Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือบัณฑิตธรรม

หนังสือบัณฑิตธรรม

Description: หนังสือบัณฑิตธรรม

Search

Read the Text Version

ทั้งสังโยชน์ทม่ี าดว้ ยกัน คอื โทสะ ปฏิฆะ ขดั เคอื งใจ พยาบาท ก็ถูกตดั ขาดจากจติ พร้อมกัน เด็ดขาด รวมทงั้ วิหิงสา ความคิดเบียดเบยี นสัตวโ์ ลก กามภพดับไปจากจิต ถา้ จิตวิราคะใน รูปฌาน อรูปฌานเกิดต่อไป สังโยชน์เบ้ืองสูง คือ รูปราคะ อรูปราคะ ก็ถูกต้องออกไป เด็ดขาด พรอ้ มสังโยชน์ทเี่ หลอื มมี านะ เปน็ ต้น เปน็ อนั ภพ ๓ กาม รปู อรปู ดบั หรอื ลกู ตุ้ม นาฬกิ า (pendulum) ทแ่ี กวง่ ไปสดุ ทางหน่ึง (คือ กาม) แล้วก็แกว่งกลับไปจนสดุ อกี ทางหนง่ึ (คือ สมาธิ) แกว่งไปมาไม่รู้จักส้ินสุด (หรือโคจรของจิตอวิชชา) เป็นอันหยุดนิ่ง ตอนน้ีส้ิน วัฏสงสารตัวทุกข์แท้ หรืออุปาทานขันธ์ ๕ อริยสัจทุกข์ ไม่ใช่แบบความคิดปุถุชน เสียโน่น เสียน่ี แตเ่ ปน็ ทุกข์เพราะโง่ เพราะหลงตน (ego concept) สกั กายทฏิ ฐิ ยึดขันธ์ ๕ เปน็ ตน้ ๖) สรุปแนวปฏิบตั สิ ติ ธรรมท้ังหลายไม่พึงถือม่ัน เป็นยอดพุทธสติ นั่นก็คือ รู้สักแต่รู้ (hearing, hearing only-no doing-end, the world) หรือ ธรรมเปน็ ธรรม (Dhamma be Dhamma) นะโส เหตวงั วิวาโท ปรากฏ (สดุ สมมตุ ิภาษา ไมม่ ีถามตอบ) นะ ตะลัง กา สะลัง โลกตุ ตะระสันต์ เป็นสันตสิ ุขเหนอื โลก เทา่ นแ้ี หละโยมท้ังหมด นอกจาก พุทโธ ธัมโม สงั โฆ นพิ ฺพานํ ปรมํ สุขํ เปน็ สุขยอดเยี่ยม หรอื นอกจาก สัจธรรม คือ นวโลกตุ ตรธรรม มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ แลว้ กไ็ ปไม่รอด โดยเฉพาะเม่อื สตคิ น่ั วริ าคจติ เกดิ กาย วาจา ใจ เปน็ วิราคะท้งั หมด จติ ถึงสจั ธรรม อมตงั ท่ที า่ นเจา้ คณุ อุบาลีคุณูปมาจารย์ วัดบรมนิวาส กล่าวว่า เห็นตนเป็นธรรม เห็นธรรมเป็นตน (คือเห็น อริยสัจธรรมข้นั ใดขนั้ หนง่ึ ในกาย วาจา จิต) พอใช้ได้ จติ วริ ัชชติไมต่ ดิ ในสรรพส่งิ จึงเกิดข้นึ จิตวมิ ตุ ตหิ ลดุ พ้นถึงวมิ ตุ ติธรรม (พน้ สมมตุ )ิ พระนพิ พาน เป็นโลกตุ ตรสขุ วมิ ตุ ติสขุ จงึ จะพน้ อ�ำนาจโลกได้เด็ดขาด ตอ่ ให้โลกระเบิดกท็ ำ� อะไรไมไ่ ด้เลย เอวัง ก็มีด้วยประการฉะนี้ วา่ โดยยอ่ รู้สังขารไม่เทีย่ ง วางกังวลทัง้ หมด 149

คณุ เมตตาภาวนา ภาวนา พระพุทธองค์ทรงกล่าวมีคุณมากมายเป็นประโยชน์มากมายแก่ผู้ภาวนา แม้ชวั่ ลดั นิว้ มอื เดียวหรอื หน่งึ ขณะจติ ก็ตาม ถ้าพรอ้ มเมตตาภาวนา ส่งส่วนกศุ ลถึงสรรพสตั วโ์ ลกทั้งสิ้นท้งั มวลในวัฏสงสาร เพอื่ น รว่ มเกดิ แก่ เจ็บ ตาย ทกุ ข์ ไวด้ ว้ ยก็ยิ่งเป็นการดี เพราะเหมอื นมอี รยิ ทรัพยม์ ั่งมแี จกจ่าย ไปได้ทั่วไป ไม่มีหมด มีแต่จะเป็นคุณมากขึ้น เพราะภาวนาธรรมเจริญสติปัญญาให้จิตค่อย สะอาดข้ึน เป็นกุศลสูงสุด เป็นความม่ังมี อริยทรัพย์สูงสุดถัดลงมาจากบรรลุโลกุตตรธรรม คอื อรยิ มรรคผลแต่โสดาบนั ขน้ึ ไป ถา้ พดู ถึงประโยชน์ธรรมดาๆ ในทศั นะชวี ิตและความเขา้ ใจธรรม เขา้ ใจโลก เข้าใจคน ตนเอง สตั วโ์ ลก ไดด้ ียิง่ ขึน้ เข้าใจธรรม พุทธธรรม อนิจจงั ทกุ ขัง อนัตตา ก็มีประโยชน์ อยู่มาก ถ้าท�ำจิตสงบเพราะสมาธิภาวนา สติภาวนา ได้พอสมควร ม่ังมีอริยทรัพย์แล้ว ก�ำหนดจิต แผ่ส่วนกุศลให้สรรพสัตว์ท้ังหลายทั่วไป แล้วก็บุคคลทั้งหลายที่ได้เคยพบเห็น ใกล้ชิดมากน้อยนับแต่เกิดมาจ�ำความได้ ก็จะเห็นความมหัศจรรย์ คล้ายกับเราได้เห็นภาพ ชีวิตจริงคล่ีคลายไปแต่ต้นม้วนภาพยนตร์ ชีวิตเม่ือเราเป็นทารกจนถึงปัจจุบัน ได้เห็นภาพ นับแตบ่ ิดา มารดา ญาตมิ ิตร คนอื่นๆ มากมายทไ่ี ดเ้ หน็ ไดร้ ูจ้ ักไดใ้ กลช้ ิดมาตงั้ แต่ ๔-๕ ขวบ เหตุการณ์ในอดีตเหมือนฝันท่ีหายไป ธรรมชาติชีวิตดับสูญหายไปหมด เหมือนไม่เคยมี ไม่เคยเกิดข้ึนเลย ไม่ว่าบ้าน ไม่ว่าวัด ผู้คนพระสงฆ์องค์เจ้าในที่น้ันๆ เหมือนไม่เคยเกิดขึ้น เลย ไม่เคยมีเลย โดยเฉพาะเมือ่ ผู้ภาวนามอี ายุมาก ๖๐-๘๐-๙๐ ปี ผคู้ นในอดตี - สญุ ญโต ไปหมด เหลอื แตก่ าย ใจ โลก ปจั จุบนั สขุ ทุกข์ ปัจจบุ ัน กเิ ลสปจั จบุ นั อวิชชาความโง่ ปัจจุบัน ทุกข์เพราะกิเลสและอนาคตของชีวิตของโลกที่ไม่มีใครรู้ได้ถูกต้องชัดแน่นอนใน ปัจจุบัน เพราะท่านผู้รู้คือพระพุทธองค์ได้ทรงสู่พระปรินิพพานไปนานแล้ว ทรงทิ้งไว้แต่ พระศาสนาท่ีผู้มีบุญบารมี ปุพเพกตปุญญตา ได้ท�ำบุญไว้ก่อนแล้ว ได้ศึกษาปฏิบัติหาทาง พ้นทกุ ข์ต่อไป 150

151

๒๕ ธนั วาคม ๒๕๓๖ (ค.ศ. ๑๙๙๓) วันคริสต์มาส เสียงธรรมจากสวิสเซอร์แลนด์ ในกรงุ เบิรน์ นครหลวงประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ต้นเหตพุ ระพทุ ธศาสนาในทุกสมัย พระพุทธศาสนาแปลโดยตรง คือค�ำสอนของพระพุทธเจ้า คือท่านผู้ต่ืนแล้วจาก หลงโลกอวิชชา บรรลุสภาพธรรมพ้นโลกหลง คือบรรลุโลกุตตรธรรม คือ อริยศีล สมาธิ ปัญญา พระนิพพานอันเป็นสัจธรรม ท่ีสัตว์โลกตั้งแต่ยอดพรหมจนถึงสัตว์นรกรวมทั้งคน เทพ คือค�ำศัพท์ที่พระพุทธองค์ผู้เป็นโลกุตตรบุคคล คือ อะระหัง ผู้มีจิตบริสุทธ์ิจากกิเลส อวิชชาใหไ้ ว้กค็ อื นวโลกตุ ตรธรรม ธรรมพน้ โลก ๙ ประการ คืออริยมรรค อรยิ ผล ตงั้ แต่ โสดาบนั ขน้ึ ไป ถงึ ข้ันอรหนั ตเ์ ปน็ แปด รวมธรรมขน้ั พนื้ ฐานเป็นสัจธรรมแท้ประการเดยี วเปน็ สรณธรรม อมตธรรม วิราคธรรม วิสังขารธรรม ไม่มีอะไรมาปรุงแต่ง ไม่สามารถแต่งได้ และไมป่ รุงแต่งอะไร เป็นตมโยธรรม ธรรมทม่ี ิใชต่ ัณหาอวชิ ชา คอื พระนิพพาน ซึ่งนอกจาก สัจธรรมประการเดียวนแี้ ล้ว ที่พงึ่ ของสตั ว์โลกใหพ้ ้นทุกข์ เกดิ แก่ เจ็บ ตาย หลง อวชิ ชา เปน็ ไมม่ ี พระพทุ ธเจา้ เป็นสภาพธรรมท่ปี รากฏเปน็ ระยะในวิวฏั ฏะของโลกธาตุ หรือสังสารวัฏ (Universal evolution and revolution to infinity) คือ จติ ทีพ่ น้ ความมืด อวิชชาท่ีสร้างโลก 152

หลง สัตว์โลกหลงพร้อมทุกข์ตลอดกาลนาน พระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นผลสุดท้ายของการ สรา้ งบารมี ๑๐ ตั้งแต่ทาน ศีล เนกขมั มะ คอื การออกบวชรกั ษาพรหมจรรย์ คือศลี นักบวช ฤาษมี ศี ลี ๘ เป็นอยา่ งนอ้ ยเปน็ หลกั ชีวิตและอ่นื ๆ โดยเฉพาะอธษิ ฐานบารมี รวมเปน็ ๑๐ ทัง้ อยา่ งน้อยมากท่สี ดุ รวม ๓๐ ทศั คอื ท่านมาจากพระโพธสิ ตั ว์ ผ้สู รา้ งบารมี ๑๐ ปรารถนา รู้แจ้งความลกึ ลบั ของวามทุกข์ เกดิ แก่ เจบ็ ตาย วา่ มันมาจากอะไร พระพทุ ธเจ้าท่ไี มไ่ ด้สอนใคร ไมไ่ ดแ้ สดงตวั สอนใคร เพราะไมไ่ ด้ตง้ั ใจอธิษฐานแต่เดมิ เป็นปัจเจกพุทธ (silent Buddhas) ครั้งเดียว อาจมีปรากฏได้หลายร้อยในพุทธกาลนี้ กอ่ นพระสัมมาสมั พทุ ธ ผูท้ รงสอน Perfect Buddha มีราว ๕๐๐ องค์ เร่อื งเหตุแหง่ พระพุทธเจ้า ทั้งหลายมีประการดังนี้แล ส่วนผู้มุ่งอธิษฐานเป็นสาวกพระพุทธเจ้า ท่านนี้สร้างบารมีไป ๑๐ ประการจนได้ผลในทีส่ ุด สมยั ท่านบวชเปน็ ฤาษี รจู้ กั กันระหวา่ งทา่ นพักอย่ใู นถ้�ำ และมอี ภญิ ญารดู้ ้วยว่าใครได้ สร้างบารมเี พ่อื เป็นปัจเจกพุทธผู้ไม่สอนใคร ถงึ เวลาที่จะสำ� เรจ็ โลกุตตรธรรมมรรคผลนพิ พาน แล้ว ท่านก็ไปยืนดักอยู่ข้างทาง เมื่อผู้นั้นเดินมาถึง ท่านก็เข้าไปจับข้อมือน�ำเข้าป่าไปเลย แนะใหแ้ ต่งตัวเปน็ ฤาษี ให้ทำ� กริ ิยานงั่ นอน ยืน เดิน แบบนักบวช ฤาษี แต่ไม่ไดส้ อนธรรม อะไร ท่านผู้นั้นก็ถึงธรรมข้ึน ปักเจกพุทธ พระพุทธเจ้าเงียบ ด้วยล�ำพังท่านเอง ท่านช่วย โปรดคนดว้ ยการบณิ ฑบาต โดยเฉพาะเมื่อทา่ นนัง่ นิง่ ไมเ่ คลอื่ นไหวในนโิ รธสมาบัติ โลกตุ ตร- ธรรม (Extinction Absorbtion Uptarnundone state) เป็นเวลาเจด็ วันเจด็ คืน วนั แรกท่ี ท่านออกบิณฑบาต หลงั จากสมาธนิ ัน้ แลว้ ใครไดใ้ สบ่ าตรไดร้ บั ผลบญุ มหาศาลทนั ใจ ทา่ นจะ มายืนอยู่หนา้ ถ้�ำ ใชอ้ ภญิ ญาณดวู ่า ใครเปน็ คนดี เหมาะสมท่จี ะใส่บาตรสมยั นนั้ กไ็ ปปรากฏ กายทใ่ี กลบ้ า้ นในตอนเชา้ วนั นนั้ เอง พระสัมมาสัมพุทธมาจากพระโพธิสัตว์ท่ีมุ่งปรารถนารู้ธรรม ความลึกลับของสัตว์โลก ทัง้ หมด คอื รตู้ น้ เหตขุ องสัตว์โลกท้ังหมดทตี่ ้องเกิด แก่ เจบ็ ตาย ทุกข์ ยาก ยอมเสียสละ ทั้งหมด แม้ชีวิตหลายชีวิตของตนเอง เม่ือรู้แจ้งโลกุตตรธรรม ธรรมพ้นโลกหลงทุกข์ เป็น 153

เวลาหลายแสนชาติ และมงุ่ ชว่ ยสตั ว์โลกใหพ้ น้ ทุกขแ์ ล้ว คอื หลงโลก หลงภพ หลงตน หลง คนอืน่ นึกเป็นตนๆ เป็น (ego self) เรา พระเจ้า ผสู้ รา้ ง (god) ตอ้ ง เกิด แก่ เจ็บ ตาย อยู่เร่อื ย พระโพธิสตั ว์ท้ังหลายเริม่ ดว้ ยการได้พบพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า องค์ลว่ งแลว้ ไดป้ รารถนา ความส�ำเร็จธรรม เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์น้ัน ได้อธิษฐานมุ่งผลทาน แล้ว ทำ� ทานเป็นครัง้ แรกในพระสมั มาสมั พุทธ เช่นพระสมณโคดมเจา้ เร่มิ เป็นพระโพธิสตั ว์ เม่อื ท่านเป็นฤาษีมีอภิญญามาก ได้พบพระทีปังกรพุทธสมัยดึกด�ำบรรพ์ได้ปรารถนาเป็นอย่าง ท่าน ได้อุทิศกายให้พระทีปังกรและพระสาวกเดินเหยียบหลังข้ามทางเปลือกตมไป พร้อม ตั้งอธิษฐาน คือต้ังความปรารถนาและสัญญาแน่วแน่ในใจต่อตนเอง และต่อสภาพธรรม ขอให้ผลทานในคร้ังน้ันได้ช่วยให้ท่านได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่น พระพุทธทีปังกรน้ัน เกิดและเมื่อพระทีปังกร ผู้ทรงตรัสรู้อนาคตว่าเป็นไปได้ ได้รับนิมนต์ของท่านแล้ว ได้เดิน เหยียบหลังข้ามทางเปลือกตมไปแล้ว ฤาษีตนน้ันจึงนั่งสมาธิด้วยอ�ำนาจอภิญญาฤาษีก็เห็น นมิ ติ (Device) ๑๐ ประการเกดิ รทู้ นั วา่ ทา่ นจะตอ้ งสรา้ งบารมี ๑๐ มีทาน ศีล เนกขมั มบารมี (ออกบวชรกั ษาพรหมจรรย์) เป็นตน้ มีปัญญาเปน็ ท่สี ุด ให้สมบรู ณจ์ ึงจะได้ส�ำเรจ็ ประสงค์ แต่นั้นท่านก็เริ่มเป็นพระโพธิสัตว์ บ�ำเพ็ญบารมีเร่ือยมาหลายแสนชาติจนในท่ีสุด ท่านก็ได้ตรัสรู้โลกุตตรธรรม สัมมาสัมโพธิญาณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในวันวิสาขบูชา ในสมัยของเราชาวพทุ ธผูม้ บี ุญ แม้ในสมยั พ.ศ. ๒๕๓๖ ทีโ่ ลกก�ำลังทรดุ หนักทางศลี ธรรม มนุษยธรรม แมด้ นิ ฟา้ อากาศที่เกนิ กงึ่ พุทธกาลเขา้ ไปแลว้ น่ีคือเหตุแห่งพระโพธิสัตว์ พระพุทธเจ้าในทุกกาลสมัย ไม่มีส้ินสุด เพราะเป็น สภาพธรรมประจ�ำ เพราะแม้ธาตหุ ยาบ คอื ดิน นำ้� ลม ไฟ ฝ่ายรปู หยาบ (ไม่ใช่รูปทิพย์ Magical form) ก็มีอยู่อย่างนั้น ไม่มีต้นปลาย ไม่มีสิ้นสุด (Energy) พลังธาตุเป็นอย่าง ยังง้นั แหละ พระพุทธองค์ทรงกลา่ ว ภูตธาตุ ๔ คอื ดนิ น�ำ้ ลม ไฟ หลาย (Energy matter) ท่วั ไป ไม่มีดับสูญ แตไ่ ม่สามารถหยงั่ ส่พู ระนิพพานธรรมไดเ้ ลย (เหมือนอาการ Movement) คล่นื บนผวิ นำ้� ทะเลจะลงไปส่กู น้ ทะเลไม่ไดเ้ ลย หรือ อาการคลื่น ไม่ใชน่ ้ำ� ท่เี ปยี ก H2O คงท่ี Constant ทั้งทเี่ ห็นคลืน่ อยทู่ ี่น้�ำ 154

๒๕๓๖ เราอย่ใู นโลกเพ่อื อะไร อนั นีม้ าแปลก ในกรงุ เบริ ์น สวสิ เซอร์แลนด์ ประโยคคำ� ถามของคนไทยดังข้างต้นน้ี ไม่มใี ครในสุวรรณภมู คิ อื ตลอดภาคใต้ของพมา่ ทัว่ เขตโยนกนคร (ล้านนา) ลา้ นช้าง สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสนิ ทร์ จนถึงรัชกาลที่ ๓ คดิ ถงึ หรือพูดถึงกันเลย เพราะความคิดเช่นนี้เป็นของชาวตะวันตก ยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เป็นวัฒนธรรมของเขา ที่ผ่านเขา้ สยู่ ุควตั ถนุ ยิ มวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม ธุรกจิ ขนาดหนัก นบั ต้งั แตต่ น้ ค.ศ. ๑๙ เป็นตน้ มา และคนไทยในประเทศไทย โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ รบั เอาไวโ้ ดยรู้ตัวหรอื ไมร่ ูต้ วั และไมร่ ู้ด้วยวา่ ความคิดเช่นนนั้ และอน่ื ๆ มากมายของตะวันตก ฝรั่งเป็นอย่างไร เร่ิมต้นต้ังแต่ชาวอเมริกันผิวขาวเคลื่อนย้ายจากแดนใกล้ทะเลสาบ แคสเปียนเข้ายุโรป กลายเปน็ กรีกโรมันและโดยเฉพาะเม่อื อาณาจกั รโรมนั ที่เรมิ่ รับคริสต์ศาสนา จากดินแดนเอเชีย คือแดนอิสราเอลล่มจม แล้วชนเผ่าเยอรมันมากมายหลายเผ่า รวมท้ังที่ เราเรียกว่า ฝรัง่ เศส ทอี่ ยู่ยโุ รปเหนอื กลางเขา้ ครองแดนยโุ รปเกือบทง้ั หมด กลายมาเป็นฝร่งั ทุกชาติในปัจจุบัน ผ่านยุคเทพนิยาย (มิโชโลย่ีเดิมของชาวอารยัน หรือ อินโดยูโรเนียน) พระเจ้าจูปีเตอร์หรือพฤหัสบดี ยุคปรัชญา ยุโรป แต่สมัยโสเครตีส พลาโต้ (เทียบพรหม) สร้างโลก ยุคเชื่อพระเจ้าหลายองค์ ยุคเช่ือพระเจ้าองค์เดียว ที่มีก�ำเนิดจากความคิดของ พระเจ้าอาเมนโฮเดปท่ี ๔ ของอียิปต์ หรือ อิดนาตัน ท่ียิวรับเอาไปคริสต์ศาสนา ยุคเร่ิม วทิ ยาศาสตร์ ยคุ ศลิ ปวิทยาการ ก้าวหน้าเกิดใหม่ (Renaissonce) ยคุ ปฏิวตั ใิ หญ่ในอังกฤษ สหรัฐฯ ฝร่ังเศส ที่เร่ืองโลก ผลประโยชน์ วัตถุนิยม เทคโนโลยี ได้ชัยชนะเหนือศาสนา จริยธรรม ศีลธรรม โดยเฉพาะเม่อื มนุษยเ์ รม่ิ คดิ ใชไ้ อน้ำ� ผลักดันหรือกลไก อันเปน็ วันทีย่ ักษ์ใหญ่ท่ีสุดในโลก คอื กเิ ลส โลภะ ราคะ โทสะ โมหะ บวกเข้ากับ ความรทู้ างวตั ถุตน่ื ขน้ึ ในโลกและแผ่อำ� นาจ ทวั่ ไป ความตายอย่างมโหฬาร ความทุกข์ กายใจ ความเสือ่ ม ศีลธรรม ทมี่ นษุ ยไ์ ม่เคยพบ มาแต่ก่อนเลย ยกเว้นในวัฏสงสารเร่ิมเกิดข้ึน ด�ำเนินโลกไปสู่จุดจบ ท้ังในด้านจิตใจและ วตั ถใุ นทส่ี ุด แม้จะยงั อย่อู ีกนานประมาณสามพันปี นบั ตั้งแตว่ ันทมี่ เี ครอ่ื งจกั รไอนำ้� อุตสาหกรรม เปน็ ตน้ มา 155

ประเทศทุกประเทศ ทุกยุคสมัย ถึงแม้จะกอปรด้วยพลเมือง แต่ก็อยู่และถูกน�ำไป โดยผู้น�ำ พวกชนชั้นผู้น�ำ ปรากฏตามประวัติศาสตร์โลกทั่วไป แม้กระทั่งทุกวันนี้และ ในอนาคตไมส่ ้ินสดุ แนน่ อน คนไทยยคุ ต้งั แต่รชั กาลที่ ๕ เป็นต้นมา ที่ชะตากรรมใหต้ อ้ งเกดิ ในหมู่ชนช้ันผู้น�ำ นักศึกษา อาจารย์ ข้าราชการ นักการเมือง เป็นต้น เริ่มลืมวัฒนธรรม พื้นเดิมของสุวรรณภูมิ คือตั้งแต่พระพุทธศาสนาได้เผยแพร่สู่แดนสยามต้ังแต่สมัยพระเจ้า อโศกมหาราช ราว พ.ศ. ๓๐๐ ปรากฏหลักฐานท่ัวไปโดยเฉพาะท่ีนครปฐม สมัยทวารวดี เป็นวัฒนธรรมสมัยพนมเปญ เริ่มลืมพ้ืนเพเดิมของตน หรือจะเรียกตามสมัยนิยมค�ำว่าฝรั่ง หรอื แปลจากภาษาฝรั่งว่า รธู หรือ ราก ของชนชาติโดยเฉพาะอย่างย่ิง ภาษาไมใ่ ช่ว่า เรา จะใช้ภาษายุโรป ตัวหนังสือยุโรป อย่างญวนต้ังแต่เป็นอาณานิคมฝร่ัง แต่พูด เขียน เป็น ภาษาไทย แต่ความคิดเป็นตะวนั ตก ชนิดตามเขาไปซึ่งความคดิ แบบตะวันตกนีเ้ อง ถ้าคนไทยได้อยู่สนิทสนมกับชาวตะวันตกในแดนฝรั่งมานานๆ นับสิบปี ยี่สิบปี ย่อม รู้ได้ว่า ชาวตะวันตกมากมายก็ไม่รู้ว่า โดยความจริงแท้มันคืออะไรกันแน่ หรือไม่สนใจที่จะ รูเ้ สียเลย สรุปจงึ เปน็ ว่า เราอาจศึกษาตามเขาไปเรอ่ื ย พดู ตามเขา นกึ วา่ ตดิ ตามเขาวา่ เปน็ อยา่ งน้นั อยา่ งน้ี แต่ความจริงเปน็ อย่างอ่นื เราไดป้ ระโยชนท์ างภาคปฏิบตั ดิ ้านวัตถุ สร้างโน่น ท�ำน่ี แต่ไม่เก่ียวกับความรู้จริง สัจธรรม ความมีศีลธรรม วัฒนธรรมท่ีดีท่ีสุดแต่อย่างไร อันเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดของสัตว์โลก และในที่สุด แม้ฝร่ังเองที่มุ่งหาความรู้จริงสัจธรรมก็ต้อง เข้ามาบวชเปน็ พระวดั ป่า หาภาวนาพุทธธรรมในประเทศไทย นำ� พทุ ธไปตะวนั ตกทต่ี ้องพดู เช่นน้ีก็เพราะอะไรเก่ียวกับตนเอง คนอ่ืนก็ล้วนแต่ข้ึนอยู่กับคิด พูด ท�ำที่พระพุทธเจ้า พระอริยสาวกทั้งหลาย คือตั้งแต่โสดาบันขึ้นไปรู้ว่าส�ำคัญที่สุด ถ้าเราไม่รู้ว่าท่ีเราคิด แม้ คำ� พูดที่เราคิดแล้วพดู มนั มีธรรมชาตขิ องมนั คอื ความคิด คำ� พดู เป็นอะไรกันแน่ ตวั อย่างเชน่ ประโยค “เรา” อยู่ในโลกเพื่ออะไรกนั แน่ ความคิดวา่ “เรา” เป็นความหลง เป็นหัวอวชิ ชา เสียแล้ว เป็นสกั กายทิฏฐิ เครือ่ งผูกจ�ำจอง เป็นสังโยชน์ทห่ี นึง่ ในสังโยชน์ ๑๐ เหตุ เกิด อยู่ ตาย ทุกข์ เปน็ ความหลง คือไม่ร้จู ักสภาพธรรมไมเ่ พียงเปน็ ธรรมชาติ ธรรมธาตุ คอื อนตั ตา ไม่ใช่ fix self, ego personality โดยเฉพาะกายใจนี้ ท่ีทางพุทธศาสนาเรียก อายตนะ มีกาย ใจ เปน็ ตน้ ขนั ธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เปน็ สภาพธรรม ธรรมชาติ ถ้าเข้าใจในธรรม ธรรมดา ธรรมชาติ ความคิดผิด มิจฉาทิฏฐิว่า เราๆ เขาๆ ตน ego self who (fix) personality (fix) ในทั้งหมด กาย ใจ ขันธ์ ๕ จึงจะดบั ไปได้ ทกุ ข์ 156

เพราะโงจ่ ึงดับพร้อม แต่กต็ ้องด้วยอำ� นาจโลกุตตรธรรม (Ultramundane nature) อริยมรรค แต่โสดาบันข้ึนไป ที่ยากที่จะทำ� ให้เกิดขึ้นได้ เพราะต้องอาศัยผลงานเก่า คือ การสร้างบุญ บารมี มที าน ศีล ภาวนา เป็นต้น มานมนานทที่ างพระทา่ นเรียก ปพุ เพกตปุญญตา ความ เป็นผู้มีบุญคุณความดีอันได้ท�ำไว้แล้ว และการกระท�ำกรรมปัจจุบันร่วมกัน สร้างอุปนิสัย จรติ (ศรัทธาจรติ พทุ ธจริต เป็นต้น) ก�ำลังใจ (ศรัทธา วิรยิ ะ สติ สมาธิ ปญั ญา) ขาด สงิ่ เหลา่ น้ี พทุ ธปัญญาทำ� ลายกเิ ลส อวิชชา ทกุ ข์ ไม่มีทางเกดิ ขึน้ ได้ สรปุ แลว้ ความคดิ ว่าเรา ก็คือหัวอวิชชา หลง ถ้าเช่นน้ัน ท�ำเพือ่ อะไร ใคร อยเู่ พอ่ื อะไร ใคร ปัญหาเชน่ น้ีในทางทถ่ี ูก ไมม่ ี เพราะเร่ือง เกดิ แก่ เจบ็ ตาย เปน็ สภาพธรรมชาติ ความคดิ วา่ “เพือ่ ” ก็เพราะหลง เทา่ น้ันเอง ในสภาพธรรม ธรรมดา การเกิด อยู่ เป็น มนั เป็นเช่นน้นั เอง เรยี ก แบบฝรงั่ วา่ No choice ไมม่ ที างเลือก ในสายแหง่ การเกดิ แก่ เจบ็ ตาย ของ กายใจ นามรปู อายตนะ มี ภว เปน็ ต้น (พรอ้ มโง่) ขันธ์ ๕ อนัตตา อวชิ ชา กรรมวิบาก พรอ้ มน้ี พูดแบบคนไทยพทุ ธ คอื เกดิ มา อยู่ใน และจะเปน็ ไปตามกรรมทีใ่ ครๆ ท�ำไวใ้ นอดตี ปจั จบุ ัน ไมม่ ที างเลือก ผูท้ ี่ จะหาทางออกจากอวชิ ชา ความโง่ กิเลสในโลภะ ราคะ โทสะ โมหะ ก็มนี อ้ ยมาก และท�ำ ได้ส�ำเร็จ เช่น พระพุทธเจ้าทั้งหลายและพระสาวก แต่โสดาบันข้ึนไปก็มีน้อยมาก อย่างท่ี พอหาได้บ้างก็คือพวกพุทธบริษัท ชาวพุทธทั้งหลายท่ีมีศรัทธาดีพอสมควรในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ไม่ใช่อยทู่ เี่ ขา้ ใจว่า เรารธู้ รรมเป็นผวู้ เิ ศษ แต่เป็นผนู้ ้อยใจในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ สรณะท่ีพ่งึ อยา่ งแรงกลา้ มุ่งท�ำลาย อวิชชา ลว่ งพน้ ความสงสยั ใน พระนิพพาน สัจธรรม เข้าเปน็ ท่พี ง่ึ อันเดยี วในสภาพธรรมทง้ั หมด ปฏิบัตทิ าน ศีล ภาวนา ตามก�ำลงั ศรัทธา ปัญญา เทา่ ทจี่ ะเป็นไปได้ ส่วนคำ� วา่ โลก เลา่ โลก ก็คอื หลง น่นั เอง เพราะโลกทุกชนิด อยใู่ น ภพ ๓ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ทอี่ วชิ ชา (โง่) สร้างขึ้นนนั่ เอง ภพหลงดับ เมอ่ื อริยมรรคเกิดขน้ึ อรหัต สรปุ ประโยค “เราอยูใ่ นโลกเพ่อื อะไร” ก็คือ หลง (ทกุ ข)์ อย่ใู น หลง (ทกุ ข)์ เพอื่ (คือหลง) อะไร คือ วิจิกิจฉา นวสนธรรม ส่วนค�ำว่า อยู่ ก็คือ หลง คือ สักกายทิฏฐิ ยึดขันธ์ ๕ เป็นตัวตนอยู่ ภว (ภพ) ท่ี อวชิ ชา ท่ีจติ ประดษิ ฐ์ข้นึ 157

๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๖ มนต์ขลงั จาก Basel บาเซลิ สวิสเซอรแ์ ลนด์ เรียบเรียงโดย คุณพรพิมล จันทรด์ ี พระพุทธองคท์ รงแนะสัจธรรม อริยมรรค อรยิ สติ สติปฏั ฐาน สติสัมโพชฌงค์ เปน็ เคร่ืองท�ำลายอวิชชาจากกาย ใจ จิต ท�ำให้เห็นแจ้งสัจธรรม นิพพาน อมตธรรมเท่านั้น จริง ไม่ใช่สังขารอวชิ ชา สภาพธรรมจรงิ ไม่เกิดจากโง่ จรงิ คือ อมตธรรม ไมใ่ ช่เรือ่ งโลกๆ ไมม่ ีอะไร ไมม่ ีเรือ่ ง (No existence of space-time of sense = delusion of Mind blind) แต่เพราะอวชิ ชา ไม่ร้จู ักกาย ใจ จริง ไม่รู้จกั ทุกข์ อปุ าทานขนั ธ์ ไมร่ ู้จักขันธ์ ๕ ตามเป็นจริง อวชิ ชาจึงมีเร่อื ง ถ้าไม่มีอวิชชา กไ็ ม่มีตนหลง โลกหลง ไม่มีกรงขัง ไม่มปี ัญหาโลก แตเ่ ป็นเรื่องยากมาก สิง่ ทนี่ า่ กลวั ย่ิงกวา่ เพ่ือน คือ กิเลส อวิชชา ทกุ ข์ ไมใ่ ชอ่ ยา่ งอ่นื ทงั้ หมด เหมือนขังอยู่ ที่กาย ใจ ไม่ใช่เราติดอยู่ในกรงขังอันมืดมน แต่จิตอยู่ใต้มนต์อวิชชา ท่ีสร้างและครองภพ โลกหลงท้งั หมด เกิดภพ existence โลกของทีม่ สี ัตว์ ความคิดว่า เราในรา่ งกาย ความนึกคิด ความรู้ที่เกิดขึ้น คือ หลงภพ เกิดภพ หลงนี้ เราหลง โลกหลง กายใจหลง พร้อมกันน้ัน ความคิดว่า “เขา” ก็เกิดขึ้น พร้อมความคิดว่า “ตน” “เรา” และ ส่ิงแวดล้อมเรากับโลก เกิดความเก่ียวข้อง ขัดข้อง (conflict) การกระทบท่ีกาย ใจ สุข ทุกข์ เวทนา ๓ พร้อม ความต้องการและกรรม ตัณหา อุปาทาน ยึดขนั ธ์ ๕ สงั ขาร อนัตตา เปน็ ตัวตน เปน็ ของจรงิ นคี่ ือผลของกรรม ไดแ้ ก่ ภพ ชาติ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทกุ ขเ์ พราะโง่ (อวิชชา) อนิจจงั ทุกขงั อนัตตา เปน็ ไปพรอ้ ม พระพทุ ธองค์ทรงแจ้งโลกจรงิ เพราะจติ บรสิ ทุ ธิ์ พทุ ธจักขบุ รสิ ทุ ธ์ิ 158

คุณดอน ปรมัตถว์ ินัย เอกอัครราชทตู ไทยประจำ� นครเบอรน์ สวิสเซอรแ์ ลนด์ เพราะอวชิ ชา ธรรมกศุ ล อกศุ ล กลางๆ จงึ เกิดข้ึน แปรเปลี่ยนอย่เู ร่อื ยๆ สขุ ทกุ ข์ ไมส่ ขุ ไมท่ ุกข์ โลกธรรม ๘ เปน็ ไปตลอด เป็นอสัจธรรม นิพพานเท่าน้นั “จรงิ ” อยา่ งอนื่ ไม่ ตวั เราแทๆ้ น้นั ไมม่ ีอะไรเลย ไม่มีโลกเกิด ตาย อย่างไรก็ตาม ข้อปฏิบัติธรรมท่ีถูกต้อง พระพุทธองค์ทรงสอนให้ภิกษุวางกังวลใน ขันธ์ ๕ กายใจทง้ั หมด คือวางกังวลในท้ังหมด ถา้ ยดึ มั่นอันใด กย็ ึดขันธ์ ๕ ทนั ที เปน็ โลกทกุ ข์ 159

มนตข์ ลังจาก Basel ๒ (คณุ เมตตาภาวนา) ภาวนา พระพุทธองค์ ทรงกล่าวมีคุณมากมายเป็นประโยชน์มากมายแก่ผู้ภาวนา แมช้ ว่ั ลดั น้วิ มือเดียวหรือหน่ึงขณะจติ ก็ตาม ถ้าพร้อมเมตตาภาวนาส่งส่วนกุศลถึงสรรพสัตวโลกท้ังส้ินท้ังมวลในวัฏสงสาร เพื่อน รว่ ม เกดิ แก่ เจ็บ ตาย ทุกขไ์ วด้ ้วยก็ยิง่ เป็นการดี เพราะเหมือนมอี ริยทรัพย์มงั่ มีแจกจา่ ยไป ไดท้ วั่ ไป ไม่มหี มด มแี ตจ่ ะเป็นคุณมากขนึ้ เพราะภาวนาธรรม เจรญิ สติปญั ญา ใหจ้ ติ คอ่ ย สะอาดขึ้น เป็นกุศลสูงสุดเป็นความมั่งมีอริยทรัพย์สูงสุด ถัดลงมาจากบรรลุโลกุตตรธรรม คอื อรยิ มรรคผลแตโ่ สดาบนั ขึ้นไป ถา้ พดู ถึงประโยชนธ์ รรมดาๆ ในทัศนชีวติ และความเขา้ ใจธรรม เขา้ ใจโลก เขา้ ใจคน ตนเอง สตั วโลกไดด้ ยี งิ่ ขน้ึ เข้าใจธรรม พทุ ธธรรม อนจิ จัง ทุกขงั อนัตตา กม็ ปี ระโยชน์อยมู่ าก ถ้าทำ� จิตสงบ เพราะสมาธภิ าวนา สติภาวนาได้พอสมควร มั่งมอี รยิ ทรัพยแ์ ล้วก�ำหนด จิต แผ่ส่วนกุศลให้ สรรพสัตว์ทั้งหลายท่ัวไป แล้วก็บุคคลท้ังหลายท่ีได้เคยพบเห็นใกล้ชิด มากน้อย นับแต่เกิดมาจ�ำความได้ก็จะเห็นความมหัศจรรย์คล้ายกับเราได้เห็นภาพชีวิตจริง คลี่คลายไปแต่ต้นม้วนภาพยนตร์ชีวิตเม่ือเราเป็นทารกจนถึงปัจจุบันได้เห็นภาพนับแต่บิดา มารดา ญาติ มิตร คนอนื่ ๆ มากมาย ท่ีไดเ้ หน็ ไดร้ ู้จกั ไดใ้ กล้ชดิ มาต้ังแต่ ๔-๕ ขวบ เหตุการณ์ ในอดตี เหมือนฝนั ทหี่ ายไป ธรรมชาตชิ ีวติ ดับสญู หายไปหมด เหมอื นไม่เคยมี ไมเ่ คยเกิดขน้ึ เลย ไม่ว่าบ้าน ไม่ว่าวัด ผู้คนพระสงฆ์องค์เจ้าในท่ีนั้นๆ เหมือนไม่เคยเกิดข้ึนเลยไม่เคยมีเลย โดยเฉพาะเมอ่ื ผภู้ าวนามอี ายมุ าก ๖๐-๘๐-๙๐ ปี ผู้คนในอดตี -สูญญโตไปหมดเหลอื แต่กาย ใจ โลก ปจั จบุ นั สุข ทุกข์ ปจั จุบนั กเิ ลสปัจจบุ นั อวชิ ชาความโง่ปัจจุบัน ทุกขเ์ พราะกิเลส และอนาคตของชีวิตของโลกที่ไม่มีใครรู้ได้ถูกต้องชัดแน่นอนในปัจจุบัน เพราะท่านผู้รู้คือ พระพุทธองค์ได้ทรงสู่พระปรินิพพานไปนานแล้ว ทรงท้ิงไว้แต่พระศาสนาท่ีผู้มีบุญบารมี ปพุ เพกตปญุ ญตา ไดท้ ำ� บุญไว้กอ่ นแลว้ ได้ศึกษาปฏบิ ัติหาทางพน้ ทกุ ข์ต่อไป 160

มนต์ขลงั จาก Basel ๓ ข้อค�ำนงึ อะไรซ่อนอยทู่ ่ีน่ี หรอื มันยากไม่งา่ ยอยา่ งทีค่ ิด เห็นอย่างนี้รู้อย่างนี้ ว่าเราเขาโลกอย่างน้ันอย่างนี้ ชอบใจ ไม่ชอบใจ อันนี้เป็น เสยี งกระซิบของขนั ธ์ ๕ ทอ่ี ยู่ใตอ้ �ำนาจพญามาร เราน่ังอย่ทู น่ี ี่ ทำ� อะไรอยู่ คดิ อยู่ ก็เหมอื น กับว่าเร่ืองนัน้ เรือ่ งนี้ ส�ำคัญ ไมส่ ำ� คญั อยา่ งนัน้ อย่างนี้ ใคร่ รกั เกลียด กลวั โกรธ ก็ เหมือนกัน คิดท�ำ พูดดี ไม่ดี กอปรกรรม ท�ำบุญ บาป ก็เหมือนกัน เน้นการท�ำงานของ ขันธ์ ๕ ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ พร้อมโง่ อวชิ ชา กิเลส ทปี่ รากฏวา่ เราๆ อยู่น้ีแหละ ส่วน สภาพธรรมจริงเดิมท่ีอาศัยอันน้อี ยู่ หรืออาศัยกายใจ อายตนะ ขันธ์ ๕ กำ� บงั อยู่ หรือทถี่ ูก อวชิ ชาบดบงั อยู่ ไมป่ รากฏเอาเสยี เลย เหมอื นพระอาทติ ยถ์ กู เมฆบดบังไม่ปรากฏเลย ตอนนี้ ขณะน้ี อาศัยร่างมนุษย์ อาศัยขนั ธ์ ๕ อวิชชามนุษย์ ทแี่ ลว้ มาได้ อาศยั ขนั ธ์ ๕ อวิชชาเทวดา พรหม หมา หมู ปลา หนอน แมลง ร่างสัตว์ อากาศ บก น้�ำ ผี เปรต สมั ภเวสี เรร่ อ่ น สัตว์ นรก อะไรมาแลว้ กจ็ ำ� ไม่ได้ เพราะปจั จุบันเท่านั้นปรากฏกายทีเ่ ป็นศพ เปน็ กอ้ นดิน อดตี สูญ อนาคตยงั ไมม่ ี จะไปอาศัยขนั ธ์ ๕ กายใจ ทพิ ย์ ไม่ทิพย์ ชนดิ ไหน ต่อไป ก็ไม่ทราบ แล้วแต่บุญกรรมท�ำไว้ก็แล้วกัน ตราบใดที่อวิชชาธาตุเป็นมหาธาตุหรือ มหาภตู ธาตุ ยงั บดบังจติ อยู่ก็ตอ้ งเปน็ อยู่อยา่ งน้ี พระพุทธองคท์ รงกล่าวว่า น่ีคอื อริยสัจท่ี ๑ คอื ทุกขเ์ พราะหลง ยึดขันธห์ า้ เป็น “เรา” “เขา” “ตบ” “ใคร” เรากับเขา เรากับโลก เปน็ ของจรงิ แท้ ทกุ ข์โลกธรรม ๘ บวกอวชิ ชากว่าจะเจริญธรรมทม่ี อี �ำนาจเหนือโลก โลกุตตรธรรม พุทธธรรม คือเหนืออวิชชา มาท�ำลายเมฆด�ำที่บดบังพระอาทิตย์ให้หายกระจายไปหมดได้ พระโพธสิ ัตวเ์ จ้าต้องทนล�ำบาก สรา้ งบารมีเริ่มแตอ่ ธิษฐานบารมีเปน็ ตน้ ไป คอื บารมี ๑๐ คอื ทาน ศีล ออกบวช ขนั ติ อดทน วิริยะ พากเพยี รและอ่ืนๆ ตอ่ ไป ทงั้ อยา่ งตำ่� กลาง สูงสุด เป็น บารมี ๓๐ ทัศ ใชเ้ วลาหลายแสนชาตกิ ว่าจะบรรลธุ รรม ความรู้เหนือโลกเป็นโลกุตตรธรรม 161

พน้ อ�ำนาจอวชิ ชา ท�ำลายภาพหลง คอื กามภพ แตย่ อดพรหม เทวดา ไปจนก้นนรก รปู ภพ (โยคะฌาน) อาศัยรปู นิมิต อรูปภพ (ของปุถุชน อรูปพรหม) จากจติ เดมิ ได้ ส่วนผู้เห็นความยากล�ำบากที่จะเป็นพระโพธิสัตว์ ปรารถนาเพียงเป็นสาวกบรรลุ ธรรมของอริยสาวกเป็นโลกุตตระ พ้นโลกหลงแต่พระโสดาบันข้ึนไป มีมจิ ฉาทิฏฐสิ �ำคญั ที่สุด อนั ถกู ท�ำลายเสยี แลว้ คอื สกั กายทฏิ ฐิ คือไม่รูแ้ จง้ ขนั ธ์ ๕ อนตั ตา ดว้ ยอ�ำนาจความบังเกดิ ข้นึ ของอริยมรรค โลกตุ ตรธรรมขน้ั โสดาบัน ทำ� ลายความเหน็ ผิด คือ สักกายทิฏฐิทหี่ ลงขนั ธ์ ๕ เป็นตัวตน (ego, self, who, whom, gods, god, self, subjective objective inside outside touch+conflict movement space and environment time origin-end cause condition effect energy matter) เสียได้พ้นสภาพสัตว์โลก (Worldly being) ปุถุชน (worldlings) พน้ หลง เราหลงเขา หลงภพชาติ เกดิ ตาย ทกุ ข์ โง่ ได้เสียที พระพทุ ธองค์ ทรงกลา่ ว วตั ถุธาตุ (matter) ไมด่ บั สญู แต่หยัง่ ลงส่นู ิพพานธรรมไม่ได้ แต่มันยาก ถามทา่ นพระอาจารย์ชอบ (ฐานสโม) เมื่อสมัยราว พ.ศ. ๒๔๙๔ ที่บนเขากะเหรีย่ ง บ้านยางผาแด่น เชียงใหม่ เมื่อราว ๔๕ ปี ภายหลังภิกษุฝร่ังชาวแคนาดาได้ธุดงค์ไปพัก ต่อมาเป็นอาจารย์ภาวนาและเป็นสมภารวัดธรรมปาละในสวิสเซอร์แลนด์ สมัยท่านยัง ไม่แก่เฒา่ เมือ่ ราว ๕๐ ปีกอ่ นโนน้ ก่อนที่ท่านจะเปน็ หลวงปู่ เรือ่ งภาวนา (พุทธ) ทา่ นก็ ยังวา่ ทีม่ ันยาก มนั ก็ยงั ยากอยู่ เม่ืออยู่โดดเด่ียวหลายปี แดนชนบทบางป่าเขา ออสเตรเลียก็ได้ต้ัง Motto ของชีวิต สัตวค์ นทั่วโลกขึ้นวา่ 3D 1. D (Dangers) 2. D (Difficulty) มนั ยาก ลูกศิษยว์ ัดเคยบอก 3. D (Death) ตายแน่ กอ่ นทจ่ี ะได้ Discover 3 functions ของกรรม คอื 3W เกิดกบั ใคร ทไ่ี หน เวลาใด when where whom 162

ธรรมจาก Basel ๔ ท่ีร้ายที่สุด ร้ายทีส่ ดุ ส�ำคัญท่ีสุด อะไรไม่เทา่ กับทกุ ขท์ มี่ าถึงตน เวลาท่ีอยทู่ กุ วันๆ วง่ิ เดินแสวงหา สนุกสนาน หวัง กลัว เกลียด รักกันอยู่ทุกวัน เลยลืมตัว ที่ลืมอยู่ตลอดศก เมื่อทุกข์ถึง ตัวอะไรไม่เหลือ นอกจากว่าก�ำลังจะดับไป นอกนั้นหาย โลกท้ังหมด ความหมายท้ังหมด ดูเหมือนสูญไปเลย กาย ใจ ชีวิต ก�ำลังกาย ใจ เกือบไม่มีเหลือเหมือนล้มสลบดับสูญไป นีย่ ังดที ีไ่ ม่มเี วลารสู้ กั อะไรเลย ดับชพี ไปทันทเี ฉยๆ ยงั มีอีกมากมาย กรรมของสตั วโ์ ลกรวมท้ัง มนุษยด์ ้วย ถ้าเปน็ เทวดามีเวลาบอกสัญญาณบอกล่วงหน้า ๗ วันเทวดาพอให้ร้องไหเ้ สียดาย สวรรคแ์ ละฟงั คำ� ปลอบโยนของเทพมิตร ท่ีลมื ไม่ได้ ไม่อยากนกึ นึกไม่เป็น ไม่เคยนึก ไม่เคยสนใจ กเ็ ป็นธรรมดาโลก ธรรมดา กรรมของสตั ว์ เพราะทกุ ข์แทค้ ืออปุ าทานขนั ธ์ ๕ ทรี่ า้ ยกว่าทกุ ขธ์ รรมดา เกิด แก่ เจบ็ ตาย ได้ เสีย ไมไ่ ดด้ งั ใจ หนักแนน่ หนายงิ่ กวา่ นนั้ มาก เพราะเหตขุ องทกุ ข์แท้ อุปาทานขนั ธ์ ๕ น้ัน ใหญโ่ ตพอเทยี บกบั ความเห็นว่า พระเจ้าเป็นผสู้ รา้ งโลกของพวกนอกพทุ ธศาสนา 163

พระพทุ ธองค์ทรงกล่าว อวชิ ชาธาตเุ ปน็ ธาตใุ หญ่มหันตธาตุ ท่พี ระท่านสวดอภธิ รรม ธรรมอย่างใหญ่ยิง่ แต่กเ็ ฉพาะเมื่อศพวางอยนู่ นั้ ก็วา่ กุสะลา ธมั มา อกุสะลา ธมั มา กม็ าจาก น้ันแหละ อวิชชาธาตุเป็นปัจจัย (Condition) ใหญ่ปรุง (สังขาร) ขึ้นมา สุข ทุกข์ เฉยๆ ก็เหมอื นกับภพ ๓ สตั วโลกท้งั หมด พอเทียบไฟฟ้า บวก ลบ กลาง ทง้ั ทุกกลุ่ม สุรยิ จักรวาล กาแลกซ่ี ถ้าเป็นชาวพุทธ ระลกึ ถึงสภาพธรรม โดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วกับตนเองกเ็ ปน็ ผไู้ ม่ประมาท แต่ว่าคนทุกคนในทุกโลกธาตุ แม้สัตว์ทั้งหลาย แม้กายทิพย์ก็เหมือนตนเองนั่นแหละ ไม่มี อะไรวิเศษกว่ากันเลยหรือแตกต่างกันในแก่นสารเลย ต่างแต่ภายนอกเท่าน้ัน แก่นสารก็คือ โง่ เกดิ แก่ ตาย ทุกข์ กิเลส มองเหน็ ชัด ตนเองสรรพสตั ว์อ่ืนเหมอื นกนั หมดทว่ั ทกุ โลกธาตุ จักรวาล (Universal) กเ็ ท่ากบั มองเห็นโลกทุกข์ ภพหลง วัฏสงสาร เหมอื นเอากล้องทันสมยั ส่องดู (galaxies) กล่มุ สรุ ิยจกั รวาลนบั พันๆ ลา้ นกลมุ่ ชวี ิตสตั วท์ กุ ชนิด แม้กายทิพย์เทวดา พรหม อาภัสสระ สัตวแ์ สงสวา่ ง พวกพรหมกเ็ กดิ ตายอยนู่ นั่ แหละ ไม่พ้นโง่ พ้นทกุ ขไ์ ปไดเ้ ลย เพราะจิตอยู่ใต้มนต์อธิรา แม้ตัวพญามารมอง (พระโมคคัลลานะในอดีตก็เลยเป็นพญามาร มาแล้ว ได้เข้าสิงเด็กริมถนนเอาก้อนหินปาศีรษะอัครสาวก พระวิปัสสีพระพุทธเจ้าแตก มาแล้วลงนรกหลายแสนปี ท่านเล่าเรื่องน้ีด้วยตัวของท่านเอง เมื่อถูกมารหลานชายในอดีต มารงั ควาน) ธรรมน้ันรวมท้ังหมดทั้งที่เปลือกนอก ท้ังท่ีแก่นสาร ทั้งสังขารเกิดดับ และไม่เกิดดับ อรยิ สจั ๔ พระนพิ พาน (Relativity) ของ (absolute) เหมือนมหาสมทุ ร เป็นคำ� พูดหมายรวม นำ้� อวิชชาธาตคุ งที่ H2O ไฮโดเจน ออกซเิ จนคงที่ (Constant) และอาการ (movement, space-time Perception Condition) สัญญา สมมตุ ิ คอื คลน่ื ทุกอย่าง ครบถว้ นเป็นธรรม 164

ธรรมสรุป Basel (มนตข์ ลงั จาก Basel ๕) ปญั หาทัว่ ไปทัง้ หมด ชวี ติ ทำ� ไปท้ังหมด แต่ยอดพรหมถึงสัตว์นรก สรุปลงท่ีมจิ ฉาทิฏฐิ (การไม่บรรลพุ ุทธธรรม ความเหน็ นอกคำ� สอนของพระพุทธองค)์ หรือสมั มาทิฏฐิ (โลกตุ ตรธรรม โลกุตตระ ศีล สมาธิ ปญั ญา อริยมรรค) หรือได้ยินอย่างปุถุชน-สติปัญญา เห็นธรรม เป็นสักกายทิฏฐิ นึกเป็นเราๆ เขาๆ (I and not I) ท่เี กดิ พรอ้ มกนั เปน็ (I and the world) เรากับโลก โลกไม่ยุติธรรมกับเรา เขา มีโลกสญั ญาเป็นภพ โดยเฉพาะกามภพ ตัง้ แตพ่ วกเทพทกุ ชนิดจนถึงพวกนรกได้เห็น ได้รู้สึก ไดร้ ู้ คิด กเ็ หมือนกันกับไดย้ นิ สกั แตไ่ ดย้ นิ ได้รู้สักแตร่ ู้ เพราะได้ฟงั สติปฏั ฐานมาจากพระพทุ ธองคห์ รอื จากพระธรรม ดบั อุปาทาน ขนั ธ์ ๕ ความยดึ ขนั ธ์ ๕ ธรรมดา ธรรมธาตุ อนัตตา ได้ดบั ทุกข์ไดด้ ับ ภพหลง โลกหลง ตนหลง เขาหลง เทพเจ้าหลงได้เดด็ ขาด 165

166

๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๐ หลวงปู่บุญฤทธก์ิ ับคณะลกู ศิษย์ ท่ี Berlin, Germany ธรรมลา Basel ความผิดจากโง่ท่ีสุดในโลก คือมองเห็นแต่ความผิดของคนอ่ืน มองไม่เห็นว่าเป็น ความผิดทส่ี ดุ ในโลก คือ ความผิด ความโง่ ความประมาท ความหลง ทมี่ ีอยู่ท่ีตนเอง เพราะ ความผิดนี่เอง จึงไม่พ้นทุกข์ไปได้ เพราะไม่เคยคิดถึง หรือคิดถึงแต่ไม่ได้ขวนขวายหาทาง ให้พ้นทุกข์ไปได้สักที หลงลืม ค�ำสอนของพระพุทธองค์ หลงลืม พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คอื เอาโลกหลงเป็นใหญ่กว่าสภาพธรรมจรงิ ไม่รจู้ กั อวชิ ชากเิ ลสวา่ มีพิษสงเพียงใด 167

๑๑ ธนั วาคม ๒๕๔๐ เสยี งธรรมจากเมก็ ซโิ ก วันวิสาขบูชา วันวิสาขบชู า เป็นวนั ส�ำคญั ของสัตวโ์ ลกทงั้ หมด คือเป็นวนั ที่พระพทุ ธองค์ทรงประสูติ ตรัสรู้ธรรม สภาวทุกข์ และหนทางพ้นทุกข์ของสรรพสัตว์ท้ังหลายตามสภาพธรรมจริง และวันปรินิพพานดับขันธ์กายใจ แต่พุทธคุณยังคงอยู่เสมอ พุทธจิตบริสุทธ์ิ พระพุทธองค์ ทรงกล่าวหยง่ั ลงส่สู จั ธรรม วสิ ังขารธรรม อมตธรรม นพิ พานธรรม ตง้ั แต่วนั ตรสั ร้แู ลว้ พระธรรมคำ� ส่ังสอนของพระพุทธองค์ตลอดเวลา ๔๕ ปี นับแต่วนั ที่แสดงพระธมั มจักรฯ คือสภาพธรรมรวมทงั้ หมด คือทุกขท์ แี่ ทจ้ รงิ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ผู้บรรลธุ รรมพน้ โลก โลกุตตรธรรม คือพระพุทธศาสนาเท่านั้นพึงรู้แจ้งได้ ตลอดจนพุทธอริยสาวกพึงรู้แจ้งตามได้ คือ ทุกข์ที่ เกิดแต่ความมืดบังจิตคืออวิชชาธาตุ อันเป็นต้นเหตุของตัณหาด้วยอวิชชาความโง่เป็นเหตุให้ เกิดทกุ ข์ที่แทจ้ ริงคอื กายใจนี้ พร้อมด้วยอวชิ ชาตัณหาไมแ่ จง้ สภาพธรรมจริง ยดึ เอาทุกขณะจิต ว่าเป็นเราๆ ของเราๆ ท่ีกายใจนี้ อันนี้คือทุกข์ที่แท้จริง พร้อมทั้งเหตุตามธรรมชาติ คือ อวชิ ชา ตัณหาอปุ าทาน ยดึ ดว้ ยจติ โง่ เรียกว่า สมทุ ยั สัจจ์ ทั้งนโิ รธธรรม ความดบั ทกุ ขท์ ่เี กิด จากโง่โดยส้ินเชิงอนั พึงรแู้ จง้ พร้อมความดับเหตุตามธรรมชาติ คอื อวิชชา ตณั หา อปุ าทาน ยึดดว้ ยจติ โง่ เรยี กวา่ สมุทยั สัจจะ ทง้ั นโิ รธธรรม ความดบั ทกุ ข์ที่เกดิ จากโงโ่ ดยสน้ิ เชิงอนั พึง รแู้ จง้ พรอ้ มความดบั เหตุ คือ อวิชชา ตัณหา ไดเ้ พราะไดเ้ จริญภาวนาทำ� ให้เกดิ โลกุตตรธรรม ธรรมพ้นหลง คือ โลก กาย ใจ หลง ขันธ์หา้ คืออรยิ มรรคแปดมคี วามเห็นถกู คอื โลกตุ ตระ ปัญญาพุทธข้นึ ได้ เปน็ ตน้ คอื เปน็ แจ้งธรรม เป็นธรรมตามสภาพธรรม ความเห็นผดิ แบบโลก ปุถุชนดับสูญไปทันทีพร้อมทั้งส้ินทุกข์ปรากฏสิ้นเชิงไปตามธรรมชาติ รู้แจ้งใจเป็นปัจจุบัน ย่อลงคอื อริยศลี สมาธิ ปัญญา โดยขณะจิต ปฏบิ ตั ธิ รรมจรงิ คอื สติปฏั ฐาน พทุ ธสติ คอื รู้สักแตร่ ู้ ท�ำพทุ ธกจิ ไดส้ �ำเร็จเปน็ เอกายมรรค 168

สง่ิ เดยี วพงึ หว่ ง สัจธรรมประการเดยี ว ไมต่ อ้ งเป็นห่วง เพราะเปน็ อย่างนนั้ ไม่มกี าลเวลาตน้ ปลาย อริยสัจสี่ มีทุกข์เพราะโง่ (อวิชชา) คือกายในชีวิตไม่รู้จักจริง จึงอยู่ในสภาพธรรม อปุ าทานขันธ์หา้ (กาย รูป ความรสู้ ึกทกุ ชนิดของกาย ใจ อวชิ ชา (เวทนา) ความหมายรู้ หมายจ�ำ นิมติ ในอารมณ์ (สัญญา) perception motion of existence to be as or like this of that เช่น คนมสี ญั ญาอยา่ งคน สัตวม์ ีสัญญาอย่างสตั ว์ เทวดามสี ญั ญาอยา่ งเทวดา หลายชนดิ ต่างๆ กนั ไป กาย วาจา ใจ ทำ� งานไม่รู้จักหยุด (สังขาร) ปรุงเพราะโง่ (Body, mind, speech, functions) วญิ ญาณ รู้ คิด นึก ด้วยอ�ำนาจอวชิ ชาโง่ เมอ่ื ตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ ถูกกระทบ (ผสั สะ) ทกุ ขณะปัจจุบนั และวญิ ญาณ เกิดจากตณั หาอวิชชาอุปาทาน (จุตวิ ิญญาณ) ทกุ สง่ิ เปน็ ธรรม ทง้ั ถกู ปรงุ แต่ง ท้ังปรงุ แตง่ สังขาร กาย ใจ โลก หลง ภพหลง อันเป็นทกุ ข์เพราะโง่ คอื อวชิ ชา ท�ำให้เกิดความเหน็ ผดิ มิจฉาทฏิ ฐิ สกั กายทิฏฐิ วา่ เป็นคน ego self อนตั ตา เราไม่ใช่เราคอื เขา เรากะเขากะโลก เรากะพระเจา้ ผสู้ รา้ ง ความคดิ เช่ือ แบบโลกหลง นอกพระพุทธศาสนาท้ังหมด ตลอดจนความนึกคิดว่า นอก-ใน subjective objective environment space time คอื การปรงุ แต่ง (สังขาร) ของจติ หลงวา่ เป็น “ตน” ใน ทั้งหมด ท่ไี มใ่ ช่ตน (เชน่ โลก) จงึ เกิดพรอ้ มกนั อริยสัจสี่ ทกุ ขแ์ ท้ สมทุ ยั เหตุทกุ ข์ ความดบั ทุกขเ์ ดด็ ขาดทนั ทีในปัจจบุ นั เพราะเหตุ ทุกข์ดับไป อันพึงรู้แจ้ง (พุทธปัญญา) และหนทางให้ถึงความดับดังกล่าว คือ อริยมรรค ทางทพ่ี อดี เป็นโลกตุ ตรธรรม ความถึงพร้อมแห่งโลกุตตรสติปญั ญา อนั เป็นทรี่ วมอริยมรรค เปน็ ที่รวมศลี สมาธิ ปัญญา ทั้งหมด ด่ังโลกตุ ตรธรรมเป็นผลของการขัดเกลาจติ มานานดว้ ย ธรรมฝ่ายขาวหรือสว่าง คือ บารมีสิบ มีทาน ศีล พรหมจรรย์ เมตตา ปัญญา เป็นต้น ท้ังหมดน้เี ปน็ สภาพธรรม คอื อยอู่ ย่างนน้ั แหละ ไมต่ อ้ งหว่ งว่าจะเปน็ อยา่ งอน่ื 169

สิ่งพึงห่วงส�ำหรับผู้เป็นชาวพุทธก็คือเมื่อไรจะรู้จักทุกข์จริง เม่ือไรจิตจะห่างไปจากกายใจ โง่ กิเลส อุปาทานขันธ์ห้า กันสักที เมอื่ ไรจติ จะพน้ มดื อวิชชา อนัตตานุทฏิ ฐิ สกั กายทฏิ ฐิ ความเหน็ ผดิ แบบโลก (โลกีย)์ ไปได้ อนั เปน็ เหตแุ ทข้ องทุกข์ เป็นหว่ งวา่ ได้เกดิ มา เป็นคน ได้ช่ือว่าเป็นพุทธศาสนิกชน แล้วได้ปฏิบัติตามค�ำสอนของ พระพทุ ธองคไ์ ดแ้ คไ่ หน สามารถเจรญิ พทุ ธสติ สติปฏั ฐาน วางกงั วล ตณั หา อวชิ ชา ไดท้ ง้ั หมด คอื วางกงั วลขันธห์ ้า อนตั ตา คอื ธรรมเป็น ธรรมทั้งหมดได้ ตลอดจน ตา หู จมกู กาย ใจ ชีวิต กุศล อกศุ ล กลางๆ สงั ขารทัง้ สิ้น (เหมอื นไฟฟ้าบวก ลบ กลาง) ธรรมชาตทิ ั้งหมด อนั เป็นธรรมชาตขิ องพุทธสติ สตปิ ฏั ฐาน 170

มกราคม ๒๕๔๑ พุทธธรรม  ๒๕๔๑ หรอื บวั เหนอื นำ้� สภาพธรรมแท้ พระพุทธองค์ทรงกล่าวว่า จริงมีเพียงหนึ่ง ไม่มีสอง ส่ิงใดเป็น อสจั ธรรม คอื สภาพธรรมหลง โมหะ อวชิ ชาปัจจยา (ท�ำให้เกดิ ) สังขาร สภาพ หลง โลก (กาย ใจ วิญญาณ รูป หลง) ส่ิงนั้นพร่อง (ดับสูญไปอยู่เนืองๆ) เหมือนอาการคลื่น (movement) ของน้ำ� (H2O constant) ในมหาสมุทร คว้าไมต่ ิดมือ (สุญญโต) ส่ิงใดเปน็ สจั ธรรมย่อมสมบรู ณ์เปน็ ปกติ เราตถาคตกลา่ วพระนพิ พานเป็นสจั จะอย่างเลศิ สพพฺ ปาปสฺส อกรณํ ฯลฯ เมื่อช�ำระจิตบริสุทธิ์โดยเจริญบุญบารมีจนถึงเกิดโลกุตตรมรรค หนทางพุทธท่ี ดบั หลง (อวชิ ชา) คอื โลก (หลง) ได้แล้ว จิตบริสุทธจิ์ ากหลง (โลก) ถงึ ธรรมบริสุทธิ์ (จาก อวิชชา) คือสจั ธรรมอนั เปน็ สรณะได้ สรณะอื่นจากนี้ไมม่ ี ความมืดท่ีบังตายังไม่ให้เห็น ถ้าความมืดหายไป สภาพที่เป็นอยู่จริงย่อมเห็นแจ้งได้ เหมือนเอามือเปิดตาออกย่อมเห็นสภาพแวดลอ้ ม เชน่ ทะเล คล่ืนน�้ำ ตามสภาพธรรม หรอื สภาพสัตว์โลก และท่ีพ้นโลกหลงไปแล้ว สภาพจริงคือพระนิพพาน ก็ของทั่วไปเหมือนจิต แต่ไม่ปฏิบัตพิ ทุ ธธรรม ศรัทธา ศลี สมาธิ ปญั ญา ยอ่ มไม่รจู้ กั เลย เหมือนเอามอื ปดิ ตายอ่ ม ไม่เห็นอะไร น่ันคือสัตว์โลก แต่ยอดสวรรค์ พรหม ลงไปจากก้นนรก สภาพแท้มีอยู่ แต่ ไม่เห็น (กรรมบังตา) แม้จิตท่ีเป็นสภาพทั่วไปของสัตว์โลก ท่านพระอาจารย์ลี ธัมมธโร วดั อโศการามกล่าววา่ ตวั ของเราแท้ๆ ไมม่ ีอะไรเลย (ไม่มีเรือ่ งเกิดตามทกุ ข)์ แต่มองไมเ่ หน็ เหมือนคนตาบอดยนื อยู่ชายทะเล ไม่เหน็ ทะเล ไมเ่ ห็นท้ังคลืน่ อาการ movement ดบั สูญ อนจิ จัง ทุกขณะ ไมเ่ หน็ ท้ังน�้ำของจรงิ คงที่ คอื เปยี ก H2O constant นีค่ อื อริยสัจทกุ ข์ และ เหตทุ กุ ขท์ แี่ ท้จริง สมุทยั อริยมรรค อันพระพุทธเจา้ ท้งั หลายเทา่ น้นั ทรงร้แู จ้งได้ด้วยตนเอง เพราะทรงสร้างบารมีจนถึงเจริญอริยมรรคได้ส�ำเร็จ สภาพจริงมีอยู่เหมือนท้องฟ้า อาทิตย์ แต่มองไม่เห็นด้วยว่าอ�ำนาจมืดธรรมชาติ Blindforce universal มันบังจิตครอบง�ำสัตว์ ไว้หมด แม้กุศล good อกุศล bad อพั ยากตา (กลาง) Neutral แสงสว่างโลกตุ ตรธรรม 171

แต่ประการเดียวที่จะท�ำลายอ�ำนาจมืดมหึมาน้ีได้ ก็เจริญให้เกิดขึ้นได้ยากมาก ต้องใช้เวลา สร้างคุณความดีบารมีธรรมศรัทธาทางศีลภาวนากันนานหลายชาติ เกิดตายกว่าจะบรรลุได้ แตก่ ็มผี ู้ทำ� ได้เสมอเปน็ ครงั้ คราว แมไ้ มม่ าก ไมม่ เี ขต เช่นเดียวกับธรรมชาติ ดว้ ยสภาพธรรม อริยสัจสข่ี องสรรพสัตว์หรือของจิตเปน็ เช่นน้ัน ธรรมดาเป็นธรรมดา ธรรมเปน็ ธรรม กาย ใจ ชวี ติ ไมว่ า่ สัตว์ กายทพิ ย์กายหยาบ วญิ ญาณ นาม รปู ขันธ์หา้ คอื ธรรมเปน็ ธรรม สัพเพ ธัมมา อนตั ตา ธรรมเป็นธรรมไม่ไดเ้ ปน็ ตน ego self delusive concept (หลง) พระพุทธองค์เกือบจะไม่ทรงสอนอยู่แล้ว แต่โดยเหตุที่พระองค์เป็นพระสัมมาสัม- พุทธเจ้า (Perfect Buddha) คือพระพุทธเจ้าท่ีทรงสามารถสอนให้โปรดสัตว์โลกได้ และ เพราะพวกสาวกมีสร้างบารมี หวังพ่ึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าครบถ้วนบังเกิดรออยู่แล้ว เป็น ดอกบัวเหนือน�้ำท้ังที่บานสะพร่ังและท่ียังตูมอยู่มีอยู่มากมาย อันน้ียังความบังเอิญ chance หรือผลของเหตธุ รรมชาติ หรอื บญุ กรรม moral actions บังคับอยา่ งไมม่ ีผดิ พลาดให้เกดิ ขึ้น คือเทวาบางหมู่เหล่าได้รู้ความน่ิงอยู่ของพระพุทธองค์ จึงพากันไปนิมนต์ให้ท่านทรงสอน ท่านจึงทรงใช้ super computer อภิญญาฤทธิ์ของพระพุทธเจ้าตรวจดูสภาพการว่าเป็น ไปได้หรือไม่ ทรงเห็นนิมิตบัวเหนือน้�ำ ส่วนที่อยู่ใต้น้�ำเหลือนับ และไม่แน่ใจว่าจะโผล่ตาม สภาพธรรมดา เพราะ uncertainly แลว้ แต่ปัจจัย condition ของธรรมชาติ เพราะ เต่า ปู ปลา มอี ย่มู ากในน�ำ้ จึงไดท้ รงสอน หรืออกี นยั หนงึ่ เพราะเราชาวพทุ ธยังมีอย่นู ี่เอง อย่างน้อย ใน พ.ศ. ๒๕๔๑ หนทางพ้นมือพ้นทุกข์ พระพุทธองค์ทรงแสดงไว้แล้วมากมาย สรุปลงท่ี ศีล สมาธิ ปญั ญา สตปิ ฏั ฐาน รู้ สกั แต่รู้ เห็น สกั แตเ่ หน็ สักแต่รู้ สกั แตร่ ะลกึ ไม่พงึ ถอื ม่นั ไม่พึงยงั ความเพง่ เลง็ อยาก (อภิชฌา) เอามาเป็นคนของตน ไมพ่ ึงยังโทมนสั (มาพร้อมอยาก) ให้เกดิ ขึ้นในโลก ทรงสอนพระพาหยิ ะวา่ “เมอื่ เธอเหน็ รูป รปู นนั้ สกั แต่เหน็ ” เขาสำ� เร็จธรรม ทา่ นอาจารย์ขาว อนาลโย เทศน์ไว้ส้นั ๆ ทว่ี ดั อโศการาม ราว พ.ศ. ๒๕๐๓ ว่า “อะไร ไมใ่ ชข่ องเรา อยา่ ไปเอามา” เท่านั้นแล้วลงจากธรรมาสน์ 172

เมอ่ื ไปกราบลาหลวงป่แู หวน สุจิณโฺ ณ ทีว่ ัดดอยแม่ป๋งั อำ� เภอพรา้ ว จงั หวัดเชยี งใหม่ เพื่อไปสอนภาวนาท่ี Australia เป็นครั้งแรกราว พ.ศ. ๒๕๑๖ ท่านสอนธรรมเป็นครัง้ แรกสน้ั ๆ ว่า “ระเบิดขันธ์ห้าเสียก่อนซิ” เท่าน้ันเอง มันก็ยาก สามสิ่งน้ีพบท่ี Australia แต่ปีแรก ทไ่ี ปอยู่ ๑๙๗๔-๑๙๗๕ คอื 3Ds 1. D = Death 2. D = Danger 3. D = Difficult (y) (มนั ไมใ่ ชง่ ่ายๆ) มีอยู่ในโลกทุกกาลสมัย ทุกสถานท่ี หรือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หรือความไม่ ประมาท (สติ) เป็นทางแห่งอมตธรรม (เลิกควา้ น�้ำ H2O constant) คลน่ื (อนิจจงั ) เหลว ถงึ สติธรรมท่ีพระพุทธองคท์ รงกลา่ ว “วสิ ังขารคตัง จติ ตงั ” จติ ตถาคตถงึ วสิ ังขาร (สัจธรรม- นิพพาน) แล้ว 173

กมุ ภาพันธ์ เม่ือพิจารณาปฏิบัติตามพระพุทธโอวาท “ธรรมท้ังปวงไม่พึง ๒๕๔๑ ถอื ม่ัน” เมอื่ มีการถอื มั่นอปุ าทานอะไร เมอื่ นั้นก็เป็นการถือม่นั ขนั ธ์ห้า” คอื “อริยสจั ทห่ี น่งึ ” อปุ าทานขันธ์ ทกุ ขแ์ ทน้ นั่ เอง “รู้ สักแต่รู้” เป็นการเจริญสติปัฏฐาน สักแต่ระลึก ไม่พึงถือมั่นได้ส�ำเร็จผลดี เป็น อริยมรรค คือญาณหย่งั ร้อู ริยสจั สี่ สมั มาทฏิ ฐิ พระนพิ านเป็นสจั ธรรมสูงสดุ แตป่ ระการเดยี ว อวิชชาธาตุ Universal Blindforce เป็นสภาพหลงปกปิดจิตอยู่เท่าน้ันเอง ดังท่ี ท่านเจา้ คณุ อบุ าลคี ุณปู มาจารย์ (จันทร)์ ได้แสดงไว้แลว้ ในหนังสือ “สจั ธรรมวิภาค” ซึง่ พมิ พ์ จ�ำหนา่ ยต้ังแตว่ ันท่ี ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๒ ซงึ่ จะขอคดั มาไวด้ ังตอ่ ไปนี้ อารัมภกถา อิทํ ทกุ ขฺ นฺติ ยถาภูตํ ปชานาติ อยํ ทกุ ขฺ สมุทโยติ ยถาภูตํ ปชานาติ อยํ ทกุ ฺขนิโรโธติ ยถาภูตํ ปชานาติ อยํ ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทาติ ยถาภูตํ ปชานาตีติ. บัดนี้ จักแสดงสัจจกถา ซ่ึงนิยมว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาเพ่ือเพิ่มพูนศรัทธา ของพุทธบริษัทผู้มุ่งหวังต่อนิพพุติ หรือสันติธรรม ความดับทุกข์ ซ่ึงปฏิญาณตนว่าเป็น พุทธมามกะ คือถอื วา่ พระพทุ ธเจา้ เป็นของๆ ตน เพราะคำ� ท่ีวา่ พระพทุ ธศาสนา ไม่ประสงค์ สถานที่ ไม่ประสงค์วัตถุ ไม่ประสงค์บุคคล ประสงค์โอวาทค�ำส่ังสอนของพระพุทธเจ้าโดย ตรง ช่ือว่าพระพุทธศาสนา หรือช่ือว่าพระธรรม พระธรรมน้ันไม่มีเสื่อม ไม่มีเจริญ คงที่ อยู่เสมอ การเส่ือมและเจริญนั้นอยู่ที่โลกคือบุคคล สมัยใดโลกเจริญ ธรรมก็เจริญ สมัยใด โลกเสอ่ื มธรรมก็เส่อื ม ธรรมอาศยั โลก โลกอาศยั ธรรม สมัยทุกวันน้ีโลกก�ำลังก้าวหน้าข้ึนสู่ความเจริญ พระพุทธศาสนาหรือพระธรรม ก็ ก้าวหน้าขึ้นสู่ความเจริญเหมือนกัน วัดวาอารามเปรียบเหมือนสระส�ำหรับเก็บน�้ำ พระภิกษุ 174

สามเณรเปรียบเหมือนผู้บ�ำรุงน�้ำให้สมบูรณ์เต็มสระอยู่เสมอ ทายกทายิกาเป็นผู้อาศัยกิน อาศัยอาบ เพราะเหตุนั้น ท้ังสองฝ่ายจึงต้องสัมพันธ์เกี่ยวเน่ืองกัน พระภิกษุสามเณรถ้า ไม่ได้รับการเกื้อกูลแต่ทายกทายิกาก็หมดก�ำลัง ไม่สามารถจะเล่าเรียนท่องบ่นจ�ำทรง พระพุทธโอวาทศาสนาได้ ถ้าภิกษุสามเณรขาดการศึกษาเล่าเรียนจ�ำทรงพระพุทธโอวาท ไม่ได้ ถึงจะมีวัดมีภิกษุสามเณรรักษาอยู่ก็เท่ากับมีสระที่น้�ำแห้ง ทายกทายิกาจะอาศัยอาบ กินอย่างไรได้ ภิกษุสามเณรไม่ศึกษาเล่าเรียนให้ฉลาดในพุทธโอวาทพอส่ังสอนตอบแทน ทายกทายกิ าได้ ก็ชอื่ วา่ ภิกษสุ ามเณรเอาเปรยี บแก่ทายกทายิกาอยา่ งเดียว เพราะเขาเก้อื กูล ด้วยปัจจัยทั้ง ๔ ให้ความสุขพอแล้ว ส่วนตนก็ควรจะศึกษาพุทธโอวาทซึ่งเปรียบเหมือนน�้ำ อันบริสุทธ์ิน้ันมาใส่ไว้ให้เต็มบริบูรณ์ในวัดท่ีตนอาศัยดังน้�ำเต็มบ่อสระเช่นนั้น เพ่ือจะได้เฉลี่ย ตอบแทนแกท่ ายกทายิกาตามสมควรแก่ฐานะของตนเป็นการชอบแท้ ความจริงพระพุทธศาสนาเป็นของทวนกระแสโลก ซ่ึงรุ่งเรืองอยู่ในประเทศสยามได้ ทุกวันน้ีด้วยอาศัยพระบรมราชูปถัมภ์เป็นข้อส�ำคัญที่หน่ึง พระพุทธศาสนาเปรียบเหมือน น้�ำอมฤตอันบริสุทธ์ิปราศจากโทษ ผู้ถือพระพุทธศาสนาก็เท่ากับผู้บริโภคน้�ำอันบริสุทธิ์ ผู้บริโภคมากก็ได้รับความสุขมาก ผู้บริโภคน้อยก็ได้รับความสุขน้อย สมควรแก่ภูมิของตน อันจะปราศจากผลนั้นไม่มีเลย ให้พิจารณาดูผู้ด่ืมน้อยบริโภคน้อย ดังผู้รักษาเพียงชั้นศีล ๕ เทา่ นน้ั กพ็ น้ จากเวรพน้ จากภัย ผูร้ กั ษาศีล ๘ กเ็ ยน็ มากกวา่ ผู้รกั ษาเพียงศลี ๕ ย่งิ ผ้รู ักษา ปาติโมกขสังวรศีลเป็นภิกษุในพุทธศาสนาก็ยิ่งเย็นส�ำราญมากข้ึน ผู้บวชน้อยเวลาก็ได้รับ ความสขุ น้อย ผบู้ วชนานกไ็ ดร้ ับความสุขมากข้ึน ผ้บู วชตลอดชวี ติ กย็ ่ิงไดร้ บั ความสุขตลอดชวี ิต เหมือนกัน แต่ที่จะได้รับความสุขส�ำราญซึ่งเป็นส่วนวิเศษมากและน้อยกว่ากันน้ันก็เป็นอีก โสดหน่ึง ยกไวเ้ ป็นหน้าทข่ี องบุคคล ธรรมดาของบุคคลจะให้เหมือนกันได้ด้วยยาก ถึงอย่างไรก็ตามถ้าผู้ต้ังใจปฏิบัติจริงๆ ตามช้ันตามภูมิของตน ก็คงได้รู้สึกตนว่าตนเป็นพุทธมามกะ เพราะการประพฤติกิจ พระพทุ ธศาสนา ก็เท่ากับผู้เข้าฝกึ หดั เพลงทหาร ถึงแมจ้ ะฝกึ หดั น้อยเพยี ง ๒ ปี ก็คงรูส้ ึกวา่ ตนเป็นทหาร ถ้าย่ิงฝึกหัดมากปีขึ้น ก็ได้ความรู้ความฉลาดในเพลงทหารมากข้ึน จนถึง สามารถเป็นแมท่ พั นายกองไดฉ้ นั ใด ผปู้ ระพฤติกิจพระพุทธศาสนากฉ็ นั น้ัน 175

ผทู้ ถ่ี ือพุทธศาสนาซ่ึงบริบรู ณด์ ้วยลาภและยศ สูงบา้ ง กลางบา้ ง ต�ำ่ บา้ ง ขอ้ นั้นกอ็ ีก โสดหนึ่ง ไม่ใช่ของควรติเตียน ไม่ใช่ของควรชม เป็นของส�ำหรับกรรมของบุคคลอีกส่วนหน่ึง ลาภและยศไม่ใชเ่ ปน็ ของขัดขอ้ ง คอื ไม่เป็นสคั คาวรณ์ มคั คาวรณ์ ถา้ จะเป็นก็เปน็ ด้วยบุคคล อีกส่วนหนึ่ง ความจริงผู้มีลาภมากมียศใหญ่ปรารถนาสวรรค์ มรรคผลนิพพาน อาจส�ำเร็จ ได้โดยเร็ว เปรียบเหมือนผู้มีสมบัติมากต้องการของท่ีมีค่าอันสูงสุดก็อาจส�ำเร็จได้ ผู้ท่ีไร้ลาภ ไร้ยศปรารถนาสวรรค์มรรคผลนิพพานย่อมได้ด้วยยาก เปรียบเหมือนคนจนต้องการของ ทม่ี ีค่าอนั สงู ออกจะไมส่ ำ� เร็จ ขอ้ น้พี ึงเลง็ อปุ นสิ ัยวาสนาก็จกั เห็นจรงิ ด้วย แต่นั่นแหละการส�ำเร็จหรือไม่ส�ำเร็จ ในทางสวรรค์มรรคผลนิพพานก็เป็นด้วยบุคคล อีกน่ันแหละ ใช่ว่ามีลาภมียศแล้วจะได้ส�ำเร็จสวรรค์มรรคผลนิพพานทีเดียวก็หาไม่ ยากจน จะเอาสวรรค์มรรคผลนิพพานไม่ได้ก็หาไม่ เพราะสวรรค์มรรคผลนิพพานท่านมิได้นิยมช้ัน ของบุคคล ท่านนิยมบุคคลผู้มศี รัทธา โดยที่มาว่า สทฺธธี วติ ตฺ ํ ปรุ ิสสสฺ เสฏ€ฺ ํ ศรัทธาความ เช่ือเป็นทรัพย์อันประเสริฐของบุรุษในโลก สทฺธาย ตรติ โอฆํ ผู้ข้ามโอฆะได้ด้วยศรัทธา สทธฺ ินฺทฺรยิ ํ ศรัทธาเป็นใหญ่ สทธฺ าพลํ ศรัทธาเปน็ ก�ำลัง สทฺธาธนํ ศรัทธาเปน็ ทรพั ย์ ดงั น้ี ชักมาพอให้เห็นว่าศรัทธาเป็นคุณธรรมอันส�ำคัญ ไม่นิยมบุคคลช้ันใด ถ้ามีศรัทธาเต็มที่แล้ว อาจส�ำเรจ็ มรรคผลที่ตนปรารถนาไดท้ กุ ประการตามสมควรแกว่ าสนาของตนๆ อทิ ธบิ าทท้งั ๔ คือ ฉนฺท ความพอใจ ๑ วิรยิ ความเพยี รเปน็ ไปกล้า ๑ จิตตฺ ความ มั่นใจ ๑ วิมงฺสา ความตรวจตรอง ๑ ธรรมท้ัง ๔ นี้ เป็นบาทแห่งความส�ำเร็จจึงเรียกว่า อิทธิบาท อิทธิบาทท้ัง ๔ น้ีถ้าไม่ได้ศรัทธาเป็นผู้อุปกรณ์แล้วก็เป็นไปไม่ได้ เพราะเหตุน้ัน จะต้องบ�ำรุงศรัทธาให้กล้าหาญ พุทธบริษัทย่อมทราบอยู่ด้วยกันว่าพระพุทธเจ้าพระองค์ได้ ตรัสรู้อริยสัจธรรมทั้ง ๔ ด้วยตนด้วยดี พระองค์จึงส�ำเร็จพุทธภูมิเป็นพระพุทธเจ้า แปลว่า เป็นเจ้าแห่งความตรัสรู้ของจริง ไม่มีใครในไตรภพจะรู้ย่ิงข้ึนไปกว่าพระองค์ได้ จึงได้ทรง เนมติ ติกนามว่า สตถฺ า เทวมนสุ ฺสานํ พระองค์เป็นผู้น�ำหนา้ ของเทพยดาและมนษุ ยท์ ัง้ หลาย เข้าสู่พระนิพพานดังน้ี การที่จักแสดงต่อไปน้ี ให้พึงเข้าใจว่า สนทนาธรรมสากัจฉากันในเร่ืองกถาวัตถุใน ข้อท่ี ๙ ที่ ๑๐ ซ่ึงว่า วิมุตติกถา วิมุตติญาณทัสสนกถา เพราะพรหมจรรย์ท่านแสดงว่า มีวมิ ุตตอิ ย่างเดียวเป็นสาระเปน็ รส เหมือนน�้ำในมหาสมุทรมเี คม็ อยา่ งเดียวเปน็ รสฉะน้นั 176

อรยิ สัจกถา กใ็ นอรยิ สัจธรรมท้ัง ๔ ประการ ซึ่งว่าเปน็ หวั ใจทางตรสั รขู้ องพระผมู้ ีพระภาคเจา้ นนั้ บรรดาเหล่าที่เป็นพุทธบริษัทออกจะช�ำนาญเข้าใจกันแม่นย�ำคือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค อาจช้แี จงใหผ้ ู้อืน่ ฟังได้ดีๆ ตามนัยพระธรรมจักกัปปวตั ตนสตู รวา่ ทุกขสจั ไดแ้ ก่ ชาติ ชรา มรณะ สมทุ ัยสจั ได้แก่ ตณั หา ๓ คอื กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตณั หา นโิ รธสัจ ได้แก่ ความดับตัณหา มรรคสจั ไดแ้ ก่ พระอฏั ฐังคกิ มรรค ดังน้ี ในโอวาทปาฏโิ มกข์ แสดงอรยิ สจั ดว้ ยอปุ รมิ ปัญญาวา่ อิทํ ทุกฺขํ อยํ ทกุ ขฺ สมทุ โย อยํ ทุกฺขนิโรโธ อยํ ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทาติ ยถาภูตํ ปชานาติ ดังน้ี ซ่ึงแปลว่า ภิกษุใน ธรรมวนิ ัยนี้ เธอรูป้ ระจักษแ์ จง้ ชัดวา่ น้ที ุกข์ น้สี มทุ ัยเหตุใหท้ ุกข์เกดิ ขนึ้ น้ีนิโรธความดบั ทกุ ข์ นี้ปฏิปทาทางให้ถึงความดับทุกข์ ตามความเป็นจริงอย่างไร ดังนี้ จัดว่าเป็นปัญญาข้ันสูง แต่ความย่อมาก ถ้าไม่มีความรู้มาจากทางอื่นออกจะถือเอาเน้ือความไม่ได้ ที่ช้ีทุกขสัจใน พระธรรมจักกัปปวัตตนสูตรว่า ชาติทุกข์ ชราทุกข์ มรณทุกข์ โสกปริเทวทุกขโทมนัสส อุปายาสทกุ ข์ อปั ปเิ ยหิ สัมปโยคทกุ ข์ ปิเยหิ วปิ ปโยคทุกข์ ยัมปจิ ฉงั น ลภติทุกข์ สังขติ เตน ปญั จปุ าทานักขนั ธา ทุกขา ยน่ ลงใหส้ น้ั กค็ อื ความยึดมน่ั ในขนั ธ์ ๕ น้ีแหละเปน็ ทุกข์ ดงั น้ี เมื่อฟงั ดูตรองดูก็เฝอื จะถอื เอาท่ีตรงไหนเปน็ หน้าตาของทกุ ขสัจ ถา้ จะถือเอาทงั้ พวง น้ีแหละเป็นทุกขสัจ ถ้าเช่นนั้นทุกขสัจก็จักหาเหตุไม่ได้ จะพูดว่าก็ตัณหาน้ันอย่างไรเล่าเป็น ตัวเหตุ ถ้าตณั หาเปน็ ตวั เหตุ ตัณหาไม่มาจากชาติความเกิดดอกหรอื ? กม็ าจากเกิดนน่ั ละซิ ก็ถ้าตัณหามาจากชาติความเกิด ชาตคิ วามเกิดมเิ ปน็ เหตแุ หง่ ตัณหาหรอื พดู อยา่ งไร ก็ทา่ น แสดงวา่ ชาติเป็นผล จะกลับเอาชาติเปน็ เหตอุ ยา่ งไรได้ จรงิ อยู่ ในธรรมจักกัปปวตั ตนสตู ร ท่านยก ชาติ ชรา มรณะ เป็นผล คือเป็นตัวทุกขสัจ แต่ในปฏิจจสมุปบาท ในสมุทัยวาร ทา่ นยกชาติ ชรา มรณะ เปน็ เหตุ คือเปน็ สมทุ ยั เม่อื ท่ีมาท้งั ๒ แหง่ ไมล่ งกนั เชน่ นี้ เราควร วนิ ิจฉยั อีกช้ันหนึง่ 177

ชาติ ชรา มรณะ ในปฏจิ จสมุปบาท ทีว่ ่าเปน็ สมุทัยนนั้ พระผูม้ ีพระภาคเจา้ พระองค์ มิได้ปฏิญญาว่า พระองค์มิได้เคยได้ยินได้ฟังมาแต่กาลก่อน และยังด�ำเนินวิปัสสนากัมมัฏฐาน อยู่ดว้ ย ส่วน ชาติ ชรา มรณะ ในธรรมจกั กปั ปวตั ตนสตู ร พระองค์เป็นพระสยมั ภแู ลว้ ท้งั มี ค�ำปฏญิ ญาวา่ ปพุ เฺ พ อนนสุ สฺ ุเตสุ ธมเฺ มสุ ในธรรมทงั้ หลายคือ ชาติ ชรา มรณะ เปน็ ทุกขสจั ตัณหาเป็นสมุทัยสัจ ความดับตัณหาเป็นนิโรธสัจ อัฏฐังคิกมรรคเป็นมรรคสัจ ของจริง ท้ัง ๔ ประการนี้ เกดิ ขนึ้ ดว้ ยญาณจกั ษุ ปญั ญา วิชชา ความรแู้ จ้งแสงสว่างของเราเอง เรา ไมเ่ คยไดย้ ินได้ฟงั มาแต่กาลก่อนเลย ดังน้ี ชาติ ชรา มรณะ ในปฏจิ จสมปุ บาท ซึ่งเป็นเหตุเปน็ สมุทัยน้ัน คงมอี าการอย่างหนึง่ พระองคเ์ คยได้ยนิ ได้ฟังไดร้ ไู้ ดเ้ ห็นมาแลว้ สว่ น ชาติ ชรา มรณะ ที่มาในพระธรรมจักกปั ป- วัตตนสูตรซึ่งว่าเป็นผลคือเป็นทุกขสัจน้ัน คงจะมีอาการไปอีกอย่างหน่ึง ท่ีพระองค์ไม่เคย ได้ยนิ ไดฟ้ ังได้รู้ไดเ้ หน็ มาแล้วในกาลก่อน พระองคจ์ ึงทรงปฏิญญาอยา่ งนั้น 178

อธิบายอริยสัจโดยย่อ จักอธิบายอริยสัจตามนัยโอวาทปาฏิโมกข์ที่ท่านแสดงย่อๆ ไว้ว่า อิทํ ทุกฺขํ อยํ ทกุ ขฺ สมทุ โย อยํ ทกุ ขฺ นิโรโธ อยํ ทกุ ฺขนิโรธคามนิ ปี ฏิปทา ซึง่ แปลวา่ นท้ี กุ ข์ น้ีสมทุ ยั น้นี โิ รธ นี้มรรค ดงั น้ี ที่จักอธิบายน้ีอาศัยหลัก คือ อิทํ อยํ ศัพท์ซึ่งแปลว่านี้ คือ หมายสกลกายอันเดียว เท่านั้น เปน็ ท้ังทกุ ขสัจ สมทุ ัยสจั นิโรธสัจ มรรคสัจ ต่างกันโดยอาการเทา่ น้ัน อาการท่ีชาติ ชรา มรณะ ซ่ึงเปน็ ปจั จุบนั คือเกดิ อยูเ่ สมอ แก่อย่เู สมอ ตายอยู่เสมอ น้เี ปน็ ทุกขสัจ ท่ีไมร่ จู้ ัก ชาติ ชรา มรณะ อาการน้ีน้ันแหละเป็นสมุทัยสัจ ความรู้จักชาติ ชรา มรณะ อาการนี้ น้นั แหละเปน็ นโิ รธสจั ญาณจกั ษทุ ่รี ้วู ่าชาติ ชรา มรณะ อาการนเ้ี ป็นทุกข์ อาการน้เี ปน็ สมุทัย อาการน้เี ปน็ นโิ รธ เป็นสมั มาทิฏฐิ เป็นมรรค หรอื จะแยกออกพูดวา่ ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ นีแ้ หละเปน็ ทุกขสจั ความไม่รจู้ ัก ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ นแ้ี หละเปน็ สมทุ ยั สัจ ความรจู้ ัก ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ นแ้ี หละเป็นนิโรธสัจ ญาณจักษทุ ี่รู้ว่า ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ อาการน้ีเปน็ ทกุ ข์ อาการน้ีเปน็ สมุทัย อาการนเี้ ปน็ นโิ รธ เปน็ สมั มาทิฏฐิ เปน็ มรรค หรอื จะ แยกไปพูดอย่างใหม่อีกว่า นามรูปนี้แหละเป็นทุกขสัจ ที่ไม่รู้จักนามรูปนี้แหละเป็นสมุทัยสัจ ที่รู้จักนามรูปน้ีแหละเป็นนิโรธสัจ ญาณจักษุที่รู้ว่านามรูป อาการนี้เป็นทุกข์ อาการนี้เป็น สมุทัย อาการน้ีเปน็ นโิ รธ เป็นสมั มาทิฏฐิ เปน็ มรรค หรือจกั รวมท้งั กอ้ นนท้ี ีเดยี ววา่ สกลกาย อันนี้แหละเป็นทุกขสัจ ความไม่รู้จักสกลกายอันนี้แหละเป็นสมุทัยสัจ ความรู้จักสกลกาย อันน้ีแหละเป็นนิโรธสัจ ญาณจักษุที่รู้ว่าสกลกายอาการน้ีเป็นทุกข์ อาการน้ีเป็นสมุทัย อาการนี้เปน็ นโิ รธ เปน็ สัมมาทฏิ ฐิ เป็นมรรค ท่ีแสดงอย่างน้ี เล็งถึง อิมะ ศัพท์ซึ่งชี้นามเฉพาะว่านี้ คือท่ีมาต่างๆ ที่ท่านแสดง อริยสัจ ในที่ทุกสถานไม่เห็นมี ตะ ศัพท์ท่ีแปลว่านั้นเลย ต่างว่าชาติความเกิด ถ้าหมาย ปฏสิ นธิวญิ ญาณ หรอื หมายเวลาคลอด ตามเทวทูตสูตรตอ้ งใช้ตะศัพท์เพราะเปน็ อดีต สว่ น ชราความแก่ มรณะความตาย ถ้าหมายผมหงอก ฟันหัก หรือส้ินลมหายใจ ตามนัย เทวทูตสูตร ก็ต้องใช้ตะศัพท์เหมือนกันเพราะเป็นอนาคต ขอให้นักธรรมพึงสันนิษฐาน ตามนัยทแี่ สดงมานเี้ ถดิ 179

(ปัจจุบัน คิด นึก รู้ เป็นสัญญาหลงภพ หลงเรา-เขา หลงแต่อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ถ้าแสงสว่าง (สัมมาญาณ) เกิดท่ีจิต สญั ญาหลงทงั้ หมดดบั ปัญหาโลกหลงทั้งหมดดบั เพราะ ตัณหาดับ แม้ space-time relativity จริง แต่สังขารปรุงแต่ง temperal (เวลา) untemperal(ไมใ่ ชเ่ วลา) อยูต่ ดิ กันเหมือนคลน่ื (อาการ) กบั นำ้� (ธาตุคงท)่ี สังขาร Relativity เปน็ ธรรมชาตคิ ู่กับ วสิ งั ขาร (Absolu) เหมอื นอรยิ สัจส่ี (คิดถกู คิดผดิ ) คู่กับสจั ธรรม พระนพิ พาน รู้ นึก คิด วญิ ญาณ ไม่ใชจ่ ิต เป็นเพียงอาการ จติ เปน็ ธรรมชาติรู้ พ้นมดื (กิเลส) หรอื ไมเ่ ทา่ นนั้ เอง ถงึ พุทธสติแลว้ จึงรู้จักได้) 180

ทางวนิ ิจฉัย จะแสดงทางวินจิ ฉัย คือในปฏจิ จสมปุ บาทเป็นทางวปิ สั สนา- กมั มัฏฐาน ใชส้ ญั ญาอดีตเป็นเกณฑ์ ชาติ ชรา มรณะ จึงเป็นเหตุ เป็นสมุทัย ต่อเมื่ออวิชชาดับแล้ว จึงเป็นวิปัสสนาญาณขึ้น ส่วนใน ธรรมจักกัปปวัตตนสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงด้วยก�ำลัง ญาณทัสสนะ ตวั วปิ ัสสนาญาณ เพราะเหตนุ ัน้ ชาติ ชรา มรณะ ซึ่ง ทรงแสดงในพระธรรมจักรนคี้ ือปจั จุบนั ธรรม ซงึ่ พระองคไ์ มเ่ คยได้ยนิ ได้ฟงั มาแต่กาลก่อน เปน็ ญาณจักษุของพระองค์ จงึ เปน็ ทุกขสจั เปน็ ผลแท้ มีอาการตา่ งกนั อย่างนี้ 181

ปฏจิ จสมุปบาท บัดนี้ จักแสดงอาการของสกลกายนี้ ซึ่งมีประเภท ๑๒ ประการ ท่านให้ชื่อว่า ปัจจยาการ คอื ปฏิจจสมปุ บาท การแสดงนไี้ ม่ประสงค์จะแสดงตามนยั อรรถกถา เล็งตามใน บาลีตรงๆ คอื (๑) สกลกายของเราน้ีโลกสมมติวา่ สงั ขาร ธรรมดาของสงั ขารมลี ักษณะ ๓ คอื เกดิ ข้ึน ต้ังอยู่ ดับไป แต่สังขารในปฏิจจสมุปบาทน้ีท่านประสงค์เจตสิกสังขาร คือ ปุญญาภิสังขาร ได้แก่ โสภณเจตสิก ๒๕ อปุญญาภิสังขาร ได้แก่ อกศุ ลเจตสกิ ๑๔ อเนญชาภิสังขาร ได้แก่ อญั ญสมานาเจตสกิ ๑๓ เจตสกิ สงั ขารนเี้ ป็นอาการของสกลกายประการที่ ๑ (๒) โลกสมมติว่า วิญญาณ หมายความรู้วิเศษ ในที่น้ีท่านหมายถึงวิญญาณ ๖ คือ จักษุวญิ ญาณ โสตวญิ ญาณ ฆานวญิ ญาณ ชวิ หาวญิ ญาณ กายวญิ ญาณ มโนวญิ ญาณ เปน็ อาการของสกลกายประการที่ ๒ (๓) โลกสมมติว่า นามรูป ส่วนท่ีมีแต่อาการดังสุขทุกข์เป็นต้น สัมผัสไม่ได้ด้วยกาย ชื่อว่านาม สว่ นข้นแข็งอาจสัมผัสไดด้ ้วยกายชอื่ ว่ารปู รวมทัง้ ๒ ลักษณะนี้เขา้ กันท่านเรยี กว่า นามรูป เปน็ อาการของสกลกายประการที่ ๓ (๔) โลกสมมตวิ า่ อายตนะ ๖ แปลวา่ ทต่ี ่อหรอื บอ่ เกิด คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ เป็นอาการของสกลกายประการที่ ๔ (๕) โลกสมมติว่า ผัสสะ ๖ คือ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส เป็นอาการของสกลกายประการท่ี ๕ (๖) โลกสมมติว่า เวทนา ๓ คอื สขุ ทกุ ข์ อุเบกขา มผี ัสสะทงั้ ๖ เป็นแดนเกดิ เปน็ อาการของสกลกายเป็นประการที่ ๖ (๗) โลกสมมติว่า ตัณหา ๓ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา อาศัยเวทนา เนื่องมาแต่ผสั สะ ๖ เปน็ แดนเกดิ เหมอื นกัน เป็นอาการของสกลกายประการที่ ๗ 182

(๘) โลกสมมตวิ ่า อุปาทาน ๔ คือ กามปุ าทาน สลี พตั ตปุ าทาน อตั ตวาทปุ าทาน ทฏิ ฐปุ าทาน เปน็ อาการแห่งสกลกายประการท่ี ๘ (๙) โลกสมมตวิ า่ ภพ มี ๒ คอื กรรมภพ อุปปตั ตภิ พ กรรมภพ ไดแ้ ก่ใจ อุปปัตติภพ ได้แกก่ าย เปน็ อาการแหง่ สกลกายประการท่ี ๙ (๑๐) โลกสมมตวิ ่า ชาติ ความเกดิ มี ๒ คอื ปฏจิ ฉันนชาติ อปั ปฏิจฉันนชาติ เป็น อาการแห่งสกลกายประการที่ ๑๐ (๑๑) โลกสมมตวิ ่า ชรา ความแก่มี ๒ คอื ปฏจิ ฉนั นชรา อปั ปฏิจฉันนชรา เป็นอาการ แห่งสกลกายประการท่ี ๑๑ (๑๒) โลกสมมติว่า มรณะ ความตายมี ๒ คือ ปฏจิ ฉนั นมรณะ อปั ปฏิจฉันนมรณะ เป็นอาการแห่งสกลกายประการท่ี ๑๒ อาการ ๑๒ นม้ี ีครบอยู่ในตัวของเราทกุ ประการ ลว้ นแต่เป็นสัญญาอดีตทั้งส้ิน ล้วนแต่ เป็นสมมุติธรรมท้ังสิ้น ส่วนใดเป็นสมมุติธรรมเป็นสัญญาอดีต ส่วนทั้งส้ินนั้นเป็นตัวสมุทัย ด้วยกันหมด ส่วนปัจจัยนั้นไม่ใช่เหตุ เหตุน้ันเป็นตัวตั้งให้เกิดผล ส่วนปัจจัยนั้นเป็นแต่ ผู้อุดหนุนให้เหตุมีก�ำลังให้เกิดผลเท่านั้น ถ้ามีแต่เหตุไม่มีปัจจัยอุดหนุน เหตุก็หมดก�ำลัง เกดิ ผลไม่ได้ ในนปฏิจจสมุปบาทน้ี ท่านมิได้แสดงว่าเหตุ เพราะตัวเหตุท้ัง ๑๒ ประการน้ัน มีพร้อมอยู่ในตัวของเราแล้ว จึงแสดงแต่เพียงปัจจัยให้แลเห็น เมื่อตัวเรายังเป็นอวิชชาอยู่ ก็เป็นปัจจัยอุดหนุนให้สังขารมีก�ำลังขึ้น ต่อนั้นไปก็อุดหนุนตัวเหตุนั้นๆ จนถึงชรามรณะให้มี ก�ำลังข้ึนตามกัน เม่ือปัจจัยยังมีก�ำลังอุดหนุนเหตุให้เกิดผลอยู่ได้เพียงใด ผลของเหตุ คือ โสกปรเิ ทวทกุ ขโทมนสั สอปุ ายาส กค็ งมีอยพู่ รอ้ มเพรียงเพียงนน้ั ผู้จะตรองแก้ต้องเห็นโทษของอวิชชาอย่างเดียวว่าเป็นตัวปัจจัย อะไรเป็นปัจจัยของ อวิชชา เรานั่นแหละเป็นปัจจัยของอวิชชา อะไรเป็นปัจจัยของเรา อวิชชานั้นแหละเป็น ปัจจัยของเรา ถา้ มีอวิชชากม็ เี รา ถ้ามเี ราก็มอี วชิ ชา เม่อื สกัดหนา้ สกดั หลังเขา้ อยา่ งนี้ อวชิ ชา ก็หมดก�ำลังดับลงไปเอง ตัวเราก็ดับลงไปเสียด้วย ทีน้ียังเหลืออยู่แต่สภาวธรรมเป็นตัววิชชา 183

ข้นึ สว่ นอาการของอวิชชา คือ สงั ขาร วิญญาณ นามรูป อายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ ก็ดับไปตามกันหมด ผล ของสมุทัย คอื โสกปรเิ ทวทุกขโทมนสั - สอุปายาสก็ดับไปตามกันสิ้น เพราะ อวิชชาดับอันเดียว พระโยคาวจรผู้หวังต่อญาณ- ทัสสนะ อย่าท้ิงแบบแผนต�ำรา แต่ อยา่ ตดิ แบบแผนตำ� รา ตำ� ราแบบแผน ไม่ใช่ยา ยาไม่ใช่ต�ำราแบบแผน ความไขไ้ มใ่ ชห่ ายดว้ ยยาอย่างเดยี ว ตอ้ งอาศัยกินยานน้ั ด้วยไขจ้ งึ หาย ทางวปิ ัสสนานัย ตาม นัยปฏิจจสมุปบาทน้ี ถ้าจะเพลินตามแนวบาลีอย่างเดียว หรือเพลินตามนัยแห่งอรรถกถา ก็จะไปหลงอดีต อนาคต ปัจจุบัน สนธิและอัทธาจะหาทางออกไม่ได้ ความจริงทาง วิปัสสนาไม่ประสงค์อดีต อนาคต เลย ให้เพ่งแต่ปัจจุบันอย่างเดียว เพราะอาการ ๑๒ มพี ร้อมอยูท่ ี่ตวั เราหมดแลว้ จะตอ้ งไปเพ่งอดีต อนาคต อะไร สำ� คญั อยูแ่ ต่อวชิ ชาอยา่ งเดียว เทา่ นน้ั อวชิ ชาคอื อะไร ก็คอื ความไมร่ ตู้ ัว รแู้ ต่ตวั สมมุติ ไมร่ ตู้ วั วมิ ุตติ เมือ่ ไม่รู้ตวั จริง รแู้ ต่ ตัวปลอมเชน่ นนั้ เพราะเหตุนั้น จึงเป็นปจั จัยอุดหนนุ สงั ขารให้มีก�ำลังขน้ึ เท่านนั้ เอง 184

สงั ขารกถา บัดนี้ จกั อธิบายความดับสังขาร สงั ขารเปน็ ของมีมาก ต้องเป็นพหุวจนะเสมอ จะช้ใี ห้ เข้าใจสังขารโลกกับสังขารธรรมก่อน สังขารโลก คือโลกกระท�ำขึ้นแต่งข้ึนปรุงขึ้นสมมุติขึ้น ดังในปฏิจจสมุปบาทนี้ ซ่ึงโลกเขาสมมุติว่าตัวว่าเรา ว่าของเรา คือตัวอวิชชาน้ี ก็ช่ือว่า สังขารโลก ท่ีสมมุติเจตสิกให้เป็นสังขาร สมมุติความรู้ให้เป็นวิญญาณ สมมุติกายใจให้เป็น นามรูป ตอ่ ไปกส็ มมุติใหเ้ ป็นอายตนะ ผัสสะ เวทนา ตณั หา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ ไปตามลกั ษณะอาการเหล่านเี้ ปน็ ต้น เปน็ ตวั อย่างชือ่ วา่ สังขารโลก ความจริงสังขารโลกนี้เป็นของไม่มี เป็นของเปล่า เป็นของสูญอยู่โดยธรรมดา ส่วนท่ี ท่ีแลเห็นอยู่ทั้งสิ้นเป็นสังขารธรรมต่างหาก ลักษณะของสังขารธรรม คือเป็นขึ้นเองตาม สภาพของตน ดงั สกลกายของเรานี้ จะเปน็ อวยั วะนอ้ ยใหญ่ มีผม ขน เลบ็ ฟนั หนัง เป็นตน้ ก็เป็นข้ึนตามสภาพของเขาเอง บุคคลไม่ได้ช่วยแต่ง จึงชื่อว่าสังขารธรรม สังขารธรรมนี้ ประกาศตนแสดงตนอยู่ทุกเมื่อ และเป็นที่รับรองสังขารโลก สังขารโลกครอบง�ำปกปิด สังขารธรรม ผู้ไมม่ ีญาณจกั ษุ จะไดเ้ ห็นแตส่ ังขารโลกเทา่ นั้น จะไม่เหน็ สงั ขารธรรมเลย เม่ือได้แสดงมาถึงสังขารโลก สังขารธรรม แล้วจะต้องแสดง อุปาทินนกสังขาร อนุปาทนิ นกสงั ขาร ดว้ ย เพราะมีอาการอยา่ งเดียวกัน โลกกบั ธรรมมชี อ่ื รว่ มกนั แต่มอี าการ ต่างกันตามท่ีมาต่างๆ ท่านแสดงอุปาทินนกสังขาร หมายสิ่งที่มีใจครองดังมนุษย์และสัตว์ เป็นตัวอย่าง ส่วนอนุปาทินนกสังขารน้ัน ท่านหมายสิ่งท่ีไม่มีใจครอง ดังกรวดทรายอิฐปูน วัตถุเครื่องใช้สอยเป็นตัวอย่าง ท่ีท่านแสดงไว้อย่างน้ีเป็นการถูกต้องตามลักษณะสัญญาโลก เพราะผยู้ งั ไมเ่ ห็นธรรมต้องถือเอานยั นีเ้ ปน็ เกณฑ์ ทิฏฺฐธมโฺ ม ผมู้ ีธรรมอนั เหน็ แล้ว ปตตฺตธมฺโม ผู้มีธรรมอันถึงแล้ว วิทิตธมฺโม ผู้มีธรรมอันรู้แจ้งนั้น ต้องเห็นไปอีกอย่างหน่ึง คือเห็นว่า อุปาทินนกสังขาร กับ อนุปาทินนกสังขาร เป็นอันเดียวกัน คือส่ิงที่มีใจครองหรือวัตถุท่ี หาใจครองมิได้ก็ตาม ถ้ายังมีอุปาทานความยึดมั่นถือม่ันตามสัญญาโลกว่า นั้นเป็นนั่น น้ัน เป็นนี่อยู่ สิ่งท้ังปวงเหล่านั้นเป็นอุปาทินนกสังขารท้ังสิ้น ต่อเม่ือเพิกสัญญาอุปาทานออก เสียได้ คือถอนสมมุติออกจากสิ่งเหล่าน้ันได้แล้ว จะเป็นสิ่งมีใจครองหรือไม่มีใจครองก็ตาม ส่ิงเหลา่ น้นั เป็นอนุปาทนิ นกสงั ขารทั้งสนิ้ ตา่ งกันด้วยลักษณะอาการดงั บรรยายมานี้ 185

นพิ พานกถา เม่อื ไดแ้ สดงสังขาร ๒ แล้ว จะตอ้ งแสดงนพิ พาน ๒ ไวด้ ้วย เพราะมีลักษณะอาการ อย่างเดียวกัน คือ สอุปาทิเสสนิพพาน กับ อนุปาทิเสสนิพพาน ท่านแสดงไว้ในท่ีมาต่างๆ สอุปาทิเสสนพิ พาน นัน้ ทา่ นหมายกิเลสนิพพาน ไดเ้ ม่ือทา่ นส�ำเร็จพระอรหนั ตก์ เิ ลสดับหมด แล้ว แต่วิบากขันธ์และกัมมัชรูปยังเหลืออยู่ จึงช่ือว่า สอุปาทิเสสนิพพาน ท่านแปลว่า นิพพานยังมีวิบากขันธ์และกัมมัชรูปเหลืออยู่ อนุปาทิเสสนิพพาน น้ันท่านหมายเมื่อถึง มรณภาพดับเบญจขันธ์ จึงชื่อว่าดับวิบากขันธ์และกัมมัชรูปส้ินเสร็จหาเศษมิได้ จึงได้ช่ือว่า อนุปาทเิ สสนพิ พาน ทา่ นแปลไว้วา่ นพิ พานดับวิบากขันธ์และกัมมชั รปู สน้ิ เสร็จหาเศษมไิ ด้ ดงั นี้ ที่ท่านแสดงไว้อย่างนก้ี ถ็ ูกต้องตามลักษณะสัญญาโลก ใช่อนื่ ไกลก็คือสงั ขารโลกน่ันเอง ส�ำหรับผู้ยังไม่เห็นเง่ือนเงาของพระนิพพานเลย จะแสดงไปอย่างอ่ืนจะฟังเข้าใจอย่างไร จำ� เปน็ ท่านก็ต้องแสดงอย่างนัน้ ร้ไู ว้เพียงน้ันกด็ อี ยูแ่ ลว้ ส่วนท่านผูม้ ธี รรมอันไดเ้ ห็นแลว้ คือ มโี ลกตุ รธรรมอนั ได้เหน็ แลว้ ท่านย่อมเหน็ ไปอีกสว่ นหนงึ่ คำ� ท่วี า่ สอุปาทิเสสนิพพาน น้ัน ท่านหมายนิพพานท่มี อี ุปาทานยังเหลืออยู่ นิพพาน ในทีน่ ้ีท่านหมายกิเลสดับแล้วไม่เกดิ อกี ไดแ้ ก่ นิพพานของพระโสดา พระสกทาคา พระอนาคา กิเลส คือ สกั กายทิฏฐิ วจิ ิกิจฉา สีลัพพตปรามาส พระโสดา พระสกทาคา ของท่านดบั ขาด ส่วนพระอนาคานั้น กิเลสคือกามราคะ พยาบาทของท่านดับขาด แต่อุปาทานกิเลสเบื้องสูง ยังเหลืออยู่ นพิ พานของพระอริยเจา้ ๓ จำ� พวกน้ี จงึ ไดช้ ื่อว่า สอุปาทิเสสนิพพาน แปลวา่ ยังมีอุปาทานเหลืออยู่ ส่วนนิพพานของพระอรหันต์ คือท่านตัดสังโยชน์เบ้ืองสูงขาดแล้ว ละอปุ าทานสิน้ เสรจ็ หาเศษมิได้ จงึ ได้ชื่อว่า อนุปาทเิ สสนิพพาน แปลวา่ นิพพานละอุปาทาน สนิ้ เสรจ็ หาเศษมไิ ด้ พึงเข้าใจสัญญาโลกสัญญาธรรมมีลักษณะอาการต่างกันอย่างนี้ ความเห็นทั้ง ๒ ประเภทไม่ผิดดว้ ยกนั ทงั้ ๒ ฝ่าย ผู้ยงั ไม่เหน็ ธรรมไมร่ ู้ธรรมกแ็ สดงตามอาการของโลกให้เปน็ ธรรม ก็ถูกต้องตามลักษณะของโลก ส่วนท่านผู้เห็นธรรมผู้รู้ธรรมก็แสดงตามอาการของ ธรรม ก็ถกู ตอ้ งตามลักษณะของธรรม เม่ือผู้วจิ ารณไ์ ดค้ วามทง้ั ๒ ประเภท จะไม่มีแก่งแย่ง ทมุ่ เถยี งกนั เลย 186

สมฺมตปิ ญญฺ ฺตฺตกิ ถา ต่อน้ีจักแสดงสมมุติธรรมกับบัญญัติธรรมไว้ส�ำหรับบ�ำรุงความรู้ความฉลาดแก่ผู้ใคร่ ต่อการศึกษา เพราะสมมุติกบั บญั ญัติมลี กั ษณะอาการตา่ งกนั ส่วนสมมุติน้ันเป็นของที่โลกตั้งแต่งข้ึนแล้ว ก็ร้องเรียกตามๆ กันไป ให้พึงเข้าใจว่า สมมุตินั้นเป็นแต่สัญญาอุปาทาน ไม่มีวัตถุ ไม่มีตัวตน มีแต่ชื่อ จึงร้องเรียกว่าสมมุติธรรม เปน็ ของจรงิ เหมอื นกนั จงึ เรยี กว่าธรรม แต่จริงเพียงช้ันสมมตุ ิเทา่ นั้น หาใชจ่ รงิ ถึงช้ันวมิ ุตติไม่ ส่วนบัญญัติธรรมน้ันเป็นของจริงประกาศวิมุตติ คือว่าผู้ถูกสมมุติน้ันเองเป็นตัววิมุตติ เพราะผู้ถูกสมมุติน้ันมีวัตถุมีตัวตน เป็นของจริงอยู่โดยสภาพ จึงชื่อว่าบัญญัติธรรม แต่พึง เขา้ ใจชน้ั บัญญตั ิให้สิ้นสงสัยด้วยว่า บญั ญตั มิ ี ๒ ประเภท คือ พทุ ธบัญญัติ ได้แก่ วนิ ัยบัญญตั ิ นั้นประเภทหน่ึง วินัยบัญญัตินี้มีพิกัดโทษหนักเบาตามโทษานุโทษ มีลักษณะอาการเท่ากับ พระราชบัญญัติของพระราชา และต้องมีข้อบังคับให้ใช้ท่ัวไปในหมู่ผู้อยู่ใต้บัญญัติด้วย พึง เข้าใจว่าบัญญัติประเภทน้ีก็คงอยู่ในประเภทสมมุติธรรมน่ันเอง ยังไม่ใช่บัญญัติธรรม ส่วน บัญญัติธรรมน้ัน เป็นบัญญัติทับสมมุติธรรมเหล่านั้นอีกโสดหน่ึง คือว่าสมมุติธรรมมีเท่าใด บญั ญัติธรรมกม็ เี ท่านัน้ และไม่มีพกิ ดั โทษ ทั้งไมม่ ีข้อบงั คบั ให้ใช้เสยี ด้วย จ�ำเพาะใชก้ ันข้ึนเอง ในหมู่ท่ีท่านบรรลุวิมุตติเทา่ นั้น คอื ท่านไมเ่ ชอ่ื ต่อผู้อ่ืนบอกเลา่ ท่านเช่ือความรู้ความเหน็ ของ ตนเอง จะชกั เปรยี บเทียบให้ฟัง ยงั มคี นบา้ นนอกตำ� บลหนึ่ง ไม่เคยไดพ้ บไดเ้ ห็นกำ� แพงแก้วที่ เขากอ่ รอบโบสถ์และเจดีย์ เปน็ แตไ่ ดท้ ราบจากผบู้ อกเลา่ ว่าทีว่ ัดน้นั ต�ำบลนน้ั เขากอ่ ก�ำแพงแกว้ รอบโบสถ์รอบพระเจดีย์น่าดูน่าชมมาก พอได้ยินเขาบอกเล่าเท่าน้ันก็ลงความเช่ือเอาทีเดียว ว่ากำ� แพงเขาก่อด้วยแก้ว เพราะก�ำแพงและแกว้ ตัวก็เคยรู้เคยเหน็ มาบา้ ง เลยยึดมน่ั เอาทีเดียว ว่าแก้วเป็นก�ำแพงโดยความเช่ือของตนจนสิ้นสงสัย ยังได้บอกเล่าแก่คนอ่ืนเขาด้วยว่า วัดต�ำบลน้ันเขาเอาแก้วก่อเป็นก�ำแพงรอบโบสถ์รอบเจดีย์ดังน้ี ครั้นมีโอกาสภายหลัง ตั้งใจไปดูไปชมก�ำแพงแก้วจริงๆ คร้ันไปถึงก็ไปเที่ยวดูตามโบสถ์และพระเจดีย์ไม่เห็นมี ก�ำแพงแกว้ เกิดประหลาดในใจจึงถามคนท่อี ยู่ในทน่ี ั้นวา่ คนเขาไปจากทน่ี ีเ้ ขาบอกแก่ฉันวา่ 187

โบสถแ์ ละเจดีย์วัดนเี้ ขาวา่ มกี �ำแพงแกว้ เขาไปหลอกไปปดฉนั หรือ คนทีน่ ั้นเขาตอบว่า น่แี ก มาจากไหน ชา่ งเซอะซะเสียจริงๆ กก็ ำ� แพงเต้ยี ๆ รอบโบสถ์รอบเจดยี น์ น่ั แหละ เขาสมมุติกนั ว่ากำ� แพงแกว้ เขารูก้ ันทั้งบา้ นท้ังเมือง พอได้ยนิ เขาบอกอยา่ งน้ัน แก้วทกี่ ำ� แพงซึ่งฝงั อยู่ในใจ ของตนซึง่ ตนเชือ่ แต่ผูอ้ ืน่ นน้ั ก็หลดุ ออกจากใจทันทีว่า ออ้ กระนั้นดอกหรือ นแ่ี หละนับแต่แกไดฟ้ ังเขาบอกเลา่ มาจนถงึ อ้อนี้ ท่แี กเรยี กก�ำแพงนนั้ แหละเปน็ ลกั ษณะ ของสมมุติธรรม ต่อแต่แกได้รู้ได้เห็นของจริงแล้วว่าไม่ใช่ก�ำแพงแก้ว แต่แกก็ต้องร้องเรียก ว่าก�ำแพงแก้วอยู่ตามท่ีเขาพากันเรียกอย่างเดิม ท่ีแกเรียกก�ำแพงแก้วตอนนี้นั่นแหละ เปน็ ลกั ษณะของบัญญตั ิธรรม พงึ เข้าใจสมมุติธรรมบัญญตั ธิ รรมโดยนยั ดงั บรรยายมาน้ี ในร่างกายของเราน้ใี นเบื้องตน้ เราไดศ้ ึกษาเลา่ เรยี นมาว่า นาม ว่า รูป วา่ ธาตุ ว่า ขันธ์ ว่า อายตนะ ก็ยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นของจริงเหมือนคนท่ีเห็นก�ำแพงเป็นแก้วเช่นนั้น คร้ันเดนิ วปิ สั สนาญาณเกิดญาณทสั สนะขึ้น นามรูป ธาตุ ขันธ์ อายตนะ ก็ดับไป เหลืออยแู่ ต่ สภาวธรรมซึ่งเป็นของจริงเท่านั้น เหมือนแก้วหลุดออกจากก�ำแพงของบุรุษน้ัน แต่ก็คงเรียก นามรูป ธาตุ ขนั ธ์ อายตนะ อยูต่ ามเดิม แต่เป็นบัญญัตธิ รรมเสยี แล้ว เม่ือรูต้ ามนัยทแ่ี สดง มาอย่างน้ี แต่ความจริงไม่ปรากฏข้ึนก็เป็นแต่สัญญาเท่านั้น ข้าพเจ้าเคยได้ยินเขาพูดกันว่า ขอยืมสมมุติพูดที จะพูดอะไรก็พูดอย่างน้ันว่าขอยืมสมมุติพูดที แกจะยืมเอากับใคร เท่าน้ี กบ็ อกแล้วว่า คนไม่จริงพูดโดยสัญญา ท่านท่รี ูจ้ รงิ ทง้ั หลายท่านมไิ ดแ้ สดงวิการเชน่ นั้น ทา่ น กพ็ ดู หนา้ เฉยตาเฉยตามสมมตุ ินั่นเอง ส่วนวิมตุ ติอยู่ทีใ่ จของท่านตา่ งหาก ใครจะลว่ งรู้ได้ แสดงสมมุติและบัญญัติไว้เพียงเอกเทศเท่านี้ ถ้าตรองได้ความแล้ว อาจจักรู้สมมุติ และบัญญัตเิ ต็มโลก ดงั บรรยายมาน้ี (ถ้าเจริญพุทธสติปัญญาเกิดขึ้นได้ อวิชชาดับไปบางส่วน ความคิดว่า ตน I ego self ในกายใจนี้ ขันธห์ า้ น้ีดบั ไป เหมือนแจง้ ชัด ค�ำว่า “ขนุ แผน Robinhood เปน็ เพียงเสยี ง (sound) ไม่มตี ัวจรงิ ไม่ถามว่าฝงั ขุนแผน ขุนช้าง นางวันทอง Robinhood ไว้ที่ไหน อวิชชาเป็นตัวที่สมมุติ พุทธปัญญาดับ สมมตุ โิ ลกถงึ วมิ ุตติธรรม อันมิใช่อวิชชา ตัณหา โลก ภพ หลง) 188

189

เหตุกถา ในธรรมทุกประเภทท่ีแสดงมาแล้วนี้ แสดงประเภทแห่งผลโดยมาก เพราะมีความ ประสงค์จะให้อาศัยผลค้นหาเหตุ เมื่อผู้ต้องการจะสาวหาเหตุ อย่าทิ้งผล คือว่าผลปรากฏ ขึ้น ณ ท่ีใด เหตุก็อยู่ที่น้ันเอง คือว่าผลปรากฏข้ึนที่สกลกายอันน้ี เหตุก็ซ่อนอยู่ที่สกลกาย อนั น้เี หมอื นกัน ทท่ี า่ นแสดงวา่ เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา ซง่ึ แปลวา่ ธรรมทง้ั หลายมเี หตุเปน็ แดนเกิดดังน้ี ก็คอื ทา่ นหมายสกลกายอนั นี้แหละว่าเป็นแดนเกดิ แห่งธรรมท้ังหลาย แต่การสาวหาเหตุนั้น อย่าเดินนอกทางมัชฌิมาปฏิปทาท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้าทรง แสดงไวใ้ นธรรมจกั กปั ปวตั ตนะสูตร คอื พระอฏั ฐงั คกิ มรรค มีทางเดยี วเท่านน้ั ให้รจู้ ักหน้าตา ของทางผดิ คือ กามสุขลั ลิกานุโยค กับ อตั ตกลิ มถานุโยค ให้แนใ่ จ การตดิ อฏิ ฐารมณ์ เป็น กามสุขัลลิกานุโยค การติดอนิฏฐารมณ์ เป็นอัตตกิลมถานุโยค พึงเข้าใจว่า พระองค์ทรง แสดงทุกขสัจด้วยตนของผู้รับเทศนาน้ันเอง ทรงแสดงสมุทัยสัจด้วยกามสุขัลลิกานุโยคและ อัตตกิลมถานุโยค ทรงแสดงนิโรธสัจด้วยการหลีกให้พ้นจากทางผิดทั้งสองน้ันเอง ทรงแสดง มรรคสจั ด้วยญาณทัสสนะความรู้ความเหน็ ในทกุ ข์ สมุทยั นิโรธน่นั แหละเปน็ องค์สมั มาทิฏฐิ คือ อัฏฐงั คกิ มรรค องค์แหง่ มรรคทงั้ ๘ น้นั ท่านสงเคราะห์ลงในขันธ์ คอื สกลกายอนั นีใ้ ห้เปน็ ท่ีตั้งแห่ง คุณธรรมทง้ั ๓ คือ ศลี สมาธิ ปญั ญา หมายความวา่ ทำ� ให้ขนั ธเ์ ป็นศีล ใหข้ นั ธเ์ ป็นสมาธิ ให้ขนั ธเ์ ป็นปญั ญา แต่ใหเ้ ปน็ อธิศีล อธิจติ อธปิ ัญญา โดยมากผรู้ กั ษาศลี ทุกวันนี้ มอี ยเู่ พยี งสองลกั ษณะเทา่ น้ัน คือ มีอยู่เพียงศีลนอกกบั ศีล ในเทา่ น้นั ส่วนศลี กลางไมค่ อ่ ยจะมผี รู้ ักษา ทส่ี มมตุ ิอยา่ งนป้ี ระสงคจ์ ะใหเ้ ขา้ ใจง่าย ความจรงิ ศลี มีลกั ษณะเพียง ๒ คอื ศีลในกับศลี กลางเทา่ น้ัน การท่รี กั ษาศีลนอกนนั้ ออกจะเดินนอกทาง เกินไป แต่จะติทีเดียวก็ไม่ได้เพราะเป็นเหตุให้เกิดศีลในได้ ศีลในเป็นเหตุให้เกิดศีลกลางได้ เหมือนกนั คอื ความผิดนั้นแหละเป็นเหตแุ ก่ความถูก แต่อยา่ เพลนิ ในทางท่ผี ิด 190

ที่สมมุติให้ช่ือว่าศีลนอกนั้น คือ ศีลสัญญาอุปาทาน การท่ีไปขอไปรับจากพระนั้น หารู้ไม่ว่าเป็นกิจวตั รของสตั บรุ ุษและเป็นคำ� ปฏญิ าณ เลยเข้าใจไปเสยี วา่ ตนไดศ้ ีล ๕ ศลี ๘ มาแล้ว ก็ตั้งหน้ารักษาศีลนั้นไปคล้ายกับว่าศีลน้ันมีตนตัวหัวเขา อย่างน้ีให้ชื่อว่ารักษา ศีลนอก ถึงชั้นนักบวชเข้าใจว่าพระปาติโมกข์เป็นศีล ก็ต้ังหน้ารักษาแต่พระปาติโมกข์ร�่ำไป อยา่ งนกี้ ต็ ้องนบั เข้าในประเภทรกั ษาศลี นอกเหมอื นกนั ที่สมมุติให้ชื่อว่า ศีลใน น้ัน คือหมายเอากายวาจาใจเป็นศีล เพราะเป็นผู้ฉลาดข้ึน มาก รู้สึกว่าการท่ีไปขอไปรับศีลจากพระนั้นเป็นแต่กิจวัตรส�ำหรับสัตบุรุษเท่าน้ัน ส�ำเร็จ ความเป็นศีลด้วยเจตนาวิรัติ และเป็นค�ำปฏิญญา เพ่ือจะรักษากายวาจาใจของตนให้เป็น ปกติศีลขึ้น การรับศีลอย่างน้ีให้ช่ือว่าศีลใน เพราะกาย วาจา ใจ เป็นภายใน ผู้รักษาศีล ประเภทนี้เป็นการถูกต้องดีขึ้นมาก แต่หากยังเป็นสีลัพพตปรามาสอยู่ ถึงจะรักษาศีลนั้นดี สักเพียงไร กค็ งเรียกได้แตเ่ พียงวา่ ศีลเทา่ นน้ั จะรอ้ งเรียกว่าอธิศีลหาไดไ้ ม่ เพราะกาย วาจา ใจ เป็นสมมุติเป็นตัวสังขาร ธรรมชาติของสังขารเป็นของไม่เท่ียงอยู่โดยธรรมดา ที่เอาของ ไม่เทย่ี งรบั รองศลี ศลี ก็กลายเปน็ ของไมเ่ ท่ยี งไปตามกนั เหตุนน้ั จึงตอ้ งปรามาสอยรู่ �ำ่ ไป ที่สมมุติให้ชื่อว่าศีลกลางน้ันหมายปกติศีล ก็หมายสกลกายเหมือนกัน แต่หมายถึง การเพิกสมมุติออกเสียให้หมด ให้คงยังเหลืออยู่แต่บัญญัติธรรม ให้บัญญัติธรรมน้ันแหละ เป็นศีล แสดงอย่างน้ีก็คงเข้าใจได้ด้วยยาก ถ้าเช่นน้ันต้องตอบค�ำถามในสกลกายนี้ ถ้ายก เอาช่ือต้ังทั้งส้ินออกเสียให้หมด สกลกายส่วนที่ยังเหลืออยู่นั้น จะร้องเรียกว่ากระไร ก็ต้อง รอ้ งเรยี กวา่ โลกุตรธรรมนะซิ นน้ั แหละเป็นตวั ปกติศลี คำ� ทว่ี ่าปกตินัน้ พึงเข้าใจอยา่ งน้ี ใจ ๑ ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ๑ รปู เสยี ง กล่ิน รส เครื่องสัมผัส ๑ ท้ังสามประเภทน้ี ถ้าไม่สังโยชน์กันจะเป็นปกติหรือไม่ ก็ต้องเป็นปกติซิ ถ้าเช่นนั้นเราคิดแก้ไขตัดสังโยชน์ ๓ นี้แหละให้ขาดออกจากกันก็จักได้เห็นปกติศีล ศีลน้ีแล เป็นองค์อธิศีล คือศีลกลาง ถา้ อธิศีลมขี ้ึนเมื่อใด อธจิ ติ อธปิ ัญญากม็ ขี ึ้นเมื่อนน้ั สกั กายทฏิ ฐิ วจิ ิกิจฉา สลี พั พตปรามาส กล็ ะไดข้ าดเม่อื น้นั เหมือนกัน เพราะค�ำทวี่ ่า สกฺกาโย ซ่งึ ถอื วา่ กาย เป็นของๆ ตน ทา่ นหมายความวา่ ถือสมมุติเป็นตน ดังถอื ว่า นามรปู , ธาตุ, ขันธ,์ อายตนะ, 191

เป็นตัวตนนั้นแหละ ท่านให้ชื่อว่า สกฺกายทิฏฺ€ิ ถึงจะปฏิญญาว่าฉันไม่ถือเลย ฉันเห็นเป็น อนัตตาทัง้ ส้ิน ทเ่ี หน็ อนตั ตาเช่นนน้ั ก็เปน็ อนตั ตาสัญญา เพราะสมมตุ ิกบั สภาพธรรมไมแ่ ยก ออกจากกัน ถ้าเห็นว่าส่วนนี้เป็นสมมุติ ส่วนนี้เป็นผู้ถูกสมมุติตัวสภาพธรรม ถ้าแยกสมมุติ ออกไมใ่ ห้แทรกเข้าไปในสภาพธรรม ไมใ่ ห้หุม้ สภาพธรรมไดเ้ มอ่ื ใด ก็ชอื่ ว่าเพิกสมมตุ อิ อกได้ เมื่อนั้น สักกายทิฏฐิก็ละได้ขาดเมื่อน้ันเหมือนกัน ถ้าเพิกไม่ออกต้องเอาสมมุติเป็นศีล เป็นวตั ร สมมุตเิ ป็นอนจิ ฺจํ ศลี และวตั รกต็ อ้ งเป็นอนิจฺจํ ต้องปรามาสลูบคลำ� กันร�่ำไป ถา้ วมิ ตุ ตเิ ปน็ ศีลเป็นวตั ร วิมตุ ติเปน็ ปกติ ศีลและวัตรกเ็ ป็นปกติ หมดปรามาสลบู คลำ� กนั เท่านั้น เพราะสิน้ สงสยั ในสมมุตแิ ละวิมตุ ติ สิน้ สงสยั ในอดีต อนาคต สน้ิ สงสัยในศีลและ วัตรจึงได้ชื่อวา่ ละ สกกฺ ายทฏิ €ฺ ิ วจิ ิกจิ ฺฉา สีลพฺพตปรามาส ได้ ขอใหส้ าธุชนผู้หวงั ท�ำตนใหเ้ ป็นที่พึง่ จงมนสิการโดยนยั ดังพรรณนามาดว้ ยประการฉะนี้ 192

สรปุ โลกสรุปธรรม จติ มนี าคม ๒๕๔๑ ในพระพุทธธรรม สัจธรรม อันตรงข้ามกับโลกธรรมที่เป็นสภาพธรรม หลงทุกข์ เพราะหลงอวชิ ชาธาตุ เมือ่ สรปุ ลงแล้ว ๑) จริง กม็ แี ต่สภาพจริงแท้ ซ่งึ พระพทุ ธองคท์ รงกลา่ วจรงิ สจั ธรรมมีหนึ่ง สองจริง ไม่มีของปลอมหรือของจริง ทองปลอมหรือทองจริง ธนบัตรปลอมหรือจริง ญาติ มิตร เรา (พระตถาคต) กล่าวพระนิพพานเป็นสัจจะอันวิเศษ สิ่งใดเป็นอสัจจะไม่จริงแท้ พร่องอยู่ เร่ือยๆ สัจธรรมสมบูรณ์เป็นปกติ (out of condition origin end time space ego concept non relativity) พระพุทธองค์ทรงบัญญัติว่า อมตธรรม สติหยั่งลงสู่อมตธรรม (วิสงั ขารธรรม (unconditional state) วิราคะธรรม (สภาพปราศจากความใครค่ วามก�ำหนดั ในกามหรอื ในญาณโยคะทกุ ชนิด) มีวิตกวจิ าร นิมติ สัญญา ในภาวนาสมาธิ ปีติสุข หรอื จติ พรหม เทวดา) ๒) จติ พน้ื ฐานธรรมชาตเิ หมือนพลงั งาน energy กเ็ ปน็ สภาพจิตอยเู่ ปน็ ปกติ เป็นจติ อยู่เสมอ constant energy ไม่มีต้นปลาย no origin end สถานท่ี เวลา space time ถา้ เปน็ จิตธาตอุ ยา่ งเดียวไมม่ ี ๓) อวชิ ชา Blind force universal มาบดบัง ไมม่ ี senses คอื อายตนะหลง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทกุ ชนิด ทิพยห์ รือไม่ทพิ ย์ หยาบ ละเอียด พร้อมอวชิ ชาปรุงแต่งจติ ใจ ใหค้ ดิ เป็นเราและโลกเป็นเครื่องมอื ปจั จัย (Tools) มาสมมตุ ิเพราะโง่ หลง อยาก เพราะ โง่ไปสารพัด เรียกว่า สังขาร ขันธ์ห้า โลกหลง กายใจชีวิตทุกชนิดของปุถุชน (หลง) แต่ ยอดพรหมโลกถงึ ก้นนรก คือ ภพสาม (กามภพ รูปภพ อรปู ภพ) ถ้าไมม่ ปี ัจจัย (condition) ทง้ั หมดมาประกอบ (combine with) ๔) ถ้าเจริญพุทธธรรมแสงสว่างพ้นโลกหลง เจริญโลกุตตรธรรม สภาพธรรมพ้นโลก หลงพ้นทุกข์เพราะหลงใหเ้ กดิ ขนึ้ ได้ คอื อริยมรรค โลกุตตรธรรม ธรรมพน้ หลงพน้ อวชิ ชาให้ เกิดขนึ้ ได้ เจรญิ ศีล สมาธิ ปญั ญา อรยิ ธรรม สตปิ ฏั ฐาน ทีร่ วมอริยมรรคให้เกดิ ข้ึนไดเ้ ปน็ โลกตุ ตรธรรมสมั มาญาณฯ (แสงสวา่ ง ปัญญา พน้ หลง) 193

๕) จิตธาตุพ้นจากมืด (อวิชชา ความหลง) พ้นจากความมัวหมองพ้นทุกข์ไปโดย เด็ดขาดดว้ ยนโิ รธรรม อันพงึ รู้แจ้ง (extinction of Pain Suffering with cause of Pain) ใน อรยิ สัจธรรมสีท่ พี่ ระพุทธเจา้ ทง้ั หลายเทา่ นน้ั จะสามารถรแู้ จง้ ได้หลังบ�ำเพญ็ บารมสี บิ (merit) มาครบถ้วนแล้ว และเหล่าสาวกจะรู้ตามได้ (learn from) หลังจากปรารถนาพ้นทุกข์ (ปญั หาเกิด แก่ เจบ็ ตาย ทกุ ข์ในโลก และสรา้ งบารมีสิบของสาวกมานมนาน (come to be true moral actions merits) ไม่ใช่เพียงคิดเอา (intellectual philosophy religions concepts) แต่เร่ิมด้วยอธิษฐาน (ต้ังใจและหวัง) และท�ำกุศลเรื่อยไปจนถึงผลคือพ้นทุกข์ พ้นอวชิ ชา พน้ เกิดตายเด็ดขาด คอื จิตบริสุทธ์ิ จิตพลงั ไม่เปน็ ตวั ตนเหมือน energy ไมม่ กี �ำหนดเขต เชน่ ธรรมชาติทงั้ หมด intotal พอเทียบคลื่นในทะเลมหาสมุทรที่แล่นเป็นสังขาร movement อยู่ใต้ฟ้ามืด ถือเป็นอาการ movement จบั ยึดถอื ขึน้ มาเปน็ ตัวตน ego ไม่ได้ แตก่ ไ็ ม่ใช่สภาพธรรมมดื ท่มี าจากทอ้ งฟา้ มืด ไม่ใช่ความมืด ถ้าคล่ืนบางส่วนวิ่งออกนอกเขตมืดได้ถึงแสงอาทิตย์ คล่ืนนั้นก็พ้นสภาพมืด ก็สว่างบริสุทธ์ิ เทียบ วิญญาณพุทธสติ วิญญาณสติ รู้เห็นธรรมสภาพจริง สัจธรรมคลื่น อาการธรรมชาติ อาการรู้ คือวิญญาณพุทธ (โลกุตระพ้นโลกหลง) แจ้งสัจธรรม อาการ รู้พรอ้ ม สตพิ ทุ ธโลกุตระ สตปิ ฏั ฐาน พระพุทธองคท์ รงกล่าว สตหิ ย่งั ลงสู่อมตธรรม (เทียบ อย่างใกล้ๆ คล่ืน (อาการรู้สติ) รู้สักแต่รู้ วิญญาณสติ คือจิตสติเป็นจิตพุทโธ จิตต่ืนแล้ว สว่างแล้ว พ้นมืดพ้นทุกข์ ก็อยู่ท่ีธาตุคงท่ี คือ ธาตุน�้ำ H2O (constant) ทั่วมหาสมุทร ทั่วโลก เรียกว่า จิตรู้จักจิตเห็นจิตเห็นน้�ำท่ีไม่ใช่อาการ (คือ ไม่ใช่สังขาร วิญญาณ) เป็น วิสงั ขารธรรม สรณธรรม คอื จริงแต่ประการเดียว พระนิพพาน ของหลง ของลวง ของปลอม อวิชชากเิ ลส โลกหลง ตนหลง กาย ใจ ขนั ธห์ ้าหลง ไมเ่ ปน็ ท่ีพ่ึงจรงิ ได้ ๖) อาการธรรมบริสุทธ์ิพ้นมืด คือจิตพ้นอวิชชา พระพุทธองค์ผู้รู้แจ้งก็ไม่ได้บัญญัติ ว่าหายไป ก็เหมือนกับว่าคลื่นท่ีผิวทะเลวิ่งออกจากภายใต้ฟ้ามืด ความมืดก็ปรากฏใสใน ความสว่าง แต่ก็เป็นคลื่นอยู่เสมอภายใต้แสงอาทิตย์ ไม่มีเมฆบัง พระพุทธองค์ทรงกล่าว เพยี งสตยิ ับยง้ั มาร (อวชิ ชา กเิ ลส ขนั ธมาร ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ ขนั ธห์ า้ มืด) สตหิ ย่งั ลงสู่ อมตธรรม สจั ธรรม พระนพิ พาน วิสังขารคตัง จติ ตงั จติ ตถาคต (อรหันตจติ จิตบรสิ ทุ ธ)์ิ หยั่งลงสู่สัจธรรมอันไม่มีการปรุงแต่ง อวิชชา ตัณหา อุปาทาน สมมุติธรรมเสียแล้วเท่าน้ัน 194

พระองค์จึงทรงกล่าวว่า โลกไม่ว่างเปล่าจากพระอรหันต์ จิตบริสุทธิ์จากอวิชชา เป็น โลกุตระจิต คือพ้นโลกหลง สภาพธรรมจิตเป็นไปได้สองประการเท่านั้น คือ หลุดพ้น (liberated) หรือไมห่ ลุดพน้ เท่านัน้ จติ หายไปไม่มี เชน่ เดียวกับธรรมชาติ (ธรรม) ทงั้ หมด total nature หายไปไมม่ ี เพราะสภาพตน้ ปลาย origin end อยใู่ นน้ันแล้ว เมอ่ื จติ สงบจาก อวชิ ชา กเิ ลส สงั ขาร หลงโง่สมมุติ ตน โลก ภพ กส็ งบ อวิชชาสงบ โดยไมม่ เี ศษสังขาร สงบนิโรธ รู้แจ้งความดับอริยสัจทุกข์ พระอภิธรรม มาติกา จะเรียกว่านิพพานหรือไม่ก็ไม่ ส�ำคัญเสียแล้ว ปญั หาโลกหลง ตน ego self I me และท่ีเกิดพรอ้ มกนั Not I he another ego จริงแท้คงท่ี ไม่แปรผัน ก็ไม่มีความกระทบกระเทือน conflict inside outside subjective objective เปน็ ไปไม่ได้ เพราะจุดกลางสมมตุ ิไมม่ ี เพราะความคิดหลงของปุถชุ น แตย่ อดพรหมโลกถงึ กน้ นรก สมมุติกาย ใจ ขันธห์ า้ อนัตตา เปน็ ตน เรา เขา จะมากระทบกัน หรอื เรากับโลกจะมากระทบกนั มันไมม่ ี ตามสภาพจริงท่เี ป็นโลก ภพ ย่งุ ทุกข์กนั อยู่ กเ็ พราะ หลง อยากยึดทางตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ สมมุติ และหลงสมมุติ อาศัยอายตนะ กาย ใจ ขนั ธ์ หา้ อวิชชาธาตุน่นั เอง ตวั อยา่ งได้ยนิ ไมม่ กี ารบอกว่าอะไร เรา เขา โลก เรื่องในขณะน้นั หนงึ่ ขณะจิต หรอื ชัว่ ศนู ยว์ ินาที (not a second) ถ้าพทุ ธสติเกดิ ทันตอนนนั้ ได้ยนิ สักแต่ ไดย้ ิน วางกังวลเจตนากรรม อปุ าทานอยาก ยดึ ดับ กเ็ ป็นหนทางดบั โลกหลงทกุ ข์ 195

ต้นสงิ หาคม ๒๕๔๑ สติปัฏฐานย่อ พระพุทธองค์ทรงกลา่ ว คณุ ของโลก (สขุ -โสมนัส เปน็ ธรรมดา) โทษของโลก (อนิจจัง ทุกขงั อนตั ตา แปรปรวน เป็นธรรมดา) อบุ ายเครื่องออกไปจากโลก (หลง ทกุ ข)์ ตามความเปน็ จริง เปน็ ธรรมพน้ โลก มีอยู่ ตามธรรม พุทธสติ “รู้สักแต่รู้” เมื่อเราเห็นรูป รูปนั้นสักแต่เห็น หรือธรรมเป็นธรรม ปรากฏ “สิ้นสวาท” เปน็ วญิ ญาณสติ เป็นจิตสติ เปน็ จิตพุทโธ จติ สมบูรณ์ จติ พุทโธเกดิ เปน็ จติ ภาวนากุศล ดับทุกข์เกดิ จากหลง ดบั สังขารหลง ดับขนั ธห์ า้ หลง ดับ “เรา” “เขา” “เรา-ไม่ใช่เรา-เขา” “เรากับโลก” นิมิต สัญญา หลง ถ้าเกิดสงสัย เปน็ ไปไม่ได้ เพราะทกุ ข์ อวชิ ชา หลง ตณั หา อุปาทาน ขนั ธห์ ้า อนั เป็นเหตุโลกสงสัยไม่มี แมเ้ กดิ เพียงสงบสขุ ใจเปน็ ปตี ิ สขุ สงบ กเ็ ป็นกุศล เปน็ บุญ เป็นบารมี ในปัจจบุ นั ทันที และ ในอนาคตกาลยาวนาน พระพุทธองค์ก็ไม่ทรงเหนื่อยเปล่าในการทรงแสดงสติปัฏฐาน ๔ ผูป้ ฏบิ ัตไิ ด้หรือยินดศี รัทธาปฏิบตั ิตาม พร้อมทงั้ ความแจม่ แจ้งในความสุข ความได้บญุ บารมี พร้อมยงั มี สตไิ ม่ปรากฏคือทกุ ข์แท้ 196

สติปัฏฐานปฏบิ ตั ิ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๔๑ สตปิ ัฏฐานปฏบิ ัติท่เี ปน็ ไปแลว้ ไดแ้ ก่การทีม่ หาอำ� มาตย์ แคว้นมคธ ไดย้ ินพระพุทธดำ� รัส ว่า “กังวลอะไรของเธอในอดีตวาง กังวลอะไรของเธอในอนาคตวาง กังวลอะไรของเธอ ในปัจจุบันวาง” เกิดพุทธสติปัญญาอันเป็นโลกุตตรธรรม คือพุทธธรรมพ้นหลงโลก พ้น โลกหลงคือกายใจหลงเป็นตน ego self เรา เขา แจ้งธรรม (ดา) ธรรมเป็นธรรมทั้งส้ิน ความเห็นผิด มจิ ฉาทฏิ ฐใิ นกาย ใจ ขันธห์ ้า (รปู เวทนา ความรสู้ กึ สขุ ทุกข์ ไมส่ ขุ ไม่ทุกข์ สญั ญา ความหมาย คิด รู้ notion of worldly existence taken to be true ทุกอย่างซึง่ เกดิ จาก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ หลง อยใู่ ต้อ�ำนาจอวชิ ชา ธาตุประจำ� ธรรมชาติ Blind force สังขาร การปรงุ แต่งสมมุติโดยอวิชชาธาตุ วญิ ญาณ คอื รูแ้ ต่หลง ดบั (นิโรธ) ถงึ นิโรธธรรม สัจธรรม คอื นิพพาน ธรรม วสิ งั ขาร ไม่มีการปรงุ โดยอวิชชา อมตธรรม สรณธรรม แต่ ประการเดียว เปน็ ที่พึง่ ไดเ้ พราะจรงิ ของหลง โลก กาย ใจ หลง ขันธห์ ้าหลง เป็นของเทจ็ (faked) เหมอื นธนบตั รปลอม ทองปลอม ญาตมิ ิตรปลอม ไม่สามารถเป็นท่พี ง่ึ ได ้ การท่พี ทุ ธสติธรรม โลกุตตรธรรม ญาณ สัมมาญาณ แสงสวา่ ง ทำ� ลายอวิชชาเกดิ ขึน้ จิตจงึ พ้นมืดได้ วา่ โดยขณะจิต (Mind in one moment of action) กค็ ือที่พระพุทธองคท์ รง กล่าว “วิสังขารคตัง จิตตัง” จิตตถาคตถึงวิสังขาร (ธรรมท่ีไม่มีอวิชชา ตัณหา อุปาทาน (ในขันธ์ห้า) มาปรุงสังขารขันธ์ทุกชนิดท่ีใดจากอวิชชาความมืดแห่งจิต (Blind Force Universals) เสียแลว้ อนั นเ้ี ป็นโลกตุ ตรผลธรรม ผลของอริยมรรคพน้ โลกหลง พ้นขันธห์ ้าหลง มหาอ�ำมาตย์นั้นบรรลุอรหันต์ทันที จิตพ้นมืดในช่ัวขณะจิต ประหน่ึงแสงสว่างเกิดในรุ่งอรุณ ท่ัวทงั้ ส้ินสว่าง ท่ีเปน็ มาแล้วจรงิ ปฏิบัตสิ ตพิ ทุ ธพ้นโลกหลง พ้นจิตหลง (เป็นโลกหลง) ก็คอื ปริพาชกคนหน่ึงท่ีว่ิงขอฟังธรรมจากพระพุทธองค์บนถนนในตอนเช้า ในท่ีสุดพระพุทธองค์ ทรงกล่าวว่า “ถ้าเช่นนั้นเธอจงตั้งใจฟังให้ดี เมื่อเธอเห็นรูปก็สักแต่ว่าเห็น ได้ยินเสียงก็ สักแต่ว่าได้ยิน ได้กล่ินก็สักแต่ว่าได้กลิ่น ล้ิมรสก็สักแต่ว่าลิ้มรส และสัมผัสสักแต่ว่าสัมผัส เท่านั้น อย่ายินดียินร้ายในสิ่งเหล่าน้ัน” มหาสติเกิดท่ีจิต เกิดอริยมรรคผลพ้นโลกหลงเป็น พระอรหนั ตท์ ันที ไม่มอี ตั ตาทฏิ ฐิ หมดสกั กายทฏิ ฐิ สิน้ หลงคดิ วา่ ตนๆ เรา-เขา ในขันธห์ า้ กาย ใจ ชวี ิต เห็นธรรมเปน็ ธรรมตามธรรมชาติจรงิ อริยสจั ส่ี พระนพิ พาน 197

สติปัฏฐานปฏิบตั ิ (ตอ่ ) หรือธรรมชาติของมหาสตพิ ุทธ ธรรมชาติของสติพุทธ หรือสติปัฏฐานดังท่ีกล่าวมาแล้ว ท่ีพระพุทธองค์ทรงแสดง กค็ อื “วางกังวล อดีต อนาคต ปจั จุบัน” วางกงั วลปัจจบุ ันท่ีเป็นตวั ส�ำคญั ท่ีสดุ ทา่ นก็ได้ทรง แสดงแกป่ ริพาชกแล้วทว่ี า่ “เมื่อเธอเหน็ รูป รปู น้นั สักแตเ่ ห็น หรอื ทีท่ รงแสดงทง้ั ในรปู ปรยิ ตั ิ intellectual และในรปู ปฏิบัติ coming to the Awakening into the Dhamma or Truth- Relativity and Absolute) วา่ “ภิกษทุ ้งั หลาย เธอพงึ วางกงั วลขนั ธห์ ้าเสีย” คือเจรญิ อรยิ สติ ท่ีท�ำลายอวิชชา ตัณหา อุปาทาน อริยทุกข์ สมุทัย อริยสัจท่ี ๒ เหตุทุกข์ลงไปได้ ก�ำจัด ความมืดออกจากจิตธาตุ (Natural Power of Knowing) เหมือนลมแรงพัดก้อนเมฆมืด ออกจากท้องฟ้าพระอาทิตย์ ทุกสิ่งปรากฏตามสภาพจริง (ไม่ใช่หลง) คือสติปัฏฐาน ท�ำหนา้ ที่ก�ำจดั อวิชชาทสี่ รา้ งสมมตุ ิโลกหลง ตน เรา เขา ego, self, I not I, he, she, I and the World Existence คอื ภพโลกหลง เม่ือ “เห็น” พร้อมอวชิ ชาหลง ทุกขเ์ พราะโง่พรอ้ ม ตามสายปฏจิ จสมุปบาท ธรรม (Line of causality) อวิชชาเปน็ ปัจจยั ใหป้ รงุ แต่งสังขาร คือ imagine hope fear desire delusion universal เป็นวญิ ญาณนามรูป ขนั ธ์หา้ หลง คอื ภพ (โลกหลง ตนหลง อตั ตานุทฏิ ฐิ สกั กายทิฏฐิ เครอื่ งผกู จิตทเี่ ป็นหัวอวชิ ชา เหมอื นหวั งทู ีก่ ลืน จักรวาล สัตว์โลก (ปุถุชน) ตั้งแต่ยอดพรหมโลกลงไปจนสภาพต่�ำสุดก้นนรก หรือสัตว์ใน วฏั สงสาร สติปัฏฐาน เมอ่ื อาศยั พระธรรมอรยิ โลกุตตระ (พน้ โลกหลง) พทุ ธธรรมบังเกดิ ขน้ึ แล้ว ทขี่ ณะจติ แห่งสตปิ ญั ญา (hearing understanding instantly Hearing the Dhamma (the Natural Universal of All) with the disappearance of idea delusive “I” “me” “self” in all this body-mind life (natural group) instantly naturally happening disappearing) and realize presently the End of Long Pain at the same time) 198


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook