แผนการสอน รายวชิ าสุขศกึ ษา ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา จัดทาโดย นางสาวณัฐธดิ า แกว้ คาศรี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า สขุ ศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 คาอธิบายรายวชิ า ศึกษา หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ เกณฑ์มาตรฐาน การเจริญเติบโตของเด็กไทย วิธีการควบคุมน้าหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน รวมท้ังการปฐม พยาบาล การเคลื่อนย้ายผู้ปุวยอย่างปลอดภัย ลักษณะ อาการ การปูองกันการติดสารเสพติดและ ความสมั พนั ธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกดิ โรคและอบุ ัตเิ หตุตา่ งๆ โดยใชก้ ระบวนการอธิบาย การวิเคราะห์ ปฏิบัติและ นา้ ทกั ษะไปใช้ในการตดั สนิ ใจเพื่อให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจในการปฏบิ ัตติ นได้อยา่ งเหมาะสม ดูแลสขุ ภาพตนเอง มีความรับผิดชอบ ซ่ือสตั ย์สุจรติ มีความใฝุ เรียนรู้มวี นิ ยั มุ่งมน่ั ในการทา้ งานและมจี ิตสาธารณะ ตวั ช้วี ดั / ผลการเรยี นรู้ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การปูองกันโรคและการ สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพอื่ สุขภาพ ม.1/1 เลือกกนิ อาหารที่เหมาะสมกบั วยั ม.1/2 วเิ คราะห์ปัญหาทีเ่ กดิ จากการภาวะโภชนาการท่ีมผี ลกระทบตอ่ สุขภาพ ม.1/3 ควบคุมน้าหนักของตนเองให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน พ 5.1 ปูองกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรุนแรง ม.1/1 แสดงวธิ ปี ฐมพยาบาลและเคล่ือนยา้ ยผปู้ ุวยอย่างปลอดภยั ม.1/2 อธิบายลกั ษณะอาการของผ้ตู ิดสารเสพตดิ และการปูองกนั การติดสารเสพตดิ ม.1/3 อธบิ ายความสมั พันธ์ของการใช้สารเสพติดกบั การเกิดโรคและอุบัตเิ หตุ ม.1/4 แสดงวิธีการชักชวนผู้อ่ืนใหล้ ด ละ เลิกสารเสพตดิ โดยใชท้ กั ษะต่าง ๆ รวม 7 ผลการเรยี นรู้
ผงั มโนทศั น์ วิชาสขุ ศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 หนว่ ยท่ี 1 หนว่ ยท่ี 2 หน่วยท่ี 3 ความส้าคัญของระบบประสาท วัยรุน่ กบั การเจรญิ เติมโต วัยรุ่นและพัฒนาการทางเพศ และระบบต่อมไรท้ ่อต่อวัยรนุ่ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 5 ชั่วโมง 6 ช่วั โมง 5 ช่ัวโมง หน่วยที่ 9 รายวิชา สุขศกึ ษา หน่วยท่ี 4 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 การปูองกนั ภยั จากสารเสพติด การปอู งกันการถกู ล่วงละเมิดทางเพศ จานวน 40 ช่ัวโมง 3ชวั่ โมง 4 ชว่ั โมง หนว่ ยที่ 8 หน่วยท่ี 5 มหันตภัยจากสารเสพตดิ วัยรุ่นกบั โภชนาการเพื่อสรา้ งเสริม สขุ ภาพ 3 ชว่ั โมง 4 ช่ัวโมง หนว่ ยที่ 7 หนว่ ยท่ี 6 การปฐมพยาบาลและการเคลื่อนย้าย ผปู้ วุ ยอยา่ งปลอดภยั สมรรถภาพทางกาย 6 ช่ัวโมง 4 ช่วั โมง
หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ โครงสรา้ งรายวิชา สุขศึกษา ผลการเรียนรู้ ความสา้ คัญของระบบ - ผู้เรียนอธบิ ายความส้าคญั ของระบบ - ประสาทและระบบต่อมไร้ ประสาท และระบบต่อมไรท้ ่อท่ีมีผลตอ่ ต 1 ทอ่ ต่อวยั รุน่ สุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ แ ของวยั รนุ่ ได้ - - ผู้เรียนอธบิ ายวิธีดูแลรักษาระบบประสาท ต และระบบต่อมไรท้ ่อให้ท้างานตามปกติได้ วยั รุ่นกับการเจรญิ เตบิ โต - ผูเ้ รียนวเิ คราะห์ภาวะการเจริญเตบิ โตทาง - ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร่างกายของตนเองกบั เกณฑ์มาตรฐานได้ เก - ผู้เรียนแสวงหาแนวทางในการพัฒนา - 2 ตนเองให้เจรญิ เติบโตสมวยั เจ - ผู้เรยี นควบคมุ นา้ หนกั ของตนเองให้อย่ใู น - เกณฑ์มาตรฐานได้ เด - เก
า ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระสาคญั เวลา น้าหนกั คะแนน คะแนน K PA เต็ม (ช่ัวโมง) 10 5 5 20 ความสา้ คัญของระบบประสาท และระบบ ตอ่ มไรท้ อ่ ที่มผี ลต่อสขุ ภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวยั รุ่น 6 วิธดี ูแลรักษาระบบประสาท และระบบ ตอ่ มไรท้ ่อ การวิเคราะห์ภาวะการเจรญิ เตบิ โตตาม 5 5 10 5 20 กณฑ์มาตรฐานและปจั จยั ทเ่ี กีย่ วข้อง แนวทางในการพัฒนาตนเองให้ จรญิ เตบิ โตสมวัย เกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เติบโตของ ดก็ ไทย วิธกี ารควบคุมนา้ หนกั ของตนเองให้อยู่ใน กณฑ์มาตรฐาน
วัยรุน่ และพัฒนาการทาง - ผู้เรียนอธิบายการปรบั ตวั ตอ่ การ - เพศ เปลย่ี นแปลงทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ อ 3 และพฒั นาการทางเพศอยา่ งเหมาะสมได้ การปอู งกนั การถูกล่วง - ผเู้ รียนมที ักษะการปฏเิ สธเพื่อปูองกนั - ละเมดิ ทางเพศ ตนเองจากการถูกลว่ งละเมิดทางเพศได้ ก - 4- - เส - ล วัยรนุ่ กบั โภชนาการเพอื่ - ผเู้ รยี นรูว้ ิธีการเลอื กกนิ อาหารทเี่ หมาะสม - สร้างเสริมสขุ ภาพ กับวัย และปฏบิ ตั ไิ ด้ โภ 5 - ผูเ้ รียนสามารถวเิ คราะห์ปัญหาท่ีเกิดจาก - ภาวะโภชนาการทีม่ ผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพได้ - - -
การเปลีย่ นแปลงทางร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และพฒั นาการทางเพศ 5 10 5 5 20 ความหมายและลักษณะของพฤติกรรม การล่วงละเมดิ ทางเพศ สาเหตขุ องการถกู ล่วงละเมิดทางเพศ ผลกระทบจากการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ 4 10 10 10 30 การปูองกนั และหลีกเลยี่ งสถานการณ์ ส่ียงตอ่ การถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ ทักษะปฏิเสธเพื่อปูองกนั การถูกลว่ ง ละเมดิ ทางเพศ ความรทู้ ัว่ ไปเก่ยี วกบั อาหาร และ 4 5 10 5 20 ภชนาการ ภาวะโภชนาการ โภชนบัญญตั แิ ละธงโภชนาการ หลกั การเลือกอาหารทเี่ หมาะสมกบั วยั ฉลากบนผลิตภณั ฑอ์ าหาร
สมรรถภาพทางกาย - ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของ - 6 สมรรถภาพทางกายได้ ได - ผ้เู รยี นสามรถจ้าแนกประเภทของ - สมรรถภาพทางกายได้ ก - ผเู้ รียนสามารถบอกองคป์ ระกอบของ สมรรถภาพทางกายได้ การปฐมพยาบาลและการ - ผเู้ รียนสามารถบอกวัตถุประสงค์ของการ ก 7 เคลื่อนย้ายผปู้ วุ ยอย่าง ปฐมพยาบาลได้ อ ปลอดภยั - ผเู้ รยี นสามารถอธิบายหลกั ส้าคญั ในการ - ปฐมพยาบาลได้ - - มหันตภัยจากสารเสพตดิ - ผเู้ รยี นสามรถบอกลกั ษณะการออกฤทธิ์ - 8 ของสารเสพตดิ แต่ละประเภทได้ - - ผูเ้ รยี นสามารถอธิบายลกั ษณะอาการของ - ผู้ติดสารเสพติดได้ - ก
บอกองคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกาย 4 5 10 5 20 ด้ วิธสี รา้ งเสรมิ และปรบั ปรงุ สมรรถภาพทาง กายตามผลการทดสอบ การปฐมพยาบาลและเคล่อื นยา้ ยผปู้ ุวย 6 10 10 10 30 อยา่ งปลอดภัย 3 10 5 5 20 เปน็ ลม - บาดแผล ไฟไหม้ - กระดูกหัก น้าร้อนลวก ฯลฯ ลกั ษณะของผ้ตู ิดสารเสพตดิ อาการของผตู้ ิดสารเสพตดิ การปูองกันการตดิ สารเสพติด ความสมั พนั ธ์ของการใชส้ ารเสพติดกับ การเกดิ โรคและอุบตั ิเหตุ
การปอู งกนั ภยั จากสาร - ผเู้ รยี นสามารถบอกแนวทางการปูองกัน - 9 เสพตดิ และการแก้ไขปญั หาสารเสพติดได้ - เล สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
การปอู งกันการติดสารเสพติด 3 10 5 5 20 ทักษะท่ใี ชใ้ นการชกั ชวนผู้อื่นใหล้ ด ละ ลิก สารเสพติด - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ทกั ษะการตดั สนิ ใจ - ทักษะการสอ่ื สาร - ทักษะการแก้ปัญหา ฯลฯ รวม 40 75 70 55 200
การวิเคราะห์มาตรฐานและตวั ชีว้ ดั /ผลการเรยี นร หนว่ ยท่ี ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสาคัญ 1 แผน่ พับ เรอื่ ง วัยรุ่นกับการ 1. ความสามารถในการคิด ดูแลรกั ษาระบบประสาทและ - ทกั ษะการวิเคราะห์ ระบบต่อมไร้ทอ่ - ทกั ษะการเชื่อมโยง 2. ความสามารถในการใช้ทักษะด ปาู ยนเิ ทศ เรื่อง แนวทางการ 1. ความสามารถในการคิด 2 ปฏบิ ตั ติ นใหม้ ีการ - ทักษะการสา้ รวจ เจริญเติบโตท่ีสมวยั - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ทกั ษะการน้าความร้ไู ปใช้ 2. ความสามารถในการใชท้ ักษะด รายงานเร่อื ง การปรับตวั ตอ่ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 3 การเปลยี่ นแปลงทาง 2. ความสามารถในการคิด ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และ - ทักษะการสรปุ อ้างอิง พัฒนาการทางเพศ อย่าง 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะด เหมาะสม
รู้ รายวิชา สุขศึกษา ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 คณุ ลกั ษณะของวิชา คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ความตงั้ ใจ 1. มวี ินัย 2. ตรงตอ่ เวลา 3. มคี วามรับผดิ ชอบ ด้ารงชวี ติ ความตัง้ ใจ 1. มวี นิ ัย 2. ตรงต่อเวลา 3. ใฝเุ รียนรู้ ดา้ รงชวี ติ ความต้งั ใจ 1. มคี วามรับผดิ ชอบ ดา้ รงชวี ติ 2. ใฝเุ รียนรู้
การแสดงบทบาทสมมติ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 4 เกยี่ วกับการใชท้ ักษะปฏเิ สธ 2. ความสามารถในการคดิ เพอื่ ปูองกันการถกู ล่วง - ทักษะกระบวนการคดิ ตัดสิน ละเมิดทางเพศ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะด การกา้ หนดรายการอาหาร 1. ความสามารถในการคดิ 5 ส้าหรับตนเอง และสมาชกิ - ทกั ษะกระบวนการตัดสนิ ใจ ในครอบครวั - ทักษะการวเิ คราะห์ 2. ความสามารถในการใช้ทักษะด รายงานผลการปฏบิ ัติตน 1. ความสามารถในการคดิ 6 ตามวิธกี ารสรา้ งเสริมและ - ทักษะการประเมนิ ปรับปรุงสมรรถภาพทาง 2. ความสามารถในการใช้ทักษะช กายตามผลการทดสอบ การแสดงบทบาทสมมตกิ าร 1. ความสามารถในการคิด 7 ปฐมพยาบาล และการ - ทกั ษะการสรา้ งความรู้ เคล่อื นยา้ ยผปู้ วุ ยอย่าง - ทกั ษะการประเมนิ ปลอดภยั - ทักษะการนา้ ความรู้ไปใช้ 2. ความสามารถในการใช้ทักษะช
ความต้งั ใจ 1. มวี ินยั 2. มคี วามรับผิดชอบ นใจ ความตง้ั ใจ 1. มวี ินยั ดา้ รงชีวติ ความตง้ั ใจ 2. ตรงตอ่ เวลา ความตั้งใจ 3. มคี วามรบั ผิดชอบ ด้ารงชีวิต ชีวิต 1. มวี นิ ัย 2. ตรงตอ่ เวลา ชีวิต 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบ 1. ใฝเุ รียน 2. ตรงต่อเวลา 3. มคี วามรับผิดชอบ 4. มจี ิตสาธารณะ
ปาู ยนเิ ทศ เรอื่ ง อยู่อย่าง 1. ความสามารถในการส่อื สาร 8 ปลอดภยั หา่ งไกลจากสาร 2. ความสามารถในการคิด เสพติด - ทักษะการระบุ - ทกั ษะการเช่ือมโยง 3. ความสามรถในการใชท้ ักษะชวี การแสดงทักษะปอู งกันการ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 9 ติดสารเสพตดิ ดว้ ยการ 2. ความสามารถในการคดิ ชกั ชวนให้ลด ละ เลิกสาร - ทกั ษะการระบุ เสพตดิ - ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะช
1. มีวินัย ความตงั้ ใจ 2. ตรงตอ่ เวลา 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบ 4. ใฝุเรียนรู้ วิต ความตั้งใจ 1. ใฝุเรียนรู้ 2. มจี ิตสาธารณะ ชีวติ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื ง ความสาคัญของระบบประสาท และระบบต่อมไรท้ ่อต่อวัยร่นุ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา รายวชิ าสขุ ศึกษา รหัส พ 21101 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 6 ชว่ั โมง ผู้สอน นางสาวณฐั ธดิ า แก้วคาศรี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชียงใหม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั มาตรฐาน พ 1.1 ตัวชว้ี ดั ม.1/1 อธบิ ายความสา้ คัญของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ทอ่ ที่มีผลตอ่ สุขภาพ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวัยรุ่น ม.1/2 อธิบายวิธดี แู ลรักษาระบบประสาท และระบบต่อมไรท้ ่อใหท้ ้างานตามปกติ 2. สาระสาคัญ ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ มีความส้าคัญต่อสุขภาพ การเจริญ-เติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น จึงตอ้ งดแู ลรกั ษาระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ อ่ อย่างถกู วิธี เพอ่ื ใหส้ ามารถทา้ งานได้ตามปกติและมปี ระสิทธิภาพ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1) ความสา้ คญั ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ทอ่ ท่มี ผี ลต่อสขุ ภาพ การเจริญเตบิ โต และพฒั นาการ ของวัยรนุ่ 2) วธิ ดี ูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อให้ท้างานตามปกติ 3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น - โครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อ 4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 2) ทกั ษะการเชื่อมโยง 4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝุเรียนรู้ 3. ม่งุ มน่ั ในการท้างาน 6. ชน้ิ งาน แผน่ พับ เรือ่ ง วยั ร่นุ กบั การดูแลรักษาระบบประสาทและระบบตอ่ มไร้ท่อ
7. การวัดและประเมินผล (ภาระงาน/ชิ้นงาน) 7.1 การประเมนิ กอ่ นเรียน - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง ความสา้ คญั ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ ท่อต่อวัยร่นุ 7.2 การประเมนิ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1) ตรวจใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง ระบบประสาท 2) ตรวจใบงานที่ 1.2 เรือ่ ง โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของระบบต่อมไร้ท่อ 3) ตรวจใบงานที่ 1.3 เรื่อง การดแู ลรักษาระบบต่อมไร้ท่อ 4) ตรวจใบงานท่ี 1.4 เรือ่ ง ความสมั พนั ธ์ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ 5) ตรวจแบบบนั ทึกการอ่าน 6) ประเมินการน้าเสนอผลงาน 7) สงั เกตพฤติกรรมการท้างานรายบุคคล 8) สังเกตพฤตกิ รรมการท้างานกลมุ่ 9) สงั เกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7.3 การประเมินหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง ความส้าคญั ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ ทอ่ ต่อวัยรุ่น 7.4 การประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจแผน่ พบั เรอื่ ง วยั รนุ่ กบั การดูแลรกั ษาระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศึกษา) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง ความส้าคญั ของระบบประสาท และระบบตอ่ มไร้ทอ่ ต่อวัยรนุ่ เวลา 6 ชัว่ โมง แผนการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง โครงสร้างและหน้าท่ีของระบบประสาท เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู สู้ อน นางสาวณฐั ธิดา แก้วคาศรี 1. สาระสาคัญ ระบบประสาท เป็นระบบทคี่ วบคมุ การท้างานของอวัยวะส่วนต่างๆ ทุกระบบในร่างกายให้ประสานสัมพันธ์กัน และสามารถด้ารงชีวิตอยไู่ ด้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - อธิบายโครงสร้างและหนา้ ทีข่ องระบบประสาทได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง - 3.2 สาระการเรียนรูท้ ้องถน่ิ - โครงสรา้ งและหน้าที่ของระบบประสาท 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 2) ทักษะการเช่อื มโยง 4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเุ รยี นรู้ 3. มุ่งม่ันในการท้างาน กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ สี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขนั้ ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ 1. ครใู ห้นกั เรียนเล่นเกม “จับคู่ภาพ” โดยปฏิบัติ ดงั นี้ - ครตู ดิ ภาพ 12 ภาพ บนกระดาน ให้นกั เรยี นดู 1 นาที แลว้ ปิดภาพ จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันจบั คภู่ าพ 12 ภาพ ว่าภาพใดที่เหมอื นกันบ้าง
2. ครถู ามนักเรียนวา่ นกั เรยี นใช้อวัยวะส่วนใดในการจดจา้ ภาพ 3. ครูเฉลยคา้ ตอบและอธบิ ายเชอ่ื มโยงเกีย่ วกับสว่ นประกอบและหน้าที่ของสมอง ประกอบแผนภาพให้นกั เรยี นฟงั ขัน้ ท่ี 2 ขนั้ สารวจปญั หา ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน แล้วให้สมาชิกในกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ ให้แต่ละคู่ศึกษาความรู้เร่ือง โครงสร้างและหน้าที่ของ ระบบประสาท จากหนงั สือเรียน ดังนี้ - คู่ท่ี 1 ศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง ระบบประสาทส่วนกลาง - คู่ท่ี 2 ศกึ ษาความรเู้ ร่ือง ระบบประสาทสว่ นปลาย ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ สมาชิกแต่ละคนู่ ้าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาอธิบายใหส้ มาชกิ อกี ค่หู น่งึ ในกลมุ่ ฟัง และผลัดกนั ซกั ถามข้อ สงสยั จนเกิดความเข้าใจท่ีถกู ต้อง ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกลุ่มน้าความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษามาวิเคราะหว์ า่ กิจกรรมต่างๆ ทเี่ ราทา้ นน้ั มีส่วนเกยี่ วขอ้ ง กับระบบประสาทอยา่ งไร ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล 1. ตวั แทนกลุม่ นา้ เสนอกิจกรรมทเ่ี ก่ยี วข้องกับระบบประสาท กลมุ่ ละ 1 กิจกรรม หนา้ ชัน้ เรียน ครูตรวจสอบ ความถูกต้องและเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ในส่วนทบ่ี กพร่อง 2. นกั เรียนตอบคา้ ถามกระต้นุ ความคดิ 3. นักเรียนแตล่ ะคนทา้ กจิ กรรมตามตวั ช้ีวดั ท่ี 1.3 และ 1.4 จากแบบวัดฯ เป็นการบา้ น แลว้ นา้ สง่ ครูในชั่วโมงถดั ไป ค้าถามกระตุน้ ความคิด ระบบประสาทมผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีระร่างกายของบุคคลอย่างไร อธบิ าย พร้อมยก เหตผุ ลประกอบ (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน) ภาระงาน/ช้ินงาน - แหลง่ เรียนรู้ / สือ่ 1) หนังสอื เรียน สขุ ศกึ ษา ม.1 2) แบบวัดและบนั ทึกผลการเรียนรู้ สขุ ศกึ ษา ม.1 3) เอกสารประกอบการสอน 4) เกม “จบั คภู่ าพ”
การวดั และประเมนิ ผล เคร่ืองมอื เกณฑ์ วิธีการ แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ประเมินการนา้ เสนอผลงาน แบบประเมินการน้าเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการท้างานกลุ่ม สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเุ รยี นรู้ และมุ่งม่นั ในการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทา้ งานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ท้างาน แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ลงชอื่ .......................................................... (นางสาวณฐั ธิดา แก้วคา้ ศรี) ครูผู้สอน ความคิดเหน็ ของหัวหนา้ ฝาุ ยบรหิ ารวิชาการ ...................................................................................................................................... ........................................ .......................................................................................... .................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................... (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผอู้ ้านวยการฝุายบรหิ ารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายอดิศร แดงเรือน) ผอู้ า้ นวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31
เอกสารประกอบการสอน เกม “จบั คภู่ าพ” ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 ภาพที่ 3 ภาพท่ี 4 ภาพท่ี 5 ภาพท่ี 6 ภาพที่ 7 ภาพท่ี 8 ภาพท่ี 9 ภาพที่ 10 ภาพท่ี 11 ภาพที่ 12
เอกสารประกอบการสอน แบบประเมิน การน้าเสนอผลงาน
คาช้แี จง : ให้ ผสู้ อน ประเมินการน้าเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการที่กา้ หนด แลว้ ขดี ลงในช่อง ทีต่ รงกับระดบั คะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 นา้ เสนอเนอื้ หาในผลงานได้ถูกต้อง 2 การลา้ ดับขั้นตอนของเน้ือเร่อื ง 3 การน้าเสนอมีความนา่ สนใจ 4 การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกล่มุ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงช่อื .................................................... ผปู้ ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรอื พฤติกรรมสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งบางส่วน ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน ต่ากว่า 10 ปรบั ปรงุ
แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานกลมุ่ คาชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ ง ที่ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ท่ี ชื่อ-สกลุ การแสดง การยอมรบั การทางาน ความมนี า้ ใจ การมี ของผู้รับการประเมนิ ความคดิ เห็น ฟังคนอื่น ตามทีไ่ ด้รับ สว่ นร่วมใน รวม มอบหมาย การปรับปรุง 20 ผลงานกล่มุ คะแนน 4321 4321 432 14321 4321 ลงชื่อ .................................................... ผ้ปู ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรุง
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ คาชแ้ี จง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดบั คะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อนั พึงประสงค์ 4321 1.1 ยนื ตรงเมือ่ ได้ยนิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และอธบิ ายความหมายของ เพลงชาติ ด้าน 1.2 ปฏบิ ตั ิตนตามสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของนกั เรยี น 1.3 ให้ความร่วมมอื ร่วมใจ ในการทา้ งานกบั สมาชิกในชนั้ เรียน 1. รกั ชาติ 1.4 เขา้ ร่วมกิจกรรมทสี่ รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรยี นและ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ชุมชน 1.5 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถอื ปฏบิ ตั ิตนตามหลักของศาสนา 2. ซอ่ื สตั ย์ 1.6 เข้ารว่ มกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วกบั สถาบันพระมหากษตั รยิ ต์ ามทีโ่ รงเรยี น และชมุ ชนจัดข้นึ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ ง และเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบัตใิ นสิง่ ทถ่ี กู ต้อง ละอาย และเกรงกลัวทจ่ี ะทา้ ความผดิ ท้าตามสญั ญาท่ีตนใหไ้ ว้ 3. มีวินยั รับผิดชอบ กับเพือ่ น พอ่ แมห่ รอื ผูป้ กครอง และครู 2.3 ปฏบิ ัตติ อ่ ผู้อื่นดว้ ยความซือ่ ตรง 4. ใฝุเรียนรู้ 3.1 ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครวั และโรงเรียน 5. อยอู่ ยา่ ง มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ พอเพียง ในชีวิตประจา้ วนั 4.1 แสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ การเรียนรตู้ า่ งๆ 4.2 มีการจดบนั ทกึ ความรู้อย่างเปน็ ระบบ 4.3 สรปุ ความรไู้ ดอ้ ย่างมเี หตผุ ล 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สง่ิ ของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั คมุ้ ค่า และเก็บ รักษาดูแลอยา่ งดี และใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม 5.2 ใช้ทรพั ยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รักษาดูแลอย่างดี 5.3 ปฏบิ ัตติ นและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตผุ ล 5.4 ไมเ่ อาเปรยี บผู้อ่นื และไม่ทา้ ใหผ้ อู้ น่ื เดือดรอ้ น พรอ้ มใหอ้ ภยั เม่ือผู้อ่นื กระท้า ผิดพลาด
คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 4321 5.5 วางแผนการเรยี น การทา้ งานและการใช้ชวี ิตประจ้าวันบนพืน้ ฐานของ 6. มงุ่ ม่นั ในการ ความรู้ ข้อมูล ขา่ วสาร ทางาน 5.6 รเู้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรับและปรบั ตวั 7. รักความเป็นไทย อยรู่ ่วมกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมคี วามสุข 8. มจี ติ สาธารณะ 6.1 มีความต้ังใจและพยายามในการทา้ งานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แทต้ อ่ อุปสรรคเพ่ือใหง้ านส้าเร็จ 7.1 มจี ิตสา้ นึกในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย 7.2 เหน็ คณุ คา่ และปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย 8.1 รู้จักช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู า้ งาน 8.2 อาสาท้างาน ชว่ ยคิด ชว่ ยทา้ และแบ่งปนั สิ่งของให้ผ้อู ่นื 8.3 รูจ้ ักดูแล รักษาทรัพยส์ มบัตแิ ละสงิ่ แวดล้อมของหอ้ งเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ลงชือ่ .................................................... ผปู้ ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน 191 - 108 ดมี าก 73 - 90 ดี 54 - 72 พอใช้ ต่ากวา่ 54 ปรบั ปรุง
บนั ทกึ หลังแผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา2563 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ........1......... เร่ือง ความสา้ คญั ของระบบประสาท และระบบตอ่ มไรท้ ่อต่อวัยรนุ่ แผนการสอนที่ ......1...... เรื่อง…โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของระบบประสาท.…. จ้านวน ....1.... ชว่ั โมง ผสู้ อน นางสาวณฐั ธดิ า แกว้ ค้าศรี บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ผ้เู รยี นได้รับความรู้ (K) นกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องระบบประสาท ผู้เรียนเกดิ ทักษะกระบวนการ (P) นกั เรยี นสามารถอธบิ ายโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบประสาทได้ ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม (A) นักเรยี นมที ัศนคติท่ีดีต่อวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษา ขยนั ใฝุรูใ้ ฝุเรียน เช่ือม่นั ในตนเอง กล้าแสดงออกมคี วามสุขต่อการ เรยี น ผเู้ รียนเกิดทกั ษะการคิด การคดิ สรา้ งสรรค์ การคิดวเิ คราะห์ ผเู้ รียนมหี ลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผู้เรยี นเรยี นรทู้ จี่ ะใชท้ รพั ยากรได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ปญั หาอุปสรรค (ถา้ ม)ี - ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) - ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวณัฐธดิ า แกว้ คา้ ศรี) ครูผสู้ อน ความคิดเห็นของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ............................................................... ................................................................... ............................................................................................. ........................ ลงชอ่ื .............................................. (นายอดศิ ร แดงเรือน) ผู้อ้านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31
แผนการจัดการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง ความส้าคญั ของระบบประสาท และระบบตอ่ มไร้ทอ่ ต่อวยั รุ่น เวลา 6 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง ความสา้ คัญและการดูแลรักษาระบบประสาท เวลา 2 ชว่ั โมง ครูผู้สอน ............................................... วันท่.ี .................................................... 1. สาระสาคญั ระบบประสาทมีความส้าคัญต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น จึงต้องดูแลรักษาระบบ ประสาทอย่างถกู วธิ ีเพื่อให้ท้างานได้ตามปกติ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) อธบิ ายความสา้ คัญของระบบประสาทที่มีผลตอ่ สุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการของวยั รนุ่ ได้ 2) อธบิ ายวธิ กี ารดูแลรักษาระบบประสาทให้ท้างานได้ตามปกติ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 1) ความสา้ คญั ของระบบประสาทท่ีมีผลต่อสุขภาพ การเจริญเตบิ โต และพัฒนาการของวยั รนุ่ 2) วิธีดูแลรกั ษาระบบประสาทให้ท้างานตามปกติ 3.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น (พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการวเิ คราะห์ 2) ทกั ษะการเชื่อมโยง 4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝุเรียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการท้างาน
กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ ขน้ั ท่ี 1 สงั เกตุ นกั เรียนอา่ นใบความรู้ เรอื่ ง การทา้ งานของระบบประสาท แล้วช่วยกันสังเกตและวเิ คราะหว์ า่ ลกั ษณะการทา้ งานของ ระบบประสาทเปน็ อย่างไร ขน้ั ที่ 2 อธิบาย 1. นักเรียนกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1) รว่ มกนั ศึกษาความรู้ จากหนงั สือเรียน ตามประเด็นท่กี า้ หนด ดังน้ี 1) ความสา้ คญั ของระบบประสาทที่มผี ลต่อสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวยั รุ่น 2) การดแู ลรกั ษาระบบประสาทใหท้ ้างานตามปกติ 2. สมาชิกในกลุ่มน้าความรู้ท่ีได้จากการศึกษามาอธิบายร่วมกันและช่วยกันวิเคราะห์ว่า ถ้าเราไม่ดูแลรักษาระบบ ประสาท ใหท้ ้างานไดอ้ ยา่ งปกติ จะส่งผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการอยา่ งไร ขั้นที่ 3 รบั ฟัง สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มรบั ฟงั ความคิดเหน็ ในการวิเคราะหเ์ ก่ยี วกับผลทจ่ี ะเกิดขน้ึ กับสขุ ภาพ การเจริญเติบโต และ พฒั นาการ ถ้าเราไม่ร้จู ักดแู ลรักษาระบบประสาทใหท้ ้างานตามปกติของสมาชกิ ในกลุ่มและผลดั กันเสนอความคิดเหน็ เพิ่มเติม ขน้ั ท่ี 4 เช่ือมโยงความสัมพันธ์ 1. ตวั แทนกลุ่มออกมาน้าเสนอผลการวเิ คราะห์ หนา้ ชั้นเรียน เพ่ือเปรยี บเทียบความสัมพันธ์ของการท้างานของระบบ ประสาทกับการท้างานของเครื่องจกั รวา่ มีความสมั พนั ธก์ นั อยา่ งไร ครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2. นกั เรยี นตอบค้าถามกระตุ้นความคิด คา้ ถามกระตุ้นความคดิ นกั เรียนเหน็ ดว้ ยหรือไมก่ ับคากลา่ วทว่ี ่า “สขุ ภาพจิตท่ดี ยี อ่ มอยูใ่ นสุขภาพรา่ งกายท่ี แข็งแรง สมบูรณ์” อธิบายเหตผุ ลประกอบ (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น ดลุ ยพินิจของครผู ้สู อน) ขน้ั ที่ 5 วจิ ารณ์ นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกันทา้ ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง ระบบประสาท เสร็จแล้วน้าส่งครูตรวจ จากน้นั ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่ม ช่วยกนั วิเคราะหข์ ้อดี ข้อเสยี ของการท้างานของระบบประสาท ขน้ั ที่ 6 สรปุ นักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั สรปุ ความสา้ คญั ของระบบประสาทที่มีผลตอ่ สุขภาพ การเจรญิ เติบโต และพัฒนาการของ วยั รนุ่ และการดูแลรักษาระบบประสาทให้ท้างานตามปกติ
ภาระงาน/ชิน้ งาน - แหล่งเรยี นรู้ / สื่อ 1) หนังสอื เรียน สขุ ศกึ ษา ม.1 2) ใบความรู้ เรือ่ ง การท้างานของระบบประสาท 3) ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง ระบบประสาท การวดั และประเมินผล วธิ ีการ เคร่ืองมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ การน้าเสนอผลงาน แบบประเมินการนา้ เสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการท้างานรายบคุ คล แบบสงั เกตพฤติกรรมการท้างานรายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทา้ งานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการท้างานกลมุ่ สังเกตความมีวินยั ใฝเุ รยี นรู้ และมงุ่ ม่ันในการท้างาน แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ลงชือ่ .......................................................... (นางสาวณัฐธิดา แกว้ คา้ ศรี) ครผู ูส้ อน ความคิดเห็นของหัวหนา้ ฝาุ ยบรหิ ารวิชาการ .............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ............................................................................................ ลงช่ือ.............................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อา้ นวยการฝาุ ยบรหิ ารวชิ าการ ความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ........................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ.............................................. (นายอดศิ ร แดงเรอื น) ผ้อู า้ นวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
ใบความรู้ การทางานของระบบประสาท การท้างานของระบบประสาทของคนเรานั้นเปน็ การทา้ งานประสานกนั ระหวา่ งสมอง ไขสนั หลัง และเซลล์ ประสาท การทางานของเซลล์ประสาท จากการท่ีเซลลป์ ระสาทตั้งแต่สองตัวข้ึนไปมกี ารติดต่อถึงกันเปน็ วงจนประสาท (neuronal circuit) ซึง่ มี เครือข่าย อยู่มากมายในรา่ งกาย ลักษณะการท้างานอยใู่ นรูปของการส่งสญั ญาณประสาท หรือ กระแสประสาท (nerve impulse) ไปตามเซลลป์ ระสาท โดยมสี มองหรือไขสันหลังเปน็ ศูนย์ควบคุมการท้างาน กระแสประสาท เกดิ จากทเ่ี ซลลป์ ระสาทมคี ณุ สมบัตพิ เิ ศษ เพือ่ สามารถตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ ไดด้ ี เมอื่ สิง่ เร้ามากระตุน้ จะท้าใหเ้ กิด ความต่างศักยไ์ ฟฟูาท่เี ย่ือเซลลเ์ ปล่ยี นไปจากเดมิ จนกระทั่งถึงจุดที่เกดิ การนา้ กระแสประสาท กระแสประสาท สามารถส่งผา่ นจากเซลล์ประสาทหน่ึงไปยงั อกี เซลลห์ น่งึ ใด ปลายแอกซอนของเซลลป์ ระสาทมีการสร้างและหลง่ั สารสือ่ ประสาท (neurothansmitter) เพ่อื ช่วยสั่งกระแสประสาททบี่ รเิ วณจดุ ประสาน ส่วนเดนไดรต์จะท้า หนา้ ทีร่ ับสัญญาณประสาทเข้ามาโดยการตอบสนองต่อสารสือ่ ประสาทที่บรเิ วณจุดประสาน หรือทา้ หน้าที่ เปลี่ยนพลงั งานรปู ต่างๆ ให้เป็นสัญญาณประสาท เดนไดรต์และตัวเซลลป์ ระสาทจะรับสัญญาณประสาทและสง่ สญั ญาณประสาทออกไปตามแอกซอน แอกซอนอาจไปประสานกับเซลล์ประสาทตัวอน่ื หรือเซลลเ์ ปูาหมายอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ เซลลก์ ลา้ มเนื้อและต่อมตา่ งๆ ตัวอยา่ งการทางานของระบบประสาท สถานการณ์ ปลายนิว้ ถกู น้าร้อน การทา้ งานของระบบประสาท เปน็ ดงั น้ี 1. ความร้อนจะกระต้นุ หนว่ ยรับความรอ้ นใต้ผิวหนังบริเวณปลายนิ้ว 2. กระแสความรู้สกึ ร้อนจะถูกส่งขึน้ ไปตามเซลล์ประสาทรบั ความรู้สึกผา่ นไขสนั หลงั ไปสู่ศนู ยป์ ระสาท รบั ความรสู้ กึ รอ้ นในสมอง 3. สมองรบั รูว้ า่ มคี วามรอ้ นสัมผัสทป่ี ลายน้วิ มือ 4. ศนู ยป์ ระสาทในสมองจะสง่ั การลงมาตามเซลล์ประสาทสั่งการผา่ นไขสนั หลัง ไปยังหนว่ ยปฏิบตั ิงาน คอื กล้ามเนือ้ ทโ่ี คนแขน 5. กลา้ มเน้ือรบั คา้ สั่งจะหดตัวทา้ ใหแ้ ขนพับงอ ทา้ ให้ปลายนว้ิ หลดุ จากนา้ ร้อน ดงั นัน้ การทา้ งานของระบบประสาทก็คอื การตอบสนองต่อส่ิงเร้าหรือส่ิงกระตุ้น จากสถานการณ์ ความ ร้อน คือ สงิ่ เร้า การพับของแขนเพื่อหนจี ากน้าร้อน คือ การตอบสนองต่อส่งิ เรา้ ท่ีมา : http://www.thaigoodview.com/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/sec06p04.htm http://www.pharm.chula.ac.th/physiopharm/2542_sem2/g12/NSWORK.HTM
ใบงานที่ 1.1 ระบบประสาท ตอนท่ี 1 คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเขยี นอธิบายว่า ระบบประสาทมีความส้าคัญอย่างไรต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพฒั นาการของวยั รนุ่ ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรียนเขยี นอธบิ ายแนวทางปฏบิ ัติในการดูแลรกั ษาระบบประสาทให้ทา้ งานได้ตามปกติ คาชแี้ จง มาอย่างน้อย 5 ข้อ
บันทกึ หลังแผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา2563 หน่วยการเรียนรู้ท่ี ........1......... เรือ่ ง ความส้าคัญของระบบประสาท และระบบตอ่ มไรท้ ่อต่อวัยรุ่น แผนการสอนที่ ......2...... เรอื่ ง ความส้าคัญและการดแู ลรักษาระบบประสาท จ้านวน ....2.... ชว่ั โมง ผสู้ อน นางสาวณฐั ธิดา แกว้ คา้ ศรี บันทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ผูเ้ รยี นไดร้ ับความรู้ (K) นกั เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วความส้าคญั ของระบบประสาทที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต พัฒนาการของวยั รนุ่ และวิธกี ารดแู ลรกั ษาระบบประสาทให้ทา้ งานได้ตามปกติ ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถบอกความส้าคญั ของระบบประสาทที่มีผลต่อสขุ ภาพ การเจริญเติบโต พัฒนาการของวยั รุ่น และวิธีการดูแลรักษาระบบประสาทให้ทา้ งานได้ตามปกติ ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม (A) นักเรียนมีทัศนคตทิ ี่ดีต่อวชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา ขยันใฝุรู้ใฝเุ รียน เชอ่ื ม่นั ในตนเอง กล้าแสดงออกมีความสขุ ต่อการ เรยี น ผ้เู รียนเกิดทักษะการคิด 1)ทักษะการวิเคราะห์ 2)ทกั ษะการเชือ่ มโยง ผ้เู รียนมีหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผเู้ รียนเรียนรูท้ ี่จะใชท้ รพั ยากรได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ปญั หาอุปสรรค (ถา้ ม)ี - ขอ้ เสนอแนะ (ถ้ามี) - ลงช่อื .......................................................... (นางสาวณฐั ธดิ า แกว้ คา้ ศรี) ครูผู้สอน ความคิดเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................................................................... ............. ...................................................................................................................... ..................................................................... ลงชื่อ.............................................. (นายอดิศร แดงเรือน) ผอู้ า้ นวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31
แผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง ความสา้ คญั ของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ทอ่ ต่อวัยรนุ่ เวลา 6 ช่วั โมง แผนการเรยี นรู้ท่ี 3 เรือ่ ง โครงสร้างและหนา้ ท่ขี องระบบตอ่ มไร้ทอ่ เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู สู้ อน นางสาวณัฐธิดา แก้วคาศรี 1. สาระสาคัญ โครงสรา้ งในระบบต่อมไร้ท่อจะท้าหนา้ ทเ่ี ฉพาะอย่างแตกตา่ งกนั ไป 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ - อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของระบบต่อมไรท้ ่อได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิน่ - โครงสรา้ งและหน้าทีข่ องระบบตอ่ มไรท้ ่อ 4. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 2) ทกั ษะการเช่ือมโยง 4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝุเรียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการท้างาน
กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ ีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมือ : เทคนิคการตอ่ เร่อื งราว (Jigsaw) ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรยี น 1. ครขู ออาสาสมัครนักเรียน 1 คน อธิบายความหมายของคา้ ว่า ฮอรโ์ มน แลว้ ถามนักเรียนว่า ฮอรโ์ มนเกดิ ขึ้นได้ อยา่ งไร 2. ครอู ธิบายให้นักเรียนฟงั ว่า ต่อมไรท้ อ่ จะขบั สารคัดหลงั่ ซ่ึงเป็นสารเคมีที่เรยี กว่า ฮอรโ์ มน ออกมาและซมึ เขา้ สู่ ระบบกระแสเลือด ไปยังอวยั วะภายในรา่ งกายเพ่ือใหส้ ามารถทา้ งานไดต้ ามปกติ ขน้ั สอน 1. ครูติดแผนภาพแสดงที่ต้งั ของต่อมไร้ท่อภายในร่างกาย ให้นักเรยี นดูและอธบิ ายประกอบเพอื่ ใหน้ ักเรียนเกิด ความเขา้ ใจ 2. นักเรยี นกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 1) เรียกว่า กลมุ่ บ้าน แล้วให้สมาชกิ แตล่ ะคนเลือกหมายเลข ประจ้าตัว ตง้ั แต่หมายเลข 1-4 3. สมาชิกทีม่ ีหมายเลขเดยี วกนั มารวมกลมุ่ กันเปน็ กลุ่มใหม่ เรยี กวา่ กลุ่มผเู้ ช่ียวชาญ แล้วรว่ มกันศกึ ษาความรู้เรื่อง โครงสรา้ งและหน้าที่ของระบบตอ่ มไรท้ ่อ จากหนงั สอื เรยี น ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ดังน้ี - กลมุ่ หมายเลข 1 ศึกษาความรูเ้ รอ่ื ง ตอ่ มใตส้ มองหรอื ต่อมพทิ ูอิทารี - กลุ่มหมายเลข 2 ศึกษาความร้เู รอ่ื ง ตอ่ มไทรอยด์ ตอ่ มพาราไทรอยด์ - กลุ่มหมายเลข 3 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ต่อมหมวกไต ต่อมไพเนียล และต่อมไทมสั - กลมุ่ หมายเลข 4 ศกึ ษาความรู้เร่อื ง ตบั อ่อน และต่อมเพศ แลว้ บนั ทึกความรทู้ ี่ไดจ้ ากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน 4. สมาชิกกลมุ่ ผเู้ ชี่ยวชาญแต่ละหมายเลขแยกย้ายกันกลบั เข้าสกู่ ลุ่มบ้าน แล้วให้แตล่ ะหมายเลขอธิบายความรู้ให้ สมาชกิ หมายเลขอน่ื ๆ ในกลุ่มบา้ นฟังเรียงตามล้าดับหมายเลข 5. สมาชิกกลมุ่ บา้ นช่วยกนั ท้าใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง โครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องระบบต่อมไรท้ ่อ 6. ครูคดั เลอื กตัวแทนนักเรียน 8 กล่มุ นา้ เสนอใบงานที่ 1.2 หนา้ ช้นั เรียน กลุม่ ละ 1 โครงสรา้ ง 7. ครูและเพอ่ื นกลมุ่ อ่นื ตรวจสอบความถูกต้องและเสนอแนะเพ่มิ เตมิ ในสว่ นที่แตกตา่ ง 8. นกั เรยี นตอบคา้ ถามกระตนุ้ ความคิด ขั้นสรุป นักเรยี นช่วยกนั สรปุ โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของระบบต่อมไร้ทอ่ แต่ละส่วน ภาระงาน/ช้ินงาน -
แหลง่ เรียนรู้ / สื่อ 1. สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียน สุขศกึ ษา ม.1 2) เอกสารประกอบการสอน 3) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง โครงสรา้ งและหน้าที่ของระบบต่อมไรท้ ่อ 2. แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ - http://www.aksorn.com/LC/He/M1/02-03 การวัดและประเมนิ ผล วิธกี าร เคร่ืองมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.2 ใบงานที่ 1.2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบบนั ทกึ การอา่ น แบบบนั ทึกการอา่ น ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท้างานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤตกิ รรมการท้างานรายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทา้ งานกลมุ่ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทา้ งานกลมุ่ สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝุเรียนรู้ และมงุ่ มนั่ ในการท้างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ลงชอื่ .......................................................... (นางสาวณฐั ธิดา แก้วค้าศรี) ครูผูส้ อน ความคิดเห็นของหัวหน้าฝาุ ยบรหิ ารวิชาการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ.............................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผอู้ ้านวยการฝาุ ยบรหิ ารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา ...................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื .............................................. (นายอดศิ ร แดงเรอื น) ผ้อู า้ นวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
เอกสารประกอบการสอน แผนภาพแสดงทีต่ ้ังของตอ่ มไรท้ ่อภายในร่างกาย
ใบงานท่ี1.2 โครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่อมไรท้ ่อ คาชแี้ จง ให้นักเรยี นบอกชือ่ และหนา้ ท่ีของอวยั วะตา่ งๆ ในระบบต่อมไรท้ ่อ ช่อื ชอ่ื หน้าท่ี หน้าท่ี ชอ่ื ช่อื หน้าท่ี หน้าท่ี ช่อื ชอ่ื หน้าท่ี หน้าท่ี ช่อื ชอ่ื หน้าท่ี หน้าท่ี
เฉลย ใบงานท่ี1.2 โครงสร้างและหน้าท่ขี องระบบต่อมไร้ท่อ คาช้ีแจง ให้นกั เรียนบอกชือ่ และหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆ ในระบบต่อมไร้ท่อ ชอ่ื ต่อมใตส้ มอง ชอ่ื ต่อมไพเนยี ล หน้าท่ี ต่อมใตส้ มองสว่ นหน้า ผลติ โกรทฮอรโ์ มน หน้าท่ี ผลติ ฮอรโ์ มนเมลาโทนนิ ทไี่ ปยบั ยงั้ การ ทรอฟิกฮอรโ์ มน และฮอรโ์ มนโพรแลกตนิ สว่ นต่อม เจรญิ เตบิ โตของต่อมเพศในชว่ งกอ่ นเขา้ สวู่ ยั รุน่ ใตส้ มองสว่ นหลงั จะเกบ็ ฮอรโ์ มนทไี่ ฮโพทาลามสั แต่เมอื่ เขา้ สวู่ ยั ร่นุ ฮอรโ์ มนน้จี ะมผี ลต่อการตกไข่ สรา้ งขน้ึ การมปี ระจาเดอื น ชอ่ื ต่อมไทรอยด์ ช่อื ต่อมพาราไทรอยด์ หน้าท่ี ผลติ ฮอรโ์ มนไทรอกซนิ ที่ หน้าท่ี ผลติ พาราฮอรโ์ มนทไี่ ป ควบคมุ การเผาผลาญสารอาหาร ควบคมุ ระดบั แคลเซยี มและฟอสเฟต การเจรญิ เตบิ โตของอวยั วะต่างๆ ในกระแสเลอื ด การแลกเปลยี่ นน้าและเกลอื แรใ่ น รา่ งกาย ช่อื ตบั ออ่ น หน้าท่ี ผลติ ฮอรโ์ มนอนิ ซลู นิ ช่อื ต่อมหมวกไต หน้าท่ี ต่อมหมวกไตสว่ นนอกผลติ ทคี่ วบคมุ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมขี อง คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมนั ฮอรโ์ มนกลโู คคอรต์ คิ อยดแ์ ละมเิ นอรา และกลคู ากอนทกี่ ระตุน้ ไกลโคเจน โลคอรต์ คิ อยด์ สว่ นต่อมหมวกไต ในตบั ใหเ้ ปลยี่ นเป็นกลโู คส สว่ นในผลติ ฮอรโ์ มนอะดรนี าลนิ และ นอรอ์ ะดรนี าลนิ ชอ่ื อณั ฑะ หน้าท่ี สรา้ งอสจุ แิ ละฮอรโ์ มนเพศชาย ชอ่ื รงั ไข่ หน้าท่ี สรา้ งไขแ่ ละฮอรโ์ มนเพศหญงิ
ช่อื หนังสอื ราคา ช่ือผ้แู ต่ง แบบบนั ทึกการอ่าน ส้านกั พมิ พ์ สถานท่ีพิมพ์ จ้านวนหน้า บาท อา่ นวันท่ี เดือน นามปากกา ปที พี่ มิ พ์ พ.ศ. เวลา 1. สาระส้าคญั ของเร่ือง 2. วเิ คราะหข์ ้อคิด/ประโยชน์ท่ีได้จากเรื่องที่อ่าน 3. สงิ่ ทส่ี ามารถนา้ ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจ้าวัน 4. ข้อเสนอแนะของครู ลงชื่อ นักเรยี น ลงชื่อ ผปู้ กครอง ( )( ) ลงชื่อ ครูผ้สู อน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน () เกณฑก์ ารให้คะแนน ผลงานมคี วามสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 4 คะแนน ผลงานมขี ้อบกพร่องเปน็ ส่วนใหญ่ ผลงานมขี ้อบกพร่องเพียงเลก็ น้อย ให้ 3 คะแนน ผลงานมขี อ้ บกพร่องมาก
บันทึกหลังแผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา2563 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ........1......... เรอื่ ง ความส้าคญั ของระบบประสาท และระบบต่อมไรท้ ่อต่อวัยรุ่น แผนการสอนที่ ......3...... เร่อื ง โครงสรา้ งและหน้าท่ขี องระบบต่อมไรท้ ่อ จา้ นวน ....1.... ชั่วโมง ผสู้ อน นางสาวณฐั ธดิ า แกว้ ค้าศรี บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ผู้เรยี นได้รับความรู้ (K) นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่อมไร้ทอ่ ผู้เรยี นเกดิ ทักษะกระบวนการ (P) นกั เรียนสามารถบอกโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของระบบต่อมไร้ท่อได้ ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม (A) นกั เรยี นมที ัศนคติท่ีดีตอ่ วชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา ขยนั ใฝุรูใ้ ฝุเรยี น เชอื่ มน่ั ในตนเอง กล้าแสดงออกมีความสขุ ต่อการ เรยี น ผเู้ รียนเกิดทักษะการคดิ 1) ทักษะการวิเคราะห์ 2) ทกั ษะการเชือ่ มโยง ผเู้ รียนมีหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผ้เู รียนเรียนรู้ทีจ่ ะใช้ทรัพยากรได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ปัญหาอุปสรรค (ถ้าม)ี - ขอ้ เสนอแนะ (ถา้ มี) - ลงช่ือ.......................................................... (นางสาวณัฐธิดา แกว้ คา้ ศรี) ครผู ู้สอน ความคดิ เห็นของผูบ้ ริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................ .................................................................................................... .......................... ลงช่ือ.............................................. (นายอดิศร แดงเรือน) ผู้อา้ นวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศกึ ษา) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง ความสา้ คัญของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อต่อวัยร่นุ เวลา 6 ชัว่ โมง แผนการเรียนรูท้ ี่ 4 เร่ือง ความสา้ คัญและการดูแลรกั ษาระบบต่อมไร้ทอ่ เวลา 1 ชัว่ โมง ครูผู้สอน ............................................... วันท.ี่ .................................................... 1. สาระสาคัญ ระบบตอ่ มไร้ท่อมคี วามสา้ คัญต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น จึงต้องดแู ลรกั ษาระบบ ต่อมไรท้ อ่ อย่างถูกวิธเี พื่อใหท้ ้างานได้ตามปกติ 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) อธิบายความสา้ คัญของระบบต่อมไร้ท่อทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการของวัยรนุ่ ได้ 2) อธิบายวิธีการดูแลรกั ษาระบบตอ่ มไร้ท่อให้ท้างานไดต้ ามปกติ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) ความสา้ คัญของระบบต่อมไร้ท่อที่มผี ลตอ่ สขุ ภาพ การเจริญเตบิ โต และพฒั นาการของวัยรุน่ 3) วธิ ดี แู ลรกั ษาระบบต่อมไรท้ ่อให้ทา้ งานตามปกติ 3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ (พิจารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน 4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการวเิ คราะห์ 2) ทกั ษะการเชื่อมโยง 4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝุเรียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทา้ งาน
กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ สี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ ขั้นที่ 1 สงั เกต ตระหนกั 1. ครูนา้ ภาพเด็กแคระ มาใหน้ ักเรยี นดู แล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกันสังเกตและวิเคราะหว์ ่า สาเหตุทีท่ ้าให้เด็กคนน้ีมีความ ผดิ ปกติคอื อะไร 2. ครูเฉลยคา้ ตอบให้นักเรียนฟังวา่ เกิดจากการขาดโกรทฮอร์โมน จึงท้าใหร้ า่ งกายมีลักษณะท่ีเตยี้ เลก็ ผดิ ปกติ ขั้นท่ี 2 วางแผนปฏบิ ัติ นักเรียนกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1) รว่ มกันวางแผนเพ่ือศึกษาความรู้ตามหวั ขอ้ ที่กา้ หนด ดังน้ี 1) ความส้าคญั ของระบบต่อมไร้ท่อท่ีมผี ลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรนุ่ 2) การดแู ลรักษาระบบต่อมไรท้ ่อให้ทา้ งานตามปกติ ขน้ั ที่ 3 ลงมือปฏบิ ัติ สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มร่วมกันศกึ ษาความรเู้ รื่อง ความสา้ คัญของระบบต่อมไร้ท่อท่ีมีผลต่อสุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการของวยั รุน่ และการดูแลรกั ษาระบบต่อมไร้ท่อใหท้ ้างานตามปกติ จากหนังสือเรียน ตามท่ีได้วางแผนไว้ ข้ันท่ี 4 พัฒนาความรู้ ความเขา้ ใจ 1. สมาชิกแต่ละกล่มุ น้าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาเปน็ แนวทางในการท้าใบงานท่ี 1.3 เร่อื ง การดูแลรักษาระบบ ตอ่ มไรท้ ่อ 2. ครูส่มุ ตวั แทนนกั เรยี น 5-6 กลุ่ม นา้ เสนอใบงานที่ 1.3 หนา้ ช้นั เรยี น แล้วให้เพ่ือนกลุ่มอื่นทม่ี คี า้ ตอบแตกตา่ งออกมา น้าเสนอเพิ่มเตมิ ข้ันท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรเู้ ร่ือง ความสา้ คญั ของระบบตอ่ มไร้ท่อทม่ี ีผลต่อสุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และ พฒั นาการของวยั รนุ่ และการดแู ลรกั ษาระบบต่อมไร้ท่อ ให้ท้างานตามปกติ 2. นกั เรยี นตอบค้าถามกระตนุ้ ความคิด ภาระงาน/ชิ้นงาน - แหล่งเรยี นรู้ / ส่อื 1) หนงั สอื เรยี น สขุ ศึกษา ม.1 2) บตั รภาพ 3) ใบงานที่ 1.3 เร่อื ง การดแู ลรักษาระบบตอ่ มไร้ท่อ
การวัดและประเมินผล วิธกี าร เคร่ืองมอื เกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.3 ใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการทา้ งานรายบคุ คล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทา้ งานรายบคุ คล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการท้างานกล่มุ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการท้างานกลมุ่ สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเุ รยี นรู้ และมุ่งมั่นในการท้างาน แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ลงชือ่ .......................................................... (นางสาวณัฐธดิ า แก้วคา้ ศรี) ครูผสู้ อน ความคดิ เห็นของหัวหน้าฝุายบรหิ ารวิชาการ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่ือ.............................................. (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อา้ นวยการฝุายบริหารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ........................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื .............................................. (นายอดศิ ร แดงเรือน) ผ้อู ้านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31
เอกสารประกอบการสอน บตั รภาพ ภาพเด็กแคระ
ใบงานท่ี1.3 การดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อ ตอนที่ 1 ให้นกั เรยี นเขยี นอธิบายวา่ ระบบตอ่ มไรท้ ่อมคี วามสา้ คญั อย่างไรต่อสขุ ภาพ การเจรญิ เติบโต คาชีแ้ จง และพัฒนาการของวัยรุ่น ตอนท่ี 2 ใหน้ กั เรยี นเขยี นอธบิ ายแนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาระบบตอ่ มไร้ท่อให้ทา้ งานได้ตามปกติ คาชแ้ี จง มาอยา่ งน้อย 5 ข้อ
เฉลยใบงานที่1.3 การดูแลรกั ษาระบบต่อมไรท้ ่อ ตอนท่ี 1 ให้นักเรยี นเขยี นอธบิ ายวา่ ระบบตอ่ มไรท้ ่อมีความส้าคัญอย่างไรต่อสขุ ภาพ การเจริญเตบิ โต คาชแี้ จง และพัฒนาการของวยั รุ่น (ตวั อยา่ ง) 1) ควบคมุ การทางานของอวัยวะภายในของรา่ งกาย 2) ควบคมุ สภาวะแวดลอ้ มภายในรา่ งกายให้อย่ใู นสภาวะสมดุล 3) กระตุ้นการใชส้ ารอาหาร และผลิตพลงั งานภายในร่างกายเพอื่ การเจริญเติบโต 4) กระตุ้นการเจรญิ เติบโตของร่างกาย 5) กระตนุ้ การเจริญเตบิ โตทางเพศ 6) เกดิ พัฒนาการท่ีเหมาะสมกับวยั 7) กระตุ้นให้เกิดพฒั นาการทางเพศทเ่ี หมาะสม (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครผู ู้สอน) ตอนที่ 2 ใหน้ กั เรียนเขียนอธิบายแนวทางปฏบิ ตั ิในการดูแลรักษาระบบตอ่ มไร้ท่อใหท้ ้างานไดต้ ามปกติ คาชแ้ี จง มาอยา่ งน้อย 5 ข้อ (ตวั อยา่ ง) 1) ดม่ื นา้ สะอาดประมาณ 6-8 แกว้ ตอ่ วัน 2) เลอื กรับประทานอาหารท่ีมีคณุ คา่ ทางโภชนาการครบท้ัง 5 หมู่ ในปริมาณเหมาะสม 3) ออกกาลงั กายอยา่ งสมา่ เสมอ 4) พักผ่อนใหเ้ พยี งพอ 5) ไปพบแพทย์เมื่อมีความผิดปกติของร่างกาย (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของครูผู้สอน)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357