ บญั ชี บาท สต. บาท สต. เดอื น วนั ท่ี ม.ค. 1 ผลสะสมของการเปลย่ี นแปลง- 96,000 - วธิ กี ารตรี าคาสนิ คา้ คงเหลอื สนิ ทรพั ยภ์ าษเี งนิ ได้ *24,000 - สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวด 120,000 - ปรบั ปรงุ สนิ คา้ คงเหลอื ตามการ เปลย่ี นแปลงวธิ กี ารตรี าคา สนิ คา้ คงเหลอื *120,000 x 20% = 24,000 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ สามารถจดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ (บางส่วน) ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 และ 25x1 ไดด้ งั น้ี บริษทั อดุ รการค้าไทย จากดั งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน) ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 และ 25x1 25x2 หน่วย : บาท 25x1 สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น:- xx เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด xx (หลงั ปรบั ปรงุ ) ลกู หน้กี ารคา้ 750,000 สนิ คา้ คงเหลอื – ถวั เฉลย่ี ถ่วงน้าหนกั xx xx 680,000 บทท่ี 1

8 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ สามารถจดั ทางบกาไรขาดทุนและกาไรสะสม สาหรบั ปี สน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 และ 25x1 ไดด้ งั น้ี บริษทั อดุ รการค้าไทย จากดั งบกาไรขาดทุนและกาไรสะสม สาหรบั ปี สิ้นสดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x2 และ 25x1 หน่วย : บาท 25x2 25x1 รายไดจ้ ากการขาย (หลงั ปรบั ปรงุ ) หกั ตน้ ทุนขาย: 8,000,000 6,000,000 สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวด 680,000 - บวก ซอ้ื สุทธิ 3,000,000 2,500,000 สนิ คา้ ทม่ี ไี วเ้ พ่อื ขาย 3,680,000 2,500,000 หกั สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวด ตน้ ทนุ ขาย 750,000 680,000 กาไรขนั้ ตน้ 2,930,000 1,820,000 หกั คา่ ใชจ้ า่ ยการขายและบรหิ าร 5,070,000 4,180,000 กาไร (ขาดทนุ ) ก่อนตน้ ทุนการเงนิ และภาษเี งนิ ได้ 1,270,000 1,000,000 หกั ตน้ ทุนการเงนิ 3,800,000 3,180,000 กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษเี งนิ ได้ 640,000 600,000 หกั ภาษเี งนิ ได้ (20%) 3,160,000 2,580,000 กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บวก กาไรสะสมตน้ งวด 632,000 516,000 2,528,000 2,064,000 กาไรสะสมตน้ งวดก่อนปรบั ปรงุ หกั ผลสะสมของการเปลย่ี นแปลงวธิ ตี รี าคาสนิ คา้ *2,160,000 - 96,000 - คงเหลอื กาไรสะสมตน้ งวดหลงั การปรบั ปรงุ 2,064,000 - กาไรสะสมปลายงวด 4,592,000 2,064,000 *สมมติ กาไรสุทธปิ ระจาปี 25x1 ก่อนการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี บทท่ี 1

9 หมายเหตุ : คาอธบิ ายการคานวณปี 25x1 1. ปี 25x1 สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวดสงู ไป 120,000 บาท 3. (ตน้ ทนุ ขาย = สนิ คา้ ตน้ งวด + ซอ้ื – สนิ คา้ ปลายงวด) 2. กาไรสุทธปิ ี 25x1 ทค่ี วรจะเป็นคอื 2,064,000 บาท (2,160,000 – 96,000) : สมมตมิ ผี ลกระทบทางภาษี สามารถนามาแสดงการผลกระทบจากเปลย่ี นแปลงสนิ คา้ คงเหลอื ดงั แสดงในภาพท่ี 1-1 ดงั น้ี สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ ทนุ ขาย กาไรสทุ ธิ กาไรสะสม ปลายงวดลดลง สงู ขน้ึ ลดลง ลดลง งลง ต่าลง ภาพท่ี 1-1 ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสนิ คา้ คงเหลอื 7. การเปิ ดเผยข้อมลู ของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบญั ชี การเปิดเผยขอ้ มลู ของการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี เม่อื กจิ การเรม่ิ นามาตรฐาน การรายงานทางการเงนิ มาปฏบิ ตั ทิ าใหเ้ กดิ ผลกระทบต่องวดบญั ชปี จั จุบนั หรอื งวดบญั ชกี ่อน หากกจิ การไม่สามารถระบุจานวนเงนิ ของการปรบั ปรงุ ผลกระทบนัน้ หากผลกระทบนนั้ มผี ลต่อ งวดบญั ชใี นอนาคต กจิ การตอ้ งเปิดเผยขอ้ มลู ทกุ ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี ž 7.1 ช่อื มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั ทน่ี ามาถอื ปฏบิ ตั ิ 7.2 การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชเี ป็นการปฏบิ ตั ติ ามทก่ี าหนดไวใ้ นวธิ ี ปฏบิ ตั ใิ นช่วงเปลย่ี นแปลง ž 7.3 ลกั ษณะของการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี ž 7.4 คาอธบิ ายเกย่ี วกบั ขอ้ กาหนดในช่วงทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลง ž 7.5 ขอ้ กาหนดในชว่ งทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลง ซง่ึ อาจมผี ลกระทบในงวดต่อไป ž 7.6 จานวนเงนิ ของรายการปรบั ปรงุ ทม่ี ผี ลกระทบต่อรายการแต่ละบรรทดั ในงบ การเงนิ ท่ไี ด้รบั ผลกระทบ และกาไรต่อหุ้นขนั้ พ้นื ฐานและกาไรต่อหุ้นปรบั ลดหากกจิ การต้อง ปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐาน 7.7 จานวนเงนิ ของรายการปรบั งบการเงนิ งวดก่อนแต่ละงวดทน่ี าเสนอ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและชัดเจนมากย่ิงข้ึนเก่ียวกับการเปิดเผยข้อมูลการ เปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี จะขอยกตวั อยา่ งเกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี ดงั แสดงในตวั อยา่ งท่ี 1-2 ดงั น้ี บทท่ี 1

10 ตวั อย่างที่ 1-2 จากขอ้ มลู ตวั อยา่ งท่ี 1-1 ของบรษิ ทั อุดรการคา้ ไทย จากดั สามารถแสดงการเปิดเผย ขอ้ มลู ของการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี ไดด้ งั น้ี บริษทั อดุ รการค้าไทย จากดั หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน (บางส่วน) สาหรบั ปี สิ้นสดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 และ 25x1 4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบญั ชี ในปี 25x2 บรษิ ทั เปลย่ี นวธิ คี านวณราคาทุนของสนิ ค้าคงเหลอื จากวธิ เี ขา้ ก่อน-ออก ก่อน เป็นวธิ ถี วั เฉลย่ี ถ่วงน้าหนัก เน่ืองจากเป็นการแสดงผลการดาเนินงานทเ่ี หมาะสมกว่า ใน การน้ี บรษิ ทั ไดป้ รบั ปรงุ ผลของการเปลย่ี นแปลงทางบญั ชดี งั กลา่ วยอ้ นหลงั เป็นผลใหก้ าไรสุทธิ สาหรบั ปี 25x2 เพม่ิ ขน้ึ จานวน 96,0000 บาท กาไรสุทธขิ องปี 25x1 ทแ่ี สดงเปรยี บเทยี บไว้ ณ ทน่ี ้ลี ดลงจานวน 96,000 บาท สว่ นกาไรสะสม ณ วนั ตน้ ปี 25x2 ลดลง จานวน 96,000 บาท การเปล่ียนแปลงประมาณการทางบญั ชี 1. ความหมายของการประมาณการทางบญั ชี การประมาณการทางบญั ชี หมายถงึ ผลของการคาดคะเนเกย่ี วกบั ขอ้ มลู ทางการบญั ชี หรอื รายการบญั ชี เน่ืองจากความไม่แน่นอนในการดาเนินธุรกจิ โดยต้องอาศยั ดุลยพนิ ิจของ ผบู้ รหิ าร ซง่ึ อยบู่ นพน้ื ฐานของขอ้ มลู ล่าสดุ ทน่ี ่าเชอ่ื ถอื 2. ความหมายการเปล่ียนแปลงประมาณการทางบญั ชี นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และคณะ (2554: 5-3) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การ เปล่ยี นแปลงประมาณการทางบญั ชี หมายถึง การทบทวนจานวนท่ปี ระมาณการไว้เดิมให้ แตกต่างไป เพ่อื ให้ประมาณการใหม่ใกล้เคยี งกับความจรงิ หรอื เหมาะสมมากข้นึ ตวั อย่าง เปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี เช่น การประมาณการหน้ีสงสยั จะสญู หรอื ค่าเผ่อื หน้ีสงสยั จะสญู การประมาณการผลขาดทุนจากสนิ คา้ เส่อื มสภาพหรอื ลา้ สมยั การประมาณการอายกุ าร ใหป้ ระโยชน์ หรอื รปู แบบการใชป้ ระโยชน์และมลู คา่ คงเหลอื ของสนิ ทรพั ยท์ เ่ี สอ่ื มคา่ ได้ เป็นตน้ บทท่ี 1

11 3. เหตผุ ลของการเปล่ียนแปลงประมาณการทางบญั ชี ž กจิ การอาจตอ้ งทบทวนการประมาณการทางบญั ชที ม่ี อี ยเู่ ดมิ และอาจมกี าร เปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี อาจเน่อื งมาจากสาเหตุดงั ต่อไปน้ี 3.1 เน่ืองจากความไม่แน่นอนท่ีเกิดข้ึนในการดาเนินธุรกิจ ซ่ึงมีผลทาให้ สถานการณ์ทใ่ี ชเ้ ป็นเกณฑก์ ารประมาณการทางบญั ชใี นอดตี ไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป 3.2 เน่อื งจากการไดร้ บั ขอ้ มลู ใหมห่ รอื ประสบการณ์เพมิ่ เตมิ จากเดมิ จงึ ทาให้ การประมาณการทางบญั ชใี นอดตี เปลย่ี นแปลงไป 4. วิธีปฏิบตั ิเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบญั ชี วธิ ปี ฏบิ ตั ิ เม่อื มกี ารเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี ทาไดโ้ ดยวธิ เี ปลย่ี นทนั ทเี ป็น ตน้ ไป โดยทเ่ี ป็นการรบั รผู้ ลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชใี นงวดปจั จุบนั และงวดอนาคตทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงไดท้ นั ที เ พ่ือ ใ ห้ เ กิด ค ว า ม เ ข้า ใ จ แ ล ะ ชัด เ จ น ม า ก ย่ิง ข้ึน เ ก่ีย ว กับ ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้อ มู ล ก า ร เปล่ยี นแปลงประมาณการทางบญั ชี จะขอยกตวั อย่างเก่ยี วกบั การเปล่ยี นแปลงประมาณการ ทางการบญั ชี ดงั แสดงในตวั อยา่ งท่ี 1-3 ดงั น้ี ตวั อย่างที่ 1-3 บรษิ ทั ราเชน จากดั ซอ้ื อุปกรณ์เมอ่ื วนั ท่ี 1 มกราคม 25x1 ราคา 800,000 บาท คาด ว่าอายุการให้ประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ 10 ปี ไม่มมี ูลค่าคงเหลอื คดิ ค่าเส่อื มราคาวธิ เี ส้นตรง จนถึงปี 25x3 (ใช้งานไปแล้ว 3 ปี) ต่อมาในวนั ท่ี 1 มกราคม 25x4 (ปีท่ี 4 ของการใช้งาน) บรษิ ทั คาดวา่ อายกุ ารใหป้ ระโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ เหลอื เพยี ง 5 ปี จากขอ้ มลู ขา้ งต้น สามารถนามาแสดงการคานวณ และบนั ทกึ รายการปรบั ปรุงบญั ชี ไดด้ งั น้ี 1. การเปล่ียนแปลงอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของอุปกรณ์เป็นการ เปล่ยี นแปลงทางการบญั ชี ประเภท “การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบญั ชีโดยใช้วิธี เปลี่ยนทนั ทีเป็นต้นไป” บทท่ี 1

12 2. บนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ บญั ชเี กย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงทางบญั ชตี ามขอ้ 1. ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x4 ในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป ไดด้ งั น้ี การคานวณประกอบ ราคาทนุ ของอุปกรณ์ ณ วนั ท่ี 1 ม.ค. 25x1 800,000 บาท หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสมปี 25x1 – ปี 25x3 จานวน 3 ปี 240,000 บาท 560,000 บาท 800,000 0 = 80,000 บาท / ปี 10 มลู ค่าตามบญั ชขี องอุปกรณ์โรงงาน ณ วนั ท่ี 1 ม.ค. 25x4 ดงั นนั้ คา่ เส่อื มราคาปี 25x4 – ปี 25x8 จานวน 5 ปี 560,000 0 = 112,000 บาท / ปี 5 สามารถบนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ ในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป ไดด้ งั น้ี สมดุ รายวนั ทวั่ ไป พ.ศ. 25x4 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ธ.ค. 31 ค่าเสอ่ื มราคา – อุปกรณ์ 112,000 - 112,000 - คา่ เสอ่ื มราคาสะสม – อุปกรณ์ ปรบั ปรงุ ค่าเส่อื มราคาอุปกรณ์ 5. การเปิ ดเผยข้อมลู การเปล่ียนแปลงประมาณการทางบญั ชี การเปิดเผยขอ้ มลู การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี เป็นการจดั ทาหลงั จากไดม้ ี ปรบั ปรงุ รายการเปลย่ี นแปลงประมาณดงั กลา่ ว ประกอบดว้ ย 5.1 กจิ การตอ้ งเปิดเผยขอ้ มลู เกย่ี วกบั ลกั ษณะและจานวนเงนิ ของการเปลย่ี นแปลง ประมาณการทางบญั ชที ่มี ผี ลกระทบต่องบการเงนิ สาหรบั งวดบญั ชปี จั จุบนั หรอื คาดว่าจะมี ผลกระทบต่องวดในอนาคต 5.2 หากกิจการไม่สามารถประมาณจานวนเงนิ ของผลกระทบได้ กิจการต้อง เปิดเผยขอ้ มลู ขอ้ เทจ็ จรงิ ดงั กลา่ ว บทท่ี 1

13 เ พ่ือ ใ ห้ เ กิด ค ว า ม เ ข้า ใ จ แ ล ะ ชัด เ จ น ม า ก ย่ิง ข้ึน เ ก่ีย ว กับ ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้อ มู ล ก า ร เปล่ยี นแปลงประมาณการทางบญั ชี จะขอยกตวั อย่างเก่ยี วกบั การเปิดเผยขอ้ มูลเก่ยี วกบั การ เปลย่ี นแปลงประมาณการทางการบญั ชี ดงั แสดงในตวั อยา่ งท่ี 1-4 ดงั น้ี ตวั อย่างที่ 1-4 จากขอ้ มลู ตวั อยา่ งท่ี 1-3 ของบรษิ ทั ราเชน จากดั สามารถแสดงการเปิดเผยขอ้ มลู การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชสี าหรบั อายกุ ารใชง้ านของอุปกรณ์ใหม่ ดงั น้ี บริษทั ราเชน จากดั หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน (บางส่วน) สาหรบั ปี สิ้นสดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x4 4. การเปล่ียนแปลงประมาณการทางบญั ชี การเปล่ยี นแปลงประมาณการทางบญั ชใี นปี 25x4 บรษิ ทั ไดเ้ ปล่ยี นแปลงประมาณ การอายกุ ารใหป้ ระโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ ของอุปกรณ์จากเดมิ 10 ปี เป็น 5 ปี การเปลย่ี นแปลงน้ี มผี ลทาใหค้ า่ เส่อื มราคาสาหรบั ปีเพม่ิ ขน้ึ จานวน 32,000 บาท (112,000 – 80,000) การแก้ไขข้อผิดพลาดในงวดก่อน 1. ความหมายของข้อผิดพลาดในงวดก่อน ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 8 (ปรับปรุง 2557) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน หมายถงึ การละเวน้ การแสดงรายการทข่ี ดั ต่อขอ้ เทจ็ จรงิ ในงบการเงนิ ของกจิ การในงวดใดงวดหน่ึงหรอื หลายงวดก่อนๆ ก็ตาม อนั เกดิ จากความล้มเหลวในการใช้ ขอ้ มลู ทน่ี ่าเช่อื ถอื หรอื การใชข้ อ้ มลู ทน่ี ่าเช่อื ถอื ในทางทผ่ี ดิ ซง่ึ ขอ้ มลู ดงั กล่าว มอี ยใู่ นงบการเงนิ ของงวดก่อนทไ่ี ดร้ บั การอนุมตั ใิ หอ้ อก และ สามารถคาดการณ์ไดอ้ ย่างสมเหตุสมผลว่าสามารถ หาขอ้ มูลได้ และนามาใช้ในการจดั ทาและการนาเสนองบการเงนิ ขอ้ ผดิ พลาดดงั กล่าว รวมถงึ ผลกระทบจากการคานวณผดิ พลาด ตวั อย่างขอ้ ผดิ พลาด เช่น ขอ้ ผดิ พลาดจากการใชน้ โยบาย การบญั ชี การมองขา้ มหรอื การตคี วามขอ้ เทจ็ จรงิ ผดิ พลาด และการทจุ รติ บทท่ี 1

14 2. ข้อผิดพลาดที่มสี าระสาคญั ในงวดก่อน ž ความมสี าระสาคญั คอื การแสดงขอ้ มูลผดิ พลาดหรอื การไม่แสดงขอ้ มูลทาให้การ ตดั สนิ ใจของผู้ใชง้ บการเงนิ เปล่ยี นไป ซ่งึ ขน้ึ อย่กู บั ขนาดและลกั ษณะของการละเว้นการแสดง รายการหรอื การแสดงรายการทข่ี ดั ต่อขอ้ เทจ็ จรงิ ซง่ึ พจิ ารณาภายใตส้ ถานการณ์แวดลอ้ ม ทงั้ น้ี ปจั จยั ทใ่ี ชใ้ นการพจิ ารณาอาจเป็นหรอื ลกั ษณะของรายการหรอื ทงั้ สองปจั จยั กไ็ ด้ 3. วิธีปฏิบตั ิในการแก้ไขข้อผิดพลาดในงวดก่อน ขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน ไมว่ ่าจะเกดิ จากการมองขา้ มหรอื ตคี วามขอ้ เทจ็ จรงิ ผดิ พลาด การทุจรติ จะต้องมีวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการแก้ไขขอ้ ผิดพลาดในงวดก่อน สามารถจดั ทาได้ดงั น้ี คือ (นิพนั ธ์ เหน็ โชคชยั ชนะ และคณะ, 2554 : 5-21 ถงึ 5-22) ž 3.1 กิจการต้องแก้ไขข้อผิดพลาดท่มี ีสาระสาคญั ของงวดก่อน โดยวิธีปรบั ย้อนหลงั ในงบการเงนิ ฉบบั แรกทไ่ี ดร้ บั การอนุมตั ใิ หเ้ ผยแพรห่ ลงั จากทพ่ี บขอ้ ผดิ พลาดโดย 3.1.1 ปรบั งบการเงนิ ของงวดก่อนทแ่ี สดงเป็นขอ้ มลู เปรยี บเทยี บ เสมอื นว่า ขอ้ ผดิ พลาดไดถ้ กู แกไ้ ข หรอื 3.1.2 หากขอ้ ผดิ พลาดเป็นขอ้ ผดิ พลาดทเ่ี กดิ ขน้ึ ในงวดบญั ชกี ่อนงวดบญั ชแี รก สุดทน่ี ามาเปรยี บเทยี บ ต้องปรบั ปรุงยอดยกมาต้นงวด สนิ ทรพั ย์ หน้ีสนิ และส่วนของเจา้ ของ ในงบทน่ี ามาเปรยี บเทยี บ 3.1.3 หากไมส่ ามารถระบผุ ลกระทบจากขอ้ ผดิ พลาดได้ ใหป้ รบั ปรงุ ยอดยกมา ตน้ งวดของสนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และส่วนของเจา้ ของ สาหรบั งวดบญั ชแี รกสดุ ทส่ี ามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ 3.2 หากไมส่ ามารถระบุผลกระทบสะสม ณ ต้นงวดปจั จุบนั ทเ่ี กดิ จากขอ้ ผดิ พลาด ทม่ี ตี ่องบการเงนิ ของงวดบญั ชกี ่อนๆ ได้ ตอ้ งแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดโดยปรบั ปรุงขอ้ มลู ทน่ี ามาแสดง เปรยี บเทยี บดว้ ยวิธีเปลี่ยนทนั ทีเป็นต้นไป นบั จากวนั แรกสุดทส่ี ามารถทาไดใ้ นทางปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ เกย่ี วกบั การวธิ กี ารบญั ชใี นการแกไ้ ข ขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน จงึ ขอยกตวั อยา่ งเพอ่ื อธบิ ายและคานวณ ดงั แสดงในตวั อยา่ งท่ี 1-5 ดงั น้ี บทท่ี 1

15 ตวั อย่างที่ 1-5 ในปี 25x2 บรษิ ทั เตชนิ การคา้ จากดั พบวา่ มบี างผลติ ภณั ฑท์ ไ่ี ดท้ าการขาย ในปี 25x1 แลว้ แต่ยงั บนั ทกึ เป็นสนิ คา้ คงเหลอื ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 เป็นจานวน 10,000 บาท ขอ้ มลู งบกาไรขาดทุนก่อนแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด มดี งั น้ี บริษทั เตชินการค้า จากดั งบกาไรขาดทุน สาหรบั ปี สิ้นสดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 และ25x1 หน่วย : บาท 25x2 25x1 รายไดจ้ ากการขาย 580,000 400,000 หกั ตน้ ทุนขาย (รวมสนิ คา้ คงเหลอื ปี 25x1 จานวน 10,000 บาท) 367,000 270,000 กาไรขนั้ ตน้ 213,000 130,000 หกั คา่ ใชจ้ า่ ยการขายและบรหิ าร 50,000 50,000 กาไรก่อนภาษเี งนิ ได้ 163,000 80,000 หกั ภาษเี งนิ ได้ (20%) 32,600 16,000 กาไรสุทธิ 130,400 64,000 บวก กาไรสะสมตน้ งวด 96,000 32,000 กาไรสะสมปลายงวด 226,400 96,000 ให้ทา 1. แสดงการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อนโดยวธิ กี ารปรบั ยอ้ นหลงั 2. บนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อนในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป : กรณมี ผี ลกระทบทางภาษี 3. จดั ทางบกาไรขาดทนุ สาหรบั ปี สน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 และ 25x1 (หลงั ปรบั ปรงุ ) บทท่ี 1

16 1. การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน โดยวธิ กี ารปรบั ยอ้ นหลงั ดงั แสดงในตารางท่ี 1-1 ดงั น้ี ตารางที่ 1-1 แสดงการแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน โดยวธิ กี ารปรบั ยอ้ นหลงั ข้อมลู ข้อผิดพลาด ตวั เลขที่ถกู ต้อง ตน้ ทุนขาย 25x1 สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวดสงู ไป 270,000 + 10,000 ตน้ ทุนขายต่าไป แกไ้ ขโดยบวกเพม่ิ =280,000 บาท ตน้ ทุนขาย ตน้ ทุนขาย 25x2 สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวดสงู ไป 367,000 – 10,000 ตน้ ทุนขายสงู ไป แกไ้ ขโดยหกั =357,000 บาท ตน้ ทนุ ขาย กาไรสะสมปลายงวด ตน้ ทนุ ขาย 25x1 ต่าไปกาไรสุทธิ 25x1 96,000 – 8,000 25x1 หรอื กาไรสะสม สงู ไป แกไ้ ขโดยปรบั ลดกาไรสะสมดว้ ย =88,000 บาท ตน้ งวด 25x2 ยอดสทุ ธจิ ากผลกระทบทางภาษี 20% กาไรสะสมสงู ไป จานวน 8,000 (10,000 x 80%) ทม่ี า : (ปรบั ปรงุ จาก สมนกึ เออ้ื จริ ะพงษ์พนั ธ์ และสมเดช โรจน์คุรเี สถยี ร, 2552 : 468) 2. บนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อนในสมุดรายวนั ทวั่ ไป ž สมดุ รายวนั ทวั่ ไป พ.ศ. 25x2 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ธ.ค. 31 ผลกระทบจากการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด 8,000 - 10,000 - 2,000 - สนิ ทรพั ยภ์ าษเี งนิ ได้ สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวด ปรบั ปรงุ กาไรสะสมตน้ งวดจาก ขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน บทท่ี 1

17 3. จดั ทางบกาไรขาดทุน สาหรบั ปี สน้ิ สุดวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 และ 25x1 (หลงั ปรบั ปรงุ ) บริษทั เตชินการค้า จากดั งบกาไรขาดทุน สาหรบั ปี สิ้นสดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 และ25x1 รายไดจ้ ากการขาย 25x2 หน่วย : บาท หกั ตน้ ทุนขาย 25x1 กาไรขนั้ ตน้ 580,000 หกั คา่ ใชจ้ า่ ยการขายและบรหิ าร 357,000 (หลงั ปรบั ปรงุ ) กาไรก่อนภาษเี งนิ ได้ 223,000 หกั ภาษเี งนิ ได้ (20%) 50,000 400,000 กาไรสุทธิ 173,000 280,000 บวก กาไรสะสมตน้ งวด 34,600 120,000 138,400 50,000 กาไรสะสมตน้ งวดก่อนปรบั ปรุง 70,000 หกั ผลกระทบจากการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด 96,000 14,000 กาไรสะสมตน้ งวดหลงั ปรบั ปรงุ 8,000 56,000 กาไรสะสมปลายงวด 88,000 226,400 32,000 - 32,000 88,000 4. การเปิ ดเผยข้อมลู แก้ไขข้อผิดพลาดในงวดก่อน ตามลกั ษณะการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน อาจเกดิ จากวธิ กี ารปรบั ยอ้ นหลงั หรอื ปรบั เปล่ยี นทนั ทเี ป็นต้นไป จะมขี ้อกาหนดการเปิดเผยข้อมูลท่กี ิจการต้องเปิดเผยไว้ทุกข้อ ดงั ต่อไปน้ี ž 4.1 ลกั ษณะของขอ้ ผดิ พลาดทเ่ี กดิ ขน้ึ ในงบการเงนิ งวดก่อน ž 4.2 สาหรบั งบการเงนิ ของงวดก่อนแต่ละงวดทน่ี าเสนอ กจิ การตอ้ งเปิดเผย จานวนเงนิ ของรายการปรบั ปรงุ เท่าทส่ี ามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ ž 4.3 จานวนเงนิ ของรายการปรบั ปรงุ ณ วนั ตน้ งวดของงวดแรกสุดทน่ี ามาแสดง เปรยี บเทยี บ บทท่ี 1

18 ž 4.4 กรณไี มส่ ามารถปรบั งบการเงนิ ยอ้ นหลงั ไดใ้ หเ้ ปิดเผยสถานการณ์ทน่ี าไปสู่ เงอ่ื นไขการเกดิ ขน้ึ ดงั กลา่ วและรายละเอยี ดวา่ กจิ การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดเมอ่ื ใดและอยา่ งไร งวดต่อไปไมต่ อ้ งเปิดเผยขอ้ มลู เหลา่ น้อี กี ตวั อย่างท่ี 1-6 จากขอ้ มลู ตวั อยา่ งท่ี 1-5 ของบรษิ ทั เตชนิ การคา้ จากดั สามารถนามาแสดง การเปิด เผยขอ้ มลู การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน ไดด้ งั น้ี บริษทั เตชินการค้า จากดั หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน (บางส่วน) สาหรบั ปี สิ้นสดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x2 และ 25x1 4. การแก้ไขข้อผิดพลาดในงวดก่อน มสี นิ ค้าท่ไี ด้จาหน่ายแล้ว แต่ยงั นามารวมเป็นสนิ ค้าคงเหลอื ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 จานวน 10,000 บาท งบการเงนิ สาหรบั ปี 25x1ไดถ้ ูกปรบั ปรุงใหมเ่ พ่อื แกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด น้ี โดยไมม่ ผี ลกระทบต่องบการเงนิ ปี 25x2 มดี งั น้ี งบกาไรขาดทุน: หน่วย : บาท ตน้ ทุนขายเพมิ่ ขน้ึ (10,000) ค่าใชจ้ า่ ยภาษเี งนิ ไดล้ ดลง 2,000 กาไรสุทธลิ ดลง (8,000) งบแสดงฐานะการเงนิ : สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวดลดลง (10,000) สนิ ทรพั ยภ์ าษเี งนิ ไดเ้ พมิ่ ขน้ึ 2,000 สว่ นของเจา้ ของลดลง (8,000) จากการศกึ ษา เร่อื ง นโยบายการบญั ชี การเปล่ยี นแปลงประมาณการทางบญั ชี และ การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน สามารถนามาสรปุ ดงั แสดงในภาพท่ี 1-2 ดงั น้ี บทท่ี 1

19 การเปลย่ี นแปลงทางการ บญั ชี การเปลย่ี นแปลงนโยบาย การเปลย่ี นแปลงประมาณ การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดใน การบญั ชี การทางบญั ชี งวดกอ่ น ภาพท่ี 1-2 การเปลย่ี นแปลงทางการบญั ชี และจากการศกึ ษาวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชเี ก่ยี วกบั การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี และการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน สามารถนามา สรปุ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ ดงั แสดงในตารางท่ี 1-2 ดงั น้ี ตารางที่ 1-2 สรปุ วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชตี ามประเภทของการเปลย่ี นแปลงทางการบญั ชี ประเภทของการเปล่ียนแปลง วิธีปรบั ย้อนหลงั วิธีเปลี่ยนทนั ที ทางการบญั ชี เป็ นต้นไป 1. การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี √ √ 1.1 ระบผุ ลกระทบยอ้ นหลงั ได้ √ √ 1.2 ไมส่ ามารถระบุผลกระทบยอ้ นหลงั ได้ 2. การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี 3. การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน 3.1 ระบผุ ลกระทบทม่ี สี าระสาคญั ของงวดก่อน √ 3.2 ไมส่ ามารถระบผุ ลกระทบได้ ทม่ี า : (ปรบั ปรงุ จาก ขวญั สกุล เตง็ อานวย, 2553 : 8-25) จากตารางท่ี 1-2 แสดงใหเ้ หน็ วา่ วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชตี ามประเภทการเปลย่ี นแปลง นโยบายการบญั ชี และการแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อนจะมวี ธิ กี ารปรบั ยอ้ นหลงั และวธิ กี าร ปรบั ทนั ทเี ป็นตน้ ไป ส่วนการเปล่ยี นแปลงประมาณการทางการบญั ชมี วี ธิ กี ารปรบั ทนั ทีเป็นต้น ไป ไดอ้ ยา่ งเดยี ว บทท่ี 1

20 บทสรปุ การเปล่ยี นแปลงทางการทางบญั ชี สามารถจาแนกออกได้ 3 ประเภท คือ การ เปล่ียนแปลงนโยบายการบัญชี การเปล่ียนแปลงประมาณการทางบัญชี และการแก้ไข ขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน สาหรบั การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี และการแก้ไขขอ้ ผดิ พลาด ในงวดก่อนมวี ธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างการบญั ชี 2 วธิ ี คอื วธิ กี ารปรบั ยอ้ นหลงั มลี กั ษณะการรบั รผู้ ลกระทบ การเปลย่ี นแปลงโดยนานโยบายการบญั ชใี หม่มาถอื ปฏบิ ตั ิ ซง่ึ กจิ การต้องปรบั งบการเงนิ ท่ี นามาเปรยี บเทยี บกบั ปีปจั จุบนั ยอ้ นหลงั โดยถอื เสมอื นว่ากจิ การใช้นโยบายการบญั ชใี หม่มา ตงั้ แต่แรก และวธิ เี ปลย่ี นทนั ทเี ป็นต้นไป ในกรณีท่ไี ม่สามารถระบุผลกระทบสะสมท่มี ตี ่องบ การเงนิ ของงวดก่อนได้ การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชใี หใ้ ชว้ ธิ เี ปลย่ี นทนั ทเี ป็นตน้ ไป บทท่ี 1

21 แบบฝึ กหดั ท้ายบท 1. การเปลย่ี นแปลงทางบญั ชมี กี ป่ี ระเภท อะไรบา้ ง 2. นโยบายการบญั ชี และการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี หมายถงึ อะไร 3. เหตุผลของการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี 4. การประมาณการทางบญั ชี และการเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี หมายถงึ อะไร 5. เหตุผลของการเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี อาจมสี าเหตุอะไรบา้ ง 6. ขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน หมายถงึ อะไร จงยกตวั อยา่ งของขอ้ ผดิ พลาดประกอบ 7. จงขดี เครอ่ื งหมาย √ ลงในช่องว่างใหถ้ กู ตอ้ งเกย่ี วกบั วธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องการเปลย่ี นแปลงทางการ บญั ชี ข้อ การเปล่ียนแปลง วิธีปรบั งบการเงิน วิธีเปลี่ยนทนั ที เป็ นต้นไป ทางการบญั ชี ย้อนหลงั 7.1 การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี กรณีมี ผลกระทบต่องบการเงนิ งวดก่อน 7.2 การเปลย่ี นแปลงนโยบายการบญั ชี กรณี ไมส่ ามารถระบผุ ลกระทบต่องบการเงนิ งวดก่อนเป็นจานวนเงนิ ได้ 7.3 การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบญั ชี 7.4 การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน กรณี ขอ้ ผดิ พลาดมสี าระสาคญั ทม่ี ผี ลทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของขนาดและลกั ษณะ ของขอ้ มลู ทางการเงนิ 7.5 การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในงวดก่อน กรณไี ม่ สามารถระบผุ ลสะสมจากการแกไ้ ข ขอ้ ผดิ พลาดในงบการเงนิ งวดก่อนเป็น จานวนได้ บทท่ี 1

22 8. บรษิ ทั สม้ บางมด จากดั ใชว้ ธิ ถี วั่ เฉลย่ี อยา่ งง่ายในการตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื มาตงั้ แต่เรมิ่ กจิ การในปี 25x6 ต่อมาตน้ ปี 25x7 บรษิ ทั ตดั สนิ ใจเปลย่ี นวธิ กี ารตรี าคาสนิ คา้ คงเหลอื เป็นวธิ ี เขา้ ก่อน-ออกก่อน ขอ้ มลู มลู ค่าสนิ คา้ คงเหลอื ณ วนั สน้ิ งวด มดี งั น้ี ปี วิธีถวั เฉล่ียอย่างง่าย วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน 25x6 100,000 80,000 25x7 110,000 120,000 บริษทั ส้มบางมด จากดั งบกาไรขาดทุนและกาไรสะสม สาหรบั ปี สิ้นสดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x7 และ 25x6 รายไดจ้ ากการขาย 25x7 หน่วย : บาท หกั ตน้ ทุนขาย 5,000,000 25x6 สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวด 100,000 4,000,000 บวก ซอ้ื สุทธิ 1,200,000 สนิ คา้ ทม่ี ไี วเ้ พอ่ื ขาย 1,300,000 0 หกั สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวด 1,000,000 ตน้ ทุนขาย 120,000 1,000,000 1,180,000 กาไรขนั้ ตน้ 3,820,000 100,000 หกั ค่าใชจ้ า่ ยการขายและบรหิ าร 900,000 กาไรก่อนดอกเบย้ี จ่ายและภาษเี งนิ ได้ 550,000 3,100,000 หกั ดอกเบย้ี จา่ ย 3,270,000 500,000 กาไรก่อนหกั ภาษเี งนิ ได้ 2,600,000 หกั ภาษเี งนิ ได้ (20%) 550,000 400,000 กาไรสทุ ธิ 2,720,000 2,200,000 440,000 544,000 1,760,000 2,176,000 บทท่ี 1

23 บริษทั ส้มบางมด จากดั หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่วน) xx ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x6 xx 100,000 สนิ ทรพั ย์ สนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี น เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด ลกู หน้กี ารคา้ สนิ คา้ คงเหลอื (ถวั เฉลย่ี อยา่ งงา่ ย) ให้ทา 1. จากการตดั สนิ ใจเปลย่ี นวธิ กี ารตรี าคาสนิ คา้ คงเหลอื จากวธิ ถี วั เฉลย่ี อยา่ งงา่ ย เป็นวธิ เี ขา้ ก่อน-ออกก่อน เป็นการเปลย่ี นแปลงทางบญั ชปี ระเภทใด 2. ปรบั ปรงุ รายการในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป (แสดงการคานวณประกอบ) 3. งบแสดงฐานะการเงนิ (บางส่วน) (หลงั ปรบั ปรงุ ) ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x7 และ 25x6 4. งบกาไรขาดทุนและกาไรสะสม (หลงั ปรบั ปรงุ ) สาหรบั ปี สน้ิ สุดวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x7 และ 25x6 9. บรษิ ทั สม้ สายน้าผง้ึ จากดั ซอ้ื รถยนต์เมอ่ื ตน้ ปี 25x5 ในราคา 1,000,000 บาท อายกุ าร ใชง้ านของรถยนต์ 5 ปี ไมม่ มี ลู ค่าคงเหลอื บรษิ ทั คดิ ค่าเส่อื มราคาของรถยนต์ตามวธิ เี สน้ ตรง ตงั้ แต่ปี 25x5 ถงึ 25x6 ในตน้ ปี 25x7 บรษิ ทั ทบทวนวธิ กี ารคดิ ค่าเส่อื มราคาของรถยนต์ และ เปล่ยี นมาใช้วธิ กี ิโลเมตรท่ีวงิ่ ได้ เพ่อื ให้สอดคล้องกบั การใช้งานจรงิ โดยมขี อ้ มูลระยะทางท่ี รถยนตว์ งิ่ ไดต้ ลอด 5 ปี ดงั น้ี ปี 25x5 ระยะทาง 30,000 กโิ ลเมตร ปี 25x6 ระยะทาง 40,000 กโิ ลเมตร ปี 25x7 ระยะทาง 35,000 กโิ ลเมตร ปี 25x8 ระยะทาง 50,000 กโิ ลเมตร ปี 25x9 ระยะทาง 45,000 กโิ ลเมตร บทท่ี 1

24 ให้ทา 1. การเปลย่ี นแปลงวธิ กี ารคดิ คา่ เส่อื มราคาของรถยนต์ เป็นการเปลย่ี นแปลงทางบญั ชี ประเภทใด 2. บนั ทกึ การปรบั ปรงุ บญั ชเี กย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงทางบญั ชตี ามขอ้ 1. ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x7 ในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป (แสดงการคานวณประกอบ) 10. บรษิ ทั น้าหน่ึงการผลติ จากดั ได้ประมาณการหน้ีสงสยั จะสญู 1% ของยอดขายเช่อื ต่อมาในปี 25x4 บรษิ ทั ได้ทบทวนอตั รารอ้ ยละของยอดขายเช่อื ทใ่ี ชใ้ นการประมาณการหน้ี สงสยั จะสูญเป็น 2% เพราะประมาณการใหม่น่าจะใกล้เคียงความเป็นจรงิ มากกว่าตาม ประสบการณ์ในการเรยี กเกบ็ หน้ี โดยมยี อดขายเช่อื ในปี 25x4 จานวน 200,000 บาท อตั รา ภาษเี งนิ ได้ 20% ให้ทา 1. การเปลย่ี นแปลงขา้ งตน้ เป็นการเปลย่ี นแปลงทางบญั ชปี ระเภทใด 2. บนั ทกึ การปรบั ปรงุ บญั ชเี กย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงทางบญั ชตี ามขอ้ 1. 11. ในปี 25x7 บรษิ ทั สม้ เขยี วหวาน จากดั พบว่าในปี 25x6 ไม่ไดล้ งบญั ชคี ่ารบั รองลูกคา้ ซง่ึ เป็นค่าใชจ้ ่ายการขายและบรหิ ารจานวน 5,000 บาท แต่ไดน้ ามาลงบญั ชรี วมกบั ค่าใชจ้ ่ายการ ขายและบรหิ าร ในปี 25x7 งบกาไรขาดทุนก่อนการแกไ้ ข (บางส่วน) มดี งั น้ี กาไรขนั้ ตน้ 25x7 หน่วย : บาท หกั ค่าใชจ้ า่ ยการขายและบรหิ าร (รวมลงบญั ชคี ่ารบั รองผดิ ) 500,000 25x6 กาไรก่อนภาษเี งนิ ได้ (305,000) หกั ภาษเี งนิ ได้ 20% 195,000 400,000 กาไรสุทธิ (39,000) บวก กาไรสะสมตน้ งวด 156,000 (285,000) กาไรสะสมปลายงวด 142,000 115,000 298,000 (23,000) 92,000 50,000 142,000 บทท่ี 1

25 ให้ทา 1. จากขอ้ มลู ผดิ พลาดของบรษิ ทั ฯ เป็นการเปลย่ี นแปลงทางบญั ชปี ระเภทใด 2. คา่ ใชจ้ า่ ยการขายและบรหิ ารปี 25x6 ทถ่ี กู ตอ้ ง คอื จานวนเท่าใด 3. คา่ ใชจ้ า่ ยการขายและบรหิ ารปี 25x7 ทถ่ี กู ตอ้ ง คอื จานวนเทา่ ใด 4. กาไรสะสมตน้ งวดของปี 25x7 (หรอื กาไรสะสมปลายงวด 25x6) ทถ่ี ูกตอ้ งคอื จานวนเท่าใด 5. บนั ทกึ รายการแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป 6. งบกาไรขาดทุน (บางส่วน) สาหรบั ปี 25x7 และ 25x6 (หลงั ปรบั ปรงุ ) 7. หมายเหตุประกอบงบการเงนิ (บางสว่ น) สาหรบั ปี 25x7 และ 25x6 (หลงั ปรบั ปรุง) บทท่ี 1

26 เอกสารอ้างอิง ขวญั สกุล เตง็ อานวย. (2553). การบญั ชีขนั้ สงู 1. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 10). กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ นิพนั ธ์ เหน็ โชคชยั ชนะ และคณะ. (2554). ค่มู อื บญั ชี NPAEs. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : ทพี เี อน็ เพรส. สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ.์ (2557). มาตรฐานการบญั ชีฉบบั ที่ 8 (ปรบั ปรงุ 2557) เรอ่ื ง นโยบายการบญั ชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบญั ชี และ ข้อผิดพลาด. กรงุ เทพฯ. สมนกึ เออ้ื จริ ะพงษ์พนั ธ์ และสมเดช โรจน์คุรเี สถยี ร. (2552). การบญั ชีขนั้ ต้น. กรงุ เทพฯ : แมคกรอ-ฮลิ . สมศกั ดิ ์ ประถมศรเี มฆ. (2558). การรายงานทางการเงิน ตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินไทยฉบบั ปรบั ปรงุ ปี พ.ศ. 2557). (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1). ปทุมธานี : เอน็ โฟร์ โปรพรน้ิ . บทท่ี 1

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2 การบญั ชีฝากขาย หวั ข้อเนื้อหาประจาบท 1. ความหมายของการขายและการฝากขาย 2. ขอ้ แตกต่างระหว่างการขายกบั การฝากขาย 3. ขนั้ ตอนการฝากขาย 4. สญั ญาการฝากขาย 5. สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผฝู้ ากขายและผรู้ บั ฝากขาย 6. ประโยชน์ของการฝากขาย 7. วธิ กี ารบญั ชดี า้ นผรู้ บั ฝากขาย 7.1 การบนั ทกึ บญั ชเี กย่ี วกบั การรบั ฝากขายแยกต่างหากจากการขายโดยปกติ 7.2 การบนั ทกึ บญั ชเี กย่ี วกบั การรบั ฝากขายรวมกบั การขายโดยปกติ 8. วธิ กี ารบญั ชดี า้ นผฝู้ ากขาย 8.1 การบนั ทกึ บญั ชเี กย่ี วกบั การฝากขายแยกต่างหากจากการขายโดยปกติ 8.2 การบนั ทกึ บญั ชเี กย่ี วกบั การฝากขายรวมกบั การขายโดยปกติ 9. การสง่ คนื และการรบั คนื สนิ คา้ ฝากขาย 10. บทสรปุ 11. แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 12. เอกสารอา้ งองิ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายความหมายของการขายและการฝากขายได้ 2. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายถงึ ขอ้ แตกต่างระหว่างการขายกบั การฝากขายได้ 3. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายขนั้ ตอนการฝากขายได้ 4. ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ใจถงึ สญั ญาฝากขายได้ 5. ผเู้ รยี นเขา้ ใจและอธบิ ายถงึ สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผูร้ บั ฝากขายและผฝู้ ากขายได้ 6. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายถงึ ประโยชน์ของการฝากขายได้ 7. ผเู้ รยี นสามารถจดั ทาบญั ชดี า้ นผรู้ บั ฝากขายได้ 8. ผเู้ รยี นสามารถจดั ทาบญั ชดี า้ นผฝู้ ากขายได้

28 วิธีสอนและกิจกรรม 1. บรรยาย/อภปิ รายพรอ้ มยกตวั อยา่ ง 2. การคน้ ควา้ หาความรจู้ ากสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3. ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองจากศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและแหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ 4. ทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง การบญั ชฝี ากขาย (วนั วสิ า เน่อื งสมศร,ี 2557 : 28-80) 2. ชุดการสอน PowerPoint ประจาบทเรยี น 3. แหลง่ เวบ็ ไซดท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งจากสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 4. แหล่งความรจู้ ากวารสารและหนงั สอื พมิ พต์ ่าง ๆ การวดั ผลและการประเมินผล 1. สอบถามเพ่อื ประเมนิ ความเขา้ ใจในเน้อื หา และทาแบบฝึกหดั ในชนั้ เรยี น 2. มอบหมายแบบฝึกหดั เป็นการบา้ น 3. ตรวจสอบการทาแบบฝึกหดั ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย บทท่ี 2

29 บทท่ี 2 การบญั ชีฝากขาย สาหรบั การประกอบธุรกจิ ซอ้ื -ขายสนิ คา้ หรอื ธุรกจิ ผลติ สนิ คา้ นนั้ สงิ่ ทผ่ี ูป้ ระกอบการ มกั ประสบอย่เู สมอคอื ความเสย่ี งจากการใหส้ นิ เช่อื แก่ลูกค้า ลูกคา้ ไมร่ จู้ กั สนิ คา้ เพราะอาจเป็น สนิ คา้ ชนิดใหมท่ พ่ี ง่ึ เขา้ สตู่ ลาด และการรบั ภาระในตน้ ทุนทส่ี ูงเม่อื เทยี บกบั รายไดท้ ไ่ี ดร้ บั อาจทา ใหผ้ ลการดาเนินงานในงวดนัน้ ๆ ไม่เป็นทน่ี ่าพอใจ เพราะนนั่ หมายความว่ากจิ การอาจประสบ ผลขาดทุนก็เป็นได้ ดงั้ นัน้ การขายโดยการฝากขาย จงึ เข้ามามบี ทบาทต่อผู้ประกอบการ เพ่อื ให้เลอื กปฏบิ ตั ิ ซ่งึ เป็นวธิ กี ารเพมิ่ ช่องทางการจาหน่าย และเพ่อื กระจายสนิ ค้าให้ถึงมอื ผบู้ รโิ ภค สง่ ผลใหผ้ ปู้ ระกอบการบรรลุวตั ถุประสงคไ์ ด้ ความหมายของการขายและการฝากขาย 1. ความหมายของการขาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) มาตรา 453 บญั ญตั ไิ วว้ ่า “ อนั การ ซอ้ื ขายนัน้ คอื สญั ญาซง่ึ บุคคลฝา่ ยหน่ึงเรยี กว่า ผูข้ าย โอนกรรมสทิ ธแิ ์ ห่งทรพั ยส์ นิ ใหแ้ ก่บุคคล อกี ฝา่ ยหน่งึ เรยี กว่า ผซู้ อ้ื และผซู้ อ้ื ตกลงวา่ จะใชร้ าคาแห่งทรพั ยส์ นิ นนั้ ใหแ้ ก่ผขู้ าย ” การขาย (Sales) เป็นศลิ ปะ ซง่ึ ต้องรจู้ กั ปรบั หลกั การใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของลกู คา้ แต่ละคน ทุกประเภท ทกุ สถานท่ี ทุกสถานการณ์ การใชศ้ ลิ ปะการขายตอ้ งมกี ารฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญ 2. ความหมายของการฝากขาย ขวัญสกุล เต็งอานวย (2553 : 1-1) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การฝากขาย (Consignments) หมายถึง การท่ีอีกฝ่ายหน่ึงซ่ึงเป็นเจ้าของสินค้า เรียกว่า ผู้ฝากขาย (Consignor) ส่งสนิ คา้ ไปอกี ฝ่ายหน่ึง เรยี กว่า ผรู้ บั ฝาก (Consignee) เพ่อื ใหช้ ่วยทาหน้าทเ่ี ป็น ผูข้ ายสนิ คา้ แทน ทงั้ น้ีความเสย่ี งและผลตอบแทนของความเป็นเจา้ ของ รวมทงั้ กรรมสทิ ธใิ ์ น สนิ คา้ ยงั คงเป็นของผฝู้ ากขาย จนกระทงั่ ผรู้ บั ฝากขายขายสนิ คา้ ได้ กรรมสทิ ธใิ ์ นสนิ คา้ จงึ จะโอน เป็นของผซู้ อ้ื และผฝู้ ากขายจงึ จะบนั ทกึ รายการขายได้ บทท่ี 2

30 ข้อแตกต่างระหวา่ งการขายกบั การฝากขาย จากความหมายของการขายกบั การฝากขาย มขี อ้ แตกต่างอยหู่ ลายประการ ทงั้ ดา้ น กรรมสิทธใิ ์ นสนิ ค้า การรบั รู้รายได้จากการขาย การบนั ทกึ บญั ชีลูกหน้ี การบนั ทกึ บญั ชแี ละ แสดงรายการสินค้าในงบแสดงฐานะการเงนิ การคนื สินค้าท่ขี ายไม่หมด ผลตอบแทน การ รบั ภาระค่าใชจ้ า่ ยและการชาระหน้ี ซง่ึ สามารถสรปุ ดงั แสดงในตารางท่ี 2-1 ดงั น้ี ตารางท่ี 2-1 สรปุ ขอ้ แตกต่างระหว่างการขายกบั การฝากขาย ข้อแตกต่าง การขาย การฝากขาย 1. การโอนกรรมสทิ ธิ ์ เมอ่ื ผขู้ ายส่งมอบสนิ คา้ ใหแ้ ก่ เมอ่ื ผรู้ บั ฝากส่งมอบสนิ คา้ ให้ ในสนิ คา้ ผู้ซ้ือแล้ว กรรมสิทธิใ์ นสินค้าถือเป็น ผซู้ อ้ื แลว้ เพราะมกี ารโอนความ ของผู้ซ้ือทันที เพราะเกิดการโอน เสย่ี ง/ผลตอบแทนในความเป็น ความเส่ยี ง/ผลตอบแทนในความเป็น เจา้ ของ เจา้ ของ 2. การรบั รรู้ ายได้ ผขู้ ายรบั รรู้ ายไดเ้ มอ่ื โอนผลตอบแทน ผขู้ ายยงั ไมร่ บั รรู้ ายไดเ้ มอ่ื ส่ง และความเสย่ี งใหผ้ ซู้ อ้ื สนิ คา้ ไปฝากขาย แต่รบั รเู้ มอ่ื ผรู้ บั ฝากสง่ มอบสนิ คา้ ใหผ้ ซู้ อ้ื และรบั รายงานการขาย 3. ลกู หน้ีการคา้ ผขู้ ายมบี ญั ชลี กู หน้กี ารคา้ สาหรบั ผรู้ บั ฝากขายเป็นแค่ตวั แทน กรณขี ายเป็นเงนิ เช่อื การขาย ไมใ่ ชล่ กู หน้ีการคา้ ของผฝู้ ากขาย 4. การบนั ทกึ บญั ชี ผขู้ ายบนั ทกึ บญั ชสี นิ คา้ คงเหลอื ดว้ ย ผรู้ บั ฝากขายบนั ทกึ เพยี ง สนิ คา้ คงเหลอื ราคาทนุ หรอื มลู คา่ สุทธทิ จ่ี ะไดร้ บั ความทรงจาเกย่ี วกบั สนิ คา้ ท่ี แลว้ แต่มลู ค่าใดจะต่ากว่า รบั ฝากขาย 5. การแสดงรายการ ผขู้ ายแสดงรายการสนิ คา้ คงเหลอื ผรู้ บั ฝากไมต่ อ้ งแสดงรายการ สนิ คา้ คงเหลอื ใน ปลายงวดเป็นสนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี นใน สนิ คา้ คงเหลอื ของผฝู้ ากขาย งบการเงนิ งบแสดงฐานะการเงนิ เมอ่ื มสี นิ คา้ เป็นสนิ คา้ คงเหลอื ของผรู้ บั คงเหลอื ปลายงวด ฝาก 6. การสง่ คนื สนิ คา้ ผขู้ ายจะไมร่ บั คนื สนิ คา้ เวน้ แต่สนิ คา้ ผรู้ บั ฝากขายมสี ทิ ธคิ นื สนิ คา้ จะชารดุ เสยี หายหรอื ไมต่ รงตามทต่ี ก รบั ฝากขายหากไมต่ อ้ งการจะ ลงกนั ในใบสงั่ ซอ้ื เป็นตวั แทนอกี ต่อไป บทท่ี 2

31 ตารางที่ 2-1 (ต่อ) ข้อแตกต่าง การขาย การฝากขาย 7. ผลตอบแทน สาหรบั ผขู้ าย คอื กาไรจากการ สาหรบั ผรู้ บั ฝากขาย คอื รายได้ ขาย คา่ นายหน้า 8. กรณที ผ่ี ซู้ อ้ื หรอื ผรู้ บั ผขู้ ายตอ้ งปนั สว่ นการชาระหน้จี าก ฝากขายไมส่ ามารถ ผซู้ อ้ื รว่ มกบั เจา้ หน้รี ายอ่นื ผฝู้ ากขายมสี ทิ ธเิ รยี กคนื สนิ คา้ ฝากขายพรอ้ มกบั เงนิ ทผ่ี รู้ บั ฝาก ชาระหน้หี รอื เป็นบุคคล ขายสนิ คา้ คนื ไดท้ นั ที ลม้ ละลาย ทม่ี า : (ปรบั ปรงุ จาก ขวญั สกุล เตง็ อานวย, 2553 : 1-3) ขนั้ ตอนของการฝากขาย สาหรบั การฝากขายท่มี บี ุคคลเกย่ี วขอ้ งกนั 2 ฝ่ายตามทไ่ี ดก้ ล่าวมาแลว้ เพ่อื ใหก้ าร ฝากขายดาเนนิ ไปตามขนั้ ตอนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ แบง่ ขนั้ ตอนออกเป็น 4 ขนั้ ตอน ดงั น้ี (ปรบั ปรงุ จาก รตั น์ชนก พรมหมณ์ศริ ,ิ 2556 : 42-43) 1. ผฝู้ ากขายส่งสินค้าไปยงั ผรู้ บั ฝากขาย โดยผฝู้ ากขายอาจตอ้ งเสยี คา่ ขนสง่ คา่ บรรจหุ บี ห่อ ซง่ึ เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยทถ่ี อื เป็นราคาทุนของสนิ คา้ ฝากขายได้ เน่อื งจากยงั อย่รู ะหว่าง กระบวนการทาใหส้ นิ คา้ พรอ้ มจะขาย 2. ผรู้ บั ฝากขายได้รบั สินค้าจากผ้ฝู ากขาย อาจตอ้ งเสยี คา่ ขนสง่ สนิ คา้ เขา้ รา้ น ค่า ตดิ ตงั้ ค่าบรรจหุ บี ห่อ ซง่ึ กถ็ อื เป็นราคาทุนของสนิ คา้ ฝากขายได้เช่นเดยี วกนั กบั ผฝู้ ากขาย 3. ผรู้ บั ฝากขายขายสินค้าให้แก่ลกู ค้าหรอื บคุ คลท่ีสาม ซง่ึ จะขายไดเ้ ป็นเงนิ สด หรอื เป็นเงนิ เช่อื กไ็ ด้ โดยกรณขี ายเป็นเงนิ เช่อื ควรมกี ารทาสญั ญาตกลงกนั ใหช้ ดั เจนว่าใครควร จะเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบในกรณที ล่ี กู หน้ไี มส่ ามารถชาระหน้ไี ด้ บทท่ี 2