Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แฟ้มสะสมงานนักเรียน 2565 ณัฐรินทร์ สิทธิ

แฟ้มสะสมงานนักเรียน 2565 ณัฐรินทร์ สิทธิ

Published by sasikamol, 2023-04-20 03:34:49

Description: แฟ้มสะสมงานนักเรียน 2565
๑๐๔๔ ณัฐรินทร์ สิทธิ

Search

Read the Text Version

89 ๒.๕ ดา้ นการคุ้มครองนักเรยี น ๑) การดูแลเอาใจใส่นักเรยี น  สมาชิกทกุ คนในครอบครวั ช่วยกนั ดูแลเอาใจใส่นกั เรยี นเปน็ ประจาสมา่ เสมอ  ขาดการดแู ลเอาใจใส่/ปลอ่ ยปละละเลยนักเรยี นเปน็ บางครงั้  ขาดการดแู ลเอาใจใส่/ปล่อยปละละเลยนกั เรียน/ไม่มผี ดู้ แู ล  นกั เรยี นถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ  นักเรียนถูกทารา้ ยทารณุ ๒) การชว่ ยเหลือในการพฒั นานกั เรียน  สมาชกิ ทกุ คนในครอบครวั เขา้ ใจ/รว่ มมอื ในการชว่ ยเหลือในการพัฒนานักเรยี นเปน็ อย่างดี  สมาชกิ ในครอบครัวบางคนไมม่ คี วามเข้าใจ/รว่ มมอื ในการชว่ ยเหลอื ในการพฒั นานักเรยี น  สมาชกิ ทุกคนในครอบครัวขาดความเขา้ ใจ/รว่ มมือในการช่วยเหลือในการพฒั นานักเรยี น ๒.๖ ด้านเจตคตติ ่อนกั เรยี น  ครอบครัวมคี วามคาดหวังในการพัฒนานกั เรยี น  นกั เรียนสามารถพฒั นาไดแ้ ละมกี ารแสวงหาความรู้ในการพัฒนานักเรียนอย่เู สมอ  มีความคาดหวงั ในการพัฒนานกั เรียนแต่ไมม่ ีการแสวงหาความรเู้ พื่อนามาพัฒนานักเรยี น  ไมม่ ีความคาดหวงั ในการพฒั นานกั เรยี นและนกั เรยี นเป็นภาระของครอบครัว ๒.๗ ด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะของผูป้ กครองในการพัฒนานักเรยี น ๑) ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะของผูป้ กครองในการจดั กจิ กรรมเพื่อพฒั นานกั เรียน  มกี ารจดั กจิ กรรมเพื่อพัฒนานักเรยี นเป็นประจาทกุ วนั  มีการจัดกจิ กรรมเพ่อื พัฒนานักเรยี นเป็นบางคร้งั  ไมเ่ คยมีการจัดกจิ กรรมเพอื่ พฒั นานักเรยี น ๒) ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะของผู้ปกครองในการฝึกด้วยเทคนคิ /กจิ กรรม  มกี ารฝึกด้วยเทคนิค/กจิ กรรมทห่ี ลากหลายเป็นประจาทกุ วัน  มีการฝึกดว้ ยเทคนคิ /กจิ กรรมเปน็ บางครง้ั  ไม่เคยฝึกด้วยเทคนิค/กิจกรรม

90 ๓. ข้อมลู ด้านสภาพแวดลอ้ ม ๓.๑ สภาพแวดล้อมภายในศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดลาปาง/หนว่ ยบริการ ๑) บริเวณภายในหอ้ งเรยี นอาคารเรยี น  สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียน/อาคารเรยี นมคี วามเหมาะสมกับความต้องการจาเป็นพิเศษของ นกั เรยี นและปลอดภัยตอ่ การดารงชีวติ  สภาพแวดล้อมในห้องเรยี น/อาคารเรยี นบางอยา่ งขาดความเหมาะสมกบั ความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษของนักเรียนแตย่ งั สามารถใชไ้ ดอ้ ยา่ งปลอดภยั ตอ่ การดารงชวี ิต  สภาพแวดล้อมในห้องเรียน/อาคารเรียนบางอย่างขาดความเหมาะสมกับความตอ้ งการจาเป็น พิเศษของนกั เรียนและไม่ปลอดภยั ตอ่ การดารงชีวิต  สภาพแวดล้อมในหอ้ งเรียน/อาคารเรยี นทกุ อย่างไมม่ คี วามเหมาะสมกับความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษของนกั เรียนและไม่ปลอดภัยตอ่ การดารงชวี ิต ระบรุ ายละเอียดเพม่ิ เติม........................................................................................................................................... ๒) บรเิ วณภายนอกอาคารเรียน  สภาพแวดลอ้ มนอกอาคารเรยี นมคี วามเหมาะสมกับความตอ้ งการจาเป็นพิเศษของนกั เรยี น และปลอดภัยต่อการดารงชีวิต  สภาพแวดลอ้ มนอกอาคารเรียนบางอยา่ งขาดความเหมาะสมกบั ความต้องการจาเป็นพิเศษ ของนกั เรยี นแตย่ ังสามารถใช้ไดอ้ ยา่ งปลอดภัยต่อการดารงชีวิต  สภาพแวดลอ้ มนอกอาคารเรียนบางอย่างขาดความเหมาะสมกบั ความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ ของนักเรียนและไมป่ ลอดภยั ตอ่ การดารงชวี ิต  สภาพแวดล้อมนอกอาคารเรียนทกุ อยา่ งไม่มคี วามเหมาะสมกบั ความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษของ นักเรียนและไม่ปลอดภยั ต่อการดารงชีวิต ระบรุ ายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ........................................................................................................................................... ๓) ผู้เก่ียวข้อง  คร/ู พี่เลย้ี งเด็กพกิ าร/ผ้ปู ฏิบัตงิ านใหร้ าชการ ทุกคนพร้อมใหก้ ารชว่ ยเหลอื นักเรยี น  คร/ู พเ่ี ลีย้ งเด็กพิการ/ผู้ปฏบิ ตั ิงานใหร้ าชการ บางคนละเว้นไม่ใหก้ ารช่วยเหลือนกั เรียน  คร/ู พีเ่ ลย้ี งเดก็ พิการ/ผูป้ ฏิบตั งิ านใหร้ าชการ บางคนรงั เกยี จนักเรยี น  เพ่ือนทุกคนยอมรับ/ใหเ้ ขา้ กลุม่ ทากจิ กรรม  เพอ่ื นบางคนไมย่ อมรบั /ไมใ่ หเ้ ขา้ กลมุ่ ทากิจกรรม  เพ่อื นทุกคนไมย่ อมรบั /ไม่ใหเ้ ข้ากลุ่มทากจิ กรรม

91 ๓.๒ สภาพแวดล้อมภายในบา้ น ๑) บรเิ วณภายในบา้ น  สะอาดปลอดภัยเออ้ื ตอ่ การพฒั นาศกั ยภาพนกั เรยี น  สะอาดปลอดภยั แตไ่ มเ่ ออื้ ต่อการพฒั นาศักยภาพนกั เรยี น  ไม่สะอาดและไมป่ ลอดภัย ๒) บริเวณภายนอกบ้าน  สะอาดปลอดภัยเอ้ือตอ่ การพัฒนาศกั ยภาพนกั เรียน  สะอาดปลอดภยั แตไ่ มเ่ อือ้ ต่อการพฒั นาศกั ยภาพนักเรียน  ไมส่ ะอาดและไมป่ ลอดภยั ๓.๓ สภาพแวดล้อมภายในชมุ ชน ๑) เจตคติของชุมชนทม่ี ีตอ่ นกั เรยี นและครอบครัว  เป็นภาระของสังคม  พร้อมใหค้ วามชว่ ยเหลอื  ความเชอื่ เรอ่ื งเวรกรรม  มีสิทธิเท่าเทียมกบั คนทวั่ ไป  นา่ รังเกียจ  คนพกิ ารสามารถพฒั นาได้  ไมส่ นใจ ๒) ความสัมพนั ธ์ของนักเรยี นกับชมุ ชน  เปน็ ทรี่ จู้ กั ในชมุ ชน  มีสว่ นร่วมในชมุ ชน  เป็นท่ีรักของคนในชุมชน  ชมุ ชนใหค้ วามช่วยเหลือ  ไมม่ คี นในชุมชนรจู้ ัก  ไม่สนใจ  สรา้ งความเดอื ดรอ้ นใหค้ นในชุมชน

92 แบบรวบรวมข้อมลู ผเู้ รยี น ตามกรอบคดิ แนวเชงิ นเิ วศ (Ecological System) และกรอบการประเมนิ ของฟานไดจ์ค (The Van Dijk Framework for Assessment of Individuals who have Severe Multiple Disabilities) ช่ือ-นามสกลุ นกั เรยี น เดก็ ชายณฐั รนิ ทร์ สทิ ธิ ช่อื เลน่ บอส ระดับช้นั ช่วยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ประเภทการรบั บริการ หน่วยบริการ ช่ือสถานศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั ลาปาง อาเภอ เมอื งลาปาง จงั หวัด ลาปาง ข้อมูล ณ วันท่ี ๓๑ เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง

93 รวบรวมข้อมูลผูเ้ รยี น ข้อมลู ของผ้เู รยี น ๑. ข้อมูลของผู้เรยี น ช่อื -นามสกุลนักเรยี น เด็กชายณฐั รินทร์ สทิ ธิ ชอ่ื เล่น บอส เชือ้ ชาติ ไทย อายุ ๖ ปี เพศ ชาย ประเภทความพกิ าร บกพรอ่ งทางร่างกายฯ โรคประจาตัว - ลักษณะความพกิ าร นักเรยี น ไมม่ สี มาธจิ ดจ่อในการทากิจกรรม นกั เรยี นใช้ภาษาไม่สมวัย สามารถพูดออกเสยี ง และทาตาม คาสงั่ อยา่ งงา่ ยได้ แต่ยังไมส่ ามารถพูดส่อื สารด้วยคาหรอื ประโยคได้ นักเรียนสามารถดแู ลตัวเองในชวี ติ ประจาวันได้ น้อยในการรบั ประทานอาหาร การอาบนา แปรงฟนั และการแต่งกาย ตอ้ งกระต้นุ ในการปฏบิ ตั ิกจิ วัตรประจาวนั อยู่ เสมอ ชว่ งความสนใจสนั สนใจสง่ิ รอบตวั น้อย ดแู ลสุขภาพตนเองไดน้ อ้ ย และมีความระมัดระวังเรื่องความปลอดภยั ตนเองนอ้ ย พฤติกรรมของผเู้ รยี น พฤตกิ รรมส่วนบคุ คล นักเรยี นชอบแยกตวั ออกมาอยตู่ ามลาพัง ชอบเล่นคนเดียว เมือ่ ทากิจกรรมกลุ่มไม่ยอมเขา้ รว่ มกจิ กรรม ไม่สามารถปฏิบตั ิตามกฎกตกิ า นักเรียนมีลักษณะกล้ามเนือแขนขาอ่อนแรง ไม่สามารถลุกขึนยนื ได้ดว้ ยตนเอง ไม่สามารถยนื ทรงตวั ได้ดว้ ยตนเอง และไมส่ ามารถเดนิ ไดด้ ้วยตนเอง พฤติกรรมการเรยี นรู้ นักเรียนสามารถแสดงความตอ้ งการของตนเอง โดยการออกเสยี ง จับมือ และแสดงการปฏิเสธโดยการ แสดงออกทางทา่ ทางและสีหนา้ ไมพ่ งึ พอใจและใช้มือผลักออก นกั เรยี นไมส่ ามารถส่อื สารด้วยคาพดู หรือประโยค ยาวๆ ได้ สามารถฟังและทาตามคาส่ังงา่ ยๆ เช่น หยิบ ขอ เดนิ และสามารถทาตามตัวแบบได้ นกั เรยี นทากจิ กรรม ต่างๆ ไดโ้ ดยการจับมอื ทา หรือมีผู้ดูแลคอยช่วยเหลอื ทกุ ขน้ั ตอนในการทากจิ วตั รประจาวนั เชน่ การลา้ งมอื แปรง ฟนั อาบน้า แตง่ ตวั และการขบั ถ่าย บางคร้ังนักเรียนสามารถทาได้ด้วยตนเองแตต่ ้องคอยกระต้นุ นกั เรยี นสามารถ หยิบอาหารเขา้ ปากและเจาะกล่องนมเพอ่ื ด่ืมเองได้ และสามารถทากจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้การเสรมิ แรงทางบวก ด้วยของทีน่ กั เรยี นชอบ เช่น นมกลอ่ ง ของเล่นทม่ี เี สยี ง เปน็ ตน้ นักเรยี นสามารถเรยี นรไู้ ดโ้ ดยผ่านการมอง การฟัง การจบั มอื ทาโดยเปน็ คาสง่ั ง่ายๆ เป็นลาดับขั้นตอน โดยการกระตุ้นเตือนทางกายและวาจา วิธที ่กี ารสอนทนี่ ักเรยี น ให้ความรว่ มมอื มากทสี่ ุด คือ การใหร้ างวัล คาชมเชย และการปรบมอื กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั ลาปาง

94 ภาพนักเรยี น กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง

95 รวบรวมข้อมูลผเู้ รียน ข้อมูลความสามารถผู้เรยี น ความสามารถพื้นฐานของผเู้ รียน จุดออ่ น ๑.๑ ความสามารถพนื้ ฐานทางดา้ นร่างกาย ๑. เมื่อใหน้ ักเรียนปล่อยวตั ถใุ นจดุ ทกี่ าหนด นกั เรียน จุดเดน่ ไม่สามารถปลอ่ ยวตั ถตุ ามเป้าหมายได้ ซงึ่ จะตอ้ งใช้ ๑. เมอื่ ให้นักเรยี นใชม้ อื นักเรยี นสามารถหยบิ จับ การกระต้นุ เตอื นทางกายโดยการจบั มือ ปลอ่ ยวัตถุไดใ้ นระดบั อกและมผี ชู้ ่วยเหลือในการชนี า ทศิ ทางปล่อยวตั ถุ ๒. เมอ่ื ให้นกั เรียนนงั่ ทรงตวั อยใู่ นทา่ น่ังขัดสมาธิบนพนื ๒. เมื่อให้นกั เรียนนง่ั ทรงตัวอยูใ่ นท่านง่ั ขัดสมาธบิ นพนื หลังตังตรง นกั เรียนสามารถน่ังทรงตวั ในการทา หลังตงั ตรง นกั เรยี นไมส่ ามารถนง่ั ทรงไดน้ านมากกวา่ กิจกรรมได้ ๓-๕ นาที ๕ นาที เนือ่ งจากนกั เรยี นไมม่ สี มาธิจดจอ่ ในการทา กิจกรรม มชี ่วงความสนใจสัน ๓. เม่อื ให้นกั เรียนทากิจกรรมในหอ้ งเรยี นหรอื ทบ่ี ้าน ๓. เมอ่ื ให้นกั เรยี นทากิจกรรมในหอ้ งเรยี นหรอื ทีบ่ า้ น นกั เรียนสามารถทากจิ กรรมได้ ๓-๕ นาที โดยมคี รู มากกว่า ๕ นาที นกั เรียนมกั จะเดินหนี ไม่สนใจ หรอื ผปู้ กครองคอยกระตนุ้ เตอื นด้วยวาจา ว่งิ เลน่ รอบหอ้ ง มพี ฤติกรรมอยไู่ มน่ ิ่งขณะทากจิ กรรม ๔. เม่ือใหน้ ักเรียนทาตามคาส่ังง่ายๆ นักเรยี นสามารถ ๔. เม่ือใหน้ ักเรียนทากจิ กรรม นกั เรยี นมักจะไม่พูด ฟงั คาส่งั ง่ายๆ ได้ และสามารถตอบสนองตอ่ เสียงได้ เปน็ คาหรอื ประโยค แตส่ ามารถตอบสนองดว้ ยการส่ง แต่ตอ้ งคอยกระตุ้น เสียงได้ กล่มุ บริหารงานวชิ าการ ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั ลาปาง

96 รวบรวมข้อมลู ผเู้ รียน ขอ้ มลู ความสามารถผเู้ รยี น ๑.๒ ความสามารถพ้นื ฐานทางดา้ นอารมณ์ จติ ใจ จุดเดน่ จุดอ่อน ๑. นกั เรียนสามารถแสดงออกทางสีหน้า ทา่ ทางหรอื ๑. นักเรยี นไมส่ ามารถเขา้ ใจอารมณ์ของตนเองและ การสง่ เสียงได้ โดยการยมิ และหัวเราะเม่อื ไดร้ ับสิง่ ท่ี ผู้อ่ืนได้ ไมต่ อบสนองหรอื แสดงออกทางอารมณ์ ต้องการ เชน่ ได้รบั ขนมหรือของเล่นทชี่ อบ และ นกั เรยี นแสดงการปฏิเสธเมื่อได้ของทไี่ ม่ต้องการหรอื ทากิจกรรมท่ีไม่ชอบดว้ ยการแสดงทา่ ทางส่ายหนา้ และสง่ เสยี ง “อึ” ๒. นกั เรียนสามารถนงั่ นิ่งเพอ่ื รอคอยสิ่งท่ีตอ้ งการได้ ๒. นกั เรยี นไม่สามารถนงั่ น่งิ เพอื่ รอคอยสิง่ ทีต่ ้องการ เมื่อครหู รอื ผู้ปกครองบอกให้รอ ประมาณ ๑ นาที ได้ เม่ือครูหรอื ผู้ปกครองบอกใหร้ อ หากเกนิ ระยะเวลา ๑ นาที ซ่ึงจะแสดงอาการสง่ เสยี ง ลุกจากท่นี ั่ง และ เดนิ หนี ๓. นกั เรยี นสามารถทากิจกรรมจนสาเรจ็ ตามที่ ๓. นักเรยี นยงั ไม่สามารถทากจิ กรรมจนสาเรจ็ ตามที่ กาหนดให้ไดเ้ ป็นบางครงั โดยการกระตุน้ เตือนทาง กาหนดให้ได้ วาจา ๑.๓ ความสามารถพืน้ ฐานทางดา้ นสังคม จดุ ออ่ น จดุ เดน่ ๑. นกั เรียนไมส่ ามารถรับประทานอาหารได้ดว้ ย ๑. นักเรียนสามารถรบั ประทานอาหาร โดยการหยบิ ตนเอง อาหารเข้าปาก และด่มื นาจากแก้วได้ โดยมีผ้ปู กครอ ช่วยเหลือ ๒. เมือ่ ใหน้ กั เรียนถอด และสวมใส่เคร่อื งแตง่ กาย ๒. นักเรยี นไมส่ ามารถถอดและสวมใสเ่ ครอื่ งแตง่ กาย นักเรยี นสามารถให้ความรว่ มมอื ในการถอดและสวมใส่ ไดด้ ว้ ยตนเอง เครื่องแต่งกายได้โดยมีผ้ปู กครองเปน็ ถอดและสวมใส่ ใหท้ กุ ขนั ตอนโดยไม่แสดงอาการต่อตา้ น ๓. เมื่อใหน้ กั เรยี นทากิจกรรมกลุ่ม เชน่ กจิ กรรม ๓. นกั เรยี นไมส่ ามารถทากจิ กรรมกับผอู้ ่นื ได้นานเกนิ วงกลม นกั เรยี นทากิจกรรมอยู่ร่วมกับเพอ่ื นไดภ้ ายใน ๑-๒ นาที ซึ่งจะแสดงพฤติกรรมอยู่ไม่น่ิง เดินหนีออก ระยะเวลา ๑-๒ นาที จากกจิ กรรม ชอบเล่นคนเดียว กล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง

97 รวบรวมขอ้ มูลผ้เู รียน ขอ้ มลู ความสามารถผู้เรยี น ๑.๔ ความสามารถพื้นฐานทางดา้ นสตปิ ัญญา จดุ เด่น จุดอ่อน ๑. เมือ่ ครหู รอื ผู้ปกครองใหท้ ากิจกรรมและปฏบิ ัตติ าม ๑. นกั เรยี นไม่สามารถปฏบิ ัติตามคาสง่ั ทย่ี ากๆ ได้ คาสัง่ งา่ ยๆ เชน่ หยิบ จบั ส่งิ ของใส่ตะกรา้ นง่ั และใชเ้ วลานานในการตอบสนองต่อคาสั่ง นักเรยี นสามารถปฏิบัตติ ามคาสั่งได้ ดว้ ยการกระตนุ้ เตอื นทางท่าทางหรือวาจา และมผี ู้ปกครองช่วยเหลือ ๒. นกั เรยี นสามารถรบั ร้สู ่งิ เร้ารอบตัวผา่ นการมองเห็น ๒. นกั เรยี นไมส่ ามารถพูดส่ือสารด้วยคาพดู หลาย การสัมผสั การได้ยนิ และมกี ารตอบสนองผ่านการ พยางค์ หรือประโยคได้ และไมส่ ามารถแสดงออกถึง แสดงออกทางสหี น้า ท่าทาง เช่น ว่งิ กระโดด เปน็ ตน้ ความต้องการได้ ๑.๕ ความสามารถพ้นื ฐานทางดา้ นทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความพกิ าร จดุ เด่น จุดออ่ น ๑. นกั เรียนสามารถตอบสนองต่อเสยี งเรยี ก ๑. นักเรยี นไมส่ ามารถพูดสือ่ สารดว้ ยคาพดู หลาย และเสียงพูดคยุ โดยคนใกล้ชดิ หรอื รู้จกั ได้ พยางค์ ประโยค หรอื การสอ่ื สารในสถานการณ์ตา่ งๆ ได้ ๒. นักเรยี นสามารถเลน่ และทากิจกรรมได้ดว้ ยตนเอง ๒. นักเรยี นไม่สามารถดูแลตนเองและเข้าใจถึงส่งิ อนั ตราย หรือความปลอดภยั ในการทากิจกรรมตา่ งๆ ได้ กล่มุ บริหารงานวิชาการ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง

98 รวบรวมข้อมูลผู้เรยี น กรอบการประเมิน The Van Dijk Framework การรวบรวมข้อมลู ผเู้ รยี นตามกรอบการประเมิน The Van Dijk Framework for Assessment of Individuals who have Severe Multiple Disabilities ๑. การเขา้ ใกล้-ถอนหนี (Approach-Withdrawal) การดูปฏิกิรยิ าของเดก็ ในการเผชญิ สง่ิ ใหม่ ประสบการณ์ บคุ คล/สถานที่ สง่ิ ของ ความคดิ ๑.๑ อะไรที่เปน็ ตัวชีบอกว่าเดก็ เข้าร่วม ของรางวัลที่ชอบ เช่น นมกล่อง ของเล่นมเี สียง ๑.๒ อะไรทเ่ี ปน็ ตวั ชีบอกว่าเดก็ ไม่เขา้ รว่ ม คนแปลกหน้า หรอื คนที่ไมร่ ู้จกั ๑.๓ มอี ะไรที่สังเกตเห็นวา่ จูงใจเดก็ บ้าง สัตวท์ ชี่ อบ ไดแ้ ก่ - ๑.๔ อะไรทส่ี ังเกตเหน็ ว่าเด็กไมส่ นใจ/หลีกหนีบา้ ง คนแปลกหน้า คนทีไ่ มร่ จู้ กั หรือส่งิ ที่ไม่ชอบ ๒. ชอ่ งทางการเรยี นรดู้ ้านประสาทการรบั รู้ (Sensory Learning Channels) ๒.๑ เดก็ รับข้อมูลได้โดยวธิ ีใดบา้ ง การฟงั และท่าทาง ๒.๒ เดก็ ตอบสนองต่อเสียงอยา่ งไร หนั หาเสยี งบ้างบางครงั ๒.๓ เดก็ ตอบสนองตอ่ สงิ่ เรา้ ทางสายตาอยา่ งไร มองตามบา้ งบางครัง ๒.๔ เดก็ ตอบสนองตอ่ การสัมผสั อยา่ งไร เดนิ หนบี ้าง แตเ่ มอื่ คุ้นเคยแลว้ จะถกู สมั ผัสได้ ๒.๕ เด็กใชป้ ระสาทสัมผัสมากกวา่ หน่งึ อย่างในเวลา ใช่ การมอง การไดย้ นิ การรบั รรู้ สชาติ การสมั ผัส เดียวกันหรือไม่ ๒.๖ เดก็ แสดงตัวชีแนะการร่วมหรอื ไม่เข้ารว่ มในการ ไม่ ตอบสนองขอ้ มูลทางประสาทสมั ผสั เฉพาะหรือไม่ ๓. สถานะทางชีวพฤติกรรม (Biobehavioral State) ชุดของสภาพการณ์ดา้ นชวี พฤติกรรมและกายภาพตั้งแตก่ ารนอนหลบั จนถึงการตน่ื นอนและการรอ้ ง ๓.๑ สภาพปจั จุบนั ของเดก็ คืออะไร หยิบจับสง่ิ ของได้ด้วยตนเอง การรบั ประทานอาหาร การแตง่ กายตอ้ งชว่ ยเหลือ ๓.๒ เดก็ สามารถควบคุม/เปลีย่ นสภาพของตนได้ ได้ หรือไม่ ๓.๓ เด็กใช้เวลาในการต่นื ตัวมากน้อยแค่ไหน ปานกลาง ๓.๔ มชี ่วงกวา้ งของแตล่ ะสภาพเท่าใดทีเ่ ด็กแสดงให้ การมองตาม การสง่ เสยี ง เหน็ และมแี บบแผนการเปลยี่ นแปลงอะไรระหวา่ ง สภาพ ๓.๕ มตี ัวแปรอะไรบา้ งทก่ี ระทบตอ่ สภาพเดก็ คนแปลกหนา้ หรือคนทีไ่ มร่ ู้จัก กลมุ่ บริหารงานวิชาการ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั ลาปาง

99 รวบรวมข้อมูลผู้เรียน กรอบการประเมนิ The Van Dijk Framework ๔. การตอบสนองปฏกิ ิรยิ าตอบสนองของรา่ งกายในสภาพแวดลอ้ ม (Orienting Response) ๔.๑ มปี จั จยั อะไรบ้างทท่ี าใหเ้ ดก็ การตอบสนองไป การตอบสนองกับคนท่คี นุ้ เคย ในทิศทางนนั ได้ชดั แจ้ง ๔.๒ เดก็ แสดงการตอบสนองต่อทิศทางออกอยา่ งไร การมองตาม ๔.๓ ประสาทการรบั รชู้ ่องทางใดท่ปี รากฏเชอื่ มโยง การมอง การสัมผัส กบั การตอบสนอง (ขอ้ มูลประสาทการรบั รทู้ กี่ ระตนุ้ ใหม้ กี ารตอบสนองและประสาทการรบั รู้ทใี่ ช้ ประโยชน)์ ๕. ความจา (Memory) ใช่ ใชเ้ วลาค่อนข้างนาน หรือ ๓-๕ ครงั ๕.๑ เด็กใช/้ คุน้ กับสิ่งเร้าทีค่ ุน้ ชนิ หรอื ไม่ เข้ารว่ มบ้างบางครงั ๕.๒ การนาเสนอสง่ิ เร้าจาเปน็ ตอ้ งใชเ้ วลานานหรอื ก่คี รังกอ่ นทเ่ี ดก็ จะคนุ้ ชิน แตกตา่ ง แตกต่าง ๕.๓ เดก็ เขา้ ร่วมอีกครังไหมเมื่อเปล่ยี นแปลง ลักษณะของสงิ่ เรา้ ไม่ ๕.๔ การตอบสนองแตกตา่ งไปหรอื ไม่ ไม่ ๕.๕ เด็กแสดงการตองสนองแตกตา่ งหรอื ไมก่ ับ ไม่ บคุ คลท่คี ยุ้ เคยและไมค่ ุ้นเคย ไม่ ๕.๕ เด็กแสดงการรบั รู้หรอื ไมว่ ่าสิง่ ของนันยังอยู่ แม้จะไมอ่ ยใู่ นสายตาตอนนัน ได้บา้ ง ไดบ้ า้ ง ๕.๖ เด็กเช่อื มโยงเหตุการณท์ ่ีกาลังเผชญิ กับสงิ่ ที่ ตามมาไหม ๕.๗ เดก็ แสดงการคาดเดาตอ่ สง่ิ /เหตุการณท์ ่กี าลงั เผชิญหรือไม่ ๕.๘ เดก็ แสดงอาการหรอื ไมเ่ มอื่ ส่ิงท่เี กดิ ใหม่ ไม่ตรงกับความคาดหวงั ๕.๙ เด็กสามารถเรียนร้กู จิ วัตรงา่ ย ๆ ได้หรอื ไม่ ๕.๑๐ กจิ วตั รที่ให้เดก็ เรียนรู้จาไดไ้ หม กล่มุ บริหารงานวิชาการ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง

100 รวบรวมขอ้ มูลผเู้ รยี น กรอบการประเมนิ The Van Dijk Framework ๖. ปฏสิ ัมพนั ธ์ทางสังคม (Social Interactions) ใช่ ใช่ ๖.๑ เด็กหนั ไปหาบคุ คลหรือไม่ ไม่ ๖.๒ เด็กแสดงความผกู พนั วา่ มคี วามปลอดภยั กับ บุคคลสาคญั ในชีวติ ของเขา/เธอหรอื ไม่ ไม่ ๖.๓ เด็กมสี ว่ นร่วมในการผลัดเปลี่ยนกัน ๓-๕ รอบ เมื่อเรม่ิ มปี ฏิสมั พันธห์ รอื ไม่ ไม่ ๖.๔ เดก็ มีสว่ นรว่ มในการผลัดเปล่ียนกัน เมือ่ คนอ่นื เริม่ ปฏสิ ัมพนั ธ์หรือไม่ ๖.๕ เดก็ ผลัดเปลย่ี นก่รี อบกอ่ นท่จี ะไม่ร่วม ๖.๖ เด็กเพม่ิ การผลัดเปลีย่ นการมีปฏิสมั พันธ์ มากขนึ เพ่ือตอบสนองต่อปฏิสัมพนั ธข์ องคู่หรือไม่ ๗. การส่อื สาร (Communication) ๗.๑ เดก็ แสดงให้เห็นความตงั ใจในการสื่อสารผา่ น ใชบ่ างครัง การใชง้ านของสญั ญาณ การเปลง่ เสยี ง ท่าทาง ฯลฯ หรอื ไม่ อธบิ ายการสื่อสารที่ใช้ ๗.๒ เด็กใช้สัญญาณอย่างสอดคล้องกนั หรือไม่ ไม่ ๗.๓ เดก็ ใชก้ ารสื่อสารแตกต่างกันหรือไม่ อธบิ าย แตกต่าง โดยการใช้ท่าทาง การส่อื สารและความความหมายทน่ี ่าจะเป็น ๗.๔ เม่อื นาเสนอตัวเลอื กเดก็ ตัดสินใจเลือกหรอื ไม่ ไม่ ๗.๕ เด็กใชท้ า่ ทางเหมือนบคุ คลทว่ั ไปใชห้ รือไม่ ไม่ ๗.๖ เดก็ สามารถใชข้ องหนง่ึ อย่างหรอื สญั ลกั ษณ์ ไม่ แทนกจิ กรรมหรอื วัตถุหรอื ไม่ ๗.๗ เด็กแสดงให้เห็นความเข้าใจในการสอ่ื สารโดย ได้บา้ งครัง ใช้สัญลักษณห์ รือไม่ (การได้ยิน ภาพ หรือการ สัมผสั ) ๗.๘ เด็กใชก้ ารสื่อสารทางสัญลักษณห์ รือไม่ อธิบาย ไม่ กลุ่มบริหารงานวิชาการ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดลาปาง

101 รวบรวมข้อมูลผ้เู รียน กรอบการประเมนิ The Van Dijk Framework ๘. การแก้ปัญหา (Problem solving) ๘.๑ เด็กแสดงใหเ้ หน็ สาเหตุและผลกระทบหรอื ไม่ ไม่ ๘.๒ เดก็ แสดงความเข้าใจในวิธกี าร/จดุ สนิ สุดหรอื ไม่ การใช้ขนั ตอนกลางเพอ่ื แก้ปัญหาหรอื ไม่ ๘.๓ เด็กแสดงความเข้าใจในหน้าทขี่ องวัตถทุ ว่ั ไป ไม่ หรือไม่ ๘.๔ เด็กมวี ธิ กี ารแกป้ ัญหาอย่างไร ไมม่ ี ยังไม่สามารถแก้ปญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง ๘.๕ เดก็ รักษาความสนใจและคงอยกู่ บั ส่งิ นนั หรอื ไม่ ใช่ กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง

102 รวบรวมขอ้ มูลผูเ้ รียน กรอบแนวคิดตามระบบนเิ วศวิทยา (Ecological Framework) ๒. กรอบแนวคิดตามระบบนเิ วศวทิ ยา (Ecological Framework) ๒.๑ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มของผเู้ รยี น (Microsystem) บคุ คลภายในครอบครัวทผ่ี เู้ รียนไว้วางใจ นกั เรียนอาศัยอยู่บา้ นกบั มารดา และตายาย ซง่ึ เปน็ ผดู้ แู ลหลกั และนักเรยี นไว้วางใจมากท่ีสุด ยาย จะเป็นผดู้ แู ลกิจวัตรประจาวนั ทังหมดของนักเรยี น ไดแ้ ก่ อาบนา รับประทานอาหาร สวมใส่และถอดเสอื ผา้ ซึง่ จะกลับมาบ้านมาในชว่ งระหว่างวนั นักเรยี นมีพ่ีสาวช่วยดูแลด้วยรว่ มกับแม่เปน็ บางครงั ลักษณะท่ีอยู่อาศยั (ห้องอะไรบา้ ง / ความสะอาด) เปน็ บา้ น ๒ ชนั ก่อสรา้ งด้วยไม้และปูน ครงึ่ ลา่ งเปน็ ปนู คร่งึ บนเปน็ ไม้ มีบนั ไดขนึ ไปชนั บนอยู่ตรง กลางของบา้ นส่วนล่าง ชันบนของบา้ นเปน็ ห้องนอน มลี านหน้าบ้านสามารถจอดรถยนตไ์ ด้ มีบริเวณพืนที่ สาหรับนงั่ พกั ผอ่ น ล้อมรอบดว้ ยตน้ ไม้ และบา้ นของญาติบริเวณใกลเ้ คยี งในรวั เดียวกัน บรเิ วณใตถ้ ุนบ้านมี ห้องครวั สาหรบั ประกอบอาหาร ประตูข้างบ้าน หนา้ ต่างบานไม้ มีแสงสว่างส่องถงึ อากาศถา่ ยเทสะดวก ด้านลา่ งบ้านมีชันวางโทรทศั น์ ลกั ษณะห้องนา้ (ระบุรายละเอยี ด) ห้องนาอยูบ่ ริเวณในตวั บ้าน มีประตูทางเข้าแบบกลอน แบง่ มุมสาหรับวางถงั อาบนา ขันนา มชี นั วางอุปกรณท์ าความสะอาดรา่ งกายและอุปกรณ์ทาความสะอาดหอ้ งนาเป็นสดั ส่วน ลักษณะหอ้ งนอน (ระบุรายละเอียด) ห้องนอนบริเวณชันบนบ้าน มีความสะอาด มีมุ้งกาง ที่นอนมีความกว้างและยาวมีเตียงไม้ กวา้ งขวาง มีหน้าตา่ งเพ่ือใหอ้ ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก มีการจดั วางของที่เปน็ ระเบยี บเปน็ สดั สว่ น พน้ื ที่ในการฝกึ /ทากิจกรรมกับผูเ้ รียน (ระบุรายละเอียด) บริเวณบา้ นของนักเรียนพืนทีใ่ นการฝึกทากิจกรรม ทังบริเวณในบ้านและบริเวณลานนอกบ้าน ซง่ึ มพี ืนทีก่ ว้างขวาง เปน็ พืนทส่ี าหรบั นักเรยี นฝึกทากิจกรรมการเคลอ่ื นไหวและกิจกรรมกลางแจง้ ไดส้ ะดวก และฝกึ กิจกรรมตา่ งๆ เช่น การหยิบ จบั เคลื่อนยา้ ยส่ิงของ ในส่วนของการฝึกทักษะการดารงชีวิต มพี ืนที่ ให้นักเรยี นฝึกทากจิ กรรมปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจาวนั กลุ่มบริหารงานวชิ าการ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั ลาปาง

103 รวบรวมข้อมลู ผเู้ รียน กรอบแนวคดิ ตามระบบนเิ วศวิทยา (Ecological Framework) ๒.๒ ด้านความสัมพนั ธ์และปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลทเ่ี กีย่ วขอ้ งของผเู้ รียน (Mesosystem) ลักษณะของครอบครวั และความสัมพนั ธ์ของบคุ คลในครอบครัว นักเรียนอยู่ร่วมกับมารดา และตายาย และญาติพ่ีน้องบริเวณบ้านใกล้เคียงกัน มี ปฏิสัมพันธ์ที่ดี ตายายเป็นผู้ดูแลหลักของนักเรียนทุกวัน เน่ืองจากมารดาทางานเพียงคนเดียว ครอบครวั มคี วามรักใคร่ อบอุ่น สามคั คี ช่วยเหลือซง่ึ กันและกัน และให้ความเอาใจใส่แก่นกั เรียนเป็น อยา่ งดี ความสัมพนั ธ์กบั บคุ คลในหอ้ งเรียน/โรงเรยี น นักเรียนชอบแยกตัวอยู่คนเดยี วและชอบอย่เู ฉพาะกับผู้ปกครอง คนใกลช้ ิดของตนเอง ไม่ชอบเขา้ ร่วมกจิ กรรมกับผ้อู น่ื เมอ่ื นกั เรียนคุ้นเคยจะทากจิ กรรมและเล่นกับผู้อ่ืนได้ แต่ไมน่ าน และจะ ไปเล่นคนเดียวมุมใดมุมหน่ึงของหอ้ งเรียนหรอื ในบา้ น ความสมั พันธ์กบั บคุ คลอื่นๆ เช่น ญาติพี่น้อง เพือ่ น เพอ่ื นบ้าน คนในชมุ ชน เปน็ ต้น ญาติพนี่ ้อง บา้ นใกล้เคยี ง พส่ี าวจะมาหาท่บี ้านและมาเล่นกบั นักเรยี นทุกสัปดาห์ เม่ือคน ใกล้ชิดพดู คยุ หรือเล่นด้วย นักเรียนจะแสดงอาการท่าทาง ยิม หัวเราะ วิ่งเล่น กระโดด กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง

104 รวบรวมข้อมลู ผเู้ รยี น กรอบแนวคดิ ตามระบบนเิ วศวิทยา (Ecological Framework) ๒.๓ ด้านสง่ิ แวดลอ้ มและสภาพสังคมทมี่ ีผลตอ่ ครอบครัว (Exosystem) สถานการณป์ ัจจบุ ันทสี่ ่งผลกระทบกบั ผเู้ รียน เน่ืองจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปัจจุบันส่งผลให้นกั เรียนไม่ได้มารับบรกิ ารท่ีหนว่ ยบริการอาเภอแม่ทะอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ทาใหพ้ ฒั นาการ ดา้ นตา่ งๆ ของนกั เรียนถดถอย และการเดนิ ทางของมารดาค่อนขา้ งลาบาก สถานทที่ างานของพอ่ แม/่ ผปู้ กครอง มารดาประกอบอาชพี รับจา้ งเพียงคนเดยี ว ตายายจะเปน็ ผดู้ แู ลและผอู้ าศยั อยกู่ ับนักเรยี น เปน็ หลัก ไมไ่ ด้ทางานประจา ทาใหม้ ีเวลาดแู ลนักเรียนอยา่ งใกล้ชิด สภาพแวดล้อมทางกายภาพ หรือ การจัดส่ิงอานวยความสะดวกของชุมชนทผี่ เู้ รยี น อาศัยอยู่ ชมุ ชนทนี่ ักเรียนอาศยั อยู่เป็นชุมชนท่อี ยูร่ ่วมกันแบบเครือญาติ มีการใหค้ วามชว่ ยเหลือ และแบ่งปันกันระหว่างครอบครัว มีญาติพี่น้องทีอ่ าศยั อยู่บริเวณใกล้เคียงกัน มีร้านค้าอยู่บรเิ วณ ใกลเ้ คียงบา้ น สามารถเดนิ ทางซอื ของทั่วไปไดส้ ะดวก มีความปลอดภัยสาหรับนกั เรยี นและครอบครัว กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง

105 รวบรวมขอ้ มูลผ้เู รยี น กรอบแนวคิดตามระบบนเิ วศวิทยา (Ecological Framework) ๒.๔ ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี คา่ นิยมของสงั คม (Macrosystem) ครอบครวั ของนกั เรยี นนบั ถอื ศาสนาพุทธ เชือ่ ในการทาความดี สมาชกิ ในครอบครวั ดูแล นักเรียนด้วยความรกั และและเอาใจใส่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นักเรียนมโี อกาสน้อยในการเขา้ รว่ ม กจิ กรรมต่างๆ ของหมู่บา้ นหรอื ชุมชน เนอ่ื งจากขอ้ จากดั ด้านร่างกาย ๒.๕ ดา้ นส่ิงต่างๆทอี่ าจกระทบตอ่ ผเู้ รยี น เชน่ กฎหมาย การไดร้ ับสิทธิดา้ นตา่ งๆ เทคโนโลยี หรอื แอพพลิเคชนั่ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ผ้เู รยี นในชีวติ ประจาวนั (Chronosystem) นักเรยี นไดร้ บั เบยี พิการ เดือนละ ๑,๐๐๐ บาท จากเบียยงั ชีพคนพกิ าร และได้รบั บรกิ าร ทางการแพทย์ ตามโครงการ ๓๐ บาทรักษาทกุ โรค ตามสวัสดกิ ารของรัฐ จากโรงพยาบาลลาปาง นักเรียนไดร้ บั การให้บรกิ ารทางการศึกษาจากศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดลาปาง หนว่ ยบรกิ ารอาเภอแมท่ ะ โดยไม่เสียค่าใชจ้ า่ ย และมีโอกาสได้รับทนุ การศกึ ษาฯ มลู นธิ ิคณุ พ่มุ ปลี ่าสดุ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ เป็นเงนิ จานวน ๕,๐๐๐ บาท อกี ทังนกั เรยี นสามารถเข้าถึงสอ่ื เทคโนโลยีผ่านทาง โทรศัพท์ แทบ็ เลต และโทรทัศนโ์ ดยมผี ู้ปกครองกากับดแู ล กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง

106 รวบรวมข้อมลู ผูเ้ รยี น สรปุ เป้าหมายในการพฒั นา ๓. ความคาดหวงั ของผปู้ กครองทมี่ ตี อ่ ตวั ผู้เรยี น ๑) ผู้ปกครองมีความคาดหวงั ใหน้ กั เรยี นสามารถดแู ลและช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจาวนั ได้ และตอ้ งการให้นกั เรยี นสามารถสอ่ื สารความตอ้ งการ การบอกความร้สู กึ ของตนเองแกผ่ ู้ดูแลได้ ๒) ผ้ปู กครองมคี วามคาดหวงั ใหน้ ักเรียนสามารถเรียนรดู้ า้ นวิชาการหรือการดารงชีวติ ประจาวันของตนเอง ได้ ได้แก่ นกั เรียนสามารถบอกหรอื ชสี ิง่ ท่ตี อ้ งการในการสื่อสารเพิ่มมากขนึ กวา่ เดิม นกั เรียนสามารถดมื่ นา ด่มื นม และสามารถใชช้ ้อนตักรบั ประทานอาหารได้ดว้ ยตนเอง รวมทงั ใหน้ กั เรียนสามารถพูดคุยสื่อสารได้เหมาะสมตาม ศกั ยภาพ ๔. เปา้ หมายหลักท่ีผเู้ รียนควรไดร้ บั การพัฒนา/ส่งเสรมิ ๑) นกั เรยี นสามารถชหี รอื บอกสงิ่ ท่ีตอ้ งการไดด้ ้วยตนเอง และสามารถส่อื สาร โดยการพูดหรือทางทา่ ทางได้ ๒) นักเรียนสามารถดม่ื นา ดืม่ นม ไดด้ ้วยตนเอง ๓) นักเรยี นสามารถรบั ประทานอาหารโดยการใช้ชอ้ นตกั อาหารใสป่ าก ได้ดว้ ยตนเอง ๕. เป้าหมายหลักทผ่ี เู้ รียนควรได้รบั การป้องกนั /แกไ้ ขปัญหา ๑) นกั เรยี นควรได้รับส่ืออานวยความสะดวกที่เหมาะสมกับความพิการ ๒) การปรับสภาพพืนท่ีบริเวณในการฝึกนักเรียน ด้านการเคล่ือนไหวและการช่วยเหลือตนเองใน ชีวติ ประจาวัน เพือ่ ใหน้ ักเรียนสามารถเรยี นร้ไู ดอ้ ยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ . ผบู้ นั ทกึ ข้อมลู …………………………………………… (นางสาวศศกิ มล ก๋าหลา้ ) ตาแหน่ง ครผู ูช้ ่วย วันที่ ๓๑ เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดลาปาง

107 ประเมนิ คร้ังท่.ี ...๔....... แบบคัดกรองบคุ คลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคล่ือนไหว หรอื สุขภาพ ชือ่ -นามสกุล (ด.ช. / ด.ญ. / นาย / นางสาว) ณัฐรินทร์ สิทธิ วนั เดือน ปี เกิด ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๙ อายุ ๕ ปี ๕ เดือน ระดบั ชั้น การศกึ ษาปฐมวัย วนั เดือน ปี ที่ประเมนิ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๕ คาชีแ้ จง ๑ แบบคดั กรองฉบบั นีเ้ ป็นแบบคัดกรองเพื่อประโยชน์ในทางการจัดการศึกษาเท่าน้นั ๒ วิเคราะห์ลักษณะ/พฤติกรรม ของเด็กซึ่งเป็นลักษณะหรือพฤติกรรม ที่เด็กแสดงออกบ่อย ๆ โดยให้ ทาเครอื่ งหมาย /ลงในช่อง “ ใช่ ” หรอื “ไม่ใช่ ” ทีต่ รงกบั ลักษณะหรือพฤติกรรมนั้น ๆ ของเดก็ ๓ ผทู้ าการคัดกรองเบื้องต้นต้องผ่านการอบรมวธิ ีการใช้ และการประเมนิ ตามแบบคัดกรองน้ี และควรสอบถาม ข้อมูลเพ่ิมเติมจากผูท้ อ่ี ยใู่ กล้ชิดเดก็ มากทส่ี ดุ เชน่ ผูป้ กครองหรอื ครู เพอื่ ใหเ้ กิด ความชดั เจน ถูกตอ้ ง ๔ ผคู้ ดั กรองควรจะมอี ย่างน้อย ๒ คนข้ึนไป ที่ ลักษณะ / พฤติกรรม ผลการวเิ คราะห์ ใช่ ไมใ่ ช่ ด้านร่างกาย ๑ มีอวัยวะไมส่ มส่วน หรือแขน ขา ลบี   ๒ มอี วัยวะขาดหายไปและเป็นอุปสรรคในการดารงชวี ิต ๓ มีการผิดรปู ของกระดูกและข้อ  ๔ มลี ักษณะกล้ามเนื้อแขนขาเกรง็  ๕ มีลกั ษณะกลา้ มเนอื้ แขนขาอ่อนแรง  ด้านการเคลื่อนไหว ๖ มีการเคล่ือนไหวท่ผี ดิ ปกติ ทศิ ทางการเคลื่อนไหว และจังหวะ   การเคล่อื นไหว เช่น กระตุก เกรง็  ๗ ไม่สามารถนัง่ ทรงตัวไดด้ ว้ ยตนเอง  ๘ ไม่สามารถลุกขึ้นยนื ได้ดว้ ยตนเอง  ๙ ไมส่ ามารถยนื ทรงตัวไดด้ ว้ ยตนเอง ๑๐ ไม่สามารถเดินได้ดว้ ยตนเอง  ดา้ นสุขภาพ ๑๑ มคี วามเจบ็ ปว่ ยทต่ี ้องได้รบั การรกั ษาเปน็ ระยะเวลานาน และเป็น อุปสรรคต่อการศึกษา เชน่ ๑๑.๑ ประสบอบุ ตั เิ หตุ ผา่ ตดั เป็นตน้ ๑๑.๒ เปน็ โรคเร้ือรงั หรือมีภาวะผดิ ปกติของระบบตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปนี้ ระบบโลหติ เชน่ ภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก ธาลัสซีเมีย ไขกระดกู ฝ่อ ระบบหวั ใจและหลอดเลือด เชน่ หัวใจพิการแต่กาเนดิ โรคหัวใจรมู าตกิ

108 ที่ ลกั ษณะ / พฤติกรรม ผลการวิเคราะห์ ใช่ ไมใ่ ช่ ระบบไต เชน่ โรคเนโฟรตกิ โรคไตเร้ือรัง ระบบประสาท เช่น อัมพาต สมองพกิ าร ลมชัก ระบบหายใจ เช่น หอบหดื โรคปอด ระบบภมู ิคุ้มกนั และภูมิแพ้ เช่น ข้ออกั เสบ–รมู าตอยด์ , SLE (เอส แอล อ)ี ระบบต่อมไร้ท่อ เช่น โรคเบาหวาน แคระ หรือโตผิดปกติ ระบบผวิ หนัง เช่น เด็กดกั แด้ เป็นต้น เกณฑก์ ารพจิ ารณา ดา้ นรา่ งกายและดา้ นการเคลือ่ นไหว ถ้าตอบว่าใช่ตั้งแต่ ๑ ข้อ ข้ึนไป แสดงว่ามีแนวโน้มท่ีจะเป็นบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคลื่อนไหว ใหจ้ ัดบรกิ ารชว่ ยเหลอื ทางการศกึ ษาพิเศษ และสง่ ตอ่ ให้แพทย์ตรวจวนิ ิจฉยั ต่อไป ด้านสุขภาพ ถ้าตอบว่าใช่ข้อใดข้อหนึ่ง แสดงว่ามีแนวโน้มท่ีจะเป็นบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสุขภาพ ใหจ้ ัดบรกิ ารช่วยเหลอื ทางการศกึ ษาพเิ ศษ และส่งตอ่ ใหแ้ พทย์ตรวจวนิ จิ ฉยั ตอ่ ไป ผลการคดั กรอง  ไม่พบความบกพร่อง  พบความบกพรอ่ ง ความคิดเหน็ เพมิ่ เติม .......พ...บ..ว..า่ .ม...ีแน..ว..โ..น..้ม..ท..่จี..ะ..เ.ป...น็ ..บ..ุค..ค...ล..ท..่ีม..คี..ว..า..ม..บ..ก..พ...ร..่อ..ง.ท...า.ง..ร..า่ .ง..ก..า..ย..ฯ...เ.ห..น็...ค..ว..ร.ไ..ด..ร้ ..บั ..บ..ร..ิก..า..ร..ช..่ว.ย...เ.ห..ล..อื..ท..า..ง..ก..า..ร.ศ..กึ...ษ..า....... ............ .......แ..ล..ะ..ส..่ง..ต..่อ..ใ.ห...้แ..พ..ท..ย...์ต..ร.ว..จ..ว..นิ..จิ..ฉ..ยั..เ.พ...ือ่..ท..ำ..ก..า..ร..ร.กั..ษ...า..ต..อ่ ..ไ.ป...................................... ........................................................ ลงชอื่ .................................................. ใบวุฒิบัตร เลขท่ี ศกศ.ลป. ๐๐๓๕/๒๕๖๔ (ผู้คัดกรอง) ( นางสาวศศิกมล กา๋ หลา้ ) ใบวุฒบิ ตั ร เลขที่ สช.๑๑๓๓/๒๕๖๑ (ผคู้ ัดกรอง) ใบวฒุ ิบัตร เลขท่ี ศกศ.ลป. ๐๗/๒๕๕๗ (ผู้คดั กรอง) ลงชื่อ.................................................. ( นางสาวชาลิศา คายันต์ ) ลงช่ือ.................................................. ( นายธวชั ชยั อุตสาสาร )

109 ๑๐ คายนิ ยอมของผปู้ กครอง ข้าพเจา้ (นาย / นาง / นางสาว).............พชั รนิ ทร์ สทิ ธ.ิ ..........................................เปน็ ผปู้ กครองของ (ด.ช. / ด.ญ./ นาย / นางสาว) .................ณัฐรนิ ทร์ สทิ ธ.ิ ..................................................................................  ยินยอม  ไมย่ นิ ยอม ให้ดาเนินการคัดกรอง (ด.ช. / ด.ญ./ นาย / นางสาว) ........ณฐั รินทร์ สทิ ธิ......... ตามแบบคัดกรองนี้ เมอื่ พบว่ามีแนวโนม้ เปน็ ผู้ทมี่ ีความบกพร่องตามแบบคัดกรองข้างต้น  ยินดี  ไม่ยนิ ดี ใหจ้ ดั บรกิ ารชว่ ยเหลอื ทางการศึกษาพิเศษต่อไป ลงชอ่ื .................................................ผปู้ กครอง (........นางสาวพัชรนิ ทร์ สทิ ธิ........)

.. 110 . : . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

.. . 111 : . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

11 พฒั นาก ชือ่ –สกลุ นกั เรยี น เดก็ ชายณฐั รนิ ทร์ สทิ ธิ ประเภทความบกพร่อง ทาง

12 การตามวัย งร่างกายหรอื การเคลื่อนไหว วนั /เดอื น/ปี ทป่ี ระเมนิ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๕

113 แบบประเมินความสามารถพื้นฐาน ตามมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ของ หลกั สตู รสถานศึกษาการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เด็กทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดลาปาง ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕ ชือ่ -สกุล เด็กชายณฐั รนิ ทร์ สิทธิ อายุ ๕ ปี ๕ เดือน วันท่ปี ระเมนิ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๕ คาช้แี จง ๑. แบบประเมินความสามารถพื้นฐานตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ใช้เกณฑ์ตามพัฒนาการของเด็กทว่ั ไปตง้ั แรกเกิดถงึ ๖ ปี ๒. แบบประเมินฉบบั นี้สามารถใชไ้ ด้กับผ้รู ับการประเมนิ ทุกประเภทความพกิ าร โดยคานึงถึงอายุจรงิ ของผู้รบั การประเมิน ๓. กรณผี ู้รับการประเมนิ มขี ้อจากัดของสภาพความพิการจนไมส่ ามารถพัฒนาตามพัฒนาการทค่ี าดหวงั ได้ ให้ยกเวน้ การประเมินตามพฒั นาการทีค่ าดหวังนั้น ๔. ระดับความสามารถตั้งแตร่ ะดบั ที่ ๔ ขน้ึ ไปท่ถี ือวา่ ผ่าน ๕. การประเมนิ ความสามารถพ้นื ฐานน้ัน ให้เริม่ ประเมินพัฒนาการจากอายุจรงิ แล้วค่อยๆ ลดลงจนถงึ ขัน้ พัฒนาการท่ไี ด้ระดับ ๔ หรอื ๕ หากผรู้ บั การประเมินมีอายุจรงิ เกนิ กว่า ๖ ปีให้เรม่ิ ประเมินจากอายุ ๖ ปี

114 เกณฑ์การประเมินผลก่อนพัฒนา ระดบั ๔ หมายถึง ถูกตอ้ ง/ไมต่ ้องช่วยเหลือ ระดบั ๓ หมายถึง ดี/กระตุ้นเตอื นดว้ ยวาจา ระดับ ๒ หมายถึง ใชไ้ ด/้ กระตุ้นเตือนด้วยท่าทาง ระดบั ๑ หมายถึง ทาบา้ งเลก็ นอ้ ย/กระตนุ้ เตอื นทางกาย ระดับ ๐ หมายถงึ ตอบสนองผดิ หรอื ไม่มกี ารตอบสนอง หมายเหตุ กระต้นุ เตือนทางกาย หมายถึง ผสู้ อนจบั มือทา เมือ่ เด็กทาไดล้ ดการช่วยเหลอื ลงโดยให้ แตะข้อศอกของเดก็ และกระตนุ้ โดยพูดซา้ ให้เดก็ ทา กระตนุ้ เตือนดว้ ยทา่ ทาง หมายถึง ผสู้ อนชีใ้ ห้เด็กทา/ผงกศีรษะเม่ือเด็กทาถูกต้อง/ส่ายหน้า เมือ่ เด็กทาไม่ถูกตอ้ ง กระตนุ้ ด้วยวาจา หมายถึง ผสู้ อนพดู ให้เด็กทราบในส่ิงทผ่ี ู้สอนต้องการใหเ้ ด็กทา

115 ๑. พัฒนาการดา้ นร่างกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวัยและมสี ขุ นสิ ัยทด่ี ี ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา ตวั บ่งชี้ ๑.๑ นา้ หนกั สว่ นสูงและเสน้ รอบศรี ษะตามเกณฑ์ หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๔ ๓ ๒๑ ๐ อายุ ขอ้ ท่ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ / พัฒนาการที่คาดหวัง    แรกเกิด – ๓ ปี ๑ น้าหนักและส่วนสงู ตามเกณฑ์ */ **  แรกเกดิ – ๓ ปี ๒ เส้นรอบศรี ษะตามเกณฑ์ */ **  ๓ – ๖ ปี ๓ นา้ หนกั และสว่ นสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย */ **  ตัวบง่ ช้ี ๑.๒ มีสุขภาพอนามัยสขุ นสิ ยั ที่ดี ระดบั ความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา หน่วยฯ IIP/FCSP อายุ ขอ้ ท่ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ / พฒั นาการท่ีคาดหวงั ๔ ๓ ๒๑ ๐ แรกเกดิ – ๓ ปี ๑ มภี ูมติ ้านทานโรค ไม่ป่วยบอ่ ย ขับถา่ ยเป็นเวลา รับประทานอาหาร นอนและพกั ผ่อนเหมาะสมกับ  วยั */ **  แรกเกดิ – ๓ ปี ๒ กจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวสอดคล้องตามพัฒนาการ  */ **  ๓ – ๔ ปี ๓ ยอมรับประทานอาหารทมี่ ีประโยชนแ์ ละดม่ื น้าท่ี  สะอาดเมอ่ื มผี ูช้ แี นะ */ **   ๔ ล้างมือกอ่ น-หลงั รบั ประทานอาหารและหลังจาก  ขบั ถ่าย การใช้ห้องนา้ ห้องส้วมเมอื่ มีผชู้ แี นะ */ **  ๕ ดแู ลสขุ ภาพช่องปากและฟันโดยมผี ้ชู ีแนะ */ ** ๓ – ๖ ปี ๖ นอนพักผ่อนเปน็ เวลา */ **  ๗ ออกกา้ ลงั กายเปน็ เวลา * ๔ – ๕ ปี ๘ รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนแ์ ละดม่ื นา้ สะอาด ด้วยตนเอง */ ** ๙ ดูแลสขุ ภาพช่องปากและฟนั โดยการบ้วนปาก/ แปรงฟันไดด้ ้วยตนเอง */ ** ๔ – ๖ ปี ๑๐ ลา้ งมือกอ่ น-หลงั รบั ประทานอาหารและหลังจาก ขบั ถ่าย การใช้ห้องนา้ ห้องสว้ มได้ดว้ ยตนเอง */ **

116 อายุ ข้อท่ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ / พัฒนาการทค่ี าดหวัง ระดับความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๕ – ๖ ปี ๑๑ รับประทานอาหารที่มปี ระโยชนต์ ามหลัก โภชนาการอาหารหลัก ๕ หมู่ และด่มื น้าสะอาดได้ ๔ ๓ ๒๑ ๐ ด้วยตนเอง ** ๑๒ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ไดห้ ลายชนิด และ ดื่มน้าสะอาดได้ด้วยตนเอง * ๑๓ ดูแลสขุ ภาพชอ่ งปากและฟนั โดยการแปรงฟนั ได้ ดว้ ยตนเอง */ ** ตัวบ่งช้ี ๑.๓ รักษาความปลอดภัยของตนเองและผอู้ ่ืน อายุ ขอ้ ท่ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ / พัฒนาการทคี่ าดหวัง ระดับความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๓ – ๔ ปี ๑ เล่นและทากจิ กรรมอยา่ งปลอดภัยเมื่อมผี ู้ชแ้ี นะ */ ๔ - ๕ ปี ๔ ๓ ๒๑ ๐  ๕ - ๖ ปี **    ๒ เลน่ และทากจิ กรรมอย่างปลอดภัยดว้ ยตนเอง */ ** ๓ เลน่ ทากจิ กรรมและปฏิบัตติ ่อผอู้ ืน่ อยา่ งปลอดภยั  */ **  มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเน้ือใหญแ่ ละกลา้ มเนื้อเล็กแข็งแรง ใชไ้ ดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่วและ ประสาน สมั พนั ธ์กนั ตวั บง่ ช้ี ๒.๑ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคล่วประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้ อายุ ข้อที่ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ / พฒั นาการที่คาดหวงั ระดบั ความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๔ ๓ ๒๑ ๐ เคลื่อนไหวรา่ งกายในทา่ นอนคว่า  แรกเกดิ – ๒ ๑ นอนควา่ ยกศีรษะและหนั ไปข้างใดข้างหน่ึงได้  เดอื น */**/****/*****   แรกเกิด – ๓ ๒ สามารถเคล่ือนไหวแขนได้ ****/****** เดอื น ๓ สามารถเคล่ือนไหวขาได้ ****/****** ๔ สามารถควบคุมศีรษะและลูกตาตามเปา้ หมายได้

117 อายุ ข้อท่ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ / พัฒนาการทค่ี าดหวงั ระดับความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๕ สามารถควบคุมศีรษะให้อยู่ในแนวก่ึงกลางได้  ****** ๖ สามารถควบคุมศรี ษะ เมื่อยกลาตัวข้ึนจากทา่ นอน  หงายได้ ****** แรกเกิด – ๓ ๗ มอื กาแน่นเม่ือสมั ผสั ******  เดอื น ๘ มองดูมือของตนเองหรือวตั ถุทอี่ ย่ใู นมอื ******  ๙ ยกวัตถใุ นมือขนึ้ มาดูดหรือใสใ่ นปาก ****** ๑ – ๖ เดอื น ๑๐ สามารถชันคอได้ ****** ๑๑ ยกศีรษะข้นึ สงู ๙๐ องศา ในแนวก่งึ กลางลาตวั ต้งั ศีรษะตรงและควบคมุ ได้ *** ๑๒ พลกิ หน้าไปมาทั้งด้านซา้ ยและขวา *** ๑๓ สามารถพลิกตะแคงซ้าย-ขวาได้ ****** ๑๔ สามารถพลิกตะแคงตวั ควา่ และหงายได้ ****/****** ๑ – ๗ เดอื น ๑๕ ยกศีรษะไปดา้ นใดดา้ นหนึ่งขณะนอนคว่าได้ ****** ๑๖ ยกส่วนอกขน้ึ โดยใช้ขอ้ ศอกและแขนท่อนล่าง พยงุ ตวั *** ๑๗ พยงุ น้าหนกั ตวั ไดเ้ กือบทั้งหมดดว้ ยมอื ท้ังสองข้าง *** ๑๘ หมุนตัวไปได้ทุกทิศทาง *** ๒ เดือน ท่านอนควา่ ยกศีรษะตั้งข้ึนได้ ๔๕ องศา นาน ๓ วนิ าที ****/***** ๒ – ๔ เดอื น ๑๙ นอนควา่ ยกศีรษะและอกพ้นพน้ื */**/****/***** ๓ – ๖ เดือน ๒๐ แบฝา่ มอื โดยตั้งใจแลว้ เคลือ่ นเขา้ หาเส้นกึ่งกลาง ลาตัว*** ๒๑ เล่นกบั มือและน้ิวของตนเอง*** ๒๒ เออื้ มมือเขา้ ไปในทิศทางเดียวกับวัตถุทเ่ี หน็ *** ๔ – ๖ เดือน ๒๓ ยันหน้าอกพน้ พืน้ โดยใชแ้ ขนช่วย */ **/****/*****

118 อายุ ขอ้ ที่ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ / พฒั นาการทคี่ าดหวัง ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๕ – ๖ เดอื น ๒๔ ดงึ ตวั ข้ึนนง่ั จากทา่ นอนหงาย เดก็ สามารถชัน/ ยก ศรี ษะขน้ึ มาก่อนลาตัว **** ๔ ๓ ๒๑ ๐  ๖ – ๙ เดอื น ๒๕ หยิบจับวัตถุสิ่งของดว้ ยอุ้งมือ***  ๒๖ หยิบจบั วตั ถุส่งิ ของดว้ ยครง่ึ อุ้งมือคร่งึ นิ้วมือ***  ๒๗ ใชม้ อื ข้างหนง่ึ เอื้อมไปหาและจับวัตถุ***  ๒๘ สั่นเขย่าและทุบของเล่นทีม่ ีเสียงดัง***  ๒๙ สง่ วตั ถจุ ากมือหน่ึงไปยังอีกมือหน่ึง***   การทรงตวั ในท่าน่ัง ตง้ั คอแข็งแต่ยงั ควบคุมศีรษะใหต้ รงไม่ได้ ***  ๑ – ๖ เดือน ๓๐ สามารถควบคมุ ศีรษะให้ตัง้ ตรง (ในท่านัง่ โดยผู้อนื่  ๓ – ๑๒ เดือน ๓๑ ช่วยเหลือ) ได้ ******  น่ังไดโ้ ดยมีเคร่ืองชว่ ยพยงุ ตวั ไว้ ***  ๓๒ สามารถนัง่ โดยใชม้ ือทั้งสองข้างยนั พืน้ ได้ ******  ๓๓ นง่ั ได้ชว่ั ครู่หน่งึ โดยใชม้ ือขา้ งหน่งึ ยันตัวไว้ ***  สามารถนัง่ โดยใชม้ ือ ๑ ข้างยันพ้ืนได้ ******  ๓๔ นง่ั ตวั ตรงและไมต่ ้องใช้มือพยุงไดน้ าน ๒ - ๕ นาที  ๓๕ ***  สามารถนง่ั ได้อย่างอิสระ ******  ๓๖ น่งั ทรงตวั เองและใช้มือขา้ งทว่ี ่างทากิจกรรม ***  นั่งและหมนุ ไปรอบๆ ตวั ได้ *** ๔ – ๖ เดอื น ๓๗ นัง่ ได้ โดยตอ้ งมผี ู้ประคอง นัง่ โดยใชม้ ือยนั พน้ื ดว้ ย ตนเอง */** ๓๘ นงั่ หลังตรงและเอ้ยี วตวั ใช้มือเล่นได้อย่างอิสระ*/** ๓๙ สามารถเอ้ือมมือหยิบวตั ถทุ างด้านหนา้ ไดใ้ นท่านง่ั ๔๐ ****** สามารถเอ้อื มมือหยิบวัตถุทางด้านขา้ งได้ในท่าน่ัง ๖ – ๙ เดือน ๔๑ ****** ๔๒ สามารถเอื้อมมือหยิบวตั ถจุ ากทส่ี งู ไดใ้ นทา่ นง่ั ****** ๔๓ สามารถเอย้ี วตัวใช้มือเล่นอยา่ งอสิ ระในท่าน่งั ได้ ****** ๖ – ๙ เดือน ๔๔ ๔๕

119 อายุ ขอ้ ที่ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ / พัฒนาการที่คาดหวัง ระดับความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๔๖ สามารถกลง้ิ ลูกบอลขณะอยู่ในทา่ นัง่ ได้****** ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๔๗ นง่ั หลงั ตรงและเอีย้ วตัวใชม้ อื เลน่ ไดอ้ ย่างอสิ ระ*/ **/****/*****  ลุกขนึ้ นัง่ ได้จากท่านอน ****/***** สามารถน่งั เก้าอ้ีโดยมกี ารชว่ ยเหลือได้ ******  สามารถนง่ั เก้าอีไ้ ด้อยา่ งอิสระ ****** ๙ เดอื น ๔๘ สามารถนง่ั บนเก้าอี้แลว้ เอ้อื มมอื หยิบวัตถุทางด้าน  ๙ – ๑๒ เดอื น ๔๙ หน้าได้ ******  ๕๐ สามารถนัง่ บนเก้าอีแ้ ลว้ เอ้อื มมือหยิบวัตถุทางด้าน  ขา้ งได้ ****** ๕๑ สามารถนั่งบนเกา้ อแ้ี ลว้ เอื้อมมือหยบิ วตั ถจุ ากท่ีสงู  ได้ ****** ๕๒ สามารถนง่ั บนเก้าอี้แล้วเอื้อมมอื หยิบวัตถทุ าง  ระดบั ต่าได้ ****** ๕๓ สามารถนง่ั บนเกา้ อแี้ ล้วเออื้ มมอื หยิบวัตถทุ างด้าน  หลังได้ ****** ๕๔ สามารถเปลย่ี นท่านอนตะแคงเป็นน่ังได้ ******  เปลี่ยนจากทา่ คบื คลานเปน็ ท่านัง่ *** ๕๕ นัง่ ยองๆ เล่น โดยไมเ่ สยี การทรงตวั */ **  การเคลอื่ นไหวร่างกายในท่าคลาน ๑ – ๒ ปี ๕๖ สามารถคบื ได*้ *****  ๒ – ๓ ปี ๕๗ เอ้ือมไปหยิบวัตถุโดยทิ้งนา้ หนักตัวบนแขนข้าง  ๕๘ เดยี ว ***  คลานโดยใช้มือและเข่า */ **/***/****** ๖ – ๑๒ เดอื น ๕๙  ๖๐ เมื่อจบั ยืนเริ่มลงน้าหนกั ทเ่ี ท้าทั้งสองขา้ งได้ */ **  ยืนเกาะเครือ่ งเรอื นสูงระดับอก  ๖ – ๑๒ เดอื น ๖๑ ได*้ /**/***/****/*****/****** หย่อนตัวลงน่ังจากท่ายนื */ **  การทรงตัวในท่ายืน ยนื ทรงตัว (ต้งั ไข)่ ไดช้ ว่ งส้นั ๆ */ ** ๒ – ๔ เดอื น ๖๒ ยืนทรงตัว (ตง้ั ไข)่ ไดช้ ว่ งส้ันๆ */ **  ๖ – ๙ เดือน ๖๓  ๙ เดือน – ๑ ๖๔  ปี ๖๕  ๖๖

120 อายุ ข้อท่ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ / พฒั นาการที่คาดหวัง ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๑๐เดือน–๑ ปี ๖๗ ยนื อย่ตู ามลาพงั ไดน้ าน ๒ วินาที ***** ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๑ – ๑ ปี ๓ ๖๘ ยนื อยตู่ ามลาพังได้นานอย่างน้อย ๑๐ วนิ าที  เดือน ******  ๑ ปี – ๑ ปี ๖ ๖๙ ลกุ ขน้ึ ยืนดว้ ยตนเอง */ **/***/****** เดือน  ๗๐ ยนื ได้เองอย่างอสิ ระ */ **   ๗๑ ยนื แลว้ ก้มลงหยิบของท่ีพ้นื ได้ */ **/***   ๑ – ๒ ปี ๗๒ ยืนโดยต้องชว่ ยพยงุ ลาตัวไว้ ***   ๗๓ ยนื โดยพยุงรบั น้าหนกั ตวั เองได้บา้ ง***  ๗๔ จับยืนทาท่าจะกา้ วเทา้ ***  ๗๕ ยนื ดว้ ยทา่ ท่ขี ากางออกไป*** ๗๖ ยนื บนกระดานทรงตัวโดยใชม้ ือข้างหนง่ึ จบั ราวไว้   ***   ๒ – ๓ ปี ๗๗ ยืนบนกระดานทรงตัวด้วยเทา้ ทงั้ สองขา้ ง โดยไม่  ตอ้ งช่วย ***  ๗๘ สามารถยืนโดยอิสระดว้ ยขาสองข้างได้ ******  ๗๙ นง่ั ยองเพ่ือหยิบวตั ถุจากพนื้ และลุกขึ้นยืนตรง ***  ๒ – ๓ ปี ๘๐ สามารถลกุ ยนื ขน้ึ จากเกา้ อไ้ี ด้ ****** ๘๑ สามารถลกุ ขน้ึ ยืนจากพ้นื ได้ ****** ๘๒ ยืนด้วยทา่ ทขี่ ากางออกไป ****** ๘๓ ยืนขาเดียวได้ */ **/***/****/*****/****** ๓ – ๔ ปี ๘๔ ยนื ทรงตัวด้วยขาข้างเดียวนาน ๒-๓ วินาที ท้ัง ซ้ายและขวา*** ๘๕ ยนื ทรงตวั ดว้ ยขาข้างใดข้างหน่ึงนาน ๕ วนิ าที ****/*****/****** ๕ – ๖ ปี ๘๖ ยนื ดว้ ยเทา้ ท้ัง ๒ ขา้ งขณะหลบั ตา นาน ๒ – ๑๐ วินาที *** ๘๗ ยนื ทรงตวั ดว้ ยขาข้างใดข้างหนงึ่ นาน ๑๐ วินาที (ข้างซา้ ยหรือขา้ งขวาก็ได้) *** ๖ – ๗ ปี ๘๘ ยืนด้วยเท้าข้างเดยี วขณะหลบั ตา นาน ๒ – ๑๐ วินาที ***

121 อายุ ขอ้ ที่ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ / พฒั นาการทค่ี าดหวงั ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP สามารถเกาะเดนิ ไปดา้ นขา้ งได้ ****** การทรงตวั ในท่าเดิน เดินไปทางดา้ นขา้ งโดยยดึ จบั โตะ๊ หรือเก้าอี้ไว้ *** ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๙ – ๑๒ เดอื น ๘๙ สามารถเกาะเดนิ ไปด้านหน้าได้ ****** เดินถอื ลกู บอลไปได้ไกล ๓ เมตร ****/*****  ๙๐ คบื คลานขึน้ และลงบนั ได ***  ๙๑ เกาะปีนขึ้นและลงเก้าอี้ของผู้ใหญ่ ***  เดนิ ข้ึน-ลงบนั ไดโดยชว่ ยจบั มือขา้ งหน่ึงไว้ ***  ๑ ปี ๖ เดือน ๙๒ เดนิ บนกระดานทรงตัวโดยเท้าอีกข้างหนง่ึ เดินบน  ๑ – ๒ ปี ๙๓ พน้ื ***  ๙๔ สามารถเดนิ บนคานทรงตวั ได้ ******  ๙๕ เดินขึ้นบนั ได โดยมือขา้ งหนึ่งจบั ราวบนั ไดอีกมือ  ๙๖ จับมอื ผ้ใู หญ่กา้ วเทา้ โดยมีการพักเท้าในข้นั เดียวกัน */ **  ๑ ปี ๖ เดือน ๙๗ เดินดว้ ยทา่ ทขี่ ากางออกไป *** – ๙๘ เดนิ ในท่างอเขา่ และไหลง่ ุ้มเล็กน้อย ***  ๒ ปี เดินโดยแขนกางออกไปแนบกับลาตัวเพือ่ ชว่ ยทรง ๙๙ ตัว ***  ๑ – ๒ ปี ๖ ๑๐๐ เดนิ ไดเ้ องโดยปล่อยแขนเป็นอิสระและแกว่งแขน  ๑๐๑  เดือน ตามสบาย */ **/***  ๑๐๒ สามารถเดนิ บนเส้นตรงได้ ****** สามารถเดนิ ต่อส้นเท้าตามระยะทางที่กาหนดได้  ๑๐๓ ****** ๑๐๔ เดนิ บนกระดานทรงตวั โดยใช้มอื ทง้ั สองข้างจับราว  ไว้*** ๒ – ๓ ปี ๑๐๕ เดินถอยหลงั ได้ */ **  เดนิ ถอยหลงั ได้สามก้าวถงึ ไกล ๒ เมตร ***  ๑๐๖ เดนิ เขย่งปลายเทา้ ไปข้างหน้าไดส้ ามก้าว ***  ๑๐๗ เดินขึ้นลงบนั ได โดยมือข้างหน่ึงจบั ราวและกา้ วเท้า  ๑๐๘ โดยมีการพักเทา้ ใน ขั้นเดยี วกัน */ **  ๑๐๙ เดนิ ขึน-ลงบนั ไดตามล้าพังโดย ใช้มือจับราวบันได  ๑๑๐

122 อายุ ขอ้ ท่ี สภาพที่พึงประสงค์ / พัฒนาการท่คี าดหวงั ระดับความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา ๒ – ๓ ปี ๓ – ๔ ปี ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๔ – ๕ ปี *** ๑๑๑ เดินข้นึ ลงบันได โดยมือขา้ งหนึ่งจับราวและกา้ วเท้า  โดยมีการพักเท้าใน ขัน้ เดียวกัน */ **/****** ๑๑๒ สามารถเดนิ ขึ้น-ลงบนั ไดโดยจบั ราวบนั ได  แบบสลบั เท้าได้ ****** ๑๑๓ เดนิ ขึน-ลงบันไดสลบั เท้าโดยช่วยจบั มือขา้ งหนึง่ ไว้  *** ๑๑๔ เดินบนกระดานทรงตัวโดยใช้มือท้งั สองข้างจับราว  ไว้ ****** ๑๑๕ สามารถเดนิ ข้ามส่ิงกีดขวางได้ ******  ๑๑๖ เดินขึน้ -ลงบนั ไดสลับเท้าโดยใชม้ อื จับราวบนั ได  *** ๑๑๗ ปีนเคร่ืองเลน่ สนามในระดบั สูงเล็กนอ้ ยได้ ******  ๑๑๘ เดนิ ไปข้างหน้าโดยต่อส้นเทา้ บนปลายนว้ิ ได้  สามก้าว *** ๑๑๙ เดนิ ไดก้ ้าวหน่ึงบนกระดานทรงตวั โดยไมต่ ้องช่วย*  ๑๒๐ เดนิ บนกระดานทรงตวั ไปขา้ งหน้าโดยใชแ้ ขนกาง  ออก* ๑๒๑ เดินเขยง่ บนปลายเท้าไปข้างหน้าไดไ้ กล ๒ เมตร  *** ๑๒๒ เดินบนเสน้ ตรงไปข้างหน้าไกล ๓ เมตร ***  ๑๒๓ เดินตามทิศทางทกี่ าหนดได้ */ **  ๑๒๔ เดินขนึ -ลงบันไดตามล้าพังโดยไม่ใชม้ ือจบั ราว  บันได *** ๑๒๕ เดนิ บนกระดานทรงตวั โดยแขนแนบลา้ ตัว*  ๑๒๖ เดนิ ตอ่ เทา้ ไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงได้โดยไม่ตอ้ งกาง  แขน */ **/****/***** ๑๒๗ เดินไปขา้ งหนา้ ต่อสน้ เทา้ บนปลายน้ิวไกล ๒ เมตร *** ๑๒๘ เดินดว้ ยมอื ในทา่ ไถนาได้ไกล ๓ เมตร ***

123 อายุ ขอ้ ที่ สภาพที่พึงประสงค์ / พัฒนาการทีค่ าดหวงั ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๕ – ๖ ปี ๑๒๙ เดินขนึ -ลงบนั ไดโดยจับมือขา้ งหนึ่งถอื ของไว้ ๔ ๓ ๒๑ ๐ และมืออีกข้างหนึ่งจบั ราวบันได ***  ๑๓๐ สามารถเดนิ ข้ึน-ลงบันไดโดย ไม่จบั ราวบนั ได  แบบพกั เทา้ ได้ ******   ๕ – ๖ ปี ๑๓๑ สามารถเดินขึ้น-ลงบันไดโดย ไม่จบั ราวบันได  แบบสลับเท้าได้ ******   ๑๓๒ เดนิ ถอยหลังบนกระดานทรงตวั ***  ๑๓๓ เดินต่อเทา้ ถอยหลงั เป็นเสน้ ตรงได้โดยไม่ตอ้ งกาง แขน */ **/**** ๑๓๔ เดนิ ก้าวเท้าไขว้สลับขา้ งข้ามเส้นตรง (ขนาดกวา้ ง ๒.๕ เซนติเมตร) ไดไ้ กล ๒ เมตร *** ๑๓๕ เดินถอยหลังต่อปลายน้ิวกับส้นเทา้ ไกล ๑ เมตร *** ๖ – ๗ ปี ๑๓๖ เดนิ ตรงไปข้างหนา้ โดยจบั ตาจอ้ งทีเ่ ปา้ หมายระดับ สายตา *** ๑๓๗ เดินบนกระดานทรงตัวโดยตามองตรงไปข้างหน้า ****** ๑๓๘ เดนิ ขึน-ลงบันไดโดยมือทงั สองข้างถือของไว้*** การทรงตวั ในท่ากระโดด ๑ – ๒ ปี ๑๓๙ กระโดดพร้อมกนั ท้งั สองขาได้ติดต่อกัน ๑ - ๒ คร้ัง *** ๒ ปี ๑ เดอื น ๑๔๐ กระโดดเทา้ พ้นพน้ื ท้ัง ๒ ขา้ ง ****/***** - ๒ ปี ๕ เดอื น ๒ ปี ๖ เดอื น ๑๔๑ กระโดดข้ามเชอื กบนพนื ไปข้างหน้าได้ ****/***** ๒ – ๓ ปี ๑๔๒ พยายามกระโดดด้วยขาข้างท่ีถนดั ขา้ งเดยี ว *** ๑๔๓ พยายามกระโดดด้วยขาขา้ งใดข้างหนง่ึ (ท้ังซ้าย และขวา) *** ๑๔๔ กระโดดอยู่กับที่ โดยเทา้ ท้งั สองขา้ งลอยพน้ พน้ื */ ** ๑๔๕ กระโดดไดค้ รงั้ หนง่ึ สูงจากพืน้ ๕-๘ เซนติเมตร *** ๑๔๖ สามารถกระโดดโดยชว่ ยพยุงได้ ******

124 อายุ ข้อท่ี สภาพท่พี ึงประสงค์ / พฒั นาการท่คี าดหวัง ระดับความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๒ – ๓ ปี ๑๔๗ สามารถกระโดดเองโดยเทา้ ท้ังสองลอยจากพื้นได้  ****** ๑๔๘ สามารถกระโดดสองขาอยู่กับทไ่ี ด้อยา่ งต่อเน่อื ง  ****** ๑๔๙ กระโดดได้คร้ังหนงึ่ เป็นระยะไกล ๕ – ๒๐  เซนตเิ มตร ****** ๓ – ๔ ปี ๑๕๐ กระโดดสองขาข้นึ ลงอยู่กบั ที่ได้ *****  ๑๕๑ สามารถกระโดดไปข้างหน้า โดยช่วยพยงุ ได้ ******  ๑๕๒ กระโดดได้คร้งั หนง่ึ ระยะไกล ๒๑-๓๐ เซนติเมตร  ****** ๑๕๓ กระโดดพร้อมกนั ทงั้ สองขาได้ตดิ ต่อกนั ๓-๖ คร้งั  *** ๑๕๔ กระโดดครง้ั หน่ึงสูงจากพื้นประมาณ ๑๐  เซนติเมตร *** ๑๕๕ กระโดดสองขาข้นึ ลงบนพน้ื ต่างระดับได้ */ **  ๑๕๖ กระโดดด้วยขาขา้ งท่ีถนดั ข้างเดียวตดิ ตอ่ กัน ๑-๒  คร้งั *** ๑๕๗ กระโดดขา้ มสงิ่ กีดขวางได้ */ **  ๓ ปี ๘ เดอื น - ๑๕๘ กระโดดขาเดยี วได้ อย่างนอ้ ย ๒ คร้ัง ****/*****  ๔ ปี ๔ ปี ๑ เดือน - ๑๕๙ กระโดดสองเท้าพร้อมกันไปด้านข้างและถอยหลงั  ๔ ปี ๖ เดอื น) ได้ ****/***** ๔ – ๕ ปี ๑๖๐ กระโดดขาเดียวอยูก่ ับท่ไี ดโ้ ดยไม่เสยี การทรงตัว */ ** ๑๖๑ กระโดดเชือกได้ทีละครังไม่ติดต่อกนั *** ๑๖๒ กระโดดครังหนึ่งสงู จากพืน ๑๒ เซนตเิ มตร *** ๔ – ๕ ปี ๑๖๓ กระโดดพร้อมกนั ทังสองขาได้ตดิ ตอ่ กนั ๘-๑๐ ครงั *** ๑๖๔ สามารถกระโดดไปด้านหนา้ เองได้ ****** ๑๖๕ สามารถกระโดดไปด้านข้างได้ ****** ๑๖๖ สามารถกระโดดถอยหลังได้ ******

125 อายุ ข้อท่ี สภาพท่พี ึงประสงค์ / พฒั นาการทีค่ าดหวัง ระดบั ความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา หน่วยฯ IIP/FCSP ๕ ปี - ๕ ปี ๑๖๗ กระโดดสองขาเปน็ ระยะทาง ๒ เมตร โดยไม่หกล้ม ๖ เดือน ****** ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๕ – ๖ ปี ๑๖๘ กระโดดครงั หนึ่งได้ไกลประมาณ ๔๐ เซนติเมตร ๕ – ๖ ปี ****** ๖ – ๗ ปี ๖ – ๗ ปี ๑๖๙ สามารถกระโดดจากทสี่ ูงลงพื้นทต่ี า่ กวา่ ได้ ****** ๑๗๐ สามารถกระโดดจากที่ต่าข้ึนสู่ทสี่ ูงได้ ****** ๑๗๑ สามารถกระโดดขา้ มส่งิ กดี ขวางได้ ****** ๑๗๒ สามารถกระโดดขาเดยี วอยู่กับทไี่ ด้ ****** ๑๗๓ กระโดดขาเดียวอยู่กบั ทโี่ ดยไม่เสียการทรงตวั * ๑๗๔ กระโดดดว้ ยขาทีถ่ นดั ข้างเดยี วเป็นระยะทาง ๑ เมตร *** ๑๗๕ สามารถกระโดดขาเดยี วไปในทิศทางตา่ งๆ ได้ ตดิ ต่อกนั ****** ๑๗๖ กระโดดขาเดียวไปข้างหน้า ๔ ครั้ง ทีละข้าง ***** ๑๗๗ กระโดดขาเดียวไปขา้ งหน้าได้อยา่ งต่อเนือ่ งโดยไม่ เสยี การทรงตวั */ ** ๑๗๘ กระโดดด้วยขาท่ีถนัดขา้ งเดยี วเป็นระยะทาง ๒ เมตร *** ๑๗๙ กระโดดเชอื กได้ติดตอ่ กนั ๒-๔ ครงั *** ๑๘๐ กระโดดครงั หนึ่งสงู จากพืน ๑๕ เซนติเมตร *** ๑๘๑ กระโดดครงั หนึ่งได้ไกลประมาณ ๕๐ เซนติเมตร ****** ๑๘๒ กระโดดครังหน่ึงได้ระยะไกล ๖๐ – ๘๐ เซนติเมตร ****** ๑๘๓ กระโดดเชือกได้ติดต่อกัน ๕ – ๘ ครงั *** ๑๘๔ กระโดดครงั หนึ่งไดส้ ูงจากพืน ๑๗ – ๒๐ เซนตเิ มตร *** ๑๘๕ กระโดดด้วยขาขา้ งใดข้างหนง่ึ ได้ไกล ๒ เมตร ***

126 อายุ ข้อที่ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ / พฒั นาการทีค่ าดหวัง ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๔ ๓ ๒๑ ๐ การทรงตวั ในทา่ ว่ิง ๑ – ๑ ปี ๖ ๑๘๖ เรม่ิ วง่ิ หรือเดินเรว็ ๆ ได้ */ **/*****  เดอื น   ๑ ปี ๔ เดอื น - ๑๘๗ วง่ิ หรอื เดินเรว็ ๆ โดยสายตาอาจจอ้ งมองอยทู่ ี่พ้นื   ๑ ปี ๕ เดอื น ****   ๑ – ๒ ปี ๑๘๘ วิ่งไดแ้ ต่การทรงตัวยงั ไมด่ ี อาจหกลม้ บ้าง ***   ๑๘๙ ว่ิงดว้ ยความเร็วคงท่ีโดยไมห่ กลม้ ******  ๑ ปี ๖ เดือน ๑๙๐ วิ่งและหยดุ ได้ทันที และเริ่มวิ่งใหม่ */ **   – ๒ ปี  ๒ – ๓ ปี ๑๙๑ สามารถวง่ิ อยู่กบั ที่ได้ ******  ๑๙๒ สามารถว่ิงไปข้างหนา้ ได้ ****** ๑๙๓ วง่ิ ได้นุ่มนวลโดยความเร็วบา้ งช้าบา้ งสลับกนั ไป *** ๓ – ๔ ปี ๑๙๔ วง่ิ แล้วหยดุ ไดต้ ามที่กาหนด */ ** ๑๙๕ วง่ิ ผา่ นสิง่ กดี ขวางและหลบมุมได้โดยไม่ชน ๑ รอบ *** ๔ – ๕ ปี ๑๙๖ วง่ิ ได้ไกล ๔๕ เมตรใชเ้ วลาอย่างน้อย ๓๐ วินาที *** ๔ – ๕ ปี ๑๙๗ วง่ิ หลบหลีกสงิ่ กดี ขวางได้ */ **/****** ๕ – ๖ ปี ๑๙๘ วิ่งได้ไกล ๔๕ เมตรใชเ้ วลาอยา่ งนอ้ ย ๒๕ วินาที *** ๑๙๙ ว่งิ หลบหลกี สิง่ กีดขวางได้อย่างคล่องแคล่ว */ ** ๕ ปี ๘ เดอื น - ๒๐๐ สามารถวง่ิ อย่างมเี ป้าหมายได้ ******  ๖ ปี  ๖ – ๗ ปี ๒๐๑ วิ่งผ่านเครือ่ งกีดขวางสามชนิดในระยะทาง ๔๕ เมตร ใชเ้ วลาอยา่ งน้อย ๒๕ วนิ าที *** รับ - โยน ลูกบอล ๑ – ๒ ปี ๒๐๒ กล้ิงลกู บอลขนาดใหญ่ออกไปขณะอย่ใู นทา่ น่งั *** ๒ ปี ๖ เดือน ๒๐๓ ขวา้ งลูกบอลขนาดเล็กได้ โดยยกมอื ขึน้ เหนือศรี ษะ ****/*****

127 อายุ ข้อที่ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ / พฒั นาการทคี่ าดหวัง ระดับความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา หน่วยฯ IIP/FCSP ๒ – ๓ ปี ๒๐๔ โยนลูกบอลลงพ้ืนและมองตามลกู บอลไป *** ๓ ปี ๖ เดอื น ๒๐๕ โยนลูกบอลขนาดใหญ่ไปไกล ๒ เมตร *** ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๒๐๖ ท่มุ ลกู บอลให้กระเดง้ และรบั ไวด้ ้วยมือท้งั สองขา้ ง ๓ – ๔ ปี  ***  ๓ – ๔ ปี ๒๐๗ ใช้แขนรบั ลกู บอลได้ ****/***** ๔ – ๕ ปี  ๒๐๘ รบั ลูกบอลโดยใชม้ ือและลาตัวช่วย */ **/****** ๕ – ๖ ปี  ๒๐๙ รบั ลกู บอลขนาดใหญ่ที่กระเด้งมาดว้ ยแขนและ  ลาตัวช่วย ***  ๒๑๐ รับลูกบอลขนาดใหญ่ที่กระเด้งมาดว้ ยมอื และส่วน อก ***  ๒๑๑ สามารถโยนลกู บอลได้ ******  ๒๑๒ ทุม่ ลกู บอลขนาดใหญท่ ีก่ ระเด้งและรับไว้ได้  ติดต่อกัน ๒ คร้งั *** ๒๑๓ โยนลูกบอลขนาดใหญ่ไปไกล ๓ เมตร ***  ๒๑๔ โยนลกู บอลขนาดเล็กไปไกล ๒ เมตร ***  ๒๑๕ รับลกู บอลโดยใชม้ ือทั้งสองข้าง */ **  ๒๑๖ รบั ลกู บอลขนาดใหญ่ทโ่ี ยนส่งมาดว้ ยแขนและ  ล้าตวั *** ๒๑๗ รับลกู บอลขนาดใหญ่ทโ่ี ยนส่งมาดว้ ยมือทังสองข้าง  ***  ๒๑๘ โยนลกู บอลขนาดใหญ่ไปไกล ๔ เมตร ***  ๒๑๙ โยนลูกบอลขนาดเลก็ ไปไกล ๓-๔ เมตร *** ๒๒๐ ปาถุงถ่ัวในตะกร้าผ้าได้ ๑ จาก ๕ ถุงในระยะห่าง  ประมาณ ๒ เมตร *** ๒๒๑ รบั ลกู บอลท่ีกระดอนขึ้นจากพ้ืนได้ */ **/*** ๒๒๒ ทุ่มลกู บอลขนาดใหญใ่ หก้ ระเดง้ ไปไกล ๒ เมตร ดว้ ยมือข้างเดียว *** ๒๒๓ โยนลกู บอลขนาดใหญ่ไปไกล ๕ เมตร ****** ๒๒๔ โยนลูกบอลขนาดเลก็ ไปไกล ๕ เมตร *** ๒๒๕ ปาถงุ ถั่วลงในตะกรา้ ทงิ ผงไดอ้ ย่างนอ้ ย ๓ จาก ๕ ในระยะหา่ งประมาณ ๒ เมตร ******

128 อายุ ขอ้ ที่ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ / พฒั นาการท่ีคาดหวงั ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๔ ๓ ๒๑ ๐ การถบี  ๑ ปี ๘ เดือน - ๒๒๖ เหว่ียงขาเตะลกู บอลได้ ****/*****  ๒ ปี  ๑ – ๓ ปี ๒๒๗ เดินลากของเลน่ หรือสิ่งของได้ ***/****/*****  ๒๒๘ ลากของเล่นทม่ี ลี ้อบรรทกุ ของเลน่ หรอื ใหผ้ ู้อนื่ น่ัง  ด้วย ***   ๒๒๙ ลากของเลน่ ท่ีมลี ้อไปมา *** ๓ – ๔ ปี ๒๓๐ ถบี รถจักรยานสามล้อไดเ้ อง ***  ๒๓๑ ถบี รถจกั รยานสามล้อเล้ียวผ่านหัวมุมถนน ***   ๔ – ๕ ปี ๒๓๒ ขีร่ ถจกั รยานสองล้อคนั เล็กที่มลี ้อช่วยฝกึ ***   ๕ – ๖ ปี ๒๓๓ ขแี่ ละบังคบั รถจักรยานสองล้อโดยใช้เท้าขา้ ง เดียว***   ๖ – ๗ ปี ๒๓๔ ขี่รถจักรยานสองลอ้ คนั เลก็ ที่ไมม่ ลี ้อช่วยฝกึ *** เคล่ือนไหวรา่ งกายตามจังหวะ ๑ – ๓ ปี ๒๓๕ ใชร้ า่ งกายทงั้ หมดเคล่ือนไหวตอบสนองเสียงดนตรี *** ๓ – ๔ ปี ๒๓๖ แสดงท่าทางเขา้ จงั หวะดนตรโี ดยใชร้ า่ งกาย ๑ ส่วน (เช่น ตบมือ) *** ๔ – ๕ ปี ๒๓๗ เคล่อื นไหวรา่ งกายส่วนตา่ งๆตามเสียงดนตรี *** ๒๓๘ เดนิ เขา้ จงั หวะเคาะง่ายๆ *** ๕ – ๖ ปี ๒๓๙ พยายามเคล่ือนไหวเข้าจังหวะเคาะของเครื่อง ดนตรี *** ๒๔๐ ระวงั การเคาะเคร่ืองประกอบดนตรีให้เข้าจังหวะ กบั เพลงง่ายๆ *** ๖ – ๗ ปี ๒๔๑ กระโดดและวิง่ เข้าจงั หวะเพลงง่ายๆ ***

129 ตัวบ่งช้ี ๒.๒ ใชม้ ือ-ตาประสานสมั พนั ธ์กัน อายุ ขอ้ ที่ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ / พฒั นาการทคี่ าดหวัง ระดับความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP การมอง ๑ มองสบตาขณะตน่ื ***** แรกเกดิ – ๑ ๒ มองตามถงึ ก่งึ กลางลาตวั ****/***** ๔ ๓ ๒๑ ๐  ๓ มองจ้องหน้าได้นาน ๑ – ๒ วนิ าที ****/*****  เดือน ๔ จอ้ งมองไดม้ องเห็นในระยะห่าง ๘ - ๑๒ นว้ิ */ **   แรกเกิด - ๒ ๕ สามารถจ้องมองวตั ถุท่ีอยู่ทางดา้ นซา้ ยและด้านขวา  เดือน ของผูเ้ รยี นได้ ******  ๖ กรอกลูกตาไปทางซ้ายและขวา *** แรกเกดิ – ๖ ๗ กรอกลูกตาข้ึนและลง ***  เดือน ๘ สามารถจ้องมองสงิ่ ของท่ีอยตู่ รงหนา้ ได้ตามเวลา  กาหนด ******  แรกเกิด – ๖ สามารถสบตากับผู้อื่นท่ีอย่ตู รงหนา้ ตามเวลาท่ี  เดือน กาหนดได้ มองตามสิง่ ของจากดา้ นหนึ่งไปอกี ด้านหนึ่ง ****  ๙ มองตามวตั ถทุ เ่ี คลอื่ นไหว */ **  มองตามสง่ิ ของทเ่ี คลือ่ นท่ไี ด้เป็นมมุ ๑๘๐ องศา  ๑ – ๒ เดือน ๑๐ ****/*****  ๒ - ๔ เดือน ๑๑ สามารถจอ้ งมองวตั ถทุ ี่อยดู่ ้านบน และด้านลา่ งได้ ๓ – ๔ เดอื น ๑๒ ******  สายตาจบั จ้องและมองตามคนท่กี าลังเคล่ือนไหว ๓ – ๖ เดอื น ๑๓ ***  สามารถมองตามวัตถุหรอื สิง่ ของทเ่ี คลื่อนท่ีได้ ***  ๑๔ สามารถมองหาเมื่อสง่ิ ของหายไปจากสายตาได้  ******  ๖ – ๘ เดือน ๑๕ สายตามองตามการเคลอื่ นทีข่ องวัตถุในมอื ******  ๑๖ กรอกตาตามการเคลื่อนไหวที่เปน็ เส้นโค้ง ๑๘๐ องศา ***  ๑๗ มองตามของตก */ ** ๑๘ ๑๙

130 อายุ ขอ้ ที่ สภาพท่พี ึงประสงค์ / พฒั นาการทค่ี าดหวัง ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ หน่วยฯ IIP/FCSP การใช้มอื ๓ – ๔ เดอื น ๒๐ กาหรือจบั สง่ิ ของท่ใี ส่ให้ในมือ */ **  ๓ – ๖ เดือน ๒๑ แบฝา่ มอื โดยต้งั ใจแลว้ เคล่ือนเขา้ หาเส้นก่งึ กลาง  ลาตวั ****** ๒๒ สามารถเอื้อมมือออกไปในทิศทางต่าง ๆ ได้ ******  ๒๓ สามารถเอ้ือมมอื ออกไปจบั วตั ถไุ ด้ ******  ๓ – ๖ เดอื น ๒๔ สามารถสลบั วตั ถุที่อยใู่ นมือจากขา้ งหนึ่งไปยังอีก  ขา้ งหน่ึงได้ ****** ๒๕ เลน่ กบั มอื และนิว้ ของตนเอง ******  ๒๖ เออ้ื มมือเขา้ ไปในทิศทางเดยี วกับวัตถทุ ่ีเห็น******  ๔ - ๖ เดอื น ๒๗ เออ้ื มคว้าใกล้ๆ ตวั ได้ */ **  ๒๘ เปลี่ยนมอื ถือของได้ทีละมอื */ **  ๕ – ๖ เดือน ๒๙ เอ้อื มมือหยิบ และถือวตั ถุไว้ขณะอยู่ในทา่ นอนหงาย  ***** ๓๐ เออ้ื มมือหยิบและถือวัตถุไว้ ขณะอยู่ในทา่ นอนหงาย  หรอื น่ังตัก **** ๖ - ๙ เดอื น ๓๑ จบั ของมากระทบกนั ด้วยมือ ๒ ขา้ ง */ **  ๓๒ หยิบจับวตั ถสุ ่งิ ของด้วยอุ้งมือ******  ๓๓ หยิบจบั วัตถุส่ิงของดว้ ยครึ่งอุ้งมือครึ่งนวิ้ มือ******  ๓๔ ใชม้ ือขา้ งหน่ึงเอื้อมไปหาและจับวัตถุ******  ๓๕ สั่นเขย่าและทุบของเล่นท่มี เี สียงดงั ******  ๓๖ สง่ วตั ถุจากมือหนงึ่ ไปยังอีกมือหนง่ึ ******  ๓๗ เร่ิมใช้นวิ้ หัวแมม่ อื นว้ิ ชี้และนิว้ กลางหยบิ ของช้ิน  เล็กๆ */ ** ๖ เดือน– ๑ ๓๘ สามารถกาหรือจับวตั ถุได้ ******  ปี ๖ เดอื น ๓๙ ใชม้ ือบีบของเล่นท่ีมเี สยี งหรือนุ่มนิ่ม ***  ๔๐ ใชอ้ ุง้ มือหยิบจับส่ิงของ ***  ๖ เดือน– ๑ ๔๑ สามารถกาและตอก หรือทุบวัตถไุ ด้ ****** ปี ๖ เดอื น ๔๒ สามารถกาและบดิ วตั ถุได้ ****** ๖ เดือน – ๒ ๔๓ สามารถหยบิ วัตถโุ ดยใช้นิ้วหัวแมม่ ือรว่ มกับนวิ้ อ่นื ๆ ปี ******

131 อายุ ขอ้ ท่ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ / พฒั นาการทค่ี าดหวัง ระดับความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หน่วยฯ IIP/FCSP สามารถหมุนเปดิ -ปิดวัตถไุ ด้ ****** สามารถจบั และหมุนวัตถุที่มขี นาดต่างๆ ได้ ****** ๔ ๓ ๒๑ ๐ สามารถแกะหรือฉกี วัตถุโดยใชน้ ้ิวมอื ได้ ****** ๖ เดือน – ๒ ๔๔ สามารถนาวัตถุไปปลอ่ ยหรือวางในภาชนะทีก่ าหนด ปี ๔๕ ได้ ****** ๔๖ ใช้นิ้วชี้สารวจหรือค้นหาวตั ถตุ า่ งๆ *** ๔๗ หยิบวตั ถทุ ่มี ขี นาดเล็ก (เชน่ ลูกเกด) ดว้ ยสองนิ้ว มอื *** ๔๘ แกะหรือเปดิ ห่อขนาดเล็กทม่ี ัดไวห้ ลวมๆ *** ๔๙ สามารถใสว่ ัตถลุ งในภาชนะหรอื อปุ กรณต์ ่างๆ ได*้ ***** ๖ เดือน – ๕ ๕๐ หยิบวัตถตุ า่ งๆ ใส่ภาชนะ*** ปี ๕๑ ตอกหมุดไม้ลงในชอ่ งแบบ ๕ – ๖ ตวั *** เตมิ ทรายลงในภาชนะและเทท้ิง*** ๙ เดือน ๕๒ ใช้นิว้ หยิบอาหารกนิ ได้ ****/***** ๕๓ ใช้นิ้วหัวแมม่ อื และนวิ้ อื่น ๆ หยบิ ของขึน้ จากพื้น ๕๔ ****/***** ๕๕ หยบิ ก้อนไม้จากพืน้ และถือไว้มอื ละชนิ้ ****/***** ๕๖ หยิบของใส่และเอาออกจากภาชนะได้ */ ** ถอื กัด และเคย้ี วอาหารได้ดว้ ยตนเอง */ ** ๙ เดือน - ๑ ๕๗ จบี นิว้ มอื เพ่ือหยบิ ของช้ินเล็ก ****/***** ๕๘ ปี ๕๙ หยบิ และวางก้อนไม้*** ๖๐ หยบิ กอ้ นไมใ้ สถ่ ้วยได้ **** ๑๐ เดอื น – ๑๒ ปี ๖๑ ขดี เขียนได้เอง ***** ๑ ปี ๖๒ ขดี เขียน (เป็นเสน้ ) บนกระดาษได้ ****/***** ๑ ปี ๑ เดือน ๖๓ เปิดหนังสือที่ละ ๓-๔ หนา้ */ ** - ๖๔ ๑ ปี ๓ เดือน ๖๕ ๑ ปี ๔ เดอื น - ๑ ปี ๕ เดือน ๑ ปี – ๑ ปี ๖ เดอื น

132 อายุ ขอ้ ท่ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ / พัฒนาการท่คี าดหวัง ระดับความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ หน่วยฯ IIP/FCSP ๑ ปี ๖ เดอื น ๖๖ เปิดหนา้ หนงั สอื ท่ีทาดว้ ยกระดาษแข็งทลี ะแผน่ ได้ เอง ****/***** ๑ ปี ๖ เดือน ๖๗ เปดิ พลกิ หน้าหนังสือได้ทลี ะแผน่ */ ** ๑ ปี ๖ เดือน ๖๘ วางก้อนไม้ซ้อนกนั ได้ ๔-๖ ก้อน */ ** - ๒ ปี ๑ ปี ๗ เดอื น ๖๙ ตอ่ ก้อนไม้ ๔ ช้ัน ****/***** – ๒ ปี ๑ – ๒ ปี ๗๐ พยายามต่อก้อนไม้สองก้อนเป็นตกึ สงู ๒ ช้ัน****** ๗๑ ทุบ ขยาดินน้ามันใหแ้ ผ่ออก *** ๗๒ จับดนิ สอในท่ากาและทารอยขีดเขียนโดยไมต่ ั้งใจ *** ๗๓ จับดนิ สอหรอื สีเทยี นด้วยนิว้ มือซ่ึงยงั ไม่ถูกท่าทางแต่ ไม่กา *** ๗๔ เลยี นแบบการขีดเขียนของผอู้ ื่น *** ๗๕ ต้งั ใจขดี เขียนดว้ ยดินสอหรอื สีเทียน และอาจออก นอกขอบกระดาษ *** ๗๖ เขียนเส้นตา่ งๆ ซง่ึ ดูคลา้ ยเส้นโคง้ โดยใชแ้ ขนทงั้ ชว่ ง และอาจออกนอกขอบกระดาษ *** ๒ – ๓ ปี ๗๗ หยิบกรรไกรสอดใส่นว้ิ มือและถือในท่าที่ถูกต้อง *** ๗๘ ขยบั ขากรรไกรเปิดและปดิ ได้*** ๗๙ ตัดขอบกระดาษขาดจากกนั เล็กน้อยโดยเปิดและปิด กรรไกรหน่ึงครงั้ *** ๘๐ ถือกรรไกรข้างหนงึ่ และถือกระดาษด้วยมืออีกข้าง หนง่ึ *** ๘๑ บดิ หรอื หมนุ ปมุ่ ต่างๆ จากของเลน่ *** ๘๒ หมนุ ลกู บดิ เพื่อเปดิ ประตู *** ๘๓ เคล่อื นข้อมือในท่าหมุนหรอื วกวนไปมา *** ๘๔ ดงึ ดินน้ามนั ออกจากกนั เปน็ ก้อนๆ *** ๘๕ ตัดดนิ น้ามนั น่มุ ๆ ด้วยมดี หรือไม้บรรทัด *** ๘๖ ต่อก้อนไมเ้ ปน็ ตกึ สงู ๓ – ๗ ชน้ั *** ๘๗ จดั ภาพตัดต่อรปู วงกลมและสามเหลย่ี มลงในกรอบ ***

133 อายุ ขอ้ ที่ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ / พฒั นาการที่คาดหวงั ระดับความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา หน่วยฯ IIP/FCSP ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๘๘ ประกอบภาพตัดตอ่ ๓ ชน้ิ เขา้ ด้วยกันลงในกรอบ *** ๘๙ จบั สีเทียนแท่งใหญ่เพื่อขีดเขยี นได้ */ ** ๙๐ สามารถจับดินสอ หรือสีเทยี นเพือ่ ขดี เขยี นได้ ****** ๙๑ สามารถเลยี นแบบการลากเส้นได้ ****** ๙๒ ขีดเขยี นโดยออกนอกขอบกระดาษเล็กนอ้ ย *** ๙๓ ระบายสีโดยใชข้ อ้ มือช่วยคลา้ ยท่าขัดถูพน้ื *** ๙๔ พยายามเขียนรปู ทป่ี ระกอบด้วยเสน้ แนวตั้ง เส้นแนวนอน จุด และเสน้ โค้งซ่งึ ยงั ไม่สอ่ื ความหมาย *** ๒ ปี ๖ เดือน ๙๕ ต่อก้อนไมส้ ีเ่ หล่ยี มลกู บาศก์เปน็ หอสูงได้ ๘ ก้อน ****/***** ๒ – ๔ ปี ๙๖ หมนุ เปิดและปิดฝาขวดเกลียวทมี่ ีขนาด ๑ – ๓ นิว้ *** ๒ – ๔ ปี ๙๗ ไขลานของเลน่ *** ๓ ปี ๙๘ รอ้ ยลกู ปดั ที่มีขนาดใหญ่ ๑ น้ิว *** ๓ ปี ๙๙ รอ้ ยลูกปัดขนาดเลก็ ครึ่งนิ้วได้อยา่ งน้อย ๕ เมด็ *** ๑๐๐ สามารถรอ้ ยวัตถุทีม่ ีขนาดหรือรปู ทรงต่างๆได้ ****** ๓ - ๔ ปี ๑๐๑ รอ้ ยวัสดทุ ี่มรี ขู นาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง ๑ ชม. ได้ */ ** ๑๐๒ จดั เรียงก้อนไม้สามก้อนเป็นสะพานตามแบบ*** ๑๐๓ สามารถตอ่ วัตถใุ นแนวนอนได้ ****** ๑๐๔ สามารถตอ่ วัตถใุ นแนวตง้ั ได้ ****** ๑๐๕ สามารถตอ่ วัตถตุ ามแบบได้ ****** ๑๐๖ ตดั กระดาษเปน็ แถบเส้นกวา้ ง ๒ เซนตเิ มตร *** ๑๐๗ ตดั กระดาษตามเสน้ คด เส้นโค้งท่ี มีรัศมี ๖.๕ เซนติเมตร *** ๑๐๘ ใชก้ รรไกรตดั กระดาษขาดจากกันไดโ้ ดยใช้มือเดยี ว */ **/****** ๑๐๙ เขียนรูปวงกลมตามแบบได้ */ **

134 อายุ ข้อที่ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ / พัฒนาการทค่ี าดหวงั ระดบั ความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หน่วยฯ IIP/FCSP ๓ – ๔ ปี ๑๑๐ สามารถป้นั ดนิ นา้ มนั แลว้ คลงึ เป็น เสน้ ยาวได้ ****** ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๓ ปี ๘ เดือน - ๔ ปี ๑๑๑ สามารถปัน้ ดินน้ามันแล้วคลึงเป็นก้อนกลมได้ ๔ – ๕ ปี ****** ๑๑๒ สามารถป้ันดนิ น้ามันแลว้ คลึงเป็นแผน่ แบนกลมได้ ****** ๑๑๓ สามารถปน้ั ดนิ นา้ มันตามจินตนาการได้ ****** ๑๑๔ สามารถพับกระดาษเป็น ๒ ส่วนได้ ****** ๑๑๕ สามารถจดั ภาพตัดต่อลงในกรอบได้ ****** ๑๑๖ สามารถจดั รูปเรขาคณติ ท่มี ีขนาดต่างกนั ๓ ช้ินลง ในกรอบได้ ****** ๑๑๗ ประกอบภาพตัดตอ่ ๔ – ๕ ชน้ิ เข้าดว้ ยกันลงใน กรอบ *** ๑๑๘ สามารถวาดรปู ทีป่ ระกอบด้วยเส้นพ้ืนฐานได้ ****** ๑๑๙ ระบายสีออกนอกเส้นของรูปไม่เกิน ๑.๒ เซนติเมตร *** ๑๒๐ ตงั้ ช่อื ภาพของตนเองซึ่งไม่ค่อยสอ่ื ความหมาย แก่ผอู้ นื่ นัก *** ๑๒๑ สามารถเตมิ แขนหรอื ขารปู คนท่ยี งั ไม่สมบรู ณไ์ ด้ ****** ๑๒๒ ตัดกระดาษรปู สี่เหล่ยี มจตั รุ สั ขนาด ๑๐ ซม. ออกเปน็ ๒ ช้นิ (โดยใชก้ รรไกรปลายมน) ****/***** ๑๒๓ ใส่กระดุมขนาดใหญ่อย่างนอ้ ย ๒ ซม. ได้เอง ๓ เมด็ ****/***** ๑๒๔ หยิบเขม็ กลัดขนาดยาว ๒ เซนตเิ มตรด้วยสองนิ้ว มือ*** ๑๒๕ เสียบคลิปกระดาษลงบนกระดาษแข็ง*** ๑๒๖ ฉกี กระดาษทากาวและปะวัสดทุ ี่เลือกลงบน กระดาษ*** ๑๒๗ สามารถตดั กระดาษตามรอยได้ ****** ๑๒๘ ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตามแนวเส้นตรงได้ */ **

135 อายุ ข้อท่ี สภาพที่พึงประสงค์ / พัฒนาการท่ีคาดหวงั ระดับความสามารถ สรปุ กอ่ นการพฒั นา หนว่ ยฯ IIP/FCSP ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๑๒๙ สามารถตดั กระดาษตามรปู เรขาคณติ ได้ ****** ๑๓๐ รอ้ ยวสั ดุท่มี ีรขู นาดเส้นผ่านศูนยก์ ลาง ๐.๕ ชม. ได้ */ ** ๔ – ๕ ปี ๑๓๑ ต่อก้อนไมเ้ ป็นตกึ สูง ๘ – ๑๐ ช้นั *** ๑๓๒ เขยี นรูปสเ่ี หลีย่ มตามแบบได้อยา่ งมมี ุมซดั เจน */ ** ๑๓๓ สามารถพับกระดาษทลี ะครึง่ ตามแนวเส้นทแยงมุม ได้ ****** ๑๓๔ ประกอบภาพตดั ต่อ ๖ – ๑๕ ช้นิ เขา้ ดว้ ยกนั ลงใน กรอบ *** ๑๓๕ สามารถปะตดิ รปู ทรงเรขาคณิตลงบนกระดาษได้ ****** ๑๓๖ สามารถประกอบภาพตดั ต่อเขา้ ด้วยกนั ในกรอบได้ ****** ๑๓๗ วาดรปู บา้ นแบบง่ายๆ ซ่งึ ประกอบดว้ ยเสน้ ต่างๆ *** ๑๓๘ ระบายสรี ูปทรงขนาดใหญ่และแบบอสิ ระอยู่ภายใน ขอบรูป *** ๑๓๙ เขียนรูปภาพท่ีมสี ว่ นประกอบหยาบ หรือไม่ สมั พันธ์กนั แต่พอเข้าใจความหมายบ้าง *** ๑๔๐ สามารถวาดรปู ใบหน้าคนทมี่ ีสว่ นประกอบอยา่ ง นอ้ ย ๓ ส่วนได้ ๑๔๑ วาดรปู คนมีสว่ นประกอบของรา่ งกาย ๒ - ๓ สว่ น *** (หวั ตา แขนสองข้าง ขาสองขา้ ง) ๔ ปี ๑ เดอื น ๑๔๒ ประกอบช้ินสว่ นของรูปภาพท่ีตัดออกเปน็ สว่ น ๆ - ๔ ปี ๖ ๓ – ๘ ชิ้นได้ ****/***** เดือน ๔ ปี ๘ เดือน ๑๔๓ จบั ดนิ สอได้ถกู ต้อง ****/***** - ๔ ปี ๑๑ เดือน ๕ -๖ ปี ๑๔๔ ไขและหมุดลูกบิดประตูดว้ ยกุญแจ*** ๑๔๕ เปดิ และปิดเขม็ กลดั ทมี่ ีขนาดใหญ*่ ** ๑๔๖ สอดด้ายเข็มข้ึนลงผ่านรู้ท่ีเจาะบนกระดาษฝึกเย็บ***

136 อายุ ข้อที่ สภาพท่พี ึงประสงค์ / พฒั นาการท่ีคาดหวงั ระดับความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หน่วยฯ IIP/FCSP ๕ ปี ๑ เดือน ๑๔๗ ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน้ โคง้ ได้ */ ** - ๕ ปี ๖ ๑๔๘ ประกอบก้อนไมแ้ ละต่อของเล่น (เลโก้) เป็นตึกสูง ๔ ๓ ๒๑ ๐ เดอื น ๖ – ๗ ปี ***  ๑๔๙ รอ้ ยวสั ดุท่มี รี ูขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลาง ๐.๒๕ ชม. ได้  การดดู เคย้ี ว แรกเกิด */ ** ๓ – ๖ เดือน ๑๕๐ เขยี นรูปสามหลย่ี มตามแบบได้อย่างมีมมุ ชดั เจน */ ** ๑๕๑ สามารถพบั กระดาษเป็นรปู ต่างๆ ได้ ****** ๑๕๒ ประกอบภาพตดั ต่อไมเ่ กิน ๑๒ ช้นิ เขา้ ด้วยกัน (ไม่ มีกรอบ) *** ๑๕๓ ประกอบภาพตัดต่อ ๑๖ – ๒๐ ชนิ้ เข้าดว้ ยกันลง ในกรอบ *** ๑๕๔ ใช้นวิ้ มือระบายสภี าพ *** ๑๕๕ ระบายสภี าพที่มรี ายละเอียดเล็กนอ้ ย อย่ภู ายใน ขอบรูป *** ๑๕๖ วาดภาพและระบายสีโดยเลือกสอี ยา่ งต้ังใจ *** ๑๕๗ ป้ายสบี นกระดาษด้วยอปุ กรณ์ เช่น พ่กู ัน เศษ วสั ดุ ฟองนา้ *** ๑๕๘ สามารถวาดรูปคนท่ีมีสว่ นของ ร่างกาย ๔ ส่วนขนึ้ ไปได้ ****** ๑๕๙ ตัดกระดาษตามเส้นตรงตอ่ เนื่อง ยาว ๑๕ ซม. ***** ๑๖๐ ประกอบภาพตัดตอ่ ๑๒ – ๒๕ ชิน้ เข้าดว้ ยกัน (ไม่ มีกรอบ) *** ๑๖๑ ประกอบภาพตดั ต่อ ๒๖ ชิน้ ข้ึนไป เข้าด้วยกนั (ไม่มี กรอบ) *** ๑๖๒ วาดรปู คนมสี ว่ นประกอบของร่างกายครบสมบูรณ์ *** ๑๖๓ ดูดนมได้ดี **** ๑๖๔ สามารถควบคุมกล้ามเน้ือริมฝีปากได้ ******

137 อายุ ข้อท่ี สภาพที่พึงประสงค์ / พัฒนาการที่คาดหวัง ระดับความสามารถ สรุป กอ่ นการพฒั นา หน่วยฯ IIP/FCSP ๑๖๕ สามารถควบคุมการใชล้ น้ิ ได้ ****** ๔ ๓ ๒๑ ๐ ๙ – ๑๘ ๑๖๖ สามารถขยบั ขากรรไกรได้ ****** เดือน ๑๖๗ สามารถเคยี้ วอาหารได้ ******   ๑๖๘ สามารถกลนื น้าลายได้ ******  ๑ ปี ๖ เดอื น ๑๖๙ สามารถเป่าลมออกจากปากได้ ******   - ๒ ปี ๑๗๐ สามารถดูดของเหลวโดยใชห้ ลอดดดู ได้ ****** 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook