Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์

ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์

Description: ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

482 ตาํ รบั ยารกั ษาอาการแหง้ ขาดความช่มุ ช้นื สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ 麦冬 ไมต่ ง ตวั ยาเสรมิ หวาน อมขม เยน็ เสรมิ บาํ รุงอนิ และทาํ ใหป้ อดช่มุ ช้นื 百合 ไป่เหอ ตวั ยาเสรมิ ตวั ยาเสรมิ หวาน เลก็ นอ้ ย เสรมิ บาํ รุงสารนาํ้ ใหก้ ระเพาะอาหาร 贝母 เป้ยห์ มู่ ตวั ยาช่วย 白芍 (炒) ขม ลดอาการกระวนกระวาย ทาํ ให้ ไป๋เสา (เฉ่า) ตวั ยาช่วย อมหวาน 玄参 เสฺวยี นเซนิ จติ ใจสบาย ตวั ยาช่วย ขมเปร้ยี ว 当归 ตงั กยุ ตวั ยาช่วย อมหวาน เยน็ เสรมิ อนิ ใหค้ วามช่มุ ช้นื แก่ปอด 桔梗 เจยี๋ เกงิ ขม เลก็ นอ้ ย ระงบั ไอ ระบายความรอ้ นของ อมหวาน หวั ใจ ทาํ ใหจ้ ติ ใจสบาย เผด็ อมหวาน เยน็ ระบายความรอ้ น ละลายเสมหะ ขม เลก็ นอ้ ย ใหค้ วามช่มุ ช้นื แก่ปอด ระงบั ไอ อมเผด็ สลายกอ้ น ลดบวม เยน็ เสรมิ อนิ เลอื ด ปรบั เสน้ ลมปราณ เลก็ นอ้ ย และประจาํ เดอื น ปรบั สมดลุ ช่ขี อง ตบั ระงบั ปวด เก็บกกั อนิ ช่ี ระงบั เหงอ่ื เยน็ ระบายความรอ้ นในเลอื ด ลดพษิ รอ้ นเขา้ สู่กระแสเลอื ดและระบบ หวั ใจ เสรมิ อนิ ขบั พษิ บรรเทา อาการทอ้ งผูก อ่นุ เพม่ิ การไหลเวยี นและบาํ รุงเลอื ด ปรบั ประจาํ เดอื นใหเ้ป็นปกติ สุขมุ กระจายช่ที ป่ี อด ขบั เสมหะ ระงบั อาการไอทม่ี เี สมหะมาก อดึ อดั แน่นหนา้ อก คอบวมเจบ็ ขบั ฝี หนองและเสมหะในปอด

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 483 สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ ตวั ยานาํ พา อมหวาน 生甘草 เซงิ กนั เฉ่า สุขมุ เสรมิ ช่ี บาํ รุงสว่ นกลางของร่างกาย (ชะเอมเทศ) ระบายความรอ้ น ขบั พษิ ระงบั ไอ ขบั เสมหะ ปรบั ประสานตวั ยา ทง้ั หมดใหเ้ขา้ กนั ตาํ รบั ยาน้ีประกอบดว้ ยตวั ยาหลกั คอื เซงิ ต้หี วงและสูต้หี วง มสี รรพคุณเสริมอนิ บาํ รุงไต ช่วย ปรบั ใหเ้ ลอื ดเยน็ ลง และหา้ มเลอื ด ตวั ยาเสริม ไดแ้ ก่ ไม่ตง ไป่เหอ และเป้ยห์ มู่ มสี รรพคุณเสริมอนิ ช่วยเพม่ิ ความช่มุ ช้ืนแก่ปอด ละลายเสมหะ ระงบั อาการไอ ตวั ยาช่วย ไดแ้ ก่ เสฺวยี นเซนิ เสรมิ อนิ ช่วย ลดความรอ้ นในเลอื ด ตงั กยุ มสี รรพคุณเสรมิ เลอื ด ลดความแหง้ ไป๋เสา (เฉ่า) มสี รรพคณุ เสรมิ อนิ ของ เลอื ด เจยี๋ เกิง ช่วยกระจายช่ปี อด ระงบั อาการไอ ขบั เสมหะ กนั เฉ่าเป็นตวั ยานาํ พา ช่วยปรบั ประสาน ตวั ยาทงั้ หมดใหเ้ขา้ กนั และเมอ่ื ใชร้ ่วมกบั เจยี๋ เกงิ จะช่วยใหล้ าํ คอโลง่ 1,3 รูปแบบยาในปจั จุบนั ยาตม้ ยาลูกกลอน ยาลูกกลอนเขม้ ขน้ ยาชงละลาย4 ขอ้ หา้ มใช้ ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ เน่ืองจากตวั ยาในตาํ รบั น้ีส่วนใหญ่มรี สหวาน คุณสมบตั เิ ยน็ เสรมิ ความช่มุ ช้นื จงึ อาจจะทาํ ให้ เกิดความเหนียวมากจนช่ีติดขดั ได้ หากผูท้ ่มี มี า้ มพร่อง ถ่ายเหลว ทอ้ งอดื ปวดทอ้ ง เบ่อื อาหาร ตอ้ ง ระมดั ระวงั ในการใชห้ รอื หา้ มใช1้ ,3 ขอ้ มูลวชิ าการท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาทางคลนิ ิก: เมอ่ื ศึกษาในผูป้ ่วยทม่ี อี าการหายใจหอบ จาํ นวน 30 ราย โดยแบง่ เป็น 2 กลมุ่ กลมุ่ ละ 15 ราย กลมุ่ ท่ี 1 ใหร้ บั ประทานยาตม้ ร่วมกบั ยาแผนปจั จบุ นั กลุม่ ท่ี 2 ใหร้ บั ประทาน ยาแผนปจั จบุ นั อย่างเดยี ว พบวา่ ผูป้ ่วยหายเป็นปกตเิ มอ่ื พกั รกั ษาตวั ทโ่ี รงพยาบาลเฉลย่ี 18.93 วนั และ 27.83 วนั ตามลาํ ดบั เมอ่ื ศึกษาในผูป้ ่วยเน้ืองอกจาํ นวน 36 ราย ท่ไี ดร้ บั การรกั ษาโดยการฉายรงั สี และในระหว่างการรกั ษามอี าการปอดอกั เสบจากการไอ หายใจขดั ปากแหง้ คอแหง้ เป็นไข้ โดยให้ ผูป้ ่วยรบั ประทานยาตม้ วนั ละ 2 ห่อ ตดิ ต่อกนั หลายห่อ จนกว่าอาการขา้ งเคียงเหล่าน้ีหายไป และใน ระหว่างการฉายรงั สี ใหร้ บั ประทานยาตม้ ดว้ ย พบว่าสามารถลดอาการขา้ งเคียงไดผ้ ลดี และช่วยเพ่ิม ประสทิ ธผิ ลการรกั ษาทางคลนิ ิก อกี การศึกษาในผูป้ ่วยวณั โรคปอดจาํ นวน 30 ราย ไดผ้ ลดี 26 ราย ไม่

484 ตาํ รบั ยารกั ษาอาการแหง้ ขาดความช่มุ ช้นื ไดผ้ ล 4 ราย นอกจากน้ี เมอ่ื ใหย้ าตาํ รบั น้ีเพอ่ื รกั ษาอาการไอเร้ือรงั ในเดก็ จาํ นวน 42 ราย พบว่าไดผ้ ล รอ้ ยละ 97.64 เอกสารอา้ งองิ 1. Zhang E. Prescriptions of Traditional Chinese Medicine: A Practical English-Chinese Library of Traditional Chinese Medicine. 6th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 2. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English Glossary of Common Terms in Traditional Chinese Medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 3. จรสั ตงั้ อร่ามวงศ,์ วราภรณ์ ตงั้ อร่ามวงศ,์ เยน็ จติ ร เตชะดาํ รงสนิ . ตาํ รบั ยาไป่เหอกูจ้ นิ ทงั . [เอกสารแปลเพอ่ื การจดั ทาํ ฐานขอ้ มลู ยา สมนุ ไพรจนี ]. นนทบรุ :ี สถาบนั การแพทยไ์ ทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข, 2552. 4. Xu CH. Baihe Gujin Tang. In: Xia M (ed.). Modern Study of the Medical Formulae in Traditional Chinese Medicine. Vol. 2. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997.

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 485 หยงั่ อนิ ชิงเฟ่ ยท์ งั (养阴清肺汤) ตาํ ราตน้ ตาํ รบั 重楼玉钥 ฉงโหลวยวฺ เ่ี ย่า (Jade Key to the Selected Chamber)1 « ค.ศ. 1838 Zheng Meijian (郑梅涧 เจ้งิ เหมยเจ้ยี น) »2 สว่ นประกอบ Radix Rehmanniae ตา้ เซงิ ต้ี 6 กรมั Radix Ophiopogonis 5 กรมั 大生地 Radix Scrophulariae ไมต่ ง 5 กรมั 麦冬 Cortex Moutan Radicis 3 กรมั 玄参 Bulbus Fritillariae (core removed) เสฺวยี นเซนิ 3 กรมั 丹皮 Radix Paeoniae Alba (parched) 3 กรมั Herba Menthae ตนั ผี 2 กรมั 贝母 (去心) Radix Glycyrrhizae เป้ยห์ มู่ (ชฺวซ่ี นิ ) 2 กรมั 白芍 (炒) ไป๋เสา (เฉ่า) ป๋อเหอ 薄荷 生甘草 เซงิ กนั เฉ่า วธิ ใี ช้ ตม้ เอานาํ้ ดม่ื 1,3 การออกฤทธ์ิ เสรมิ อนิ ระบายความรอ้ นในปอด1,3 สรรพคณุ รกั ษาคอตบี ทม่ี สี าเหตจุ ากอนิ พร่อง โดยมอี าการเป็นไข้ จมกู แหง้ รมิ ฝีปากแหง้ อาจมหี รอื ไมม่ ี อาการไอ หายใจไมค่ ลอ่ งคลา้ ยเป็นหอบหดื แต่ไมไ่ ดเ้ป็นโรคหอบหดื ลาํ คอมแี ผน่ เยอ่ื ขาว ลอกออกยาก1,3 ตาํ รบั ยาน้สี ามารถเพม่ิ หรอื ลดขนาดยาใหเ้หมาะสมสาํ หรบั ผูป้ ่วยทอ่ี นิ พร่อง เช่น มอี าการคอตบี คอหอยหรอื ต่อมทอนซลิ อกั เสบเฉียบพลนั หลอดลมหรอื คอหอยอกั เสบเร้อื รงั 1,3

486 ตาํ รบั ยารกั ษาอาการแหง้ ขาดความช่มุ ช้นื ตาํ รบั ยา หยงั่ อนิ ชิงเฟ่ ยท์ งั (养阴清肺汤) 2 เซนตเิ มตร ไมต่ ง (麦冬) 2 เซนตเิ มตร ตา้ เซงิ ต้ี (大生地) เสฺวยี นเซนิ (玄参) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร ตนั ผี (丹皮)

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 487 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร เป้ยห์ มู่ (ชวฺ ซ่ี นิ ) [贝母(去心)] ไป๋เสา (เฉ่า) [白芍(炒)] เซงิ กนั เฉ่า (生甘草2 เซน)ตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร ป๋อเหอ (薄荷) คาํ อธิบายตาํ รบั ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ ตวั ยาหลกั สมนุ ไพร หวาน เยน็ ระบายความรอ้ นในเลอื ด 大生地 ตา้ เซงิ ต้ี ตวั ยาหลกั (โกฐข้แี มว) อมขม เสรมิ อนิ ช่ขี องตบั และไต สรา้ ง 麦冬 ไมต่ ง สารนาํ้ หวาน เยน็ เสรมิ บาํ รุงอนิ และทาํ ใหป้ อด อมขม เลก็ นอ้ ย ช่มุ ช้นื เสรมิ บาํ รุงสารนาํ้ ให้ กระเพาะอาหาร ลดอาการ กระวนกระวาย ทาํ ใหจ้ ติ ใจ สบาย

488 ตาํ รบั ยารกั ษาอาการแหง้ ขาดความช่มุ ช้นื สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ 玄参 เสฺวยี นเซนิ ตวั ยาหลกั ขม ตวั ยาเสรมิ อมหวาน เยน็ ระบายความรอ้ นในเลอื ด 丹皮 ตนั ผี ตวั ยาช่วย เคม็ (เปลอื กรากโบตนั๋ ) ตวั ยาช่วย ขม ลดพษิ รอ้ นเขา้ สูก่ ระแสเลอื ด 贝母 (去心) ตวั ยานาํ พา อมเผด็ เป้ยห์ มู่ (ชฺวซ่ี นิ ) ขม และระบบหวั ใจ เสรมิ อนิ ตวั ยานาํ พา อมหวาน 白芍 (炒) ขบั พษิ บรรเทาอาการทอ้ งผูก ไป๋เสา (เฉ่า) ขมเปร้ยี ว อมหวาน เยน็ ระบายความรอ้ นในเลอื ด 薄荷 ป๋อเหอ เผด็ เลก็ นอ้ ย กระจายเลอื ดคงั่ ช่วยใหก้ าร 生甘草 เซงิ กนั เฉ่า (ชะเอมเทศ) หวาน ไหลเวยี นของเลอื ดดขี ้นึ เยน็ ระบายความรอ้ น ละลาย เลก็ นอ้ ย เสมหะ ใหค้ วามช่มุ ช้นื แก่ปอด ระงบั ไอ สลายเสมหะทจ่ี บั ตวั เป็นกอ้ น ลดบวม เยน็ เสรมิ อนิ ของเลอื ด ปรบั เสน้ เลก็ นอ้ ย ลมปราณและประจาํ เดอื น ปรบั สมดุลช่ขี องตบั ระงบั ปวด เก็บกกั อนิ ช่ี ระงบั เหงอ่ื เยน็ กระจายลมรอ้ นทก่ี ระทบต่อ ร่างกาย ระบายความรอ้ น ช่วยใหส้ มองโปร่ง สายตา มองเหน็ ชดั ข้นึ ลาํ คอโลง่ ผ่อนคลายตบั คลายเครยี ด สุขมุ เสรมิ ช่ี บาํ รุงส่วนกลางของ ร่างกาย ระบายความรอ้ น ขบั พษิ ระงบั ไอ ขบั เสมหะ ปรบั ประสานตวั ยาทงั้ หมดให้ เขา้ กนั

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 489 ตาํ รบั ยาน้ีเป็นตาํ รบั รกั ษาอาการคอตบี ทม่ี สี าเหตุจากอนิ พร่องโดยเฉพาะ ประกอบดว้ ยตวั ยา หลกั ไดแ้ ก่ ตา้ เซงิ ต้ี มสี รรพคุณช่วยเสริมอนิ ของไต ไมต่ งสรา้ งอนิ ใหแ้ ก่ปอด เสฺวยี นเซนิ ขบั พษิ และ ขจดั ความรอ้ นพร่อง ตนั ผเี ป็นตวั ยาเสรมิ มสี รรพคุณลดอาการบวมและความรอ้ นในเลอื ด ตวั ยาช่วย ไดแ้ ก่ เป้ยห์ มู่ (ชฺว่ซี นิ ) ช่วยเพ่มิ ความชุ่มช้ืนแก่ปอด ละลายเสมหะ ไป๋เสา (เฉ่า) ช่วยเก็บกกั อินช่ีและ ระบายความรอ้ น ตวั ยานาํ พา ไดแ้ ก่ ป๋อเหอ ช่วยใหล้ าํ คอโลง่ เซงิ กนั เฉ่า ขจดั พษิ และปรบั ประสานตวั ยา ใหเ้ขา้ กนั 1,3 รูปแบบยาในปจั จุบนั ยาตม้ ยาลูกกลอน ยานาํ้ เช่อื ม สารสกดั เขม้ ขน้ ก่งึ เหลว4 ขอ้ มูลวชิ าการท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาทางเภสชั วิทยา: ยาตม้ มฤี ทธ์ิตา้ นเช้ือคอตีบในหลอดทดลอง เสริมภูมคิ ุม้ กนั ใน หนูตะเภาและหนูถบี จกั ร4 การศึกษาทางคลนิ ิก: ตาํ รบั ยาน้ีมสี รรพคุณรกั ษาอาการคอตบี ต่อมทอนซลิ อกั เสบเฉียบพลนั 1,3,4 ระงบั ไอ ขบั เสมหะ เจบ็ คอ ช่องปากอกั เสบ โรคเก่ยี วกบั เยอ่ื ประสาทเสยี ง และเลอื ดกาํ เดาไหล เอกสารอา้ งองิ 1. Zhang E. Prescriptions of Traditional Chinese Medicine: A Practical English-Chinese Library of Traditional Chinese Medicine. 6th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 2. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English Glossary of Common Terms in Traditional Chinese Medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 3. จรสั ตง้ั อร่ามวงศ,์ เยน็ จติ ร เตชะดาํ รงสนิ , ธรี วฒั น์ ตง้ั อร่ามวงศ.์ ตาํ รบั ยาหยงั่ อนิ ชงิ เฟ่ยท์ งั . [เอกสารแปลเพอ่ื การจดั ทาํ ฐานขอ้ มลู ยาสมนุ ไพรจีน]. นนทบุรี: สถาบนั การแพทยไ์ ทย-จีน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ , 2552. 4. Xu CH. Yangyin Qingfei Tang. In: Xia M (ed.). Modern Study of the Medical Formulae in Traditional Chinese Medicine. Vol. 2. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997.

490 ตาํ รบั ยารกั ษาอาการแหง้ ขาดความช่มุ ช้นื ไม่เหมินตงทงั (麦门冬汤) ตาํ ราตน้ ตาํ รบั 金匮要略 จนิ คุ่ยเอ้ยี วเลย่ี (Synopsis of Prescriptions of the Golden Chamber)1 « ค.ศ. 219 Zhang Zhongjing (张仲景 จางจง้ จง่ิ ) »2 ประกอบดว้ ย Radix Ophiopogonis ไมเ่ หมนิ ตง 60 กรมั Radix Ginseng เหรนิ เซนิ 6 กรมั 麦门冬 Radix Glycyrrhizae กนั เฉ่า 4 กรมั 人参 Oryzae Glutinosae จงิ หม่ี 6 กรมั 甘草 Fructus Ziziphi Jujubae ตา้ เจ่า 3 ผล 粳米 Rhizoma Pinelliae ปนั้ เซย่ี 9 กรมั 大枣 半夏 วธิ ีใช้ ตม้ เอานาํ้ ดม่ื 1,3 การออกฤทธ์ิ เสริมบาํ รุงปอดและกระเพาะอาหาร ปรบั ประสานส่วนกลางของร่างกาย และกดช่ที ่ยี อ้ นข้นึ ให้ ลงลา่ ง1,3 สรรพคณุ รกั ษาอาการปอดฝ่อซ่งึ มอี าการไอ โดยมเี สลดและนาํ้ ลายมาก เหน่ือยหอบหรือหายใจสนั้ ๆ ปากแหง้ คอแหง้ กระหายนาํ้ ล้นิ แหง้ มสี แี ดง ฝ้านอ้ ย ชพี จรพร่อง เตน้ ถ1่ี ,3 ตาํ รบั ยาน้ีสามารถเพม่ิ หรอื ลดขนาดยาใหเ้หมาะสมสาํ หรบั ผูป้ ่วยทม่ี อี าการหลอดลมอกั เสบเร้อื รงั คออกั เสบเร้อื รงั วณั โรคปอด กระเพาะอาหารอกั เสบเร้อื รงั กระเพาะอาหารรดั ตวั ทาํ ใหอ้ กั เสบ ภาวะอนิ ของปอดและกระเพาะอาหารพร่องภายหลงั จากฟ้ืนไข1้,3

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 491 คาํ อธิบายตาํ รบั สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ 麦门冬 ไมเ่ หมนิ ตง ตวั ยาหลกั หวาน เยน็ เสรมิ บาํ รุงอนิ และทาํ ใหป้ อด 人参 เหรนิ เซนิ (โสมคน) อมขม เลก็ นอ้ ย ช่มุ ช้นื เสรมิ บาํ รุงสารนาํ้ ให้ 甘草 กนั เฉ่า (ชะเอมเทศ) กระเพาะอาหาร ลดอาการกระวน- 粳米 จงิ หม่ี กระวาย ทาํ ใหจ้ ติ ใจสบาย (ขา้ วเจา้ ) ตวั ยาเสรมิ หวานอม อ่นุ บาํ รุงช่แี ละเสรมิ กาํ ลงั บาํ รุงหวั ใจ 大枣 ตา้ เจ่า (พทุ ราจนี ) ขมเลก็ นอ้ ย เลก็ นอ้ ย และปอด 半夏 ปนั้ เซย่ี ตวั ยาเสรมิ อมหวาน สุขมุ เสริมช่ี บาํ รุงส่วนกลางของ ร่างกาย ระบายความรอ้ น ขบั พษิ ระงบั ไอ ขบั เสมหะ ปรบั ประสาน ตวั ยาทง้ั หมดใหเ้ขา้ กนั ตวั ยาเสรมิ หวานจดื สุขมุ เสรมิ กระเพาะอาหาร ป้องกนั สาร และนาํ พา นาํ้ เมอ่ื ใชค้ ู่กบั กนั เฉ่าจะช่วย ป้องกนั สว่ นกลางของร่างกาย (กระเพาะอาหาร) ไมใ่ หถ้ กู กลมุ่ ตวั ยาเสรมิ หวาน ยาเยน็ ไปทาํ ลาย อ่นุ ปรบั สมดุลมา้ ม และกระเพาะ- และนาํ พา อาหาร ตวั ยาช่วย เผด็ อ่นุ ขจดั ความช้นื ละลายเสมหะ ลด (มพี ษิ )* การไหลยอ้ นกลบั ของช่ี บรรเทา อาการคลน่ื ไส้ อาเจยี น สลาย เสมหะทเ่ี กาะตวั เป็นกอ้ น * ปนั้ เซย่ี เป็นสมนุ ไพรทม่ี พี ษิ ตอ้ งฆ่าฤทธ์ยิ าก่อนใช้

492 ตาํ รบั ยารกั ษาอาการแหง้ ขาดความช่มุ ช้นื ตาํ รบั ยา ไม่เหมนิ ตงทงั (麦门冬汤) ตาํ รบั ยาน้ปี ระกอบดว้ ยไมเ่ หมนิ ตงเป็นตวั ยาหลกั ใชป้ รมิ าณสูง เพอ่ื เสรมิ บาํ รุงอนิ ของปอดและ กระเพาะอาหาร พรอ้ มทงั้ ระบายอาการรอ้ นพร่องของปอดและกระเพาะอาหาร ตวั ยาเสริม ไดแ้ ก่ เหรนิ เซนิ เสรมิ ช่แี ละบาํ รุงส่วนกลางของร่างกาย เมอ่ื ใชร้ ่วมกบั ไม่เหมนิ ตงจะเสริมฤทธ์ิในการเสรมิ ช่แี ละ นาํ้ ทาํ ใหค้ อไม่แหง้ จิงหม่แี ละตา้ เจ่าเป็นตวั ยาเสริมและนาํ พา มฤี ทธ์ิบาํ รุงมา้ มและกระเพาะอาหาร ปนั้ เซย่ี เป็นตวั ยาช่วย มฤี ทธ์กิ ดช่ที ย่ี อ้ นข้นึ ใหล้ งลา่ งและละลายเสมหะ1,3

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 493 ไมเ่ หมนิ ตง (麦门冬2 เซ)นตเิ มตร เหรนิ เซนิ (人参2 เซ)นตเิ มตร กนั เฉ่า (甘草) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร จงิ หม่ี (粳米) 2 เซนตเิ มตร ปนั้ เซย่ี (半夏) 2 เซนตเิ มตร ตา้ เจ่า (大枣)

494 ตาํ รบั ยารกั ษาอาการแหง้ ขาดความช่มุ ช้นื รูปแบบยาในปจั จุบนั ยาตม้ 4 ขอ้ หา้ มใช้ ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ 1,3 หา้ มใชต้ าํ รบั ยาน้กี บั ผูป้ ่วยกลมุ่ อาการปอดฝ่อทม่ี สี าเหตกุ ารกระทบลมเยน็ ขอ้ มูลวชิ าการท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาทางเภสชั วิทยา: ยาตม้ มฤี ทธ์ิช่วยใหก้ ารทาํ งานของระบบทางเดินหายใจดีข้นึ ใน กระต่าย ระงบั ไอและขบั เสมหะ บรรเทาอาการปอดอกั เสบระยะแรกเร่ิมในหนูขาว4 ลดอาการไวเกินต่อ 5,6 4 การตอบสนองของทางเดนิ หายใจหนูตะเภา และลดนาํ้ ตาลในเลอื ดหนูถบี จกั ร การศึกษาทางคลนิ ิก: ตาํ รบั ยาน้ีสามารถเสรมิ บาํ รุงร่างกาย รกั ษาอาการเสลดตดิ คอในผูป้ ่วย สูงอายุทม่ี ปี ญั หาจากโรคระบบทางเดนิ หายใจชนิดเร้อื รงั ระงบั การตดิ เช้อื ในระบบทางเดนิ หายใจส่วนบน ระงบั ไอ ขบั เสมหะ โดยจะใหผ้ ลการรกั ษาทด่ี กี บั ผูป้ ่วยโรคหดื ทท่ี างเดนิ หายใจอกั เสบอย่างรุนแรง ผูป้ ่วย เพศหญงิ และระยะของโรคไมเ่ กิน 1 ปี นอกจากน้ี ตาํ รบั ยาน้ียงั มสี รรพคุณ บรรเทาอาการปอดอกั เสบ หลอดลมอกั เสบ คอแหง้ และกระเพาะอาหารอกั เสบ1,3,4,7 เอกสารอา้ งองิ 1. Zhang E. Prescriptions of Traditional Chinese Medicine: A Practical English-Chinese Library of Traditional Chinese Medicine. 6th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 2. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English Glossary of Common Terms in Traditional Chinese Medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 3. สว่าง กอแสงเรือง. ตาํ รบั ยาไมเ่ หมนิ ตงทงั . [เอกสารแปลเพอ่ื การจดั ทาํ ฐานขอ้ มูลยาสมนุ ไพรจนี ]. นนทบรุ :ี สถาบนั การแพทย์ ไทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข, 2551. 4. Xu CH. Mai Men Dong Tang. In: Xia M (ed.). Modern Study of the Medical Formulae in Traditional Chinese Medicine. Vol. 2. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997. 5. Aizawa H, Yoshida M, Inoue H, Hara N. Traditional oriental herbal medicine, Bakumondo-to, suppresses vagal neuro-effector transmission in guinea pig trachea. J Asthma 2003; 40(5): 497-503. 6. Aizawa H, Shigyo M, Nakano H, Matsumoto K, Inoue H, Hara N. Effect of the Chinese herbal medicine, Bakumondo-to, on airway hyperresponsiveness induced by ozone exposure in guinea-pigs. Respirology 1999; 4(4): 349-54. 7. Chen JK, Chen TT. Chinese Herbal Formulas and Applications. CA: Art of Medicine Press, 2008.

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 495 ซ่ือเม่ียวหย่งอนั ทงั (四妙勇安汤) ตาํ ราตน้ ตาํ รบั 验方新编 เอ้ยี นฟางซนิ เพยี น (New Compilation of Proved Recipes)1 « ค.ศ. 1846 Bao Xiang’ao (鲍相璈 เป้าเซยี งเอา๋ ) »2 สว่ นประกอบ Flos Lonicerae จนิ อนิ๋ ฮวฺ า 90 กรมั Radix Scrophulariae เสฺวยี นเซนิ 90 กรมั 金银花 Radix Angelicae Sinensis ตงั กยุ 30 กรมั 玄参 Radix Glycyrrhizae กนั เฉ่า 15 กรมั 当归 甘草 วธิ ีใช้ ตม้ เอานาํ้ ดม่ื 1,3 การออกฤทธ์ิ ระบายความรอ้ น ขจดั พษิ ช่วยใหก้ ารไหลเวยี นของเลอื ดดขี ้นึ ระงบั ปวด1,3 สรรพคณุ รกั ษาอาการเน่าตายของเน้อื เยอ่ื และกระดูกตรงสว่ นปลายของน้วิ เทา้ ซง่ึ เกดิ จากการอกั เสบและ การอดุ ตนั ของเสน้ เลอื ดทม่ี สี าเหตจุ ากอนิ พร่องรอ้ นแกร่ง โดยผวิ หนงั บรเิ วณนนั้ จะมสี ดี าํ คลาํ้ บวมเลก็ นอ้ ย 1,3 ปวดมาก เน่าและมกี ลน่ิ เหมน็ มไี ข้ กระหายนาํ้ ล้นิ แดง ชพี จรเตน้ เรว็ ตาํ รบั ยาน้ีสามารถเพ่มิ หรือลดขนาดยาใหเ้ หมาะสมสาํ หรบั ผูป้ ่วยหลอดเลอื ดแดงอกั เสบท่ีมี สาเหตจุ ากการอดุ ตนั ในหลอดเลอื ด หรอื จากสาเหตอุ น่ื 1,3

496 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง ตาํ รบั ยา ซ่ือเม่ยี วหยง่ อนั ทงั (四妙勇安汤) จนิ อนิ๋ ฮวฺ า (金银2 เ花ซนต)เิ มตร เสฺวยี นเซนิ (玄参2)เซนตเิ มตร ตงั กยุ (当归) 3 เซนตเิ มตร กนั เฉ่า (甘草)2 เซนตเิ มตร

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 497 คาํ อธบิ ายตาํ รบั สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ 金银花 จนิ อนิ๋ ฮวฺ า ตวั ยาหลกั อมหวาน (ดอกสายนาํ้ ผ้งึ ) ตวั ยาเสรมิ เยน็ ระบายความรอ้ น ขบั พษิ ฝีหนอง 玄参 เสฺวยี นเซนิ ขม ตวั ยาช่วย อมหวาน บรรเทาหวดั จากการกระทบลมรอ้ น 当归 ตงั กยุ ตวั ยานาํ พา เคม็ เยน็ ระบายความรอ้ นในเลอื ด ลดพษิ 甘草 กนั เฉ่า (ชะเอมเทศ) หวาน รอ้ นเขา้ สู่กระแสเลอื ดและระบบ อมเผด็ อมหวาน หวั ใจ เสรมิ อนิ ขบั พษิ บรรเทา อาการทอ้ งผูก อ่นุ บาํ รุงเลอื ด ช่วยใหเ้ลอื ดไหลเวยี น ดี ลดบวม ระงบั ปวด สุขมุ เสรมิ ช่ี บาํ รุงสว่ นกลางของร่างกาย ระบายความรอ้ น ขบั พษิ ระงบั ไอ ขบั เสมหะ ปรบั ประสานตวั ยา ทง้ั หมดใหเ้ขา้ กนั ตาํ รบั ยาน้ีประกอบดว้ ยตวั ยาหลกั คือ จินอนิ๋ ฮฺวามสี รรพคุณระบายความรอ้ น ขบั พษิ ตวั ยา เสริมคือ เสฺวียนเซินมสี รรพคุณขบั พิษรอ้ น ตงั กุยเป็นตวั ยาช่วย ช่วยใหเ้ ลือดไหลเวียนดีข้ึน สลายเลือดคงั่ กนั เฉ่าเป็นตวั ยานาํ พา เมอ่ื ใชร้ ่วมกบั จนิ อนิ๋ ฮฺวา จะช่วยใหส้ รรพคุณระบายความรอ้ น และขจดั พษิ ดขี ้นึ 1,3 รูปแบบยาในปจั จุบนั ยาตม้ 4 ขอ้ หา้ มใช้ ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ 1,3 ไมค่ วรใชต้ าํ รบั ยาน้ีกบั ผูป้ ่วยโรคหลอดเลอื ดอกั เสบทม่ี กี ลมุ่ อาการเยน็ หรอื ช่แี ละเลอื ดพร่อง ขอ้ มูลวชิ าการท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาทางเภสชั วทิ ยา: ยาตม้ มฤี ทธ์ริ ะงบั ปวดในหนูถบี จกั ร4

498 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง การศึกษาทางคลนิ ิก: เมอ่ื ใหย้ าตม้ โดยเพม่ิ ตวั ยาอน่ื ใหเ้หมาะสมแก่ผูป้ ่วยโรคหลอดเลอื ดอดุ ตนั ทเ่ี กดิ จากการอกั เสบจาํ นวน 120 ราย พบวา่ ไดผ้ ลรอ้ ยละ 100 อกี การศึกษาใหย้ าตม้ ซอ่ื เมย่ี วหย่งอนั ทงั รกั ษาผูป้ ่วยโรคดงั กลา่ ว จาํ นวน 30 ราย พบวา่ ไดผ้ ลดมี าก 28 ราย4 เอกสารอา้ งองิ 1. Zhang E. Prescriptions of Traditional Chinese Medicine: A Practical English-Chinese Library of Traditional Chinese Medicine. 6th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 2. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English Glossary of Common Terms in Traditional Chinese Medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 3. จรสั ตง้ั อร่ามวงศ,์ วราภรณ์ ตงั้ อร่ามวงศ,์ เยน็ จติ ร เตชะดาํ รงสนิ . ตาํ รบั ยาซอ่ื เมย่ี วหย่งอนั ทงั . [เอกสารแปลเพอ่ื การจดั ทาํ ฐานขอ้ มลู ยา สมนุ ไพรจีน]. นนทบุรี: สถาบนั การแพทยไ์ ทย-จีน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ , 2552. 4. Li Y. Simaio Yongan Tang. In: Xia M (ed.). Modern Study of the Medical Formulae in Traditional Chinese Medicine. Vol. 2. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997.

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 499 หยางเหอทงั (阳和汤) ตาํ ราตน้ ตาํ รบั 外科全生集 ไวเ่ คอเฉฺวยี นเซงิ จี๋ (Life-saving Manual of Diagnosis and Treatment of External Diseases)1 « ค.ศ. 1740 Wang Weide (王惟德 หวางเหวยเ์ ตอ๋ ) »2 สว่ นประกอบ Radix Rehmanniae Praeparata สูต้ี 30 กรมั Colla Cornus Cervi ลูเ่ จ่ยี วเจยี ว 9 กรมั 熟地 Cortex Cinnamomi โร่วกยุ ้ 3 กรมั 鹿角胶 (ground into fine powder) (เอยี๋ นเฝ่ิน) 肉桂 เจยี งถา้ น 2 กรมั Zingiberis Praeparata หมาหวง 2 กรมั (研粉) Herba Ephedrae ไป๋เจ้ยี จ่อื 6 กรมั Semen Sinapis Albae เซงิ กนั เฉ่า 3 กรมั 姜炭 Radix Glycyrrhizae 麻黄 白芥子 生甘草 วธิ ใี ช้ ตม้ เอานาํ้ ดม่ื 1,3 การออกฤทธ์ิ อ่นุ หยางบาํ รุงเลอื ด กระจายความเยน็ ทะลวงการอดุ กน้ั 1,3

500 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง ตาํ รบั ยา หยางเหอทงั (阳和汤) 2 เซนตเิ มตร (เอยี๋ นเฝ่ิน) 2 เซนตเิ มตร [肉桂(研粉)] สูต้ี (熟地) โร่วกยุ ้ 2 เซนตเิ มตร ลูเ่ จย่ี วเจยี ว2(เซ鹿นตเิ角มตร胶) เจยี งถา้ น (姜炭)

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 501 หมาหวง (麻2 เซ黄นตเิ ม)ตร ไป๋เจ้ยี จ่อื (白2芥เซน子ตเิ ม)ตร 2 เซนตเิ มตร (生甘草) เซงิ กนั เฉ่า สรรพคณุ รกั ษากลุ่มอาการอนิ ท่เี กิดจากหยางพร่องและถูกความเย็นจบั ตวั เกิดเป็นกอ้ น โดยมลี กั ษณะ เป็นต่มุ กอ้ นหรอื เป็นฝีทไ่ี มม่ หี วั บรเิ วณทเ่ี ป็นต่มุ กอ้ นสไี มเ่ ปลย่ี นแปลงและไมร่ อ้ น ไมม่ อี าการกระหายนาํ้ ล้นิ ซดี มฝี ้าขาว ชพี จรจมเลก็ 1,3 ตาํ รบั ยาน้ีสามารถเพม่ิ หรอื ลดขนาดยาใหเ้หมาะสมสาํ หรบั ผูป้ ่วยวณั โรคกระดูก วณั โรคทเ่ี ยอ่ื บชุ ่อง ทอ้ ง วณั โรคต่อมนาํ้ เหลอื ง หลอดเลอื ดอกั เสบจากลม่ิ เลอื ดอุดตนั ไขกระดูกสนั หลงั อกั เสบชนิดเร้ือรงั เป็นฝีระดบั ลกึ มานาน หมอนรองกระดูกสนั หลงั โป่งออกหรอื กระดูกสนั หลงั หนาข้นึ เน่ืองจากหยางพร่อง 1,3 และมคี วามเยน็ จบั ตวั กนั

502 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง คาํ อธิบายตาํ รบั สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ ตวั ยาหลกั หวาน 熟地 สูต้ี เคม็ อ่นุ บาํ รุงอนิ และเลอื ด เสรมิ อสุจิ (โกฐข้แี มวน่งึ เหลา้ ) ตวั ยาเสรมิ เผด็ อมหวาน เลก็ นอ้ ย และไขกระดูก 鹿角胶 ลูเ่ จย่ี วเจยี ว ตวั ยาช่วย (กาวเขากวาง) เผด็ อ่นุ บาํ รุงตบั และไต เสรมิ อสุจแิ ละ 肉桂 (研粉) โร่วกยุ้ (เอยี๋ นเฝ่ิน) เผด็ ขม บาํ รุงเลอื ด หา้ มเลอื ด (อบเชยจนี บดเป็นผง) เผด็ รอ้ น เสรมิ หยาง บาํ รุงธาตไุ ฟใน อมหวาน ระบบไต ขบั ความเยน็ ระงบั ปวด เพม่ิ ความอบอ่นุ ใหช้ ่ี ไหลเวยี น 姜炭 เจยี งถา้ น ตวั ยาช่วย อ่นุ ใหค้ วามอบอ่นุ แก่ปอดและ (ขงิ แก่เผาเป็นถ่าน) กระเพาะอาหาร ระงบั อาเจยี น ระงบั ไอ ดูดซบั พษิ 麻黄 หมาหวง ตวั ยาช่วย อ่นุ ขบั เหงอ่ื ขบั พษิ ไข้ กระจาย เลก็ นอ้ ย* ช่ปี อด บรรเทาหอบ 白芥子 ไป๋เจ้ยี จอ่ื ตวั ยาช่วย อ่นุ อ่นุ ปอด ช่วยใหช้ ่ไี หลเวยี น (เมลด็ พรรณผกั กาด) ขบั เสมหะ ระงบั ไอ บรรเทา อาการหอบ กระจายการคงั่ สลายเมอื กทส่ี ะสมอยู่ใต้ ผวิ หนงั และระหวา่ งกลา้ มเน้อื ระงบั ปวด 生甘草 เซงิ กนั เฉ่า ตวั ยานาํ พา สุขมุ เสรมิ ช่ี บาํ รุงส่วนกลาง ขบั พษิ (ชะเอมเทศ) ระงบั ไอ ขบั เสมหะ ปรบั ประสานตวั ยาทง้ั หมดใหเ้ขา้ กนั * สาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา อนุญาตใหย้ าทผ่ี ลติ ข้นึ โดยมลี าํ ตน้ และ/หรอื ก่งิ เอเฟดรา (Ephedra) คดิ เป็นนาํ้ หนกั ลาํ ตน้ และ/ หรอื ก่งิ แหง้ สาํ หรบั รบั ประทานในม้อื หน่งึ ไมเ่ กนิ 2 กรมั

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 503 ตาํ รบั ยาน้ีประกอบดว้ ยสูต้เี ป็นตวั ยาหลกั มสี รรพคุณบาํ รุงและช่วยใหเ้ ลอื ดอุ่น ลู่เจ่ียวเจยี ว เป็นตวั ยาเสรมิ ช่วยบาํ รุงไขกระดูกและช่วยเพม่ิ จงิ (精 หมายถงึ สารจาํ เป็นในร่างกาย) ทาํ ใหเ้อน็ และ กระดูกแขง็ แรง และช่วยเสรมิ สรรพคุณในการบาํ รุงเลอื ดของสูต้ี ตวั ยาช่วย ไดแ้ ก่ เจยี งถา้ นและโร่วกุย้ (เอยี๋ นเฝ่ิน) มสี รรพคุณช่วยอ่นุ และทะลวงเสน้ ลมปราณ สลายความเยน็ ทจ่ี บั ตวั หมาหวงช่วยเปิดรูขมุ ขน และกลา้ มเน้ือเพือ่ กระจายความเยน็ ออกสู่ภายนอก และไป๋เจ้ียจื่อช่วยขบั เมอื กที่สะสมระหว่าง กลา้ มเน้ือกบั ใตผ้ วิ หนงั เซงิ กนั เฉ่าเป็นตวั ยานาํ พา มสี รรพคณุ ขจดั พษิ และปรบั ประสานตวั ยาทง้ั หมดให้ เขา้ กนั 1,3 รูปแบบยาในปจั จบุ นั ยาตม้ ยาลูกกลอน4 ขอ้ หา้ มใช้ ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ หา้ มใชก้ บั ผูป้ ่วยกลุ่มอาการหยาง หรือมอี าการกาํ้ ก่ึงระหว่างกลุ่มอาการหยางและอิน หรือ ผูป้ ่วยทม่ี อี าการอนิ พร่องและมคี วามรอ้ น และหา้ มใชห้ มาหวงเกนิ ปรมิ าณทก่ี าํ หนด1,3 ขอ้ มูลวชิ าการท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาทางเภสชั วิทยา: ตาํ รบั ยาน้ีมฤี ทธ์ิป้ องกนั การอกั เสบของกระดูกอ่อนขอ้ ต่อใน กระต่าย5 การศึกษาทางคลินิก: เมื่อนาํ เช้ือวณั โรคปอดจากเสมหะผูป้ ่วยมาศึกษาในหลอดทดลอง พบวา่ ยาตม้ สามารถฆ่าเช้อื ได้ มรี ายงานการศึกษาวจิ ยั ทางคลนิ ิกหลายฉบบั ทแ่ี สดงวา่ ตาํ รบั ยาน้ีสามารถ รกั ษาผูป้ ่วยวณั โรคกระดูกไดผ้ ลดี นอกจากน้ี ยงั พบว่ายาตม้ สามารถรกั ษาอาการหมอนรองกระดูกสนั หลงั โป่งออกหรอื กระดูกสนั หลงั หนาข้นึ หลอดเลอื ดอกั เสบจากลม่ิ เลอื ดอดุ ตนั ประสาทส่วนกลางอกั เสบ ไข- กระดูกสนั หลงั อกั เสบชนิดเร้อื รงั แผลมหี นอง หลอดลมอกั เสบและไอหอบชนิดเร้ือรงั และการเตน้ ของ หวั ใจผดิ ปกต4ิ เอกสารอา้ งองิ 1. Zhang E. Prescriptions of Traditional Chinese Medicine: A Practical English-Chinese Library of Traditional Chinese Medicine. 6th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 2. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English Glossary of Common Terms in Traditional Chinese Medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 3. เยน็ จติ ร เตชะดาํ รงสนิ , สมชาย จริ พนิ ิจวงศ.์ ตาํ รบั ยาหยางเหอทงั . [เอกสารแปลเพอ่ื การจดั ทาํ ฐานขอ้ มลู ยาสมนุ ไพรจนี ]. นนทบรุ :ี สถาบนั การแพทยไ์ ทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข, 2552.

504 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง 4. Li Y, Wang XD. Yanghe Tang. In: Xia M (ed.). Modern Study of the Medical Formulae in Traditional Chinese Medicine. Vol. 2. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997. 5. Chen ZW, Chen YQ. Effects of Yanghe Decoction on vascular endothelial growth factor in cartilage cells of osteoarthritis rabbits. Zhong Xi Yi Jie He Xue Bao 2008; 6(4): 372-5.

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 505 เหว่ยจ์ งิ ทงั (苇茎汤) ตาํ ราตน้ ตาํ รบั 千金要方 เชยี นจนิ เอ้ยี วฟาง (Thousand Golden Prescriptions)1 « ค.ศ. 652 Sun Simiao (孙思邈 ซุนซอื เหมย่ี ว) »2 สว่ นประกอบ Rhizoma Phragmitis เหวย่ จ์ งิ 30 กรมั Semen Coicis อ้อี เ่ี หรนิ 30 กรมั 苇茎 Semen Benincasae ตงกวาจ่อื 24 กรมั 薏苡仁 Semen Persicae เถาเหรนิ 9 กรมั 冬瓜子 桃仁 วธิ ีใช้ ตม้ เอานาํ้ ดม่ื 1,3 การออกฤทธ์ิ ขบั รอ้ น ละลายเสมหะ ขจดั การคงั่ และขบั หนอง1,3 สรรพคณุ รกั ษากลุม่ อาการทม่ี กี ารคงั่ ของเสมหะรอ้ นทาํ ใหเ้ป็นฝีในปอด โดยมอี าการไอ เสมหะขน้ เหลอื ง มหี นองเลอื ดปน มกี ลน่ิ เหมน็ คาว ไอมากจนมคี วามรูส้ กึ เจบ็ ลกึ ๆ ในทรวงอก ล้นิ แดง ฝ้าเหลอื งเหนียว 1,3 ชพี จรลน่ื เรว็ ตาํ รบั ยาน้ีสามารถเพ่มิ หรือลดขนาดยาใหเ้ หมาะสมสาํ หรบั ผูป้ ่วยท่มี ฝี ีในปอด ปอดอกั เสบท่มี ี เสมหะรอ้ นในปอด1,3

506 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง ตาํ รบั ยา เหว่ยจ์ งิ ทงั (苇茎汤) เหวย่ จ์ งิ (苇茎) 2 เซนตเิ มตร อ้อี เ่ี หรนิ (薏2苡เซน仁ตเิ ม)ตร ตงกวาจอ่ื (冬瓜2 เซ子นตเิ ม)ตร เถาเหรนิ (桃2仁เซน)ตเิ มตร

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 507 คาํ อธบิ ายตาํ รบั สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ 苇茎 เหวย่ จ์ งิ ตวั ยาหลกั อมหวาน (หญา้ แขม) เยน็ มาก ลดไข้ บรรเทาอาการรอ้ นใน ตวั ยาเสรมิ จดื 薏苡仁 อ้อี เ่ี หรนิ อมหวาน กระหายนาํ้ เพม่ิ ความช่มุ ช้นื (ลูกเดอื ย) ตวั ยาเสรมิ ตวั ยาช่วย อมหวาน ใหป้ อดและกระเพาะอาหาร 冬瓜子 ตงกวาจอ่ื (เมลด็ ฟกั ) ขม ระงบั คลน่ื ไสอ้ าเจยี น ระงบั ไอ อมหวาน 桃仁 เถาเหรนิ มเี สมหะเหลอื งเขม้ จากภาวะ (เมลด็ ทอ้ ) ปอดอกั เสบ เยน็ สลายความช้นื ขบั ปสั สาวะ เลก็ นอ้ ย บรรเทาอาการบวมนาํ้ เสรมิ บาํ รุงมา้ ม บรรเทาอาการ ปวดขอ้ ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเน้อื บรรเทาอาการปอดอกั เสบ ลาํ ไสอ้ กั เสบ ขบั หนอง เยน็ ระบายความรอ้ นของปอด เลก็ นอ้ ย ขบั เสมหะ บรรเทาอาการ ปอดอกั เสบ ลาํ ไสอ้ กั เสบ และขบั หนอง สุขมุ ช่วยใหเ้ลอื ดในระบบตบั และ หวั ใจไหลเวยี นดี กระจาย เลอื ดคงั่ รกั ษาภาวะขาด ประจาํ เดอื น ปวดประจาํ เดอื น หลอ่ ลน่ื ลาํ ไส้ ระบายอ่อน ๆ ตาํ รบั ยาน้ีประกอบดว้ ยเหว่ยจ์ งิ เป็นตวั ยาหลกั มสี รรพคุณขจดั ความรอ้ นในปอด ตวั ยาเสริม ไดแ้ ก่ อ้อี เ่ี หรนิ และตงกวาจอ่ื ช่วยขบั เสมหะรอ้ น ระบายความช้นื และขบั หนอง เถาเหรนิ เป็นตวั ยาช่วย ช่วยใหเ้ลอื ดไหลเวยี นดขี ้นึ และสลายการคงั่ ของเลอื ด1,3

508 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง รูปแบบยาในปจั จบุ นั ยาตม้ 4 ขอ้ มูลวชิ าการท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาทางเภสชั วทิ ยา: ยาตม้ มฤี ทธ์บิ รรเทาอาการอ่อนเพลยี และเสรมิ สรา้ งระบบภูมคิ ุม้ กนั ในหนูถบี จกั ร4 การศึกษาทางคลนิ ิก: ยาตม้ มสี รรพคุณบรรเทาอาการฝีในปอด ปอดอกั เสบ หลอดลมอกั เสบ ไอเร้อื รงั จมกู อกั เสบ และขากรรไกรบนอกั เสบ4 เอกสารอา้ งองิ 1. Zhang E. Prescriptions of Traditional Chinese Medicine: A Practical English-Chinese Library of Traditional Chinese Medicine. 6th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 2. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English Glossary of Common Terms in Traditional Chinese Medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 3. เยน็ จติ ร เตชะดาํ รงสนิ , สมชาย จริ ะพนิ จิ วงศ.์ ตาํ รบั ยาเหว่ยจ์ งิ ทงั . [เอกสารแปลเพอ่ื การจดั ทาํ ฐานขอ้ มลู ยาสมนุ ไพรจนี ]. นนทบรุ :ี สถาบนั การแพทยไ์ ทย-จนี เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข, 2552. 4. Li Y, Wang XD. Weijing Tang. In: Xia M (ed.). Modern Study of the Medical Formulae in Traditional Chinese Medicine. Vol. 2. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997.

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 509 ตา้ หวงหมู่ตนั ทงั (大黄牡丹汤) ตาํ ราตน้ ตาํ รบั 金匮要略 จนิ คุ่ยเอ้ยี วเลย่ี (Synopsis of Prescriptions of the Golden Chamber)1 « ค.ศ. 219 Zhang Zhongjing (张仲景 จางจง้ จ่งิ ) »2 ประกอบดว้ ย Radix et Rhizoma Rhei ตา้ หวง 18 กรมั Natrii Sulphas หมางเซยี ว 9 กรมั 大黄 Cortex Moutan Radicis หมตู่ นั ผี 9 กรมั 芒硝 Semen Persicae เถาเหรนิ 12 กรมั 牡丹皮 Semen Benincasae ตงกวาจอ่ื 30 กรมั 桃仁 冬瓜子 วธิ ีใช้ ตม้ เอานาํ้ ดม่ื 1,3 การออกฤทธ์ิ ระบายความรอ้ น ทะลวงการคงั่ และสลายการเกาะตวั ของเลอื ด ลดอาการบวม1,3 สรรพคณุ รกั ษาฝีในลาํ ไสร้ ะยะแรกท่ยี งั ไมก่ ลดั หนอง โดยมอี าการเหงอ่ื ออก ตวั รอ้ น ปวดทอ้ งดา้ นขวา- ส่วนลา่ ง เวลากดแลว้ เจบ็ หรอื ขาขวายดื ไมไ่ ด1้ ,3 ตาํ รบั ยาน้ีสามารถเพ่มิ หรือลดขนาดยาใหเ้ หมาะสมสาํ หรบั ผูป้ ่วยกลุ่มอาการรอ้ นช้ืนท่มี กี าร- อกั เสบเฉียบพลนั ของกระดูกกน้ กบ อุง้ เชิงกราน และบริเวณโดยรอบ เช่น ไสต้ ่ิง ท่ออสุจิ รงั ไข่และ 1,3 ท่อรงั ไข่ และผูป้ ่วยท่มี ฝี ีหนองในลาํ ไสท้ ่เี กิดจากความรอ้ นช้ืนและเสมหะอุดกนั้

510 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง ตาํ รบั ยา ตา้ หวงหมู่ตนั ทงั (大黄牡丹汤) ตา้ หวง (大黄) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร หมางเซยี ว (芒硝) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร หมตู่ นั ผี (牡丹皮) เถาเหรนิ (桃仁) ตงกวาจ่อื (冬瓜子)

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 511 คาํ อธบิ ายตาํ รบั สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ 大黄 ตา้ หวง (โกฐนาํ้ เตา้ ) ตวั ยาหลกั ขม เยน็ ขบั ถา่ ยของเสยี ตกคา้ ง สลายกอ้ น 芒硝 หมางเซยี ว ระบายความรอ้ น หา้ มเลอื ดขจดั พษิ (ดเี กลอื ) 牡丹皮 หมตู่ นั ผี ช่วยใหเ้ลอื ดมกี ารไหลเวยี นดขี ้นึ (เปลอื กรากโบตนั๋ ) 桃仁 เถาเหรนิ ตวั ยาเสรมิ เคม็ อมขม เยน็ ขบั ถ่าย สลายกอ้ นอจุ จาระทแ่ี ขง็ (เมลด็ ทอ้ ) ใหอ้ ่อนตวั ลง ระบายความรอ้ น 冬瓜子 ตงกวาจอ่ื (เมลด็ ฟกั ) ตวั ยาเสรมิ ขมอมเผด็ เยน็ ทาํ ใหเ้ลอื ดเยน็ ลง ระบายความรอ้ น เลก็ นอ้ ย ขบั ความรอ้ นทห่ี ลบอยู่ในเลอื ด ตวั ยาช่วย ขม สุขมุ ช่วยใหเ้ลอื ดในระบบตบั และหวั ใจ อมหวาน หมนุ เวยี นดี กระจายเลอื ดคงั่ รกั ษาประจาํ เดอื นไมม่ า บรรเทา อาการปวดประจาํ เดอื น หลอ่ ลน่ื ลาํ ไส้ ระบายอ่อน ๆ ตวั ยาช่วย อมหวาน เยน็ ระบายความรอ้ นของปอด ขบั เลก็ นอ้ ย เสมหะ บรรเทาอาการปอดอกั เสบ ลาํ ไสอ้ กั เสบ และขบั ฝีหนอง ตาํ รบั ยาน้ีประกอบดว้ ยตา้ หวงเป็นตวั ยาหลกั มีสรรพคุณขบั พิษรอ้ นช้ืนและของของเสียท่ี ตกคา้ งและคงั่ อยู่ในลาํ ไส้ ตวั ยาเสรมิ ไดแ้ ก่ หมางเซยี วมสี รรพคุณสลายกอ้ นแขง็ ใหอ้ ่อนลง ช่วยตา้ หวง ขบั ถ่ายของเสยี ลงดา้ นลา่ ง หมตู่ นั ผชี ่วยใหเ้ลอื ดเยน็ ลง ตวั ยาช่วย ไดแ้ ก่ เถาเหรนิ มสี รรพคุณขจดั เลอื ด คงั่ ช่วยการออกฤทธ์ขิ องหมตู่ นั ผี ตงกวาจ่อื ช่วยระบายความรอ้ นช้นื ในลาํ ไส้ ขบั ฝีหนอง1,3 รูปแบบยาในปจั จุบนั ยาตม้ 4 ขอ้ หา้ มใช้ ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ ควรระมดั ระวงั การใชก้ บั ผูส้ ูงอายุ สตรมี คี รรภ์ และผูท้ ม่ี รี ่างกายอ่อนแอหรอื พร่องเกนิ ไป1,3

512 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง ขอ้ มูลวชิ าการท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาทางเภสชั วิทยา: ตาํ รบั ยาน้ีมฤี ทธ์ิตา้ นเช้ือจุลนิ ทรียใ์ นหลอดทดลอง มีฤทธ์ิ ตา้ นอกั เสบ ช่วยใหก้ ารทาํ งานของกลา้ มเน้ือลาํ ไสข้ องกระต่ายและสุนขั ดขี ้นึ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการขบั ของเหลวในลาํ ไสข้ องกบและสุนขั และมฤี ทธ์เิ สรมิ ภมู คิ มุ้ กนั ในกระต่าย4 การศึกษาทางคลนิ ิก: ตาํ รบั ยาน้ีมสี รรพคุณบรรเทาอาการอกั เสบ ตา้ นเช้ือจลุ นิ ทรีย์ ช่วยขบั พษิ รอ้ นช้นื และของเสยี ทต่ี กคา้ งและคงั่ อยู่ในลาํ ไส้ ขจดั ฝีหนอง บรรเทาอาการถงุ นาํ้ ดอี กั เสบเฉียบพลนั ต่อมทอนซลิ อกั เสบในเดก็ 1,4 เอกสารอา้ งองิ 1. Zhang E. Prescriptions of Traditional Chinese Medicine: A Practical English-Chinese Library of Traditional Chinese Medicine. 6th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 2. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English Glossary of Common Terms in Traditional Chinese Medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 3. จรสั ตงั้ อร่ามวงศ.์ ตาํ รบั ยาไตห้ วงหมตู่ นั ทงั . [เอกสารแปลเพอ่ื การจดั ทาํ ฐานขอ้ มลู ยาสมนุ ไพรจนี ]. นนทบรุ :ี สถาบนั การแพทย์ ไทย-จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ , 2551. 4. Li Y, Wang XD. Da Huang Mu Dan Tang. In: Xia M (ed.). Modern Study of the Medical Formulae in Traditional Chinese Medicine. Vol. 2. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997.

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 513 อ้อี ฟ่ี ่ จู อ่ื ไป้ เจ้ยี งสา่ น (薏苡附子败酱散) ตาํ ราตน้ ตาํ รบั 金匮要略 จนิ คุ่ยเอ้ยี วเลย่ี (Synopsis of Prescriptions of the Golden Chamber)1 « ค.ศ. 219 Zhang Zhongjing (张仲景 จางจง้ จง่ิ ) »2 สว่ นประกอบ Semen Coicis อ้อี เ่ี หรนิ 30 กรมั Herba Patriniae ไป้เจ้ยี งเฉ่า 15 กรมั 薏苡仁 Radix Aconiti Praeparata สูฟู่จอ่ื 6 กรมั 败酱草 熟附子 วธิ ีใช้ ตม้ เอานาํ้ ดม่ื 1,3 การออกฤทธ์ิ ขบั หนอง ลดบวม1,3 สรรพคณุ รกั ษากลุ่มอาการเป็นฝีท่กี ลดั หนองในลาํ ไส้ ผวิ หนงั หยาบกรา้ นเป็นเกลด็ เลบ็ บางฉีกแตกงา่ ย 1,3 ไมม่ ไี ข้ หนงั ทอ้ งตงึ ปวดแน่นบรเิ วณดา้ นลา่ งของช่องทอ้ งดา้ นขวา เมอ่ื กดแลว้ รูส้ กึ น่มิ ชพี จรเรว็ ตาํ รบั ยาน้ีสามารถเพม่ิ หรือลดขนาดยาใหเ้หมาะสมสาํ หรบั ผูป้ ่วยไสต้ ่ิงอกั เสบเร้ือรงั ท่กี ลดั หนอง แลว้ 1,3

514 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง ตาํ รบั ยา อ้อี ฟ่ี ่ จู อ่ื ไป้ เจ้ยี งสา่ น (薏苡附子败酱散) อ้อี เ่ี หรนิ (薏苡仁) 2 เซนตเิ มตร ไป้เจ้ยี งเฉ่า (败2酱เซน草ตเิ ม)ตร สูฟู่จ่อื (熟附子2 เซน)ตเิ มตร

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 515 คาํ อธิบายตาํ รบั สมนุ ไพร ทาํ หนา้ ท่ี รส คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ 薏苡仁 อ้อี เ่ี หรนิ ตวั ยาหลกั จดื (ลูกเดอื ย) อมหวาน เยน็ สลายความช้นื ขบั ปสั สาวะ ตวั ยาเสรมิ 败酱草 ไป้เจ้ยี งเฉ่า ตวั ยาช่วย เผด็ อมขม เลก็ นอ้ ย บรรเทาอาการบวมนาํ้ เสรมิ 熟附子 สูฟู่จ่อื เผด็ บาํ รุงมา้ ม บรรเทาอาการปวด- (รากแขนงของ โหราเดอื ยไก่ทผ่ี า่ น ขอ้ ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเน้อื การฆ่าฤทธ์)ิ บรรเทาอาการปอดอกั เสบ ลาํ ไสอ้ กั เสบ ขบั หนอง เยน็ ระบายความรอ้ น ขบั พษิ เลก็ นอ้ ย สลายฝี ขบั หนอง สลายเลอื ดคงั่ ระงบั ปวด รอ้ น ดงึ พลงั หยางทส่ี ูญเสยี ไปให้ (มพี ษิ ) * กลบั คนื มา เสรมิ หยาง บาํ รุง ธาตไุ ฟ สลายความเยน็ ระงบั ปวด ตาํ รบั ยาน้ีประกอบดว้ ยตวั ยาหลกั คอื อ้อี เ่ี หรนิ มสี รรพคุณระบายความช้นื ลดบวม ตวั ยาเสริม คือ ไป้เจ้ียงเฉ่า ช่วยขบั กระจายเลอื ดคงั่ และขบั หนอง สูฟู่จ่ือเป็นตวั ยาช่วย ใชใ้ นปริมาณนอ้ ย รสเผด็ รอ้ น มสี รรพคณุ สลายความเยน็ ช้นื ทาํ ใหก้ ารไหลเวยี นของช่ดี ขี ้นึ 1,3 รูปแบบยาในปจั จบุ นั ยาตม้ 4 ขอ้ หา้ มใช้ ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ 1,3 หา้ มใชต้ าํ รบั ยาน้กี บั กรณีไสต้ ่งิ อกั เสบเฉียบพลนั ทย่ี งั ไมก่ ลดั หนอง * ฟู่จอ่ื เป็นสมนุ ไพรทม่ี พี ษิ ตอ้ งฆ่าฤทธ์ยิ าก่อนใช้

516 ตาํ รบั ยารกั ษาแผล ฝีหนอง ขอ้ มูลวชิ าการท่เี ก่ยี วขอ้ ง การศึกษาทางคลินิก: ตาํ รบั ยาน้ีมสี รรพคุณรกั ษาโรคไสต้ ่ิงอกั เสบทงั้ เฉียบพลนั และเร้ือรงั ถงุ นาํ้ ดอี กั เสบเร้อื รงั และโพรงกระดูกเชงิ กรานอกั เสบเร้อื รงั 1,3,4 เอกสารอา้ งองิ 1. Zhang E. Prescriptions of Traditional Chinese Medicine: A Practical English-Chinese Library of Traditional Chinese Medicine. 6th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 1999. 2. Ou M, Lu X, Li Y, Lai SL, Chen XQ, Huang YZ, Chen JF, Shen C, Zhen WW. Chinese-English Glossary of Common Terms in Traditional Chinese Medicine. 1st ed. Hong Kong: Joint Publishing Co., 1982. 3. จรสั ตง้ั อร่ามวงศ,์ เย็นจติ ร เตชะดาํ รงสนิ , ธีรวฒั น์ ตง้ั อร่ามวงศ.์ ตาํ รบั ยาอ้อี ่ฟี ู่จ่ือไป้ เจ้ียงส่าน. [เอกสารแปลเพ่อื การจดั ทาํ ฐานขอ้ มูลยาสมนุ ไพรจีน]. นนทบุรี: สถาบนั การแพทยไ์ ทย-จีน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและ การแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ , 2552. 4. Li Y, Wang XD. Yiyi Fuzi Baijiang San. In: Xia M (ed.). Modern Study of the Medical Formulae in Traditional Chinese Medicine. Vol. 2. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997.

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 517 ภาคผนวก 1 : รายช่ือตาํ รบั ยาจนี รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ เจก็ กว้ งเจยี 一贯煎 Yiguan Jian อกี ว้ นเจยี น โป๊ ยเจ้ยี ซวั่ 八正散 หยถ่ี ง่ิ ทงึ 二陈汤 Bazheng San ปาเจ้งิ ส่าน กวิ๋ บเ่ี กยี งอวั ะทงึ 九味羌活汤 ชวนเกยี งแต่เถย่ี วซวั่ 川芎茶调散 Erchen Tang เออ้ รเ์ ฉินทงั ตวั่ โป้วอมิ อี๊ 大补阴丸 ไต่เสง่ ค่ที งึ 大承气汤 Jiuwei Qianghuo Tang จ่วิ เวย่ เ์ ชยี งหวั ทงั ตวั่ องึ๊ หูจ่ อื ทงึ 大黄附子汤 ตวั่ องึ๊ โบวตวั ทงึ 大黄牡丹汤 Chuanxiong Chatiao San ชวนซฺยงฉาเถยี วสา่ น ซาํ จ้อื เอ้ยี งชงิ ทงึ 三子养亲汤 เซยี วฉ่าโอ่วทงึ 小柴胡汤 Da Buyin Wan ตา้ ปู่อนิ หวาน เซย่ี วเส่งค่ที งึ 小承气汤 เซย่ี วอวั ะลกตงั 小活络丹 Da Chengqi Tang ตา้ เฉิงช่ที งั เสย่ี วกอี๋ ม่ิ จอื๋ 小蓟饮子 เซยี วเก่ยี งตงทงึ 小建中汤 Dahuang Fuzi Tang ตา้ หวงฟู่จอ่ื ทงั เซยี วแชเหลง่ ทงึ 小青龙汤 หลกั บต่ี ่อี ง่ึ อี๊ 六味地黄丸 Dahuang Mudan Tang ตา้ หวงหมตู่ นั ทงั เทยี นอว๊ งโป่วซมิ ตงั 天王补心丹 โหงวเหลง่ ซวั่ 五苓散 Sanzi Yangqin Tang ซานจ่อื หยงั่ ชนิ ทงั โหงวพว้ ยสวั่ 五皮散 จ้เี ซา่ สวั่ 止嗽散 Xiao Chaihu Tang เสย่ี วไฉหูทงั Xiao Chengqi Tang เสย่ี วเฉิงช่ที งั Xiao Huo Luo Dan เสย่ี วหวั ลวั่ ตนั Xiaoji Yinzi เสย่ี วจอี๋ นิ๋ จอ่ื Xiao Jianzhong Tang เสย่ี วเจ้ยี นจงทงั Xiao Qinglong Tang เสย่ี วชงิ หลงทงั Liuwei Dihuang Wan ลว่ิ เวย่ ต์ ้หี วงหวาน Tianwang Buxin Dan เทยี นหวางปู่ซนิ ตนั Wuling San อู่หลงิ ส่าน Wupi San อู่ผสี า่ น Zhisou san จ่อื โซ่วส่าน

518 ภาคผนวก 1 : รายชอ่ื ตาํ รบั ยาจนี รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไป๋หูท่ งั แปะโฮวทงึ 白虎汤 Baihu Tang ไป๋โถวเวงิ ทงั แปะเถ่าองทงึ 白头翁汤 Baitouweng Tang ปน้ั เซย่ี ไป๋จูเ๋ ทยี นหมา ปวั ๊ แห่แปะตกุ๊ 半夏白术天麻 ทงั เทยี นหมวั่ ทงึ 汤 Banxia Baizhu Tianma ปนั้ เซย่ี โฮ่วผอทงั ปวั้ แห่เก่าพกทงึ Tang ปน้ั เซย่ี เซย่ี ซนิ ทงั ปวั้ แหเ่ ซย่ี ซมิ ทงึ 半夏厚朴汤 Banxia Houpo Tang กยุ ผที งั กยุ ป่ีทงึ 半夏泻心汤 Banxia Xiexin Tang เจยี เจย่ี นเวยห์ รุยทงั เกยี เก้ยี มอยุ ซยุ้ ทงึ 归脾汤 Guipi Tang หลงต่านเซย่ี กานทงั เหลง่ ตา้ เซย่ี กวั ทงึ 加减葳蕤汤 Jiajian Weirui Tang ผงิ เวย่ ส์ ่าน เผง่ อ่ยุ ซวั่ 龙胆泻肝汤 Longdan Xiegan Tang เซงิ ฮวฺ า่ ทงั แซฮ่วยทงึ 平胃散 Pingwei San เซงิ มา่ ยสา่ น แซแหมะซวั่ 生化汤 Shenghua Tang ซอ่ื จวฺ นิ จอ่ื ทงั ซก่ี งุ จอื ทงึ 生脉散 Shengmai San ซอ่ื เมย่ี วหย่งอนั ทงั ซเ่ี หมยี วย่งองั ทงึ 四君子 Si Junzi Tang ซอ่ื หน้ีส่าน ซเ่ี หงก็ ซวั่ 四妙勇安汤 Simiao Yongan Tang ซอ่ื หน้ที งั ซเ่ี หงก็ ทงึ 四逆散 Sini San ซอ่ื เสนิ หวาน ซส่ี ง่ิ อี๊ 四逆汤 Sini Tang ซอ่ื อูท้ งั ซห่ี มว่ ยทงึ 四神丸 Sishen Wan ยวฺ น่ี ฺหวเ่ี จยี น เหงก็ นึงเจยี 四物汤 Siwu Tang ยวฺ ผ่ี งิ เฟิงส่าน เหงก็ ผง่ิ ฮวงซวั่ 玉女煎 Yunu Jian ไป่เหอกูจ้ นิ ทงั แป๊ ะฮะกูก้ มิ ทงึ 玉屏风散 Yupingfeng San ตงั กยุ ซอ่ื หน้ีทงั ตงั กยุ ซเ่ี หงก็ ทงึ 百合固金汤 Baihe Gujin Tang เต่าเช่อส่าน เต่าเชยี ะซวั่ 当归四逆汤 Danggui Sini Tang 导赤散 Daochi San

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 519 รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ เจยี๊ กเอยี๊ ะทงึ 芍药汤 Shaoyao Tang เสาเย่าทงั ฮ่วยฮู่ตกอูท๊ งึ 血府逐瘀汤 เอย่ี งหวั่ ทงึ 阳和汤 Xuefu Zhuyu Tang เซฺวย่ี ฝู่จูย๋ วฺ ที งั เตก็ เฮยี ะเจยี ะกอทงึ 竹叶石膏汤 โป๋วเอยี๊ งห่วงโหงวทงึ 补阳还五汤 Yanghe Tang หยางเหอทงั โปวตงเอยี๊ ะค่ที งึ 补中益气汤 แบะหมง่ึ ตงทงึ 麦门冬汤 Zhuye Shigao Tang จูเ๋ ยย่ี สอื เกาทงั เกยี งอวั ๊ ะเซง่ ซบิ ทงึ 羌活胜湿汤 โซวจ้อื กงั้ ค่ที งึ 苏子降气汤 Buyang Huanwu Tang ปู่หยางหวนอู่ทงั อ่ยุ แกท้ งึ 苇茎汤 โหงว่ จูหยู่ทงึ 吴茱萸汤 Buzhong Yiqi Tang ปู่จงอ้ชี ่ที งั ไป่ตกั ซวั่ 败毒散 เตย่ี ช่วงทงึ 定喘汤 Maimendong Tang ไมเ่ หมนิ ตงทงั เหลง่ กาํ โงวบเ่ี กยี งซงิ 苓甘五味姜辛 ทงึ 汤 Qianghuo Shengshi Tang เชยี งหวั เซง่ิ ซอื ทงั เหลง่ ก่ยุ ตกุ กาํ ทงึ เซยี มเหลง็ แปะตกุ ทงึ 苓桂术甘汤 Suzi Jiangqi Tang ซูจอ่ื เจ้ยี งช่ที งั เสย่ี งค่อี ี๊ 参苓白术散 เปาหวั่ อี๊ 肾气丸 Weijing Tang เหวย่ จ์ งิ ทงั เก็งหงวั่ อง่ิ ฮงึ 保和丸 เซย่ี แปะซวั่ 宫外孕方 Wuzhuyu Tang หวูจูยหฺ วที งั เซย่ี อง่ึ ซวั่ 泻白散 เอยี งอมิ เชง็ ฮ่ยุ ทงึ 泻黄散 Baidu San ป้ายตูส๋ า่ น 养阴清肺汤 Dingchuan Tang ต้งิ ฉ่วนทงั Ling Gan Wuwei Jiang หลงิ กนั อู่เวย่ เ์ จยี งซนิ Xin Tang ทงั Ling Gui Zhu Gan Tang หลงิ กยุ้ จูก๋ นั ทงั Shen Ling Baizhu San เซนิ หลงิ ไป๋จูส๋ า่ น Shenqi Wan เซน่ิ ช่หี วาน Baohe Wan เป่ าเหอหวาน Gongwaiyun Fang กงไวย่ วฺ น่ิ ฟาง Xiebai San เซย่ี ไป๋สา่ น Xiehuang San เซย่ี หวงสา่ น Yangyin Qingfei Tang หยงั่ อนิ ชงิ เฟ่ยท์ งั

520 ภาคผนวก 1 : รายชอ่ื ตาํ รบั ยาจนี รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ 茵陈蒿汤 Yinchenhao Tang อนิ เฉินเฮาทงั องิ ถง่ิ เกาทงึ 枳实导滞丸 Zhishi Daozhi Wan จอ่ื สอื เต่าจ้อื หวาน จซี๋ กิ เต่าทอ่ี ี๊ 枳实消痞丸 Zhishi Xiaopi Wan จ่อื สอื เซยี วผห่ี วาน จซี๋ กิ เซยี วผอี ี๊ 柴葛解肌汤 Chai Ge Jieji Tang ไฉเกอ๋ เจย่ี จที งั ฉ่ากวั ะโกยกที งึ 桂枝汤 Guizhi Tang กยุ้ จอื ทงั กยุ้ กที งึ 胶艾汤 Jiao Ai Tang เจยี วอา้ ยทงั กาเฮ่ยี ทงึ 桑菊饮 Sang Ju Yin ซงั จหฺ วอี น่ิ ซงึ เก็กอ้มิ 桑杏汤 Sang Xing Tang ซงั ซง่ิ ทงั ซงึ เหง่ ทงึ 调胃承气汤 Tiaowei Chengqi Tang เถยี วเวย่ เ์ ฉิงช่ที งั เถย่ี วอ่ยุ เสง่ ค่ที งึ 逍遥散 Xiaoyao San เซยี วเหยาส่าน เซยี วเอย่ี วซวั่ 真武汤 Zhen Wu Tang เจนิ อู่ทงั จงิ บูทงึ 真人养脏汤 Zhenren Yang Zang Tang เจนิ เหรนิ หยงั่ จงั้ ทงั จงิ ย้งิ เอยี งจงั่ ทงึ 黄连解毒汤 Huanglian Jiedu Tang หวงเหลยี นเจ่ยี ตูท๋ งั อง่ึ โนย้ โกยตกั ทงึ 羚角钩藤汤 Lingjiao Gouteng Tang หลงิ เจ่ยี วโกวเถงิ ทงั เหลง่ กกั เกาต่งิ ทงึ 理中丸 Lizhong Wan หลจ่ี งหวาน ลตี งอี๊ 麻黄汤 Mahuang Tang หมาหวงทงั หมวั่ อง่ึ ทงึ 麻 黄 杏 仁 石 膏 Mahuang Xingren หมาหวงซง่ิ เหรนิ สอื เกา หมวั่ องึ๊ เห่งย้งิ เจยี ะ 甘草汤 Shigao Gancao Tang กนั เฉ่าทงั กอกาํ เชาทงึ 麻子仁丸 Maziren Wan หมาจ่อื เหรนิ หวาน หมวั่ จอื๋ หยง่ิ อี๊ 清气化痰丸 Qingqi Huatan Wan ชงิ ช่ฮี วฺ า่ ถานหวาน เชง็ ขฮ่ี ่วยถาํ่ อี๊ 清暑益气汤 Qingshu Yiqi Tang ชงิ สูอ่ ้ชี ่ที งั เชง็ ซู่เอยี ะค่ที งึ 清胃散 Qingwei San ชงิ เวย่ ส์ ่าน เชง็ อ่ยุ ซวั่ 清营汤 Qingying Tang ชงิ องิ๋ ทงั เชง็ เหวง่ ทงึ 清燥救肺汤 Qingzao Jiufei Tang ชงิ จา้ วจ้วิ เฟ่ยท์ งั เชง็ เฉ่าก้วิ ฮ่ยุ ทงึ

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 521 รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ อนิ๋ เฉียวส่าน หงง่ิ เขย่ี วซวั่ 银翘散 Yinqiao San จูหลงิ ทงั ตอื เหลง่ ทงึ เวนิ ต่านทงั องุ ตา๋ ทงึ 猪苓汤 Zhuling Tang เวนิ จงิ ทงั องุ เกง็ ทงึ เวนิ ผที งั องุ ป่ีทงึ 温胆汤 Wendan Tang เยวฺ จ่ วฺ หี วาน อวกเกก๊ อี๊ ซนิ เจยี หวงหลงทงั ซงิ เกยี อง่ึ เหลง่ ทงึ 温经汤 Wenjing Tang ไหฺวฮวฺ าส่าน ห่วยฮวยซวั่ ซวนเจ่าเหรนิ ทงั ซงึ จอ๋ หยง่ิ ทงึ 温脾汤 Wenpi Tang จหฺ วผี จี ูห้ รูทงั กกิ๊ พว้ ยเตก๊ หยู่ทงึ อ้อี ฟ่ี ู่จ่อื ไป้เจ้ยี งส่าน อ้อี ห่ี ู่จ้อื ไป่เจ้ยี ซวั่ 越鞠丸 Yueju Wan ฮวั่ เซยี งเจ้งิ ช่สี า่ น คกั เฮยี เจ้ยี ค่ซี วั่ 新加黄龙汤 Xinjia Huanglong Tang 槐花散 Huaihua San 酸枣仁汤 Suanzaoren Tang 橘皮竹茹汤 Jupi Zhuru Tang 薏苡附子败酱散 Yiyi Fuzi Baijiang San 藿香正气散 Huoxiang Zhengqi San  

ราชาสมุนไพรจีน หลส่ี อื เจิน สถานทถ่ี ่ายภาพ: Traditional Chinese Medicine Expo 2008, International Trade Center, ปกั ก่งิ

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 523 ภาคผนวก 2 : รายช่ือตวั ยาจนี รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย 丁香 Dingxiang ตงิ เซยี ง เตง็ เฮยี กานพลู 人参 Renshen 人参 Renshen เหรนิ เซนิ หยง่ิ เซยี ม โสมคน (qulu) (去芦) Chuanbeimu เหรนิ เซนิ หยง่ิ เซยี ม โสมคนทเ่ี อาส่วน Chuanlianzi (ชฺวห่ี ลู) (ค่อื โลว้ ) 川贝母 Chuanwu หวั ออก 川楝子 ชวนเป้ยห์ มู่ ชวงป่วยบอ้ - 川乌 ชวนเลย่ี นจอ่ื ชวนเหลย่ี งจ้ี ผลเลย่ี น ชวนอู ชวงโอว รากแกว้ ของโหรา 川乌(制) Chuanwu (zhi) ชวนอู (จ้อื ) ชวงโอว (จ)่ี เดอื ยไก่ รากแกว้ ของโหรา เดอื ยไก่ทผ่ี า่ น การฆ่าฤทธ์แิ ลว้ 川芎 Chuanxiong ชวนซฺยง ชวงเกยี ง โกศหวั บวั 大腹皮 Dafupi ตา้ ฟู่ผี ไต่ปกั ๊ พว้ ย เปลอื กผลหมาก 大黄 Dahuang ตา้ หวง ตวั่ องึ๊ โกศนาํ้ เตา้ 大黄 (面裹煨, Dahuang ตา้ หวง (เมย่ี น - ตวั่ องึ๊ (หมกี อ๋ อยุ ค่อื โกศนาํ้ เตา้ ป้ิง 去面切,焙) (mianguowei, กวอ่ เวย่ ์ ชฺวเ่ี มย่ี น หมเ่ี ฉียก ป๋วย) qumianqie, bei) เชวฺ ย่ี เป้ย)์ 大戟 Daji ตา้ จี๋ ตวั่ เก็ก - 大生地 Dashengdi ตา้ เซงิ ต้ี ตวั่ แชต่ี โกศข้แี มวสด 大枣 Dazao ตา้ เจ่า ตวั่ จอ้ พทุ ราจนี 干地黄 Gandihuang กนั ต้หี วง กงั ตอ่ี งึ๊ โกศข้แี มวแหง้ 干姜 Gan Jiang กนั เจยี ง กงั เกยี ขงิ แหง้

524 ภาคผนวก 2 : รายชอ่ื ตวั ยาจนี รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย - 三棱 Sanling ซานหลงิ ซาํ เลง้ 山药 Shanyao ฮ่วยซวั 山楂 Shanzha ซานเย่า ซวั เอยี๊ ะ - 山栀子 Shanzhizi 山栀子仁 Shanzhiziren ซานจา ซวั จา ลูกพดุ 山茱萸 Shanzhuyu 小蓟 Xiaoji ซานจอื จอ่ื ซวั กจี ้อื เน้ือในเมลด็ ลูกพดุ 巴豆 Badou - 贝母 Beimu ซานจอื จอ่ื เหรนิ ซวั กจี อื๋ ย้งิ - Beimu (quxin) 贝母 (去心) ซานจูยหฺ วี ซวั จูยู ้ สลอด Cheqianzi - 车前子 Danpi เสย่ี วจี๋ เสย่ี วกี๋ - 丹皮 Danshen - 丹参 Mutong ปาโตว้ ปาต่าว 木通 Muxiang เปลอื กรากโบตนั๋ 木香 Niubangzi เป้ยห์ มู่ ป่วยบอ้ - 牛蒡子 Niuxi เป้ยห์ มู่ (ชวฺ ซ่ี นิ ) ป้วยบอ้ (ค่อื ซมิ ) - 牛膝 Shengma 升麻 Shuang gouteng เชอเฉียนจอ่ื เชยี ไจ่จ้ี โกศกระดูก 双钩藤 Shuiniujiao - 水牛角 Tiandong ตนั ผี ตงั พว้ ย 天冬 Tianma ตนั เซนิ ตงั เซยี ม พนั งนู อ้ ย 天麻 Tiannanxing - Wumei มทู่ ง บกั ทง 天南星 (制) เขาควายแมห่ ลูบ มเู่ ซยี ง บกั เฮยี 乌梅 เขาควาย หนวิ ป้างจอ่ื หงผู่ งั่ จ้ี - - หนวิ ซี หงูฉ่ ิก - เซงิ หมา เซง็ มว้ั บว๊ ยดาํ ซวงโกวเถงิ ซงั เกาตงิ๊ สุ่ยหนิวเจ่ยี ว จ่ยุ หงกู่ กั เทยี นตง เทยี นตง เทยี นหมา เทยี นมว้ั เทยี นหนานซงิ (จ้อื ) เทยี งหนาํ่ แช (จ)่ื อูเหมย โอวบว๊ ย

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 525 รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย - 乌头 Wutou อูโถว โอวทา้ ว - 五灵脂 Wulingzhi - 五味子 Wuweizi อู่หลงิ จอื โหงวเหลง่ จี 牙硝 Yaxiao ดนิ ประสวิ Aiye อู่เวย่ จ์ อ่ื โหงวบจ่ี ้ี - 艾叶 Baibiandou (jiangzhijin, หยาเซยี ว แหงเ่ ซยี ว ถวั่ แปบ 白扁豆 (姜 qupi, weichao) 汁津, 去皮, Baifuling อา้ ยเยย่ี เฮ่ยี เฮยี๊ ะ โป่ งรากสน 微炒) Baiguo ไป๋เป่ียนโตว้ แปะเป่ียงเต่า (เกยี Baiji (เจยี งจอ่ื จนิ ชวฺ ผ่ี ี จบั จงิ ค่อื พว้ ย แปะกว๊ ย 白茯苓 เวยเ์ ฉ่า) หมยุ่ ช่า) - 白果 Baijiezi 白笈 Bailian ไป๋ฝูหลงิ แปะหกเหลง็ เมลด็ พรรณผกั กาด 白芥子 - 白敛 Baiqian (zheng) ไป๋กวอ่ แปะกว้ ย - Baishao - 白前(蒸) ไป๋จี๋ แปะกบิ๊ - Baishao (chao) - 白芍 ไป๋เจ้ยี จ่อื แป๊ ะไกจ้ ้ี - Baitouweng ไป๋เลย่ี น แปะเน่ยี ม 白芍 (炒) ไป๋เฉียน (เจงิ ) แปะใจ๊ (เจง็ ) โกฐสอ Baiwei - 白头翁 Baizhi ไป๋เสา แปะเจยี ก - Baizhu ไป๋เสา (เฉ่า) แปะเจยี ก (ซ่า) - 白薇 Banxia - 白芷 ไป๋โถวเวงิ แปะเถา่ อง - 白术 Banxiaqu 半夏 Banxie (xi) ไป๋เวย์ แปะมยุ้ Banxie (zhi) ไป๋จอ่ื แปะจ้ี 半夏曲 ไป๋จู๋ แปะตกุ๊ 半夏 (洗) 半夏 (制) ปนั้ เซย่ี ปว้ั แห่ ปน้ั เซย่ี ชฺวี ปว้ั แห่ขกั ปน้ั เซย่ี (ส)่ี ปว้ั แห่ (โสย้ ) ปนั้ เซย่ี (จ้อื ) ปว้ั แห่ (จ่)ี

526 ภาคผนวก 2 : รายช่อื ตวั ยาจนี รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย - 北沙参 Beishashen เป่ยซ์ าเซนิ ปกั ๊ ซาเซยี ม 冬瓜子 Dongguazi เมลด็ ฟกั 冬桑叶 Dongsangye ตงกวาจ่อื ตงั กวยจ้ี ใบหมอ่ น 甘草 Gancao ตงซงั เยย่ี ตงั ซงึ เฮยี ะ 甘草 (生) Gancao (sheng) ชะเอมเทศ Gancao (chao) กนั เฉ่า กาํ เช่า 甘草(炒) กนั เฉ่า (เซงิ ) กาํ เช่า (แช) ชะเอมเทศ Gancao (zhi) กนั เฉ่า (เฉ่า) กาํ เช่า (ช่า) 甘草 (炙) กนั เฉ่า (จ้อื ) กาํ เช่า (เจ่ยี ) ชะเอมเทศผดั 甘遂 Gansui กนั สุย้ กาํ ซุย้ ชะเอมเทศ 瓜蒌 กวาโหลว กวยลู ้ ผดั นาํ้ ผ้งึ 瓜篓子 Gualou กวาโหลวจอ่ื กวยหลูจ่ ้ี 龙胆草 Gualouzi หลงต่านเฉ่า เหลง่ ต่าเฉ่า - 龙眼肉 หลงเหยย่ี นโร่ว เหลง่ งงั่ เน็ก - 生葱白 Longdancao - 生大黄 เซงิ ชงไป๋ แชชงั แป๊ ะ - 生地黄 Longyanrou เซงิ ตา้ หวง แชตวั่ องึ๊ เน้ือลาํ ไย 生姜 Shengcongbai เซงิ ต้หี วง แชต่อี งึ๊ 生姜皮 Shengdahuang เซงิ เจยี ง แชเกยี หอมจนี สด 生葳蕤 Shengdihuang เซงิ เจยี งผี 石膏 Shengjiang แชเกยี พว้ ย โกฐนาํ้ เตา้ ดบิ 石斛 เซงิ เวยห์ รุย แชอยุ ซยุ้ โกฐข้แี มวสด 石脂 Shengjiangpi สอื เกา เจยี ะกอ ขงิ สด 玄参 Shengweirui สอื หู สอื หู 玉竹 Shigao สอื จอื เจยี ะจี ผวิ ขงิ แก่สด เสฺวยี นเซนิ เหย่ี งเซยี ม - Shihu ยวฺ จ่ี ู๋ เงก็ เตก็ Shizhi เกลอื จดื Xuanshen เอ้อื งเคา้ ก่วิ Yuzhu - - -

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 527 รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย 百部 (蒸) ไป่ปู้ (เจงิ ) แป๊ ะโป๋ว (เจง็ ) - Baibu (zheng) แป๊ ะฮะ - 百合 Baihe ไป่ เหอ ตงั กยุ ตงั กยุ 当归 Danggui ตงั กยุ (ป่วยจ้วิ ) 当归 Danggui ตงั กยุ ตงั กยุ แช่เหลา้ (酒焙干) (jiubeigan) ตงั กยุ แลว้ ป้ิงใหแ้ หง้ 当归 Danggui ตงั กยุ (ฉาจ้วิ ) ตงั กยุ ผดั เหลา้ (酒浸炒) (jiujinchao) (จว่ิ เป้ยก์ นั ) ตงั กยุ ซงิ 当归身 Dangguishen ตงั กยุ ตงั กยุ เทา้ รากแกว้ ตงั กยุ 当归头 Dangguitou (จว่ิ จ้นิ เฉ่า) ตงั กยุ บว้ ย เหงา้ ตงั กยุ 当归尾 Dangguiwei ตงั กยุ เซนิ รากฝอยตงั กยุ หรอื โกฐเชยี ง 灯芯 ตงั กยุ โถว 地骨皮 - 地黄 ตงั กยุ เหวย่ ์ - 地龙 โกฐข้แี มว 防风 Dengxin เตงิ ซนิ เตง็ ซมิ 红花 Digupi ต้กี ู่ผี ต่กี กุ๊ พว้ ย ไสเ้ดอื นดนิ 红枣 Dihuang - 芒硝 ต้หี วง ต่อี งึ๊ 朴硝 Dilong ดอกคาํ ฝอย 全当归 Fangfeng ต้หี ลง ตเ่ี ลง้ 肉豆蔻 Honghua ฝางเฟิง ห่วงฮง พทุ ราจนี 肉桂 ดเี กลอื Hongzao หงฮวฺ า องั่ ฮวย ดเี กลอื 肉桂 (研粉) Mangxiao ตงั กยุ ทงั้ ราก Puxiao หงเจ่า องั่ จอ้ ลูกจนั ทนเ์ ทศ หมางเซยี ว หมงั่ เซยี ว เปลอื กอบเชยจนี Quandanggui Roudoukou ผูเ่ ซยี ว พกเซยี ว เปลอื กอบเชยจนี Rougui บดผง เฉฺวยี นตงั กยุ ฉ่วงตงั กยุ Rougui (yanfen) โร่วโตว้ โค่ว เหน็กเต่าโขว่ โร่วกยุ้ เหน็กก่ยุ โร่วกยุ้ (เอยี๋ นเฝ่ิน) เหน็กก่ยุ (ไหงฮ่งุ )

528 ภาคผนวก 2 : รายชอ่ื ตวั ยาจนี รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย Shaoyao เสาเย่า เจยี กเอยี ะ - 芍药 Xiguacuiyi ซกี วาเชวฺ ย่ อ์ ี ไซกวยชยุ้ อี เปลอื กผลแตงโม 西瓜翠衣 Xiyangshen ซหี ยางเซนิ ไซเอย่ี เซยี ม 西洋参 Zhuru จูห้ รู เตก็ ยู ้ โสมอเมรกิ นั 竹茹 Zhuye จูเ๋ ยย่ี เตก็ เฮยี ะ เปลอื กชน้ั กลาง 竹叶 ของลาํ ตน้ ไผด่ าํ A’jiao อาเจยี ว อากา หญา้ ขยุ ไมไ้ ผ่ หรอื 阿胶 Buguzhi ปู่กู่จอื โป๋วกกุ๊ จี ใบไผข่ ม 补骨脂 Cangzhu ชงั จู๋ ชงั ตกุ๊ กาวหนงั ลา 苍术 Chenjupi 陈橘皮 Chenpi เ ฉิ น จฺ ห วี ผี ถง่ิ กกิ พว้ ย - 陈皮 Chishao เฉินผี ถง่ิ พว้ ย 赤芍 Fuzi (pao) โกฐเขมา 附子(炮) เช่อเสา เช่อเสา ผวิ สม้ จนี ฟู่จ่อื (เผา้ ) หู่จ้อื (เผ่า) ผวิ สม้ จนี 龟板 (酥炒) Guiban (suchao) กยุ ปนั่ (ซูเฉ่า) กูปงั้ (โซวช่า) - 龟甲 (酥炒) Guijia (suchao) กยุ เจย่ี (ซูเฉ่า) กูกะ (โซวช่า) Hezi เหอจ่อื คอจ้ี รากแขนงของ 诃子 Lianqiao เหลยี นเฉียว เหลย่ี งเค้ยี ว โหราเดอื ยไก่ท่ี 连翘 ผ่านการฆ่าฤทธ์ิ Lugen หลูเกนิ โลว่ กงิ กระดองเต่าควั่ 芦根 Maidong ไมต่ ง แบะตง 麦冬 ไมเ่ หมนิ ตง แบะหมง่ึ ตง กระดองเต่าควั่ Maimendong ผลสมอไทย 麦门冬 ไมห่ ยา แบะแง ้ Maiya ไมห่ ยาชฺวี แบะแงข้ กั - 麦芽 Maiyaqu รากหญา้ แขม 麦芽曲 - - ขา้ วบารเ์ ลย่ ง์ อก ขา้ วบารเ์ ลย่ ง์ อก

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 529 รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย 没药 Moyao มอ่ เย่า หมกุ เอยี๊ ะ มดยอบ 牡丹皮 Mudanpi หมตู่ นั ผี โบว๋ ตวั พว้ ย เปลอื กรากโบตนั๋ 羌活 Qianghuo เชยี งหวั 沙参 เกยี งอวั ๊ ะ - 苏叶 Shashen ซาเซนิ ซาเซยี ม - 苏子 Suye ซูเยย่ี โซวเฮยี ะ ใบงาข้มี อ้ น 苇根 Suzi ซูจ่อื โซวจ้ี 苇茎 ผลงาข้มี อ้ น 吴茱萸 Weigen เหวย่ เ์ กนิ อ่ยุ ก่งิ 吴茱萸 Weijing เหวย่ จ์ งิ อยุ๋ แก้ รากหญา้ แขม (浸炒) Wuzhuyu หวูจูยหฺ วี โหงว่ จูยู ้ Wuzhuyu หวูจูยหฺ วี โหงว่ จูยู ้ ลาํ ตน้ หญา้ แขม 杏仁 (jinchao) (จ้นิ เฉ่า) (จ้มิ ช่า) - 杏仁 ซง่ิ เหรนิ เหง่ ย้งิ - (去皮尖) Xingren 芫花 Xingren ซง่ิ เหรนิ เห่งย้งิ - 远志 (qupijian) (ชวฺ ผ่ี เี จยี น) (ค่อื ผ่วยเจยี ม) - 败酱草 Yuanhua เหยยี นฮวฺ า อ่วงฮวย 侧柏叶 Yuanzhi หย่วนจ้อื เอยี งจ่ี - 厚朴 - Baijiangcao ไป้เจ้ยี งเฉ่า ไป่เจ้ยี เช่า - 厚朴 (炙) Cebaiye เช่อไป่ เยย่ี เจก็ แป๊ ะเฮยี ะ - Houpo โฮ่วผอ เก่าผก - 金银花 โฮ่วผอ (จ้อื ) เก่าผก (จ)่ี - 枇杷叶 Houpo (zhi) จนิ อนิ๋ ฮวฺ า กมิ หงง่ิ ฮวย ดอกสายนาํ้ ผ้งึ 乳香 Jinyinhua Pipaye ผผี าเยย่ี ป่ีแป่เฮยี ะ ใบป่ีแป้ - Ruxiang หรูเซยี ง ออื เฮยี

530 ภาคผนวก 2 : รายช่อื ตวั ยาจนี รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย 饴糖 Yitang อถี๋ งั อท่ี ้งึ นาํ้ ตาลทเ่ี ตรยี มได้ 细生地 Xishengdi ซเ่ี ซงิ ต้ี โซ่ยแชต่ี 细辛 Xixin ซซ่ี นิ โซย่ ซงิ จากขา้ วบารเ์ ลย่ ง์ อก 郁金 ยหฺ วจ่ี นิ เฮยี กกมิ Yujin เจอ๋ เซย่ี เจก็ เสย่ี โกฐข้แี มว 泽泻 จอื หมู่ ตบี อ้ - 知母 Zexie จอื หมู่ ตบี อ้ (จ้วิ จม่ิ ช่า) (จ่วิ จ้นิ เฉ่า) วา่ นนางคาํ 知母 Zhimu ไป๋จอ่ื เหรนิ แปะจอ่ื ย้งิ - - (酒浸炒) Zhimu เฉ่าอู เฉาโอว - (jiujinchao) ต่านหนานซงิ ต่าหนาํ่ แช 柏子仁 Baiziren ตูห๋ วั ตกอวั ๊ ะ เน้ือในเมลด็ ฝูหลงิ หกเหลง็ 草乌 Caowu ฝูหลงิ ผี หกเหลง่ พว้ ย สนหางสงิ ห์ 胆南星 Dannanxing ฝูเสนิ หกซ้งิ - 独活 Duhuo - 茯苓 Fuling โก่วฉีจ่อื เกา๋ กจี๋ ้ี - 茯苓皮 Fulingpi โกวเถงิ เกาตงิ๊ 茯神 Fushen หูหมาเหรนิ โอ่วหมวั่ ย้งิ โป่ งรากสน เจยี ง เกยี 枸杞子 Gouqizi เจยี งถา้ น เกยี ถวั่ เปลอื กโป่งรากสน 钩藤 Gouteng เจยี งจอ่ื เกยี จบั 胡麻仁 Humaren จงิ เจ้ยี เกงไก ้ โป่ งรากสนตดิ 姜 Jiang เน้ือไม ้ 姜炭 Jiangtan 姜汁 Jiangzhi - 荆芥 Jinjie เขาควายแมห่ ลูบ เมลด็ งา ขงิ ขงิ แก่เผาเป็นถ่าน นาํ้ คนั้ ขงิ แก่สด -

ตาํ รบั ยาจนี ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในประเทศไทย ฉบบั สมบูรณ์ 531 รายช่ือ พนิ อนิ จนี กลาง จนี แตจ้ วิ๋ ไทย จงิ เจ้ยี ซุย่ เกงไกส้ ุ่ย 荆芥穗 Jinjiesui เฉียนหู ไจ่โอว๊ - 前胡 Qianhu เชยี นหนวิ คงั งู ้ - 牵牛 Qianniu เสนิ ชวฺ ี สง่ิ ขกั - 神曲 Shenqu - 香附 Xiangfu เซยี งฝู่ 茵陈 Yinchen อนิ เฉิน เฮยี งหู หวั แหว้ หมู 枳壳 Zhiqiao องิ ท้งิ - Zhiqiao (fuchao) จอ่ื เขอ 枳壳 (麸炒) จ่อื เขอ (ฟูเฉ่า) จขี กั ผลสม้ ซา่ จขี๋ กั (ฮูช่า) 枳实 Zhishi จ่อื สอื ผลสม้ ซ่าผดั จซี๋ กิ ราํ ขา้ วสาลี 栀子 Zhizi จอื จอ่ื ผลอ่อนสม้ ซ่า 柴胡 Chaihu ไฉหู กจี ้ี หรอื สม้ เกล้ยี ง เออ๋ รจ์ ู๋ ฉ่าโอว๊ ผลพดุ ซอ้ น 莪术 Erzhu กยุ้ จอื หงอ่ ตกุ๊ 桂枝 Guizhi เหอเกงิ - 荷梗 Hegeng เจยี วอี๋ - 胶饴 Jiaoyi กยุ้ กี ก่งิ อบเชยจนี หอ่ แก้ กา้ นบวั กาอี๊ นาํ้ ตาลทเ่ี ตรยี มได้ จากขา้ วบารเ์ ลย่ ง์ อก 桔梗 Jiegeng เจยี๋ เกงิ กกิ๊ แก้ - 桔梗 (炒) Jiegeng (chao) เจยี๋ เกงิ (เฉ่า) กกิ แก้ (ช่า) - 桔梗 (炒令 深黄色) Jiegeng (chaoling เจยี๋ เกงิ (เฉ่าลง่ิ กกิ แก้ (ฉาเหลง่ ซมิ - shenhuangshe) เซนิ หวางเซ่อ) อง่ึ เสก็ ) 莱菔子 Laifuzi ไหลฝูจ่อื ไหลห่ กจ้ี เมลด็ หวั ผกั กาดขาว 莲子 Lianzi เหลยี นจอ่ื โหน่ยจ้ี เมลด็ บวั 莲子肉 Lianzirou เหลยี นจอ่ื โร่ว โหน่ยจ้เี นก๊ เน้ือเมลด็ บวั