Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore @เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

@เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

Published by Rujira P., 2021-11-08 13:38:37

Description: @เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

Search

Read the Text Version

88 4) ระดับผลการเรียนเฉล่ยี ในปีการศึกษาน้ันได้ไม่ต่ำกว่า 1.00 5) ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน 6) ผู้เรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7) ผู้เรียนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นทุกกิจกรรม การพิจารณาเลื่อนช้ัน ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงบางประการ ซ่ึงสถานศึกษาพิจารณา เห็นว่าสามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ก็ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของผู้อำนวยการท่ีจะผ่อนผันให้ เล่ือนชั้น ได้ ในกรณที ผ่ี ู้เรียนมสี ตปิ ัญญาและความสามารถดีเลศิ สามารถเรียนร้ไู ดเ้ ร็วเป็นพเิ ศษ โรงเรียน อาจให้โอกาสผู้เรียนเลื่อนช้ันระหว่างปีการศึกษา โดยโรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการประกอบด้วย คณะกรรมการวิชาการ และผู้แทนของเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือต้นสังกัดอย่างน้อย 1 คน เมื่อผู้เรียนมี คณุ สมบตั คิ รบถว้ นตามเงื่อนไขทั้ง 3 ประการ ตอ่ ไปนี้ 1. มผี ลการเรยี นปีการศึกษาทผ่ี ่านมาและมีผลการเรียนระหวา่ งปีอยู่ในเกณฑ์ดีเย่ียม 2. มีวฒุ ิภาวะเหมาะสมที่จะเรียนในช้ันทสี่ ูงขึน้ 3. ผ่านการประเมินผลความรู้ความสามารถตามตัวช้ีวัดรายปีทั้งหมดในภาคเรียนที่ 2 ปีปจั จุบันและภาคเรยี นที่ 1 ของปีการศึกษาถัดไป การอนุมัติให้เลื่อนไปเรียนชั้นสูงได้ 1 ระดับช้ันนี้ ต้องได้รับการยินยอมจากนักเรียนและ ผู้ปกครองและต้องดำเนินการให้เสร็จสิน้ ก่อนเปดิ เรียนภาคเรียนท่ี 2 ในปีการศึกษานั้น 4. เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติม ตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ี หลกั สูตรกำหนด 2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมินขั้นต่ำข้ึนไป (ตั้งแต่ 1.00 ขน้ึ ไป) 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินตั้งแต่ “ผ่าน” ข้ึนไปในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียน 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินต้ังแต่ “ผ่าน” ขึ้นไปในการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินเป็น “ผ่าน” ในทุก กิจกรรมของกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ระดับมัธยมศกึ ษา 1. การตัดสินผลการเรียน การตัดสินผลการเรียนในระดับมัธยมศึกษามีการตัดสินในหลายลักษณะ คือ การผ่าน รายวิชากำหนดเป็นภาคเรียน การเลื่อนช้ันปีกำหนดเป็นปีการศึกษาและการจบระดับช้ันกำหนดเป็น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้นและระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หลักเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้เพ่ือ ตัดสนิ ผลการเรยี นของผเู้ รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 มดี ังนี้ 1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทัง้ หมดในรายวิชานั้นๆ

89 2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวช้ีวัดและมีผลการประเมินผ่านไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของตวั ชว้ี ัดทัง้ หมด 3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนรายวิชาพื้นฐานทุกรายวิชาต้ังแต่ผ่านเกณฑ์ ขน้ั ต่ำขึ้นไป (ตัง้ แต่ 1.00 ข้ึนไป) 4) รายวิชาเพ่มิ เติมทุกรายวิชาไดร้ ับการตัดสินผลการเรียน 5) ระดบั ผลการเรียนเฉลย่ี ในปีการศึกษาน้ันได้ไม่ต่ำกว่า 1.00 6) ผูเ้ รียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น 7) ผเู้ รียนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8) ผ้เู รียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นทุกกิจกรรม 2. การใหร้ ะดบั ผลการเรียน  การตัดสินผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษาให้ระดับผล การ เรียน 8 ระดับ โดยใช้ระบบตัวเลข การตัดสินผลการเรียนใช้ระบบผ่าน และไม่ผ่านโดยกำหนดเกณฑ์การตัดสินผ่าน แต่ละวิชาท่ี ร้อยละ 50 จากนนั้ จึงให้ระดับผลการเรียนท่ีผ่านเป็นระบบตัวเลข ซ่งึ สะทอ้ นมาตรฐาน ดงั ตาราง ระดับผลการเรียน ความหมาย ระบบร้อยละ 4 ดเี ยย่ี ม 80 – 100 3.5 ดมี าก 75 – 79 3 ดี 70 – 74 2.5 ค่อนข้างดี 65 – 69 2 ปานกลาง 60 – 64 1.5 พอใช้ 55 – 59 1 50 – 54 0 ผา่ นเกณฑข์ ้ันต่ำ 0 – 49 ต่ำกวา่ เกณฑ์ ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับได้ ให้ใช้ตัวอักษรระบุเงื่อนไขของผล การเรยี น ดงั น้ี “มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู้เรียนมี เวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการ ผอ่ นผนั ใหเ้ ขา้ รบั การวดั ผลปลายภาคเรียน “ร” หมายถงึ รอการตัดสนิ และยงั ตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เน่อื งจากผเู้ รียนไม่มีข้อมูล ผลการเรียนรายวิชาน้ันครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลกลางภาคเรียน/ ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมาย ให้ทำ ซ่ึงงานน้ันเป็นส่วน หนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยท่ีทำให้ประเมินผล การเรยี นไมไ่ ด้

90  การประเมินการผ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ัน ให้ผล การประเมินเป็นผ่าน ไมผ่ ่าน กรณีทีผ่ ่านใหร้ ะดบั ผลการประเมนิ เป็นดเี ยี่ยม ดี และผา่ น 1. ในการสรุปผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เพื่อการเลื่อนชั้นและจบ การศึกษา กำหนดเกณฑ์การตัดสินเป็น 4 ระดบั และความหมายของแต่ละระดับดังน้ี ดีเย่ียม หมายถงึ มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่ มคี ณุ ภาพดเี ยยี่ มอยเู่ สมอ ดี หมายถงึ มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ทมี่ คี ุณภาพเปน็ ท่ียอมรับ ผ่าน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มคี ณุ ภาพเปน็ ที่ยอมรับ แตย่ ังมีขอ้ บกพร่องบางประการ ไมผ่ ่าน หมายถงึ ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียน หรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องท่ีต้องได้รับการ ปรับปรงุ แก้ไขหลายประการ 2. ในการสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รวมทุกคุณลักษณะเพ่ือการเลื่อน ชนั้ และจบการศึกษา กำหนดเกณฑ์การตดั สินเป็น 4 ระดบั และความหมายของแต่ละระดับดังน้ี ดเี ยย่ี ม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณา จากผลการประเมินระดับดีเย่ียม และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการ ประเมนิ ต่ำกว่าระดับดี ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์เพ่ือให้เป็นการ ยอมรบั ของสงั คม ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรบั รแู้ ละปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์และเงอื่ นไขที่สถานศึกษากำหนด ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขที่ สถานศึกษากำหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตงั้ แต่ 1 คุณลกั ษณะ  การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรม และผลงานของผู้เรียนตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการประเมนิ เปน็ ผ่านและไมผ่ า่ น กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนมี 3 ลักษณะ คอื 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กจิ กรรมนักเรียน ซงึ่ ประกอบด้วย  กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี (ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น)  กิจกรรมนกั ศึกษาวชิ าทหาร (ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายเลือกเรยี น)  กิจกรรมชมรม หรือชมุ นุม 3) กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ให้ใช้ตวั อกั ษรแสดงผลการประเมินดังนี้

91 “ผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมี ผลงานตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนด “มผ” หมายถงึ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมี ผลงานไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากำหนด “มสบ” หมายถงึ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมแต่มี ผลงานไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด ในกรณีท่ีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มสบ” , “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทำ กิจกรรมในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วม หรือไม่ได้ทำจนครบถ้วนแล้วจึงเปลี่ยนผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ท้ังน้ีดำเนินการให้เสร็จส้ินภายในภาคเรียนน้ัน ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของ สถานศึกษาท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน แต่ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปี การศึกษานน้ั 3. การเล่อื นระดบั ชั้น การตัดสินผลการเรียนในระดับมัธยมศึกษามีการตัดสินในหลายลักษณะ คือ การผ่าน รายวิชากำหนดเป็นภาคเรียน การเล่ือนชั้นปกี ำหนดเป็นปีการศกึ ษาและการจบระดับชน้ั กำหนดเป็นระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้เพ่ือตัดสิน ผลการเรยี นของผู้เรียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ดังน้ี 1) ตดั สินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมดในรายวชิ าน้ันๆ 2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและมผี ลการประเมินผ่านไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ของตัวช้ีวัดท้ังหมด 3) รายวิชาพนื้ ฐาน ได้รับการตัดสนิ ผลการเรียนผ่านทุกรายวิชา ตั้งแตผ่ ่านเกณฑข์ ั้นต่ำข้ึนไป (คือตง้ั แต่ 1.00 ข้ึนไป) 4) รายวชิ าเพิม่ เติม ไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนทุกรายวชิ า 5) ระดับผลการเรียนเฉล่ยี ในปีการศึกษานั้นได้ไมต่ ่ำกว่า 1.00 6) ผเู้ รยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น 7) ผเู้ รยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8) ผู้เรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นทุกกิจกรรม ท้ังน้ีรายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับ การแก้ไขในภาคเรยี นถัดไป 4. เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พน้ื ฐาน 66 หน่วยกติ และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด 2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พ้ืนฐาน 66 หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพม่ิ เติมไมน่ ้อยกว่า 11 หนว่ ยกิต 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินตั้งแต่ “ผ่าน” ขึ้นไปในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขยี น

92 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินต้ังแต่ “ผ่าน” ขึ้นไปในการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินเป็น “ผ่าน” ในทุก กจิ กรรมของกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 5. เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พน้ื ฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด 2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเติมไม่น้อยกวา่ 36 หนว่ ยกติ 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินต้ังแต่ “ผ่าน” ข้ึนไปในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขยี น 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินตั้งแต่ “ผ่าน” ข้ึนไปในการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินเป็น “ผ่าน” ในทุก กิจกรรมของกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน 3.2 หลักสตู ร English Program (English Program Staff, 2017) Vision Mission Goals: Basic Education Core Curriculum Vision The Basic Education Core Curriculum is aimed at enhancing capacity of all learners, who constitute the major force of the country, so as to attain a balanced development in all respects - physical strength, knowledge and morality. They will fully realize their commitment and responsibilities as Thai citizens and members of the world community. Adhering to a democratic form of government under a constitutional monarchy, they will be endowed with basic knowledge and essential skills and favorable attitude towards further education, livelihood and lifelong learning. The learner-centered approach is therefore strongly advocated, based on the conviction that all are capable of learning and developing themselves to their highest potentiality. Principles Notable principles underlying the Basic Education Core Curriculum are as follow. 1. The ultimate aim is the attainment of national unity; learning standards and goals are therefore set with a view of enabling the children and youths to acquire knowledge, skills, attitude and morality to serve as a foundation for Thai-ness and universal values.

93 2. The curriculum facilitates education for all, who have equal access to high education quality. 3. The curriculum facilitates decentralization of authority by allowing society to participate in educational provision, which suits prevailing situations and serves local needs. 4. Structure of the curriculum enjoys flexibility regarding learning contents, time allotment and learning management. 5. The learner-centered approach is strongly advocated. 6. The curriculum is intended for education of all types - formal, non-formal and informal, covering all target groups and facilitating transfer of learning outcomes and experiences. Goals The Basic Education Core Curriculum is aimed at the full development of learners in all respects - morality, wisdom, happiness, and potentiality for further education and livelihood. The following goals have consequently been set for achievement upon completing basic education: 1. Morality, ethics, desired values, self-esteem, self-discipline, observance of Buddhist teachings or those of one’s faith, and applying principles of Sufficiency Economy Philosophy; 2. Knowledge and skills for communication, thinking, problem-solving, technological know-how, and life skills; 3. Good physical and mental health, hygiene, and preference for physical exercise; 4. Patriotism, awareness of responsibilities and commitment as Thai citizens and members of the world community, and adherence to a democratic way of life and form of government under a constitutional monarchy. 5. Awareness of the need to preserve all aspects of Thai culture and Thai wisdom, protection and conservation of the environment, and public-mindedness with dedication to public service for peaceful and harmonious coexistence. Vision Mission Goals: School Vision Provide education to be the venue for learners to develop knowledge, leading to higher education and possess the leadership potential that responds to the needs of the society with morale.

94 Mission 1. Provide teacher training experience for students of education. 2. Study, research, educational development, and academic services. 3. Manage education to expand educational opportunities for the children and youth together with preserving arts and culture. Goals 1. Learners achieve education which is not lower quality than educational standard. 2. Prepare kindergarten learners to be ready for further studies in basic education. 3. Equip primary learners to possess skills to seek variety knowledge, morality, ethics and being happy in society, having the ability of self-expression and leadership. 4. Capacitate secondary learners development in seeking process and create bodies of knowledge, health care, morality, ethics, aesthetics and being able to study further with capability. 5. Provide opportunity for teachers to study, research and trial to develop quality of educational technology and innovation. 6. Secure an efficient and effective curriculum administration system. Desired Characteristics 1. Having the academic knowledge, the ability to analytical, synthetic, critical and constructive thinking and as a person in learning society. 2. Having the language skills for communication and using the technology for education. 3. Having the leadership personality, knowing their own, self – reliance and working with others. 4. Having morality, ethics and desirable values. 5. Having aesthetics and habitual characteristics in arts, music and sports. 6. Having hygiene, good physical and mental health. 7. Having a democracy, think of common interest and conserve Thai wisdom, arts and Thai culture, natural resources and environment. Curriculum Management : Lower Secondary Education Level 1. Manage the learning areas of basic course to cover basic education core curriculum B.E. 2551 of Ministry of Education.

95 2. Manage the additional course which emphasize science and mathematics to learners having good basic knowledge for further education. 3. Aim at promoting learners to develop English application skills for communication with an emphasis on learners to study the second foreign language as the additional subject by choosing 1 language besides studying English. 4. Manage the variety elective subjects to be the alternative of learners according to their potential, aptitudes and interests; correlate with further education in vocational field and upper secondary level. Curriculum Conceptual Framework for Lower Secondary Education (English Program) Learning Management Program: Mattayom Suksa 1 – 3 Subject Areas/Activities M.1 Credit M.3 Total M.2 Subject Areas Semester 1 Semester 2 Semester 1 Semester 2 9.0 Thai Semester 1 Semester 2 9.0 Mathematics 9.0 Science 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 12.0 Social Studies , Religion and 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 Culture 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 6.0 Health and Physical Education 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 6.0 Arts 6.0 Occupation and Technology 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 9.0 Foreign Languages 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 66.0 Total (Basic) 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 11.0 11.0 11.0 11.0 11.0 11.0

96 Subject Areas/Activities M.1 Credit M.3 Total M.2 - Learner Development Semester 1 Semester 2 Semester 1 Semester 2 Activities Semester 1 Semester 2 Additional subjects/Activities (4) (4) (4) (4) Total (Credit) (4) (4) Total (Period/week) 4.5 4.5 4.5 4.5 4.5 4.5 27.0 15.5 15.5 15.5 15.5 15.5 15.5 93.0 (35) (35) (35) (35) (35) (35) - Learning Management Program : Mattayom Suksa 1 Semester 1 Semester 2 Time Time Code Course Perio Credi Code Course Perio Credi ds t ds t /week /week Basic Course Basic Course THA 21101 Thai 1 3 1.5 THA 21102 Thai 2 3 1.5 3 1.5 MATH MATH 21102 Mathematics 2 3 1.5 3 1.5 21101 Mathematics 1 3 1.5 SCI 21102 Science 2 1 0.5 1 0.5 SCI 21101 Science 1 3 1.5 SOC 21102 Social Studies 2 1 0.5 2 1.0 SOC 21101 Social Studies 1 3 1.5 SOC 21104 History 2 2 1.0 SOC 21103 History 1 1 0.5 HPE 21102 Health Education 2 3 1.5 22 11.0 HPE 21101 Health Education 1 1 0.5 HPE 21104 Physical Education 2 9 4.5 2 1.0 HPE 21103 Physical Education 1 1 0.5 ART 21102 Arts 2 2 1.0 2 1.0 ART 21101 Arts 1 2 1.0 TECH 21102 Occupation and TECH Occupation and 2 1.0 21101 Technology 1 Technology 2 3 1.5 ENG 21101 English 1 22 11.0 ENG 22102 English 2 Total 9 4.5 Total Additional Course Additional Course 2 1.0 SCI 21202 Clean Energy Environmental MATH 21202 Application 2 SCI 21201 Science ENG 21202 Supplementary English MATH 2 21201 Application 1 2 1.0 ………………… Elective Course 3 1.5 4 ENG 21201 Supplementary English 2 1.0 Learner Development Activities 1 1 Counseling Activities ……………… Elective Course 3 1.5 Student Activities Learner Development Activities 4 - Boy Scout 1 2 Counseling Activities 1 - Clubs Student Activities Activities for Social and Public - Boy Scout 1 Interest - Clubs 2 Total 35 15.5 Activities for Social and Public Interest Total 35 15.5

97 Learning Management Program : Mattayom Suksa 2 Semester 1 Semester 2 Time Time Code Course Perio Credi Code Course Perio Credi ds t ds t /week /week Basic Course Basic Course THA 22101 Thai 3 3 1.5 THA 22102 Thai 4 3 1.5 3 1.5 MATH Mathematics 3 3 1.5 MATH Mathematics 4 22101 22102 SCI 22101 Science 3 3 1.5 SCI 22102 Science 4 3 1.5 3 1.5 SOC 22101 Social Studies 3 3 1.5 SOC 22102 Social Studies 4 1 0.5 1 0.5 SOC 22103 Civic Duty 1 1 0.5 SOC 22104 Civic Duty 2 1 0.5 2 1.0 HPE 22101 Health Education 3 1 0.5 HPE 22102 Health Education 4 2 1.0 HPE 22103 Physical Education 3 1 0.5 HPE 22104 Physical Education 4 3 1.5 22 11.0 ART 22101 Arts 3 2 1.0 ART 22102 Arts 4 9 4.5 2 1.0 TECH 22101 Occupation and 2 1.0 TECH22102 Occupation and 2 1.0 Technology 3 3 1.5 Technology 4 2 1.0 22 11.0 ENG 22101 English 3 9 4.5 ENG 22102 English 4 3 1.5 2 1.0 Total 4 Total Additional Course 1 Additional Course 2 1.0 SCI 22202 Plant Products 1 SCI 22201 World Conservation 2 1.0 MATH Application 4 2 by 5R 22202 3 1.5 ENG 22202 Supplementary English - MATH Application 3 4 35 15.5 22201 1 4 ……………….. Elective Course ENG 22201 Supplementary 1 Learner Development Activities English 3 2 Counseling Activities ……………….. Elective Course - Student Activities 35 15.5 - Boy Scout Learner Development Activities - Clubs Activities for Social and Public Counseling Activities Interest Student Activities Total - Boy Scout - Clubs Activities for Social and Public Interest Total

98 Learning Management Program : Mattayom Suksa 3 Semester 1 Semester 2 Time Time Code Course Period Code Course Period Credi s Credit s t /week /week Basic Course Basic Course THA 23101 Thai 5 3 1.5 THA 23102 Thai 6 3 1.5 MATH 23101 Mathematics 5 3 1.5 MATH SCI 23101 Science 5 3 1.5 23102 Mathematics 6 3 1.5 3 1.5 SOC 23101 Social Studies 5 3 1.5 SCI 23102 Science 6 3 1.5 SOC 23103 Geography 1 1 0.5 SOC 23102 Social Studies 6 1 0.5 HPE 23101 Health Education 5 1 0.5 SOC 23104 Geography 2 HPE 23103 Physical Education 5 1 0.5 HPE 23102 Health Education 1 0.5 ART 23101 2 1.0 HPE 23104 6 TECH 23101 Arts 5 2 1.0 1 0.5 Physical 2 1.0 Occupation and Technology Education 6 2 1.0 5 ENG 23101 English 5 3 1.5 ART 23102 Arts 6 Total 22 11.0 TECH Occupation and Additional Course 9 4.5 23102 Technology 6 SCI 23201 STEM in Energy 2 1.0 ENG 23102 English 6 3 1.5 22 11.0 Conservation Total 9 4.5 2 1.0 MATH 2 1.0 Additional Course 23201 Application 5 SCI 23202 Electricity and ENG 23201 Supplementary English 5 2 1.0 Mechanics ………………. Elective Course 3 1.5 Production Learner Development Activities 4 MATH 2 1.0 Counseling Activities 1 23202 Application 6 2 1.0 Student Activities - Boy Scout 1 ENG 23202 Supplementary 3 1.5 - Projects 2 English 6 Activities for Social and Public 4 Interest 35 15.5 ………………. Elective Course 1 Total Learner Development 1 Activities 2 Counseling Activities 35 15.5 Student Activities - Boy Scout - Projects Activities for Social and Public Benefit Total Criteria for Learning Assessment 1. Judging Learning Outcomes Judging the learning outcomes in secondary education level, lower and upper secondary education level, has the assessment criteria to judge learners' learning outcomes based on the Basic Education Core Curriculum 2008 (B.E.2551) as follows.

99 1) Teachers will judge the learning outcomes of all courses. Learners must have an attendance record not less than 80% of the total learning time required for the respective courses for each semester. 2) Learners must be assessed on all indicators and have the assessment outcomes in pass level not less than 60% of all indicators. 3) Learners must be judged ‘Pass’ on the learning outcomes of all basic courses of the minimum criteria (since 1.0 up). 4 ) Learners must be judged on the learning outcomes of additional courses. 5 ) The average level of learning outcomes in the academic year is not lower than 1.00. 6) Learners must pass the criteria of assessment on reading, analytical thinking and writing. 7) Learners must pass the criteria of assessment on desired characteristics. and 8) Learners must pass the criteria of assessment on every learner development activities. 2. Grading Learning Outcomes  Judging the learning outcomes of each course in all subject areas, the use of numerical system is prescribed in 8 levels to show the learning outcomes. Judging the learning outcomes in basic education level are pass or fail system by prescribing the criteria to judge pass by each subjects at 50 % and then, grade the level of learning outcomes that pass. For lower secondary education level and upper, the numerical system 8 levels is used to show the learning outcomes as shown in the following table. Comparison between using the numerical system with the meaning and percent systems The Learning Outcomes Level Meanings Percent System 4 Excellent 80 – 100 3.5 Very Good 75 – 79 3 Good 70 – 74 2.5 Rather Good 65 – 69 2 Moderately 60 – 64

100 The Learning Outcomes Level Meanings Percent System 1.5 Fair 55 – 59 1 Pass Minimum Criteria 50 – 54 0 Lower Than Minimum 0 – 49 Criteria In case of not being able to provide the learning outcomes as to the numerical system 8 levels, use the alphabet to indicate the condition of learning outcomes as follows: “Ie” means learners are not eligible to attend the final exam because they don't have the attendance record to 80% of the learning time of each course and are not permitted to attend the final exam. “I” means learners are waiting for judging and didn’t judge because the learning outcomes of that subjects aren't complete like; not attend the midterm exam and final exam, not do the task assigned which was a part of the judging learning outcomes or having force majeure that the learning outcomes cannot be evaluated.  Assessment in the reading, analytical thinking and writing, and desired characteristics, outcomes are graded as: Pass and Fail. In case of pass, the assessment outcomes are graded as: Excellent, Good and Pass. 1. In summarizing the assessment outcomes of reading, analytical thinking and writing to move to a higher level and to graduate prescribes the criteria of judging into 4 levels with the following meanings: Excellent means having the works indicating the abilities of reading, analytical thinking and writing with regularly excellent quality. Good means having the works indicating the abilities of reading, analytical thinking and writing with recognized quality. Pass means having the works indicating the abilities of reading, analytical thinking and writing with recognized quality but still having some deficiencies. Fail means no having the works indicating the abilities of reading, analytical thinking and writing or having the works with many deficiencies which have to be improved in many respects.

101 2. In summarizing the assessment outcomes of every desired characteristics to move to a higher level and to graduate prescribes the criteria of judging into 4 levels with the following meanings: Excellent means learners follow to the desired characteristics habitually and apply in daily life for their own and social benefits by considering the assessment outcomes in excellent level and don’t have any desired characteristics assessed lower than good level. Good means learners have the desired characteristics to follow the regulations so as to be accepted of society. Pass means learners accept and follow the regulations and conditions prescribed by the educational institution. Fail means learners accept and follow not all of the regulations and conditions prescribed by the educational institution by considering the assessment outcomes in fail level since 1 characteristic.  Assessment in the learner development activities is considered from the time activities attendance, the activities practice and the works of learners according to the criteria prescribed by the educational institution and the assessment outcomes are graded as: Pass and Fail. 1) Counseling Activities 2) Student Activities includes :  Boy Scout organization, Girl Guides, Social Service and Territorial Defense (Learners must choose any one.)  Activities of various clubs (Learners must choose one) 3) Activities for Social and Public Interest Alphabets are used to show the assessment outcomes as follows: “P” means learners have the time of participating the learner development activities, practice the activities and have the works as to the criteria prescribed by the educational institution. “F” means learners have the time of participating the learner development activities, practice the activities but don’t have any works as to the criteria prescribed by the educational institution. “I” means learners have the time of participating the learner development activities, practice the activities but don’t meet the criteria prescribed by the educational institution.

102 In case of “F” and “I” the educational institution must provide remedial to learners to do the activity that they didn't participate or didn't do completely and change “F” to “P” by finishing proceeding within the semester except having force majeure; be the discretion of the educational institution to consider and extend one more semester but have to finish proceeding within the academic year. 3. Transition to Higher Level The learning outcomes in secondary education level are judged in several ways; course passing specified to be semester, transition to higher level specified to be the academic year, and level graduation specified to be lower secondary education level and upper. Principles and criteria of learning assessment for judging learners' learning outcomes based on Basic Education Core Curriculum 2008 (B.E. 2551) are as follows: 1) Teachers will judge the learning outcomes of all courses. Learners must have an attendance record of not less than 80% of the total learning time required for the respective courses for each semester; 2) Learners must be assessed on all indicators and have the assessment outcomes in pass level not less than 60% of all indicators; 3) Learners must be judged ‘Pass’ on the learning outcomes of all basic courses since the minimum criteria (1.0 up); 4) Learners must be judged on the learning outcomes of additional courses; 5 ) The average level of learning outcomes in the academic year is not lower than 1.00; 6) Learners must pass the criteria of assessment on reading, analytical thinking and writing; 7) Learners must pass the criteria of assessment on desired characteristics; and 8) Learners must pass the criteria of assessment on every learner development activities. For the course which the learners didn't pass, the educational institution can provide them to get remedial in the next semester 4. Graduation Criteria for Lower Secondary Education Level 1) Learners attain not more than 81 credits for basic and additional courses, with a distribution of 66 credits for basic courses and a number of credits for additional courses as prescribed by the respective educational institution;

103 2) Learners attain not less than 77 credits for the entire curriculum with a distribution of 66 credits for basic courses and not less than 11 credits for additional courses; 3) Learners’ assessment outcomes regarding reading and analytical thinking and writing must meet the criteria prescribed by the respective educational institutions; 4) Learners’ assessment outcomes regarding desired characteristics must meet the criteria prescribed by the respective educational institutions; and 5) Learners participate in learner development activities and the assessment outcomes of their participation must meet the criteria prescribed by the respective educational institutions. 6) Learners must be judged ‘Pass’ on the learning outcomes of all English subjects since the minimum criteria (2.0 up). 7) Learners need to learn foreign languages as a second language, at least 1 course, and get the judging learning outcomes since the minimum criteria (1.0 up).

105 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการวิจยั การวิจัยเรอ่ื ง การประเมินหลักสูตรโรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพ่ือ 1) ศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตร สถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 2) ประเมินหลักสูตรโรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในด้านบรบิ ท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program และ3) เสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนก เป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program โดยการประเมินหลักสูตรคร้ังนี้ ผู้วิจัยใช้รูปแบบ การประเมิน CIPPI Model ของ Danial L. Stufflebeam มาเป็นแนวทางในการประเมินหลักสูตร มี การดำเนนิ การวิจยั ดังน้ี กลมุ่ เป้าหมายทีใ่ ช้ในการวจิ ัย การวจิ ยั ครงั้ นีผ้ ู้วจิ ยั ไดก้ ำหนดกลุ่มเป้าหมายไว้ดงั นี้ 1. นักเรียนหลักสูตรปกติ ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 จำนวน 12 คน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1-2 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-5 รวมจำนวน 442 คน ท่ีเรียนในปีการศึกษา 2562 ซึ่งใช้หลักสูตร โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) รวมทั้งส้ิน 454 คน และนักเรียนหลักสูตร English Program ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-2 จำนวน 27 คน ได้มาโดย วธิ ีการเลือกแบบเจาะจง 2. อาจารย์ผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ หลักสูตรปกติมีจำนวน 89 คน และหลักสตู ร English Program มจี ำนวน 22 คน ไดม้ าโดยวธิ ีการเลอื กแบบเจาะจง 3. ผู้บริหาร ประกอบด้วย ผู้บริหารระดับคณะ ผู้บริหารโรงเรียน และคณะกรรมการฝ่าย วิชาการ ซงึ่ ประกอบดว้ ย หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และหัวหน้า งานวดั และประเมินผล รวมจำนวน 19 คน ไดม้ าโดยวิธีการเลอื กแบบเจาะจง 4. ผู้ปกครองของนักเรียนท่ีศึกษาในหลักสูตรปกติ ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1-2 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-5 ของปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 15 คน และ หลักสูตร English Program ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1-2 มีจำนวน 5 คน ไดม้ าโดยวธิ ีการเลอื กแบบ เจาะจง

106 แบบแผนการวิจัยเชงิ ประเมิน การวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัยใช้แบบแผนการวิจัยเชิงประเมินโดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPPI ของ Stufflebeam ที่เน้นการประเมินก่อน ระหว่าง และหลังการดำเนินโครงการ มาใช้ในการประเมิน หลักสูตรร่วมกับวิธีการเชิงผสมผสาน (Mixed Methods) โดยมีการเก็บข้อมูลท้ังเชิงปริมาณ (Quantitative methods) และเชิงคุณภาพ (Qualitative methods) รวมทั้งมีการตรวจสอบสาม เส้า (Triangulation) ด้านข้อมูลและด้านระเบียบวิธีการวิจัย โดยมีองค์ประกอบของการประเมิน หลักสูตร 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้าน ผลกระทบ มปี ระเดน็ การประเมนิ ตามองค์ประกอบ ดังตารางท่ี 4 ตารางท่ี 4 ประเด็นการประเมินตามองคป์ ระกอบของการประเมินหลักสตู ร องค์ประกอบของการประเมนิ ประเดน็ การประเมิน 1. ด้านบรบิ ท (Context : C) 1. ปรัชญา 2. วิสยั ทศั น์ 3. นโยบาย/พันธกจิ 4. โครงสร้างหลักสตู ร 5. ผลการเรยี นรู้ 6. สาระการเรยี นรู้ 7. คำอธบิ ายรายวิชา 8. หนว่ ยและแผนการจดั การเรยี นรู้ 2. ดา้ นปจั จยั นำเข้า (Input : I) 1. คณุ วฒุ ิ และคณุ ลกั ษณะของผบู้ รหิ าร 2. คณุ วุฒิ และคณุ ลักษณะของอาจารย์ 3. พืน้ ฐานด้านความรคู้ วามสามารถของผู้เรียน 4. เอกสารหลกั สตู ร 5. อาคารเรียน 6. วัสดอุ ปุ กรณ์การเรยี น 7. งบประมาณ 8. แหลง่ เรยี นรู้ และสภาพแวดล้อม 9. การสนบั สนุนของชมุ ชน 3. ดา้ นกระบวนการ (Process : P) 1. การบรหิ ารจดั การหลักสูตร 2. กระบวนการจดั การเรียนการสอน 3. การวดั และประเมินผล 4. การจดั การระบบอาจารยท์ ป่ี รึกษา 5. การจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 6. พฤตกิ รรมของอาจารย์ 7. พฤติกรรมของนักเรยี น 8. การนิเทศตดิ ตาม 9. การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 4. ด้านผลผลิต (Product : P) 1. ผลการเรียนรขู้ องนกั เรียน 2. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรียน 3. ผลงานของนักเรียน

107 องค์ประกอบของการประเมนิ ประเดน็ การประเมนิ 5. ด้านผลกระทบ (Impact : I) 4. ความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น 5. บคุ ลกิ ภาพของนักเรียน 6. ทกั ษะทางปญั ญาของนกั เรยี น 7. สมรรถนะด้านการจัดการเรยี นรขู้ องอาจารย์ 8. ความคดิ เห็นของนักเรยี นและอาจารยต์ ่อหลักสตู รฯ 1. การเผยแพร่ผลงานวิชาการของอาจารย์และนักเรยี น 2. ความรสู้ กึ เปน็ เจา้ ของและภาคภูมใิ จต่อสถาบัน 3. การยอมรบั ของชุมชน/สงั คม 4. การมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนากิจกรรมการเรยี นการสอนของ บคุ ลากรภายในและภายนอกหนว่ ยงาน เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) คร้ังน้ี มีจำนวนทัง้ ส้ิน 6 ฉบบั ประกอบด้วย เครอ่ื งมอื ท่ี ใช้ในการวิจัยสำหรับวตั ถุประสงคก์ ารวิจัยขอ้ ท่ี 1 มี 2 ฉบับ คอื แบบสมั ภาษณส์ ภาพปญั หาและความ ต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และประเด็นสนทนากลุ่มสภาพปัญหาและความ ต้องการประเมินหลักสูตรสถานศกึ ษาในปัจจุบนั เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ัยสำหรับวตั ถุประสงค์การวจิ ัย ข้อที่ 2 มี 3 ฉบับ คือ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษา แบบสอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ท่ีมีต่อหลักสูตรสถานศึกษา และแบบตรวจสอบองค์ประกอบ และคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา และเครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวิจัยสำหรับวัตถุประสงค์การวิจยั ขอ้ ที่ 3 มี 1 ฉบับ คือ ประเด็นสนทนากลุ่มเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยมีลักษณะของเครื่องมือ การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ ทั้ง 6 ฉบบั ดงั นี้ เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวิจยั สำหรบั วัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั ขอ้ ที่ 1 ฉบับที่ 1 แบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาและความต้องการประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษาใน ปัจจุบนั แบบสัมภาษณ์ฉบับน้ี เป็นเครื่องมือเพื่อให้ผู้รับการสัมภาษณ์คือ ผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ จำนวน 5 คน ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และสังกัด กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพ ปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา โดยมี ข้ันตอนการสรา้ งและพัฒนาเครอ่ื งมอื ดังนี้

108 1.1 ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร การ บรหิ ารจดั การหลกั สตู ร และรูปแบบการประเมินหลักสูตร 1.2 ร่างแบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาใน ปัจจุบัน ประกอบด้วย คำช้ีแจง ข้อมูลทั่วไป และประเด็นสัมภาษณ์ โดยแบบสัมภาษณ์ฉบับนี้แบ่ง ออกเป็น 2 ตอน คอื ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ได้แก่ เพศ วิทยฐานะ ประสบการณ์การบริหาร และวุฒิการศึกษาสูงสดุ ตอนที่ 2 ประเด็นสัมภาษณ์เก่ียวกับสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาใน ปัจจุบัน และความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มีลักษณะเป็นข้อคำถามปลายเปิดให้ ผู้บริหารโรงเรียนแสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริง มี 4 ข้อหลัก ได้แก่ 1) สิ่งที่ควรพัฒนา แก้ไข/ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2) สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีควรต้องเร่งแก้ไข/ปรับปรุง และพัฒนาเพื่อมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 3) ความต้องการและช่วงเวลาท่ีเหมาะสมในการ ประเมินหลกั สูตร และ4) ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ เพอื่ ให้แสดงความคิดเห็นในภาพรวม 1.3 ตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์ในด้านความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยนำแบบสัมภาษณ์ไปให้ผู้เช่ียวชาญประเมินความเหมาะสมระหว่างข้อคำถามกับส่ิงท่ี ต้องการวัด ประกอบด้วยผู้เช่ียวชาญจำนวน 5 คน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการนิเทศการศึกษา 2 คน ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินหลักสูตร 2 คน และผู้เช่ียวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา 1 คน พิจารณาความเหมาะสมตามเกณฑ์การให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ1 หมายถึง ข้อคำถามมีความ เหมาะสมในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ตามลำดับ นำมาหาค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นรายข้อของประเด็นสัมภาษณ์เกี่ยวกับสภาพปัญหาของ หลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา แล้วนำค่าเฉลี่ยมา เทยี บกับเกณฑ์ระดับคณุ ภาพของประเดน็ สัมภาษณ์ดงั น้ี (มาเรียม นิลพนั ธ์ุ, 2558: 196) ค่าเฉล่ยี ระหวา่ ง 4.50-5.00 หมายถงึ ขอ้ คำถามมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 3.50-4.49 หมายถงึ ข้อคำถามมคี วามเหมาะสมในระดับมาก คา่ เฉลย่ี ระหวา่ ง 2.50-3.49 หมายถงึ ข้อคำถามมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ยี ระหว่าง 1.50-2.49 หมายถึง ขอ้ คำถามมคี วามเหมาะสมในระดับนอ้ ย ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00-1.49 หมายถึง ขอ้ คำถามมคี วามเหมาะสมในระดับน้อยท่สี ุด โดยพิจารณาค่าความเหมาะสมหรือสอดคล้องท่ีมีค่าเฉล่ียมากกว่า 3.50 ขึ้นไปและส่วน เบีย่ งเบนมาตรฐานน้อยกว่า 1.00 แสดงวา่ ข้อความมีความเหมาะสมหรอื สอดคลอ้ งสามารถนำไปใชไ้ ด้ (มาเรียม นิลพันธุ์, 2558: 179) ซึ่งพบว่า ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์สภาพปัญหา และความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน มีผลการประเมินความเหมาะสมระหว่าง ข้อคำถามกับสิ่งที่ต้องการวัดพบว่า ทุกข้อคำถามมีค่าเฉลี่ย 5.00 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.00 แสดงว่าแบบสัมภาษณ์ฉบบั นม้ี ีความเหมาะสมในระดบั มากทสี่ ุด สามารถนำไปเกบ็ รวบรวมข้อมูลได้ 1.4 นำแบบสัมภาษณ์ท่ีผ่านการตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เช่ียวชาญเรียบร้อยแล้วมา แก้ไข/ปรับปรุงตามคำแนะนำทั้งในด้านภาษา ข้อมูลท่ัวไป และประเด็นสัมภาษณ์ โดยมีการปรับข้อ

109 คำถามให้สอดคล้องกับส่ิงท่ีต้องการศึกษาคือ สภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลักสูตร สถานศกึ ษาในปจั จบุ ัน 1.5 จัดพิมพ์แบบสัมภาษณ์ฉบับสมบูรณ์ และนำไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้บริหาร โรงเรียน เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อท่ี 1 ของการวิจัยประเมินหลักสูตรครั้งน้ี และเพ่ือเตรียมออกแบบ การประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษาตอ่ ไป ฉบับท่ี 2 ประเด็นสนทนากลุ่มสภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาในปจั จุบนั ประเด็นสนทนากลุ่มฉบับน้ี เป็นเครื่องมือเพื่อให้ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่ม คือ คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ จำนวน 12 คน ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ได้แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพปัญหาของ หลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีขั้นตอนการ สรา้ งและพัฒนาเครือ่ งมือดงั น้ี 2.1 ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับหลักสูตร การ บริหารจัดการหลกั สูตร และรปู แบบการประเมนิ หลกั สตู ร 2.2 ร่างประเด็นสนทนากลุ่มสภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาในปัจจุบัน ประกอบด้วย คำช้ีแจง ข้อมูลทั่วไป และประเด็นสนทนากลุ่ม โดยประเด็น สนทนากลุม่ ฉบับนี้แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ได้แก่ เพศ วิทยฐานะ ประสบการณ์การปฏิบัติงานในสถานศึกษา ประสบการณ์การเป็นคณะกรรมการฝ่าย วชิ าการ และวฒุ ิการศึกษาสงู สุด ตอนที่ 2 ประเด็นสนทนากลุ่มเก่ียวกับสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาใน ปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มีลักษณะเป็นข้อคำถามปลายเปิดให้ คณะกรรมการฝ่ายวิชาการแสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริง มี 4 ข้อหลัก ได้แก่ 1) สิ่งที่ควร พัฒนา แก้ไข/ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2) สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีควรต้องเร่ง แก้ไข/ปรับปรุงและพัฒนาเพ่ือมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 3) ความต้องการและช่วงเวลาที่ เหมาะสมในการประเมินหลักสูตร และ4) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม เพื่อให้แสดงความ คดิ เหน็ ในภาพรวม 2.3 ตรวจสอบคุณภาพของประเด็นสนทนากลุ่มในด้านความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยใช้วิธีการเดียวกับเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยฉบับท่ี 1 ซึ่งพบว่า ผลการ ตรวจสอบคุณภาพของประเด็นสนทนากลุ่มเกี่ยวกับสภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาในปัจจุบัน มีผลการประเมินความเหมาะสมระหว่างข้อคำถามกับส่ิงที่ต้องการวัดพบว่า ทกุ ข้อคำถามมีค่าเฉล่ีย 5.00 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.00 แสดงว่าประเดน็ สนทนากลมุ่ ฉบับนี้มี ความเหมาะสมในระดับมากท่สี ุด สามารถนำไปเกบ็ รวบรวมข้อมูลได้ 2.4 นำประเด็นสนทนากลุ่มท่ีผ่านการตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เช่ียวชาญเรียบร้อยแล้ว มาแก้ไข/ปรับปรุงตามคำแนะนำทั้งในด้านภาษา ข้อมูลท่ัวไป และประเด็นสัมภาษณ์ โดยมีการปรับ

110 ข้อคำถามให้สอดคล้องกับสิ่งท่ีต้องการศึกษาคือ สภาพปัญหาและความต้องการประเมินหลักสูตร สถานศกึ ษาในปจั จุบัน 2.5 จัดพิมพ์ประเด็นสนทนากลุ่มฉบับสมบูรณ์ และนำไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับ คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ของการวิจัยประเมินหลักสูตรคร้ังน้ี และ เพอ่ื เตรียมออกแบบการประเมินหลักสตู รสถานศึกษาต่อไป เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัยสำหรบั วตั ถุประสงค์การวิจัยข้อท่ี 2 ฉบบั ท่ี 3 แบบสอบถามความคดิ เห็นของนกั เรยี นทมี่ ตี อ่ หลกั สตู รสถานศกึ ษา แบ บ ส อ บ ถาม ฉ บั บ นี้ เป็ น เค ร่ือ งมื อ เพ่ื อ ให้ นั ก เรีย น ข อ งโรงเรีย น ส าธิต แ ห่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา หลักสูตรปกติ จำนวน 454 คน และหลักสูตร English Program 27 คน ได้แสดงความคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตร โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) โดยมีประเด็นความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินหลักสูตรตามองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ มีข้ันตอนการสร้างและพัฒนา เคร่อื งมอื ดงั นี้ 3.1 ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับหลักสูตร การ บริหารจัดการหลักสูตร และรูปแบบการประเมินหลกั สตู ร 3.2 ร่างแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบด้วย คำชี้แจง ข้อมูลท่ัวไป และความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียน โดยแบบสอบถามฉบับน้ีแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ได้แก่ เพศ ระดับชั้นที่เรียนในปีการศึกษา 2562 ระยะเวลาท่ีเรียนอยู่ที่โรงเรียนสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน และกจิ กรรม/โครงการของโรงเรยี นท่ีนักเรยี นรูส้ กึ ประทบั ใจ ตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) แบ่งประเด็นการประเมินหลักสูตรออกเป็น 5 ด้าน เพื่อให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริงในประเด็นการประเมินท่ีครอบคลุมส่ิงท่ี ต้องการประเมิน ได้แก่ การประเมินบริบท (Context Evaluation: C) มี 18 ประเด็น การประเมิน ปจั จัยนำเขา้ (Input Evaluation: I) มี 14 ประเดน็ การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation: P) มี 16 ประเดน็ การประเมินผลผลิต (Product Evaluation: P) มี 10 ประเด็น และการประเมินผล กระทบ (Impact Evaluation: I) มี 6 ประเด็น แบบสอบถามส่วนน้ีมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมิน คา่ 5 ระดับ (Likert Five Rating Scales) โดยผู้ตอบแบบสอบถามพจิ ารณาประเดน็ การประเมินตาม เกณฑก์ ารให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ1 หมายถึง มีความคิดเห็นต่อประเด็นการประเมินหลักสูตรอยู่ใน ระดบั มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และนอ้ ยท่ีสุด ตามลำดับ

111 3.3 ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามในด้านความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยนำแบบสอบถามไปให้ผู้เช่ียวชาญประเมินความเหมาะสมระหว่างข้อคำถามกับสิ่งท่ี ต้องการวัด ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการนิเทศการศึกษา 2 คน ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินหลักสูตร 2 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา 1 คน พิจารณาความเหมาะสมตามเกณฑ์การให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ1 หมายถึง ประเด็นการ ประเมินหลักสตู ร/รายวิชาในหลักสูตร/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีความเหมาะสมในระดับมากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด ตามลำดับ นำมาหาค่าเฉล่ีย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นรายข้อของแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษา แล้วนำค่าเฉล่ียมาเทียบกับ เกณฑร์ ะดบั คุณภาพของแบบสอบถามดังน้ี (มาเรียม นิลพนั ธุ์, 2558: 196) คา่ เฉลยี่ ระหว่าง 4.50-5.00 หมายถึง ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตรมีความเหมาะสมใน ระดบั มากท่สี ุด ค่าเฉลย่ี ระหว่าง 3.50-4.49 หมายถึง ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตรมีความเหมาะสมใน ระดับมาก คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 2.50-3.49 หมายถงึ ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตรมีความเหมาะสมใน ระดับปานกลาง คา่ เฉล่ียระหวา่ ง 1.50-2.49 หมายถึง ประเด็นการประเมินหลกั สูตรมีความเหมาะสมใน ระดบั น้อย ค่าเฉล่ยี ระหว่าง 1.00-1.49 หมายถงึ ประเด็นการประเมินหลักสูตรมีความเหมาะสมใน ระดับน้อยท่สี ุด โดยพิจารณาค่าความเหมาะสมหรือสอดคล้องที่มีค่าเฉลี่ยมากกว่า 3.50 ข้ึนไปและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานน้อยกว่า 1.00 แสดงว่าขอ้ ความมีความเหมาะสมหรอื สอดคลอ้ งสามารถนำไปใชไ้ ด้ (มาเรียม นลิ พันธ์ุ, 2558: 179) ซงึ่ พบว่า ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามความคิดเห็นที่มี ตอ่ หลักสูตรสถานศึกษา มผี ลการประเมินความเหมาะสมระหวา่ งประเด็นการประเมินหลกั สูตรกับส่ิง ที่ต้องการวัดพบว่า การประเมินหลักสูตรทุกประเด็น มีค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานอยู่ ระหว่าง X =3.60, S.D.=0.55 ถึง X =5.00, S.D.=0.00 แสดงว่าแบบสอบถามฉบับน้ี มีประเด็นที่มี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากท่สี ุด สามารถนำไปเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลได้ 3.4 นำแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษาท่ีผ่านการตรวจสอบ คุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญเรียบร้อยแล้วมาแก้ไข/ปรับปรุงตามคำแนะนำทั้งในด้านภาษา ข้อมูลท่ัวไป และประเด็นความคิดเห็น 5 ด้าน โดยมีการปรับขอ้ ความให้ใชภ้ าษาสื่อความหมายให้เหมาะสมกับวัย ของนักเรียนและสอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการศึกษาเก่ียวกับ หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) รวมทั้งตัดบางประเด็น ทนี่ กั เรยี นไม่เกย่ี วขอ้ ง คือ ด้านการบรหิ ารจดั การหลกั สูตร 3.5 จัดพิมพ์แบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตรสถานศึกษาฉบับสมบูรณ์ และ นำไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับอาจารย์ผู้สอนและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียนสาธิตแห่ง

112 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เพ่ือตอบ วตั ถปุ ระสงค์ข้อที่ 2 ของการวจิ ยั ประเมินหลักสูตรคร้ังน้ี ฉบบั ท่ี 4 แบบสอบถามความคิดเหน็ ของอาจารย์ทีม่ ีตอ่ หลกั สูตรสถานศึกษา แบบสอบถามฉบับน้ี เป็นเครือ่ งมือเพื่อให้อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ผู้สอนท่ีมีบทบาทเป็น หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศึกษา จำนวน 89 คน และอาจารย์ผูส้ อนหลักสูตร English Program 22 คน ได้แสดงความคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) โดยมีประเด็นความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินหลักสูตร ตามองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้าน ผลกระทบ มีข้ันตอนการสร้างและพัฒนาเคร่ืองมือดังนี้ 4.1 ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับหลักสูตร การ บรหิ ารจัดการหลักสูตร และรูปแบบการประเมินหลกั สตู ร 4.2 ร่างแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบด้วย คำช้ีแจง ข้อมูลทั่วไป ความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียน ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของรายวิชา และความคิดเห็นเก่ียวกับความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบบสอบถามฉบับนี้แบ่ง ออกเป็น 4 ตอน คอื ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ได้แก่ เพศ วุฒิการศึกษาสูงสุด ประสบการณ์การสอนและระดับการศึกษาที่สอนในโรงเรียนสาธิตเกษตรฯ กำแพงแสน ตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) แบ่งประเด็นการประเมินหลักสูตรออกเป็น 5 ด้าน เพ่ือให้อาจารย์ผู้สอนและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ได้แสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริงใน ประเด็นการประเมินที่ครอบคลุมสิ่งท่ีต้องการประเมิน ได้แก่ การประเมินบริบท (Context Evaluation: C) มี 28 ประเด็น การประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation: I) มี 20 ประเด็น การ ประเมินกระบวนการ (Process Evaluation: P) มี 27 ประเด็น การประเมินผลผลิต (Product Evaluation: P) มี 12 ประเด็น และการประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation: I) มี 7 ประเด็น แบบสอบถามส่วนนี้มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ (Likert Five Rating Scales) โดย ผูต้ อบแบบสอบถามพิจารณาประเดน็ การประเมนิ ตามเกณฑ์การให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ1 หมายถึง มีความคิดเห็นต่อประเด็นการประเมินหลักสูตรอยู่ในระดับมากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อย ท่ีสุด ตามลำดับ ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของรายวชิ าในหลักสตู รสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ประกอบด้วย รายวิชาในหลักสูตร ได้แก่ รายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม ใน 8 กลุ่มสาระการ

113 เรียนรู้ คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการ เรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ และกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ แบบสอบถามส่วนน้ีมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ (Likert Five Rating Scales) โดยผตู้ อบแบบสอบถามพิจารณาความเหมาะสมของรายวชิ าตามเกณฑ์ การให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ1 หมายถึง รายวิชามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด ตามลำดับ และอาจเลือก “ไม่เหมาะสม” ได้ ถ้าผู้ตอบแบบสอบถาม เห็นว่ารายวิชาน้ันไม่เหมาะสม พร้อมระบุเหตุผลและข้อเสนอแนะด้วยเพ่ือให้ทราบว่าไม่เหมาะสม อยา่ งไร ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน หลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ประกอบด้วย กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นในหลักสูตร 4 กจิ กรรมหลัก ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมชมรม และกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ สว่ นทา้ ยมีข้อเสนอแนะ เพ่ิมเติมเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นในภาพรวม แบบสอบถามส่วนนี้มีลักษณะ เป็นมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ (Likert Five Rating Scales) โดยผู้ตอบแบบสอบถามพิจารณา ความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามระดับชั้นเรียนของนักเรียนโดยใช้เกณฑ์การให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ1 หมายถึง กิจกรรมที่จัดให้นักเรียนมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด ตามลำดับ และอาจเลือก “ไม่เหมาะสม” ได้ ถ้าผู้ตอบแบบสอบถาม เห็นว่ากจิ กรรมพัฒนาหลกั สูตรนน้ั ไมเ่ หมาะสม พร้อมระบเุ หตุผลและข้อเสนอแนะด้วยเพอ่ื ให้ทราบว่า ไมเ่ หมาะสมอยา่ งไร 4.3 ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามในด้านความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยนำแบบสอบถามไปให้ผู้เช่ียวชาญประเมินความเหมาะสมระหว่างข้อคำถามกับส่ิงที่ ต้องการวัด ประกอบด้วยผู้เช่ียวชาญจำนวน 5 คน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการนิเทศการศึกษา 2 คน ผู้เช่ียวชาญด้านการประเมินหลักสูตร 2 คน และผู้เช่ียวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา 1 คน พิจารณาความเหมาะสมตามเกณฑ์การให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ1 หมายถึง ประเด็นการ ประเมินหลักสตู ร/รายวิชาในหลักสูตร/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด ตามลำดับ นำมาหาค่าเฉล่ีย ( X ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นรายข้อของแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษา แล้วนำค่าเฉลี่ยมาเทียบกับ เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพของแบบสอบถามดังน้ี (มาเรียม นลิ พันธุ์, 2558: 196) ค่าเฉล่ียระหว่าง 4.50-5.00 หมายถึง ประเด็นการประเมินหลักสูตร/รายวิชาใน หลกั สตู ร/กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนมคี วามเหมาะสมในระดบั มากท่สี ดุ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.50-4.49 หมายถึง ประเด็นการประเมินหลักสูตร/รายวิชาใน หลกั สูตร/กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นมีความเหมาะสมในระดบั มาก ค่าเฉล่ียระหว่าง 2.50-3.49 หมายถึง ประเด็นการประเมินหลักสูตร/รายวิชาใน หลกั สตู ร/กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง

114 ค่าเฉล่ียระหว่าง 1.50-2.49 หมายถึง ประเด็นการประเมินหลักสูตร/รายวิชาใน หลักสูตร/กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นมีความเหมาะสมในระดบั น้อย ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00-1.49 หมายถึง ประเด็นการประเมินหลักสูตร/รายวิชาใน หลักสตู ร/กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนมคี วามเหมาะสมในระดับนอ้ ยทีส่ ุด โดยพิจารณาค่าความเหมาะสมหรอื สอดคล้องที่มีคา่ เฉลี่ยมากกว่า 3.50 ขึน้ ไปและส่วน เบีย่ งเบนมาตรฐานน้อยกว่า 1.00 แสดงว่าข้อความมีความเหมาะสมหรอื สอดคลอ้ งสามารถนำไปใชไ้ ด้ (มาเรียม นลิ พันธ์ุ, 2558: 179) ซง่ึ พบว่า ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมี ต่อหลักสูตรสถานศึกษา มีผลการประเมินความเหมาะสมระหว่างประเด็นการประเมินหลักสูตร/ รายวิชาในหลักสูตร/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกบั ส่ิงที่ต้องการวัดพบว่า การประเมินหลักสูตรทกุ ประเด็น มีค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง X =3.80, S.D.=0.84 ถึง X =5.00, S.D.=0.00 แสดงว่าแบบสอบถามฉบับนี้ มีประเด็นที่มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากท่ีสุด สามารถนำไป เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลได้ 4.4 นำแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษาที่ผ่านการตรวจสอบ คุณภาพโดยผู้เช่ียวชาญเรียบร้อยแล้วมาแก้ไข/ปรับปรุงตามคำแนะนำท้ังในด้านภาษา ข้อมูลทั่วไป และประเดน็ การประเมินหลักสตู ร/รายวิชาในหลกั สตู ร/กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน โดยมกี ารปรับข้อความ ให้สอดคล้องกับส่ิงที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) 4.5 จัดพิมพ์แบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตรสถานศึกษาฉบับสมบูรณ์ และ นำไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับอาจารย์ผู้สอนและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เพ่ือตอบ วตั ถปุ ระสงคข์ อ้ ที่ 2 ของการวิจัยประเมินหลกั สตู รครงั้ น้ี ฉบับที่ 5 แบบตรวจสอบองค์ประกอบและคณุ ภาพหลกั สูตรสถานศกึ ษา แบบตรวจสอบฉบับนี้ เป็นเครื่องมือเพ่ือให้คณะกรรมการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศึกษา จำนวน 12 คน ได้ พิ จ ารณ าต รว จ ส อ บ อ งค์ ป ระก อ บ แ ล ะ คุ ณ ภ าพ ข อ งห ลั ก สู ต รโรงเรีย น ส าธิต แ ห่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ผู้วิจัยได้นำ เครื่องมือ “แบบตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ” ของกระทรวงศึกษาธิการ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552: 24-27) มาประยุกต์ใช้ โดยเพิ่มองค์ประกอบท่ี 4 โครงสรา้ งรายวิชา ลง ไปเปน็ ส่วนหนงึ่ ของเครื่องมือแบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสตู รสถานศกึ ษา เนื่องจาก องค์ประกอบดังกล่าวโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ได้กำหนดให้มีอยู่ในประมวลการสอน (Course Syllabus) ทุกรายวิชาของ หลักสูตรด้วย ดังนั้นองค์ประกอบของหลักสูตรที่ใช้ในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพจึง ประกอบด้วย 6 รายการ คือ 1) ส่วนนำ 2) โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 3) คำอธิบายรายวิชา 4)

115 โครงสร้างรายวิชา 5) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ6) เกณฑ์การจบการศึกษา มีขั้นตอนการพัฒนา เครือ่ งมอื ดังน้ี 5.1 ศึกษาเอกสารเก่ียวกับการประเมินหลักสูตรและการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร รวมทั้งองค์ประกอบของหลกั สูตรสถานศึกษา 5.2 ประยุกต์ใช้แบบตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ โดยเพ่ิมองค์ประกอบที่ 4 โครงสร้างรายวิชา และข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุง/แก้ไข ในแต่ละ ประเด็นเพื่อให้ได้ผลการวิจัยท่ีชัดเจนมากขึ้น แบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตร สถานศึกษาฉบับนี้ ได้กำหนดระดับคุณภาพในการประเมินไว้ 3 ระดับ ให้คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ ของโรงเรยี นได้พจิ ารณารายการตรวจสอบตามเกณฑ์การให้คะแนนดงั นี้ ระดบั คณุ ภาพ 3 หมายถึง ครบถ้วน ถูกตอ้ ง สอดคล้อง เหมาะสม ทุกรายการ ระดบั คุณภาพ 2 หมายถึง มีครบทุกรายการ แตม่ ีบางรายการควรปรบั ปรุงแก้ไข ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ไม่มี/ มีไม่ครบทุกรายการ/ ไม่สอดคล้อง/ ต้องปรับปรุง แกไ้ ขหรอื เพิม่ เตมิ และมีเกณฑ์การแปลความหมายโดยใช้ค่าเฉล่ีย ( X ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังนี้ คา่ เฉล่ียระหว่าง 2.50-3.00 หมายถงึ รายการตรวจสอบมคี ุณภาพในระดับมาก ค่าเฉล่ียระหว่าง 1.50-2.49 หมายถึง รายการตรวจสอบมีคุณภาพในระดับปาน กลาง คา่ เฉลีย่ ระหวา่ ง 1.00-1.49 หมายถงึ รายการตรวจสอบมคี ุณภาพในระดบั น้อย 5.3 ตรวจสอบคุณภาพของแบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตร สถานศึกษาในด้านความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยนำแบบตรวจสอบไปให้ ผู้เช่ียวชาญประเมินความเหมาะสมระหว่างรายการตรวจสอบกับส่ิงท่ีต้องการวัด ประกอบด้วย ผู้เช่ียวชาญจำนวน 5 คน ได้แก่ ผู้เช่ียวชาญด้านการนิเทศการศึกษา 2 คน ผู้เช่ียวชาญด้านการ ประเมินหลักสูตร 2 คน และผู้เช่ียวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา 1 คน พิจารณาความ เหมาะสมตามเกณฑ์การให้คะแนน 5, 4, 3, 2 และ1 หมายถึง รายการตรวจสอบมีความเหมาะสมใน ระดับมากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด ตามลำดับ นำมาหาค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นรายข้อของแบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตร สถานศึกษา แลว้ นำค่าเฉลย่ี มาเทียบกบั เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพดงั นี้ (มาเรียม นิลพันธ์ุ, 2558: 196) ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.50-5.00 หมายถึง รายการตรวจสอบมีความเหมาะสมในระดับมาก ท่สี ดุ คา่ เฉลี่ยระหว่าง 3.50-4.49 หมายถงึ รายการตรวจสอบมคี วามเหมาะสมในระดบั มาก ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.50-3.49 หมายถึง รายการตรวจสอบมีความเหมาะสมในระดับปาน กลาง ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 1.50-2.49 หมายถงึ รายการตรวจสอบมีความเหมาะสมในระดับน้อย ค่าเฉล่ียระหว่าง 1.00-1.49 หมายถึง รายการตรวจสอบมีความเหมาะสมในระดับน้อย ที่สดุ

116 โดยพิจารณาค่าความเหมาะสมหรือสอดคลอ้ งท่ีมีค่าเฉล่ียมากกว่า 3.50 ข้ึนไปและส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานน้อยกว่า 1.00 แสดงว่าขอ้ ความมคี วามเหมาะสมหรอื สอดคล้องสามารถนำไปใช้ได้ (มาเรียม นิลพันธุ์, 2558: 179) ซึ่งพบว่า ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบตรวจสอบองค์ประกอบ และคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา มีผลการประเมินความเหมาะสมระหว่างรายการตรวจสอบกับส่ิงที่ ต้องการวัดพบว่า ผลการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรสถานศกึ ษาทุกรายการมีค่าเฉลี่ย 5.00 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.00 แสดงว่าแบบตรวจสอบฉบับนี้ มีความเหมาะสมในระดับมากท่ีสุด สามารถ นำไปเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลได้ 5.4 นำแบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาที่ผ่านการ ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญเรียบร้อยแล้วมาแก้ไข/ปรับปรุงตามคำแนะนำในด้านภาษาท่ีใช้สื่อ ความหมายในคำช้ีแจงจากข้อความ “แบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา ฉบับน้ี สร้างขึ้นเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา” เป็น “แบบตรวจสอบ องค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาฉบับน้ี นำมาใช้ในการตรวจสอบความสมบูรณ์ของ เอกสารหลกั สตู รสถานศึกษา” 5.5 จดั พิมพ์แบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลกั สูตรสถานศึกษาฉบับสมบรู ณ์ และน ำไป เก็บ รวบ รวม ข้อ มู ลกับ ค ณ ะก รรม ก ารฝ่าย วิช าการข องโรงเรีย น ส าธิตแ ห่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เพ่ือตอบ วัตถุประสงคข์ อ้ ท่ี 2 ดา้ นบริบท ของการวิจัยประเมินหลักสตู รครัง้ นี้ เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวิจยั สำหรับวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัยข้อท่ี 3 ฉบับท่ี 6 ประเด็นสนทนากลุ่มเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ประเด็นสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion Guidelines) ฉบับนี้ ใช้เป็นเครื่องมือ สำหรับจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion : FGD) มีจำนวนผู้ร่วมสนทนากลุ่มทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ตัวแทนนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 12 คน และตัวแทนนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1-2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 รวมจำนวน 12 คน (หลักสูตรปกติ 8 คน และ หลักสูตร English Program 4 คน) กลุ่มที่ 2 ตัวแทนผู้ปกครองนักเรียน แบ่งการสนทนากลุ่ม ออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คอื 3.1) กลุ่มตัวแทนผู้ปกครองนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 10 คน และ3.2) ตัวแทนผู้ปกครองนักเรียนหลักสูตรปกติช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 จำนวน 6 คน และหลักสตู ร English Program 4 คน รวมจำนวน 10 คน รวมกลุ่มตัวแทนผปู้ กครอง นักเรียนทั้งหมด 20 คน กลุ่มท่ี 3 อาจารย์และผู้บริหาร ประกอบด้วย อาจารย์ผู้สอน หัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้ หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หัวหน้างานวัดและประเมินผล และผู้บริหาร โรงเรียน รวมจำนวน 12 คน กลุ่มท่ี 4 ผู้ทรงคุณวุฒิด้านหลักสูตร การสอน และการประเมินผล รวม จำนวน 6 คน สำหรับกลุ่มท่ี 4 ผู้วิจัยปรับวิธีการจากการสนทนากลุ่มเป็นการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ

117 เป็นรายบุคคลผ่านออนไลน์โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ทางวิดีโอ Google Meet เนอื่ งมาจากสถานการณ์ ไม่ปกติกรณีการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 ในประเทศไทย ซ่ึงใช้ประเด็นสัมภาษณ์ชุดเดียวกับ ประเดน็ สนทนากลุ่ม โดยมขี ัน้ ตอนการสร้างและพัฒนาเครื่องมอื ดงั น้ี 6.1 ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับหลักสูตร การ บริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล รูปแบบการประเมินหลักสูตร และ เทคนิคการจัดสนทนากลุม่ และการสรา้ งประเด็นสนทนากลุ่ม 6.2 ร่างประเด็นสนทนากลุ่มเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร จำนวน 6 ประเด็น ครอบคลุมองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตร 5 ด้าน โดยประเด็นข้อ 1 ด้านบริบท ข้อ 2 ด้านปัจจัยนำเข้า ข้อ 3-4 ด้านกระบวนการ ข้อ 5 ด้านผลผลิต และข้อ 6 ด้านผลกระทบ ทั้ง หลักสูตรปกติและหลักสูตร English Program ใช้เคร่ืองมือประเด็นสนทนากลุ่มฉบับเดียวกัน โดย ประเด็นสนทนากลุ่มฉบับร่างน้ีมีลักษณะเป็นข้อคำถามปลายเปิดสำหรับผู้ร่วมสนทนากลุ่ม 5 กลุ่ม ข้างต้นได้แสดงความคิดเห็นตามความเป็นจริงจำนวน 6 ประเด็น แต่ละประเด็นเป็นข้อความท่ี สอดคลอ้ งกับองคป์ ระกอบของการประเมินหลกั สูตรตามแนวคดิ CIPPI Model ดงั นี้ 1) ท่านคิดว่าหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ท่ีพัฒนาข้ึนตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานน้ัน ช่วยให้ผู้เรียนบรรลุ จุดมุ่งหมายและเป้าหมายของหลักสูตรได้หรือไม่ เพียงใด และควรมีแนวทางการพัฒนาและปรับปรุง หลักสตู รอยา่ งไร (ดา้ นบรบิ ท) 2) ท่านคิดว่า หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ท่ีพัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง และชุมชนเข้ามามี สว่ นร่วมในการจัดการศึกษาหรือไม่ เพียงใด และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน และการ จดั การเรยี นการสอนของโรงเรียนอยา่ งไร (ดา้ นปัจจยั นำเขา้ ) 3) ท่านคิดว่า มีปัจจัยสำคัญใดบ้างที่จะช่วยขับเคล่ือนการนำหลักสูตรสถานศึกษา สชู่ ั้นเรียน และควรมวี ธิ ีการหรือแนวทางในการดำเนินการอย่างไรให้เกดิ ประสทิ ธิผลสงู สดุ ตอ่ ผูเ้ รียนใน ศตวรรษที่ 21 (ดา้ นกระบวนการ) 4) ท่านคิดว่าโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและพัฒนาการศึกษา ควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร”อย่างไร เพื่อให้ครูสามารถพัฒนา คุณภาพผู้เรียนสู่เป้าหมายของหลักสูตรได้สำเร็จ ตามองค์ประกอบคือ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวดั และประเมนิ ผล และปัจจัยสนับสนนุ (ด้านกระบวนการ) 5) ท่านคิดว่า คุณลักษณะของครูและนักเรยี นที่พึงประสงค์ ของโรงเรียนสาธติ แห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ควรมีลักษณะ อยา่ งไร (ด้านผลผลิต)

118 6) ท่านคิดว่า หลักสูตรสถานศึกษาฯแห่งน้ี สามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตาม ความต้องการของสถาบันท่ีจะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพหรือไม่ อย่างไร และ อาจารยม์ กี ารเผยแพรผ่ ลงาน หรือใหบ้ ริการวชิ าการมากนอ้ ยเพยี งใด อยา่ งไรบ้าง (ดา้ นผลกระทบ) 6.3 ตรวจสอบคุณภาพของประเด็นสนทนากลุ่มในด้านความเท่ียงตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยใช้วิธีการเดียวกับเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยฉบับท่ี 1 ซึ่งพบว่า ผลการ ตรวจสอบคุณภาพของประเด็นสนทนากลุ่มเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีผลการประเมินความเหมาะสมระหว่างข้อคำถามกับสิ่งที่ ต้องการวัดพบว่า ทุกข้อคำถามมีค่าเฉลี่ย 5.00 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.00 แสดงว่าประเด็น สนทนากลุ่มฉบับนม้ี ีความเหมาะสมในระดบั มากทสี่ ุด สามารถนำไปเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้ 6.4 นำประเด็นสนทนากลุ่มท่ีผ่านการตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เช่ียวชาญเรียบร้อยแล้ว มาแก้ไข/ปรับปรุงตามคำแนะนำ โดยมีการปรับข้อคำถามให้สอดคล้องกับสิ่งท่ีต้องการศึกษาคอื แนว ทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร รวมทั้งปรับข้อคำถามให้สอดคล้องกับระดับความสามารถใน การส่อื สารของนักเรียนในกรณีท่นี ำเครือ่ งมือฉบับนีไ้ ปใชก้ ับนกั เรยี น 6.5 จัดพิมพ์ประเด็นสนทนากลุ่มฉบับสมบูรณ์ และนำไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับ กลุ่มเป้าหมายซ่ึงประกอบด้วย นักเรียน ผู้ปกครอง อาจารย์และผู้บริหาร และผู้ทรงคุณวุฒิ เพ่ือตอบ วตั ถปุ ระสงคข์ ้อที่ 3 ของการวจิ ยั ประเมินหลักสตู รคร้งั นี้ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 1. ศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมิน หลักสูตรสถานศกึ ษาตามวตั ถุประสงคก์ ารวิจยั ข้อที่ 1 โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลความคดิ เหน็ เกี่ยวกับ สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาจาก ผู้ให้ข้อมูล 2 ส่วน คือ 1) สัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (สพฐ.) และสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) โดยใช้แบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น ของการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และ2) จัดสนทนากลุ่มคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา ซึ่งประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม หัวหน้างานวัดและประเมินผล หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และหัวหน้างานแนะแนว โดยใช้ประเด็นสนทนากลุ่มสภาพปัญหา และความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันในการเก็บรวบรวมข้อมูล นำผลการศึกษา ข้อมูลพื้นฐานจากเอกสาร ข้อมูลผลการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่มจากผู้ให้ข้อมูลท้ัง 2 ส่วนมา สังเคราะห์ร่วมกันเพ่ือให้ทราบปัญหาและความต้องการจำเป็นของการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ด้วยวิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) และนำผลการวิเคราะห์ดังกล่าวไปออกแบบและ กำหนดรูปแบบในการประเมินหลักสูตรให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการจำเป็น ของการ ประเมนิ หลักสูตรสถานศกึ ษา 2. ประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ

119 ปรับปรุง พ.ศ.2560) ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้าน ผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ตามวัตถุประสงค์การวิจัย ข้อที่ 2 มีการดำเนินการ 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู พืน้ ฐานจากเอกสารท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ 1) ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรปกติและหลักสูตร English Program ผู้บริหารโรงเรียน และผู้ปกครอง 2) ข้อมูลผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน ของนักเรียนท่ีเรียนในปี การศึกษา 2560-2562 3) ข้อมูลผลการดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ปีการศึกษา 2562 และ4) ข้อมูลผลการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ปีการศึกษา 2562 ส่วนท่ี 2 การเก็บ รวบรวมข้อมูลจากการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน อาจารย์ผู้สอนที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยใช้ แบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีองค์ประกอบของรูปแบบการประเมิน หลักสตู ร CIPPI Model 5 ดา้ น โดยได้เกบ็ รวบรวมข้อมูลด้านบรบิ ทเพม่ิ เติมดว้ ยการวิเคราะหค์ วาม เหมาะสมของรายวิชาและกิจกรรมพั ฒ น าผู้เรียน ใน หลักสูตรสถานศึ กษาจากคณ ะกรรมการฝ่าย วิชาการของโรงเรียน ซ่ึงมีประเด็นของรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรอยู่ในเครื่องมือ ฉบับเดยี วกับแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อหลักสูตรสถานศกึ ษา รวมท้ังกำหนดให้มีการตรวจสอบ องค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา โดยใช้แบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพ หลักสตู รสถานศกึ ษา นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั ไดน้ ำข้อมูลความคิดเห็นของนกั เรียน และอาจารยผ์ ูส้ อนที่มีต่อ หลักสูตรสถานศกึ ษามาประมวลผลร่วมกันเพ่ือใหม้ องเห็นภาพความคิดเห็นโดยภาพรวมของนักเรียน และอาจารย์ผู้สอนที่มีตอ่ หลักสูตรโรงเรยี นสาธติ แห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2560) ได้ชัดเจนมากขึ้น ผู้วิจัยจึงนำเสนอผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นท้ังในภาพรวม ของหลักสูตรและตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตร CIPPI Model 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ และนำเสนอเป็นกราฟ โดย จำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้วิธีการ หาค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) 3. เส น อ แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร โร ง เรี ย น ส า ธิ ต แ ห่ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนกเป็น หลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ตามวัตถุประสงค์การวิจัยข้อท่ี 3 ด้วยการจัดสนทนา กลุ่ม 4 กลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 12 คน โดยมีผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ 1) นักเรียน 2) ผู้ปกครอง 3) อาจารย์และ ผู้บริหาร และ4) ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากความคิดเห็นของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร โดยใช้เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ ประเด็น

120 สนทนากลุ่มเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษามี 6 ประเด็น นำไปจัด สนทนากลุ่ม 4 กล่มุ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มนักเรยี น จัดสนทนากลมุ่ เป็นกลุ่มยอ่ ย 2 กลุ่ม คือ 1) ตัวแทนนกั เรยี นช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 12 คน และ2) ตัวแทนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-2 และชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 4-5 รวมจำนวน 12 คน (หลักสูตรปกติ 8 คน และหลักสูตร English Program 4 คน) กลมุ่ ที่ 2 กลมุ่ ผู้ปกครอง จดั สนทนากลุ่มเป็นกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม คือ 1) ตัวแทนผู้ปกครอง นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-6 จำนวน 10 คน และ2) ตัวแทนผู้ปกครองนักเรยี นหลักสูตรปกติช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1-2 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-5 จำนวน 6 คน และหลักสูตร English Program 4 คน รวมจำนวน 10 คน รวมกลุ่มตัวแทนผูป้ กครองนกั เรียนท้งั หมด 20 คน กลุ่มท่ี 3 กลุ่มอาจารย์และผู้บริหาร ประกอบด้วย อาจารย์ผู้สอน หัวหน้ากลุ่มสาระ การเรียนรู้ หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หัวหน้างานวัดและประเมินผล และผู้บริหารโรงเรียน รวมจำนวน 12 คน กลุ่มท่ี 4 กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านหลักสูตร การสอน และการประเมินผล รวมจำนวน 6 คน ผู้วิจัยทำหน้าท่ีเป็นผู้ดำเนินการสนทนากลุ่ม (Moderator) กับผู้ให้ข้อมูลทุกกลุ่ม จากนั้นนำข้อมูลท่ีได้จากการจัดสนทนากลุ่มไปวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยจำแนกข้อมูลเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ในแต่ละหลักสูตร ผู้วิจัยสรุปผลการสนทนากลุ่ม โดยสังเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นของผู้ให้ข้อมูลทั้ง 4 กลุ่มในแต่ละ ประเด็นซึ่งแต่ละประเด็นจะระบุข้อความที่สอดคล้องกับองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรไว้ ชัดเจนโดยมีประเด็นสนทนากลุ่มครบทุกองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตร 5 ด้าน คือ ด้าน บริบท ดา้ นปัจจัยนำเข้า ดา้ นกระบวนการ ดา้ นผลผลิต และด้านผลกระทบ ท้ังน้ีผู้วิจัยได้นำผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษา ในปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาตามวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 ผลการ ประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและ พฒั นาการศกึ ษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเขา้ ดา้ นกระบวนการ ด้านผลผลติ และด้านผลกระทบ โดยจำแนก เป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ตามวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 2 มาสังเคราะห์ ร่วมกันทำให้ทราบประเด็นปัญหาท่ีชัดเจน และจัดสนทนากลุ่มเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาและ ปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและ พฒั นาการศกึ ษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ตามวัตถุประสงค์การวิจัยข้อท่ี 3 เพื่อให้ได้ข้อสรุปแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับปัญหาท่ี เกิดข้ึนมากท่ีสุด อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีเกี่ยวข้องสามารถนำข้อค้นพบจากการประเมินหลักสูตร ครงั้ น้ีไปใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาได้ในโอกาสต่อไป

121 การวิเคราะห์ขอ้ มลู การวิจัยประเมินหลักสูตรครั้งนี้ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการท่ีหลากหลายเพ่ือให้ ครอบคลุมสิ่งท่ีต้องการศึกษาจากมุมมองในหลายมิติอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาการประเมิน หลักสูตร ซึ่งต้องใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 6 ฉบับ แบ่งออกเป็น เครื่องมือที่ใช้เก็บ รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพ หลักสูตร จะนำมาวิเคราะห์โดยการหาค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (%) สำหรับรายงานผล เก่ียวกับข้อมูลทั่วไป ส่วนค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ใช้ในการวิเคราะห์ระดับ ความคิดเห็น ระดับความเหมาะสม และระดับคุณภาพ เทียบกับเกณฑ์การแปลความหมายของ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ส่วนเคร่ืองมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ แบบ สัมภาษณ์ และประเด็นสนทนากลุ่ม ผลท่ีได้จากการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่มจากข้อคำถาม ปลายเปิด ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ผู้วิจัยนำมาจัดหมวดหมู่และลำดับคำตอบ แล้วนำมา วเิ คราะห์โดยใชว้ ิธกี ารวเิ คราะหเ์ นื้อหา (Content Analysis) และนำเสนอผลการวเิ คราะห์ในลักษณะ ความเรยี ง ท้งั น้ผี ูว้ ิจัยขอนำเสนอความสมั พันธข์ องการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั ตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 ความสัมพันธ์ของการวิเคราะห์ขอ้ มลู วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวิจัย ผใู้ ห้ขอ้ มลู การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถติ ิทใี่ ชใ้ นการ วิเคราะหข์ ้อมูล วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัยขอ้ 1 ฉบับท่ี 1 แบบสัมภาษณส์ ภาพ ผู้บรหิ ารโรงเรยี น การวเิ คราะหเ์ นอื้ หา เพ่อื ศกึ ษาสภาพปญั หาของ ปญั หาและความต้องการ สังกัด สพฐ. อปท. (Content Analysis) หลักสตู รสถานศกึ ษาในปจั จุบัน ประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษา และอว. และความต้องการประเมนิ ในปัจจบุ นั หลกั สตู รสถานศึกษา ฉบบั ที่ 2 ประเดน็ สนทนากลมุ่ คณะกรรมการฝา่ ย การวเิ คราะหเ์ นือ้ หา สภาพปัญหาและความ วชิ าการ (Content Analysis) ตอ้ งการประเมนิ หลกั สตู ร สถานศึกษาในปัจจบุ นั วตั ถปุ ระสงค์การวิจัยข้อ 2 ฉบบั ที่ 3 แบบสอบถามความ นกั เรียน 1. ค่าเฉลี่ย ( X ) เพือ่ ประเมนิ หลกั สตู รโรงเรียน คดิ เห็นของนักเรียนทม่ี ตี อ่ 2. ส่วนเบยี่ งเบน สาธติ แหง่ หลักสตู รสถานศกึ ษา มาตรฐาน (S.D.) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ฉบับท่ี 4 แบบสอบถามความ 3. การวิเคราะห์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วจิ ัย เนือ้ หา (Content และพัฒนาการศกึ ษา ตาม คิดเห็นของอาจารย์ทม่ี ีต่อ Analysis) หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา หลักสตู รสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อาจารยผ์ สู้ อนและ 1. ค่าเฉลย่ี ( X ) (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ใน หัวหนา้ กลุ่มสาระการ 2. สว่ นเบีย่ งเบน ดา้ นบรบิ ท ด้านปัจจัยนำเข้า เรยี นรู้ มาตรฐาน (S.D.) ดา้ นกระบวนการ ดา้ นผลผลติ และด้านผลกระทบ โดยจำแนก 3. การวิเคราะห์ เนือ้ หา (Content Analysis)

122 วตั ถุประสงค์การวิจยั เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ผใู้ หข้ อ้ มูล การวเิ คราะห์ข้อมูล และสถิตทิ ี่ใชใ้ นการ เปน็ หลกั สตู รปกติ และ ฉบบั ท่ี 5 แบบตรวจสอบ คณะกรรมการฝา่ ย หลกั สตู ร English Program องคป์ ระกอบและคณุ ภาพ วชิ าการ วเิ คราะห์ขอ้ มลู หลักสตู รสถานศกึ ษา 1. คา่ เฉล่ยี ( X ) วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั ข้อ 3 ฉบับที่ 6 ประเด็นสนทนากลมุ่ 1. นกั เรียน 2. ส่วนเบีย่ งเบน เพ่ือเสนอแนวทางการพฒั นา เกยี่ วกบั ปญั หาและแนว 2. ผปู้ กครอง มาตรฐาน (S.D.) และปรับปรุงหลกั สตู รโรงเรียน ทางการพฒั นาและปรบั ปรุง 3. อาจารย์และ 3. การวิเคราะห์ สาธิตแห่งมหาวทิ ยาลัย หลักสตู รโรงเรยี นสาธติ แหง่ ผู้บริหาร เนื้อหา (Content เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 4. ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ Analysis) กำแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและ วิทยาเขตกำแพงแสน พัฒนาการศกึ ษา ตามหลักสตู ร ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการศึกษา การวิเคราะห์เน้อื หา แกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ตามหลกั สตู รแกนกลาง (Content Analysis) พุทธศักราช 2551 (ฉบบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) โดย พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั จำแนกเป็นหลักสตู รปกติ และ ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) หลักสตู ร English Program สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู 1. สถิติทใี่ ช้ในการวเิ คราะหค์ ุณภาพเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ ค่าเฉลยี่ ( X ) และสว่ น เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 2. สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลวิจัย ได้แก่ ความถ่ี (frequency) ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( X ) สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะหเ์ นอ้ื หา (Content Analysis) การนำเสนอขอ้ มลู การนำเสนอข้อมูลจากผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณในรูปแบบ ของตาราง และกราฟ และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพในลักษณะความเรียงร่วมกับการ Quote ข้อความของผู้ให้ข้อมูลทชี่ ่วยให้ผลการวิจัยเชิงคุณภาพมีความชัดเจน ทั้งนี้การนำเสนอผลการวจิ ัยจะ เรียงลำดับตามวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั

123 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิจัยเรื่อง การประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ครงั้ นี้ ผวู้ ิจัยนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามวตั ถุประสงค์การวิจัย โดยแบง่ รายละเอยี ดออกเปน็ 3 ตอนดังน้ี ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการ ประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษา ตอนท่ี 2 ผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนาการศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวมและเป็นรายด้าน 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้าน กระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ตอนที่ 3 ผลการเสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนกเป็น หลกั สตู รปกติ และหลกั สูตร English Program ผู้วิจัยขอนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของ กลุ่มเป้าหมาย และผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 3 ตอน ตามลำดบั ดังน้ี ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ท่วั ไปของกลมุ่ เป้าหมาย ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย นักเรียนและอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรปกติ และ หลักสูตร English Program ผ้บู รหิ าร และผปู้ กครอง มผี ลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดังตารางท่ี 6-9 ตารางท่ี 6 ข้อมูลทว่ั ไปของนกั เรยี นหลกั สตู รปกติและหลักสูตร English Program ข้อมลู ทว่ั ไป หลกั สตู รปกติ หลกั สตู ร English Program จำนวน รอ้ ยละ ลำดบั ท่ี จำนวน ร้อยละ ลำดบั ท่ี 1. เพศ 1.1 ชาย 216 47.58 2 8 29.63 2 1.2 หญงิ 238 52.42 1 19 70.37 1 รวม 454 100.00 - 27 100.00 - 2. ระดับชน้ั ทีเ่ รยี นในปกี ารศกึ ษา 2562 2.1 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-6 12 2.64 5 - - - 2.1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 111 24.45 3 19 70.37 1 2.2 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 112 24.67 2 8 29.63 2

124 ข้อมูลทัว่ ไป หลกั สตู รปกติ หลักสตู ร English Program จำนวน รอ้ ยละ ลำดบั ท่ี จำนวน รอ้ ยละ ลำดับท่ี 2.3 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 116 25.55 1 - - - 2.4 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 103 22.69 4 - - - รวม 454 100.00 - 27 100.00 - 3. ระยะเวลาท่เี รียนอยู่ที่โรงเรียนสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน (นบั ถงึ ปกี ารศึกษา 2562) 3.1 1-3 ปี 113 24.89 3 19 70.37 1 3.2 4-6 ปี 123 27.09 1 8 29.63 2 3.3 7-9 ปี ------ 3.4 10-12 ปี 116 25.55 2 - - - 3.5 มากกว่า 12 ปี 102 22.47 4 - - - รวม 454 100.00 - 27 100.00 - 4. กิจกรรม/โครงการของโรงเรยี นทน่ี ักเรียนรูส้ ึกประทับใจ (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) 4.1 กิจกรรมวนั เด็ก 226 51.13 1 8 29.63 1 4.2 กิจกรรมกีฬา 108 24.43 2 5 18.52 4 4.3 กิจกรรมงานประจำปีราตรีเขยี ว-ม่วง 82 18.55 3 7 25.93 3 4.4 กิจกรรมค่ายคณติ ศาสตร์ 34 7.69 5 - - 4.5 กจิ กรรมค่ายภาษาองั กฤษ 27 6.11 7 8 29.63 1 4.6 กจิ กรรมคา่ ยภาษาไทย 31 7.01 6 - - 4.7 กิจกรรมคา่ ยผ้นู ำ 21 4.75 8 - - 4.8 กจิ กรรมค่ายวิทยาศาสตร์ 11 2.49 12 - - 4.9 กิจกรรมลูกเสือ 16 3.62 10 5 18.52 4 4.10 กจิ กรรมห้องสมดุ 7 1.58 15 - - 4.11 กจิ กรรมทัศนศึกษา 13 2.94 11 - - 4.12 โครงการเชดิ ชูเกียรตินกั เรยี น 7 1.58 15 - - 4.13 โครงการวันวทิ ยาศาสตร์ 47 10.63 4 2 7.41 6 4.14 โครงการวันภาษาไทย 19 4.30 9 - - 4.15 โครงการแลกเปลย่ี นนักเรียนตา่ งประเทศ 5 1.13 20 - - 4.16 กจิ กรรมคา่ ยธรรมะและจติ อาสา 11 2.49 12 - - 4.17 กจิ กรรมรำไทยและแสดงละคร 4 0.90 21 - - 4.18 กจิ กรรมไหวค้ รู 4 0.90 21 - - 4.19 กิจกรรมการแข่งขนั ทางวชิ าการ 7 1.58 15 - - 4.20 กิจกรรมอำลาอาลัย 10 2.26 14 2 7.41 6 4.21 กจิ กรรมวนั สำคญั ต่าง ๆ 8 1.81 19 - - 4.22 กจิ กรรมนานาชาติ 7 1.58 15 - - - จากตารางท่ี 6 กลุ่มเป้าหมายซึง่ เปน็ ผใู้ ห้ข้อมูลของการวจิ ัยคร้ังน้ีประกอบด้วย นักเรียน หลักสูตรปกติ จำนวน 454 คน พบว่า เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 52.42 และ47.58 ตามลำดับ) ส่วนใหญเ่ รียนอยู่ในช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 รองลงมาคอื ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 และน้อยท่ีสุด คือชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 (ร้อยละ 25.55, 24.67 และ2.64 ตามลำดับ) ระยะเวลาท่ีนักเรียนเรียน

125 อยทู่ ่โี รงเรยี นสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน (นับถงึ ปีการศกึ ษา 2562) พบว่า ส่วนใหญเ่ รียนอยู่ 4-6 ปี รองลงมาคือ10-12 ปี และน้อยที่สุดคือ มากกว่า 12 ปี (ร้อยละ 27.09, 25.55 และ22.47 ตามลำดับ) ส่วนระยะเวลา 7-9 ปี ไม่มีนักเรียนอยู่ในช่วงระยะเวลานี้ และกิจกรรม/โครงการของ โรงเรยี นท่ีนกั เรียนร้สู ึกประทับใจเรยี งลำดับจากมากไปน้อย 5 กิจกรรม คอื กจิ กรรมวันเด็ก กิจกรรม กีฬา กิจกรรมงานประจำปีราตรีเขียว-ม่วง กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ และกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ (ร้อยละ 51.13, 24.43, 18.55, 7.69 และ6.11 ตามลำดับ) สำหรับนักเรียนหลักสูตร English Program จำนวน 27 คน พบว่า เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 70.37 และ29.63 ตามลำดับ) ส่วนใหญ่เรียนอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รองลงมาคือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ร้อยละ 70.37 และ29.63 ตามลำดับ) ระยะเวลาที่นกั เรียนเรยี นอยูท่ โ่ี รงเรียนสาธติ เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน (นับถึงปีการศึกษา 2562) พบว่า ส่วนใหญ่เรียนอยู่ 1-3 ปี รองลงมาคือ4-6 ปี (ร้อยละ 70.37 และ 29.63 ตามลำดบั ) และกจิ กรรม/โครงการของโรงเรียนทน่ี ักเรยี นรสู้ ึกประทับใจเรียงลำดับจากมากไป น้อย คือ กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ กิจกรรมงานประจำปีราตรีเขียว-ม่วง กิจกรรม กีฬา กิจกรรมลูกเสือ โครงการวันวิทยาศาสตร์ และกิจกรรมอำลาอาลัย (ร้อยละ 29.63, 29.63, 25.93, 18.52, 18.52, 7.41 และ7.41 ตามลำดับ) ตารางที่ 7 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของอาจารย์ผู้สอนหลกั สูตรปกติและหลกั สตู ร English Program ข้อมูลท่วั ไป หลักสูตรปกติ หลกั สูตร English Program จำนวน รอ้ ยละ ลำดบั ท่ี จำนวน รอ้ ยละ ลำดบั ท่ี 1. เพศ 1.1 ชาย 26 29.21 2 9 40.91 2 1.2 หญงิ 63 70.79 1 13 59.09 1 รวม 89 100.00 - 22 100.00 - 2. วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด 2.1 ปรญิ ญาตรี 22 24.72 2 7 31.82 2 2.2 ปริญญาโท 62 69.66 1 13 59.09 1 2.3 ปรญิ ญาเอก 5 5.62 3 2 9.09 3 รวม 89 100.00 - 22 100.00 - 3. ประสบการณ์การสอนในโรงเรียนสาธติ เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน 3.1 น้อยกวา่ 10 ปี 33 37.08 2 6 27.27 2 3.2 10-15 ปี 8 8.99 3 6 27.27 2 3.3 มากกวา่ 15 ปี 48 53.93 1 10 45.46 1 รวม 89 100.00 - 22 100.00 - 4. ระดบั การศกึ ษาทีส่ อนในโรงเรียนสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) 4.1 ระดบั อนุบาลศกึ ษา 4 4.49 4 3 13.64 4 4.2 ระดับประถมศกึ ษา 49 55.06 2 7 31.82 3 4.3 ระดับมธั ยมศึกษา 64 71.91 1 18 81.82 2 4.4 ระดบั มธั ยมศกึ ษา (โครงการ พิเศษ EP) 18 20.22 3 22 100.00 1

126 จากตารางท่ี 7 กลุม่ เปา้ หมายซง่ึ เป็นผู้ให้ข้อมลู ของการวิจัยคร้ังน้ีประกอบดว้ ย อาจารย์ ผ้สู อนหลักสูตรปกติ จำนวน 89 คน พบว่า เปน็ เพศหญิงมากกว่าเพศชาย (รอ้ ยละ 70.79 และ29.21 ตามลำดับ) ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาสูงสุดคือ ระดับปริญญาโท รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี และ น้อยที่สุดคือ ปริญญาเอก (ร้อยละ 69.66, 24.72 และ5.62 ตามลำดับ) อาจารย์มีประสบการณ์การ สอนในโรงเรียนสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน มากที่สุดคือ มากกว่า 15 ปี รองลงมาคือ น้อยกว่า 10 ปี และน้อยที่สุดคือ 10-15 ปี (ร้อยละ 53.93, 37.08 และ8.99 ตามลำดับ) และพบว่าอาจารย์ ส่วนใหญ่มีสอนในระดับมัธยมศึกษามากที่สุด รองลงมาคือ ระดับประถมศึกษา และน้อยที่สุดคือ ระดับอนุบาลศึกษา (ร้อยละ 71.91, 55.06 และ4.49 ตามลำดับ) สำหรับอาจารย์ผู้สอนหลักสูตร English Program จำนวน 22 คน พบว่า เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 59.09 และ40.91 ตามลำดับ) ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาสูงสุดคือ ระดับปริญญาโท รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี และ น้อยที่สุดคือ ปริญญาเอก (ร้อยละ 59.09, 31.82 และ9.09 ตามลำดับ) อาจารย์มีประสบการณ์การ สอนในโรงเรียนสาธติ เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน มากที่สุดคอื มากกวา่ 15 ปี รองลงมาเทา่ กนั คอื น้อย กว่า 10 ปี และ 10-15 ปี (ร้อยละ 45.46 และ27.27 ตามลำดับ) และพบว่าอาจารย์ส่วนใหญ่มีสอน ในระดบั มัธยมศึกษา (โครงการพิเศษ EP) มากที่สดุ รองลงมาคือ ระดบั มัธยมศึกษา และน้อยที่สุดคือ ระดับอนบุ าลศกึ ษา (รอ้ ยละ 100.00, 81.82 และ13.64 ตามลำดบั ) ตารางท่ี 8 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผู้บริหารโรงเรียน ข้อมูลท่ัวไป จำนวน ร้อยละ ลำดับที่ 1. เพศ 1.1 ชาย 9 47.37 2 1.2 หญิง 10 52.63 1 รวม 19 100.00 2. วิทยฐานะ 2.1 อาจารย์ 8 42.11 2 2.2 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ 11 57.89 1 รวม 19 100.00 3. ประสบการณ์การบรหิ าร 3.1 น้อยกวา่ 5 ปี 1 5.26 3 3.2 5-10 ปี 2 10.53 2 3.3 มากกว่า 10 ปี 16 84.21 1 รวม 19 100.00 4. วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ 4.1 ปรญิ ญาตรี 1 5.26 3 4.2 ปรญิ ญาโท 15 78.95 1 4.3 ปรญิ ญาเอก 3 15.79 2 รวม 19 100.00 จากตารางที่ 8 พบว่า กลุ่มเป้าหมายคอื ผู้บริหารโรงเรียนที่ทำหน้าที่บริหารทั้งหลักสูตร ปกติและหลักสูตร English Program จำนวน 19 คน เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 52.63

127 และ47.37 ตามลำดับ) มีวิทยฐานะเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์มากที่สุด รองลงมาคือ อาจารย์ (ร้อยละ 57.89 และ42.11 ตามลำดับ) ส่วนใหญ่มีประสบการณ์การบริหาร มากกว่า 10 ปี รองลงมาคือ 5-10 ปี และน้อยที่สุดคือ น้อยกว่า 5 ปี (ร้อยละ 84.21, 10.53 และ5.26 ตามลำดับ) และมีวุฒิการศึกษา สูงสุดส่วนใหญค่ ือ ระดับปริญญาโท รองลงมาคือ ระดับปริญญาเอก และน้อยที่สุดคือ ระดับปริญญา ตรี (รอ้ ยละ 78.95, 15.79 และ5.26 ตามลำดับ) ตารางที่ 9 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผปู้ กครอง ขอ้ มูลท่ัวไป หลกั สูตรปกติ หลักสตู ร English Program จำนวน รอ้ ยละ ลำดบั ที่ จำนวน รอ้ ยละ ลำดับท่ี 1. เพศ 1.1 ชาย 3 20.00 2 2 40.00 2 1.2 หญงิ 12 80.00 1 3 60.00 1 รวม 15 100.00 - 5 100.00 - 2. วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ 2.2 ปรญิ ญาตรี 10 66.67 1 4 80.00 1 2.3 ปรญิ ญาโท 5 33.33 2 1 20.00 2 รวม 15 100.00 - 5 100.00 - 3. สถานภาพของผปู้ กครองทเี่ กยี่ วขอ้ งกับนกั เรยี น 3.1 บดิ า-มารดา 15 100.00 1 5 100.00 1 รวม 15 100.00 - 5 100.00 - จากตารางที่ 9 กลุ่มเป้าหมายคือผู้ปกครองของนักเรียนที่เรียนในปีการศึกษา 2562 ประกอบด้วย ผู้ปกครองของนักเรียนหลักสูตรปกติ พบว่า เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 80.00 และ20.00 ตามลำดบั ) มวี ฒุ กิ ารศึกษาสงู สุดสว่ นใหญ่คือ ระดับปรญิ ญาตรี รองลงมาคือ ระดับ ปริญญาโท (ร้อยละ 66.67 และ33.33 ตามลำดับ) และผู้ปกครองทุกคนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมี สถานภาพเป็นบิดา-มารดาของนักเรยี น สำหรับผปู้ กครองของนกั เรียนหลักสูตร English Program พบวา่ เปน็ เพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย (รอ้ ยละ 60.00 และ40.00 ตามลำดับ) มีวุฒิการศึกษาสูงสุดส่วน ใหญค่ ือ ระดับปริญญาตรี รองลงมาคือ ระดับปรญิ ญาโท (รอ้ ยละ 80.00 และ20.00 ตามลำดับ) และ ผู้ปกครองทุกคนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีสถานภาพเป็นบิดา-มารดาของนักเรียนเช่นเดียวกับหลักสูตร ปกติ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตามวัตถุประสงค์การวิจัย ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมิน หลักสูตรสถานศึกษา ผู้วิจัยศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมิน หลักสูตรสถานศึกษา โดยมีผลการศึกษา 3 ลักษณะ ประกอบด้วย 1) ผลการสัมภาษณ์ผู้บริหาร โรงเรียน 3 สังกัดเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา 2) ผลการสัมภาษณ์ผู้จัดการและอาจารย์ผู้สอน

128 ชาวต่างชาติสำหรับหลักสูตร English Program (EP) และ3) ผลการจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion : FGD) คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการศกึ ษา มีผลการวเิ คราะห์ดังน้ี 1. ผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียน 3 สังกัดเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบด้วย โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รวมจำนวน 5 โรงเรียน โรงเรยี นละ 1 คน พบวา่ ผู้บรหิ ารโรงเรยี นมีความคิดเหน็ เก่ียวกับสภาพ ปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปจั จุบันและความต้องการประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษา ดงั ตารางท่ี 10

ตารางที่ 10 ความคิดเห็นของผู้บรหิ ารโรงเรียนเกีย่ วกบั สภาพปญั หาของหลัก ประเดน็ สัมภาษณ์ ผู้บรหิ ารคนที่ 1 ผู้บริหารคนที่ 2 ผูบ้ ริห 1. หลกั สตู รสถานศกึ ษา สงิ่ ท่ีควรแก้ไข/ปรบั ปรุง สิง่ ท่ดี คี วรพัฒนาต่อ สง่ิ ทีค่ ว ทพ่ี ฒั นาข้นึ ตามกรอบ คือ ยอด คอื มีแนวทาง ปรบั ปร หลักสตู รแกนกลาง 1. ตัวชว้ี ดั ในหลักสูตร ใหค้ รูได้นำไป 1. เปน็ ห การศึกษาข้ันพื้นฐาน แกนกลางการศกึ ษาขนั้ กำหนดเนอื้ หาสาระ ใช้ในกา พทุ ธศักราช 2551 พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 ทใี่ ช้ในการจดั การ จรงิ ได้ย (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) เรยี นการสอนได้ 2. การร 2560) ซ่ึงเป็น แม้จะมีการปรับปรงุ ใหไ้ ม่ และลดความซ้ำซอ้ น การพฒั หลกั สตู รอิงมาตรฐาน ซำ้ ซอ้ นแล้ว ก็ยังมจี ำนวน ของตวั ชวี้ ดั คณุ ภาพ นน้ั มสี งิ่ ท่ีดีควรพฒั นา มากอยู่ ควรปรับลด สงิ่ ทคี่ วรแกไ้ ข/ สามารถ ตอ่ ยอด และมีสิ่งท่ี จำนวนตวั ชี้วดั ให้เหลอื ปรบั ปรุง คือ จากกรอ ควรแกไ้ ข/ปรบั ปรุง เทา่ ที่จำเป็นทส่ี ามารถ 1. ตัวช้ีวดั บางข้อ สาระกา ดังน้ี สะท้อนความรู้ ทักษะ วัดไดย้ าก เช่น 3. จาก และคณุ ลักษณะทจ่ี ำเป็น ความเขา้ ใจ ควร เวลาเรีย ของนกั เรียนในชวี ติ จริงได้ เขยี นเน้นเป็น ประถม 2. ควรปรบั การเรยี นการ พฤติกรรมทนี่ กั เรยี น พบว่า ห สอนในวชิ าหนา้ ที่พลเมือง แสดงออกไดอ้ ยา่ ง สถานศ ในรูปแบบบรู ณาการกับ ชัดเจน กำหนด รายวิชาต่าง ๆ 3. ควรแนะนำการ ของราย 3. ครูวทิ ยาศาสตรไ์ ม่ เลอื กสื่อ หรอื พืน้ ฐาน สามารถสอนบรู ณาการ หนังสอื เรยี นให้ ชัว่ โมงต STEM ตามท่ีหลักสตู ร เวลาเรีย

129 กสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความตอ้ งการประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษา หารคนท่ี 3 ผู้บริหารคนท่ี 4 ผบู้ ริหารคนที่ 5 ผลการสังเคราะหโ์ ดยผู้วจิ ัย วรแก้ไข/ สิ่งทดี่ คี วรพัฒนาตอ่ ส่ิงทดี่ คี วรพฒั นาต่อ สง่ิ ทด่ี ีควรพัฒนาตอ่ ยอด คือ รุง คือ ยอด คือ ยอด คือ 1. มแี นวทางใหค้ รูได้นำไป หลกั สตู รที่ มีการจัดทำเอกสาร นักเรียนได้รับองค์ กำหนดเนื้อหาสาระท่ใี ช้ในการ ารปฏิบตั ิ หลกั สตู รสถานศึกษา ความรู้พนื้ ฐานตาม จัดการเรียนการสอน ยาก และองคป์ ระกอบของ กรอบหลกั สตู ร 2. มกี ารจดั ทำเอกสารหลกั สูตร รายงานผล หลักสตู ร การนำ แกนกลางการศึกษา สถานศกึ ษาและองคป์ ระกอบ ฒนา หลักสตู รไปใช้ เพอ่ื ให้ ข้ันพ้ืนฐาน แต่ ของหลกั สตู ร การนำหลกั สตู รไป พผเู้ รยี นไม่ บรรลมุ าตรฐานและ นักเรียนอาจขาด ใช้ เพื่อให้บรรลมุ าตรฐานและ ถหลดุ ออก ตวั ช้วี ัด และ ทกั ษะสำคญั สำหรบั ตัวช้ีวัด อบ 8 กลุ่ม กระบวนการพัฒนา การศกึ ษาความรใู้ น 3. มกี ระบวนการ 129 ารเรียนรไู้ ด้ ผ้เู รยี นท้ังระบบให้บรรลุ ระดับทสี่ ูงขน้ึ พัฒนาผู้เรยี นท้งั ระบบใหบ้ รรลุ กโครงสร้าง ตามมาตรฐานตวั ช้ีวัด รวมถึงการศึกษาหา ตามมาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั ยนในระดับ ความสำคญั ของ ความรหู้ รือทักษะท่ี 4. เปน็ หลกั สตู รทีต่ อบสนองการ มศึกษา หลักสตู รทีต่ อบสนอง เกดิ ข้นึ ใหม่อย่าง กระจายอำนาจ และเปิดโอกาส หลกั สตู ร การกระจายอำนาจ และ รวดเรว็ ซ่งึ เปน็ หัวใจ ให้ผปู้ กครอง ชมุ ชน และท้องถน่ิ ศึกษา เปดิ โอกาสให้ผู้ปกครอง สำคญั ในการสรา้ ง เข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัด ดเวลาเรยี น ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ เขา้ มามี คณุ ลกั ษณะแหง่ การ การศกึ ษา ยวิชา สว่ นร่วมในการจัด เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 5. นักเรียนได้รับองคค์ วามรู้ นไว้ 840 การศึกษา สิ่งทคี่ วรแก้ไข/ พน้ื ฐานตามกรอบหลักสตู ร ตอ่ ปี เหลือ สง่ิ ทค่ี วรแก้ไข/ปรับปรงุ ปรบั ปรุง คือ แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ยนทีเ่ ปน็ คือ แต่อาจขาดทักษะสำคญั สำหรับ

ประเด็นสมั ภาษณ์ ผู้บริหารคนท่ี 1 ผบู้ รหิ ารคนที่ 2 ผบู้ ริห กำหนดแนวทางไวใ้ น เหมาะสมกับวยั ของ รายวชิ า ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาได้ นกั เรยี น สถานศ โรงเรยี นจึงควรบรหิ าร สามารถ ครผู สู้ อนใหส้ ามารถสอน จดุ เน้น บูรณาการ STEM ได้ ละไม่เก ชว่ั โมงเ เมื่อเทีย น้อยมา 4. ขอบ โครงสร หลักสตู สาระกา มากเกิน นักเรยี น แยกสว่ 5. สถา มอี สิ ระ ออกแบ เปน็ ขอ อยา่ งแท ข้อจำก ระเบียบ

130 หารคนท่ี 3 ผ้บู ริหารคนท่ี 4 ผู้บริหารคนที่ 5 ผลการสังเคราะหโ์ ดยผู้วจิ ยั าที่ เป็นหลกั สูตรท่ีองิ 1. ความหลากหลาย การศึกษาในระดับที่สงู ข้นึ และ ศึกษา มาตรฐานเฉพาะใน ของรายวิชาทเี่ ปดิ ทักษะใหม่ (New Skills) ซึ่งเปน็ ถจดั ตาม เอกสารหลักสตู รเทา่ น้ัน โอกาสใหน้ กั เรยี นได้ หัวใจสำคัญในการสรา้ ง นได้เพียงปี แต่ในทางปฏบิ ัติทำได้ เลอื กเรยี นตามความ คณุ ลกั ษณะแหง่ การเรยี นรู้ตลอด กิน 40 ยาก เนื่องจากมีครู สนใจ ชวี ิต เทา่ นัน้ ซ่ึง บางส่วนไมไ่ ด้ปฏิบัติตาม 2. แนวทางการ สิง่ ท่คี วรแกไ้ ข/ปรบั ปรงุ คือ ยบกนั แล้ว หรอื ปฏบิ ตั ไิ ดไ้ ม่ พัฒนาความรู้ 1. ตวั ชวี้ ัดบางขอ้ วัดไดย้ าก ควร าก ครบถ้วน และในการ พน้ื ฐานและทักษะ ปรบั ข้อความเนน้ เปน็ พฤติกรรม บเขตของ ประเมนิ ผลควรวาง สำคัญ เพอื่ มงุ่ สู่ ทนี่ กั เรยี นแสดงออกได้ชัดเจน รา้ ง แผนการประเมนิ ตาม คุณภาพผเู้ รยี นใน 2. ตวั ชี้วัดที่ปรับปรุงใหมแ่ ล้วยงั ตร 8 กลุม่ มาตรฐาน และควรมี ศตวรรษท่ี 21 มีจำนวนมากอยู่ ควรปรับลด 130 ารเรยี นรู้ รูปแบบการประเมนิ ท่ี 3. หลักสูตรควร จำนวนตัวชว้ี ดั ให้เหลือเทา่ ที่ นไป และ หลากหลายเพื่อประเมิน ตอบสนองความ จำเปน็ ทีส่ ามารถสะทอ้ นความรู้ นเรยี นแบบ ผเู้ รยี นทีม่ ีความแตกตา่ ง ตอ้ งการ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะทจ่ี ำเปน็ วน ระหวา่ งบคุ คล ความสามารถ ความ ของนกั เรยี นในชวี ิตจรงิ านศกึ ษาไม่ สนใจ และความ 3. ควรปรบั การเรียนการสอนใน ะในการ ถนดั ของนักเรียนแต่ วิชาหนา้ ที่พลเมอื งในรปู แบบ บบหลกั สตู ร ละคน บรู ณาการกบั รายวิชาอ่ืน องตนเองได้ 4. ครูวิทยาศาสตรไ์ ม่สามารถ ทจ้ รงิ ดว้ ย สอนบรู ณาการ STEM ตามที่ กดั ของ หลกั สตู รกำหนดแนวทางไวไ้ ด้ บการ โรงเรยี นจงึ ควรบรหิ ารให้

ประเด็นสมั ภาษณ์ ผูบ้ รหิ ารคนที่ 1 ผูบ้ รหิ ารคนท่ี 2 ผูบ้ รหิ ปฏิบตั ิต แนวทา หลักสตู แกนกล เหมือน ประเทศ 2. สภาพปัญหาของ 1. ไม่มีเครือ่ งมือทจี่ ะ 1. หลักสูตรมีความ 1. การน หลกั สตู รสถานศกึ ษา สะท้อนผลลัพธว์ า่ ชัดเจนอยู่แลว้ แต่ใน ไปใช้ใน ตามหลักสูตร กระบวนการในการพฒั นา การนำหลักสตู รไป เรยี นกา แกนกลางการศึกษา คุณภาพนักเรยี นของ ใชใ้ นชนั้ เรยี น อาจ การวดั แ

131 หารคนท่ี 3 ผบู้ รหิ ารคนที่ 4 ผบู้ รหิ ารคนที่ 5 ผลการสังเคราะห์โดยผู้วิจยั ตาม 1. หลักสตู รควรมี ครูผสู้ อนสามารถสอนบรู ณาการ างของ ความหลากหลาย STEM ได้ ตร เปิดโอกาสให้ 5. ควรมีการแนะนำการเลือกสอ่ื ลางที่ตอ้ งใช้ นักเรียนได้เลอื ก หรือหนังสอื เรยี นให้เหมาะสมกับ นกนั ทง้ั วยั ของนักเรยี น ศ 6. โครงสรา้ งเวลาเรียนในระดบั ประถมศึกษา ควรปรบั สัดส่วน ใหส้ ถานศึกษาสามารถจดั 131 รายวชิ าเรยี นตามจุดเนน้ ไดม้ าก นำหลกั สูตร ปัญหาการนำหลกั สตู ร ข้ึน นการจดั การ ไปใชข้ องครู เช่น ครูไม่ 7. ควรใหส้ ถานศึกษามอี สิ ระใน ารสอนและ สามารถพฒั นาคณุ ภาพ การออกแบบหลกั สูตรไดอ้ ยา่ ง และ ผูเ้ รยี นใหไ้ ปถงึ เป้าหมาย แทจ้ ริง 8. หลกั สูตรควรตอบสนอง นักเรียนแตล่ ะคน และควรมี รูปแบบการประเมินท่ี หลากหลายทีเ่ นน้ ความแตกตา่ ง ระหวา่ งบคุ คล 1. ปญั หาอย่ทู ี่การนำหลักสตู รไป ใช้ โดยครูไมส่ ามารถพัฒนา คุณภาพผูเ้ รยี นให้ไปถงึ เปา้ หมาย ของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 ได้

ประเด็นสัมภาษณ์ ผบู้ ริหารคนที่ 1 ผูบ้ รหิ ารคนท่ี 2 ผู้บรหิ ข้ันพน้ื ฐาน โรงเรียนบรรลุเป้าหมาย ไมเ่ หมาะสม ประเมนิ พุทธศกั ราช 2551 เพยี งใด เน่ืองจากความ คณุ ภาพ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2. นกั เรยี นควรไดร้ บั การ เขา้ ใจท่คี ลาดเคลอ่ื น 2. ความ 2560) ท่ีควรตอ้ งเร่ง ติดอาวธุ เพอื่ นำไปใชใ้ น ของครูผสู้ อน และ การปฏ แก้ไขปรับปรุงและ การศกึ ษาตอ่ ระดับ ความไม่พร้อมใน ของครผู พฒั นาในสถานศึกษา มหาวทิ ยาลยั มากกว่า การพฒั นาคุณภาพ ในดา้ นค เพื่อมงุ่ ส่คู ุณภาพ 3. นกั เรยี นไดร้ ับแรง นกั เรียนตาม และปร ผเู้ รยี น ในศตวรรษที่ กดดันจากครอบครวั และ ข้อจำกดั ของแต่ละ เหมาะส 21 มีดังนี้ สงั คม ทำใหค้ วามสดใส โรงเรยี น ไมว่ ่าจะ ตามวยั หายไป ความ เปน็ การสนบั สนุน เออื้ เฟื้อและคณุ ธรรม ด้านการศึกษาจาก จรยิ ธรรมถูกบดบงั จาก ชุมชน ครอบครัว สังคมในปัจจบุ ัน และครผู สู้ อนท่ีตรง ตามสาขาวชิ าทีส่ อน

132 หารคนที่ 3 ผบู้ รหิ ารคนที่ 4 ผ้บู รหิ ารคนที่ 5 ผลการสงั เคราะห์โดยผู้วิจยั นผล ของหลกั สตู รคือผเู้ รียน เรยี นในรายวชิ าท่ี ครบถว้ น อันเกดิ จากความไม่ พผู้เรยี น ในศตวรรษท่ี 21 ได้ นกั เรยี นสนใจมาก พร้อมในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ ไม่ มพรอ้ มใน ครบถว้ น ครสู อนไม่ตรง ทส่ี ดุ เขา้ ใจหลกั สูตร และจดั การเรียน ฏิบัตหิ นา้ ที่ ตามตวั ช้ีวดั แตส่ อนตาม 2. หลกั สูตรควร การสอนและประเมินผลไมต่ รง ผ้สู อนในทง้ั เน้อื หาและสอบวดั มงุ่ เน้นการพัฒนา ตามมาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด คุณภาพ ความรู้ ครไู มเ่ หน็ ความรู้พ้ืนฐานและ 2. ไมม่ ีเครอ่ื งมือสะทอ้ นผลลพั ธ์ รมิ าณท่ี ความสำคญั ตอ่ การ ทักษะสำคญั เพอ่ื มุง่ การบรรลเุ ปา้ หมายในการพัฒนา สม จัดการเรยี นรู้ ครสู อน สคู่ ุณภาพผเู้ รียนใน คณุ ภาพนักเรียน หลายชน้ั เรียน ครขู าด ศตวรรษที่ 21 3. นกั เรยี นควรไดร้ บั การพัฒนา ความรู้ความเขา้ ใจ 3. หลกั สตู รควรมี ทกั ษะที่จำเป็นต่อการนำไปใช้ 132 เกี่ยวกับกระบวนการ ความยดื หยนุ่ สอด ศึกษาตอ่ ในระดบั มหาวิทยาลัย จดั ทำหลกั สตู ร/การนำ รบั กับความสามารถ มากกวา่ หลกั สตู รไปใช้ รวมทัง้ ของนักเรยี น ทงั้ 4. แรงกดดนั จากครอบครัว และ การวัดและประเมนิ ผล นักเรียนทีม่ ี สงั คม ทำให้พฒั นาการตามวัย ไมส่ อดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ดั / ความสามารถพเิ ศษ และคณุ ธรรมจรยิ ธรรมลดลง สาระ และนักเรียนปกติ 5. ความหลากหลายของ ทั่วไป รายวิชา/กจิ กรรม และความ 4. สถานศึกษา ยืดหย่นุ ของหลักสูตรที่ จะตอ้ งมี Learning ตอบสนองความตอ้ งการและ Space ท่ีมากพอ ความสามารถพิเศษของนักเรยี น และหลากหลายตาม มีนอ้ ย เนื่องจากหลักสูตร แกนกลางเนน้ ทีค่ วามรูพ้ ื้นฐาน

ประเดน็ สัมภาษณ์ ผู้บริหารคนท่ี 1 ผูบ้ รหิ ารคนที่ 2 ผู้บรหิ 3. ความต้องการ สถานศกึ ษามคี วาม มคี วามต้องการ มคี วาม ประเมนิ หลักสตู ร ตอ้ งการจำเปน็ มากท่ี จำเปน็ และควรมี ประเมิน สถานศึกษา และ จะต้องมีการประเมนิ การประเมนิ เพื่อการ ชว่ งเวลาทเ่ี หมาะสม หลักสตู รในทกุ ปี หลกั สตู รเม่ือ และพัฒ ในการประเมนิ การศึกษาเพอ่ื ดวู ่ามสี ่วน ครบรอบการใช้ เสมอ โ หลกั สตู รสถานศึกษา ใดบ้างทคี่ วรพัฒนาและ หลักสตู รคอื 3-6 ปี ประเมิน มดี งั น้ี ปรบั ปรุงโดยเฉพาะดา้ น เพือ่ จะได้ทราบผล การศกึ กระบวนการจดั การเรียน การใชห้ ลกั สตู ร เชน่ อาจเป็น 4. ข้อคดิ เหน็ และ การสอน และกจิ กรรมท่ี การจดั การเรยี นการ ครบรอ ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม เหมาะสม เพอื่ พฒั นา สอน นำไปส่กู าร หลกั สตู นกั เรียนให้บรรลตุ าม ปรบั ปรงุ และพัฒนา เป้าหมายของหลกั สูตร นักเรยี นตอ่ ไป ควรใหค้ กบั การ ถ้าครผู สู้ อนไดร้ แู้ ละเข้าใจ ครคู วรเข้าใจและ หลกั สตู ถึงกระบวนการพฒั นา เขา้ ถงึ นักเรียน เหมาะส นักเรยี นตามเปา้ หมายได้ บรบิ ทข และมคี วามเข้าใจทีด่ ตี ่อ สถานศ วฒั นธรรมองค์กรของ ตนเองก็จะชว่ ยพฒั นา โรงเรยี นไดม้ าก

133 หารคนท่ี 3 ผูบ้ รหิ ารคนท่ี 4 ผูบ้ รหิ ารคนที่ 5 ผลการสังเคราะห์โดยผู้วิจยั ความสนใจของ ตามมาตรฐานและตัวช้ีวดั ท่ีมี นกั เรยี น จำนวนมาก มจำเปน็ ตอ้ ง สถานศกึ ษามีความ สถานศึกษามคี วามต้องการ นหลักสตู ร ต้องการใหม้ ีการ จำเป็นมากท่จี ะตอ้ งมีการ รปรับปรุง ประเมินหลกั สูตรเมอ่ื มี ประเมนิ หลกั สูตรเพื่อการ ฒนาอยู่ การใชห้ ลกั สตู รครบ ปรบั ปรุงและพัฒนา โดยอาจ โดยอาจ อยา่ งนอ้ ย 3 ปี โดยไม่ ประเมนิ ทุกปีการศกึ ษา หรืออาจ นทกุ ปี จำเปน็ ตอ้ งรอประกาศ เปน็ ระยะครบรอบของการใช้ กษา หรอื ของ หลกั สตู รอย่างนอ้ ย 3 ปี นระยะ กระทรวงศึกษาธิการ อบของ ตร 133 ความสำคัญ ควรต้องมกี ารทำความ ทกุ โรงเรียนควรให้ ความสำคญั ของการนำหลักสตู ร รนำ เข้าใจหลักสตู รใหช้ ัดเจน ความสำคญั กบั การ สถานศึกษาไปใช้ อยทู่ ก่ี ารทำ ตรไปใชใ้ ห้ รว่ มกันกอ่ นนำหลกั สูตร นำผลการประเมิน ความเขา้ ใจหลักสตู รและ สมกับ ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ ควรมี หลักสตู รไปใช้ในการ กระบวนการพัฒนานกั เรียนตาม ของ การติดตามผลการใช้ จัดทำแผนพัฒนา เปา้ หมายใหช้ ัดเจนรว่ มกนั นำ ศกึ ษา หลกั สตู รอยา่ งเป็นระบบ การศกึ ษาของ หลักสตู รไปใชใ้ หเ้ หมาะสมกับ และทำความเขา้ ใจกับ ตนเอง เพอื่ ให้ บรบิ ทของสถานศึกษา มกี าร ผบู้ ริหารให้เหน็ สามารถพฒั นาได้ ตดิ ตามผลการใชห้ ลักสตู รอย่าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook