227 ขอ้ ปัญหา ขอ้ 1.6 แรงกดดันจากครอบครัว และสังคม ทำให้พัฒนาการตามวัยและคุณธรรม 1.6 จรยิ ธรรมลดลง ความหลากหลายของรายวชิ า/กิจกรรม และความยืดหย่นุ ของ หลักสตู รท่ตี อบสนองความต้องการและความสามารถพเิ ศษของนักเรียนมีน้อย เนอ่ื งจากหลกั สตู รแกนกลางเน้นท่คี วามรู้พ้นื ฐานตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดที่มี จำนวนมาก ปกติ สงั เคราะห์ผลการสนทนากลุ่มคณะกรร 1.7 การกำหนดกรอบแนวคิดในเอกสารหลักสูตรของโรงเรียนสาธิตเกษตรฯ 1.7 กำแพงแสนยงั ไมช่ ัดเจน 1.8 เป้าหมายของหลักสูตรยังไม่มีกระบวนการหรือเครื่องมือในการวัดและ 1.8 ประเมินผลทส่ี ะท้อนถึงการบรรลุเปา้ หมายของหลกั สตู ร 1.9 จดุ เน้นของหลกั สตู รยงั ไมช่ ดั เจนและเพยี งพอ 1.9 1.10 การนำหลักสตู รส่ชู ัน้ เรยี น อาจารยผ์ ้สู อนสว่ นหนง่ึ อาจยังไม่ทราบถึงเป้าหมาย 1.10 สำคัญของหลักสูตรทั้งในภาพรวมของโรงเรียน และหลักสตู รเฉพาะกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ 1.11 1) การจัดการเรยี นการสอนมลี กั ษณะเป็นแบบแยกสว่ น ยังไม่มีการบูรณาการ 1.11 ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้อาจส่งผลให้เกดิ ความไมต่ ่อเน่ืองและไม่เช่ือมโยง ของสาระการเรียนรู้ที่ต้องอาศัยพื้นฐานความรู้ซึ่งกันและกันระหว่างรายวิชา เข่น วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และสงั คมศึกษา 2) รายวิชาบรู ณาการในระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.4-6) ขาดการบริหาร จัดการรายวิชาเนื่องจากมีอาจารย์ผู้สอนเป็นทีม จำนวน 3 คน นอกจากนี้ยัง
แนวทางการพัฒนาและปรับปรงุ หลกั สูตร 227 โรงเรียนและครอบครัวควรให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจของ นักเรียนที่อยู่ในยุคการเปลี่ยนแปลงแบบหักศอก (Disruption) แนะนำให้นักเรียนได้ ปรบั ตัวและกล้ายอมรับความเปล่ียนแปลงท่เี กิดขึ้น รมการฝา่ ยวชิ าการ 12 คน (จากตอนท่ี 1) 1) ควรจำแนกเปน็ ระดบั การศกึ ษาและมีภาพประกอบคำบรรยาย 2) เอกสารหลักสูตรและคู่มือการวัดและประเมินผลควรรวมเป็นเล่มเดียวกัน และให้มี องค์ประกอบครบถว้ นเพียงพอทจ่ี ะนำไปใชป้ ฏิบตั ิไดจ้ รงิ ในชน้ั เรยี น ควรทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจน ร่วมกัน นำหลักสูตรไปใช้ใหเ้ หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการติดตามผลการใช้ หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนา สถานศึกษา ควรเพมิ่ จดุ เนน้ และความโดดเดน่ ของโรงเรยี นให้เด่นชดั กวา่ ท่ปี รากฏอยูใ่ นหลักสตู ร ควรต้องสร้างความเข้าใจร่วมกัน กำหนดให้มีการเลือกวิธีหรือรูปแบบการจัดการเรียน การสอนและการประเมินผลที่เหมาะสมเพื่อให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน ตามทีห่ ลักสตู รกำหนด ควรมีระบบการบริหารจัดการหลักสูตรรายวิชา โดยควรให้มีการปรับปรุงรูปแบบการ เรียนการสอนและการวัดและประเมินผลให้มีความชัดเจนในแนวทางการปฏิบัติและมี ความตอ่ เนื่องของสาระทใ่ี ช้ในการจัดกจิ กรรม
228 ข้อ ปัญหา ข้อ พบว่ามีการเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอนในแต่ละปีการศึกษา ซึ่งอาจมีผลทำให้การ พฒั นารายวิชาเปน็ ไปด้วยความลา่ ช้า 1.12 ในหลกั สูตรระดับประถมศกึ ษา ควรจดั ให้มีการเรยี นการสอนรายวชิ าภาษาจีน 1.13 และในระดับมัธยมศึกษาควรมีอาจารย์พิเศษมาให้ความร้แู ละประสบการณก์ บั นกั เรยี น 1.13 อาจารย์ผู้สอนบางส่วนยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรของโรงเรียน ส่วน 1.14 ใหญ่จัดการเรียนการสอนโดยยึดเนือ้ หาเป็นหลัก ใช้ประมวลการสอน (Corse Syllabus) เพื่อให้นักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้รับทราบ รายละเอียดของรายวิชา และแม้ว่าหลักสูตรจะมีการกำหนดเป้าหมายที่ ชดั เจนแล้วแต่ยงั ไม่มีวธิ กี ารทจ่ี ะทำให้ทราบว่าคณุ ภาพนักเรียนบรรลเุ ป้าหมาย ตามที่หลักสูตรแต่ละระดับการศึกษากำหนดไว้หรือไม่ รวมทั้งบางรายวิชามี ความจำเป็นต้องให้มีการเชื่อมโยงความรู้ระหว่างศาสตร์ เพื่อนำความรู้ของ ศาสตร์หน่ึงไปใชเ้ ป็นพน้ื ฐานตอ่ ยอดความร้ขู องอกี ศาสตรห์ นึ่งได้อยา่ งเข้าใจ ปกติ ความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นทีม่ ีต่อหลักสตู รปกติ (รายงานผลการสอบถามความ ประเด็น 3 ลำดบั ท้าย ซึ่งนักเรียนมีความคิดเหน็ อย่ใู 1.14 ดา้ นหลกั สตู ร 1.14 1) เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละรายวิชาในภาพรวมมีความเหมาะสม นักเรียน สามารถนำไปใช้ได้จรงิ ในชีวติ ประจำวนั 2) โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อตามความถนัด ความสนใจ ซง่ึ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของนกั เรยี น 3) จำนวนเวลาเรียน 6-8 คาบตอ่ วนั มคี วามเหมาะสม 4) จากการสัมภาษณ์นักเรียนเห็นว่า มีนักเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินของ หลกั สูตร
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลักสตู ร 228 ควรพิจารณาปรบั รายวชิ าให้เหมาะสม และบรหิ ารจัดการผู้สอนเพอ่ื เพ่มิ ประสบการณใ์ ห้ นกั เรยี นในระดับมัธยมศึกษา ควรให้อาจารย์ผู้สอนทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ของโรงเรียนได้ตระหนักถึงความ จำเป็นที่จะต้องรับรู้และทำความเข้าใจหลักสูตรของโรงเรียนใหช้ ัดเจน และสามารถนำ หลักสูตรไปใชใ้ นการออกแบบและจดั การเรียนการสอนใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายคณุ ภาพผู้เรยี น ในศตวรรษที่ 21 ได้ ดังนั้นควรต้องมีการกำหนดกระบวนการในการนำหลักสูตรสู่ช้ัน เรียนให้ชัดเจน มีระบบพีเ่ ล้ียงสำหรับอาจารยใ์ หม่ของโรงเรียน และมีการนเิ ทศ ติดตาม และช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนี้ควรให้อาจารย์ผู้สอนมีการวิเคราะห์ สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เพื่อจัดลำดับความสำคัญของเนื้อหาสาระในกรณีที่ต้องมีการ ต่อยอดความรู้ข้ามศาสตร์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเพียงพอสำหรับการศึกษาใน เรอื่ งที่ซบั ซอ้ นมากขน้ึ หรอื ในระดับช้นั เรียนทส่ี ูงขึ้นได้ มคดิ เห็นตารางที่ 22 จากตอนท่ี 2 และผลการสนทนากล่มุ นกั เรยี น จากตอนท่ี 3) ในระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ ) 1) ควรเพิ่มการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้มากขึ้นเพื่อเน้นความกล้าแสดงออกของ นักเรียน 2) ควรเพม่ิ จำนวนคาบเรยี นวชิ าเทคโนโลยี พลศึกษา และดนตรีให้มากข้นึ วิชาพละให้มี มวยสากล 3) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายควรมีแผนการเรียนเพิ่มขึ้นและเน้นด้านอาชีพ เช่น วทิ ย์-แพทย์ วทิ ย-์ กฬี า ภาษาตา่ งประเทศ-ภาษาเกาหลี 4) ควรนำหลักสูตรในมหาวิทยาลัยมาทดลองใช้ในระดับมัธยมศึกษาเพื่อให้นักเรียนมี ทางเลอื กท่เี หมาะสมกับตนเองหลากหลายมากขน้ึ
229 ขอ้ ปัญหา ขอ้
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรงุ หลักสูตร 229 5) ควรปรับปรงุ หลักสูตรให้ตรงกับความเป็นจริง มวี ชิ าเลือกใหน้ ักเรียนไดเ้ ลือกเรยี นมาก ข้นึ ครอบคลมุ ทกุ กลุม่ สาระฯ มีรายวชิ าอาชีพทเี่ จาะลกึ ถึงเรอ่ื งนัน้ ๆ 6) ในระดับม.ปลายคาบภาษาท่ี 3 ฝรัง่ เศส จนี ญ่ปี นุ่ ควรคงไวท้ ่ี 10 คาบเหมือนเดมิ เพอ่ื จะช่วยเรื่องการพฒั นาภาษาทสี่ ามของนักเรยี น 7) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยากให้เปลี่ยนระบบแผนการเรียนเป็นเตรียม ศิลปกรรม เตรียมวิทย์-คอมพ์ เตรียมนิเทศ-มนุษย์ เป็นต้น แทนแผนการเรียนที่เปิดใน ปัจจุบนั 8) ควรมหี อ้ งเรียนมัธยมศึกษามากข้ึน เรยี นแบบใหม่ เชน่ ตามสายทอ่ี ยากจะเรยี นตอ่ ใน มหาลยั 9) ควรให้วิชา \"งานช่างไม้\" อยู่ในวิชาเพิ่มเติมหรือชมรมอย่างเดียว ไม่ต้องการให้อยู่ใน กลุม่ รายวิชาพื้นฐาน 10) ในโครงการแลกเปลีย่ นนักเรียนในต่างประเทศควรใหม้ ีเกาหลีมาดว้ ย 11) ควรพัฒนาหลักสูตรวิทย์-คณิตให้เข้มข้นขึ้นเพื่อการสอบแข่งขันต่างๆ และเน้น ภาษาองั กฤษมากขึ้น 12) ควรมีคาบเรียนแบบตอนเรียนปรับพื้นฐาน ม.1 เพราะไม่มากเกินไปและมีเวลาพัก 13) ควรมีการจัดความถนัดของเด็กทั้ง 8 ด้าน โดยโรงเรียนสมควรเป็นสถานที่ที่ทำให้ เด็กได้รู้ว่าชอบอะไร หลักสูตรควรเน้นความสามารถของเด็กมากกว่าการให้แต่ความรู้ 14) ควรลดชั่วโมงวชิ าภาคบงั คับลงและเพ่มิ ชัว่ โมงวชิ าเลอื กและชมรมให้มากข้นึ 15) ควรมีสอบแค่วิชาหลัก ควรลดคาบวิชาเรียนแล้วเพิ่มกิจกรรมอื่นๆ ทดแทนการนั่ง เรยี นทไ่ี มไ่ ด้ขยับตวั ยดื เหยยี ดกลา้ มเนื้อท่ีทำให้เกิดผลเสียในภายหลัง 16) ควรจดั ห้องเรยี นแบบคดั มากกว่าแบบคละชน้ั เพือ่ ให้อาจารยใ์ นรายวิชาสอนได้อย่าง ทัว่ ถงึ ถา้ เปน็ ห้องเรียนแบบคละเดก็ บางคนอาจยงั ไม่เข้าใจแตผ่ ูส้ อนปล่อยผา่ นไป 17) ควรปรับการเรียนเป็นเรียนวิชาหลักในช่วงเช้า เพิ่มช่วงกลางวันเป็นเรียนวิชาตาม ความถนดั
230 ข้อ ปญั หา ขอ้ 1.15 ดา้ นรายวิชา (พน้ื ฐานและเพม่ิ เติม) และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 1.15 1) รายวิชาและกจิ กรรมการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ชว่ ยสง่ เสริมให้นกั เรียนมี ทักษะชีวิตและเข้าใจอาชีพ 2) รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมให้นักเรียนมีสมรรถนะในการ เป็นพลเมอื งทีเ่ ข้มแข็ง ไดแ้ ก่ มีความรกั ชาติ รักท้องถิ่น มจี ิตอาสา มอี ดุ มการณ์ มคี วามยตุ ิธรรม และใชท้ รัพยากรอยา่ งรูค้ ุณค่า 3) รายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรยี น ชว่ ยส่งเสริมใหน้ กั เรยี นมี บุคลิกภาพที่ดีในด้านการเรียนรู้อย่างมีความสุข การเป็นที่ยอมรับของผู้อ่ืน การชว่ ยเหลอื โอบออ้ มอารี สือ่ สาร และใฝ่เรียนรู้สง่ิ ใหมๆ่ ความคดิ เห็นของอาจารย์ทม่ี ีต่อหลักสตู รปกติ (รายงา ปกติ และผลการสนทนากลมุ่ อาจารยแ์ ละผ ประเดน็ 3 ลำดบั ท้าย ซ่ึงอาจารยม์ คี วามคดิ เห็นอยใู่ 1.16 ด้านหลักสตู ร 1.16 1) การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผู้เรียน สอดคล้องกับเป้าหมายของ หลักสูตรแต่ละระดับการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาที่เน้นผลลัพธ์ที่พึง ประสงค์ (DOE Thailand)
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรงุ หลกั สูตร 230 18) ควรลดเวลาเรยี น ลดงาน ลดการบา้ นลง บางอยา่ งเรยี นไปกไ็ ม่ไดใ้ ช้ เพ่อื ใหน้ ักเรียน นำเวลาว่างไปอ่านหนังสือ หรือค้นคว้าหาความรู้ในสิ่งที่สนใจและสิ่งที่ชอบเพื่อต่อยอด ในอนาคต และอาจารยค์ วรสอนให้เต็มเวลาและไม่ตอ้ งให้มกี ารบ้าน 19) ควรเรยี นวนั ละ 4-5 ชม. แบ่งเรียนหนกั เบาสลับกันไป 20) นกั เรียนควรเรียนเพียงครึ่งวัน หลงั เที่ยงควรให้เลอื กเรียนตามความสนใจ ควรให้จัด ตารางเรียนเอง 21) นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินของหลักสูตร โรงเรียนควรพิจารณาสาเหตุที่ แทจ้ รงิ และมีระบบการให้ความช่วยเหลอื ให้ทนั กอ่ นนักเรียนจบหลักสตู ร 1) ควรมีวิชาเสริมในรายวิชาเลือกหรือชมรมมากกว่านี้เพื่อให้นักเรียนเลือกเรียนสิ่งท่ี ชอบตามศกั ยภาพจรงิ ควรมกี ารฝกึ ฝนการเอาชีวติ รอดในสงั คมมากขึน้ 2) บางรายวิชาควรปรับใหน้ ำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรสอนปฏบิ ตั ิมากกว่าทฤษฎี 3) ควรมีชมรมและวิชาเลือกบาสเกตบอล เริ่มตั้งแต่ ป.1-ม.6 จะให้เด็กได้ฝึกความ แข็งแรงและมคี ณุ ภาพในด้านกีฬาบาสเกตบอล ควรมกี ารจัดการดแู ลเด็กใหท้ ัว่ ถึงใครทำ ผดิ ควรรบั ผิดชอบ านผลการสอบถามความคดิ เห็นตารางท่ี 24 จากตอนที่ 2 ผบู้ รหิ าร และผู้ทรงคุณวุฒิ จากตอนที่ 3) ในระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง) 1) อาจารย์เห็นว่า ควรจัดโครงการเพื่อเชื่อมต่อการศึกษาระหว่างระดับปฐมวัยสู่ ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ตามลำดับเพ่ือให้นักเรียนไดป้ รับตัวเข้ากับการเรยี นการ สอนในระดับที่สูงขึ้นได้ โดยมีเป้าหมายคือการพัฒนานักเรียนให้บรรลุมาตรฐาน การศึกษาและคุณภาพนกั เรียนตามที่หลักสูตรสถานศึกษาที่กำหนด
231 ข้อ ปญั หา ข้อ 2) โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโดยภาพรวม 3 ระดับ คือ ปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษา มีความต่อเน่ืองเชอื่ มโยงกัน 3) วตั ถุประสงค์ เป้าหมายของหลกั สตู รเหมาะสมกับสภาพการณป์ จั จุบนั 1.17 ด้านรายวชิ า (พืน้ ฐานและเพมิ่ เติม) และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 1.17 1) รายวชิ าและกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีสมรรถนะในการเป็น ผ้รู ่วมสรา้ งสรรค์นวัตกรรม 2) รายวชิ าและกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนมสี มรรถนะในการเป็น พลเมอื งทีเ่ ข้มแข็ง 3) รายวชิ าและกิจกรรมในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) ส่งเสริมให้ผู้เรยี น มีบุคลิกภาพ 5 ด้าน มีความสามารถตามคุณลักษณะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (7C) และมีทักษะอาชพี 2. ดา้ นปจั จัยนำเข้า (I: Input) ปกติ ความคดิ เห็นของนกั เรยี นทีม่ ตี อ่ หลักสูตรปกติ (รายงานผลการสอบถามความ ประเดน็ 3 ลำดับทา้ ย ซึ่งนักเรียนมีความคิดเหน็ อย่ใู
แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสตู ร 231 2) อาจารย์และผู้บริหารให้ความเห็นว่า ในรายละเอียดของการนำหลกั สูตรไปใชใ้ นการ จัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลอาจยังมีส่วนที่ต้องพัฒนาในเรื่อง กระบวนการในการพัฒนานักเรียนให้ไปในทิศทางของหลักสูตร การสร้างความเข้าใจ ร่วมกันเป็นสิ่งสำคัญที่สุดของอาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการนำหลักสูตรไปใช้ เพอ่ื พฒั นาคุณภาพนกั เรียนไดต้ ามเปา้ หมาย 3) ผู้ทรงคุณวุฒิให้ความเห็นว่า เมื่อพิจารณาบริบทของสังคมในปัจจุบัน หลักสูตร โรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ควรมีการปรับปรงุ คือ 3.1) วิสัยทัศน์ของหลักสูตรควรเป็นการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการคิด สร้างสรรค์ และทักษะนวัตกรรมให้มากขึ้น 3.2) ควรเพิ่มเติม การคิดขั้นสูง (Higher- order thinking) 3.3) ควรเพม่ิ เติม Creative Based, Technology Based ไวใ้ นกรอบ แนวคดิ หลกั สตู ร รว่ มกับ Project Based, Career Based 3.4) ควรเน้น Competency Based ไว้ในกรอบแนวคิดหลกั สตู ร และ5) แนวการจดั หลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษา และ มธั ยมศกึ ษา ควรเน้นการบูรณาการเชงิ สร้างสรรค์ Creative Integration ให้มากขึ้น จะ ชว่ ยเสริมสรา้ ง Innovative skills 1) กิจกรรมแนะแนวทุกระดับชั้นควรมีคู่มือกิจกรรมการเรียนการสอนและการ ประเมินผลนักเรียน และเน้นแนวโน้มการเลือกอาชีพในอนาคตที่มีความเป็นไปได้ของ นักเรยี น 2) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ควรปรับเปลี่ยนวิธีการประเมินผลให้ สะทอ้ นถึงการปฏบิ ัตจิ รงิ มากกว่าการถ่ายภาพมาส่งอาจารยเ์ พียงอย่างเดยี ว 3) กจิ กรรมจิตอาสา ควรปรับวธิ กี ารประเมินและปลูกฝงั จติ ใต้สำนกึ ให้นกั เรยี น มคดิ เหน็ ตารางที่ 22 จากตอนท่ี 2 และผลการสนทนากลมุ่ นกั เรียน จากตอนที่ 3) ในระดบั “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง)
232 ขอ้ ปัญหา ขอ้ 2.1 ด้านบุคคล 2.1 1) เจ้าหน้าที่ มีความพร้อมในการให้บริการ สนับสนุน และอำนวยความ สะดวกเพอื่ การบรรลเุ ปา้ หมายของงาน 2) ความรคู้ วามสามารถ ความเชีย่ วชาญ และประสบการณ์ของอาจารย์ผู้สอน มคี วามเหมาะสม 3) ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนของ โรงเรยี น 4) จากการสนทนากลุ่มนักเรียนส่วนหนึง่ เห็นว่า ผู้ปกครองไม่ได้มามีส่วนร่วม ในการจัดการเรียนการสอน แต่มีบางส่วนที่จะมาช่วยในกิจกรรมพัฒนา นักเรยี น 2.2 ดา้ นเอกสาร สอื่ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนนุ ท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้ 2.2 1) มีกิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การเรียนรูซ้ ง่ึ กนั และกัน 2) หอ้ งเรียนมสี ภาพทเ่ี อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 3) มสี ่อื วสั ดุ อุปกรณป์ ระกอบการเรยี นเพยี งพอ
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลกั สตู ร 232 1) อาจารย์และเจ้าหน้าที่ควรเป็นตน้ แบบที่ดีใหน้ ักเรียน มีความยุติธรรม ให้ความเสมอ ภาค ควรมีอุปกรณ์ประกอบการสอน ควรเน้นปฏบิ ัตมิ ากกวา่ ทฤษฎี ไม่ท้ิงคาบสอบ ควร สอนให้เด็กเข้าใจได้โดยควรอธิบายเพิ่มเติมจากในหนังสือเรียน ไม่ปล่อยเกรดและ คะแนน ควรควบคุมชนั้ เรียนใหไ้ ด้ในขณะสอน และควรใช้ภาษาที่สุภาพในชนั้ เรียน 2) ควรมีอาจารย์มาสอนวิชา English เป็นชาวอเมริกันมากกว่าฟิลิปปินส์ ที่จะช่วยให้ นักเรียนสามารถฟังพูดอ่านเขียนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ การสอนในระดับประถมศึกษา โดยอาจารย์ไม่ควรให้คำอ่านที่เป็นภาษาไทยให้เด็ก ควรเน้นให้เด็กออกเสียงให้ถูกต้อง จะเหมาะสมกวา่ 3) ควรอนุญาตให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีประกอบการเรียนได้เป็นส่วนตัว เช่น iPad ใน การ Lecture จะทำให้ค้นคว้าข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และให้ใช้โทรศัพท์ในขณะเรยี นได้ แตม่ มี าตรการควบคุม 4) เจ้าหนา้ ทีค่ วรใหค้ วามเป็นมติ รกบั นักเรยี น 5) จากการสนทนากลุ่มนักเรียนส่วนหนง่ึ เห็นว่า อาจารยผ์ ู้สอนและอาจารย์ประจำชนั้ /ท่ี ปรึกษาควรมีหน้าที่โดยตรงที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้ได้มากที่สุดในทุกด้าน เพราะใกล้ชิดนักเรียนและสามารถจะเข้าใจนักเรียนได้ดี เพื่อนและรุ่นพี่ก็มีส่วนช่วยใน เรื่องการเรียนได้ ผู้ปกครองมีส่วนช่วยเหลือสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา แต่ใน ระดับมัธยมศึกษานักเรียนต้องดูแลตัวเองมากขึ้น โรงเรียนควรมีกิจกรรมที่อาจจะให้ ผู้ปกครองบางคนเข้ามารว่ มกิจกรรมแนะนำเร่ืองอาชีพและแนวทางการศึกษาต่อให้แก่ นักเรียนได้ 1) ควรสร้างยิมทีเ่ ป็นของกีฬาบาสเกตบอลโดยเฉพาะโดยใช้พื้นยิมเป็นไม้ปาเก้ ใช้แป้น บาสของ SPALDING ลูกบาสโรงเรียนมใี ห้ใชแ้ บบดี ๆ 2) รา้ นสวสั ดกิ ารควรมอี าจารย์เข้ามาดแู ลทกุ วัน 3) ควรมสี ระวา่ ยน้ำในโรงเรียน 4) ควรพัฒนาห้องสมุดให้มีหนังสือที่เพียงพอและน่าสนใจ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ี ให้บรกิ ารทันสมยั และอนิ เตอร์เนตไมช่ า้
233 ข้อ ปญั หา ข้อ ความคิดเหน็ ของอาจารย์ที่มีต่อหลกั สูตรปกติ (รายงา ปกติ และผลการการสนทนากลมุ่ ผปู้ กครอง อาจาร ประเดน็ 3 ลำดบั ทา้ ย ซ่ึงอาจารยม์ ีความคดิ เห็นอยูใ่ 2.3 ดา้ นบุคคล 1) ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนของ โรงเรียน
แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลกั สูตร 233 5) ควรสร้างและพฒั นาสนามกฬี าใหห้ ลากหลายชนดิ กีฬา เช่น แฮนดบ์ อล บาสเกตบอล 6) ควรเพิ่มอุปกรณ์งานช่างให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน เพิ่มครูผู้สอนเพื่อจะได้ดูแล เด็กไดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ อยากให้อาจารยผ์ ูส้ อนทำความเข้าใจกบั เด็กเพราะเด็กมคี วามสามารถ ในการรบั รไู้ มเ่ ทา่ กันและอยากให้ปรบั ทัศนคติเด็กๆเพื่อใหเ้ ดก็ เป็นคนดีคิดดีทำดีข้ึน 7) ควรพฒั นาเร่อื งความสะอาดในโรงเรียนโดยเฉพาะบรเิ วณโรงอาหาร โต๊ะอาหารและท่ี นั่ง เรื่องระเบียบวินัย ปรับปรุงห้องน้ำให้สะอาดและพร้อมใช้ได้ทุกห้อง ควรเข้มงวดใน เรอ่ื ง ยาเสพติดไม่ใหม้ ีในโรงเรียน 8) ควรมีระบบการตรวจสอบการให้บริการของธุรการและร้านค้าต่าง ๆ ของโรงเรียน เชน่ ร้านค้าสวสั ดกิ าร รา้ นสหกรณ์ และร้านถา่ ยเอกสาร ในเร่ืองการใช้คำพูดที่ไม่สุภาพ และการแสดงอาการที่ไม่เหมาะสม ร้านอาหารบางร้านที่มีสิ่งแปลกปลอมติดมากับ อาหาร 9) ควรมรี า้ นถา่ ยเอกสารมากกวา่ 1 ร้าน ห้องคอมพวิ เตอร์ระดับประถมมีแต่เด็กเล่มเกม 10) ทกุ รายวิชาควรมหี นังสือเรยี นหรือเอกสารประกอบการเรียนเพื่อใหน้ ักเรียนได้ใช้ใน การศกึ ษามาลว่ งหนา้ 11) ควรมีห้องเทคโนโลยีและสื่อการสอนที่ทันสมัยเข้าถึงไดง้ ่ายรวมทั้งมีกิจกรรมบูรณา การในรายวิชาต่าง ๆ ใหม้ ากขึน้ 12) จากการสนทนากลุ่มนกั เรียนส่วนหน่ึงเห็นว่า หนังสือและอุปกรณ์ทีใ่ ช้ประกอบการ เรียนก็สำคัญ โดยต้องการให้ทุกรายวิชามีหนังสือเรียนเพื่อจะได้ไม่ต้องจดทุกตัวอักษร ระหว่างเรยี น และใชส้ ำหรบั การเตรยี มตวั สอบดว้ ย านผลการสอบถามความคิดเห็นตารางท่ี 24 จากตอนท่ี 2 รย์และผ้บู รหิ าร และผู้ทรงคณุ วุฒิ จากตอนที่ 3) ในระดบั “ปานกลาง” ควรนำมาพิจารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ ) 1) ผู้ปกครองเห็นว่า อาจารย์มีบทบาทสำคัญต่อการเรียนของนักเรียน เนื่องจาก นักเรียนส่วนใหญ่จะเชื่อฟังอาจารย์เป็นหลัก โดยเฉพาะในช่วงวัยประถมศึกษา ถ้า อาจารย์ไดช้ ว่ ยปลูกฝงั ลกั ษณะนิสัยท่ีดี ใหค้ ำแนะนำ มเี หตุผลกบั เด็ก การเรียนการสอน
234 ข้อ ปัญหา ข้อ 2) เจ้าหน้าที่ มีความพร้อมในการให้บริการ สนับสนุน และอำนวยความ สะดวกเพือ่ การบรรลเุ ปา้ หมายของงาน 3) ผู้ปกครองส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมจากในชั้นเรียน โดย ยนิ ดีให้ผเู้ รยี นเข้ารว่ มกจิ กรรมของทางโรงเรียน
แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรุงหลักสตู ร 234 ตอบสนองความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยนักเรียนสามารถเข้า เรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัยได้ นักเรียนมีความปลอดภัย มีสังคมที่ดี นักเรียนมีความ พร้อมทางด้านวิชาการ และเห็นวา่ ปจั จัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลือ่ นการนำหลักสูตรสู่ชั้น เรียน คือ ด้านอาจารย์ผู้สอนควรต้องได้รับการดูแลและพัฒนาจากทางโรงเรียน ได้แก่ อาจารยท์ ่เี ขา้ มาทำงานใหม่ควรได้รับการพฒั นาการเรยี นการสอน และการสอนของนิสิต ฝึกสอนอาจทำใหน้ กั เรียนไดร้ ับความรทู้ ไ่ี ม่ถกู ตอ้ งและไมค่ รบถว้ น นอกจากน้เี หน็ วา่ การ เรยี นการสอนของโรงเรยี นตอบสนองความต้องการของนกั เรยี นและผ้ปู กครอง แต่ควรมี การเพิ่มกจิ กรรมร่วมกับชุมชนหรือมีการสำรวจความต้องการของชุมชน และเปิดโอกาส ให้ผู้ปกครอง ศิษย์เก่าเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรยี นและติดตามความกา้ วหน้า ในผลการเรยี นของนักเรยี น และการเรียนการสอนของโรงเรยี น 2) อาจารย์และผู้บริหารมคี วามคิดเห็นสอดคล้องกนั วา่ ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อน การนำหลักสตู รสถานศึกษาสู่ช้นั เรียน คอื นกั เรียน อาจารย์ และผบู้ ริหาร ตอ้ งมคี วามรู้ ความเข้าใจเรื่องการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียน และการบริหารจัดการหลักสูตรอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง เห็นความสำคัญและมีความพร้อมตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง มองเหน็ เป้าหมายเดยี วกัน วางแผนการดำเนินงานรว่ มกนั เร่ิมตงั้ แต่การคัดเลือกนักเรียน การสร้างและปรับเปลี่ยน mindset เพื่อการนำหลักสูตรไปใช้ตามวัตถุประสงค์ มีการ พัฒนาวิธีการหรือขั้นตอนการนำหลักสูตรไปใช้ร่วมกัน มีการให้คำแนะนำ ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เลือกวิธีการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลที่หลากหลายและ เหมาะสมเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้บรรลุเป้าหมาย มีการจัดการ ความรู้รว่ มกันอยา่ งตอ่ เน่ือง ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผดิ ชอบ ร่วมกันแก้ไข/ปรับปรุงและ สร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน นอกจากนี้เห็นว่า ปัจจุบันมีศิษย์เก่ามาช่วยพฒั นา ด้านกีฬาให้แก่นักเรียนที่สนใจ ควรให้ผู้ปกครองหรืออาจารย์ในมหาวิทยาลัยได้มาร่วม แลกเปล่ียนเรียนรู้และร่วมจัดกิจกรรมให้แก่นักเรียน เช่น กิจกรรมชมรม กิจกรรมด้าน กีฬา กิจกรรมจิตอาสา การแนะแนวอาชีพ หรือกิจกรรมทางวิชาการ เช่น มาเป็น อาจารย์พิเศษในบางรายวิชาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และช่วยสร้างแรงจูงใจในการ
235 ขอ้ ปัญหา ข้อ 2.4 ด้านเอกสาร สอื่ เทคโนโลยี และสงิ่ สนบั สนุนที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 1) มีกจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนร้กู ับชมุ ชน และชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษาของโรงเรยี น 2) มีแหลง่ การเรียนรู้ทเี่ หมาะสมกับวัยของผู้เรียน 3) มีการจัดแหล่งเรยี นรสู้ อดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น 4) มแี หลง่ เรียนร้ผู า่ นระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม 3. ด้านกระบวนการ (P: Process) ปกติ ความคดิ เห็นของนักเรยี นท่มี ตี อ่ หลักสูตรปกติ (รายงานผลการสอบถามความค ประเดน็ 3 ลำดบั ทา้ ย ซ่ึงนกั เรยี นมคี วามคิดเหน็ อย่ใู 3.1 1) มกี ารจดั การเรยี นรโู้ ดยคำนึงถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบคุ คล 3.1
แนวทางการพฒั นาและปรับปรุงหลกั สตู ร 235 เรียนให้แก่นักเรียนมากขึ้น กิจกรรมชมรมไม่จำเป็นต้องเป็นอาจารย์เป็นผู้จัดกิจกรรม อาจจะเป็นนักเรียน ผู้ปกครอง หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญในชุมชนก็ได้ เพื่อให้กิจกรรมมี ประสิทธิภาพและไดป้ ระโยชนอ์ ย่างแท้จรงิ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่า ควรเปิดโอกาสให้ผูป้ กครองและชมุ ชน เข้ามามีส่วนร่วมอย่างยงิ่ เพราะผู้ปกครองและชุมชน เป็นต้นทุนทางสังคมที่โรงเรียนสามารถใช้จุดแข็งของ ผู้ปกครอง ชุมชน มาสร้างสรรค์นวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมาก โดยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม ทำได้ตั้งแต่การมีส่วนร่วมในการออกแบบหลักสูตร การออกแบบการวัดผลการเรียนรู้ การเป็นครูภูมิปัญญาให้กับนักเรียน การเป็นแหล่ง เรียนร้เู ชิงสร้างสรรค์ และการมสี ว่ นรว่ มในการสะทอ้ นคณุ ภาพผู้เรียน และเห็นว่าปัจจัย สำคัญในการขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชั้นเรียน ควรประกอบด้วย 3.1) Growth mindset และ Passion ของบุคลากรทุกฝ่ายในการนำหลักสูตรไปใช้ในชั้น เรียนตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร 3.2) ความรู้ความเข้าใจและทักษะในการออกแบบ นวัตกรรมการเรียนรู้ของผู้สอน ที่สามารถตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของ ผู้เรียน 3.3) ความเข้มแข็งของการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชนและ ผ้ปู กครอง 1) ผู้ปกครองเห็นว่า โรงเรียนควรเป็นสถานศึกษาที่เป็นที่ยอมรับของชุมชน ควรมีการ เพ่ิมกจิ กรรมรว่ มกับชุมชนหรอื มีการสำรวจความต้องการของชุมชนมากขึน้ และหนังสือ เรียนท่อี าจารย์สัง่ ซอื้ มาใหน้ กั เรียนใช้ ควรไดน้ ำมาใหเ้ ดก็ ใช้เรยี นจรงิ ๆ คิดเห็นตารางที่ 22 จากตอนท่ี 2 และผลการการสนทนากลมุ่ นักเรยี น จากตอนท่ี 3) ในระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ ) 1) ควรมกี ารจัดการดแู ลเด็กใหท้ ั่วถึงใครทำผดิ ควรรับผดิ ชอบ
236 ข้อ ปญั หา ข้อ 2) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ช่วยสะท้อนความสามารถและความถนัดของ นักเรียนได้ดี 3) ใช้วิธีการและเครอ่ื งมอื ในการวดั และประเมินผลทหี่ ลากหลาย
แนวทางการพัฒนาและปรับปรงุ หลักสตู ร 236 2) ควรทำตารางกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหน้ ักเรยี นตั้งแต่ต้น-จบปีการศกึ ษาว่ามีกจิ กรรมใดวันที่ เทา่ ไหร่ 3) โรงเรยี นควรรับฟงั ความเห็นของนักเรยี นจากตัวแทนนักเรยี นแตล่ ะระดับชั้น 4) อาจารย์ควรเพิ่มเทคนิคใหม่ ๆ ในการสอน ให้เด็กได้ปฏิบัติลงมือทำจริงและเรียน นอกห้องเรียนบ้าง เพิ่มทักษะในการใช้ชีวิตประจำวัน และจัดรูปแบบการสอนให้ น่าสนใจ 5) ควรให้เด็กมีโอกาสเลือกเรียนในสิ่งที่จะนำไปใช้ได้จริงมากกว่านี้ ควรปรับปรุง หลักสูตรแบบระบบของประเทศฟินแลนด์ ให้อิสรภาพกับผู้เรียนมากขึ้น ช่วยแนะนำ ผู้เรียน และเข้าถึงผู้เรียนให้มากขึ้น และสามารถประเมินผู้เรียนได้ตามความประสงค์ ของผู้เรยี น ควรมีเวลาว่างท่ีใหน้ ักเรียนได้ลองทำส่งิ ต่างๆ มากกวา่ การเรียนคาบที่ 7 หรือ คาบที่ 8 ของแต่ละวัน 6) การติว GAT, PAT ควรให้มีการติวในแผนภาษาและสนับสนุนการสอบวัดระดับให้ นกั เรียนด้วย 7) อาจารย์ควรใหค้ ำแนะนำในเร่ืองการศกึ ษาต่ออย่างเป็นกลางไม่พดู โน้มน้าวให้เด็กเกิด ความรู้สึกที่ไม่ดีต่อบางสถาบัน และควรมีความพร้อมให้มีระบบการแนะแนวที่เข้มข้น เพื่อให้เด็กได้รู้เส้นทางและเตรียมความพร้อมสำหรับตนเองมากขึ้นด้วย และควร สนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม Open house ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ โดยนับ เวลาเรยี นรายวชิ าให้ 8) โรงเรียนควรพัฒนานักเรียนให้มีศักยภาพทั้งด้านความรู้และคุณธรรม ซึ่งที่ผ่านมา โรงเรียนไมส่ ามารถทำได้ 9) ควรแนะนำให้เด็กๆ มีโอกาสทำงานพาร์ทไทม์ ควรมีกิจกรรมรุ่นพี่รุ่นน้องเพื่อสร้าง ความผกู พันและให้ความเคารพซึ่งกันและกนั 10) การเรียนการสอนควรใหเ้ ดก็ ๆ สามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันและทำอะไรได้จริง ดว้ ย
237 ขอ้ ปัญหา ขอ้
แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสูตร 237 11) ควรมีการตง้ั คำถามชวนคดิ ให้นักเรียนมากกว่าคำถามทที่ ่ัวๆไป และควรจดั กิจกรรม ให้นักเรยี นได้พบกบั เพื่อนตา่ งโรงเรยี นมากข้นึ 12) การวัดและประเมนิ ผลควรแจง้ นักเรียนใหช้ ัดเจนเกี่ยวกับวิธีการประเมินและการให้ คะแนน 13) ควรเสริมสรา้ งประสบการณท์ างดา้ นการแขง่ ขนั ใหก้ ับนักเรียนมากขน้ึ เชน่ กจิ กรรม แข่งขนั ตอบปัญหา สง่ เสรมิ กจิ กรรมการแสดงความสามารถของนักเรียนทุกสัปดาห์ในแต่ ละวิชาและแต่ละระดับชั้น และให้เด็กศึกษาการใช้ชีวิตมากกว่าการเรียนตามหลักสูตร กระทรวงฯ ควรจัดการเรียนการสอนนอกห้องเรียนมากกว่าในห้องเรียนเพราะในชีวิต จริงไม่ได้อยู่ในห้องเรียน มอบหมายงานแบบพอดี ไม่มอบหมายก่อนสอบและให้ เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ควรมีอุปกรณ์การปฏิบัติสำหรับนักเรียนให้พร้อมและ เพียงพอ ควรสอนนอกเหนือจากที่หนังสือมีเพราะในหนังสือนักเรียนอ่านเองได้ เน้น กระบวนการแกป้ ัญหาจากชีวิตในปัจจบุ ัน 14) ควรมีระบบการดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด เวลาทำงานที่อาจเกิดอุบัติเหตุอาจารย์ ควรสอนวิธีป้องกนั หรือทำให้ดเู ปน็ ตัวอย่าง ควรมีการพัฒนามารยาทนกั เรียนใหม้ ากขึน้ ควรมีกิจกรรมราตรีเขียว-ม่วงสำหรับเด็กมัธยมเหมือนเด็กประถม ควรมีกิจกรรมค่าย เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้องบ่อยๆ ควรออกแบบการจัดงานปัจฉิม นิเทศให้รู้สกึ ผูกพนั และประทับใจ ควรดูแลและควบคุมเด็กด้ือโดยใช้หลักจิตวทิ ยา ควร นำปัญหาที่พบในกระทู้ kuskfact มาพัฒนาในบางส่วน อยากให้มีกิจกรรมแข่งขันตอบ ปัญหา ความสามารถต่างๆ ในแตล่ ะวิชาและแต่ละระดับชน้ั ควรมีการสง่ เสริมการเรียน เพ่มิ เตมิ สำหรับนกั เรยี นทม่ี ีความสามารถพิเศษ งานกิจกรรมตา่ ง ๆ ถ้าเป็นตามรายวิชาก็ ควรจัดรวมกันแบบวันวิชาการ งานกีฬาสีควรเพิ่มกีฬา e-sport สำหรับวัยรุ่น ควรมี ระบบการสอนท่ีทำให้นักเรียนได้สนุกไปกับการเรียนและอยากมาเรียนมากกว่าอย่บู า้ น ครตู ้องเขา้ ใจพ้นื ฐานของเดก็ แต่ละคน 15) จากการสนทนากลุ่มนักเรยี นส่วนหนึ่งเหน็ วา่ ควรจัดสภาพแวดลอ้ มในโรงเรียนให้มี ต้นไม้มากขน้ึ และทำป้ายช่อื ตน้ ไม้ใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียกชื่อได้ถกู ต้อง ดแู ลเรื่องระเบยี บวินยั ของ
238 ขอ้ ปัญหา ข้อ ความคดิ เหน็ ของอาจารย์ทีม่ ีต่อหลักสูตรปกติ (รายงา ปกติ และผลการสนทนากลมุ่ ผ้ปู กครอง อาจารย ประเดน็ 3 ลำดบั ทา้ ย ซึ่งอาจารยม์ ีความคิดเหน็ อย่ใู 3.2 ด้านการบริหารจดั การหลกั สตู ร 3.2 1) โรงเรยี นและชมุ ชนมกี ารจดั กจิ กรรมร่วมกันเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนอย่าง ตอ่ เนอื่ ง 2) มีระบบการสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอนอย่าง ต่อเน่ืองเพ่อื ให้การสนบั สนนุ และช่วยเหลือ 3) มีระบบการนิเทศ ติดตาม เพื่อให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ (การพัฒนาวชิ าชีพ) เก่ียวกบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของอาจารยผ์ ู้สอน
แนวทางการพฒั นาและปรับปรุงหลกั สูตร 238 นักเรียนให้มากขึ้น และควรให้นักเรียนได้ใช้โทรศัพท์หรือ IPad เป็นเครื่องมือใน การศึกษาคน้ คว้าในระหว่างการเรียนได้ านผลการสอบถามความคดิ เห็นตารางท่ี 24 จากตอนท่ี 2 ย์และผูบ้ รหิ าร และผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จากตอนท่ี 3) ในระดบั “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง) 1) ผู้ปกครองมีความเห็นว่า หลักสูตรควรมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้กับ นกั เรยี น และควรพัฒนาการทำงานใหแ้ กน่ กั เรียน ไมค่ วรใหเ้ ป็นหน้าท่ขี องนักเรียนคนใด คนหนึ่งในกลุ่ม และเห็นว่าปัจจัยสนับสนุนเพื่อให้หลักสูตรมีประสิทธิภาพและบรรลุ เป้าหมายมากขึ้น คือ ด้านอาจารย์ ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถตรงตามสาขาท่ี สอน มีการปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีให้แก่นักเรยี น มีจิตใจโอบออ้ มอารีกบั นักเรยี น มี บทบาทที่หลากหลาย เช่น เป็นครู เป็นที่ปรึกษา เป็นเพื่อน มีคุณธรรม มีการติดตาม ข่าวสารและเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อนำมาใช้ในการเรียนการสอน และมีการนิเทศและ ติดตามการสอนของอาจารย์ท่ีเข้ามาสอนใหม่ ด้านนักเรียน ควรต้องอยูใ่ นกฎและรักษา ระเบียบวินัยของโรงเรียน มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มีเป้าหมายและมีแรงบันดาลใจใน การเรียน ด้านบรรยากาศในห้องเรียน ควรสร้างบรรยากาศในห้องเรียนเพื่อกระตุ้นให้ นักเรียนอยากเรียนรู้ กระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นอยากเรียน มคี วามสขุ และสนุกกับการเรียน ควร มีมุมที่สร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ในห้องเรียน และห้องเรียนต้องสะอาด ด้านสอ่ื อุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ ควรมีสื่ออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย และเพียงพอกับ จำนวนนักเรียน และด้านการสนับสนุนจากผูบ้ ริหาร โดยควรยึดมั่นในความถูกต้องและ ความดี กล้าตัดสินใจ มีความยุติธรรม เข้าใจนักเรียนและดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึงทุก ระดับชั้น สนับสนุนนักเรียนในด้านการแข่งขนั ทัง้ ในและนอกโรงเรยี น รวมทั้งสนับสนุน นกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ 2) อาจารย์และผู้บริหารเห็นว่า โรงเรียนควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร”ท่ี ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 2.1) หลักการ คือ การจัดการศึกษาที่เน้นการมี ส่วนร่วมของทุกฝ่าย เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของนักเรยี นทุกด้าน สร้างขวญั และกำลงั ใจ
239 ขอ้ ปัญหา ขอ้
แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สตู ร 239 ในการปฏิบัติงานให้บุคลากร 2.2) วัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้อง กับจุดเน้นและอัตลักษณ์ของโรงเรียน และเพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และคุณธรรมและจริยธรรมตามที่สังคมต้องการ 2.3) กระบวนการ ดำเนินการโดย การสรา้ งความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา และการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาหลักสตู ร กำหนดบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ในการดำเนินการพัฒนาหลักสูตร จัดทำรายละเอียดตามองค์ประกอบหลักสูตรให้ ครบถ้วน ติดตามตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสมเพื่อปรับปรุงและแก้ไข นำ หลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประเมินผล และตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ เพื่อรับรองหลักสูตร 2.4) การวัดและประเมินผล ได้แก่ ประเมินคุณภาพนักเรียนด้าน ทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 และประเมินคณุ ภาพนกั เรยี นตามจุดเนน้ และอัตลักษณ์ ของโรงเรียนรวมทั้งคุณธรรมและจริยธรรม 2.5) ปัจจัยสนับสนุน ประกอบด้วย การ สนับสนุนจากโรงเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการสร้ างสื่อนวัตกรรมของ อาจารย์ การสรา้ งขวัญและกำลังใจของผู้บรหิ าร และความร่วมมือในการนำหลักสูตรไป ใช้ของอาจารย์ และความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ นกั เรยี น ผูป้ กครอง ชมุ ชน และสถาบนั เครือขา่ ยความรว่ มมือ 3) ผู้ทรงคณุ วุฒเิ สนอแนะว่า รูปแบบการพัฒนาหลกั สตู รของโรงเรียน ควรประกอบด้วย 3.1) หลักการ คือ ให้ความสำคัญกับ Growth mindset ในการพัฒนาหลักสูตรท่ี คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และบุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรท่ี ให้ความสำคัญกับคุณภาพผู้เรียนด้านต่างๆ และพัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองธรรมชาติ และความต้องการของผู้เรยี นในลักษณะ Personalized learning และใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ รว่ มกบั การเรยี นรู้แบบ Creative Team Learning 3.2) วัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่ตอบสนองธรรมชาติและความ ต้องการของผู้เรียน เสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนแบบบูรณาการ เพื่อพัฒนานวัตกรรมการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน และเพื่อพัฒนาชุมชน ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตร และการ เรียนรู้ของครูในโรงเรียน 3.3) กระบวนการ ดำเนินการโดย การกระตุ้น Growth
240 ขอ้ ปัญหา ข้อ 3.3 ด้านกระบวนการจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล 1) จัดการเรียนรู้โดยคำนึงถงึ ความสามารถของผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล 2) เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นร่วมในการวดั และประเมินผล 3) จัดการเรียนรู้โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลกั สูตร 240 mindset และ Passion ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตร การถอดบทเรียน จุดแข็ง และจุดที่ควรปรับปรุงหลักสูตรเดิม การกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนท่ี ตอบสนองการเปลย่ี นแปลงของสังคมในอนาคต การดำเนนิ การพฒั นาหลกั สตู รท่ีมีความ เป็นนวัตกรรม Curriculum innovation ตอบสนองเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน การใช้ หลกั สตู รแบบวิจัยเปน็ ฐานทมี่ ีการประเมินและปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เนอ่ื งตามวงจร Plan Do Check Reflection 3.4) การวดั และประเมินผล ได้แก่ การประเมินคุณภาพการจัดการ เรียนรู้ของผู้สอนอย่างต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง การ สะท้อนผลการประเมินและนำไปปรับปรุงหลักสูตร และการถอดบทเรียนนวัตกรรม หลักสูตรและการเรียนรู้ของโรงเรียน 3.5) ปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ การสนับสนุนเชิง วิชาการของผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับโรงเรียน Growth mindset ของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การ สนับสนุนจากชุมชน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ทรัพยากรหลักสูตรและการจัดการ เรยี นรู้ งบประมาณในการดำเนินการ และการไดร้ บั ความรว่ มมือจากผปู้ กครอง 1) ผปู้ กครองมีความเหน็ วา่ ควรมีการประเมินผลตรงกบั ความเปน็ จริงของนกั เรยี น ควร เน้นการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของผู้เรียน พัฒนากิจกรรมเสริมทักษะของ นักเรียนด้านวิชาการ ด้านอาชีพ ด้านทักษะต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ควรเน้นการเรียน การสอนที่มีการลงมือปฏิบัติที่มีความหลากหลาย และเน้นให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง ด้วยตนเอง มีการนำแหล่งเรียนรู้หรือบุคลากรในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการ เรียนการสอน มีการแนะแนวให้กับนักเรียนเพ่อื ใหน้ ักเรียนสามารถเลือกเรียนไดต้ รงตาม ความต้องการและความสามารถของตนเอง รวมทั้งการเพิ่มทักษะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินชีวติ เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานเป็น ทีม และทักษะการส่ือสาร และโรงเรียนควรดึงศักยภาพของผู้ปกครองมาสนับสนุนการ เรียนการสอนและกจิ กรรมตา่ งๆ 2) ผู้บริหารได้เสนอให้โรงเรียนมีการนำหลักสตู รไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนในช้ัน เรียน โดยเสนอให้มีรูปแบบการเรียนการสอนเป็นของตนเอง (สาธิตเกษตรโมเดล) ซ่ึง
241 ขอ้ ปญั หา ข้อ 4. ด้านผลผลติ (P: Product) ปกติ ความคดิ เหน็ ของนกั เรียนทม่ี ตี อ่ หลกั สูตรปกติ (รายงานผลการสอบถามความ ประเด็น 3 ลำดับท้าย ซ่งึ นักเรียนมีความคิดเหน็ อยู่ใ 4.1 1) นกั เรียนมกี ระบวนการทำงานอยา่ งเป็นระบบ 4.1 2) นักเรียนมีความสามารถตามคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (7C) ตามเปา้ หมายของหลักสตู ร 3) นักเรียนมีความสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามเป้าหมายของหลักสูตร (ความสามารถด้านภาษา คณิตศาสตร์ มิติสัมพันธ์ การควบคุมความคิด ความรสู้ กึ ดนตรี มนษุ ย์สมั พันธ์ เข้าใจตนเอง และเข้าใจธรรมชาติ) ความคิดเหน็ ของอาจารย์ท่ีมตี อ่ หลักสตู รปกติ (รายงา ปกติ และผลการสนทนากลุ่มผู้ปกครอง อาจารย ประเดน็ 3 ลำดบั ทา้ ย ซง่ึ อาจารยม์ ีความคดิ เห็นอยใู่ 4.2 1) ผู้เรยี นมกี ระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ 2) ผเู้ รียนมสี มรรถนะในการสร้างสรรคช์ ิน้ งาน 3) ผู้เรียนมีความสามารถตามคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (7C) ตามเปา้ หมายของหลักสูตร
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลักสตู ร 241 เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของสาธิตเกษตร กำแพงแสน โดยเฉพาะ ทั้งนี้ต้องมั่นใจได้ว่าโมเดลนั้นสามารถนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมายสอดคล้องกับ ความต้องการของประเทศและชุมชน โดยอาจารย์ต้องปรบั เปลยี่ นวิธกี ารคดิ ปรบั เปล่ียน วิธีการสอน และในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนจะต้อง ปรับเปลีย่ นกระบวนการทำงานทีต่ ้องทำให้เด็กบรรลุเป้าหมายของหลกั สูตรสถานศึกษา รวมถึงการบริหารจัดการของผู้บริหารจะต้องตอบสนองต่อเป้าหมายของโมเดล ดังน้ัน ผบู้ ริหารโรงเรยี นตอ้ งกลา้ คิด กลา้ ทำ และกล้าปรับเปลีย่ น มคดิ เหน็ ตารางท่ี 22 จากตอนที่ 2 และผลการสนทนากลุ่มนกั เรยี น จากตอนท่ี 3) ในระดบั “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง) 1) จากผลการสนทนากลุ่มนักเรียนส่วนหนึ่งเห็นว่า คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์ของ โรงเรยี น ควรเปน็ ผู้มีความรู้ และเขา้ ใจนักเรียน สอนเขา้ ใจและเนน้ ใหน้ กั เรียนได้ปฏิบัติ จริง และคุณลักษณะนักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรมีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ ทกั ษะการแกป้ ญั หา และทักษะดา้ นการใช้ภาษาสือ่ สาร านผลการสอบถามความคิดเห็นตารางท่ี 24 จากตอนที่ 2 ยแ์ ละผู้บรหิ าร และผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จากตอนที่ 3) ในระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ ) 1) ผู้ปกครองเห็นว่า คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรเป็นผู้มีความรูแ้ ละ ความชำนาญในวชิ าทส่ี อน มคี วามเข้าใจนกั เรยี น ดูแลและเอาใจใส่นกั เรียนท่ัวถึง และมี จิตใจโอบอ้อมอารีกับนกั เรียน คณุ ลกั ษณะนกั เรียนที่พึงประสงคข์ องโรงเรยี น ควรเป็น ผู้มคี วามร้คู วามสามารถทางวชิ าการ มีความรับผดิ ชอบ มวี นิ ัย และมีคณุ ธรรม-จรยิ ธรรม 2) อาจารย์และผู้บริหารเห็นว่า คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรเป็นผู้มี ความรคู้ วามสามารถเฉพาะทาง มสี มรรถนะในการจดั การเรียนรู้ มคี วามสามารถในการ
242 ขอ้ ปัญหา ข้อ 5. ด้านผลกระทบ (I: Impact) ปกติ ความคิดเหน็ ของนกั เรยี นทมี่ ีตอ่ หลกั สูตรปกติ (รายงานผลการสอบถามความ ประเดน็ 3 ลำดบั ท้าย ซ่งึ นักเรยี นมีความคิดเห็นอยใู่ 5.1 1) นักเรียนมคี วามรู้สกึ รักและภาคภูมิใจต่อสถาบนั 5.1 2) นักเรียนท่ีจบการศึกษาจากโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของสถาบันการศกึ ษาทัง้ ในและต่างประเทศ 3) นักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนได้รับการยอมรับว่า “เป็นคนดีใน สังคม” ความคดิ เหน็ ของอาจารย์ท่ีมีตอ่ หลักสูตรปกติ (รายงา ปกติ และผลการสนทนากลุ่มผู้ปกครอง อาจารย ประเดน็ 3 ลำดับทา้ ย ซ่งึ อาจารยม์ ีความคิดเห็นอยู่ใ 5.2 1) อาจารย์ผ้สู อนมีการเผยแพร่ผลงานวิชาการ งานวิจัยอย่างต่อเน่ือง 2) อาจารยผ์ ู้สอนสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอนผ่านกระบวนการวิจัยอย่าง ตอ่ เนื่อง
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรงุ หลักสตู ร 242 วิจัยในชั้นเรียน และมีความเอาใจใส่ในการพัฒนานักเรียน คุณลักษณะนักเรียนที่พึง ประสงคข์ องโรงเรียน ควรเปน็ ผู้มีความรู้ความเข้าใจในสิ่งท่ีเรียน มีทักษะการแก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ มีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง มวี นิ ยั และมจี ิตอาสา 3) ผู้ทรงคุณวฒุ ิเหน็ ว่า คุณลกั ษณะครทู พี่ งึ ประสงค์ของโรงเรียน ควรมี Passion ในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน รักการสอน/รักการจัดการเรียนรู้ รักผู้เรียน มีความเป็น กัลยาณมิตร เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และเป็นนักสร้างสรรค์นวัตกรรมหลักสูตรและ การเรียนรู้ คุณลักษณะนักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรเป็นผู้มีคุณลักษณะ ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กำหนดไว้และควรเพิ่มเติมคุณลักษณะการเห็นคุณค่าในตนเอง และมีทักษะใน การสร้างสรรคน์ วตั กรรม ท่ีสามารถแปลงความคดิ สร้างสรรค์มาเป็นนวตั กรรมได้ อีกทั้ง ควรมคี วามเอื้อเฟอื้ เผอื่ แผ่และแบ่งปนั (เมตตากรุณา) มคิดเห็นตารางที่ 22 จากตอนที่ 2 และผลการสนทนากลุ่มนกั เรียน จกตอนท่ี 3) ในระดบั “ปานกลาง” ควรนำมาพิจารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง) 1) จากผลการสนทนากลุ่มนักเรียนส่วนหนึ่งเห็นว่า หลักสูตรสถานศึกษาฯแห่งนี้ สามารถพัฒนานักเรยี นได้ตรงตามความต้องการของสถาบนั ที่จะรบั นกั เรียนเขา้ ศกึ ษาตอ่ โดยดูจากสถติ กิ ารสอบเข้ามหาวิทยาลยั ของรุน่ พ่ที สี่ ามารถเรียนตอ่ ในมหาวทิ ยาลยั ไดท้ ุก คนในทุกปีการศึกษา แต่หลักสูตรควรจัดรายวิชาที่ใช้เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้ นอ้ ยลงเพือ่ จะได้มเี วลาเตรียมความพรอ้ มเข้ามหาวิทยาลัยไดม้ ากขน้ึ านผลการสอบถามความคิดเหน็ ตารางท่ี 24 จากตอนท่ี 2 ย์และผบู้ รหิ าร และผู้ทรงคุณวุฒิ จากตอนที่ 3) ในระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพิจารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ ) 1) ผู้ปกครองเห็นว่า หลักสูตรสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความ ต้องการของสถาบันที่จะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อ เนื่องจากเห็นว่าโรงเรียนสาธิต เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน สามารถส่งนักเรยี นเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในมหาวิทยาลยั ได้หลายแห่ง
243 ข้อ ปัญหา ขอ้ 3) อาจารย์ผูส้ อนไดร้ บั เชิญเปน็ วทิ ยากรเพือ่ ช่วยพฒั นาการจัดการเรียนรู้ให้แก่ บุคลากรทง้ั ภายในและภายนอกสถาบัน 4) จากผลการสนทนากลุ่มอาจารย์และผู้บริหารเห็นว่า การเผยแพร่ผลงาน หรือให้บริการวิชาการของอาจารย์ มีจำนวนยังไม่ถึงครึ่งหนึ่งของอาจารย์ ท้ังหมดของโรงเรยี น ตารางที่ 23 ผลการสังเคราะห์ปญั หาและแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสตู รโร และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 25 องค์ประกอบ 5 ด้านของการประเมนิ หลกั สูตรโดยใช้ CIPPI Model ข้อ ปัญหา ขอ้ 1. ด้านบริบท (Context : C) EP สังเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ผู้อำนวยการ 1.1 ตวั ช้ีวัดบางข้อ วดั ได้ยาก 1.1 1.2 ตัวช้ีวดั ที่ปรบั ปรงุ ใหม่แลว้ ยงั มีจำนวนมาก 1.2
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลกั สตู ร 243 และผู้เรียนสามารถจบการศึกษาได้ตามหลักสูตรในระดับอุดมศึกษาและมีทักษะที่ดี สำหรับการศกึ ษาในระดับทส่ี ูงขึ้นและมคี วามสำเรจ็ ในอาชีพที่เลอื กเป็นสว่ นใหญ่ 2) อาจารย์และผูบ้ ริหารเห็นว่า หลักสูตรสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตาม ความตอ้ งการของสถาบันทีจ่ ะรับนกั เรยี นเข้าศึกษาต่อหรอื ประกอบอาชีพ สังเกตได้จาก ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่ต้องการได้ และเห็นว่า อาจารย์ขอทุนวิจัยในชั้นเรียนมีจำนวนเพิ่มขึ้น แต่ควรพัฒนาให้อาจารย์ได้เผยแพร่ ผลงานหรือให้บรกิ ารวชิ าการมากขน้ึ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่า ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงาน และ กระตุ้นให้อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมทั้งให้บริการวิชาการแก่เพื่อนร่วมวิชาชีพทั้งในและนอกโรงเรียน มากขนึ้ รงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย 551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program จำแนกตาม แนวทางการพัฒนาและปรับปรงุ หลกั สตู ร รโรงเรยี นสาธติ 4 โรงเรียน (จากตอนที่ 1) ควรปรับขอ้ ความเนน้ เป็นพฤตกิ รรมที่นกั เรยี นแสดงออกไดช้ ัดเจน ควรปรับลดจำนวนตัวชี้วัดให้เหลือเท่าที่จำเป็นที่สามารถสะท้อนความรู้ ทักษะ และ คุณลักษณะที่จำเป็นของนักเรียนในชีวิตจริง และควรปรับการเรียนการสอนในวิชา หนา้ ทพ่ี ลเมอื งในรูปแบบบรู ณาการกบั รายวชิ าอ่ืน
244 ข้อ ปัญหา ขอ้ 1.3 ครูวิทยาศาสตร์ไม่สามารถสอนบูรณาการ STEM ตามที่หลักสูตรกำหนด 1.3 แนวทางไวไ้ ด้ 1.4 โครงสร้างเวลาเรียนในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา มีการ 1.4 กำหนดเวลาเรียนจำนวนมาก ทำให้สถานศึกษาไม่สามารถจัดรายวิชาเรียนตาม จุดเน้นได้เท่าท่คี วร 1.5 การนำหลักสูตรไปใช้ โดยครูยังไม่สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ไปถึง 1.5 เป้าหมายของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ครบถ้วน ซึ่งเกิดจากความไม่พร้อมใน การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ไม่เขา้ ใจหลักสตู ร และจดั การเรยี นการสอนและประเมนิ ผลไม่ ตรงตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ไม่มีเครื่องมือสะท้อนผลลัพธก์ ารบรรลุเป้าหมายใน การพัฒนาคุณภาพนักเรียน นักเรยี นควรได้รับการพัฒนาทกั ษะที่จำเปน็ ตอ่ การ นำไปใช้ศกึ ษาต่อในระดับมหาวทิ ยาลัยมากกว่า 1.6 แรงกดดันจากครอบครัว และสังคม ทำให้พัฒนาการตามวัยและคุณธรรม 1.6 จริยธรรมลดลง ความหลากหลายของรายวิชา/กิจกรรม และความยืดหยุ่นของ หลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการและความสามารถพิเศษของนักเรียนมีน้อย เนื่องจากหลักสูตรแกนกลางเน้นที่ความรู้พื้นฐานตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที่มี จำนวนมาก EP สังเคราะห์ผลการสนทนากลุม่ คณะกรร 1.7 เอกสารหลกั สตู รของโรงเรยี นสาธิตเกษตรฯ กำแพงแสน 1.7 การกำหนดกรอบแนวคิดยังไม่ชัดเจน 1.8 เป้าหมายของหลักสูตรยังไม่มีกระบวนการหรือเครื่องมือในการวัดและ 1.8 ประเมินผลที่สะท้อนถึงการบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร
แนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลักสูตร 244 โรงเรียนควรบริหารให้ครูผู้สอนสามารถสอนบูรณาการ STEM ได้ ควรมีการแนะนำการ เลือกสอ่ื หรือหนงั สอื เรยี นใหเ้ หมาะสมกับวัยของนกั เรยี น หลักสตู รแกนกลางฯควรปรับสดั ส่วนให้สถานศึกษาสามารถจัดรายวชิ าเรียนตามจุดเน้น ได้มากขึ้น ควรให้สถานศึกษามีอิสระในการออกแบบหลักสูตรได้อย่างแท้จริง หลักสูตร ควรตอบสนองนักเรียนแต่ละคน และควรมีรูปแบบการประเมินที่หลากหลายและเน้น ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 1) ควรสร้างแรงจูงใจให้ครูได้รับการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการ ประเมินผลที่ส่งเสริมทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ และพัฒนาเครื่องมือประเมินที่ สะท้อนผลลัพธก์ ารบรรลเุ ป้าหมายของหลักสูตร 2) ควรทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจน ร่วมกัน นำหลักสูตรไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการติดตามผลการใช้ หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนา สถานศกึ ษา โรงเรียนและครอบครัวควรให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจของ นักเรียนที่อยู่ในยุคการเปลี่ยนแปลงแบบหักศอก (Disruption) แนะนำให้นักเรียนได้ ปรับตัวและกลา้ ยอมรบั ความเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ ขึ้น รมการฝ่ายวิชาการ 12 คน (จากตอนที่ 1) 1) ควรจำแนกเป็นระดบั การศึกษาและมีภาพประกอบคำบรรยาย 2) เอกสารหลักสูตรและคู่มือการวัดและประเมินผลควรรวมเป็นเล่มเดียวกัน และให้มี องคป์ ระกอบครบถว้ นเพยี งพอที่จะนำไปใชป้ ฏบิ ัตไิ ดจ้ ริงในชัน้ เรียน ควรทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจน ร่วมกัน นำหลักสูตรไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการติดตามผลการใช้
245 ข้อ ปัญหา ขอ้ 1.9 จดุ เนน้ ของหลักสูตรยังไม่ชัดเจนและเพยี งพอ 1.9 1.10 การนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียน อาจารย์ผู้สอนส่วนหนึ่งอาจยังไม่ทราบถึงเป้าหมาย 1.10 สำคัญของหลักสูตรทั้งในภาพรวมของโรงเรียน และหลักสูตรเฉพาะกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ 1.11 1) การจัดการเรียนการสอนมีลักษณะเป็นแบบแยกส่วน ยังไม่มีการบูรณาการ 1.11 ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้อาจส่งผลให้เกิดความไม่ต่อเนื่องและไม่เชื่อมโยง ของสาระการเรียนรู้ที่ต้องอาศัยพื้นฐานความรู้ซึ่งกันและกันระหว่างรายวิชา เข่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสงั คมศึกษา 2) รายวิชาบรู ณาการในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-6) ขาดการบริหาร จัดการรายวิชาเนื่องจากมีอาจารย์ผู้สอนเป็นทีม จำนวน 3 คน นอกจากนี้ยัง พบว่ามีการเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอนในแต่ละปีการศึกษา ซึ่งอาจมีผลทำให้การ พฒั นารายวชิ าเป็นไปดว้ ยความลา่ ชา้ 1.12 ในหลักสูตรระดับประถมศึกษา ควรจัดให้มีการเรียนการสอนรายวิชาภาษาจีน 1.12 และในระดับมัธยมศึกษาควรมีอาจารย์พิเศษมาให้ความรู้และประสบการณ์กับ นักเรียน 1.13 อาจารย์ผู้สอนบางส่วนยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรของโรงเรียน ส่วน 1.13 ใหญ่จัดการเรียนการสอนโดยยึดเนื้อหาเป็นหลัก ใช้ประมวลการสอน (Corse Syllabus) เพื่อให้นักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้รับทราบ รายละเอียดของรายวิชา และแม้ว่าหลักสูตรจะมกี ารกำหนดเป้าหมายท่ีชดั เจน แล้วแต่ยังไม่มีวิธีการที่จะทำให้ทราบว่าคุณภาพนักเรียนบรรลุเป้าหมายตามท่ี หลักสูตรแต่ละระดับการศึกษากำหนดไว้หรือไม่ รวมทั้งบางรายวิชามีความ จำเป็นต้องให้มีการเชื่อมโยงความรู้ระหว่างศาสตร์ เพื่อนำความรู้ของศาสตร์ หนึง่ ไปใช้เป็นพ้ืนฐานต่อยอดความรู้ของอีกศาสตรห์ น่ึงไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจ
แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสตู ร 245 หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนา สถานศึกษา ควรเพ่มิ จดุ เนน้ และความโดดเด่นของโรงเรียนใหเ้ ดน่ ชดั กว่าทีป่ รากฏอย่ใู นหลกั สตู ร ควรต้องสร้างความเข้าใจร่วมกัน กำหนดให้มีการเลือกวิธีหรือรูปแบบการจัดการเรียน การสอนและการประเมินผลที่เหมาะสมเพื่อให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน ตามท่ีหลกั สตู รกำหนด ควรมีระบบการบริหารจัดการหลักสูตรรายวิชา โดยควรให้มีการปรับปรุงรูปแบบการ เรียนการสอนและการวัดและประเมินผลให้มีความชัดเจนในแนวทางการปฏิบัติและมี ความต่อเน่ืองของสาระท่ีใชใ้ นการจดั กิจกรรม ควรพิจารณาปรบั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม และบริหารจดั การผสู้ อนเพือ่ เพิ่มประสบการณใ์ ห้ นกั เรยี นในระดับมัธยมศึกษา ควรให้อาจารย์ผู้สอนทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ของโรงเรียนได้ตระหนักถึงความ จำเป็นที่จะต้องรับรู้และทำความเข้าใจหลักสูตรของโรงเรียนให้ชัดเจน และสามารถนำ หลักสูตรไปใช้ในการออกแบบและจดั การเรียนการสอนใหบ้ รรลุเป้าหมายคณุ ภาพผู้เรยี น ในศตวรรษที่ 21 ได้ ดังนั้นควรต้องมีการกำหนดกระบวนการในการนำหลักสูตรสู่ชั้น เรียนใหช้ ัดเจน มีระบบพีเ่ ลี้ยงสำหรับอาจารย์ใหม่ของโรงเรียน และมีการนเิ ทศ ติดตาม และช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนี้ควรให้อาจารย์ผู้สอนมีการวิเคราะห์ สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เพื่อจัดลำดับความสำคัญของเนื้อหาสาระในกรณีที่ต้องมีการ
246 ขอ้ ปัญหา ขอ้ EP ความคิดเหน็ ของนกั เรยี นทมี่ ตี ่อหลกั สูตร English Program (รายงานผลการสอบถา ประเดน็ 3 ลำดับท้าย ซึ่งนักเรยี นมคี วามคดิ เห็นอยใู่ น 1.14 ดา้ นหลกั สูตร 1.14 1) เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละรายวิชาในภาพรวมมีความเหมาะสม นักเรียน สามารถนำไปใช้ไดจ้ ริงในชวี ติ ประจำวนั 2) โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อตามความถนัด ความสนใจ ซง่ึ สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของนกั เรยี น 3) โรงเรียนส่งเสริมให้นกั เรยี นสามารถแสวงหาและสรา้ งความรดู้ ้วยตนเองได้ 1.15 ด้านรายวชิ า (พ้ืนฐานและเพ่ิมเติม) และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 1.15 1) รายวชิ าและกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นมีสมรรถนะในการเป็น พลเมืองที่เข้มแข็ง ได้แก่ มีความรักชาติ รักท้องถิ่น มีจิตอาสา มีอุดมการณ์ มี ความยตุ ิธรรม และใช้ทรัพยากรอยา่ งรคู้ ณุ คา่ 2) รายวชิ าและกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ส่งเสริมให้นักเรยี นมีความสามารถในการ ส่ือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชท้ ักษะชีวติ และการใช้เทคโนโลยี 3) รายวิชาและกิจกรรมการเรยี นการสอนในโรงเรียน ช่วยส่งเสริมให้นกั เรียนมี บุคลกิ ภาพทีด่ ใี นดา้ นการเรียนรู้อยา่ งมคี วามสุข การเป็นท่ียอมรบั ของผ้อู ื่น การ ช่วยเหลอื โอบอ้อมอารี สอื่ สาร และใฝเ่ รยี นรูส้ ิ่งใหมๆ่ ความคดิ เห็นของอาจารยท์ มี่ ตี อ่ หลักสตู ร English Prog EP และผลการสนทนากลมุ่ ผูป้ กครอง อาจารย ประเดน็ 3 ลำดับท้าย ซ่ึงอาจารยม์ ีความคิดเหน็ อยู่ใน ไมม่ ีประเดน็ 3 ลำดับท้าย ทอี่ าจารย์มคี วามคิดเหน็ อยู่ในระดับ “ปานกลาง” ด้านหลกั สตู ร
แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 246 ต่อยอดความรู้ข้ามศาสตร์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเพียงพอสำหรับการศึกษาใน เรือ่ งท่ซี ับซ้อนมากขน้ึ หรอื ในระดบั ช้ันเรยี นท่สี งู ข้นึ ได้ ามความคดิ เหน็ ตารางที่ 23 จากตอนท่ี 2 และผลการสนทนากลมุ่ นกั เรียน จากตอนที่ 3) นระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพิจารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง 1) จากผลการสนทนากลุ่มนักเรียนส่วนหนึ่งมีความเห็นว่า หลักสูตรควรพัฒนาความ พร้อมของบุคลากร อาจารย์ผู้สอน สถานที่ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในโรงเรียน และ พัฒนาภาวะผู้นำให้แก่นักเรียน ควรเพิ่มการดูแลนักเรียนให้ปฏิบัติตามระเบียบของ โรงเรียนมากขึ้น - gram (ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมจากตารางท่ี 25 จากตอนที่ 2 ย์และผบู้ ริหาร และผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จากตอนที่ 3) นระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมดา้ นบรบิ ท โดยอาจารย์ชาวตา่ งชาติ
247 ข้อ ปญั หา ข้อ 1) จากผลการสนทนากลุ่มผู้ปกครองเห็นว่า นักเรียนไม่สามารถเรียนรู้ได้และ อาจจะฟังอาจารย์ไม่เข้าใจบ้างในบางช่วงของการเรียนในระยะแรกๆ 2) จากผลการสนทนากลุ่มอาจารย์และผู้บรหิ ารเห็นวา่ หลกั สตู ร EP ที่เปิดสอน ในปัจจุบัน นักเรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเข้ามาเรียนอยู่ใน ระดับปานกลางถงึ ตำ่ ซ่ึงเปน็ ปัจจัยสำคญั ต่อการออกแบบหลักสตู รให้เหมาะสม
แนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลักสูตร 247 1) Provide learners a venue for inclusive and collaborative learning where they (learners) can showcase their potentials and be able to think outside the box. 2) The context has a very strong objectives in regards to the (Learners) individuals. 3) Making a more inclusive learning institution requires the restatement of the selection process in assigning learners to academic level by age only. Some learners are advanced. ผลการสนทนากลุ่มผปู้ กครอง อาจารยแ์ ละผ้บู รหิ าร และผูท้ รงคุณวฒุ ิ 4) ผู้ปกครองเห็นว่าหลักสูตร English Program จะช่วยพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาทน่ี ักเรียนสนใจ เพื่อเปน็ สิ่งทจ่ี ำเป็นในการศกึ ษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึนและใช้ใน การทำงานในอนาคต ซ่ึงนักเรยี นกส็ ามารถเรยี นรู้ไดแ้ ต่อาจจะฟังอาจารย์ไมเ่ ข้าใจบ้างใน บางช่วงของการเรียนในระยะแรกๆ หลักสูตรช่วยให้นักเรียนกล้าพูดและฟัง ภาษาอังกฤษได้ดีขึ้น แต่ควรมีการพัฒนาทักษะและคุณลักษณะอื่นๆ เพิ่มเติมด้วย เช่น การแก้ปัญหาดว้ ยตนเองในชวี ติ ประจำวนั การมีเป้าหมายในการเรยี น มนี ำ้ ใจ มจี ิตอาสา มคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเอง และหลกั สตู รควรมีกิจกรรมท่ใี ห้เดก็ ไดฝ้ ึกฝนการใช้ภาษาให้ คลอ่ งข้นึ 5) อาจารย์และผู้บริหารเห็นว่า หลักสูตร English Program เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรบั นักเรยี นและผปู้ กครองท่มี ีความตอ้ งการให้นักเรยี นไดม้ ีพฒั นาการทางด้านภาษาอังกฤษ เพื่อประโยชน์และความจำเป็นในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น นักเรียนจะได้ฝึกฝนการใช้ ภาษาอังกฤษในการฟัง-พูด และเรียนรู้กับอาจารย์ชาวต่างชาติในรายวิชาต่าง ๆ อย่าง ต่อเนื่อง และมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก โรงเรียน แต่หลักสูตร EP ที่เปิดสอนในปัจจุบัน นักเรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเข้ามาเรียนอยู่ในระดับปานกลางถึงต่ำ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อการออกแบบ หลักสูตรให้เหมาะสมกับความพร้อม ความสามารถและความต้องการของนักเรียน
248 ขอ้ ปัญหา ขอ้
แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรงุ หลกั สูตร 248 รวมทั้งบรบิ ทความพร้อมของโรงเรียนและผู้ปกครองด้วย เพื่อจะชว่ ยกันพัฒนาคณุ ภาพ นักเรียนให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตร โดยในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนได้พัฒนา ปรับหลักสูตรเป็น หลักสูตร Intensive English Program หมายถึงเป็นหลักสูตรที่ พัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในด้านภาษาอังกฤษที่เข้มข้น เน้นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี และการทำโครงงานเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และ เห็นว่าหลักสูตรควรมีความชัดเจนในทางปฏิบัติที่มีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมให้ เหน็ ผลท่เี กิดขนึ้ กบั นักเรียนโดยตรงว่านักเรียนสามารถทำอะไรได้บา้ งเม่ือเข้ามาเรียนใน หลักสูตรนี้ และควรให้มีการติดตามผลการศึกษาต่อของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาไป แลว้ วา่ มีความก้าวหน้าเพยี งใด 6) ผู้ทรงคุณวฒุ เิ หน็ วา่ การเปดิ หลกั สูตร English Program นอกจากเปน็ การสง่ เสรมิ ให้ นักเรียนได้มีพัฒนาการด้านภาษาที่เป็นสากลแล้ว ยังเปิดโอกาสให้นักเรียนและ ผู้ปกครองทีต่ อ้ งการเตรียมเดก็ เพื่อก้าวเข้าสู่อาชีพที่ต้องใชค้ วามสามารถด้านภาษาเพือ่ การสื่อสารจะมีโอกาสเข้าทำงานที่ต้องการได้มากกว่า ด้านการจัดการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษในปัจจุบนั มีความสาํ คัญมาก ควรมีการเพิ่มเติมทกั ษะการส่ือสารในภาษาท่ี เป็นสากล และครอบครัวจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในการสร้างและส่งเสริมบรรยากาศ ในการใชภ้ าษาองั กฤษในชีวติ ประจําวันของนักเรียนหลักสูตร English Program ได้เป็น อยา่ งดี ดังนนั้ แนวทางการพฒั นาหลกั สตู รโรงเรียนโดยผบู้ ริหารและอาจารย์ผู้สอนควรมี การสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนานักเรียนของโรงเรียน และความ ร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวของนักเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศในการใช้ ภาษาอังกฤษกอ่ นมกี ารเรียนการสอน และในระหว่างจดั การเรยี นการสอนควรมกี จิ กรรม ร่วมกันบางกิจกรรมและร่วมกันสะท้อนพัฒนาการของนักเรียนระหว่างทางบ้านกับ โรงเรียน โรงเรียนควรพิจารณาสัดสว่ นการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้มีความสมดุล ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและควรเน้น สาระสําคญั ทน่ี ักเรยี นจะไดร้ บั ตามแต่ละระดับชน้ั เรียน นอกจากน้ี การจดั อาจารย์ผสู้ อน ทเ่ี ปน็ อาจารย์ชาวตา่ งชาตทิ เ่ี ปน็ เจา้ ของภาษาโดยตรง เชน่ สญั ชาติอังกฤษ และอเมริกัน
249 ขอ้ ปญั หา ขอ้ 2. ดา้ นปัจจัยนำเข้า (I: Input) EP ความคิดเห็นของนักเรยี นทมี่ ีต่อหลักสูตร English Program (รายงานผลการสอบถา ประเดน็ 3 ลำดับทา้ ย ซง่ึ นักเรียนมคี วามคิดเหน็ อยใู่ น 2.1 ดา้ นบุคคล 2.1 1) เจ้าหน้าที่ มีความพร้อมในการให้บริการ สนบั สนนุ และอำนวยความสะดวก เพื่อการบรรลุเปา้ หมายของงาน 2) อาจารยผ์ สู้ อนไดส้ อนในรายวิชาท่ตี รงกบั ความเช่ียวชาญ 3) ความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ของอาจารย์ผู้สอน มคี วามเหมาะสม 2.2 ดา้ นเอกสาร ส่อื เทคโนโลยี และสง่ิ สนบั สนนุ ทีเ่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 2.2 1) มีกิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณก์ ารเรียนรูซ้ ง่ึ กันและกนั 2) หอ้ งเรยี นมสี ภาพท่เี ออื้ ต่อการเรยี นรู้ 3) มีห้องบริการสืบค้นข้อมูลด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมและ ทันสมัย ความคิดเห็นของอาจารย์ท่มี ีตอ่ หลักสตู ร English Program EP และผลการสนทนากล่มุ ผปู้ กครอง อาจารย ประเด็น 3 ลำดับท้าย ซึ่งอาจารยม์ คี วามคดิ เห็นอยู่ใน 2.3 ดา้ นบคุ คล 2.3 1) ความชัดเจนของคุณสมบตั ิอาจารยผ์ สู้ อนนักเรยี นหลักสูตร EP
แนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลกั สูตร 249 จะช่วยใหน้ ักเรียนมคี วามสามารถในการสื่อสารด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนได้ สูงกวา่ อาจารย์ทีไ่ ม่ใช่เจ้าของภาษา ามความคดิ เหน็ ตารางท่ี 23 จากตอนที่ 2 และผลการสนทนากลมุ่ นักเรยี น จากตอนท่ี 3) นระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง 1) จากผลการสนทนากลุ่มนักเรียนส่วนหนึ่งเห็นว่า เด็กๆ ควรได้รับความสำคัญจาก โรงเรียนมากขึ้น เนื่องจากข่าวสารข้อมูลหรือกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนมักรับรู้ได้ช้า กวา่ นกั เรยี นหลกั สูตรปกติ ควรมกี ารคดั เลือกนักเรียน EP อยา่ งละเอยี ดเพ่ือให้ได้ผู้เรียน ที่มีความพร้อมและความสนใจในหลักสูตรนี้อย่างแท้จริง ควรพิจารณาคุณสมบัติของ อาจารย์ผู้สอนท่ีมคี วามเข้าใจ ใสใ่ จในการดูแลนกั เรียน และส่ือสารกับนกั เรียนดว้ ยภาษา สุภาพ และเห็นว่าไม่จำเป็นต้องให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของ โรงเรียนเพราะนักเรียนคิดว่าตนเองควรมีอิสระในการเลือกเรียนและรับผิดชอบด้วย ตนเองได้ 1) นกั เรยี นเห็นวา่ ควรเพิ่มแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ ในโรงเรยี น (รายงานผลการสอบถามความคิดเหน็ ตารางที่ 25 จากตอนท่ี 2 ย์และผ้บู ริหาร และผทู้ รงคุณวฒุ ิ จากตอนท่ี 3) นระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพิจารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ 1) ผู้ปกครองเห็นว่า โรงเรียนควรกำหนดเป้าหมายของนักเรียนหลักสูตร EP ให้ชัดเจน ว่าแตกต่างจากหลักสูตรปกติของโรงเรียนอย่างไร ความพร้อมของอาจารย์ผู้สอน เช่น
250 ขอ้ ปัญหา ขอ้
แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสูตร 250 ความสามารถในการสอน คุณลักษณะที่เป็นมิตรของอาจารย์ผู้สอน คุณสมบัติของ อาจารย์ชาวต่างชาติที่สอน และความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ของนักเรียนด้วย และ ในกรณีที่โรงเรียนต้องการให้ผู้ปกครองมาเข้าร่วมหรือช่วยจัดกิจกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครองก็ยินดี เพราะบางท่านมีความสามารถที่เหมาะสมกับกิจกรรมของนักเรียน หลักสูตร EP บางท่านก็อาจมีความชำนาญที่สอดคล้องกับกิจกรรมพอดี และโรงเรียน อาจจดั หลักสูตรทีใ่ ห้ผปู้ กครองไดพ้ ฒั นาดา้ นภาษาองั กฤษเพอื่ ใชใ้ นการพดู สื่อสารเพ่ือจะ ไดส้ ามารถพดู คุยกบั ลูกเปน็ ภาษาองั กฤษทบี่ ้านไดด้ ้วย 2) อาจารย์และผบู้ รหิ ารเหน็ วา่ ปัจจัยสำคัญทจี่ ะชว่ ยขบั เคล่ือนการนำหลักสูตรไปใช้ คือ ความสามารถของอาจารย์ในการใช้ส่ือ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ในการจัดกิจกรรม การเรียนรใู้ หม้ ากข้ึนในแต่ละรายวิชา และถา้ นักเรียนเป็นผู้ทม่ี คี วามพรอ้ มและสนใจดา้ น ภาษาจริง ๆ เข้ามาเรียนจะช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ได้ดีและรวดเร็วมากขึ้น ดังน้ัน แนวทางในการดำเนินการให้เกิดประสทิ ธิผลสูงสดุ ตอ่ นักเรยี น ควรต้องเก่ียวข้องกบั การ บริหารจัดการอาจารยผ์ ู้สอน ใหม้ ีความสามารถในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยเน้นการ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยี และแหล่งเรยี นรู้ นอกจากน้ีควรเชิญผู้ปกครอง และชมุ ชนเขา้ มามีสว่ น ร่วมในการจัดการศึกษาในกิจกรรมพิเศษของโรงเรียน เช่น กิจกรรมชมรม กิจกรรม ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ หรืออาจเชิญมาช่วยจัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อสร้าง แรงจูงใจและเป็นต้นแบบทางวิชาชีพให้แกน่ ักเรียน 3) ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่า ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ช้นั เรียน คือ การสร้างความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน และการมีเจตคติที่ดีต่อ หลกั สตู ร นกั เรียน อาจารย์ และผูบ้ ริหาร ตอ้ งมคี วามรคู้ วามเข้าใจเรอ่ื งการนำหลักสตู รสู่ ชั้นเรียน เนื่องจากเป็นการสอนโดยอาจารย์ชาวต่างชาติเป็นหลัก ดังนั้น โรงเรียนควรมี การบริหารจัดการความรู้ที่เป็นระบบโดยมีการแลกเปลี่ยนเพื่อการพัฒนาการเรียนการ สอนอย่างต่อเนื่อง มีระบบการช่วยเหลอื ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักเรียน การ สง่ เสรมิ ให้นักเรียนได้มองเหน็ เส้นทางในอนาคตของตนเองหรอื การค้นพบตนเองรวมท้ัง การเห็นคุณค่าของตนเองจะเป็นแรงจูงใจที่ดีสำหรับการเรียนในระดับมัธยมศึกษา
251 ข้อ ปญั หา ข้อ 2.4 ด้านเอกสาร สอ่ื เทคโนโลยี และสิ่งสนบั สนุนทเ่ี อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ 2.4 1) มกี จิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นร้กู บั ชุมชน และชุมชนมีสว่ นรว่ มในการจัด การศึกษาของโรงเรยี น 2) จากผลการสนทนากลมุ่ ผู้ปกครองเหน็ ว่า หนงั สือและสอ่ื วสั ดอุ ุปกรณ์ที่ นักเรียนใชเ้ รยี นยงั ไม่คอ่ ยมีใชป้ ระกอบการเรียน 3. ด้านกระบวนการ (P: Process) EP ความคิดเห็นของนักเรยี นที่มีตอ่ หลักสูตร English Program (รายงานผลการสอบถา ประเดน็ 3 ลำดับทา้ ย ซง่ึ นักเรียนมีความคิดเหน็ อย่ใู น 3.1 1) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนช่วยสะท้อนความสามารถและความถนัดของนักเรียน 3.1 ไดด้ ี 2) มกี ิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีเน้นใหน้ กั เรยี นไดค้ ดิ วเิ คราะหแ์ ละลงมือปฏิบัตจิ ริง
แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สตู ร 251 ตอนต้นเพื่อก้าวสู่การเรียนในระดับที่สูงขึ้น ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชน เข้า มามีส่วนร่วมโดยโรงเรียนสามารถใช้จุดแข็งของผู้ปกครอง ชุมชน มาสร้างสรรค์ นวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการออกแบบหลักสูตร การ ออกแบบการวดั ผลการเรียนรู้ การเปน็ ครภู ูมปิ ัญญาใหก้ บั นักเรยี น การเป็นแหล่งเรียนรู้ เชิงสรา้ งสรรค์ และการมีส่วนรว่ มในการสะทอ้ นคณุ ภาพผู้เรียน 1) ควรสง่ เสรมิ การทำกิจกรรมรว่ มกันเพ่ือแลกเปล่ียนประสบการณร์ ะหวา่ งโรงเรยี น 2) ควรมีกจิ กรรมให้ผปู้ กครองหรือชมุ ชนมีส่วนรว่ มกับนักเรยี น 3) ผปู้ กครองเหน็ วา่ ควรมีหนังสือเรียน ส่อื -อปุ กรณ์การสอนทกุ ประเภทและหลากหลาย ที่จะช่วยให้นักเรียนมีความเข้าใจและนำไปใช้ได้จริง รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ประกอบการ เรยี น ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติมด้านปัจจยั นำเขา้ โดยอาจารย์ชาวต่างชาติ 2.1 To produce a much better learning environment, the school “MUST” have a strict implementing “Policy” with regards to the use “Mobile Phones”. Mobile phones are useful BUT in most cases they are very disruptive to students especially during the teaching and learning situation. 2.2 Innovating enough to support both instructors & Learners. 2.3 The availability of learning materials and resources is more than appropriate but the challenge is on the management of these resources to make if more accessible. ามความคดิ เห็นตารางท่ี 23 จากตอนที่ 2 และผลการสนทนากล่มุ นักเรยี น จากตอนท่ี 3) นระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง 1) ควรเพ่ิมความเข้มข้นของการใหบ้ รกิ ารแนะแนวตามเวลาที่นกั เรยี นวา่ งจากการเรียน 2) ทุกรายวิชาควรใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นรู้จากการทำจริงจะได้เขา้ ใจและจำได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430