Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore @เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

@เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

Published by Rujira P., 2021-11-08 13:38:37

Description: @เล่มรายงานการวิจัยประเมินหลักสูตร KUSK_ฉบับสมบูรณ์-Edit1

Search

Read the Text Version

183 ตารางท่ี 15 ผลการตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลกั สตู รสถานศึกษา รายการตรวจสอบ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ X S.D. ความหมาย ลำดับท่ี เพอ่ื การปรบั ปรุง/แกไ้ ข 1. สว่ นนำ 1.1 ความนำ 1.1.1 แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา่ ง 2.30 0.82 ปานกลาง 1 ไมพ่ บกรอบหลกั สตู ร หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ระดบั ทอ้ งถ่นิ จดุ เนน้ พทุ ธศักราช 2551 กรอบหลักสตู รระดับ และความตอ้ งการของ ทอ้ งถน่ิ จุดเนน้ และความตอ้ งการของ โรงเรียน โรงเรียน สรปุ ความนำ 2.30 0.82 ปานกลาง  - 1.2 วิสัยทัศน์ 1.2.1 แสดงภาพอนาคตท่พี ึงประสงค์ 2.50 0.71 มาก 1 - ของผเู้ รยี นท่ีสอดคล้องกบั วสิ ยั ทัศนข์ อง หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 อย่างชดั เจน 1.2.2 แสดงภาพอนาคตทพี่ ึงประสงค์ 2.30 0.67 ปานกลาง 2 - ของผูเ้ รยี นสอดคลอ้ งกับกรอบหลกั สูตร ระดบั ท้องถนิ่ 1.2.3 แสดงภาพอนาคตทพ่ี งึ ประสงค์ 2.20 0.79 ปานกลาง 3 - ของผู้เรยี นครอบคลมุ สภาพความ ต้องการของโรงเรียน ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ 1.2.4 มคี วามชัดเจนสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ 2.10 0.74 ปานกลาง 4 - สรปุ วสิ ยั ทัศน์ 2.28 0.66 ปานกลาง  - 1.3 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1.3.1 มีความสอดคลอ้ งกับหลักสตู ร 2.50 0.71 มาก 1 - แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 สรปุ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 2.50 0.71 มาก  - 1.4 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.4.1 มีความสอดคล้องกับหลกั สตู ร 2.60 0.70 มาก 3 - แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 1.4.2 มีความสอดคลอ้ งกับเป้าหมาย 2.60 0.52 มาก 2 - จดุ เนน้ กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถนิ่ 1.4.3 สอดคล้องกับวิสัยทัศนข์ อง 2.70 0.48 มาก 1 - โรงเรียน สรุปคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 2.63 0.48 มาก  - สรุปสว่ นนำ 2.42 0.51 ปานกลาง  - 2. โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา

184 รายการตรวจสอบ ระดบั คณุ ภาพ ขอ้ เสนอแนะ 2.1 โครงสร้างเวลาเรยี น X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ เพ่ือการปรับปรุง/แก้ไข 2.1.1 มีการระบุเวลาเรยี นของ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ทเี่ ปน็ เวลาเรียนพน้ื ฐาน 2.70 0.48 มาก 1 - และเพ่ิมเตมิ จำแนกแตล่ ะชั้นปอี ยา่ ง ชดั เจน 2.70 0.48 มาก 1 - 2.1.2 มกี ารระบุเวลาการจัดกจิ กรรม 2.60 พัฒนาผเู้ รยี นจำแนกแตล่ ะชัน้ ปีอย่าง 0.70 มาก 3 ควรแสดงตาราง ชดั เจน เปรียบเทยี บเวลาเรียน 2.1.3 เวลาเรยี นรวมของหลกั สูตร 0.54 มาก รวมของหลักสตู ร สถานศึกษาสอดคล้องกับโครงสรา้ งเวลา 0.32 มาก สถานศกึ ษากบั เรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา โครงสร้างเวลาเรยี นตาม ขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน สรุปโครงสร้างเวลาเรียน 2.67 พทุ ธศกั ราช 2551 2.90 2.2 โครงสร้างหลักสตู รชนั้ ปี - 2.90 2.2.1 มีการระบรุ ายวชิ าพื้นฐานทัง้ 8 1- กลุม่ สาระการเรยี นรู้ พรอ้ มทั้งระบเุ วลา 2.60 เรียนและหรือหนว่ ยกติ 2.90 0.32 มาก 1 - 2.2.2 มีการระบุรายวชิ าเพ่มิ เติมท่ี 2.80 0.52 มาก 5 - สถานศกึ ษากำหนด พรอ้ มท้งั ระบเุ วลา 0.32 มาก 1 - เรยี นและหรือหนว่ ยกิต 2.82 2.76 0.42 มาก 4 - 2.2.3 มกี ารระบกุ จิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 2.90 พรอ้ มทง้ั ระบเุ วลาเรยี น 0.32 มาก  - 0.32 มาก  - 2.2.4 มีรายวิชาพืน้ ฐานทีร่ ะบุรหสั วิชา ชื่อรายวิชา จำนวนเวลาเรียน และหรอื 0.32 มาก 1 - หนว่ ยกติ ไวอ้ ย่างถกู ต้องชดั เจน 2.2.5 มีรายวชิ าเพ่ิมเตมิ /กิจกรรม เพ่มิ เตมิ สอดคลอ้ งกบั วสิ ยั ทศั น์ จดุ เนน้ ของโรงเรียน สรุปโครงสร้างหลักสูตรชัน้ ปี สรุปโครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา 3. คำอธิบายรายวิชา 3.1 มีการระบรุ หสั วชิ า ชอ่ื รายวชิ า และ ชื่อกลมุ่ สาระการเรียนรู้ไวอ้ ยา่ งถกู ต้อง ชดั เจน

185 รายการตรวจสอบ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ 3.2 มีการระบชุ น้ั ปที สี่ อนและจำนวน X S.D. ความหมาย ลำดับที่ เพอ่ื การปรับปรงุ /แกไ้ ข เวลาเรียนและหรือหน่วยกติ ไว้อยา่ ง ถูกตอ้ งชดั เจน 2.90 0.32 มาก 1 - 3.3 การเขียนคำอธบิ ายรายวชิ า เขียน 2.40 เป็นความเรยี ง โดยระบุองคค์ วามรู้ 0.70 ปานกลาง 3 - ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะ 2.40 หรอื เจตคตทิ ่ีตอ้ งการ 2.40 0.70 ปานกลาง 3 - 3.4 มีการจัดทำคำอธิบายรายวิชา 2.20 พน้ื ฐานครอบคลุมตวั ชวี้ ดั สาระการ 1.90 0.70 ปานกลาง 3 - เรยี นรู้ 2.44 0.79 ปานกลาง 6 - 3.5 มกี ารระบรุ หสั ตวั ชว้ี ดั ในรายวชิ า พืน้ ฐานและจำนวนรวมของตัวชีว้ ัด 0.74 ปานกลาง 7 - 3.6 มกี ารระบผุ ลการเรยี นรใู้ นรายวิชา เพ่มิ เตมิ และจำนวนรวมของผลการ 0.43 ปานกลาง  ไม่ได้ทำรวมเป็นเลม่ เรียนรู้ เดยี วกับเล่มเอกสาร 3.7 มกี ารกำหนดสาระการเรียนรู้ 0.71 มาก หลักสตู ร ทอ้ งถน่ิ สอดแทรกอยู่ในคำอธิบาย 0.67 ปานกลาง รายวิชาพน้ื ฐานหรอื รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 1- สรปุ คำอธิบายรายวชิ า 2- 4. โครงสรา้ งรายวชิ า 2.50 0.66 ปานกลาง  - 2.30 0.67 มาก 1 - 4.1 มกี ารระบชุ ่อื หน่วยการเรยี นรแู้ ละ เวลาเรียนไว้อยา่ งถกู ต้องชัดเจน 2.40 0.71 มาก 2 - 2.70 4.2 มกี ารระบสุ าระ/มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด 0.84 ปานกลาง 4 - ท่สี อดคลอ้ งกบั หน่วยการเรยี นรูท้ จี่ ัดทำ 2.50 0.71 มาก 2 - ขึ้นทุกหนว่ ยการเรยี นรู้ 2.40 สรปุ โครงสร้างรายวชิ า 2.50 5. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 5.1 จดั กจิ กรรมทัง้ 3 กิจกรรมตามที่ กำหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 5.2 จัดเวลาทัง้ 3 กิจกรรมสอดคลอ้ งกับ โครงสร้างเวลาเรียนทหี่ ลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 5.3 มแี นวทางการจัดกจิ กรรมทช่ี ัดเจน 5.4 มแี นวทางการประเมินกจิ กรรมท่ี ชัดเจน

186 รายการตรวจสอบ ระดับคณุ ภาพ ขอ้ เสนอแนะ X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ เพ่อื การปรบั ปรงุ /แกไ้ ข  สรุปกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 2.53 0.67 มาก - 6. เกณฑก์ ารจบการศึกษา 6.1 มกี ารระบเุ วลาเรียน/หนว่ ยกติ 2.60 0.52 มาก 1 - รายวิชาพน้ื ฐานและรายวชิ าเพ่ิมเติม ตามเกณฑ์การจบหลักสูตรของโรงเรียน ไวอ้ ยา่ งชัดเจนและสอดคล้องกับ โครงสรา้ งหลักสตู รของโรงเรียน 6.2 มีการระบเุ กณฑก์ ารประเมนิ การ 2.60 0.52 มาก 1 - อา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียนไว้อยา่ ง ชดั เจน 6.3 มีการระบุเกณฑก์ ารประเมิน 2.50 0.71 มาก 3 - คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ไวอ้ ยา่ ง ชดั เจน สรปุ เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา 2.57 0.50 มาก  - สรุปภาพรวมองค์ประกอบและ 2.53 0.32 มาก - คุณภาพหลักสูตรสถานศกึ ษา จากตารางที่ 15 ผลการตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาโดย คณะกรรมการฝ่ายวชิ าการของโรงเรียนไดป้ ระเมินคุณภาพหลักสตู รสถานศึกษาตามเกณฑ์ในภาพรวม พบว่า หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและ พัฒนาการศกึ ษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) มคี ุณภาพอยใู่ นระดับมาก ( X =2.53, S.D.=0.32) เม่ือพิจารณาตามองค์ประกอบของหลักสูตร สถานศึกษาจำนวน 6 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1) สว่ นนำ 2) โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 3) คำอธิบาย รายวิชา 4) โครงสร้างรายวิชา 5) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ6) เกณฑ์การจบการศึกษา พบว่า องค์ประกอบด้านโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษามีค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพมากที่สุดโดยมีระดับ คณุ ภาพอยู่ในระดับมาก รองลงมามรี ะดับคุณภาพอยู่ในระดบั มากคือ องคป์ ระกอบด้านเกณฑ์การจบ การศึกษา และน้อยทสี่ ดุ มีระดบั คุณภาพอยใู่ นระดับปานกลางคือ องค์ประกอบด้านโครงสรา้ งรายวิชา ( X =2.76, S.D.=0.32, X =2.57, S.D.=0.50 และ X =2.40, S.D.=0.66 ตามลำดับ) เมื่อพิจารณา ประเด็นย่อยขององค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา 1) องค์ประกอบด้านส่วนนำ พบว่า ประเด็น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพมากที่สุดโดยมีระดับคุณภาพอยู่ในระดับมาก รองลงมามีระดับคุณภาพอยู่ในระดับมากคือ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และน้อยที่สุดมีระดับ คุณภาพอยู่ในระดับปานกลางคือ วิสัยทัศน์ ( X =2.63, S.D.=0.48, X =2.50, S.D.=0.71 และ X = 2.28, S.D.=0.66 ตามลำดับ) 2) องค์ประกอบด้านโครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา พบว่า ประเด็นท่ี มีค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพมากที่สุดและรองลงมาคือ โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี และโครงสร้างเวลา เรียน ตามลำดบั โดยมีคุณภาพอยใู่ นระดับมาก ( X =2.82, S.D.=0.32 และ X =2.67, S.D.=0.54) 3) องค์ประกอบด้านคำอธิบายรายวิชา พบว่า ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพมากที่สุดมี 2 ประเด็นคือ มีการระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา และชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน และมี

187 การระบชุ ัน้ ปีทสี่ อนและจำนวนเวลาเรียนและหรือหน่วยกิตไวอ้ ยา่ งถูกต้องชัดเจน โดยมีคุณภาพอยู่ใน ระดับมาก ( X =2.90, S.D.=0.32) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพน้อยที่สุดคือ มีการ กำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสอดแทรกอยู่ในคำอธิบายรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติม โดยมี คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง ( X =1.90, S.D.=0.74) 4) องค์ประกอบด้านโครงสร้างรายวิชา พบว่า ประเดน็ ท่ีมีค่าเฉล่ียของระดับคุณภาพมากท่สี ดุ คือ มีการระบุชือ่ หน่วยการเรียนรูแ้ ละเวลาเรียน ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน โดยมีคุณภาพอยู่ในระดบั มาก ( X =2.50, S.D.=0.71) รองลงมาคือ มีการระบุ สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ที่จัดทำขึ้นทุกหน่วยการเรียนรู้ โดยมี คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง ( X =2.30, S.D.=0.67) 5) องค์ประกอบด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พบว่า ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพมากที่สุดคือ จัดกิจกรรมทั้ง 3 กิจกรรมตามที่กำหนดไว้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก ( X = 2.70, S.D.=0.67) รองลงมามีค่าเฉล่ียเท่ากัน 2 ประเด็นโดยมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก คือ มีแนวทาง การประเมินกจิ กรรมที่ชดั เจน และจัดเวลาท้งั 3 กิจกรรมสอดคล้องกบั โครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( X =2.50, S.D.=0.71) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุดคือ มีแนวทางการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน โดยมีคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง ( X =2.40, S.D.=0.84) และ6) องค์ประกอบด้านเกณฑ์การจบการศึกษา พบว่า ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับ คุณภาพมากที่สุด มี 2 ประเด็น คือ มีการระบุเวลาเรียน/หน่วยกิต รายวิชาพื้นฐานและรายวิชา เพิ่มเติม ตามเกณฑ์การจบหลักสูตรของโรงเรียนไว้อย่างชัดเจนและสอดคล้องกับโครงสร้างหลักสูตร ของโรงเรียน และมีการระบุเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนไว้อย่างชัดเจน และ ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ มีการระบุเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่าง ชัดเจน โดยท้งั 3 ประเดน็ มีคณุ ภาพอย่ใู นระดบั มาก ( X =2.60, S.D.=0.52 และ X =2.50, S.D.=0.71 ตามลำดับ) คณะกรรมการฝา่ ยวิชาการของโรงเรียน เสนอความคิดเหน็ เกย่ี วกับองคป์ ระกอบและคุณภาพ หลักสูตรสถานศกึ ษาเพมิ่ เติม ดังนี้ 1. การกำหนดเป้าหมายของหลักสูตร ควรคำนึงถึงวิธีการที่จะมุ่งสู่ความเป็นไปได้ของ เป้าหมายทตี่ ้ังไว้ 2. กรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถ่นิ จุดเน้น และความต้องการของโรงเรยี น ไม่พบในหลกั สตู ร 3. วสิ ัยทศั น์ ไม่พบในเอกสารหลักสตู ร ยังไม่ชัดเจน ไม่สอดคลอ้ ง และไมม่ ีแนวทางการปฏิบัติ ที่ชัดเจน 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ไม่พบในเอกสารหลักสูตร 5. ควรรวมเอกสารหลักสูตรและเอกสารการวดั และประเมินผลใหอ้ ยใู่ นเลม่ เดียวกนั 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนมีประเด็นในการประเมินมากกว่าหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 7. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียน และแผนการจัดกิจกรรม การวัดและประเมินผล ไม่มี รายละเอยี ดในเลม่ หลกั สูตร

188 8. ส่วนประกอบในเล่มหลักสูตรสถานศึกษา ควรมีรายละเอียดที่ครบถ้วนและสอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางฯ มีกรอบหลักสูตรที่ชัดเจน ปฏิบัติได้ เพื่อให้ไปสู่จุดมุ่งหมายของหลักสูตรอย่าง แท้จรงิ 9. ในโครงสรา้ งรายวชิ าระดับประถมศึกษา ควรเพ่ิมรายวิชาภาษาตา่ งประเทศนอกเหนือจาก รายวิชาภาษาอังกฤษทมี่ อี ยใู่ นโครงสร้างแล้ว 10. การสอนกิจกรรมบูรณาการระดับประถมศึกษาตอนปลาย ควรจัดผู้เชี่ยวชาญเข้าไปให้ ความช่วยเหลอื 11. บางหัวขอ้ ในเลม่ หลักสตู รไมม่ ี ควรเพิ่มหัวข้อในเอกสารหลักสตู รที่ใช้ในการตรวจสอบให้ ครบถว้ น 12. The previous EP curriculum needs to be revised to meet the demands of an EP program. We need to focus on languages mathematics and sciences including social studies arts and other 2 language hance the new IEP (Intensive English Program) curriculum is developed the committee and will be implemented in the next school year B.E.2020. โดยสรุปจากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนเห็นว่า ในการกำหนด เป้าหมายของหลักสูตรควรคำนึงถึงวธิ กี ารที่จะนำไปสู่การบรรลุเปา้ หมายท่ีหลกั สูตรกำหนดไว้ ในเล่ม เอกสารหลักสูตรสถานศึกษา ควรมีรายละเอียดที่ครบถ้วนและสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีกรอบหลักสูตรที่ชัดเจน ปฏิบัติได้ ซึ่งพบว่า มีส่วนที่ขาด หายไปหลายองค์ประกอบ เช่น วิสัยทัศน์ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น ความต้องการของ โรงเรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียน แผนการจัดกิจกรรม การวัด และประเมินผล โดยควรนำเนื้อหาตามองค์ประกอบของหลักสูตรมาเรียบเรียงรวมในเล่มเดียวกันให้ สมบูรณ์ ในระดับประถมศึกษาควรเพิ่มรายวิชาภาษาต่างประเทศและควรมีผู้เชี่ยวชาญมาช่วยเหลือ การจัดกิจกรรมบูรณาการ และสำหรับหลักสูตร English Program ควรมีการทบทวนปรับแก้ไขให้ ตรงตามความตอ้ งการหรอื จดุ เนน้ ของหลกั สตู รก่อนท่ีจะมีการพฒั นาหลกั สตู รต่อไป นอกจากนี้ ในการประเมินหลักสูตรด้านบรบิ ท (C : Context) ครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สอบถามความ คิดเห็นของอาจารย์เกี่ยวกับความเหมาะสมของรายวิชาในหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มผี ลการวิเคราะห์ความ เหมาะสมของรายวิชา ซึ่งประกอบด้วย รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program มีรายละเอียดและผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 16-19

189 ตารางที่ 16 ผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของรายวิชาในหลกั สูตรโรงเรียนสาธิต การศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ป กลุม่ สาระ รายวิชา ระดับประถมศกึ ษา ระดบั ม การเรยี นรู้ 1. ภาษาไทย พนื้ ฐาน X S.D. ความ ลำดับ X S เพิ่มเตมิ (ตามจดุ เน้น) 2. คณิตศาสตร์ หมาย ท่ี 3. วิทยาศาสตร์ 4.67 0.50 มาก 1 4.68 0 และเทคโนโลยี ที่สดุ -- - -- เพิ่มเตมิ (ตามความสนใจ) - - - - 4.63 0 รวมทุกรายวิชาในกลมุ่ สาระ 4.67 0.50 มาก  4.66 0 ที่สุด พื้นฐาน 4.38 0.65 มาก 1 4.46 0 เพิ่มเตมิ (ตามจดุ เนน้ ) - - - - 4.56 0 เพ่ิมเตมิ (ตามความสนใจ) - - - - 4.51 0 รวมทกุ รายวิชาในกลมุ่ สาระ 4.38 0.65 มาก  4.51 0 พ้ืนฐาน 4.56 0.62 มาก 2 4.61 0 เพ่ิมเตมิ (ตามจดุ เนน้ ) 4.64 0.54 ทสี่ ดุ 1 4.76 0 เพมิ่ เตมิ (ตามความสนใจ) -- มาก 4.63 0 ที่สดุ -

ตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา ปรุง พ.ศ.2560) หลกั สูตรปกติ ระดบั ความเหมาะสม มธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวมรายวิชาทุกระดบั S.D. ความ ลำดบั X S.D. ความ ลำดบั X S.D. ความ ลำดับ หมาย ท่ี หมาย ที่ หมาย ที่ 0.53 มาก 1 4.72 0.45 มาก 1 4.70 0.48 มาก 2 ทีส่ ุด ทส่ี ุด ทีส่ ุด -- 4.71 0.47 มาก 2 4.71 0.47 มาก 1 ทส่ี ุด ท่ีสดุ 0.59 มาก 2 4.67 0.48 มาก 3 4.65 0.54 มาก 3 ทีส่ ดุ ที่สดุ ทส่ี ดุ 0.54 มาก  4.70 0.43 มาก  4.68 0.46 มาก  ที่สุด ทสี่ ดุ ทส่ี ดุ 0.64 มาก 3 4.52 0.59 มาก 1 4.47 0.60 มาก 3 ทส่ี ุด 0.58 มาก 1 4.43 0.54 มาก 3 4.49 0.53 มาก 2 ที่สดุ 0.50 มาก 2 4.50 0.50 มาก 2 4.50 0.50 มาก 1 ทส่ี ุด ที่สุด ที่สุด 0.54 มาก  4.49 0.51 มาก  4.49 0.52 มาก  ทส่ี ุด 0.50 มาก 3 4.57 0.51 มาก 3 4.58 0.52 มาก 3 ทส่ี ดุ ท่ีสดุ ที่สดุ 0.48 มาก 1 4.66 0.44 มาก 2 4.66 0.44 มาก 2 ท่สี ุด ท่สี ดุ ที่สดุ 0.44 มาก 2 4.72 0.45 มาก 1 4.68 0.43 มาก 1 ทส่ี ุด ที่สดุ ท่ีสุด

190 กลุม่ สาระ รายวิชา ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับม การเรียนรู้ รวมทกุ รายวิชาในกลมุ่ สาระ X S.D. ความ ลำดับ X S 4. สังคมศึกษา พ้นื ฐาน ศาสนา และ หมาย ที่ วฒั นธรรม เพม่ิ เตมิ (ตามจดุ เนน้ ) เพิ่มเตมิ (ตามความสนใจ) 4.66 0.52 มาก  4.67 0 5. สุขศึกษาและ รวมทุกรายวชิ าในกลมุ่ สาระ พลศกึ ษา พ้นื ฐาน ท่สี ดุ 4.69 0.46 มาก 1 4.66 0 ทส่ี ดุ -- - -- - - - - 4.30 0 4.69 0.46 มาก  4.43 0 ทสี่ ุด 4.45 0.86 มาก 1 4.57 0 เพม่ิ เตมิ (ตามจดุ เนน้ ) -- - -- เพม่ิ เตมิ (ตามความสนใจ) - - - - 4.49 0 รวมทุกรายวชิ าในกลมุ่ สาระ 4.45 0.86 มาก  4.50 0 6. ศลิ ปะ พ้นื ฐาน 4.57 0.59 มาก 1 4.57 0 ทส่ี ดุ เพิ่มเตมิ (ตามจดุ เนน้ ) -- - -- เพิ่มเตมิ (ตามความสนใจ) -- - 4.50 0 - รวมทุกรายวิชาในกลมุ่ สาระ 4.57 0.59 มาก  4.51 0 ทสี่ ุด 7. การงานอาชีพ พน้ื ฐาน 4.64 0.49 มาก 1 4.62 0 ทสี่ ดุ

ระดับความเหมาะสม มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวมรายวชิ าทุกระดบั S.D. ความ ลำดับ X S.D. ความ ลำดบั X S.D. ความ ลำดับ หมาย ที่ หมาย ที่ หมาย ที่ 0.40 มาก  4.69 0.43 มาก  4.68 0.43 มาก  ที่สดุ ที่สดุ ทส่ี ุด 0.56 มาก 1 4.51 0.58 มาก 1 4.62 0.47 มาก 1 ที่สุด ทสี่ ดุ ที่สุด - - - 4.29 0.57 มาก 2 4.29 0.57 มาก 2 0.65 มาก 2 4.28 0.76 มาก 3 4.29 0.68 มาก 3 0.57 มาก  4.36 0.61 มาก  4.44 0.53 มาก  0.59 มาก 1 4.65 0.45 มาก 1 4.57 0.49 มาก 1 ทส่ี ดุ ที่สุด ทส่ี ดุ - - --- - --- - - 0.57 มาก 2 4.51 0.48 มาก 2 4.49 0.47 มาก 2 ทส่ี ดุ 0.50 มาก  4.53 0.46 มาก  4.51 0.43 มาก  ที่สุด ที่สดุ ที่สุด 0.59 มาก 1 4.43 0.79 มาก 2 4.50 0.62 มาก 1 ทส่ี ุด ท่สี ดุ - - --- - --- - - 0.58 มาก 2 4.43 0.58 มาก 1 4.46 0.56 มาก 2 ท่สี ดุ 0.57 มาก  4.43 0.57 มาก  4.47 0.56 มาก  ทส่ี ุด 0.58 มาก 1 4.58 0.66 มาก 1 4.61 0.53 มาก 1 ท่สี ดุ ที่สุด ที่สดุ

191 กลมุ่ สาระ รายวิชา ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั ม การเรียนรู้ เพิม่ เตมิ (ตามจดุ เนน้ ) X S.D. ความ ลำดับ X S เพิ่มเตมิ (ตามความสนใจ) หมาย ที่ -- - -- - - - - 4.50 0 รวมทุกรายวิชาในกลมุ่ สาระ 4.64 0.49 มาก  4.52 0 ทส่ี ุด 8. ภาษาตา่ งประเทศ พน้ื ฐาน 4.25 0.87 มาก 1 4.27 0 เพ่มิ เตมิ (ตามจดุ เน้น) 4.19 0.88 มาก 2 4.15 0 เพิ่มเตมิ (ตามความสนใจ) - - - - 4.35 0 รวมทกุ รายวชิ าในกลมุ่ สาระ 4.22 0.81 มาก  4.33 0 สรุปรายวชิ าของ พน้ื ฐาน 4.49 0.70 มาก  4.52 0 หลักสูตรใน ภาพรวม เพม่ิ เตมิ (ตามจดุ เน้น) 4.38 0.78 มาก  4.40 0 เพิ่มเตมิ (ตามความสนใจ) - - - - 4.53 0 รวมรายวชิ าในทกุ กลมุ่ สาระ 4.53 0.65 มาก 4.56 0 ที่สุด

ระดบั ความเหมาะสม มธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวมรายวชิ าทกุ ระดบั S.D. ความ ลำดบั X S.D. ความ ลำดับ X S.D. ความ ลำดบั หมาย ที่ หมาย ที่ หมาย ท่ี - - --- - - -- - - 0.56 มาก 2 4.54 0.55 มาก 2 4.52 0.55 มาก 2 ทส่ี ุด ท่ีสุด ทสี่ ดุ 0.54 มาก  4.54 0.54 มาก  4.54 0.53 มาก  ทีส่ ดุ ที่สดุ ที่สดุ 0.87 มาก 2 4.04 0.87 มาก 3 4.19 0.83 มาก 3 0.92 มาก 3 4.38 0.51 มาก 1 4.30 0.62 มาก 2 0.50 มาก 1 4.31 0.56 มาก 2 4.33 0.52 มาก 1 0.48 มาก  4.30 0.47 มาก  4.31 0.48 มาก  0.69 มาก  4.43 0.72 มาก  4.49 0.65 มาก  ท่สี ดุ 0.79 มาก  4.51 0.53 มาก  4.48 0.58 มาก  ที่สุด 0.52 มาก  4.54 0.56 มาก  4.54 0.52 มาก  ทส่ี ุด ท่สี ุด ท่ีสดุ 4.55 0.48 มาก 0.48 มาก 4.53 0.50 มาก ทส่ี ุด ท่สี ดุ ทส่ี ุด

192 จากตารางที่ 16 หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) สำหรับหลักสูตรปกติ มีผลการประเมินความเหมาะสมของรายวิชา ตามความคิดเห็นของอาจารย์ ทั้งในภาพรวม และจำแนกเป็นรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม (ตาม จดุ เนน้ ) และรายวชิ าเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) ดังนี้ ผลการประเมินความเหมาะสมของรายวชิ าในภาพรวม พบวา่ มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( X =4.55, S.D.=0.48) เมื่อจำแนกเป็นรายวิชาพบว่า รายวิชาเพิม่ เติม (ตามความสนใจ) มี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.54, S.D.=0.52) รองลงมาพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมากคือ รายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) ( X =4.49, S.D.=0.65 และ X =4.48, S.D.=0.58 ตามลำดับ) และเมื่อพิจารณารวมทุกรายวิชาทั้ง 3 ระดับคือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยจำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า รวมทุกรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรูท้ ี่มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดคือ กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองลงมาคือกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ( X =4.68, S.D.=0.43 และ X =4.68, S.D.=0.46 ตามลำดับ) และน้อยที่สุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( X =4.31, S.D.=0.48) เมื่อพจิ ารณารายวชิ าตามระดบั การศึกษาเป็น 3 ระดบั พบว่า ระดบั ประถมศึกษา รายวิชา ของหลักสตู รในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด ( X =4.53, S.D.=0.65) โดยมีกลุ่มวิชา พื้นฐานและเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( X =4.49, S.D.=0.70 และ X =4.38, S.D.=0.78 ตามลำดับ) และเมื่อพิจารณารายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ในระดับ ประถมศึกษา พบว่าทุกรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดคือ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รองลงมาคอื กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ( X =4.69, S.D.=0.46 และ X =4.67, S.D.=0.50 ตามลำดับ) และน้อยที่สุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( X =4.22, S.D.=0.81) เมื่อพิจารณารายวิชาใน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า รายวิชาของหลักสูตรในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ที่สุด ( X =4.56, S.D.=0.48) โดยมีกลุ่มวิชาเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) และกลุ่มวิชาพื้นฐาน มีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.53, S.D.=0.52 และ X =4.52, S.D.=0.69 ตามลำดับ) ส่วน กลุ่มวิชาเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( X =4.40, S.D.=0.79) และเม่ือ พิจารณารายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า ทุกรายวิชาของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รองลงมาคือกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ( X =4.67, S.D.=0.40 และ X =4.66, S.D.=0.54 ตามลำดับ) และน้อยที่สุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก ( X =4.33, S.D.=0.48) และเมอ่ื พิจารณารายวชิ าในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พบวา่ รายวิชาของหลักสูตรในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด ( X =4.53, S.D.=0.50) โดยมี กลุ่มวิชาเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) และกลุ่มวิชาเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มากทีส่ ดุ ( X =4.54, S.D.=0.56 และ X =4.51, S.D.=0.53 ตามลำดับ) สว่ นกลุ่มวิชาพืน้ ฐาน มีความ เหมาะสมอยู่ในระดบั มาก ( X =4.43, S.D.=0.72) และเมื่อพิจารณารายวิชาตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้

193 ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า ทุกรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมากที่สุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รองลงมาคือกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ( X =4.70, S.D.=0.43 และ X =4.69, S.D.=0.43 ตามลำดบั ) และนอ้ ยที่สดุ คือ กลมุ่ สาระ การเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศมีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก ( X =4.30, S.D.=0.47) ตารางที่ 17 ผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของรายวิชาในหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับความเหมาะสม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รายวชิ า X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 1. ภาษาไทย พืน้ ฐาน 4.86 0.38 มากทส่ี ุด 1 เพม่ิ เติม (ตามจดุ เน้น) -- - - เพิ่มเติม (ตามความสนใจ) 4.75 0.43 มากที่สุด 2 รวมทุกรายวิชาในกลุ่มสาระ 4.79 0.39 มากที่สุด  2. คณติ ศาสตร์ พนื้ ฐาน 4.80 0.45 มากทีส่ ดุ 2 เพิ่มเติม (ตามจดุ เนน้ ) 4.83 0.41 มากทส่ี ดุ 1 เพมิ่ เติม (ตามความสนใจ) 4.67 0.52 มากที่สุด 3 รวมทุกรายวิชาในกลมุ่ สาระ 4.78 0.40 มากทส่ี ดุ  3. วิทยาศาสตร์และ พน้ื ฐาน 4.75 0.50 มากทส่ี ดุ 3 เทคโนโลยี เพ่ิมเติม (ตามจดุ เน้น) 4.83 0.41 มากท่ีสดุ 1 เพม่ิ เติม (ตามความสนใจ) 4.78 0.40 มากที่สุด 2 รวมทุกรายวิชาในกลุ่มสาระ 4.80 0.40 มากที่สดุ  4. สงั คมศกึ ษา พื้นฐาน 4.88 0.35 มากทส่ี ุด 1 ศาสนา และ เพิ่มเติม (ตามจดุ เนน้ ) -- - - วัฒนธรรม เพม่ิ เติม (ตามความสนใจ) 4.42 0.72 มาก 2 รวมทุกรายวิชาในกลุ่มสาระ 4.59 0.50 มากท่สี ุด  5. สุขศึกษาและ พื้นฐาน 4.71 0.49 มากทส่ี ุด 1 พลศกึ ษา เพิม่ เติม (ตามจุดเนน้ ) -- - - เพม่ิ เติม (ตามความสนใจ) 4.38 0.75 มาก 2 รวมทุกรายวิชาในกลุ่มสาระ 4.44 0.62 มาก  6. ศลิ ปะ พื้นฐาน 4.50 0.53 มากทส่ี ดุ 2 เพม่ิ เติม (ตามจุดเนน้ ) -- - - เพม่ิ เติม (ตามความสนใจ) 4.56 0.50 มากที่สดุ 1

194 ระดับความเหมาะสม กล่มุ สาระการเรยี นรู้ รายวิชา X S.D. ความหมาย ลำดับ ท่ี รวมทุกรายวิชาในกลุ่มสาระ 4.55 0.48 มากทส่ี ดุ  7. การงานอาชีพ พนื้ ฐาน 4.50 0.55 มากที่สุด 2 เพม่ิ เติม (ตามจดุ เน้น) -- - - เพม่ิ เติม (ตามความสนใจ) 4.62 0.49 มากทส่ี ุด 1 รวมทุกรายวิชาในกล่มุ สาระ 4.60 0.47 มากที่สุด  8. ภาษาต่างประเทศ พื้นฐาน 4.80 0.45 มากท่สี ดุ 1 เพิม่ เติม (ตามจุดเนน้ ) 4.60 0.55 มากท่ีสุด 2 เพิ่มเติม (ตามความสนใจ) 4.54 0.51 มากทส่ี ุด 3 รวมทุกรายวิชาในกลุ่มสาระ 4.57 0.45 มากท่สี ดุ  สรปุ รายวิชาของ พืน้ ฐาน 4.79 0.40 มากทสี่ ุด  หลกั สตู รใน เพม่ิ เติม (ตามจุดเนน้ ) 4.81 0.38 มากที่สดุ  ภาพรวม เพิ่มเติม (ตามความสนใจ) 4.65 0.55 มากท่ีสุด  รวมทุกรายวิชาในกลมุ่ สาระ 4.71 0.42 มากที่สดุ จากตารางที่ 17 หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) สำหรบั หลกั สตู ร English Program ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มีผล การประเมินความเหมาะสมของรายวิชาตามความคิดเห็นของอาจารย์ท้ังในภาพรวม และจำแนกเป็น รายวชิ าพ้นื ฐาน รายวชิ าเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) และรายวชิ าเพ่มิ เตมิ (ตามความสนใจ) ดงั น้ี ผลการประเมินความเหมาะสมของรายวิชาในภาพรวม พบว่า ทุกรายวิชาของหลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.71, S.D.=0.42) และเมื่อ จำแนกเป็นรายวิชาพบว่า รายวิชาเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) รายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม (ตาม ความสนใจ) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.81, S.D.=0.38, X =4.79, S.D.=0.40 และ X =4.65, S.D.=0.55 ตามลำดับ) เมื่อพิจารณารายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า ทุกรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ที่สุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองลงมาคือกลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ( X =4.80, S.D.=0.40 และ X =4.79, S.D.=0.39 ตามลำดับ) และน้อยที่สุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( X =4.44, S.D.=0.62)

195 ตารางที่ 18 ผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรโรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) หลักสตู รปกติ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นในหลักสูตร ระดบั ความเหมาะสม (จำนวนเวลาเรียน) X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี 1. กิจกรรมแนะแนว 1.1 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 (1 คาบ/สปั ดาห)์ 4.49 0.79 มาก 1 1.2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3 (1 คาบ/สปั ดาห์) 4.48 0.78 มาก 2 1.3 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 (1 คาบ/สัปดาห์) 4.44 0.83 มาก 3 สรปุ กจิ กรรมแนะแนว 4.48 0.79 มาก  2. กิจกรรมลูกเสือ 2.1 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-6 (1 คาบ/สปั ดาห)์ 4.57 0.75 มากทส่ี ุด 1 2.2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3 (1 คาบ/สัปดาห)์ 4.56 0.75 มากท่ีสดุ 2 สรปุ กจิ กรรมลูกเสือ 4.57 0.75 มากท่สี ุด  3. กิจกรรมชมรม 3.1 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1- ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 4.53 0.69 มากท่สี ุด 1 (2 คาบ/สัปดาห)์ 3.2 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 - ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 4.33 0.89 มาก 2 (3 คาบ/สปั ดาห์) สรปุ กิจกรรมชมรม 4.43 0.68 มาก  4. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ 4.1 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6 1) กจิ กรรมโรงเรียนนา่ อยู่ (ภายใน) 4.55 0.66 มากทส่ี ดุ 2 2) กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 4.47 0.80 มาก 4 (นอกเวลา) 4.2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 3) กจิ กรรมรกั โรงเรยี น (ภายใน) 4.56 0.67 มากทส่ี ุด 1 4) กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 4.45 0.80 มาก 5 (นอกเวลา) 4.3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4-6 5) กิจกรรมจติ อาสา 4.52 0.72 มากท่ีสดุ 3 สรุปกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ 4.51 0.67 มากทสี่ ดุ  สรปุ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น 4.50 0.64 มากทสี่ ดุ ของหลักสตู รในภาพรวม

196 จากตารางที่ 18 ผลการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตร โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร ปกติ ซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมชมรม และ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ พบว่า ในภาพรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.50, S.D.=0.64) เมื่อพิจารณาความเหมาะสมของแต่ละกิจกรรม พบว่า กิจกรรมที่มีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดมี 2 กิจกรรมคือ กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ( X =4.57, S.D.=0.75 และ X =4.51, S.D.=0.67 ตามลำดับ) ส่วนกิจกรรมที่มี ความเหมาะสมอยใู่ นระดบั มากคือ กจิ กรรมแนะแนว และกจิ กรรมชมรม ( X =4.48, S.D.=0.79 และ X =4.43, S.D.=0.68 ตามลำดบั ) ซึง่ พบว่า กิจกรรมแนะแนวชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-6 มคี า่ เฉล่ียของ ระดับความเหมาะสมมากที่สดุ รองลงมาคือ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 และนอ้ ยทส่ี ดุ คือ ช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 4-6 ( X =4.49, S.D.=0.79, X =4.48, S.D.=0.78 และ X =4.44, S.D.=0.83 ตามลำดับ) กจิ กรรมลกู เสอื พบว่าระดบั ช้นั ที่มคี ่าเฉลีย่ ของระดับความเหมาะสมมากที่สุดคือ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6 รองลงมาคือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ( X =4.57, S.D.=0.75 และ X =4.56, S.D.=0.75 ตามลำดับ) กิจกรรมชมรม พบว่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยของระดับ ความเหมาะสมมากที่สุด รองลงมาคือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ( X =4.53, S.D.=0.69 และ X =4.33, S.D.=0.89 ตามลำดับ) และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ พบว่า กิจกรรมที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความเหมาะสมมากที่สุดคือ กิจกรรมรักโรงเรียน รองลงมาคือ กิจกรรมโรงเรียนน่าอยู่ และน้อยที่สุดคือ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ( X =4.56, S.D.=0.67, X =4.55, S.D.=0.66 และ X =4.45, S.D.=0.80 ตามลำดบั ) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม อาจารย์ผู้สอนหลักสูตรปกติได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความ เหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นดังน้ี 1. กิจกรรมแนะแนวทุกระดับชั้นควรมีคู่มือกิจกรรมการเรียนการสอนและการ ประเมนิ ผลนกั เรียน และเน้นแนวโนม้ การเลอื กอาชพี ในอนาคตที่มีความเปน็ ไปไดข้ องนักเรยี น 2. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ควรปรับเปลี่ยนวิธีการประเมินผลให้ สะท้อนถึงการปฏิบัติจริงมากกวา่ การถา่ ยภาพมาส่งอาจารย์เพียงอยา่ งเดียว 3. กจิ กรรมจิตอาสา ควรปรบั วธิ ีการประเมินและปลกู ฝงั จิตใตส้ ำนกึ ใหน้ กั เรียน ตารางที่ 19 ผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรโรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนในหลักสูตร ระดบั ความเหมาะสม (จำนวนเวลาเรียน) X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี 1. กจิ กรรมแนะแนว (1 คาบ/สัปดาห์) 4.67 0.59 มากทสี่ ุด  2. กจิ กรรมลกู เสอื (1 คาบ/สัปดาห์) 4.78 0.43 มากทีส่ ดุ 

197 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นในหลักสตู ร ระดับความเหมาะสม (จำนวนเวลาเรยี น) X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 3. กิจกรรมชมรม (2 คาบ/สปั ดาห์) 4.67 0.59 มากทส่ี ุด  4. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 4.1 กจิ กรรมรักโรงเรียน (ภายใน) 4.67 0.59 มากท่สี ดุ 1 4.2 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 4.67 0.59 มากทส่ี ุด 1 (นอกเวลา) สรุปกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 4.67 0.59 มากท่ีสุด  สรุปกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นของหลกั สตู ร 4.69 0.48 มากทีส่ ุด ในภาพรวม จากตารางที่ 19 ผลการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตร โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ซ่ึงประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมชมรม และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ พบว่า ในภาพรวม มี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.69, S.D.=0.48) เมื่อพิจารณาความเหมาะสมของแต่ละ กิจกรรม พบว่า ทุกกิจกรรมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความ เหมาะสมมากท่ีสุดคือ กิจกรรมลูกเสือ ( X =4.78, S.D.=0.43) รองลงมามีค่าเฉลี่ยเท่ากัน 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชมรม และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ( X =4.67, S.D.=0.59) อย่างไรก็ตาม เพื่อให้มองเห็นภาพความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนที่มีต่อ หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ได้ชัดเจนมากขึ้น ผู้วิจัยจึงนำเสนอผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นทั้งในภาพรวมของหลักสูตรและ องค์ประกอบของการประเมินรายด้าน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ ตามแนวทางการประเมิน CIPPI Model ประกอบด้วยความคิดเห็น ของนักเรียน อาจารยผ์ สู้ อน และภาพรวมความคิดเห็นที่มตี ่อหลักสตู รของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอน โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลกั สตู ร English Program ดงั ตารางท่ี 20-21 และนำเสนอกราฟ ดังแผนภาพท่ี 6-7 ตามลำดบั

198 ตารางที่ 20 ความคดิ เหน็ ของนักเรียนและอาจารย์ผูส้ อนท่ีมตี ่อหลกั สูตรโรงเรยี นสาธ การศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ป องคป์ ระกอบ ระดบั ความคดิ เหน็ ของนักเรียน ร ของการประเมนิ หลักสตู ร N = 445 คน 1. ด้านบริบท (C : Context) X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี 3.27 0.63 ปานกลาง 4 4 2. ด้านปัจจยั นำเขา้ (I : Input) 3.39 0.72 ปานกลาง 2 3 3. ด้านกระบวนการ (P : Process) 3.23 0.67 ปานกลาง 5 4 4. ดา้ นผลผลติ (P : Product) 3.36 0.74 ปานกลาง 3 4 5. ดา้ นผลกระทบ (I : Impact) 3.52 0.73 มาก 1 3 สรุปภาพรวม 5 ด้าน 3.33 0.61 ปานกลาง 4 จากตารางท่ี 20 พบว่า ผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาว ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ หลักสูตรปกติ มีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.45 ของการประเมินหลกั สูตรเปน็ รายด้านพบวา่ มีความคดิ เห็นอยูใ่ นระดับมาก ในด้านผล ด้าน โดยเรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านผล S.D.=0.76, X =3.42, S.D.=0.70, X =3.39, S.D.=0.73 ตามลำดับ)

ธติ แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนา ปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวม และจำแนกเปน็ รายดา้ น ของหลักสูตรปกติ ระดบั ความคดิ เหน็ ของอาจารยผ์ ้สู อน สรุประดับความคิดเห็น N = 89 คน ของนักเรยี นและอาจารยผ์ สู้ อน N = 534 คน X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี 4.16 0.51 มาก 1 3.42 0.70 ปานกลาง 4 3.99 0.62 มาก 4 3.49 0.74 ปานกลาง 2 4.12 0.50 มาก 2 3.39 0.73 ปานกลาง 5 4.05 0.53 มาก 3 3.48 0.76 ปานกลาง 3 3.98 0.64 มาก 5 3.60 0.74 มาก 1 4.09 0.48 มาก 3.45 0.65 ปานกลาง วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ศ.2560) ในภาพรวม ตามความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนของ 5, S.D.=0.65) และมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรเมื่อจำแนกตามองค์ประกอบ ลกระทบ (X =3.60, S.D.=0.74) และมคี วามคดิ เหน็ อยใู่ นระดับปานกลาง 4 ลผลิต ด้านบริบท และด้านกระบวนการ ( X =3.49, S.D.=0.74, X =3.48,

199 เมื่อพิจารณาความคิดเห็นเฉพาะของนักเรียน พบว่า มีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.33, S.D.=0.61) และเมื่อจำแนกตามองค์ประกอบของการประเมิน หลักสูตรเปน็ รายดา้ นพบวา่ นกั เรียนของหลกั สตู รปกติมีความคดิ เหน็ ต่อหลกั สูตรดา้ นผลกระทบอยู่ใน ระดับมาก ( X =3.52, S.D.=0.73) และมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง 4 ด้าน โดยเรียงลำดับ จากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านผลผลิต ด้านบริบท และด้านกระบวนการ ( X =3.3 9 , S.D.=0.7 2 , X =3.3 6 , S.D.=0.7 4 , X =3.2 7 , S.D.=0.6 3 , X =3.2 3 , S.D.=0.6 7 ตามลำดับ) ส่วนความคิดเห็นเฉพาะของอาจารย์ผู้สอน พบว่า มีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( X =4.09, S.D.=0.48) และเมื่อจำแนกตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตร เป็นรายด้านพบว่า อาจารย์ผู้สอนของหลักสูตรปกติมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรอยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยเรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้านบริบท ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต ด้านปัจจัยนำเข้า และด้านผลกระทบ ( X =4.16, S.D.=0.51, X =4.12, S.D.=0.50, X =4.05, S.D.=0.53, X =3.99, S.D.=0.62, X =3.98, S.D.=0.64 ตามลำดับ) โดยสรุปพบว่า นักเรียนและอาจารย์ผู้สอนของหลักสูตรปกติมีความคิดเห็นต่อหลักสูตร โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ใน ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความคิดเห็นที่ไม่สอดคล้องกัน คือนักเรียนมีความคิดเห็นต่อ หลักสูตรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนอาจารย์ผู้สอนเห็นว่าอยู่ในระดับมาก สำหรับความ คิดเห็นตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านโดยการจัดลำดับความคิดเห็นแล้ว พบว่า มีลำดับของความคิดเห็นท่ีสอดคล้องกันเพียง 1 ด้านเท่านั้น คือ ด้านผลผลิต อยู่ในลำดับที่ 3 และโดยสรุปพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นในดา้ นผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการเป็น ลำดบั ที่ 5 ส่วนอาจารย์ผูส้ อนมคี วามคิดเห็นในดา้ นบรบิ ทเป็นลำดับท่ี 1 และด้านผลกระทบเป็นลำดับ ที่ 5 จากผลการประเมินหลักสูตรในภาพรวมและองค์ประกอบของการประเมินเป็นรายด้าน 5 ด้านของนกั เรยี นและอาจารยผ์ สู้ อนในหลักสูตรปกติ ผู้วจิ ัยนำเสนอเปน็ กราฟได้ดังแผนภาพท่ี 6

200 แผนภาพท่ี 6 ความคดิ เห็นของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนของหลักสตู รปกติที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตาม หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560)

201 ตารางที่ 21 ความคิดเห็นของนกั เรยี นและอาจารย์ผูส้ อนที่มตี ่อหลกั สูตรโรงเรียนสาธ การศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ป Program องคป์ ระกอบ ระดับความคิดเหน็ ของนักเรียน ร ของการประเมนิ หลกั สตู ร N = 27 คน 1. ดา้ นบรบิ ท (C : Context) X S.D. ความหมาย ลำดับท่ี 3.52 0.54 มาก 3 4 2. ด้านปจั จยั นำเขา้ (I : Input) 3.59 0.63 มาก 2 4 3. ด้านกระบวนการ (P : Process) 3.30 0.85 ปานกลาง 5 4 4. ด้านผลผลิต (P : Product) 3.48 0.70 ปานกลาง 4 4 5. ดา้ นผลกระทบ (I : Impact) 3.75 0.69 มาก 1 4 สรุปภาพรวม 5 ด้าน 3.52 0.59 มาก 4 จากตารางท่ี 21 พบว่า ผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห การศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปร ผสู้ อนของหลกั สูตร English Program มคี วามคดิ เห็นตอ่ หลักสตู รในภาพรวมอย่ใู นร ตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านพบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระ ผลกระทบ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านผลผลิต และด้านกระบวนการ ( X = S.D.=0.69, X =3.77, S.D.=0.84 ตามลำดับ)

ธิตแหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพัฒนา ปรงุ พ.ศ.2560) ในภาพรวม และจำแนกเปน็ รายด้าน ของหลกั สตู ร English ระดับความคิดเห็นของอาจารยผ์ ้สู อน สรุประดบั ความคดิ เห็น N = 22 คน ของนักเรียนและอาจารยผ์ สู้ อน N = 49 คน X S.D. ความหมาย ลำดับที่ X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 4.20 0.48 มาก 3 3.83 0.61 มาก 2 4.06 0.52 มาก 5 3.81 0.62 มาก 3 4.24 0.51 มาก 1 3.77 0.84 มาก 5 4.11 0.52 มาก 4 3.79 0.69 มาก 4 4.21 0.67 มาก 2 3.96 0.71 มาก 1 4.17 0.43 มาก 3.81 0.61 มาก ห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา รับปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวม ตามความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ ระดับมาก (X =3.81, S.D.=0.61) และมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรเมื่อจำแนก ะดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยเรียงลำดับจากด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้าน =3.96, S.D.=0.71, X =3.83, S.D.=0.61, X =3.81, S.D.=0.62, X =3.79,

202 เมื่อพิจารณาความคิดเห็นเฉพาะของนักเรียนหลักสูตร English Program พบว่า มีความ คิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X =3.52, S.D.=0.59) และเมื่อจำแนกตาม องค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรอยู่ใน ระดับมาก 3 ดา้ น โดยเรยี งลำดบั จากด้านท่ีมคี า่ เฉล่ียมากไปนอ้ ย คอื ดา้ นผลกระทบ ด้านปัจจยั นำเขา้ และดา้ นบรบิ ท ( X =3.75, S.D.=0.69, X =3.59, S.D.=0.63, X =3.52, S.D.=0.54 ตามลำดบั ) และ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้าน ผลผลิต และดา้ นกระบวนการ (X =3.48, S.D.=0.70, X =3.30, S.D.=0.85 ตามลำดับ) ส่วนความคดิ เห็นเฉพาะของอาจารย์ผู้สอนหลักสูตร English Program พบว่า มีความคิดเห็นต่อหลักสูตรทั้งใน ภาพรวม ( X =4.17, S.D.=0.43) และจำแนกตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสตู รเป็นรายด้าน 5 ด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้านกระบวนการ ด้าน ผลกระทบ ด้านบริบท ด้านผลผลิต และด้านปัจจัยนำเข้า ( X =4.24, S.D.=0.51, X =4.21, S.D.=0.67, X =4.20, S.D.=0.48, X =4.11, S.D.=0.52, X =4.06, S.D.=0.52 ตามลำดบั ) โดยสรุปพบว่า นักเรียนและอาจารย์ผู้สอนของหลักสูตร English Program มีความคิดเห็น ต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศกึ ษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และนักเรียนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ในระดับมากซ่ึง สอดคล้องกันกับความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอน สำหรับความคิดเห็นตามองค์ประกอบของการ ประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านโดยการจัดลำดับความคิดเห็นทั้งของนักเรียนและของอาจารย์ผู้สอน แลว้ พบวา่ มลี ำดับของความคดิ เห็นท่สี อดคล้องกนั 2 ด้าน คือ ดา้ นบริบทอยู่ตรงกันในลำดับที่ 3 และ ด้านผลผลิตอยู่ตรงกันในลำดับที่ 4 และโดยสรุปพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นในด้านผลกระทบเป็น ลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการเปน็ ลำดับที่ 5 ส่วนอาจารย์ผู้สอนมีความคดิ เห็นในด้านกระบวนการ เป็นลำดับที่ 1 และด้านปัจจัยนำเข้าเปน็ ลำดบั ท่ี 5 ซ่งึ ไมส่ อดคลอ้ งกัน จากผลการประเมินหลักสูตรในภาพรวมและองค์ประกอบของการประเมินเป็นรายด้าน 5 ด้านของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร English Program ผู้วิจัยนำเสนอเป็นกราฟได้ดัง แผนภาพที่ 7

203 แผนภาพที่ 7 ความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนของหลักสูตร English Program ที่มีต่อ หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ผลสรุปตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ หลักสตู รโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวมและเป็นรายด้าน 5 ดา้ น คือ ดา้ นบริบท ด้านปัจจัยนำเขา้ ดา้ นกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program มีข้อค้นพบโดยสรุปคือ ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน หลักสูตรปกติ ที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษา มีผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ รายด้าน 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ พบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรอยู่ในระดับมากเพียงด้านเดียวคือ ด้านผลกระทบ อีก 4 ดา้ นอยูใ่ นระดบั ปานกลาง และมขี อ้ เสนอแนะเพิ่มเติมในด้านบริบท คอื ควรเพม่ิ การจัดกิจกรรมเสริม หลักสูตรให้มากขึ้นเพื่อเน้นความกล้าแสดงออกของนักเรียน ด้านปัจจัยนำเข้า คือ อาจารย์บางท่าน ควรสอนให้เข้าใจและสอนให้เตม็ เวลา ด้านกระบวนการ คอื การเรียนการสอนควรให้นักเรียนสามารถ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันและทำอะไรได้จริง ด้านผลผลิต คือ นักเรียนส่วนใหญ่ของโรงเรียนมีผลการ เรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านผลกระทบ นักเรียนกล้าพูดในที่ชุมชนและเป็นท่ีน่าเชื่อถือของ นักเรียนจากสถาบันอ่ืน ผลการศกึ ษาความคิดเห็นของนกั เรียนหลักสูตร English Program ที่มีต่อ หลักสตู รสถานศึกษา มีผลการประเมนิ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และพบวา่ นกั เรยี นมีความคิดเห็น ต่อหลักสูตรอยู่ในระดบั มาก 3 ด้าน คือ ด้านผลกระทบ ด้านปัจจัยนำเข้า และด้านบริบท อีก 2 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมในด้านปัจจัยนำเข้า คือควรเพม่ิ ความละเอียดในการ ดแู ลเด็กใหป้ รับตัวสำหรับการเรยี น และด้านกระบวนการ คอื ควรใหค้ วามสำคญั กบั นักเรียน EP มาก

204 ขึ้น ให้ได้รับข่าวสารที่รวดเร็ว ควรเข้มงวดในเรื่องการเรียนและนักเรียนต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ ของโรงเรียนเพื่อให้มีความสงบในห้องเรียน ผลการศึกษาความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนหลักสูตร ปกติที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษา มีผลการประเมินในภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในด้านบริบท คือ การกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรในระดับ ประถมศกึ ษา ควรเพ่ิมจำนวนเวลาเรียนในด้านการอ่าน และการคำนวณขั้นพ้นื ฐานให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาดา้ นการอา่ น มาใชใ้ นการศึกษาในระดับสงู ขึน้ ด้านปัจจยั นำเข้า คอื ควรพจิ ารณาวฒุ กิ ารศึกษา สำหรับอาจารยผ์ ู้สอนใหเ้ ป็นวฒุ คิ รู หรือหากจบวุฒอิ ืน่ ท่สี อดคล้องกับสาขาท่ีใช้ในการสอนก็ควรมีการ เรียนครูเพิ่ม เพราะจำเป็นต้องใช้ในการศึกษาและการอบรมสั่งสอนนักเรียน ด้านกระบวนการ คือ ควรมีการสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้ านวิชาชีพกับ สถาบันอื่น ๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ โดยอาจจัดเวทีเสวนา ศึกษาดูงาน เชิญ นักวิชาการมาให้ความรู้และประสบการณ์ในโรงเรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการ พฒั นาวชิ าชพี ครูให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา และสร้างจดุ แขง็ ดา้ นวิชาชีพให้มีความโดด เด่นตามความสนใจของบุคลากรแต่ละคน รวมทั้งการพัฒนาอาจารย์ให้สามารถจดั การเรียนการสอน และประเมินผลไดส้ อดคลอ้ งกับทศิ ทางการพฒั นาหลักสตู รและวิสัยทัศนข์ องโรงเรียน ด้านผลผลติ คือ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีสมรรถนะสำคัญ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่ได้จากการ ประเมินที่เชื่อถือได้ แต่กรณีของบุคลิภาพที่เป็นเป้าหมายของหลักสูตรยังไม่มีการประเมินซึ่งก็ควรมี การประเมินทช่ี ัดเจนมากกว่าวธิ ีการสังเกตของอาจารย์ และดา้ นผลกระทบ คอื อาจารย์ควรได้รับการ พัฒนาเพื่อให้มีสมรรถนะทางวิชาชีพเพิ่มขึ้น ผลการศึกษาความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนหลักสูตร English Program ที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษา มีผลการประเมินในภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในด้านบริบท คือ Provide learners a venue for inclusive and collaborative learning where they (learners) can showcase their potentials and be able to think outside the box. ดา้ นปัจจัยนำเขา้ คอื To produce a much better learning environment, the school “MUST” have a strict implementing “Policy” with regards to the use “Mobile Phones”. Mobile phones are useful BUT in most cases they are very disruptive to students especially during the teaching and learning situation. ดา้ นกระบวนการ คอื Harbor a more inclusive network of educators by allowing maternal and resources to be more accessible. ด้านผลผลิต คือ EP will be a training ground or home to learners of the 21st century. They are critical thinkers, creative and knows how to collaborate with others to arrive very satisfactorily at a given goal and also very capable of communicating their know league and skills using traditional and contemporary media. และดา้ นผลกระทบ คอื Support teachers’ innovative approach and encourage teachers to be more innovative in dealing with their teaching and instructions to develop more productive individuals. นอกจากนี้ในด้านบริบท มีผลการตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา โดย คณะกรรมการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนได้ประเมินคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาตามเกณฑ์ใน ภาพรวมพบว่า หลักสูตรสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความเหมาะสม

205 ของรายวิชาในหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรปกติ ที่ประกอบด้วย รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) และรายวิชาเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) พบว่า ในภาพรวมและรายวิชาเพิ่มเติม (ตาม ความสนใจ) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนรายวิชาของหลักสูตร English Program ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า ทุกรายวิชาในภาพรวม รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม (ตาม จุดเน้น) และรายวิชาเพิม่ เตมิ (ตามความสนใจ) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากท่สี ุด ผลการประเมิน ความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรปกติ ซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมชมรม และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ พบว่า ในภาพรวม กิจกรรมลูกเสอื และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือ กิจกรรมแนะแนวทุกระดับชั้น ควรมีค่มู อื กิจกรรมการเรยี นการสอนและการประเมินผลนักเรียน และเนน้ แนวโน้มการเลือกอาชีพใน อนาคตที่มีความเป็นไปได้ของนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ควรปรับเปลี่ยน วิธีการประเมนิ ผลให้สะท้อนถึงการปฏิบัตจิ ริงมากกวา่ การถ่ายภาพมาส่งอาจารย์เพียงอย่างเดียว และ กิจกรรมจิตอาสา ควรปรับวิธีการประเมินและปลูกฝังจิตใต้สำนึกให้นักเรียน ส่วนหลักสูตร English Program ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในภาพรวมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และทุกกิจกรรมย่อยมี ความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ผลการประเมินหลกั สตู รสถานศึกษาในภาพรวมตามความคิดเห็น ของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนของหลักสูตรปกติ มีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง และมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในด้านผลกระทบอยูใ่ นระดับมาก สำหรับความคิดเห็นตาม องค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านโดยการจัดลำดับความคิดเห็นแล้วพบว่า มีลำดับ ของความคดิ เห็นทีส่ อดคล้องกนั เพยี ง 1 ดา้ น คอื ดา้ นผลผลติ อยใู่ นลำดบั ที่ 3 และพบวา่ นกั เรียนและ อาจารย์ผู้สอนหลักสูตรปกติ มีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบรายด้านของหลักสูตรไม่สอดคล้องกัน ส่วนหลักสูตร English Program นักเรียนและอาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวม และองค์ประกอบ 5 ด้านอยู่ในระดับมาก สำหรับความคิดเห็นตามองค์ประกอบของการประเมิน หลักสูตรเป็นรายด้านโดยการจัดลำดับความคิดเห็นทั้งของนักเรียนและของอาจารย์ผู้สอนแล้วพบวา่ มีลำดับของความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน 2 ด้าน คือ ด้านบริบทอยู่ตรงกันในลำดับที่ 3 และด้าน ผลผลิตอยู่ตรงกันในลำดับที่ 4 และพบว่านักเรียนและอาจารย์ผู้สอนหลักสูตร English Program มี ความคิดเหน็ ตอ่ องค์ประกอบรายด้านของหลักสูตรไม่สอดคลอ้ งกนั ตอนที่ 3 ผลการเสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนกเป็น หลกั สตู รปกติ และหลักสตู ร English Program ผลการวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) โดยการจดั สนทนากลุ่ม จำนวน 5 กลุม่ ประกอบด้วยผใู้ หข้ ้อมูลคอื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง อาจารย์ ผบู้ ริหาร และผทู้ รงคณุ วุฒิ มี

206 ผลการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร โดยจำแนกเป็น หลกั สูตรปกติ และหลักสตู ร English Program ตามประเดน็ สนทนากลุ่มดงั น้ี ผลการจัดสนทนากล่มุ กรณีหลักสูตรปกติ 1. หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ที่พัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานนั้น ช่วยให้ผู้เรียน บรรลุจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของหลักสูตร และควรมีแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ดงั นี้ (ดา้ นบรบิ ท) 1.1 นักเรียน : หลักสูตรสามารถช่วยใหน้ ักเรยี นส่วนใหญ่ได้ผา่ นเกณฑ์การประเมินท่ี โรงเรียนกำหนดในแต่ละปีการศึกษา ประกอบด้วย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการประเมิน ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แต่ก็มีนักเรียนอีก ส่วนหนึ่งที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ต้องผ่านกระบวนการซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว ซึ่งในระยะหลัง สังเกตเหน็ ว่ามีนกั เรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวนมากขน้ึ โรงเรียนควรพิจารณาสาเหตุที่แท้จริง และให้ความช่วยเหลือให้ทันก่อนนักเรียนจบหลักสูตร นักเรียนได้รับการดูแลให้ปฏิบัติตามระเบียบ ของโรงเรียน กล้าแสดงออก ได้รับการส่งเสริมให้เข้าร่วมการประกวดและกิจกรรมการแข่งขันต่างๆ ต้องการให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนที่ปลอดจากยาเสพติดทุกประเภท นักเรียนควรได้รับกำลังใจในการ พัฒนาตนเอง และตอ้ งการข้อมูลจากโรงเรียนที่เป็นความรู้และข้อเท็จจริงมากกวา่ ที่เป็นคำตำหนิและ ภาษาที่ไม่สุภาพเมื่อต้องรับฟังในภาพรวม เช่น กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมการเรียนการสอนในช้ัน เรยี น ดงั คำกลา่ วของนกั เรยี นทใ่ี ห้สัมภาษณ์ท่ีกล่าววา่ “นักเรยี นทุกคนควรไดร้ ับคำแนะนำและช่วยเหลอื เร่ืองการเรียนท่ไี มเ่ ข้าใจ และไมส่ ามารถปฏบิ ตั งิ านท่ีอาจารยม์ อบหมายได้ถกู ต้องและครบถ้วนได้ บางคนอาจไมก่ ลา้ ท่จี ะ สอบถามเพราะอาจารย์บางท่านค่อนขา้ งเข้มงวด อาจารย์ควรตอ้ งเข้าใจและหาสาเหตุท่ีแทจ้ ริงเพ่ือ แก้ไขให้ทนั ก่อนนักเรยี นจบหลักสูตร” “โรงเรยี นส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นไดเ้ ข้าร่วมแสดงความสามารถต่างๆ สังเกตจากที่การมอบรางวัลช่วง กจิ กรรมหนา้ เสาธงบ่อยๆ” “อยากให้โรงเรียนเพิ่มความเข้มเรอื่ งยาเสพติดหรืออุปกรณด์ า้ นนี้ เพอ่ื ไม่ใหเ้ ป็นต้นแบบของเพ่ือนๆหรอื นอ้ งๆในโรงเรยี น” “ในวชิ าเรยี นอาจารย์ไม่ควรใช้เวลาในการตำหนนิ ักเรยี นคนใดคนหนงึ่ เพราะเขาอาจต่อตา้ นและไม่ เชือ่ ฟังและทำใหเ้ สยี บรรยากาศในการเรยี นของเพ่ือนๆท้ังห้องเรยี น รวมการใชภ้ าษาทไี่ ม่สุภาพตอน กิจกรรมหน้าเสาธงดว้ ย” 1.2 ผู้ปกครอง : เห็นว่าหลักสูตรช่วยพัฒนานกั เรียนให้มีความรู้ ความสามารถตาม ระดับชั้นเรียนอยู่แล้ว แต่ควรเน้นให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองมากกว่าความรู้ตามหลักสูตร เช่น ควร พัฒนาทักษะอื่นๆ เพื่อให้นักเรยี นสามารถแก้ปญั หาได้ดว้ ยตนเองในชีวติ ประจำวัน มีน้ำใจ มีจิตอาสา

207 ช่วยเหลือการทำงานโดยไม่จำเป็นต้องบอกหรือบังคับให้ทำ และเน้นการพัฒนาความรับผิดชอบต่อ ตนเองและผู้อ่ืน และเด็กไม่ควรมีการบ้านมากจนเกินไปเพื่อให้มีเวลาทบทวน อ่านหนังสือ มีเวลาทำ กิจกรรมท่สี นใจ หรือร่วมกิจกรรมกับครอบครวั ได้มากข้นึ ดังคำกล่าวของผู้ปกครองท่ีให้สมั ภาษณ์วา่ “นกั เรียนควรได้รับการพัฒนาทกั ษะอืน่ ๆ นอกเหนือจากความรทู้ ีไ่ ด้รับเพื่อพฒั นาตนเองไดม้ ากขนึ้ เช่น ทกั ษะหรือความสามารถในการแก้ปัญหาได้ในชวี ติ ประจำวนั ซง่ึ เดก็ ๆ มักจะเช่ือฟังอาจารย์ทส่ี อนมากกวา่ พอ่ แม่” “ควรมีการพัฒนากจิ กรรมเสริมทักษะของนักเรียน เชน่ ดา้ นวิชาการ ด้านอาชีพ การสง่ เสรมิ ด้าน ทักษะตา่ งๆ ในชวี ิตประจำวนั ” “อยากใหน้ กั เรยี นไดม้ ีเวลาทำกิจกรรมร่วมกับครอบครวั ชว่ ยงานทางบา้ นมากข้ึน เพราะเด็นมกั จะบอกวา่ ไมว่ า่ งตอ้ งทำการบา้ นหรืองานทีเ่ รยี นตลอดเวลา” “อยากให้โรงเรียนช่วยเน้นการพัฒนาความรับผิดชอบของตัวเองให้เด็กมากข้นึ และวนิ ัย การมสี ัมมาคารวะต่อผ้ใู หญ่” “งานท่ีอาจารยม์ อบหมายให้กบั นกั เรยี นในบางงานเกินความรับผดิ ชอบของนักเรียน ผู้ปกครองจะต้องเป็นผู้ทำงานให้กบั นักเรยี นเอง” 1.3 อาจารย์และผู้บริหาร : มีความคิดเห็นสอดคล้องกนั ว่า หลักสูตรโรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) สามารถพฒั นานักเรียน ให้บรรลุจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของหลักสูตรได้ โดยมีจุดเน้นตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรที่มุ่ง เป้าหมายให้นักเรียนทุกระดับมีการพัฒนาทุกด้านทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการและ ความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เน้นความหลากหลายในการจัดสาระการ เรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของ นักเรียนเป็นรายบุคคล การประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อให้นักเรียนบรรลุมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนตามที่ หลักสูตรกำหนด แต่ในรายละเอียดของการนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และการวัด และประเมินผลอาจยังมีส่วนที่ต้องพัฒนาในเรื่องกระบวนการในการพัฒนานักเรียนให้ไปในทิศทาง ของหลักสูตร การสร้างความเข้าใจร่วมกันเป็นสิ่งสำคัญที่สุดของอาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ การนำหลักสูตรไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนได้ตามเป้าหมาย ดังคำกล่าวของอาจารย์และ ผบู้ ริหารดงั น้ี “คิดวา่ อาจารย์ทุกท่านทราบเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษาเปน็ อยา่ งดี แต่อาจติดขัดเรื่องการ จัดการเรยี นการสอนและการประเมนิ ผลตามสภาพจริงทีเ่ น้นความหลากหลายของวธิ กี าร และการจดั การเรยี นการสอนทีย่ งั ไม่ได้เน้นการใหเ้ ด็กไดเ้ รียนรู้ผ่านกิจกรรม เพ่อื ให้คน้ พบความรู้ดว้ ยตนเอง” “อาจารย์หลายท่านเนน้ ความเท่าเทยี มกนั กบั การไดร้ บั ความรู้ของนักเรียนในชนั้ เรียน แตจ่ รงิ ๆ แลว้ ควรเนน้ การพัฒนานักเรียนเปน็ รายบคุ คล” “ควรให้มกี ารสร้างความเข้าใจร่วมกันในการทำงาน”

208 “ควรมีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชงิ รกุ ” “โรงเรยี นควรมกี ารพัฒนาอาจารย์ เพอ่ื เพ่มิ พนู ประสบการณท์ ่ีจำเปน็ สำหรับใชใ้ นการพฒั นาการเรียนการสอน และเทคโนโลยที ่ีใชส้ ำหรับการเรยี นการสอนผ่านออนไลน์” 1.4 ผู้ทรงคุณวุฒิ : เมื่อพิจารณาในภาพรวมแล้ว หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เป็นหลักสูตรที่พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพได้ตาม จุดเน้นของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อย่างไรก็ตาม หากพิจารณา บริบทของสังคมในปัจจุบัน หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ควรมีการปรับปรงุ ดังน้ี 1) วิสัยทัศน์ของหลักสูตรควรเป็นการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการคิด สร้างสรรค์ และทกั ษะนวัตกรรมให้มากขึ้น 2) ควรเพม่ิ เติม การคดิ ข้นั สงู (Higher-Order thinking) 3) ควรเพิ่มเติม Creative Based, Technology Based ไว้ในกรอบแนวคิด หลักสูตร ร่วมกับ Project Based, Career Based 4) ควรเนน้ Competency Based ไวใ้ นกรอบแนวคิดหลักสตู ร 5) แนวการจัดหลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษา และมธั ยมศึกษา ควรเนน้ การบูรณา การเชิงสรา้ งสรรค์ (Creative Integration) ใหม้ ากขนึ้ จะชว่ ยเสรมิ สรา้ ง Innovative skills สรุปหลกั สูตรฯ ช่วยให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของหลักสตู รได้ โดยมีการ กำหนดจุดเน้นในหลักสูตรที่มุ่งเป้าหมายให้นักเรียนทุกระดับมีการพัฒนาทุกด้าน เน้นความ หลากหลายในการจัดสาระการเรียนรูร้ ายวิชาเพิ่มเติมและกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องกับความ สนใจและความถนดั ของนักเรียนเปน็ รายบุคคล มกี ารประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ และบรู ณาการเชงิ สร้างสรรค์ เพื่อให้นักเรียนบรรลุมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนตามที่หลักสูตรกำหนด และเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัด การศึกษาเพื่อเสริมสร้างการคิดขั้นสูงและทักษะด้านนวัตกรรม รวมทั้งสมรรถนะของผู้เรียนไว้ใน กรอบแนวคิดหลักสูตร มีการนำหลักสูตรไปใช้ และการวัดและประเมินผลควรพฒั นานักเรียนให้ไปใน ทิศทางที่เป็นเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้นแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร คือ การสร้าง ความเข้าใจร่วมกันทุกฝ่ายเกี่ยวกับทิศทางที่เป็นเป้าหมายของหลักสูตร หาสาเหตุที่แท้จริงและให้ ความช่วยเหลือนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และนักเรียนควรได้รับการดูแลให้ปฏิบัติตาม ระเบียบของโรงเรียน 2. หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ที่พัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง และชุมชนเข้ามามี ส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา และเปน็ ประโยชนต์ ่อการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน และการจดั การเรียน การสอนของโรงเรยี นดงั นี้ (ด้านปจั จัยนำเขา้ ) 2.1 นักเรียน : เห็นว่าผู้ปกครองไม่ไดม้ ามีสว่ นร่วมในการจัดการเรียนการสอน แต่มี บางส่วนที่จะมาช่วยในกิจกรรมพัฒนานักเรียน เช่น การเตรียมฝึกซ้อมกีฬาบางชนิดเพื่อการส่ง

209 นักเรียนเข้ารว่ มการแข่งขันกีฬาสาธติ สามัคคี หรือสนับสนุนบุตรของตนเองในการเข้าร่วมการแข่งขัน หรือการประกวดในเวทีต่าง ๆ เช่น การประกวดขับร้องเพลง การแสดงดนตรี การแข่งขันลีลาศ รวมท้ังโครงการท่ีนักเรียนส่วนใหญช่ อบท่สี ุด คอื โครงการวันใสใสสำหรับวัยเยาว์ ท่ีเห็นผู้ปกครองมา นำอาหารมาให้เดก็ ๆ ได้รับประทานร่วมกนั ทัง้ โรงเรียนทุกปี 2.2 ผู้ปกครอง : การเรียนการสอนของโรงเรียนตอบสนองความต้องการของ นักเรียนและผู้ปกครอง แต่ควรมีการเพิ่มกิจกรรมร่วมกับชุมชนหรือมีการสำรวจความต้องการของ ชุมชน และเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ศิษย์เก่าเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนและติดตาม ความกา้ วหนา้ ในผลการเรียนของนกั เรียน และการเรยี นการสอนของโรงเรียน 2.3 อาจารย์และผู้บรหิ าร : ปัจจุบนั มศี ิษยเ์ ก่ามาช่วยพัฒนาด้านกีฬาให้แก่นักเรียน ทส่ี นใจ ควรให้ผู้ปกครอง หรืออาจารย์ในมหาวิทยาลยั ไดม้ าร่วมแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละร่วมจัดกิจกรรม ให้แก่นักเรียน เช่น กิจกรรมชมรม กิจกรรมด้านกีฬา กิจกรรมจิตอาสา การแนะแนวอาชีพ หรือ กจิ กรรมทางวิชาการ เช่น มาเป็นอาจารย์พิเศษในบางรายวิชาเพื่อเพิ่มพนู ประสบการณแ์ ละช่วยสร้าง แรงจูงใจในการเรียนให้แก่นักเรียนมากขึน้ กิจกรรมชมรมไม่จำเป็นต้องเป็นอาจารย์เป็นผู้จัดกจิ กรรม อาจจะเป็นนักเรียน ผู้ปกครอง หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญในชุมชนก็ได้ เพื่อให้กิจกรรมมีประสิทธิภาพและ ไดป้ ระโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ 2.4 ผู้ทรงคุณวุฒิ : ควรเปดิ โอกาสให้ผปู้ กครองและชุมชน เขา้ มามีสว่ นร่วมอย่างย่ิง เพราะผ้ปู กครองและชุมชนเปน็ ตน้ ทุนทางสังคม ท่โี รงเรียนสามารถใช้จุดแขง็ ของผู้ปกครอง ชุมชน มา สร้างสรรค์นวัตกรรมหลักสูตรและการจดั การเรียนร้ไู ด้อย่างมาก โดยการเปดิ โอกาสการมสี ว่ นร่วม ทำ ได้ตั้งแต่การมีส่วนร่วมในการออกแบบหลักสูตร การออกแบบการวัดผลการเรียนรู้ การเป็นครู ภมู ิปญั ญาใหก้ บั นักเรียน การเป็นแหล่งเรยี นรเู้ ชิงสรา้ งสรรค์ และการมสี ว่ นร่วมในการสะทอ้ นคุณภาพ ผ้เู รยี น สรปุ หลักสูตรควรเปิดโอกาสใหผ้ ปู้ กครองและชมุ ชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา ในฐานะที่เป็นต้นทุนทางสังคม โดยเป็นครูภูมปิ ญั ญาให้กบั นกั เรียน เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสรา้ งสรรค์ มี ส่วนร่วมในการสะทอ้ นคุณภาพผเู้ รียน และติดตามความกา้ วหน้าในผลการเรียนของนักเรียน และการ เรียนการสอนของโรงเรียน เพื่อร่วมกันสร้างสรรค์นวัตกรรมหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล และนวัตกรรมของนักเรียน เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการเรียนรู้และการพัฒนา คณุ ภาพผเู้ รียน 3. ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชัน้ เรียน และควรมี วธิ ีการหรือแนวทางในการดำเนนิ การเพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ดังน้ี (ด้านปจั จัยนำเข้า) 3.1 นักเรียน : เห็นว่าอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ประจำชั้น/ที่ปรึกษามีหน้าที่ โดยตรงที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพนักเรียนได้มากที่สุดในทุกด้าน เพราะใกล้ชิดนักเรียนและสามารถจะ เข้าใจนักเรียนได้ดี เพื่อนและรุ่นพี่ก็มีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนได้ ผู้ปกครองมีส่วนช่วยเหลือสำหรับ นักเรยี นระดบั ประถมศึกษา แต่ในระดับมัธยมศึกษานักเรยี นต้องดูแลตัวเองมากขึ้น นักเรียนที่มีความ

210 ถนัดและความพร้อมก็จะเรียนได้ดี ซึ่งแต่ละคนก็มีความสามารถท่ีแตกต่างกันไป หนังสือและอุปกรณ์ ที่ใช้ประกอบการเรียนก็สำคัญ โดยต้องการให้ทุกรายวิชามีหนังสือเรียนเพื่อจะได้ไม่ต้องจดทุก ตัวอักษรระหวา่ งเรียน และใช้สำหรบั การเตรียมตัวสอบด้วย 3.2 ผู้ปกครอง : คิดว่าอาจารย์มีบทบาทสำคัญต่อการเรียนของนกั เรยี น เนื่องจาก นักเรียนส่วนใหญ่จะเชื่อฟังอาจารย์เป็นหลัก โดยเฉพาะในช่วงวัยประถมศึกษา ถ้าอาจารย์ได้ช่วย ปลูกฝงั ลกั ษณะนิสัยที่ดี ใหค้ ำแนะนำ มีเหตผุ ลกับเด็ก การเรียนการสอนตอบสนองความต้องการของ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยนักเรียนสามารถเข้าเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัยได้ นักเรียนมี ความปลอดภยั มีสงั คมท่ีดี นกั เรียนมคี วามพร้อมทางดา้ นวิชาการ เป็นสถานศึกษาท่ีเปน็ ทยี่ อมรับของ ชุมชน แต่ควรมีการเพิ่มกิจกรรมร่วมกับชุมชนหรือมีการสำรวจความต้องการของชุมชนมากขึ้น ใน ส่วนของหนังสือเรียนที่อาจารย์สั่งซื้อมาให้นักเรียนใช้ ควรได้นำมาให้เด็กใช้เรียนจริง ๆ และปัจจัย สำคญั ทจ่ี ะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสตู รสชู่ ั้นเรยี น คือ ด้านอาจารย์ผสู้ อนควรต้องไดร้ ับการดูแลและ พัฒนาจากทางโรงเรียน ได้แก่ อาจารยท์ เ่ี ขา้ มาทำงานใหม่ควรไดร้ บั การพฒั นาการเรยี นการสอน และ การสอนของนิสิตฝึกสอนอาจทำให้นักเรียนได้รับความรู้ที่ไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน ดังคำกล่าวของ ผ้ปู กครองทีใ่ หส้ ัมภาษณ์ไว้ดงั นี้ “หนงั สือเรยี นทสี่ ่งั ซื้อมา อาจารย์ไมไ่ ดใ้ ชป้ ระกอบการเรยี นการสอน” “อาจารย์ไม่ไดน้ ำเนือ้ หาในหนังสือเรยี นหรอื ในบทเรยี นมาสอน” “เวลาท่ีนักเรยี นมีขอ้ สงสัย เกิดปญั หา นสิ ติ ฝึกสอนไมส่ ามารถอธบิ ายให้นักเรียนเขา้ ใจได้” “นสิ ิตฝึกสอน สอนเน้ือหาผดิ ” “อาจารย์ท่เี ข้ามาใหม่ ทางโรงเรียนควรมกี ารคดั เลือกอาจารย์ที่สอนใหต้ รงตามสาขา และควรมีการพัฒนาวธิ ีการสอนใหถ้ ูกต้องในเน้ือหาที่สอนในช้นั นั้นๆ และสอนให้ตรงตามหลกั สูตรทีก่ ำหนดไว้” 3.3 อาจารย์และผู้บริหาร : มีความคิดเห็นสอดคล้องกันว่าปัจจัยสำคัญที่จะช่วย ขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชั้นเรียน คือ นักเรียน อาจารย์ และผู้บริหาร ต้องมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียน และการบริหารจัดการหลักสูตรอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง เห็นความสำคัญและมีความพร้อมตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง มองเห็นเป้าหมายเดียวกัน วางแผนการดำเนินงานร่วมกันเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกนักเรียน การสร้างและปรับเปลี่ยน mindset เพื่อการนำหลักสูตรไปใช้ตามวัตถุประสงค์ มีการพัฒนาวิธีการหรือขั้นตอนการนำหลักสูตรไปใช้ รว่ มกัน มกี ารใหค้ ำแนะนำ ติดตาม แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เลอื กวธิ ีการจดั การเรียนรแู้ ละการประเมินผลที่ หลากหลายและเหมาะสมเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้บรรลุเป้าหมาย มีการ จัดการความรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมกันแก้ไข/ปรับปรุงและสร้าง ขวญั และกำลังใจในการทำงาน ดงั คำกล่าวของอาจารย์และผบู้ ริหารที่ใหส้ มั ภาษณไ์ ว้ดงั นี้ “การนำหลกั สตู รไปใชค้ วรต้องมีการบริหารจัดการอยา่ งเป็นระบบเพื่อให้อาจารย์สามารถวเิ คราะห์ มาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั ออกแบบการจดั การเรียนการสอนได้อยา่ งเหมาะสมกับผเู้ รยี น และมกี าร ประเมนิ ผลอย่างหลากหลาย”

211 “บริหารโดยยึดเปา้ หมายเปน็ สำคัญ อาจารย์ต้องต่นื ตวั และ ตอ้ งเข้าใจความแตกต่างระหว่างบคุ คล ผู้บริหารต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับ กระบวนการนเิ ทศเพ่อื ให้คำแนะนำและตดิ ตามอย่างต่อเนื่อง” “ใหผ้ ู้มสี ่วนเก่ียวขอ้ งร่วมคดิ รว่ มทำ รว่ มกำหนดเป้าหมายการพัฒนาผเู้ รียน และรว่ มรบั ผิดชอบผลการดำเนินการ” “ใช้การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ มให้ฝา่ ยต่างๆ ทงั้ ผู้ปกครอง ชุมชน ผ้บู รหิ าร ครู และนกั เรียน ได้มสี ว่ นรว่ มในการวางแผนพัฒนาหลกั สตู รและตรวจสอบคุณภาพการจดั การศึกษา” 3.4 ผทู้ รงคณุ วุฒิ : เห็นวา่ ปัจจัยสำคญั ในการขับเคลื่อนการนำหลกั สูตรสถานศึกษา สชู่ ัน้ เรยี น ควรประกอบด้วย 1) Growth mindset และ Passion ของบุคลากรทุกฝ่ายในการนำหลักสูตรไป ใชใ้ นช้นั เรียนตามเจตนารมณข์ องหลักสตู ร 2) ความรูค้ วามเขา้ ใจและทกั ษะในการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ของผู้สอน ทส่ี ามารถตอบสนองธรรมชาติและความตอ้ งการของผูเ้ รยี น 3) ความเขม้ แข็งของการมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษาของชมุ ชนและผูป้ กครอง สรุปปัจจยั สำคญั ที่จะช่วยขับเคล่ือนการนำหลักสตู รสถานศึกษาสู่ชนั้ เรยี น ประกอบด้วย นักเรียน อาจารย์ และผู้บริหาร ต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียน และการ บริหารจัดการหลักสูตรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เห็นความสำคัญและมีความพร้อมตามบทบาท หน้าที่ของตนเอง มองเห็นเป้าหมายเดียวกัน รวมทั้งมีความเข้มแข็งของการมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษาของชมุ ชนและผู้ปกครอง โดยควรมีวิธีการหรือแนวทางในการดำเนินการให้เกิดประสิทธิผล สูงสุดต่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ด้วยการสร้างและปรับเปลี่ยน mindset เพื่อการนำหลักสูตรไปใช้ ตามวัตถุประสงค์ มีการพัฒนาวิธีการหรือขั้นตอนการนำหลักสูตรไปใช้ร่วมกัน ให้คำแนะนำ ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลที่หลากหลายและเหมาะสม รวมท้งั การสร้าง Growth mindset และ Passion ของบุคลากรทุกฝ่ายในการนำหลักสูตรไปใช้ในช้ัน เรยี นตามเจตนารมณ์ของหลกั สูตร 4. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” เพื่อให้ครูสามารถพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนสู่เป้าหมายของหลักสูตรได้สำเร็จ ตามองค์ประกอบคือ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและประเมินผล และปจั จัยสนับสนุนดังน้ี (ดา้ นกระบวนการ) 4.1 นักเรียน : เห็นว่าควรจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้มีต้นไม้มากขึ้น และทำ ป้ายช่ือต้นไมใ้ ห้เด็กได้เรยี กช่ือได้ถูกต้อง เพิม่ จำนวนตนู้ ้ำดื่ม ปรบั เพิ่มจำนวนของเล่นในสนามเด็กเล่น โดยของเล่นต้องไม่เป็นสนิม เพิ่มจำนวนหนังสือในห้องสมุดให้มากขึ้นและน่าอ่าน ดูแลเรื่องระเบียบ วินัยของนักเรียนให้มากขึ้น ควรเพิ่มสนามกีฬาในโรงเรียนให้เพียงพอกับความต้องการของนักเรียน หลักสูตรของโรงเรยี นควรมคี วามเข้มข้นมากขึ้นสลับกบั กิจกรรมผ่อนคลายให้แก่นักเรยี นด้วย ควรให้ นักเรียนไดใ้ ช้โทรศพั ท์หรอื IPAD เป็นเครอื่ งมอื ในการศกึ ษาค้นควา้ ในระหว่างการเรยี นได้

212 4.2 ผู้ปกครอง : หลักสูตรควรมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียน และควรพัฒนาการทำงานให้แก่นักเรียน ไม่ควรให้เป็นหน้าที่ของนักเรียนคนใดคนหนึ่งในกลุ่ม มีการ ประเมินผลตรงกับความเป็นจริงของนักเรียน ควรเน้นการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของผู้เรียน พัฒนากิจกรรมเสริมทักษะของนักเรียนด้านวิชาการ ด้านอาชีพ ด้านทักษะต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ควรเน้นการเรียนการสอนที่มีการลงมือปฏิบัติท่ีมีความหลากหลาย และเน้นให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ จริงด้วยตนเอง มีการนำแหล่งเรียนรู้หรือบุคลากรในมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการ สอน มีการแนะแนวให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ตรงตามความต้องการและ ความสามารถของตนเอง รวมท้งั การเพม่ิ ทกั ษะต่างๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการดำเนนิ ชวี ิต เชน่ ทกั ษะการคิด วิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานเป็นทีม และทักษะการสื่อสาร และโรงเรียนควรดึง ศักยภาพของผู้ปกครองมาสนับสนุนการเรียนการสอนและกิจกรรมต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีปัจจัย สนับสนุนเพื่อให้หลักสูตรมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายมากขึ้น คือ ด้านอาจารย์ ควรเป็นผู้ที่มี ความรู้ความสามารถตรงตามสาขาที่สอน มีการปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีใหแ้ ก่นักเรียน มีจิตใจโอบ อ้อมอารีกับนักเรียน มีบทบาทที่หลากหลาย เช่น เป็นครู เป็นที่ปรึกษา เป็นเพื่อน มีคุณธรรม มีการ ตดิ ตามขา่ วสารและเทคโนโลยีใหมๆ่ เพอื่ นำมาใช้ในการเรยี นการสอน และมีการนิเทศและติดตามการ สอนของอาจารย์ท่ีเข้ามาสอนใหม่ ดา้ นนักเรียน ควรตอ้ งอยใู่ นกฎและรักษาระเบียบวินยั ของโรงเรียน มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มีเป้าหมายและมีแรงบันดาลใจในการเรียน ด้านบรรยากาศในห้องเรียน ควรสร้างบรรยากาศในห้องเรียนเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ กระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียน มี ความสขุ และสนุกกับการเรยี น ควรมีมมุ ทสี่ ร้างบรรยากาศใหเ้ กิดการเรียนรู้ในห้องเรยี น และห้องเรียน ต้องสะอาด ด้านสอื่ อุปกรณ์และแหลง่ เรียนรู้ ควรมสี ่ืออปุ กรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย และเพียงพอ กับจำนวนนักเรียน และด้านการสนับสนุนจากผู้บริหาร โดยควรยึดมั่นในความถูกต้องและความดี กล้าตัดสินใจ มีความยุติธรรม เข้าใจนักเรียนและดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึงทุกระดับชั้น สนับสนุน นักเรียนในด้านต่าง ๆ เช่น การแข่งขันทั้งในและนอกโรงเรียน รวมทั้งสนับสนุนนักเรียนที่มี ความสามารถพิเศษ 4.3 อาจารยแ์ ละผู้บรหิ าร : 1) หลักการ การจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย เพื่อส่งเสริม พฒั นาการของนักเรยี นทกุ ด้าน สรา้ งขวัญและกำลังใจในการปฏิบัตงิ านใหบ้ ุคลากร 2) วัตถปุ ระสงค์ 2.1) เพ่อื พัฒนาหลักสตู รให้สอดคล้องกบั จดุ เนน้ และอัตลกั ษณข์ องโรงเรียน 2.2) เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และ คณุ ธรรมและจริยธรรมตามที่สังคมตอ้ งการ 3) กระบวนการ 3.1) การสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษาและการ กำหนดเปา้ หมายในการพัฒนาหลักสตู ร 3.2) กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการดำเนินการพัฒนา หลกั สูตร 3.3) จดั ทำรายละเอียดตามองคป์ ระกอบหลกั สตู รให้ครบถ้วน

213 3.4) ติดตามตรวจสอบความถูกตอ้ งและเหมาะสมเพ่ือปรบั ปรงุ และแก้ไข 3.5) นำหลกั สตู รไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน 3.6) ประเมินผล 3.7) การตรวจสอบโดยผู้เชย่ี วชาญเพือ่ รับรองหลกั สูตร 4) การวัดและประเมนิ ผล 4.1) ประเมินคณุ ภาพนักเรียนดา้ นทกั ษะทจี่ ำเป็นในศตวรรษที่ 21 4.2) ประเมินคุณภาพนักเรยี นตามจดุ เน้นและอตั ลักษณ์ของโรงเรียนรวมท้ัง คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 5) ปัจจัยสนับสนนุ 5.1) การสนับสนุนจากโรงเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการสร้าง สือ่ นวัตกรรมของอาจารย์ 5.2) การสร้างขวัญและกำลังใจของผู้บริหาร และความร่วมมือในการนำ หลกั สูตรไปใชข้ องอาจารย์ 5.3) ความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ นักเรยี น ผปู้ กครอง ชมุ ชน และสถาบนั เครอื ข่ายความรว่ มมอื นอกจากนี้ ผู้บริหารได้เสนอให้โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา มีการนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนใน ชั้นเรียน โดยเสนอให้มีรูปแบบการเรียนการสอนเป็นของตนเอง เช่น สาธิตเกษตรโมเดล เป็นต้น ซึ่ง เป็นรูปแบบการเรียนการสอนท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียนโดยเฉพาะ ทั้งน้ีต้องมั่นใจได้ว่า โมเดลนั้นสามารถนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมายสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและชุมชน โดย อาจารย์ต้องปรับเปลี่ยนวิธีการคิด ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน และในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการเรียนการสอนจะต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานท่ี ต้องทำให้เด็กบรรลุ เป้าหมาย ของ หลักสูตรสถานศึกษาชนิดที่เรียกว่า “พลิกโฉม” รวมถึงการบริหารจัดการของผู้บริหารจะต้อง ตอบสนองตอ่ เป้าหมายของโมเดล ดังนน้ั ผูบ้ รหิ ารตอ้ งกล้าคดิ กล้าทำ และกลา้ ปรบั เปลีย่ น 4.4 ผู้ทรงคณุ วุฒิ : 1) หลกั การ 1.1) ให้ความสำคัญกับ Growth mindset ในการพัฒนาหลักสูตรที่ คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร และบคุ ลากรทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วมในการพฒั นาหลักสูตรทีใ่ ห้ความสำคัญกับ คณุ ภาพผูเ้ รียนด้านตา่ ง ๆ 1.2) พัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน ใน ลักษณะ Personalized learning และใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ ร่วมกับการ เรียนรแู้ บบ Creative Team Learning 2) วัตถุประสงค์ 2.1) เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่ตอบสนองธรรมชาติและความ ตอ้ งการของผู้เรียน เสริมสร้างคณุ ภาพผู้เรียนแบบบูรณาการ

214 2.2) เพ่ือพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรทู้ ีส่ อดคล้องกบั ผเู้ รียน 2.3) เพื่อพัฒนาชุมชน ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตร และการเรียนรู้ของครูใน โรงเรียน 3) กระบวนการ 3.1) การกระต้นุ Growth mindset และ Passion ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน การพัฒนาหลักสูตร 3.2) การถอดบทเรียน จุดแขง็ และจุดทคี่ วรปรับปรงุ หลักสูตรเดิม 3.3) การกำหนดเป้าหมายคณุ ภาพผู้เรยี นที่ตอบสนองการเปล่ียนแปลงของ สงั คมในอนาคต 3.4) การดำเนินการพัฒนาหลักสูตรที่มีความเป็นนวัตกรรม Curriculum innovation ตอบสนองเปา้ หมายคณุ ภาพผเู้ รยี น 3.5) การใช้หลักสูตรแบบวิจัยเป็นฐาน ที่มีการประเมินและปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่องตามวงจร Plan Do Check Reflection 4) การวดั และประเมินผล 4.1) การประเมินคุณภาพการจัดการเรยี นรขู้ องผู้สอนอย่างตอ่ เนอื่ ง 4.2) การประเมนิ คุณภาพของผู้เรยี นอย่างตอ่ เนื่อง 4.3) การสะทอ้ นผลการประเมินและนำไปปรบั ปรุงหลักสตู ร 4.4) การถอดบทเรยี นนวตั กรรมหลกั สูตรและการเรยี นร้ขู องโรงเรียน 5) ปัจจัยสนับสนนุ 5.1) การสนับสนุนเชิงวิชาการของผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับ คณะ และระดับโรงเรียน 5.2) Growth mindset ของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและ นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ 5.3) การสนับสนุนจากชมุ ชน องค์กรภาครัฐ และเอกชน 5.4) ทรัพยากรหลกั สตู รและการจัดการเรียนรู้ 5.5) งบประมาณในการดำเนินการ 5.6) การไดร้ ับความรว่ มมอื จากผ้ปู กครอง สรุปโรงเรียนควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” เพื่อให้ครูสามารถพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนสู่เป้าหมายของหลักสูตรได้สำเร็จ ตามองค์ประกอบ 5 ด้าน โดยหลักการ คือ การพัฒนา หลักสูตรโดยเน้นการมีส่วนร่วมเชงิ สร้างสรรค์ ตอบสนองธรรมชาติและความตอ้ งการของผูเ้ รยี น โดย ใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ ร่วมกับการเรียนรู้แบบ Creative Team Learning เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนทุกด้าน สร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้บุคลากร วตั ถุประสงค์ คอื เพอื่ พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาทต่ี อบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน พัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และคุณธรรมและจริยธรรมตามที่สังคม ต้องการ กระบวนการ ประกอบด้วย การกระตุ้น Growth mindset และ Passion ของผู้มีส่วน

215 เกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตร สร้างความเข้าใจร่วมกันและถอดบทเรียน กำหนดเป้าหมายคุณภาพ ผู้เรียนและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ จัดทำรายละเอียดตามองค์ประกอบหลักสูตร นำหลักสูตร ไปใช้ ตดิ ตาม และตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสมเพื่อปรบั ปรุงและแก้ไข ประเมนิ ผลและรับรอง หลักสตู ร การวัดและประเมินผล ไดแ้ ก่ การประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนและคุณภาพ ของผู้เรียน การสะท้อนผล และการถอดบทเรียน และปัจจัยสนับสนุน ประกอบด้วย การสนับสนุน เชิงวิชาการของผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับโรงเรียน การสร้างขวัญและ กำลังใจของผ้บู ริหารและความร่วมมือในการนำหลักสตู รไปใช้ของอาจารย์ 5. คุณลักษณะของครูและนักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ควรมีลักษณะ ดังน้ี (ดา้ นผลผลติ ) 5.1 นกั เรยี น : 1) คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์ของโรงเรียน คือ เป็นผู้มีความรู้ เข้าใจนักเรียน สอนเขา้ ใจและเน้นใหน้ ักเรียนได้ปฏิบตั ิจรงิ 2) คุณลักษณะนักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียน คือ เป็นผู้มีทักษะการคิด วิเคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ ทกั ษะการแก้ปัญหา และทกั ษะด้านการใชภ้ าษาสอื่ สาร 5.2 ผูป้ กครอง : 1) คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์ของโรงเรียน คือ เป็นผู้มีความรู้และความ ชำนาญในวิชาที่สอน มีความเข้าใจนักเรียน ดูแลและเอาใจใส่นักเรียนทั่วถึง และมีจิตใจโอบอ้อมอารี กบั นักเรียน 2) คุณลักษณะนักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียน คือ เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถทางวชิ าการ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวินยั และมคี ณุ ธรรม-จรยิ ธรรม 5.3 อาจารยแ์ ละผู้บริหาร : 1) คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์ของโรงเรียน คือ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ เฉพาะทาง มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ มีความสามารถในการวิจัยในชั้นเรียน และมีความเอาใจ ใส่ในการพัฒนานักเรียน 2) คุณลักษณะนักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียน คือ เป็นผู้มีความรู้ความ เข้าใจในสิ่งที่เรียน มีทักษะการแก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง มีวินัย และมี จิตอาสา 5.4 ผู้ทรงคณุ วุฒิ : 1) คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์ของโรงเรียน คือ เป็นผู้ที่มี Passion ในการ พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น รักการสอน/รักการจัดการเรียนรู้ รักผูเ้ รียน มคี วามเปน็ กัลยาณมิตร เป็นบุคคล แหง่ การเรียนรู้ เป็นนักสร้างสรรค์นวัตกรรมหลกั สตู รและการเรียนรู้ 2) คุณลกั ษณะนักเรยี นท่ีพึงประสงคข์ องโรงเรยี น คือ เปน็ ผู้มีคุณลักษณะตามท่ี หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) กำหนดไว้และ ควรเพิ่มเติมคุณลักษณะการเห็นคุณค่าในตนเอง และมีทักษะในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ที่สามารถ

216 แปลงความคิดสร้างสรรค์มาเป็นนวัตกรรมได้ อีกทั้งควรมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และแบ่งปัน (เมตตา กรณุ า) สรุปคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ของโรงเรียนควรเป็นบุคคลที่มีความรู้และความ ชำนาญในวิชาที่สอน มีความเข้าใจนักเรียน มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ มีความสามารถในการ วิจัยในชัน้ เรยี น มคี วามเอาใจใส่ในการพัฒนานักเรียน มคี วามเป็นกลั ยาณมติ ร มจี ิตใจโอบอ้อมอารีกับ นักเรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และเป็นนักสร้างสรรค์นวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ สำหรับ นักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียนควรมีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะด้านการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร และทักษะในการสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีคุณธรรม-จริยธรรม มีความ เออ้ื เฟือ้ เผ่ือแผ่ และมีจิตอาสา 6. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพฒั นาการศึกษา สามารถพฒั นานักเรียนไดต้ รงตามความต้องการของสถาบันที่จะรับนักเรียน เข้าศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ และอาจารย์มีการเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการดังนี้ (ดา้ นผลกระทบ) 6.1 นักเรียน : เห็นว่าพัฒนาได้ตรงตามที่มหาวิทยาลัยรับเข้าศึกษาต่อ ดูจากสถิติ การสอบเข้ามหาวิทยาลัยของรุ่นพี่ที่สามารถเรียนต่อในมหาวิทยาลัยได้ทุกคนในทุกปีการศึกษา แต่ ต้องการให้จัดรายวิชาที่ใช้เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้น้อยลงเพื่อจะได้มีเวลาเตรียมความพร้อม เข้ามหาวิทยาลัยไดม้ ากขึน้ 6.2 ผู้ปกครอง : หลักสูตรสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความ ต้องการของสถาบันที่จะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อ เนื่องจากเห็นว่าโรงเรียนสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน สามารถส่งนักเรียนเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยได้หลายแห่ง และผู้เรียนสามารถจบ การศึกษาได้ตามหลักสูตรในระดับอุดมศึกษาและมีทักษะที่ดีสำหรับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นและมี ความสำเร็จในอาชีพทีเ่ ลือกเปน็ สว่ นใหญ่ 6.3 อาจารย์และผู้บริหาร : หลักสูตรสถานศึกษา สามารถพัฒนานักเรียนได้ตรง ตามความต้องการของสถาบันที่จะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ สังเกตได้จากร้อยละ 100 ของนักเรียนที่สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่ต้องการได้ และเห็นว่าอาจารย์ขอทุนวิจัยในช้ัน เรียนมีจำนวนเพิ่มขึ้น แต่การเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการ มีจำนวนยังไม่ถึงครึ่งหนึ่งของ อาจารย์ท้ังหมดของโรงเรยี น 6.4 ผู้ทรงคุณวุฒิ : ควรส่งเสริมและสนบั สนุนให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงาน และ กระตุ้นให้อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทงั้ ให้บรกิ ารวิชาการแก่เพ่อื นร่วมวิชาชพี ทงั้ ในและนอกโรงเรยี นมากขึน้ สรุปหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา สามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความต้องการของสถาบันที่รับ นักเรียนเข้าศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ และอาจารย์ของโรงเรียนจำนวนน้อยกว่าละ 50 ที่มีการ

217 เผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการ โดยสำรวจจากแบบบันทึกการเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการ วิชาการของโรงเรียน และสำรวจจำนวนอาจารย์ที่ได้รับการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการและได้รับ เชิญไปเป็นวิทยากร ดังนั้น โรงเรียนควรส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงาน และ กระตุ้นให้อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทัง้ ใหบ้ รกิ ารวชิ าการแก่เพื่อนร่วมวชิ าชพี ทงั้ ในและนอกโรงเรียนมากขึ้น ผลการสนทนากลุ่ม กรณีหลกั สตู ร English Program 1. หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ที่พัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานนั้น ช่วยให้ผู้เรียน บรรลุจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของหลกั สูตร และควรมีแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ดงั น้ี (ดา้ นบรบิ ท) 1.1 นักเรียน : เห็นว่าควรพัฒนาความพร้อมของบุคลากร อาจารย์ผู้สอน สถานที่ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในโรงเรียน และพัฒนาภาวะผู้นำให้แก่นักเรียน ควรเพิ่มการดูแลนักเรียนให้ ปฏิบตั ิตามระเบียบของโรงเรียนมากข้นึ ดังคำกล่าวของนกั เรียนทใ่ี ห้สมั ภาษณ์ดงั น้ี “อยากใหโ้ รงเรยี นเข้มงวดในเร่อื งการศกึ ษาและกฎระเบียบใหม้ ากกว่าน้ี” “เจา้ หนา้ ทค่ี วรพูดจากบั นักเรียนให้สุภาพขน้ึ ไมใ่ สอ่ ารมณ์ตอนท่ีพูด” “ควรพัฒนานกั เรียน EP ให้มคี วามเปน็ ผู้นำ” “ควรมีตกึ ของ EP ให้เป็นกจิ จะลกั ษณะ” 1.2 ผู้ปกครอง : เห็นว่าหลักสูตร English Program จะช่วยพัฒนาทักษะด้าน ภาษาอังกฤษและภาษาที่นักเรียนสนใจ เพื่อเป็นสิ่งท่ีจำเป็นในการศึกษาต่อในระดับที่สงู ขึ้นและใชใ้ น การทำงานในอนาคต ซึ่งนักเรียนก็สามารถเรียนรู้ได้แต่อาจจะฟังอาจารย์ไม่เข้าใจบา้ งในบางชว่ งของ การเรียนในระยะแรกๆ หลักสูตรช่วยให้นักเรียนกล้าพูดและฟังภาษาอังกฤษได้ดีขึ้น แต่ควรมีการ พฒั นาทักษะและคุณลักษณะอน่ื ๆ เพิ่มเตมิ ดว้ ย เชน่ การแก้ปัญหาด้วยตนเองในชีวิตประจำวัน การมี เป้าหมายในการเรียน มีน้ำใจ มจี ิตอาสา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และหลักสูตรควรมกี ิจกรรมท่ีให้ เด็กได้ฝกึ ฝนการใช้ภาษาให้คล่องขึ้น 1.3 อาจารย์และผู้บริหาร : เห็นว่าหลักสูตร English Program เป็นทางเลือกหน่ึง สำหรับนักเรียนและผู้ปกครองที่มีความต้องการให้นักเรียนได้มีพัฒนาการทางด้านภาษาอังกฤษเพ่ือ ประโยชน์และความจำเป็นในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น นักเรียนจะได้ฝึกฝนการใช้ภาษาอังกฤษใน การฟัง-พูด และเรียนรู้กับอาจารย์ชาวต่างชาติในรายวิชาต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง และมีโอกาสเข้าร่วม กจิ กรรมเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน แตห่ ลกั สตู ร EP ที่เปิดสอนในปัจจุบัน นักเรยี นสว่ นใหญ่มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเข้ามาเรียนอยู่ในระดบั ปานกลางถึงต่ำ ซึ่งเป็นปัจจัยท่ี สำคัญต่อการออกแบบหลักสูตรให้เหมาะสมกับความพร้อม ความสามารถและความต้องการของ นักเรียน รวมทั้งบริบทความพร้อมของโรงเรียนและผู้ปกครองด้วย เพื่อจะช่วยกันพัฒนาคุณภาพ

218 นักเรียนให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตร โดยในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนได้พัฒนาปรับหลักสูตร เปน็ หลกั สูตร Intensive English Program หมายถึงเปน็ หลกั สูตรทีพ่ ัฒนานักเรียนใหม้ ีความสามารถ ในดา้ นภาษาอังกฤษท่ีเข้มขน้ เน้นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี และการทำโครงงานเพ่ือ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และเห็นว่าหลักสูตรควรมีความชัดเจนในทางปฏิบัติที่มีการดำเนินการ อย่างเป็นรูปธรรมให้เห็นผลทีเ่ กิดขึ้นกับนักเรียนโดยตรงวา่ นักเรียนสามารถทำอะไรได้บ้างเมื่อเข้ามา เรียนในหลักสูตรนี้ และควรใหม้ กี ารติดตามผลการศึกษาต่อของนักเรยี นที่สำเรจ็ การศึกษาไปแล้วว่ามี ความกา้ วหน้าเพียงใด 1.4 ผู้ทรงคุณวุฒิ : เห็นว่าการเปิดหลักสูตร English Program นอกจากเป็นการ ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นได้มีพัฒนาการดา้ นภาษาทีเ่ ปน็ สากลแล้ว ยังเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนและผู้ปกครองที่ ต้องการเตรียมเด็กเพื่อก้าวเข้าสูอ่ าชีพที่ต้องใช้ความสามารถดา้ นภาษาเพื่อการสื่อสารจะมีโอกาสเข้า ทำงานที่ต้องการได้มากกว่า ด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในปัจจุบันมีความสําคัญมาก ควรมีการเพิ่มเติมทักษะการสื่อสารในภาษาที่เป็นสากล และครอบครัวจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญใน การสร้างและส่งเสริมบรรยากาศในการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันของนักเรียนหลักสูตร English Program ไดเ้ ปน็ อย่างดี ดงั น้ันแนวทางการพัฒนาหลกั สตู รโรงเรียนโดยผู้บรหิ ารและอาจารย์ ผู้สอนควรมีการสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนานักเรียนของโรงเรียน และความ รว่ มมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวของนักเรยี นเพ่ือส่งเสริมบรรยากาศในการใชภ้ าษาอังกฤษก่อน มีการเรียนการสอน และในระหว่างจัดการเรียนการสอนควรมีกิจกรรมร่วมกันบางกิจกรรมและ ร่วมกันสะท้อนพัฒนาการของนักเรียนระหวา่ งทางบ้านกับโรงเรยี น โรงเรยี นควรพิจารณาสัดส่วนการ เรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้มคี วามสมดุล ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรยี นรู้ท่มี ี ประสิทธิภาพและควรเน้นสาระสําคัญที่นักเรยี นจะได้รับตามแต่ละระดับชั้นเรียน นอกจากนี้ การจัด อาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ชาวต่างชาติที่เป็นเจ้าของภาษาโดยตรง เช่น สัญชาติอังกฤษ และ อเมริกัน จะช่วยให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนได้สูง กว่าอาจารย์ทไี่ มใ่ ช่เจ้าของภาษา สรุปหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ช่วยให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายและเป้าหมายของหลักสูตรได้ โดยเนน้ การพัฒนาผู้เรียนในด้านทักษะการสื่อสารในภาษาอังกฤษที่เป็นสากล ทักษะการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวัน ภาวะผู้นำ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อประโยชน์และความจำเป็นในการศึกษา ในระดับที่สูงขึ้น โดยมีแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร คือ ควรให้นักเรียนได้ฝึกฝนการใช้ ภาษาองั กฤษอยตู่ ลอดเวลาท้ังที่โรงเรยี นและทบ่ี า้ น ซ่ึงครอบครัวจะเปน็ ปัจจยั หนึง่ ท่ีสำคัญในการสร้าง และส่งเสริมบรรยากาศในการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันของนักเรียนได้ดี ดังนั้นผู้บริหาร อาจารยแ์ ละผปู้ กครอง ควรมีการสรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั เก่ียวกับทิศทางการพัฒนานักเรียนหลักสูตร English Program ในระหว่างจัดการเรียนการสอนควรมีกิจกรรมร่วมกันและร่วมกันสะท้อน พฒั นาการของนกั เรียนระหว่างทางบ้านกบั โรงเรียน และควรจัดอาจารย์สอนเป็นอาจารย์ชาวต่างชาติ ทเี่ ปน็ เจ้าของภาษาโดยตรง

219 2. หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ที่พัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง และชุมชนเข้ามามี สว่ นร่วมในการจัดการศึกษา และเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น และการจดั การเรียน การสอนของโรงเรียนดังนี้ (ด้านปัจจัยนำเขา้ ) 2.1 นักเรียน : เห็นว่าอาจไม่จำเป็นเพราะนักเรียนคิดว่าตนเองควรมีอิสระในการ เลอื กเรียนและรับผิดชอบดว้ ยตนเองได้ 2.2 ผู้ปกครอง : เห็นว่าถ้าโรงเรียนต้องการให้ผู้ปกครองมาเข้าร่วมหรือช่วยจัด กิจกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครองก็ยินดี เพราะบางท่านมีความสามารถที่เหมาะสมกับกิจกรรมของ นักเรียนหลักสตู ร EP บางท่านก็อาจมีความชำนาญท่ีสอดคล้องกบั กิจกรรมพอดี และโรงเรยี นอาจจดั หลักสูตรท่ใี หผ้ ู้ปกครองได้พัฒนาด้านภาษาองั กฤษเพื่อใชใ้ นการพูดสื่อสารเพ่ือจะได้สามารถพูดคุยกับ ลกู เป็นภาษาอังกฤษทบี่ ้านได้ด้วย 2.3 อาจารย์และผู้บริหาร : ควรเชิญผู้ปกครอง และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษาในกิจกรรมพิเศษของโรงเรียน เช่น กิจกรรมชมรม กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี หรืออาจเชิญมาช่วยจัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อสร้างแรงจูงใจและเป็นต้นแบบทางวิชาชีพให้แก่ นกั เรียน 2.4 ผู้ทรงคุณวุฒิ : ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมโดย โรงเรียนสามารถใช้จุดแข็งของผู้ปกครอง ชุมชน มาสร้างสรรค์นวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการออกแบบหลักสูตร การออกแบบการวัดผลการเรียนรู้ การเป็นครูภูมิ ปัญญาให้กับนักเรียน การเป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ และการมีส่วนร่วมในการสะท้อนคุณภาพ ผ้เู รียน สรุปหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาในกิจกรรมพิเศษของโรงเรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจและเป็นต้นแบบทางวิชาชีพให้แก่นักเรียน เพื่อร่วมกันสร้างสรรค์นวัตกรรมหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ เป็นครูภูมิปัญญาให้กับนักเรียน และมี ส่วนรว่ มในการสะท้อนคุณภาพผู้เรยี น 3. ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชั้นเรียน และควรมี วธิ ีการหรอื แนวทางในการดำเนนิ การเพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ดังนี้ (ด้านกระบวนการ) 3.1 นักเรียน : เห็นว่าเด็กๆ ควรได้รับความสำคัญจากโรงเรียนมากขึ้น เนื่องจาก ข่าวสารข้อมูลหรือกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนมักรับรู้ได้ช้ากว่านักเรียนหลักสูตรปกติ ควรมีการ คัดเลือกนักเรียน EP อย่างละเอียดเพื่อให้ได้ผู้เรียนที่มีความพร้อมและความสนใจในหลักสูตรน้ีอย่าง แท้จริง ควรพจิ ารณาคณุ สมบัตขิ องอาจารยผ์ สู้ อนที่มีความเขา้ ใจ ใส่ใจในการดูแลนักเรยี น และส่ือสาร

220 กับนักเรียนด้วยภาษาสุภาพ ควรเพิ่มแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในโรงเรียน ดังคำกล่าวของนักเรียนที่ให้ สัมภาษณว์ า่ “อยากให้เด็ก English Program เปน็ ที่สนใจมากขึ้น เนื่องจากบางงาน EP มักจะโดนเมินเฉย และมกั จะได้รับขา่ วสารลา่ ชา้ กว่าหอ้ งปกตแิ ละมกั โดนวา่ ว่าไม่ร้เู รื่อง” “ควรมกี ารคัดเลอื กนักเรยี นทั้ง EP และห้องธรรมดาอย่างละเอียดกว่านี้” นกั เรยี นท่ีเรยี นหลกั สูตร EP ควรเปน็ ผู้ทมี่ ีความพร้อมและความสนใจจรงิ ๆ” “อยากให้เปลย่ี นอาจารย์สอนในบางรายวิชา” “อาจารยค์ วรดูแลเด็กๆ ให้ดีกว่าน้ี และมีทัศนคติดีตอ่ นักเรยี น อาจารย์บางคนพดู ดูถูกนักเรียน และไมม่ ีความยุตธิ รรมกบั นักเรียน มีการเลือกปฏบิ ตั ิ” “แหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ ในโรงเรียนมีนอ้ ยมาก” “ควรเพิม่ ห้องดนตรีสากลเพราะมหี ลายวง” “ควรพัฒนา EP ก่อนทีจ่ ะเพิ่มหอ้ งเรยี น เน่ืองจากยังไมม่ ีความพร้อมท้ังดา้ นบุคลากรและสถานที่” 3.2 ผู้ปกครอง : เห็นว่าโรงเรียนควรกำหนดเป้าหมายของนักเรียนหลกั สูตร EP ให้ ชัดเจนว่าแตกต่างจากหลักสูตรปกติของโรงเรียนอย่างไร ความพร้อมของอาจารย์ผู้สอน เช่น ความสามารถในการสอน คุณลักษณะที่เป็นมิตรของอาจารย์ผู้สอน กระบวนการพิจารณาคุณสมบัติ ของอาจารย์ชาวต่างชาติที่สอน การเลือกหนังสือเรียน สื่อ-อุปกรณ์การสอนทุกประเภทและ หลากหลายท่ีจะช่วยให้นักเรียนมีความเข้าใจและนำไปใช้ได้จริง รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์การเรียนและ ความกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นรูข้ องนกั เรียนด้วย 3.3 อาจารย์และผู้บริหาร : ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตรไปใช้ เห็นว่าอาจารย์ควรสามารถใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้มากขึ้น ในแต่ละรายวิชา และถ้านักเรียนเป็นผู้ที่มีความพร้อมและสนใจด้านภาษาจริง ๆ เข้ามาเรียนจะช่วย ให้นักเรียนได้เรียนรู้ได้ดีและรวดเรว็ มากขึ้น ดังนั้นแนวทางในการดำเนินการให้เกิดประสิทธิผลสูงสดุ ต่อนักเรียน ควรต้องเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการอาจารย์ผู้สอน ให้มีความสามารถในการจัด กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยเนน้ การใช้สือ่ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ 3.4 ผู้ทรงคุณวุฒิ : เห็นว่าปัจจัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตร สถานศึกษาสู่ชั้นเรียน คือ การสร้างความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน และการมีเจตคติที่ดีต่อ หลักสูตร นักเรียน อาจารย์ และผู้บริหาร ต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียน เนื่องจากเป็นการสอนโดยอาจารย์ชาวต่างชาติเป็นหลัก ดังนั้น โรงเรียนควรมีการบริหารจัดการ ความรู้ที่เป็นระบบโดยมีการแลกเปลี่ยนเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง มีระบบการ ช่วยเหลือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักเรียน การส่งเสริมให้นักเรียนได้มองเห็นเส้นทางใน อนาคตของตนเองหรือการค้นพบตนเองรวมทั้งการเห็นคุณค่าของตนเองจะเป็นแรงจูงใจที่ดีสำหรับ การเรยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นเพ่อื กา้ วสกู่ ารเรียนในระดับท่ีสูงข้ึน สรปุ ปัจจัยสำคัญที่จะชว่ ยขบั เคลื่อนการนำหลักสตู รสถานศึกษาสูช่ ้นั เรียน ประกอบด้วย คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนที่มีความเข้าใจ ใส่ใจในการดูแลนักเรียน และสื่อสารกับนักเรียนด้วย

221 ภาษาสุภาพ เป็นมิตรกับนักเรียน สามารถใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ การสร้างความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน และการมีเจตคติที่ดีต่อหลักสูตร นักเรียน อาจารย์ และผ้บู ริหาร ตอ้ งมคี วามรู้ความเข้าใจเร่ืองการนำหลักสูตรสู่ช้ันเรียน คณุ สมบัติของอาจารย์ ชาวต่างชาติที่สอน หนังสอื เรียน สื่อ-อุปกรณ์การสอนทุกประเภทและหลากหลายทจี่ ะชว่ ยให้นักเรียน มีความเข้าใจและนำไปใช้ได้จริง โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนอย่าง ต่อเนื่อง มรี ะบบการชว่ ยเหลอื ทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการพฒั นานกั เรียน และควรสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนได้ มองเหน็ เสน้ ทางในอนาคตของตนเองหรือการค้นพบตนเองรวมท้ังการเห็นคณุ คา่ ของตนเอง 4. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” เพื่อให้ครูสามารถพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนสู่เป้าหมายของหลักสูตรได้สำเร็จ ตามองค์ประกอบคือ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและประเมนิ ผล และปัจจยั สนับสนุนดังน้ี (ด้านกระบวนการ) 4.1 นักเรียน : เห็นว่าโรงเรียนควรพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกและเทคโนโลยีที่ จำเป็นต้องใช้ในการเรียน ที่นั่งพักผ่อนของนักเรียนที่เพียงพอ ให้ความสำคัญและจัดกิจกรรมให้ นกั เรียน EP ไดแ้ สดงออกบนเวทมี ากข้นึ และใหน้ กั เรียนสามารถใชโ้ ทรศัพท์ทีโ่ รงเรียนได้อสิ ระมากขึ้น เน่ืองจากบางคร้ังจำเป็นต้องค้นควา้ จาก Website เพ่ือทำงานส่งอาจารยใ์ ห้ทนั 4.2 ผู้ปกครอง : ขึ้นอยู่กับทางโรงเรียนจะเห็นสมควร แต่นักเรียน EP ควรมีความ มัน่ ใจในการพดู ภาษาอังกฤษอย่างเป็นธรรมชาติ ไมเ่ ขินอาย และสามารถอ่านเขียนได้เพ่ือเป็นพ้ืนฐาน ในการศกึ ษาต่อของนักเรยี น และใหผ้ ู้ปกครองไดเ้ หน็ พฒั นาการด้านภาษาของนักเรยี นได้ชดั เจน 4.3 อาจารย์และผู้บริหาร : เห็นว่าควรพัฒนาหลักสูตรเพื่อส่งเสริมสมรรถนะของ ผู้เรียน ที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะทั้ง Hard Skills และ Soft Skills ทักษะการคิดขั้นสูง ได้แก่ คิด วิเคราะห์ สามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อน และสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง มี ความสามารถในการวิพากษ์และวิจารณ์ สามารถปรับตัวเขา้ กับการเปลีย่ นแปลงได้ มีความฉลาดทาง อารมณ์ มภี าวะความเป็นผูน้ ำ 4.4 ผทู้ รงคุณวฒุ ิ : มคี วามเห็นเช่นเดยี วกบั หลักสตู รปกติ ดังน้ี 1) หลกั การ 1.1) ให้ความสำคัญกับ Growth mindset ในการพัฒนาหลักสูตรท่ี คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และบคุ ลากรทุกฝ่ายมสี ่วนร่วมในการพฒั นาหลักสูตรท่ใี ห้ความสำคัญกับ คณุ ภาพผเู้ รยี นด้านต่าง ๆ 1.2) พัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน ใน ลักษณะ Personalized learning และใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ ร่วมกับการ เรยี นรแู้ บบ Creative Team Learning 2) วัตถุประสงค์ 2.1) เพือ่ พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาท่ตี อบสนองธรรมชาตแิ ละความต้องการ ของผู้เรียน เสริมสรา้ งคณุ ภาพผูเ้ รยี นแบบบรู ณาการ

222 2.2) เพ่ือพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้ท่สี อดคลอ้ งกบั ผู้เรียน 2.3) เพื่อพัฒนาชุมชน ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตร และการเรียนรู้ของครูใน โรงเรียน 3) กระบวนการ 3.1) การกระตุ้น Growth mindset และ Passion ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน การพฒั นาหลักสตู ร 3.2) การถอดบทเรยี น จดุ แขง็ และจุดทค่ี วรปรับปรงุ หลักสตู รเดมิ 3.3) การกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของ สังคมในอนาคต 3.4) การดำเนินการพัฒนาหลักสูตรที่มีความเป็นนวัตกรรม Curriculum innovation ตอบสนองเป้าหมายคณุ ภาพผเู้ รยี น 3.5) การใช้หลักสูตรแบบวิจัยเป็นฐาน ที่มีการประเมินและปรับปรุงอย่าง ตอ่ เนอ่ื งตามวงจร Plan Do Check Reflection 4) การวัดและประเมินผล 4.1) การประเมินคุณภาพการจัดการเรยี นรขู้ องผู้สอนอยา่ งต่อเน่อื ง 4.2) การประเมินคุณภาพของผู้เรียนอยา่ งต่อเนอื่ ง 4.3) การสะท้อนผลการประเมนิ และนำไปปรับปรุงหลกั สตู ร 4.4) การถอดบทเรยี นนวตั กรรมหลกั สูตรและการเรียนรูข้ องโรงเรยี น 5) ปัจจัยสนบั สนนุ 5.1) การสนบั สนนุ เชงิ วิชาการของผูบ้ ริหารทง้ั ระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับโรงเรียน 5.2) Growth mindset ของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ 5.3) การสนบั สนุนจากชุมชน องคก์ รภาครฐั และเอกชน 5.4) ทรัพยากรหลกั สูตรและการจัดการเรยี นรู้ 5.5) งบประมาณในการดำเนนิ การ 5.6) การได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง สรุปโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและ พัฒนาการศึกษาควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” เพื่อให้ครูสามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ เป้าหมายของหลักสูตรได้สำเร็จ ตามองค์ประกอบ 5 ด้าน โดยหลักการ คือ การพัฒนาหลักสูตรโดย เน้นการมีส่วนร่วมเชิงสร้างสรรค์ ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน โดยใช้ Technology เปน็ Platform ของการเรยี นรู้ ร่วมกับการเรยี นร้แู บบ Creative Team Learning เพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนทุกด้าน สร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้บุคลากร วัตถปุ ระสงค์ คอื เพ่ือพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาทต่ี อบสนองธรรมชาตแิ ละความต้องการของผู้เรียน พัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และคุณธรรมและจริยธรรมตามที่สังคม

223 ต้องการ กระบวนการ ประกอบด้วย การกระตุ้น Growth mindset และ Passion ของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการพฒั นาหลักสูตร สร้างความเข้าใจร่วมกันและถอดบทเรียน กำหนดเป้าหมายคุณภาพ ผู้เรียนและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ จัดทำรายละเอียดตามองค์ประกอบหลักสูตร นำหลักสูตร ไปใช้ ตดิ ตาม และตรวจสอบความถกู ตอ้ งและเหมาะสมเพ่ือปรบั ปรุงและแก้ไข ประเมินผลและรบั รอง หลักสูตร การวัดและประเมินผล ไดแ้ ก่ การประเมินคณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้ของผ้สู อนและคุณภาพ ของผู้เรียน การสะท้อนผล และการถอดบทเรียน และปัจจัยสนับสนุน ประกอบด้วย การสนับสนุน เชิงวิชาการของผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับโรงเรียน การสร้างขวัญและ กำลังใจของผู้บริหารและความรว่ มมือในการนำหลกั สูตรไปใชข้ องอาจารย์ 5. คุณลักษณะของครูและนักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ควรมีลักษณะ ดงั น้ี (ดา้ นผลผลติ ) 5.1 นกั เรยี น : คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ คือ อยากให้อาจารย์สอนเก่งๆ ใจดี ไม่ดุ ฟัง เหตผุ ลของนกั เรยี น เปน็ กันเอง และจดั การกบั นักเรยี นท่ที ำผดิ ให้จริงจัง ห้องเรียนจะได้ไมว่ ่นุ วาย คุณลักษณะของนักเรียนที่พึงประสงค์ คือ ตั้งใจเรียน รับผิดชอบทำงาน ไม่เอา เปรยี บเพื่อน และเข้าใจผูอ้ น่ื 5.2 ผู้ปกครอง : คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ คือ ดูแลเอาใจใส่เด็กทุกคน เข้าใจเด็ก พัฒนา เทคนคิ การสอนให้นา่ สนใจ ประเมินผลอยา่ งเป็นธรรมตรวจสอบได้ มีความยตุ ธิ รรม เข้าสอนตรงเวลา มอบหมายงานให้ชัดเจน และเปน็ คนมเี หตุผล คุณลักษณะของนักเรียนที่พึงประสงค์ คือ เป็นคนดี ขยันและรับผิดชอบ กล้า แสดงออก มีความสามารถในการเรยี น พฒั นาความคิด และมที กั ษะชวี ิต 5.3 อาจารย์และผู้บริหาร : คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ คือ รักการเรียนรู้และชอบค้นหาสิ่งใหม่ ๆ มี ทักษะการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง มีทักษะอ่านใจผู้เรียน มีความชำนาญในการจัดการ เรียนรู้และใช้เทคโนโลยี มีทักษะด้านการวิจัย มีทักษะในการพัฒนานวัตกรรม มีคุณธรรมจริยธรรม และมจี ิตอาสา คุณลักษณะของนักเรียนที่พึงประสงค์ คือ มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม กล้าแสดงออกในสิ่งท่ีดี มีจิตอาสา ปฏบิ ัตติ นตามระเบยี บของโรงเรียน สามารถปรับตัวและ ยอมรับการเปลี่ยนแปลง สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นคนที่มีเหตุผล เป็นนักคิด ชอบค้นคว้าหา ความรู้ มที กั ษะในการทำงานเป็นทีม มที ักษะในการส่ือสาร มคี วามเขา้ ใจในตนเองและผอู้ ่นื 5.4 ผทู้ รงคุณวฒุ ิ : คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ คือ เป็นคนที่นักเรียนไว้วางใจ มีความพร้อม ในการพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอยู่เสมอ ใจกว้าง มีภาวะผู้นำ มีความสามารถในการทำวิจัย มี ปฏิสัมพนั ธท์ ด่ี ีตอ่ นักเรยี นและบุคคลที่เกยี่ วขอ้ ง มจี ิตเมตตา และเอือ้ เฟื้อเผอื่ แผ่

224 คุณลักษณะของนักเรียนที่พึงประสงค์ คือ รู้จักแสวงหาความรู้อยู่เสมอ เข้าใจ ผู้อื่น รู้จักการเป็นผู้ให้และผู้รบั ที่ดี มีความกตัญญู อดทน เข้มแข็ง มีความรับผิดชอบ มีความสามารถ ในการเลือกใช้เทคโนโลยใี หเ้ กิดประโยชน์ และรักการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ สรุปคุณลักษณะของครูทีพ่ ึงประสงค์ของโรงเรียนควรเป็นบุคคลท่ีสอนเก่ง ดูแลเอาใจ ใส่ มีเหตุผล มีความยุติธรรม รักการเรียนรู้ มีทักษะการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง มีทักษะ ด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม มีคุณธรรมจริยธรรมและมีจิตอาสา มีความพร้อมในการพัฒนา วิชาชีพให้ทนั สมยั อย่เู สมอ ใจกวา้ ง มภี าวะผ้นู ำ มีปฏิสมั พนั ธ์ทดี่ ีและเอ้ือเฟือ้ เผ่อื แผ่ สำหรับนักเรียนท่ี พึงประสงค์ของโรงเรียนควรมีความรับผิดชอบ เข้าใจตนเองและผู้อื่น กล้าแสดงออกในสิ่งที่ดี มีจิต อาสา ปฏิบัติตนตามระเบียบของโรงเรียน มีเหตุผล มีความกตัญญู อดทน เข้มแข็ง เป็นนักคิด รู้จัก แสวงหาความรู้อยู่เสมอ มีทักษะในการทำงานเป็นทีม มีทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการ เลอื กใช้เทคโนโลยีใหเ้ กิดประโยชน์ และรกั การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต 6. หลักสูตรสถานศึกษาฯ แห่งนี้ สามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความต้องการ ของสถาบันที่จะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ และอาจารย์มีการเผยแพร่ผลงาน หรือให้บรกิ ารวิชาการดงั นี้ (ด้านผลกระทบ) 6.1 นักเรียน : พฒั นาไดต้ รงแต่ยงั ไม่มีแผนการเรยี นท่ชี อบในระดบั มัธยมศึกษาตอน ปลาย และถ้าจบหลกั สตู ร EP แล้วโรงเรยี นกไ็ ม่มีหลักสูตรนี้ต่อในระดบั ม.ปลาย ซึ่งก็จำเปน็ ตอ้ งเลอื ก เรียนเท่าที่โรงเรยี นเปิดสอน แต่มีนักเรียนบางคนไม่ต้องการที่จะเรียนต่อในหลักสูตร EP แล้ว เพราะ รสู้ ึกวา่ ไมถ่ นดั ด้านภาษา โรงเรียนควรมกี ารต่อยอดหลักสตู รโดยควรใหน้ ักเรยี นมีทางเลือกในแผนการ เรยี นท่ีตรงกบั ความต้องการและความถนัดของนกั เรียนแตล่ ะคน 6.2 ผปู้ กครอง : คดิ ว่าหลักสูตรสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความ ต้องการของมหาวิทยาลัยที่จะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อ แต่นักเรียน EP ที่จบม.3 ส่วนใหญ่สามารถ เรียนต่อในชั้นม.4 ของโรงเรียนได้จนจบม.6 และสอบเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยได้ สำหรับอาจารย์ ไม่ทราบว่ามีการเผยแพร่ผลงานหรือไม่ แต่เห็นว่ามีอาจารย์บางท่านเท่านั้นที่ให้บริการวิชาการแก่ สถาบนั อนื่ ๆ บา้ ง 6.3 อาจารย์และผู้บรหิ าร : หลักสูตรสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรยี นได้ตรงตาม ความต้องการของสถาบันที่จะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ สังเกตได้จากร้อยละ 100 ของนักเรียนที่สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยท่ีต้องการได้ และนักเรียนม.3 ของหลักสูตร EP เรียนต่อ ในชั้นม.4 ของโรงเรียน โดยมีการเลือกเรียนในแผนการเรียนที่แตกต่างกันไป ควรสร้างแรงจูงใจให้ อาจารยไ์ ดเ้ ห็นความสำคัญของการพัฒนาการสอนและทำวิจัย และสง่ เสริมให้มเี ผยแพร่ผลการวิจัยให้ เปน็ ท่ปี ระจกั ษ์ 6.4 ผู้ทรงคุณวุฒิ : นักเรียนมโี อกาสดีที่ไดร้ บั โควตาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลายท่นี ัง่ และมขี อ้ มูลการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของนักเรยี น 100% สำหรบั อาจารย์ควรมีการ พัฒนางานแบบ Routine to Research โดยทำการสอนควบคกู่ ับการทำวจิ ัยไปพร้อม ๆ กนั เพือ่ ผลิต และเผยแพร่ผลงานโดยสามารถเขียนบทความวิจัยและเผยแพร่ผ่านวารสารต่าง ๆ ได้ หรืออาจเลือก

225 การนำเสนอผลงานในงานสัมมนาทางวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อใช้ในการทำผลงาน ทางวิชาการของตนเองได้ โรงเรียนควรส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงาน และ กระตุ้นให้อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมท้ังให้บริการวิชาการแกเ่ พื่อนร่วมวิชาชพี ทั้งในและนอกโรงเรยี นมากขน้ึ สรุปหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา สามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความต้องการของสถาบันที่รับ นักเรียนเข้าศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ แต่นักเรียนท่ีจบหลักสูตร EP ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้วโรงเรียนไม่มีหลักสูตรน้ีให้นักเรียนได้เลือกเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนจึง จำเป็นต้องเลือกเรียนในแผนการเรียนเท่าที่โรงเรียนเปิดสอนในหลักสูตรปกติโดยอาจมีนักเรียนทั้งท่ี ชอบและไม่ชอบแผนการเรียนที่มีให้เลือก และอาจารย์ของโรงเรียนจำนวนน้อยกว่าละ 50 ที่มีการ เผยแพร่ผลงานหรือใหบ้ ริการวชิ าการ ดงั น้ันโรงเรยี นควรพิจารณาการเปิดโปรแกรมการศึกษาต่อของ นกั เรียนหลกั สตู ร EP ในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นอกจากนี้ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ มีการเผยแพร่ผลงาน และกระตุ้นให้อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัด กจิ กรรมแลกเปลีย่ นเรียนรรู้ วมทง้ั ให้บริการวชิ าการแกเ่ พ่อื นรว่ มวิชาชพี ท้ังในและนอกโรงเรียนมากข้ึน ผู้วิจัยนำผลการประเมินหลักสูตรจากตอนที่ 1 สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาใน ปัจจุบัน และความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ตอนที่ 2 ผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) และตอนที่ 3 ผลการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา มา สังเคราะห์ร่วมกัน โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติและหลักสูตร English Program ให้ได้ภาพรวมของ แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยนำเสนอตามองค์ประกอบ CIPPI Model ของการประเมิน หลักสูตร 5 องคป์ ระกอบ ดังตารางท่ี 22

226 ตารางที่ 22 ผลการสงั เคราะห์ปัญหาและแนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลักสูตรโร และพฒั นาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ของการประเมนิ หลักสูตรโดยใช้ CIPPI Model ข้อ ปัญหา ขอ้ 1. ดา้ นบริบท (Context : C) ปกติ สังเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ผูอ้ ำนวยกา 1.1 ตัวชี้วดั บางขอ้ วดั ได้ยาก 1.1 1.2 ตัวชี้วัดที่ปรับปรุงใหม่แล้วยังมจี ำนวนมาก 1.2 1.3 ครูวิทยาศาสตร์ไม่สามารถสอนบูรณาการ STEM ตามที่หลักสูตรกำหนด 1.3 แนวทางไวไ้ ด้ 1.4 โครงสร้างเวลาเรียนในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา มีการ 1.4 กำหนดเวลาเรียนจำนวนมาก ทำให้สถานศึกษาไม่สามารถจัดรายวิชาเรียน ตามจุดเน้นได้เทา่ ท่ีควร 1.5 การนำหลักสูตรไปใช้ โดยครูยังไม่สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ไปถึง 1.5 เป้าหมายของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 ได้ครบถว้ น ซึ่งเกิดจากความไมพ่ ร้อมใน การปฏิบัติหนา้ ท่ี ไม่เข้าใจหลักสูตร และจัดการเรียนการสอนและประเมนิ ผล ไมต่ รงตามมาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั ไมม่ เี ครือ่ งมือสะทอ้ นผลลพั ธก์ ารบรรลเุ ป้าหมาย ในการพัฒนาคณุ ภาพนักเรียน นักเรยี นควรได้รบั การพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อ การนำไปใชศ้ ึกษาตอ่ ในระดบั มหาวทิ ยาลยั มากกวา่

รงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย 226 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) หลกั สตู รปกติ จำแนกตามองค์ประกอบ 5 ด้าน แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสูตร ารโรงเรยี นสาธติ 4 โรงเรยี น (จากตอนที่ 1) ควรปรับขอ้ ความเน้นเปน็ พฤตกิ รรมทน่ี กั เรียนแสดงออกไดช้ ัดเจน ควรปรับลดจำนวนตัวชี้วัดให้เหลือเท่าที่จำเป็นที่สามารถสะท้อนความรู้ ทักษะ และ คุณลักษณะที่จำเป็นของนักเรียนในชีวิตจริง และควรปรับการเรียนการสอนในวิชา หนา้ ท่พี ลเมืองในรูปแบบบูรณาการกบั รายวิชาอื่น โรงเรียนควรบริหารใหค้ รูผู้สอนสามารถสอนบูรณาการ STEM ได้ ควรมกี ารแนะนำการ เลอื กสอ่ื หรอื หนงั สอื เรยี นให้เหมาะสมกับวยั ของนกั เรยี น หลักสตู รแกนกลางฯควรปรับสดั ส่วนให้สถานศึกษาสามารถจัดรายวิชาเรยี นตามจุดเน้น ได้มากขึ้น ควรให้สถานศึกษามีอิสระในการออกแบบหลักสูตรไดอ้ ย่างแท้จริง หลักสูตร ควรตอบสนองนักเรียนแต่ละคน และควรมีรูปแบบการประเมินที่หลากหลายและเน้น ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 1) ควรสร้างแรงจูงใจให้ครูได้รับการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการ ประเมินผลที่ส่งเสริมทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ และพัฒนาเครื่องมือประเมินท่ี สะท้อนผลลัพธ์การบรรลุเป้าหมายของหลกั สูตร 2) ควรทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจน ร่วมกัน นำหลักสูตรไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการติดตามผลการใช้ หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนา สถานศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook