296 กัน แนวทางการปรับปรุงและพัฒนาคือ ห้องเรียนควรมีสภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ควรมีห้องบริการ สบื คน้ ขอ้ มลู ด้วยระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ท่ีเหมาะสมและทันสมยั ควรมีกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ กับชุมชน และชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน หนังสือและสื่อ วัสดุอุปกรณ์ท่ี นักเรียนใช้เรียนยังไม่ค่อยมีใช้ประกอบการเรียน ควรพิจารณาคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนที่มีความ เขา้ ใจ ใสใ่ จในการดูแลนักเรยี น และส่ือสารกบั นักเรยี นดว้ ยภาษาสุภาพ ควรเพม่ิ แหล่งเรยี นรู้ต่างๆ ใน โรงเรียน ควรมกี ารกำหนดเป้าหมายของนักเรียนหลักสูตร EP ใหช้ ัดเจนวา่ แตกต่างจากหลักสูตรปกติ ของโรงเรียนอย่างไร ความพร้อมของอาจารย์ผู้สอน คุณสมบัติของอาจารย์ชาวต่างชาติที่สอน และ ความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ของนักเรียน โรงเรียนควรจัดหลักสูตรที่ให้ผู้ปกครองได้พัฒนาด้าน ภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการพูดสื่อสารเพื่อจะได้สามารถพูดคุยกับลูกเป็นภาษาอังกฤษที่บ้านได้ด้วย ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตรไปใช้ คือ ความสามารถของอาจารย์ในการใช้ส่ือ เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ใหม้ ากขน้ึ ในแต่ละรายวชิ า ปัจจยั สำคัญที่จะ ช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชั้นเรียน คือ การสร้างความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ ร่วมกัน และการมีเจตคติที่ดีต่อหลักสูตร เนื่องจากเป็นการสอนโดยอาจารย์ชาวต่างชาติเป็นหลัก ดังนั้น โรงเรียนควรมีการบริหารจัดการความรู้ที่เป็นระบบโดยมีการแลกเปลี่ยนเพ่ือการพัฒนาการ เรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง มีระบบการช่วยเหลือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักเรียน การ สง่ เสริมให้นกั เรียนไดม้ องเหน็ เสน้ ทางในอนาคตของตนเองหรือการค้นพบตนเองรวมท้งั การเห็นคุณค่า ของตนเองจะเป็นแรงจูงใจที่ดีสำหรับการเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพ่ื อก้าวสู่การเรียนใน ระดับที่สูงขึ้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าการให้บริการของเจ้าหน้าที่ใช้ภาษาสื่อสารที่ไม่เป็นกัลยาณมิตร กับนักเรียน ทำให้นักเรียนรู้สึกไม่ประทับใจ บางรายวิชาอาจารย์ผู้สอนไม่มีความเชี่ยวชาญ หรือไม่ เตรียมอุปกรณ์สำหรับนักเรียนให้ทั่วถึง ทำให้นักเรียนเข้าใจว่าโรงเรียนมีอุปกรณ์ไม่เพียงพอ นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่ควรได้รับการพัฒนา ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ การกำหนดเป้าหมายของนักเรียน หลักสูตร EP คุณสมบัติของอาจารย์ชาวต่างชาติ การพัฒนาภาษาอังกฤษของผู้ปกครองเพื่อความ พร้อมในการดูแลนักเรียน กิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณก์ ารเรียนรู้ซึ่งกนั และกนั การใชป้ ระโยชน์จากหนังสอื เรยี น ปญั หาดังกล่าวทงั้ หมดจะเป็น กุญแจสำคัญต่อการออกแบบหลักสูตรที่โรงเรียนควรนำประเด็นไปสังเคราะห์ร่วมกัน ทำให้เกิดองค์ ความรู้นำไปพฒั นาหลกั สูตรไดเ้ หมาะสมและกา้ วทันการเปลย่ี นแปลง 3.8 ด้านกระบวนการ (Process)ปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาด้าน กระบวนการ ที่ควรได้รับการแก้ไขและปรับปรุงในประเด็นเกี่ยวกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นควรสะท้อน ความสามารถและความถนัดของนักเรียนและควรมีความหลากหลายเพื่อให้นักเรียนได้ค้นพบตนเอง กิจกรรมการเรียนรู้ควรเน้นให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์และลงมือปฏิบัติจริง ด้านการบริหารจัดการ หลักสูตรโรงเรยี นควรมที ศิ ทางการพัฒนานักเรียนหลักสูตร EP ทช่ี ัดเจน ควรเพมิ่ ความเข้มข้นของการ ให้บริการแนะแนวตามเวลาที่นักเรียนว่างจากการเรียน ทุกรายวิชาควรให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการ ทำจรงิ จะได้เข้าใจและจำได้ ควรมชี มรมใหน้ ักเรยี นเลือกเรยี นหลากหลายมากขึน้ หรอื อาจให้นักเรียน เปิดชมรมเองตามที่สนใจ พัฒนานักเรียน EP ให้มีความเป็นผู้นำ นอกจากนี้โรงเรียนควรมี “รูปแบบ การพัฒนาหลักสูตร” ท่มี เี ป้าหมายให้นักเรียนหลกั สตู ร EP มคี วามม่ันใจในการพดู ภาษาอังกฤษอย่าง เป็นธรรมชาติ และสามารถอ่านเขียนได้เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อของนักเรียน ควรพัฒนา
297 หลกั สตู รเพ่อื สง่ เสริมสมรรถนะของผูเ้ รียน ทเ่ี น้นให้ผเู้ รียนเกิดทักษะท้ัง Hard Skills และ Soft Skills ทักษะการคิดขั้นสูง และสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียนควร ประกอบด้วย 1) หลักการ คือ ให้ความสำคัญกับ Growth mindset ในการพัฒนาหลักสูตรท่ี คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และบุคลากรทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วมในการพฒั นาหลกั สตู รที่ใหค้ วามสำคญั กบั คณุ ภาพผเู้ รียนด้านต่างๆ และพฒั นาหลกั สูตรใหต้ อบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน ในลักษณะ Personalized learning และใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ ร่วมกับ การเรียนรู้แบบ Creative Team Learning 2) วัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่ ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน เสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนแบบบูรณาการ เพื่อ พัฒนานวัตกรรมการเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกับผู้เรยี น และเพือ่ พัฒนาชุมชน ผ้นู ำนวตั กรรมหลักสูตร และ การเรียนรูข้ องครใู นโรงเรียน 3) กระบวนการ โดยการกระตุ้น Growth mindset และ Passion ของ ผ้มู สี ่วนเกีย่ วข้องในการพฒั นาหลักสูตร การถอดบทเรียน จดุ แข็ง และจุดท่ีควรปรับปรุงหลักสูตรเดิม การกำหนดเปา้ หมายคุณภาพผูเ้ รียนที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสงั คมในอนาคต การดำเนินการ พัฒนาหลักสตู รทม่ี ีความเป็นนวัตกรรม Curriculum innovation ตอบสนองเปา้ หมายคณุ ภาพผูเ้ รียน การใช้หลักสูตรแบบวิจัยเป็นฐานที่มีการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามวงจร Plan Do Check Reflection 4) การวัดและประเมินผล โดยการประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของผู้สอน อย่างต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง การสะท้อนผลการประเมินและนำไป ปรบั ปรงุ หลกั สูตร และการถอดบทเรียนนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ของโรงเรียน และ5) ปัจจัย สนับสนุน ได้แก่ การสนับสนุนเชิงวิชาการของผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับ โรงเรียน Growth mindset ของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การสนับสนุนจากชุมชน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ทรัพยากรหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ งบประมาณในการดำเนินการ และการได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า โรงเรียนมีการจัดการเชิงระบบในการพัฒนาหลักสูตรยังไม่ชัดเจน โดยเฉพาะด้านการบริหารจัดการ หลักสูตรซึ่งสามารถสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอนได้อย่างต่อเนื่องโดยเน้น ให้นักเรียนพัฒนาตนเอง และครูที่ต้องการการพัฒนาด้านวิชาชีพในโรงเรียนในรูปแบบ PLC โดยมี การแลกเปล่ียนเรยี นรู้และมีระบบการจัดการความรู้อยา่ งเป็นรูปธรรม การจัดการเรยี นรู้ต้องคำนงึ ถงึ ความสามารถของผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล และควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลกั สตู ร” เพื่อใชเ้ ป็นแนวทาง ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกนั ทกุ ประเดน็ 3.9 ด้านผลผลิต (Product) ปัญหาและแนวทางการพฒั นาและปรับปรุงหลกั สูตร สถานศึกษาด้านผลผลิต ประกอบด้วยประเด็นเกี่ยวกับ ความสามารถตามคุณลักษณะของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ตามเป้าหมายของหลักสูตร ความมุ่งมั่นในการเรียน การทำงาน และกล้าแสดงออก ในทางที่ถูกต้องเหมาะสม การมีบุคลิกภาพที่ดีตามเป้าหมายของหลักสูตรในด้านการเรียนรู้อย่างมี ความสุข การเป็นที่ยอมรับของผู้อื่น การช่วยเหลือ โอบอ้อมอารี สื่อสาร และใฝ่เรียนรู้สิ่งใหม่ นอกจากนี้พบวา่ คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรเป็นบุคคลที่สอนเก่ง ดูแลเอาใจ ใส่ มีเหตุผล มีความยุติธรรม รักการเรียนรู้ มีทักษะการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง มีทักษะ ด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม มีคุณธรรมจริยธรรมและมีจิตอาสา มีความพร้อมในการพัฒนา วิชาชพี ใหท้ นั สมัยอยู่เสมอ ใจกวา้ ง มภี าวะผู้นำ มีปฏิสมั พนั ธท์ ีด่ ีและเอ้ือเฟื้อเผอ่ื แผ่ สำหรบั นักเรียนท่ี
298 พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรมีความรับผิดชอบ เข้าใจตนเองและผู้อื่น กล้าแสดงออกในสิ่งที่ดี มีจิต อาสา ปฏิบัติตนตามระเบียบของโรงเรียน มีเหตุผล มีความกตัญญู อดทน เข้มแข็ง เป็นนักคิด รู้จัก แสวงหาความรู้อยู่เสมอ มีทักษะในการทำงานเป็นทีม มีทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการ เลือกใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ และรักการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากนักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารและครู ผู้ทรงคุณวุฒิ มีความคาดหวังต่อพัฒนาการการเรียนรู้ของนักเรยี นโดยใช้ ภาษาองั กฤษในการเรยี นการสอน ให้มที ักษะการคดิ และทักษะในศตวรรษท่ี 21 มคี วามรอบรู้ กล้าคิด กลา้ แสดงออก เปน็ คนดมี คี ณุ ธรรม มีนำ้ ใจ มีจติ อาสา และมภี าวะผ้นู ำ ดังน้นั ครูจงึ ควรมี Passion ใน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้นักเรียนสามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวนั ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง และมีกิจกรรมให้นักเรียนร่วมกันคิดและทำเพื่อให้นักเรยี นได้ ฝึกฝนตนเองอยา่ งสมำ่ เสมอ 3.10 ด้านผลกระทบ (Impact) ปัญหาหลักสูตรสถานศึกษาในประเด็นเรื่อง ความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบันของนักเรียน โรงเรียนยังไม่มีหลกั สูตร EP ให้นักเรียนศึกษาต่อ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงจำเป็นต้องเลือกเรียนเท่าที่โรงเรียนเปิดสอน ในขณะที่มีนักเรียน บางคนไม่ต้องการที่จะเรียนต่อในหลักสูตร EP เพราะรู้สึกว่าไม่ถนัดด้านภาษา การเผยแพร่ผลงาน หรือให้บริการวิชาการของอาจารย์มีจำนวนยังไม่ถึงครึ่งหนึ่งของอาจารย์ทั้งหมดในโรงเรียน ดังนั้น แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาฯ ควรมีการต่อยอดหลักสูตร EP ในระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายโดยควรใหน้ ักเรียนมที างเลือกในแผนการเรียนทตี่ รงกับความต้องการและความ ถนัดของนักเรียนแต่ละคน โรงเรียนควรมีกิจกรรมที่ให้รุ่นพี่รุ่นน้องได้ทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้นเพ่ือ สร้างความคุ้นเคย โรงเรียนควรสร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาการสอน และทำวิจัย และส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ผลการวิจัยให้เป็นที่ประจักษ์ อาจารย์ควรมีการพัฒนางาน แบบ Routine to Research โดยทำการสอนควบคู่กับการทำวิจัยไปพร้อมๆกัน จัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมทั้งให้บริการวิชาการแก่เพื่อนร่วมวิชาชีพทั้งในและนอกโรงเรียนมากขึ้น ทั้งน้ี อาจเนื่องมาจากกิจกรรมหรือโครงการที่โรงเรยี นจัดขึน้ เพื่อเสริมสรา้ งความผูกพันระหว่างนกั เรยี นใน แตล่ ะรุ่นและปลกู จติ สำนึกรกั และภูมใิ จในสถาบนั ของตนเองน้ัน ยังไม่ช่วยให้นกั เรียนเกดิ ความรู้สึกรัก และภาคภูมิใจต่อสถาบันของตนเองได้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ จุฑารัตน์ ทิพย์บุญทรัพย์ และ ศศิธร โรจน์สงคราม (2560: 64-66) เรื่อง การศึกษาความผูกพันของนักศึกษาต่อวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของนักศึกษาต่อวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยพบว่าความผูกพันตอ่ อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และเพื่อนส่งผลต่อความผูกพันของ นักศึกษาในภาพรวม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 ส่วนความผูกพนั ต่อรุ่นพี่รุ่นน้องส่งผลตอ่ ความผกู พนั ของนกั ศกึ ษาในภาพรวมอย่างมีนยั สําคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั .01 จากผลการศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาตาม องคป์ ระกอบของการประเมินหลกั สูตร 5 ดา้ น ทพ่ี บทั้งหลกั สตู รปกตแิ ละหลักสูตร English Program สรุปเป็นแนวทางในการพัฒนาหลกั สูตรได้ คือ สถานศึกษาควรบูรณาการการพัฒนาคุณภาพนักเรยี น ควบคูก่ บั การพฒั นาสมรรถนะการนำหลักสตู รสู่การปฏบิ ัตใิ นชน้ั เรียนของอาจารย์ มรี ะบบการติดตาม ให้ความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องเพื่อการพัฒนา พลิกโฉมรูปแบบการจัดการเรียนรู้และการวัดและ
299 ประเมินผลที่ท้าทายบนความเปลี่ยนแปลงแบบ Disruption โดยคำนึงถึงปัจจัยความสำเร็จในการนำ หลักสูตรฯไปสู่การปฎิบัติ คือ Growth mindset และ Passion ของบุคลากรทุกฝ่ายในการนำ หลักสูตรไปใช้ในชัน้ เรียนตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร ความรู้ความเข้าใจและทักษะในการออกแบบ นวัตกรรมการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอนที่สามารถตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน และความเข้มแข็งของการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชนและผู้ปกครอง โดยมีการกำหนด นโยบายการใชห้ ลักสูตรใหช้ ัดเจน ตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรท่ีพฒั นาข้ึน นำร่องการใช้หลักสูตร ตดิ ตาม ประเมินผลและปรบั ปรงุ และกำหนดแนวทางการแก้ไขจากปญั หาทีพ่ บในการพฒั นาหลักสูตร ก่อนการประกาศใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ข้อเสนอแนะในการนำผลการประเมนิ หลักสตู รไปใช้ ผลจากการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพต่อไป คณะผ้วู ิจัยมขี อ้ เสนอแนะสำหรับการปรับปรุงหลกั สูตรดังน้ี 1. จากผลการศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการ ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา สำหรับหลักสูตรปกติและหลักสูตร English Program พบว่า หลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีพฒั นาข้ึนตามกรอบหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มคี วามครบถ้วนและสมบรู ณ์ สามารถรายงานผลการศึกษาของนักเรียนได้ ตามทีก่ ระทรวงศึกษาธิการกำหนดทกุ ประเด็น มีแนวทางให้ครไู ดน้ ำไปกำหนดเนื้อหาสาระท่ีใช้ในการ จดั การเรยี นการสอน This Curriculum aim to benefit the learners to the fullest and to be a well-rounded individual in the future. แต่มีสิ่งที่ควรแก้ไข/ปรับปรุง คือ The most important thing “mastery”. We try to know more but master only a few. ตัวชี้วัดบางข้อ วัดได้ยาก ควรปรับข้อความเน้นเป็นพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกได้ชัดเจน เป้าหมายของหลักสูตร ยังไม่มีกระบวนการหรือเครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่สะท้อนถึงการบรรลุเป้าหมายของ หลักสูตร จดุ เนน้ ของหลักสูตรยงั ไม่ชัดเจนและเพียงพอ การนำหลกั สตู รสู่ชั้นเรียนควรต้องสร้างความ เข้าใจร่วมกัน ขาดการบริหารจัดการรายวิชาบูรณาการ ในระดับประถมศึกษาควรจัดให้มีการเรียน การสอนรายวชิ าภาษาจนี และในระดบั มัธยมศึกษาควรมีอาจารย์พเิ ศษมาให้ความรู้และประสบการณ์ กับนักเรียน สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาที่ควรต้องเร่งแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาคือ there are some of the learning indicators that should be specifically designed for a certain level are missing so sometimes it leads to the problem about making a syllabus. การนำหลกั สตู รไปใช้โดยครไู มส่ ามารถพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนให้ไปถงึ เป้าหมายของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ได้ครบถ้วน ซึ่งเกิดจากความไม่พร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่เข้าใจหลักสูตร การจัดการเรียนการ สอนและประเมินผลไม่ตรงตามมาตรฐาน/ตวั ชี้วัด การเรียนการสอนยึดเนื้อหาเป็นหลัก ไม่มีวิธีการที่ จะทำให้ทราบว่าคุณภาพนักเรียนบรรลุเป้าหมายตามที่หลักสูตรแต่ละระดับการศึกษากำหนด และ
300 ความต้องการประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษา พบวา่ มีความต้องการจำเปน็ มากทจี่ ะต้องมีการประเมิน หลักสูตรเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา ดังนั้น ผู้บริหารโรงเรียนโดยเฉพาะคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ และอาจารย์ผู้สอนควรใหค้ วามสำคัญกับการทบทวนหลักสูตรหรือประเมินหลักสูตรในทุกปีการศึกษา เพื่อวิเคราะห์ตัวชี้วัดและนำมากำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัด พฤติกรรมนักเรียนได้ ชัดเจน การสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับเป้าหมายของหลักสูตรโดยมุ่งเน้นการพัฒนาพฤติกรรม ของนักเรียนทั้งด้านการเรียนควบคู่กับการพัฒนาคุณธรรม-จริยธรรม การนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียน การ พัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพให้อาจารย์มีความเข้าใจร่วมกันถึงความจำเป็นและสามารถจัดการเรียน การสอนและประเมินผลได้เหมาะสมตรงตามมาตรฐาน/ตัวช้ีวดั และผลการเรียนรู้ ตลอดจนการพัฒนา เคร่ืองมือและกระบวนการวัดและประเมินผลท่สี ะท้อนถึงการบรรลุเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษา 2. จากผลการประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษาในภาพรวมและเป็นรายด้าน 5 ด้าน ที่พบว่า หลักสูตรปกติในภาพรวมนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง และมีความ คิดเห็นในด้านผลกระทบอยู่ในระดับมาก โดยนักเรียนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง ส่วนอาจารย์ผู้สอนเห็นว่าอยู่ในระดับมาก ความคิดเห็นตามองค์ประกอบของการ ประเมินหลักสูตรมีลำดับของความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน 1 ด้าน คือ ด้านผลผลิต อยู่ในลำดับที่ 3 นักเรียนมีความคิดเห็นในด้านผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการเป็นลำดับที่ 5 ส่วน อาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นในด้านบริบทเป็นลำดับที่ 1 และด้านผลกระทบเป็นลำดับที่ 5 ดังนั้น ผู้บริหารและอาจารย์ผู้สอนควรมีการชี้แจงทำความเข้าใจกับนักเรียนในเรื่องเกี่ยวกับหลักสูตร สถานศึกษาโดยเฉพาะด้านกระบวนการซึ่งนักเรียนอาจไม่ได้รับทราบข้อมูลการดำเนินงานหรืออาจ ไม่ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือเห็นว่ายังมีบางส่วนที่ไม่สมบูรณ์และไม่เป็นไปตามความต้องการของ นักเรียน เช่น การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายและคำนึงถึงความสามารถของผู้เรียนเป็น รายบคุ คล การลงมอื ปฏิบัตจิ ริง การใหโ้ อกาสนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการ วัดและประเมินผล การสะท้อนความสามารถและความถนัดของนักเรียนผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และจากผลการประเมินตามองคป์ ระกอบของการประเมนิ หลักสูตร 5 ดา้ น โดยหลกั สตู รปกติที่พบว่า ดา้ นบรบิ ท (Context) ประเดน็ ทม่ี คี า่ เฉลี่ยของระดบั ความคิดเห็นของนักเรียนมากท่ีสุดคือ โรงเรียน ได้พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ช่วยให้นักเรียนมีทักษะ พื้นฐานที่จำเป็นในการศึกษารายวิชาตามความถนัดและความสนใจ รายวิชาและกิจกรรมการเรียน การสอนในโรงเรียนช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถ และทักษะด้านการอ่าน เขียน คิด คำนวณ และน้อยที่สุดคือ เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละรายวิชาในภาพรวมมีความเหมาะสม นักเรียน สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน รายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนช่วย ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะชีวิตและเข้าใจอาชีพ และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของ อาจารย์มากที่สุด คือ โครงสร้างหลักสตู รระดับมัธยมศกึ ษา ซึ่งประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน มีความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขั้น พื้นฐาน พ.ศ.2561 กิจกรรมและประสบการณ์ในระดับปฐมวัย (อ.1-3) ส่งเสริมให้เด็กมีบุคลิกภาพ 5 ด้าน และมีความสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) และน้อยที่สุด การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผู้เรียน สอดคล้องกับเป้าหมายของ หลักสูตรแต่ละระดับการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาทีเ่ น้นผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ (DOE Thailand)
301 รายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นมสี มรรถนะในการเป็นผู้รว่ มสร้างสรรค์นวัตกรรม ผลการตรวจสอบองคป์ ระกอบและคุณภาพหลักสตู รสถานศึกษาในภาพรวมมีคณุ ภาพอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความเหมาะสมของรายวิชาในภาพรวมและรายวิชาเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) มี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในภาพรวม กิจกรรมลูกเสือ และ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ดังนั้น โรงเรียนควร เพิ่มกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นให้นักเรียนลงมือปฏิบัติและสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวนั ลดเวลาเรียน จัดการเรียนการสอนเต็มเวลาและไม่ต้องให้มีการบ้าน เพิ่มจำนวนคาบเรียนวิชา เทคโนโลยี พลศกึ ษา และดนตรี ปรับเวลาเรียนใหห้ มาะสมไม่มากเกนิ ไป ให้มีเวลาทำกจิ กรรมมากขึ้น ควรมีแผนการเรียนที่เน้นด้านอาชีพโดยนำหลักสูตรในมหาวิทยาลัยมาทดลองใช้เพื่อให้นักเรียนมี ทางเลอื กท่ีเหมาะสมกับตนเองและหลากหลายมากขึ้น ควรมวี ิชาเลือกหรือชมรมเพ่ือให้นักเรียนเลือก เรียนตามต้องการ และให้มีระบบการแนะแนวที่เข้มข้นเพื่อให้เด็กได้รู้เส้นทางและเตรียมความพร้อม สำหรับตนเอง ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของนักเรียน มากที่สุดคือ ผู้ปกครองส่งเสรมิ นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมจากในชัน้ เรียนโดยยินดีให้นักเรยี น เข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียนทุกกิจกรรม มีห้องสมุดให้บริการหนังสืออย่างเพียงพอกับความ ต้องการของนักเรียน และน้อยที่สุดคือ เจ้าหน้าที่ มีความพร้อมในการให้บริการ สนับสนุน และ อำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลุเป้าหมายของงาน มีกิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียนหรือ บุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ส่วนอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ ในระดับมากที่สุดคอื อาจารย์ผู้สอนไดส้ อนในรายวิชาที่ตรงกับคุณวุฒิและความเชี่ยวชาญ มีหนังสือ/ ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนผู้เรียน และน้อยที่สุดคือ ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียน มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนและ ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ดังนั้นอาจารย์และเจ้าหน้าที่ควรเป็นต้นแบบที่ดี ให้แก่นกั เรียน มคี วามยุตธิ รรม ใหค้ วามเสมอภาค ให้ความเปน็ มติ รกับนักเรียน มีหนังสือและอุปกรณ์ ประกอบการสอนให้พร้อม อนุญาตให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีประกอบการเรียนได้ เพิ่มเครื่อง คอมพิวเตอรท์ ่ีทันสมัยในห้องสมุด มรี ะบบการตรวจสอบการใหบ้ รกิ ารของงานธุรการ ร้านอาหารและ ร้านค้าของโรงเรียน ทุกรายวิชาควรมีหนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการเรียน และมีกิจกรรม บูรณาการในรายวิชาตา่ ง ๆ ให้มากขนึ้ ดา้ นกระบวนการ (Process) ประเด็นทมี่ ีค่าเฉลีย่ ของนกั เรียน ระดับความคิดเห็นมากที่สุด เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และน้อย ที่สุดคือ มีการจัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ประเด็นที่มีค่าเฉล่ีย ของระดับความคิดเห็นของอาจารย์มากที่สุด มีการพิจารณาอาจารย์ผู้สอนรายวิชาให้เหมาะสมกับ ความรคู้ วามสามารถและคุณวุฒิ มกี ารวัดและประเมินผลอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการเรียนการสอน และนอ้ ยทีส่ ุดคือ โรงเรียนและชุมชนมีการจัดกจิ กรรมรว่ มกันเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง จัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดังนั้น อาจารย์ผู้สอน ควรจัดการ เรียนการสอนที่ส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยอาจมีการตั้งคำถามชวนคิด มากกว่าคำถามทั่วไปเพื่อส่งเสรมิ ศักยภาพด้านการคิด ควรจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้พบกับเพื่อนต่าง โรงเรียนมากขึ้น ส่งเสริมกิจกรรมการแสดงความสามารถของนักเรียนทุกสัปดาห์ มอบหมายงานให้ เหมาะสมกบั วัยของนักเรียน สอนนอกเหนือจากทีห่ นังสือมี ควรมกี ิจกรรมค่ายเพื่อสร้างความสัมพันธ์
302 ทด่ี ีระหว่างรนุ่ พ่ีร่นุ น้องและเพื่อนตา่ งโรงเรียน ควรออกแบบการจัดงานปจั ฉิมนิเทศให้รู้สึกผูกพันและ ประทับใจ ควรดูแลและควบคุมเด็กโดยใช้หลักจิตวิทยา และควรมีการส่งเสริมการเรียนสำหรับ นกั เรียนทีม่ ีความสามารถพิเศษ ด้านผลผลติ (Product) ประเด็นทม่ี ีค่าเฉลยี่ ของระดับความคิดเห็น ของนักเรียนมากทีส่ ดุ คือ นกั เรียนมีสมรรถนะสำคญั บรรลุตามวัตถุประสงคห์ ลักสตู ร (ความสามารถใน การสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใช้ทักษะชวี ติ และการใชเ้ ทคโนโลยี) และน้อยท่ีสุดคือ นักเรียน มกี ระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ ประเด็นที่มีคา่ เฉลี่ยของระดับความคดิ เหน็ ของอาจารย์มากท่ีสุด ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ (3R) ตามเป้าหมายของหลักสูตร และน้อยที่สุดคือ ผู้เรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ดังนั้น การนำหลักสูตรรายวิชาและ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไปใช้ในชั้นเรียน ควรเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนให้สามารถทำงานอย่าง เป็นระบบและทำงานเป็นทีมได้ เห็นคุณค่าของการทำงานร่วมกัน และรู้จักการแก้ปัญหาเพ่ือ ความสำเรจ็ ของผลงาน ดา้ นผลกระทบ (Impact) นกั เรียนมคี วามคิดเห็นอยู่ในระดับมากในประเด็น ทมี่ ีคา่ เฉลี่ยมากท่ีสุดคือ นักเรยี นท่จี บการศึกษาจากโรงเรยี นประสบผลสำเรจ็ ในการศึกษาต่อในระดับ ที่สูงขึ้น และน้อยที่สุดคือ นักเรียนมีความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบัน ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของ ระดับความคิดเห็นของอาจารย์มากที่สุดคือ ผู้ที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของ สถาบันการศึกษาทงั้ ในและตา่ งประเทศ และน้อยท่ีสดุ คอื อาจารย์ผสู้ อนมกี ารเผยแพรผ่ ลงานวิชาการ งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นโรงเรียนควรมีกิจกรรมสำหรับอาจารย์ นักเรียนรุ่นพี่รุ่นน้องที่เป็น ประเพณีเพื่อสร้างความรักความผูกพันต่อสถาบันอย่างต่อเนื่อง และผู้บริหารควรสนับสนุนสร้าง แรงจูงใจและช่วยเหลือให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงานวิชาการและงานวิจัยอย่างต่อเนื่องมากขึ้น สำหรับหลักสูตร English Program มีผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา โดยนักเรียนกับอาจารย์ ผู้สอนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมสอดคล้องกันอยู่ในระดับมาก ความคิดเห็นตาม องค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นในดา้ นผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการเป็นลำดบั ที่ 5 ส่วนอาจารยผ์ ู้สอนมีความคิดเหน็ ในด้านกระบวนการเป็นลำดับที่ 1 และดา้ นปจั จัยนำเขา้ เป็นลำดับท่ี 5 ซ่ึงไม่สอดคล้องกัน ดงั นัน้ ผูบ้ ริหารและอาจารย์ผู้สอนควรมีการ ชี้แจงทำความเข้าใจกับนักเรียนในเรื่องเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษาโดยเฉพาะด้านกระบวนการซึ่ง นักเรียนอาจไม่ได้รับทราบข้อมูลการดำเนินงานหรืออาจไม่ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือเห็นว่ายังมี บางสว่ นทไ่ี ม่สมบรู ณ์และไม่เปน็ ไปตามความต้องการของนักเรียน เชน่ การจดั การเรยี นรู้ด้วยวิธีการท่ี หลากหลายและคำนึงถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล การลงมือปฏิบัติจริง การให้ ความสำคัญและให้โอกาสนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการวัดและประเมินผล การสะท้อนความสามารถและความถนัดของนักเรียนในรายวิชาหรือกิจกรรมเสริมหลักสูตร และผล การประเมินตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตร 5 ด้าน ที่พบว่า ด้านบริบท (Context) ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของนักเรียนมากที่สุดคือ การจัดการศึกษาของโรงเรียนมี ความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันตั้งแต่ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา รายวิชาและกิจกรรมการเรียนการ สอนในโรงเรยี น ช่วยส่งเสรมิ ให้นักเรียนมีคุณลกั ษณะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความสามารถใน การคิดไตร่ตรอง คิดแกป้ ัญหา มที ักษะการทำงานร่วมกัน มที ักษะการสื่อสาร มคี วามรอบรู้ทางข้อมูล สารสนเทศและทางดิจิทัล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่ได้ และน้อยที่สุดคือ เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละรายวิชาในภาพรวมมีความเหมาะสม นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้จริงใน
303 ชีวิตประจำวัน รายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมีสมรรถนะในการเปน็ พลเมืองท่ี เข้มแข็ง ได้แก่ มีความรักชาติ รักท้องถิ่น มีจิตอาสา มีอุดมการณ์ มีความยุติธรรม และใช้ทรัพยากร อย่างรู้คุณค่า ประเดน็ ทมี่ ีค่าเฉล่ียของระดับความคิดเห็นของอาจารย์มากท่ีสุดคือ โครงสร้างหลักสูตร ระดับประถมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีความ เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2561 กิจกรรมและ ประสบการณ์ในระดับปฐมวัย (อ.1-3) ส่งเสริมให้เด็กมีบุคลิกภาพ 5 ด้าน และมีความสามารถทาง ปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) และน้อยที่สุด คอื หนว่ ย/แผนการจดั การเรยี นรมู้ คี วามเหมาะสม ถกู ตอ้ ง มอี งค์ประกอบครบถว้ น และมีข้นั ตอนของ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามแนวคดิ Active Learning ทส่ี ะทอ้ นผลลัพธ์ทพ่ี งึ ประสงคข์ องการศึกษา (DOE Thailand) ในมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้เรียนรู้ ผลการตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลกั สตู ร สถานศึกษาในภาพรวมพบว่า หลักสูตร English Program มีคุณภาพอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกับ หลักสตู รปกติ ดังนน้ั ผู้บริหารด้านวชิ าการและอาจารย์ผ้สู อนควรร่วมกันพิจารณารายวิชาและกิจกรรม พฒั นาผ้เู รยี นทีเ่ นน้ สมรรถนะในการเป็นพลเมืองทเ่ี ขม้ แขง็ ของนักเรียน โดยให้นกั เรียนสามารถปฏิบัติ ได้จรงิ และสร้างแรงจงู ใจใหอ้ าจารย์ผ้สู อนเหน็ ความสำคัญของการเขียนหน่วย/แผนการจดั การเรียนรู้ ที่สะท้อนผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของ ระดับความคิดเห็นของนักเรียนมากที่สดุ คือ ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียน การสอนของโรงเรียน มีวัสดอุ ุปกรณ์การเรียน ส่อื และเทคโนโลยีในชัน้ เรยี นเพอ่ื ชว่ ยให้นกั เรียนเรียนรู้ ไดด้ ขี ึ้น และน้อยทีส่ ุดคือ เจ้าหนา้ ท่ีมีความพร้อมในการใหบ้ ริการ สนบั สนนุ และอำนวยความสะดวก เพื่อการบรรลุเป้าหมายของงาน มีกิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของอาจารย์มาก ที่สุดคือ อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาที่ตรงกับคุณวุฒิและความเชี่ยวชาญ มีการจัดสรร งบประมาณเพื่อใช้ในโครงการหรือกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเพียงพอ และน้อยที่สุดคือ ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียน มีกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้กับชุมชน และชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ดังนั้นอาจารย์และเจ้าหน้าท่ี ควรเป็นต้นแบบที่ดีให้แก่นักเรียน มีทัศนคติที่ดีและให้ความเป็นมิตรกับนักเรียน ควรเพิ่มความ ละเอียดในการดูแลเด็กให้ปรับตัวสำหรับการเรียน ทุกรายวิชาควรมีหนังสือเรียนหรือเอกสาร ประกอบการเรียน และมีกิจกรรมบูรณาการในรายวิชาต่าง ๆ ผู้บริหารควรสนับสนุนและส่งเสริมให้ บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านวิชาชีพกับสถาบันอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมี กิจกรรมแลกเปล่ียนประสบการณ์การเรียนรู้ระหว่างนกั เรียนต่างสถาบนั โดยจดั กจิ กรรมให้นักเรียนได้ พบกับเพื่อนต่างโรงเรียนมากขึ้น และกิจกรรมระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองและชุมชน ด้าน กระบวนการ (Process) ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของนักเรียนมากที่สุดคือ มีการ จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และน้อยที่สุดคือ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนช่วยสะท้อน ความสามารถและความถนัดของนักเรยี นไดด้ ี ประเด็นท่ีมีค่าเฉลย่ี ของระดับความคดิ เหน็ ของอาจารย์ มากที่สุดคือ มีการพิจารณาอาจารย์ผู้สอนรายวิชาให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและคุณวุฒิ จัดการเรียนรู้โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และน้อยที่สุดคือ มีระบบการนิเทศ ติดตาม เพื่อให้
304 คำแนะนำ ช่วยเหลือ (การพัฒนาวิชาชพี ) เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอน และ จัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดังนั้น อาจารย์ผู้สอน ควรจัดการ เรียนการสอนที่ส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสริมกิจกรรมการแสดง ความสามารถของนักเรียนทุกสัปดาห์ และผู้บริหารควรจัดโครงการพัฒนาวิชาชีพครูที่เน้นการนิเทศ แบบกัลยณมิตรเพื่อช่วยเหลือและให้คำแนะนำในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตามเป้ าหมายของ หลักสูตร ด้านผลผลิต (Product) ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของนักเรียนมากที่สดุ คือ นักเรียนมีความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน และน้อยที่สุดคือ นักเรียนมีความสามารถตาม คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (7C) ตามเป้าหมายของหลักสูตร ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของ ระดับความคิดเห็นของอาจารย์มากที่สุดคือ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร และน้อยที่สุดคือ ผู้เรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ดังนั้น EP will be a training ground or home to learners of the 21st century. They are critical thinkers, creative and knows how to collaborate with others to arrive very satisfactorily at a given goal and also very capable of communicating their know league and skills using traditional and contemporary media. และการนำหลกั สูตรรายวชิ าและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไป ใช้ในชั้นเรียน อาจารย์ผู้สอนควรเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนให้สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ และทำงานเป็นทีมได้ เห็นคุณค่าของการทำงานร่วมกัน และรู้จักการแก้ปัญหาเพื่อความสำเร็จของ ผลงาน ด้านผลกระทบ (Impact) ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของนักเรียนมากที่สุด คือ โรงเรียนมีชื่อเสียงและเป็นผู้นำในด้านการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งในระดับ ปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และน้อยที่สุดคือ นักเรียนมีความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อ สถาบัน ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของอาจารย์มากที่สุดคือ โรงเรียนเป็นที่ยอมรับ ของผู้ปกครอง ชุมชน และสังคม และน้อยที่สุดคือ อาจารย์ผู้สอนมีการเผยแพร่ผลงานวิชาการ งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นโรงเรียนควรมีกิจกรรมสำหรับอาจารย์ นักเรียนรุ่นพี่รุ่นน้องที่เป็น ประเพณีเพื่อสร้างความรักความผูกพันต่อสถาบันอย่างต่อเนื่อง และผู้บริหารควรสนับสนุนสร้าง แรงจูงใจและช่วยเหลือใหอ้ าจารย์มีการเผยแพร่ผลงานวชิ าการและงานวจิ ยั อยา่ งต่อเน่อื งมากขึ้น 3. จากผลการศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตร 5 ด้าน หลักสูตรปกติ ด้านบริบท ที่พบว่า รายวิชา พื้นฐานมีเวลาเรียนจำนวนมากไม่สามารถจัดรายวิชาเรียนตามจุดเน้นได้เท่าที่ควร ครูยังไม่สามารถ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ไปถึงเป้าหมายของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ครบถ้วน และไม่มีเครื่องมือ สะท้อนผลลัพธ์การบรรลุเปา้ หมายในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ด้านปัจจัยนำเข้า ที่พบว่า มีความ ไมพ่ รอ้ มในการใหบ้ ริการของเจา้ หน้าที่ ความเช่ียวชาญและประสบการณ์ของอาจารยผ์ ูส้ อนขาดความ เข้าใจเรือ่ งหลักสูตร และขาดการมีสว่ นร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ด้านกระบวนการ ที่พบว่า ขาด ระบบการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีความต่อเนื่อง ขาดความชัดเจนในเรื่องระบบการนิเทศติดตาม การจัดการความรู้ และการสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อการพัฒนา รวมทั้งรูปแบบการ พัฒนาหลักสตู รเพื่อนำสู่การปฏบิ ัติจริงของทุกฝ่ายท่ีเกีย่ วข้อง ด้านผลผลิต ที่พบว่า มีปัญหาเกีย่ วกบั การเรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นทีม ความรู้ความสามารถและคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และนักเรียนส่วนใหญ่ขาดสมรรถนะในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน และด้านผลกระทบ มีข้อกังวลคือ
305 ความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบันของนักเรียน และการเผยแพร่ผลงานวิชาการและงานวิจัยของ อาจารย์ที่มีจำนวนไม่ถึงครึ่งหนึ่งของอาจารย์ในโรงเรียน แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษา ทำได้โดยควรปรับโครงสร้างเวลาเรียนให้สามารถจัดรายวิชาเรียนตามจุดเน้นได้มากขนึ้ สถานศึกษาควรมีอิสระในการออกแบบหลักสูตรได้อย่างแท้จริง ควรสร้างและพัฒนาเครื่องมือ ประเมินที่สะท้อนผลลัพธ์การบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ปรับปรุงวสิ ยั ทัศน์ของหลักสูตรใหเ้ น้นการ จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม เพิ่มเติมการคิดขั้นสูง กำหนด Creative Based, Technology Based ไว้ในกรอบแนวคิดหลักสูตร ร่วมกับ Project Based และ Career Based โดยเน้น Competency Based และแนวทางการจัดหลักสูตรควรเน้นการบูรณาการ เชิงสร้างสรรค์ (Creative Integration) ให้มากขึ้น อาจารย์และเจ้าหน้าที่ควรเป็นต้นแบบที่ดีให้ นักเรียน การเรียนการสอนควรเนน้ ปฏบิ ตั ิมากกว่าทฤษฎี มีการจัดการความรู้ร่วมกนั อย่างต่อเน่ือง มี ระบบการพัฒนาวิชาชีพครูแบบพลิกโฉมเพื่อก้าวทันการเปลี่ยนแปลง และมี “รูปแบบการพัฒนา หลักสูตร” ที่ช่วยให้ผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาหลักสูตร และที่สำคัญที่สุดคือ การสร้างความเข้าใจร่วมกันอย่างกัลยาณมิตรของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สำหรับหลักสูตร English Program ด้านบริบท ที่พบว่า การนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียน อาจารย์ผู้สอนส่วนหนึ่งไม่ทราบถึง เป้าหมายและขาดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนมีลักษณะเป็น แบบแยกส่วน ส่วนใหญจ่ ดั การเรียนการสอนโดยยึดเนื้อหาเป็นหลัก ดา้ นปัจจยั นำเขา้ ท่ีพบว่าปัญหา คือ คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ความเป็นกัลยาณมิตรของเจ้าหน้าที่ในการให้บริการ การกำหนด เป้าหมายของหลักสูตร EP ให้ชัดเจน ด้านกระบวนการ มีปัญหาคือ ขาดระบบการบริหารจัดการ หลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนยังไมส่ ะท้อนความสามารถและความถนัดของนักเรยี นเพ่ือให้นักเรียน ได้ค้นพบตนเอง กิจกรรมการเรียนรู้ไม่ได้เน้นให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์และลงมือปฏิบัติจริง การ ให้บริการแนะแนวไม่ตรงกับช่วงที่นักเรียนว่างจากการเรียน และนักเรียนยังขาดความเป็นผู้นำ ด้าน ผลผลิต มีปัญหาคือ ความสามารถตามคุณลักษณะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 และการมีบุคลิกภาพ ที่ดีตามเป้าหมายของหลักสูตร และด้านผลกระทบ มีข้อกังวลคือ ความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อ สถาบันของนักเรยี น โรงเรยี นยงั ไมม่ ีหลักสูตร EP ใหน้ ักเรยี นศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และการเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการของอาจารย์มีจำนวนยังไม่ถึงครึ่งหนึ่ งของอาจารย์ใน โรงเรียน แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ทำได้โดย ควรสร้างแรงจูงใจให้ครู ได้รับการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลที่ส่งเสริมทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ทส่ี อดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงทางการศึกษาแบบหกั ศอก (Disruption) พฒั นาเครอ่ื งมอื ประเมิน ที่สะท้อนผลลัพธ์การบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มีการติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมนิ หลักสตู รไปใช้ในการจดั ทำแผนพฒั นาสถานศึกษา เชญิ ผู้ปกครองและชุมชนเข้า มามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาในกิจกรรมพิเศษของโรงเรียน มีการจัดการความรู้ที่เป็นระบบและ ต่อเนื่อง ส่งเสริมให้นักเรียนได้ค้นพบและเห็นคุณค่าของตนเอง ควรเพิ่มความเข้มข้นของการให้บริ การแนะแนวตามเวลาที่นักเรียนว่างจากการเรียน และพัฒนานักเรียน EP ให้มีความเป็นผู้นำ ทั้งนี้มี ปจั จยั สำคัญทีจ่ ะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชั้นเรยี น คือ การสรา้ งความเข้าใจในการ จัดการเรียนรู้ร่วมกัน และการมีเจตคติที่ดีต่อหลักสูตร จากผลการศึกษาปัญหาและแนวทางการ พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
306 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตร 5 ด้านที่เป็นข้อค้นพบ ข้างต้น ดังนั้นโรงเรียนจึงควรมีระบบการบริหารจัดการหลักสูตรที่ชัดเจนและครอบคลุมทุก องค์ประกอบของหลักสูตร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแสวงหาวิธีการใหม่ ๆ ที่ตอบสนองความ ต้องการของผู้เรียนและสังคม ส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ได้พัฒนาการเรียนการสอนอย่าง ต่อเนื่อง มีระบบการช่วยเหลือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักเรียน มีการส่งเสริมให้นักเรียนได้ มองเห็นเส้นทางในอนาคตของตนเองหรือการค้นพบตนเองรวมทั้งการเห็ นคุณค่าของตนเองจะเป็น แรงจูงใจที่ดีสำหรับการเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือก้าวสู่การเรียนในระดับที่สูงข้ึน เรียนรู้ อย่างสรา้ งสรรค์และเรยี นรู้ตลอดชีวิต ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจยั คร้ังตอ่ ไป 1. ควรมีการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการศึกษาโดยจำแนกตามกลมุ่ วิชา 2. ควรมีการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการศึกษาโดยกำหนดขอบเขตการประเมินตามมาตรฐานการศึกษา 3. ในกระบวนการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ควรกำหนดวัตถุประสงค์ของการ ประเมินหลักสูตรเก่ยี วกับการนำผลการประเมนิ มาเสนอรูปแบบการพฒั นาหลักสตู รเพอ่ื ความเป็นเลิศ ด้านคุณภาพผู้เรียนตามเป้าหมายของหลักสูตร และควรมีขั้นตอนการวิพากษ์หลักสูตรโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผบู้ รหิ าร ผู้สอน ผูป้ กครอง และนกั เรียน 4. ควรมีการวิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศ โดยนำ ผลการวิจัยประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ จิ ัยและพฒั นาการศกึ ษา มาใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา
307 รายการอ้างอิง คมสัน ตรไี พบูลย์ และคณะ. (2558). การประเมนิ หลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑิต (หลกั สตู ร 5 ป)ี สาขาวชิ าการสอนคณิตศาสตร์ (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย บูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา, 26(3), กันยายน-ธันวาคม, 41-52. ฆนทั ธาตทุ อง. (2550). การพฒั นาหลกั สูตรท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . จนั ทิวา เตจะ๊ , นพพร ธนะชัยขนั ธ์, และสุดาพร ปัญญาพฤกษ์. (2560). การประเมินหลักสตู ร สถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ โรงเรียนแม่ลาววทิ ยาคม อำเภอแม่ลาว จังหวัด เชียงราย. วารสารบัณฑติ วจิ ัย, 8(1), มกราคม-มิถุนายน, 45-56. จิรภทั ร เพช็ รมงคล. (2555). การประเมินหลักสตู รวชิ าวิทยาการทหาร (งานนิพนธ์หลกั สูตรรัฐศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจดการทรัพยากรเพอื่ ความม่ันคง คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร). ชลบุรี: มหาวิทยาลยั บรู พา. จริ าวดี พวงจันทร.์ (2554). การบริหารจดั การหลักสูตรสถานศึกษา ระดบั สถานศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 (วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญาศึกษาศาสตร มหาบณั ฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. จฑุ ารัตน์ ทิพย์บุญทรัพย์, และศศิธร โรจนส์ งคราม. (2560). การศึกษาความผกู พนั ของนักศึกษาต่อ วทิ ยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหดิ ล. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 4(1), มกราคม– มถิ ุนายน, 56-69. ใจทพิ ย์ เช้อื รตั นพงษ์. (2539). การพฒั นาหลักสูตร : หลกั การและแนวปฏบิ ัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์อลนี เพลส. ชญากาณฑ์ ขนั ธ์แกว้ . (2560). การประเมินหลักสตู รการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู ร กระทรวงศึกษาธกิ ารเปน็ ภาษาอังกฤษ โรงเรยี นสาธิต มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ (วิทยานพิ นธ์ หลกั สตู รครุศาสตรม์ หาบัณฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษอังกฤษ). ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร.์ ชวลิต ชกู ำแพง. (2551). การพัฒนาหลกั สตู ร. มหาสารคาม: สำนักพมิ พ์มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ไชยยศ ไพวิทยศิรธิ รรม. (2550). การพฒั นารปู แบบการประเมินหลักสูตร: การประยกุ ต์ใช้การ ประเมินอภิมาน (ปริญญานพิ นธก์ ารศกึ ษาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าการวิจัยและพัฒนา หลกั สตู ร บณั ฑิตวทิ ยาลยั ). กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. ฐติ กิ า เสนาจิตต์ และจุฑามณี ตระกูลมุทุตา. (2560). สภาพการดำเนินงานตามโครงการจดั การเรยี น การสอนตามหลกั สูตรกระทรวงศึกษาธกิ ารเปน็ ภาษาอังกฤษ (Mini English Program : MEP) : กรณศี ึกษา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา จังหวัดสงขลา. วารสารวชิ าการ มหาวิทยาลัยธนบรุ ี, 11(24), มกราคม–เมษายน, 74-80.
308 ฐติ มิ า นิติกรวรากลุ . (2553). การประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั บ้านโปง่ สามัคคคี ณุ ูปถัมภ์ จังหวัดราชบรุ ี ช่วงชัน้ ที่ 3-4 โดยใช้รปู แบบการประเมนิ CIPP Model (วิทยานิพนธป์ รญิ ญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. ทศิ นา แขมมณ.ี (2545). ศาสตรการสอน. กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั พิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธํารง บัวศร.ี (2542). ทฤษฎีหลกั สูตร : การออกแบบหลักสตู รและพฒั นา. กรุงเทพมหานคร: ธนรัช. นพมณี เชื้อวชั รนิ ทร์ และคณะ. (2558). การประเมินหลกั สูตรการศกึ ษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวชิ าการสอนชวี วทิ ยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(3), กนั ยายน-ธันวาคม, 77-91. นารี อไุ รรกั ษ,์ พชั นี กลุ ฑานันท์, และเบญจพร วรรณปู ถัมภ์. (2562). การประเมินการใช้หลกั สตู ร สถานศึกษา โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ รี มั ย์. วารสารวชิ าการ มหาวิทยาลัย ราชภฏั บรุ ีรมั ย์, 11(1), มกราคม-มิถุนายน, 59-82. เนตรนภา หยมู าก. (2562). การศกึ ษาคุณลักษณะของครทู ีพ่ ึงประสงคต์ ามทศั นะของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 1 (รายงานการวจิ ยั ). สงขลา: โรงเรียนตะเครยี ะวทิ ยาคม. บงกช เอีย่ มชืน่ . (2555). การประเมินหลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ การแพทย์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (วทิ ยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา). กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. บุญชม ศรสี ะอาด. (2546). การพฒั นาการสอน. กรุงเทพมหานคร: สวุ ีริยาสาสน์. ปยิ ะ ศิลากลุ . (2550). การประเมินการบริหารหลักสตู รสถานศกึ ษาตามทัศนะของผู้อำนวยการ โรงเรยี นและครูวิชาการ ในโรงเรียนสงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาบรุ รี มั ย์ เขต 1 (วทิ ยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). บุรรี มั ย์: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ บุรรี มั ย์. พงศป์ ระเสริฐ หกสวุ รรณ และนสุ รา พรี ะพฒั นพงศ์. (2559). การประเมนิ หลักสูตรและความคิดเหน็ ของผใู้ ช้บณั ฑติ : กรณศี ึกษาหลกั สูตรการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษา คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา, 27(1), มกราคม- เมษายน, 49-60. พรทิพย์ ไชยโส, วสนั ต์ ทองไทย, และแมน้ มาศ ลีลสตั ยกุล. (2551). การประเมนิ หลักสูตรปรัชญาดุษฎี บณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา หลักสูตร 5 ปี ภาควิชาการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ ในเรอ่ื งเต็มการประชมุ ทางวชิ าการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครงั้ ที่ 46: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และ บริหารธุรกจิ สาขาส่งเสรมิ การเกษตรและคหกรรมศาสตร์ (น. 89-96). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนกั งานคณะกรรมการอดุ มศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวง เกษตรและสหกรณ;์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ ม; กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร; สำนักงานคณะกรรมการวจิ ัย แหง่ ชาติ;สำนักงานกองทนุ สนับสนนุ การวจิ ยั .
309 มนสั จันทรพ์ วง. (2549). การประเมินหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนสิรนิ ธรราชวทิ ยาลยั จังหวัด นครปฐม โดยใชแ้ นวคิด BALANCED SCORECARD [BSC]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ศิลปากร. doi: 10.14457/SU.the.2006.29 มารุต พัฒผล. (2555). การประเมนิ หลักสตู รเพ่ือการเรยี นรู้และพัฒนา. กรงุ เทพมหานคร: จรลั สนิทวงศ์การพมิ พ.์ มารุต พัฒผล. (2558). การประเมนิ หลักสูตรเพื่อการเรยี นร้แู ละพฒั นา. กรงุ เทพมหานคร: จรัลสนทิ วงศก์ ารพิมพ.์ มาเรยี ม นิลพนั ธุ์ และคณะ. (2554). การประเมนิ หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวชิ าหลักสตู ร และการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (รายงานการวิจัย). นครปฐม: คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. มาเรียม นลิ พันธ์ุ และคณะ. (2556). การประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในโรงเรยี นต้นแบบการใช้หลกั สตู ร (รายงานการวิจยั ). นครปฐม: คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. มาเรยี ม นิลพนั ธุ์. (2553). การประเมินหลักสตู รที่เน้นการตัดสนิ ใจโดยใช้วิธีเชิงระบบโดยใชร้ ปู แบบ CIPP Model. ใน บณั ฑิตวิทยาลัย (บ.ก.), คมู่ ือการประเมินหลกั สตู รระดบั บัณฑติ (น. 30-35). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. มาเรียม นิลพนั ธุ์. (2555). การประเมินหลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลกั สูตรและการ นเิ ทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร (รายงานการวจิ ยั ). นครปฐม: คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. มาเรียม นิลพนั ธ.ุ์ (2558). วิธวี จิ ยั ทางการศึกษา (พิมพ์คร้ังท่ี 9). นครปฐม: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. มนี า ดาวเรอื ง. (2555). การประเมนิ หลักสูตรอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียวและบริการ แขนงวิชาธรุ กจิ การบนิ โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ พ.ศ. 2548 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ . วารสารวิจยั มสด สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์, 8(1), มกราคม–เมษายน, 71-85. รตั นศริ ิ เข็มราช และคณะ. (2558). การประเมินหลักสตู รการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอน ภาษาอังกฤษในฐานะเป็นภาษาโลก (รายงานการวิจยั ). ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา. รัตนะ บัวสนธ.์ิ (2556). รูปแบบการประเมิน CIPP และ CIPPIEST มโนทศั น์ท่ีคลาดเคลื่อนและถกู ต้อง ในการใช้ CIPP and CIPPIEST Evaluation Models: Mistaken and Precise Concepts of Applications. วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตรว์ ิจัย, 5(2), กรกฎาคม- ธันวาคม, 7-24. รจุ ิร์ ภสู่ าระ. (2546). การพัฒนาหลักสตู ร: ตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษา (พิมพ์ครง้ั ที่ 2). กรงุ เทพมหานคร: บคุ๊ พอยท.์ รุจิร์ ภ่สู าระ. (2551). การพัฒนาหลกั สตู รตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: บุ๊ค พอยท.์
310 โรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศกึ ษา. (2560). หลักสูตรโรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ จิ ัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560). ฤดีมาศ ศรสี ขุ . (2557). การประเมนิ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นในฝนั ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี1–6 โดยใชแ้ นวคิดการวดั ผลเชงิ ดลุ ยภาพ (Balanced Scorecard)กรณีศึกษา โรงเรียนราชวินติ บางเขน (การคน้ คว้าอิสระ หลกั สตู รบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบญั ชธี รุ กจิ แบบบรู ณาการ). กรุงเทพมหานคร: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. วิชัย วงษ์ใหญ.่ (2537). กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รและการเรียนการสอนภาคปฏิบตั .ิ กรงุ เทพมหานคร: สุรวี ยิ าสาส์น. วิชยั วงษใ์ หญ่. (2551). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรยี นการสอน. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน์ . วิชัย วงษ์ใหญ.่ (2552). หลกั สูตร. ใน สารานุกรมวชิ าชพี ครูเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยหู่ ัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา (น.469–474). กรงุ เทพมหานคร: สำนักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา. วชิ ัย วงษ์ใหญ.่ (2554). การพฒั นาหลักสตู รระดับอุดมศึกษา (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร: อาร์ แอนด์ปริ้น จำกัด. เวชฤทธ์ิ องั กนะภัทรขจร. (2558). การประเมินหลักสูตรการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการสอน คณติ ศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา, 26(2), พฤษภาคม-สงิ หาคม, 223-235. ศริ ชิ ยั กาญจนวาสี. (2553). การประเมินหลกั สตู ร : หลกั การและแนวปฏบิ ตั ิ. สืบคน้ เมอ่ื วันที่ 25 มกราคม 2563. http://www.edu.tsu.ac.th/major/eva/files/journal/scan1.pdf ศริ วิ รรณ วณิชวฒั นวรชัย. (2559). การจัดการเรยี นรูท่ีเนนความแตกตางระหวางบุคคล. วารสารศึกษา ศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 13(2), 65-75. สงดั อทุ รานันท.์ (2532). พ้ืนฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร (พิมพ์คร้ังที่ 3). กรงุ เทพมหานคร : ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สมหวัง พิธิยานวุ ฒั น.์ (2541). วิธวี ทิ ยาการประเมินทางการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลกั สูตร ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (พิมพ์คร้งั ท่ี 2). กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. สริ าวรรณ จรัสรววี ฒั น์ และคณะ. (2558). การประเมินหลักสตู รการศึกษาบัณฑิต (หลักสตู ร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนภาษาจนี (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2554) คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย บรู พา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา, 26(3), กันยายน-ธนั วาคม, 243-255.
311 สุชาดา สุดจิตร. (2562). คุณลักษณะของอาจารยผ์ ู้สอนตามความคิดเห็นของนกั ศึกษา สถาบนั อดุ มศึกษาระดับปรญิ ญาตรใี นจังหวดั ภเู กต็ . วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลยั เกริก, 37(1), มกราคม–เมษายน, 145-156. สุนีย์ ภพู่ นั ธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและการพัฒนาหลักสตู ร. กรงุ เทพมหานคร: โรง พมิ พ์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สภุ า นลิ พงษ.์ (2554). การประเมินหลกั สตู รโรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ์ พุทธศักราช 2552 (วิทยานิพนธ์ วท.ม. (วทิ ยาการการประเมิน)). กรงุ เทพมหานคร: บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. อรวรรณ จลุ วงษ์. (2555). การศึกษาเชิงคุณภาพเกย่ี วกับความรสู้ กึ ผกู พนั ตอ่ สถาบันการศกึ ษาของ นักเรียนพยาบาลกองทพั บก. วารสารพยาบาลทหารบก, 13(2), พฤษภาคม-สิงหาคม, 18-27. อศิ เรศ พพิ ัฒน์มงคลพร และคณะ. (2556). การประเมนิ หลักสูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการ ประถมศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (รายงานการวจิ ัย). คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. Armstrong. David G. (2003). Curriculum today. New Jersey : Merrill Prentice Hall. Beauchamp, George A. (1981). Curriculum Theory (4th ed.). Illinois: F E Peacock. Bobbitt, Flankin. (1981). The Curriculum. Boston: Houghton Mifflin. Brigman, Greg A. (1992). The Effects of Student Readiness Training on the Listening Comprehension, Attending, and Social Skill of Kindergarten Students (Readiness, Attention). Dissertation Abstracts Intentional, 52(8), February, 2814-A. Cronbach, Lee J. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper and Row. Crow & Crow. (1980). Introduction to Education. New Delhi: Enrage Publishing House. Diamond, Robert. M. (2006). Designing and Assessing Course and Curricular Guide (3rd ed.). United State: Jossey – Bass. Eggert, L.L., Thompson, E.A. Herting, J.R.,Nicolas, L.J.,&Dicker, B.G. (1994). Preventing adolescent drug abuse and high school dropout through an intensive school- based social network development program. American Journal of Health Promotion, 8, 202-215. Eisner, E. (1976). Education Connoisseurship and Criticism : Their Form and Functions in Educational Evaluation. Journal of Aesthetic Education, 10(3), 135. Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: Mcgraw – Hill Book Company. Hammond, Robert, L. (1967). Evaluation at Local Level in Educational Evaluation Theory and Practice. Beiwont Company.
312 Libbey, H. P. (2004). Measuring student relationships to school: Attachment, bonding, connectedness, and engagement. Journal of School Health, 74, 274-283. doi: 10.1111/j.1746-1561.2004.tb08284.x Oliva P.F. (2013). Developing the Curriculum (8th ed.). Boston: Allyn and Bacon. Ornstein, A.C. & Hunkins, F.P. (2004). Curriculum Foundations, Principles and Issues. The United States of America: Pearson Education, Inc. Sowell, E.J. (1996). Curriculum : An Integrative Introduction. United States of America: Merrill. Stake, R. E. (1975). Evaluating the Arts in Education : A Responsive Approach. Columbus, OH: Merrill. Stufflebeam, D. L. (2003). The CIPP model for evaluation. In the international handbook of educational evaluation. Edited by D.L.Stufflebeam and T. Kellaghan. Boston: kluwer Academic Publishers. Stufflebeam, D. L. and other. (1971). Education Evaluation and Decision Making. ltasca, lllinois: Peacock Publisher. Stufflebeam, D. L., & Shinkfield, A. J. (2007). Evaluation: Theory, models and applications. San Francisco: Jossey-Bass. Sweeney, D. (2011). Student–Centered Coaching : A Guide for K–8 Coachers and Principles. California: Corwin Press. Taba, H. (1962). Curriculum Development Theory and Practice. New York : Harcourt, Brace and World. Taba, H. (1996). Curriculum Development : Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace and World Inc. Tomlinson. C. A. (2001). How To Differentiate Instruction in Mix-Ability Classrooms. ASCD. Tyler, R.W. (1969). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago: University of Chicago Press. Wheeler, D.K. (1974). Curriculum Process. London: University of London Press. Wiles, Jon W. (2009). Leading curriculum development (8th ed.). California: Corwin Press. Wiles, Jon W. and Bondi, C. Joseph. (2011). Curriculum development a guide to practice (8th ed.). Boston: Pearson. Worthen, B.R. and Sanders, J.R. (1987). Educational Evaluation: Alternative Approaches and Practical Guidelines. New York: Longman Press.
ภาคผนวก
315 ภาคผนวก ก รายนามผ้เู ชยี่ วชาญพจิ ารณาคุณภาพเคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ยั
316 รายนามผูเ้ ช่ยี วชาญพจิ ารณาคณุ ภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ยั โครงการวจิ ยั “การประเมินหลกั สตู รโรงเรียนสาธติ แห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วจิ ยั และพฒั นาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)” 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพญ็ พนอ พ่วงแพ วฒุ กิ ารศึกษา ปรัชญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน ตำแหน่งงาน อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา สถานที่ทำงาน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ผเู้ ชี่ยวชาญ ดา้ นการเรียนการสอน 2. ดร.พีระพรรณ ทองศูนย์ วฒุ ิการศึกษา ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ตำแหน่งงาน รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา สถานทีท่ ำงาน สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 4 ผเู้ ชยี่ วชาญ ด้านหลกั สูตร 3. ดร.บญุ ยฤทธ์ิ ปิยะศรี วุฒกิ ารศกึ ษา ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน ตำแหน่งงาน ศึกษานเิ ทศก์ วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ สถานท่ีทำงาน สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาชัยภูมิ ผเู้ ช่ียวชาญ ดา้ นหลักสตู ร 4. ดร.พชี ญา พานะกิจ วฒุ ิการศกึ ษา ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน ตำแหน่งงาน อาจารยก์ ล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถานที่ทำงาน โรงเรียนวัดราษฎร์รังสรรค์ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ผเู้ ชย่ี วชาญ ด้านการเรียนการสอน 5. ดร.เอกสทิ ธิ์ ชนนิ ทรภูมิ วฒุ ิการศึกษา ปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน ตำแหน่งงาน อาจารย์กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถานทที่ ำงาน โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลยั ศิลปากร ผูเ้ ชย่ี วชาญ ดา้ นการวดั และประเมินผล
317 ภาคผนวก ข รายนามผ้ทู รงคณุ วุฒสิ ำหรบั การสมั ภาษณ์ ปญั หาและแนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลกั สตู รสถานศกึ ษา
318 รายนามผ้ทู รงคุณวุฒสิ ำหรับการจัดสนทนากลุ่ม แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรุงหลักสตู รสถานศกึ ษา โครงการวจิ ัย “การประเมินหลกั สูตรโรงเรยี นสาธติ แห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)” รองศาสตราจารย์ ดร.วนิ ัย พูลศรี คณบดคี ณะศึกษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์ รองศาสตราจารย์ พ.ต.ท. ดร.ศริ ิพงษ์ เศา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ภายน รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล คณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณา ชนิ สิญจน์ รักษาการแทนหัวหน้าสาขาพหวุ ิทยาการ/ ดร.พีระพรรณ ทองศนู ย์ สหวทิ ยาการ บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ดร.บุญยฤทธ์ิ ปยิ ะศรี ประธานงานฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ศูนย์วจิ ัยและพฒั นาการศึกษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ศรสี ะเกษ เขต 4 ศึกษานิเทศก์ วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาชัยภมู ิ
319 ภาคผนวก ค เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั ประกอบดว้ ย 6 ฉบบั ฉบบั ที่ 1 แบบสัมภาษณ์สภาพปญั หาและความต้องการจำเปน็ ของการประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษาในปจั จุบนั ฉบบั ที่ 2 ประเด็นสนทนากลุ่มสภาพปญั หาและความต้องการจำเป็นของการประเมิน หลกั สตู รสถานศึกษาในปจั จุบัน ฉบบั ที่ 3 แบบสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรียนท่มี ตี ่อหลักสูตรสถานศึกษา ฉบับท่ี 4 แบบสอบถามความคิดเหน็ ของอาจารย์ท่ีมตี อ่ หลกั สูตรสถานศกึ ษา ฉบบั ท่ี 5 แบบตรวจสอบองคป์ ระกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศกึ ษา ฉบับท่ี 6 ประเดน็ สนทนากลุ่มเก่ยี วกบั ปญั หาและแนวทางการพฒั นาและปรบั ปรุง หลักสูตรสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
320 KUSK CE1_สมั ภาษณผ์ ู้บริหารโรงเรยี น แบบสมั ภาษณ์สภาพปัญหาและความต้องการจำเปน็ ของการประเมินหลกั สตู รสถานศึกษาในปัจจุบัน ผ้ใู หข้ อ้ มูล : ผบู้ ริหารโรงเรยี น โครงการวจิ ยั “การประเมนิ หลักสตู รโรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)” ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป 1. เพศ ❑1) ชาย ❑2) หญิง 2. วทิ ยฐานะ ❑1) ชำนาญการ ❑2) ชำนาญการพิเศษ ❑3) เชี่ยวชาญ ❑4) อน่ื ๆ โปรดระบ…ุ ……........ 3. ประสบการณ์การบริหาร ❑1) น้อยกว่า 5 ปี ❑2) 5-10 ปี ❑3) มากกวา่ 10 ปี 4. วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุด ❑1) ปรญิ ญาตรี สาขา................................................. ❑2) ปริญญาโท สาขา.................................................. ❑3) ปรญิ ญาเอก สาขา................................................ ❑4) อน่ื ๆ ระบ.ุ ............................................................ ตอนท่ี 2 ประเด็นสัมภาษณ์เกี่ยวกับสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการ จำเปน็ ของการประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษา 1. ท่านคิดว่าหลักสูตรสถานศึกษาท่ีพัฒนาข้ึนตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซ่ึงเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานน้ัน มีสิ่งที่ดีควรพัฒนาต่อยอด และมีส่ิงท่ีควร แกไ้ ข/ปรับปรงุ ในประเดน็ ใดบา้ ง อยา่ งไร (โปรดระบุเป็นดา้ น ๆ) ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ท่านคิดว่าสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ทค่ี วรต้องเรง่ แก้ไขปรับปรงุ และพฒั นาในสถานศกึ ษา เพอ่ื มุง่ สคู่ ณุ ภาพผเู้ รยี น ในศตวรรษที่ 21 มีอะไรบา้ ง อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
321 3. ท่านคิดว่า สถานศึกษามีความต้องการจำเป็นในการประเมินหลักสูตรหรือไม่ อย่างไร และช่วงเวลาท่ี เหมาะสมในการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ควรเป็นช่วงเวลาใด (เช่น 3 ปี 5 ปี ทุกปี หรือตามประกาศของ กระทรวงศึกษาธิการ ฯลฯ) .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ............................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................... ....................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 4. ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. ............................. ...................................................................................................... ........................................................................ ขอขอบคุณทา่ นทก่ี รุณาให้ข้อมูลอยา่ งสมบูรณเ์ พื่อประโยชน์ในการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาตอ่ ไป
322 KUSK CE2_FGD คณะกรรมการฝา่ ยวชิ าการ ประเด็นสนทนากลุ่มสภาพปัญหาและความต้องการจำเปน็ ของการประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษาในปัจจบุ ัน ผู้ให้ขอ้ มูล : คณะกรรมการฝ่ายวชิ าการ โครงการวจิ ยั “การประเมนิ หลักสตู รโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)” ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไป 1. เพศ ❑1) ชาย ❑2) หญิง 2. วทิ ยฐานะ ❑1) อาจารย์ ❑2) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ❑3) รองศาสตราจารย์ ❑4) อืน่ ๆ โปรดระบุ………....... 3. ประสบการณก์ ารปฏิบตั งิ านในสถานศกึ ษา ❑1) ตำ่ กวา่ 5 ปี ❑2) 5-10 ปี ❑3) มากกวา่ 10 ปี 4. ประสบการณ์การเปน็ คณะกรรมการฝา่ ยวชิ าการ ❑1) ต่ำกวา่ 2 ปี ❑2) 2-4 ปี ❑2) 5-8 ปี ❑3) มากกวา่ 8 ปี 5. วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด ❑1) ปริญญาตรี สาขา......................................................................................... ❑2) ปรญิ ญาโท สาขา......................................................................................... ❑3) ปรญิ ญาเอก สาขา....................................................................................... ❑4) อน่ื ๆ ระบุ..................................................................................................... ตอนท่ี 2 ประเด็นสนทนากลุ่มเก่ียวกับสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความ ตอ้ งการจำเปน็ ของการประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษา 1. ท่านคิดว่าหลักสูตรสถานศึกษาท่ีพัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซ่ึงเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานน้ัน มีสิ่งท่ีดีควรพัฒนาต่อยอด และมีสิ่งที่ควร แก้ไข/ปรับปรงุ ในประเดน็ ใดบ้าง อยา่ งไร (โปรดระบเุ ปน็ ดา้ น ๆ) ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ..................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ................ .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
323 2. ท่านคิดว่าสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ทคี่ วรต้องเรง่ แกไ้ ขปรับปรงุ และพัฒนาในสถานศึกษา เพ่อื มงุ่ ส่คู ณุ ภาพผเู้ รยี น ในศตวรรษท่ี 21 มีอะไรบ้าง อยา่ งไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 3. ท่านคิดว่า สถานศึกษามีความต้องการจำเป็นในการประเมินหลักสูตรหรือไม่ อย่างไร และช่วงเวลาท่ี เหมาะสมในการประเมินหลักสูตรสถานศกึ ษา ควรเป็นช่วงเวลาใด เพราะเหตุใด (เช่น 3 ปี 5 ปี ทกุ ปี หรือตาม ประกาศของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฯลฯ) ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ............. ....................................................................................................................................................................... 4. ข้อคดิ เห็น และข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ขอขอบคุณท่านทก่ี รุณาใหข้ ้อมลู อย่างสมบรู ณ์เพ่ือประโยชนใ์ นการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาต่อไป
324 KUSK CE3_ความคิดเห็นของนกั เรยี น แบบสอบถามความคิดเหน็ ที่มตี อ่ หลกั สูตรสถานศกึ ษา ผใู้ ห้ขอ้ มูล : นักเรยี น โครงการวจิ ยั “การประเมินหลักสูตรโรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการศกึ ษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)” ************************************************************** คำช้ีแจง แบบสอบถามนี้จัดทำขึ้นเพ่ือเก็บข้อมูลในโครงการวิจัย เร่ือง “การประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)” จึงขอความร่วมมือจากนักเรียนได้ตอบ แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรสถานศึกษาทุกข้อ เพ่ือความสมบูรณ์และความน่าเชื่อถือของข้อมูล สามารถนำผลการศึกษาคร้ังน้ีไปใช้ประโยชน์ได้โดยตรงในการพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียน โดยผู้วิจัยจะรักษา ความลับของข้อมูลและขอยืนยันว่าไม่มีผลกระทบใด ๆ ท่ีเป็นความเส่ียงต่อตัวนักเรียนและผู้เก่ียวข้องท้ัง ทางตรงและทางอ้อม ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไป 1. เพศ 1) ชาย 2) หญิง 2. ระดับชัน้ ที่เรียนในปกี ารศึกษา 2562 หลกั สูตรทเี่ รียน ❑1) หลักสตู รปกติ ❑2) หลักสตู ร EP ❑1) ม.1 ❑2) ม.2 ❑3) ม.4 ❑4) ม.5 3. ระยะเวลาทีเ่ รยี นอยู่ทโี่ รงเรยี นสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน ❑1) 1- 3 ปี ❑2) 4-6 ปี ❑3) 7-9 ปี ❑4) 10-12 ปี ❑5) มากกว่า 12 ปี 4. กิจกรรม/โครงการของโรงเรียนที่นักเรียนรู้สึกประทับใจ คือ กิจกรรม/โครงการใด (ตอบได้มากกว่า 1 กจิ กรรม).............................................................................................................................................................. . ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นที่มตี ่อหลักสตู รโรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) คำชี้แจง โปรดพิจารณาประเด็นการประเมินหลักสูตรตามองค์ประกอบ 5 ด้าน และทำเคร่ืองหมาย✓ลงใน ท่ีตรงกับระดับความคิดเห็นของทา่ นมากทส่ี ดุ เกณฑ์การให้ระดบั ความคดิ เห็น 5 หมายถงึ ความคดิ เหน็ ที่มตี ่อหลักสูตรสถานศึกษา เหน็ ด้วยในระดับมากท่สี ดุ 4 หมายถงึ ความคิดเหน็ ท่ีมีต่อหลักสตู รสถานศกึ ษา เห็นดว้ ยในระดบั มาก 3 หมายถึง ความคิดเห็นท่ีมีต่อหลกั สตู รสถานศกึ ษา เห็นดว้ ยในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง ความคิดเหน็ ท่ีมตี ่อหลกั สตู รสถานศึกษา เหน็ ดว้ ยในระดับน้อย 1 หมายถึง ความคดิ เหน็ ท่ีมีต่อหลกั สูตรสถานศึกษา เห็นด้วยในระดับน้อยทส่ี ดุ
325 ตาราง ความคิดเหน็ ของนักเรยี นท่มี ีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพฒั นาการศึกษา ประเดน็ การประเมนิ หลกั สตู ร ระดับความคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะ 54321 1. ประเมนิ บริบท (C: Context Evaluation) ❖ หลักสูตร 1.1 โรงเรียนพฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี นไมต่ ำ่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน การศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 (เป็นผเู้ รยี นรู้ เปน็ ผ้รู ว่ มสรา้ งสรรค์ นวัตกรรม และเป็นพลเมืองท่เี ข้มแข็ง) 1.2 โรงเรยี นส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นสามารถแสวงหาและสรา้ งความรู้ ด้วยตนเองได้ 1.3 โรงเรยี นสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมคี วามพรอ้ มในการศกึ ษาต่อตาม ความถนัด ความสนใจ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของนกั เรียน 1.4 โรงเรยี นไดพ้ ัฒนาคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี น เปน็ การชว่ ยสะทอ้ นความมงุ่ ม่ัน ศึกษา กลา้ แสดงออกของนักเรียน 1.5 โรงเรยี นได้พัฒนาให้นกั เรยี นมีความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น ชว่ ยใหน้ ักเรียนมที กั ษะพน้ื ฐานทจ่ี ำเป็นใน การศึกษารายวชิ าตามความถนัดและความสนใจ 1.6 การจัดการศึกษาของโรงเรียนมีความต่อเน่ืองเชื่อมโยงกันตั้งแต่ ระดบั ประถมศกึ ษา และมัธยมศกึ ษา 1.7 รายวิชาตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กล่มุ และกจิ กรรมพัฒนา ผ้เู รยี น ทำใหน้ ักเรียนมีทกั ษะการคิด และสามารถแกป้ ญั หาใน ชีวิตประจำวันได้ 1.8 รายวิชาตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม และกจิ กรรมพัฒนา ผู้เรยี น ทำใหน้ ักเรยี นมีบคุ ลิกภาพทีด่ ีในด้านการเรียนรู้อย่างมี ความสุข การเปน็ ที่ยอมรับของผู้อน่ื การช่วยเหลอื โอบอ้อมอารี สื่อสาร และใฝเ่ รยี นรูส้ งิ่ ใหมๆ่ 1.9 จำนวนเวลาเรยี น 6-8 คาบต่อวนั มคี วามเหมาะสม 1.10 เนื้อหาสาระที่เรียนแตล่ ะรายวชิ าในภาพรวมมคี วามเหมาะสม นกั เรยี นสามารถนำไปใช้ไดจ้ ริงในชวี ิตประจำวนั ❖ รายวชิ า (พื้นฐานและเพ่มิ เติม) และกจิ กรรม พฒั นาผูเ้ รยี น 1.11 รายวิชาและกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ส่งเสริมให้นักเรียนมี ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้ทกั ษะชวี ติ และการใช้เทคโนโลยี 1.12 รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ส่งเสริมใหน้ กั เรียนมี สมรรถนะในการเป็นผเู้ รยี นรู้ ไดแ้ ก่ มคี วามเพียร ใฝ่เรยี นรู้ และมี ทักษะการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ก้าวทนั โลกยุคดจิ ิทัลและโลกในอนาคต มีสุนทรยี ะ มที ักษะชวี ิต มีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดี ตอ่ ตนเอง ครอบครวั และสังคม
326 ประเดน็ การประเมนิ หลกั สตู ร ระดบั ความคดิ เห็น ข้อเสนอแนะ 54321 1.13 รายวชิ าและกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น สง่ เสริมใหน้ ักเรียนมี สมรรถนะในการเปน็ ผู้รว่ มสร้างสรรคน์ วตั กรรม ได้แก่ มที ักษะทาง ปัญญา สามารถใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั อย่างเหมาะสม มีทักษะการคิด สร้างสรรค์ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อ่ืนไดด้ ี และมีการสรา้ งสรรค์ งานใหม่ 1.14 รายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น สง่ เสริมใหน้ กั เรียนมี สมรรถนะในการเป็นพลเมอื งท่ีเขม้ แขง็ ไดแ้ ก่ มีความรกั ชาติ รัก ท้องถิน่ มจี ติ อาสา มอี ดุ มการณ์ มคี วามยตุ ธิ รรม และใช้ทรพั ยากร อยา่ งรคู้ ณุ คา่ 1.15 รายวิชาและกิจกรรมการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ช่วย ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะดา้ นการอ่าน เขียน คิด คำนวณ 1.16 รายวชิ าและกิจกรรมการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ชว่ ย สง่ เสริมใหน้ กั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ไดแ้ ก่ ความสามารถในการคดิ ไตรต่ รอง คดิ แก้ปญั หา มีทักษะการทำงาน ร่วมกนั มที ักษะการสอื่ สาร มคี วามรอบรู้ทางขอ้ มูล สารสนเทศและทางดจิ ิทัล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถสร้างสรรค์ ผลงานใหมไ่ ด้ 1.17 รายวชิ าและกจิ กรรมการเรียนการสอนในโรงเรยี น ชว่ ย สง่ เสริมใหน้ ักเรียนมีบุคลิกภาพทด่ี ีในดา้ นการเรียนรอู้ ย่างมคี วามสขุ การเปน็ ท่ยี อมรับของผู้อน่ื การชว่ ยเหลอื โอบออ้ มอารี ส่อื สาร และ ใฝ่เรยี นรู้ส่ิงใหมๆ่ 1.18 รายวชิ าและกิจกรรมการเรยี นการสอนในโรงเรียน ชว่ ย สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นมีทักษะชีวิตและเข้าใจอาชพี 2. ประเมินปัจจัยนำเข้า (I: Input Evaluation) ❖ บุคคล 2.1 ความรู้ความสามารถ ความเชยี่ วชาญ และประสบการณ์ของ อาจารยผ์ ู้สอน มีความเหมาะสม 2.2 อาจารย์ผู้สอนไดส้ อนในรายวชิ าท่ีตรงกับความเชีย่ วชาญ 2.3 เจา้ หน้าท่ี มคี วามพร้อมในการให้บริการ สนับสนุน และอำนวย ความสะดวกเพือ่ การบรรลุเป้าหมายของงาน 2.4 ผเู้ รียนมีพ้นื ฐานความรคู้ วามสามารถตรงตามระดบั ช้ันทีเ่ รียน และสามารถศกึ ษาต่อในระดบั ที่สงู ข้นึ 2.5 ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรยี นการ สอนของโรงเรยี น 2.6 ผูป้ กครองส่งเสริมนกั เรียนไดพ้ ัฒนาศกั ยภาพเพ่ิมเตมิ จากในชน้ั เรียน โดยยินดีให้นักเรยี นเข้ารว่ มกจิ กรรมของทางโรงเรียนทกุ กจิ กรรม ❖ เอกสาร สอ่ื เทคโนโลยี และสง่ิ สนบั สนุนท่เี อื้อตอ่ การเรยี นรู้
327 ประเดน็ การประเมนิ หลกั สตู ร ระดบั ความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ 54321 2.7 หอ้ งเรียนมีสภาพที่เอ้อื ต่อการเรียนรู้ 2.8 มีหนังสอื /ตำรา/เอกสารเพียงพอสำหรับใช้ประกอบการเรยี น 2.9 มีส่ือ วสั ดุ อปุ กรณ์ประกอบการเรยี นเพยี งพอ 2.10 มีวัสดอุ ุปกรณก์ ารเรียน สอ่ื และเทคโนโลยีในชัน้ เรียนเพอื่ ช่วย ใหน้ ักเรียนเรียนรไู้ ดด้ ขี ้ึน 2.11 มหี ้องสมุดให้บรกิ ารหนังสอื อย่างเพียงพอกบั ความต้องการ ของนกั เรยี น 2.12 มีห้องบรกิ ารสืบค้นขอ้ มลู ด้วยระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ที่ เหมาะสมและทันสมยั 2.13 มีการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนทเ่ี หมาะสมและเอ้ือตอ่ การ เรยี นรู้ 2.14 มกี ิจกรรมกับเพือ่ นตา่ งโรงเรยี นหรือบคุ คลภายนอกเพอ่ื แลกเปลย่ี นประสบการณ์การเรียนรูซ้ งึ่ กนั และกัน 3. ประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) 3.1 มีการจัดการเรยี นร้ดู ้วยวิธกี ารท่หี ลากหลาย 3.2 มกี ารจดั การเรียนรู้โดยคำนึงถงึ ความสามารถของผเู้ รยี นเป็น รายบุคคล 3.3 มกี ิจกรรมการเรยี นรู้ที่เนน้ ใหน้ ักเรยี นไดค้ ดิ วเิ คราะห์ และลงมอื ปฏิบตั จิ ริง 3.4 จดั การเรยี นรู้โดยกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนกระตือรือรน้ ในการแสวงหา ความร้ดู ้วยตนเอง 3.5 จัดการเรยี นรโู้ ดยสอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3.6 เปิดโอกาสให้นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 3.7 มกี ารบอกวิธกี ารวัดและประเมนิ ผลแตล่ ะครงั้ ใหผ้ เู้ รียนทราบ ล่วงหนา้ 3.8 มีการวัดและประเมินผลอย่างต่อเนือ่ งควบคู่ไปกบั การเรยี นการ สอน 3.9 วดั ผลและประเมินครอบคลมุ การเรยี นรูท้ ัง้ ดา้ นความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติ 3.10 ใชว้ ิธกี ารและเครือ่ งมือในการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย 3.11 เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการวัดและประเมนิ ผล 3.12 มกี ารนำผลการประเมนิ มาสะท้อนผลใหน้ ักเรยี นได้พัฒนา ตนเองเต็มศักยภาพ 3.13 มอี าจารย์ท่ปี รึกษาดแู ล ใหค้ ำแนะนำ และชว่ ยเหลอื นกั เรยี น อยา่ งใกล้ชิด 3.14 มกี ารจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นทเ่ี ป็นระบบ ชดั เจน และปฏิบตั ิ ได้จรงิ 3.15 กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนมีความหลากหลาย
328 ประเดน็ การประเมินหลกั สูตร ระดบั ความคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะ 54321 3.16 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ชว่ ยสะท้อนความสามารถและความ ถนดั ของนกั เรยี นได้ดี 4. ประเมินผลผลติ (P: Product Evaluation) 4.1 นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ของ หลกั สตู ร 4.2 นกั เรียนมีสมรรถนะสำคญั บรรลุตามวตั ถุประสงค์หลักสตู ร (ความสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชท้ กั ษะ ชีวติ และการใชเ้ ทคโนโลยี) 4.3 นกั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ หลกั สตู ร (รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่ อย่างพอเพยี ง มงุ่ มัน่ ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ มีสุนทรียภาพ และมสี ุขนสิ ัย สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี) 4.4 นักเรียนมีบคุ ลกิ ภาพท่ดี ีตามเป้าหมายของหลกั สตู ร ในด้านการ เรียนร้อู ยา่ งมีความสุข การเปน็ ทีย่ อมรับของผูอ้ ่นื การชว่ ยเหลือ โอบอ้อมอารี สือ่ สาร และใฝ่เรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ 4.5 นักเรยี นมีความรู้ความสามารถในการอ่าน การเขยี น และคิด คำนวณ (3R) ตามเปา้ หมายของหลกั สตู ร 4.6 นักเรยี นมคี วามสามารถทางปัญญา 8 ดา้ น ตามเปา้ หมายของ หลักสตู ร (ความสามารถด้านภาษา คณิตศาสตร์ มติ สิ ัมพันธ์ การ ควบคมุ ความคดิ ความรสู้ กึ ดนตรี มนุษย์สมั พันธ์ เข้าใจตนเอง และ เขา้ ใจธรรมชาต)ิ 4.7 นักเรยี นมีความสามารถตามคณุ ลกั ษณะของผ้เู รียนในศตวรรษ ท่ี 21 (7C) ตามเปา้ หมายของหลกั สตู ร 4.8 นักเรียนมคี วามม่งุ มัน่ ในการเรียน การทำงาน และกล้า แสดงออกในทางที่ถูกต้องเหมาะสม 4.9 นกั เรียนมกี ระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ 4.10 นักเรียนมีความสามารถในการสร้างสรรคช์ น้ิ งาน 5. ประเมนิ ผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 5.1 นักเรียนมคี วามรู้สกึ รักและภาคภมู ใิ จตอ่ สถาบนั 5.2 นักเรยี นมคี วามรู้ความสามารถเปน็ ที่ยอมรบั ของชุมชน สงั คม ทั้งภายในและภายนอกสถาบนั 5.3 นักเรียนทจี่ บการศึกษาจากโรงเรียนเป็นท่ียอมรบั ของ สถาบนั การศกึ ษาทงั้ ในและตา่ งประเทศ 5.4 นักเรยี นท่จี บการศึกษาจากโรงเรยี น ประสบผลสำเรจ็ ใน การศกึ ษาต่อระดบั ทส่ี ูงขน้ึ 5.5 นักเรยี นท่ีจบการศึกษาจากโรงเรียนได้รับการยอมรบั วา่ “เปน็ คนดใี นสงั คม” 5.6 โรงเรยี นมีชื่อเสยี งและเป็นผู้นำในดา้ นการจดั การศกึ ษาและพัฒนา คณุ ภาพผเู้ รียน ทัง้ ในระดับปฐมวยั ประถมศกึ ษา และมัธยมศึกษา
329 ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณทใี่ ห้ความอนเุ คราะหต์ อบแบบสอบถามโดยสมบูรณ์ คณะกรรมการประเมินหลกั สูตรโรงเรยี นฯ
330 KUSK CE4_ความคดิ เหน็ ของอาจารยผ์ สู้ อน แบบสอบถามความคิดเหน็ ที่มีต่อหลกั สตู รสถานศึกษา ผใู้ หข้ ้อมลู : อาจารย์ผู้สอน โครงการวิจยั “การประเมนิ หลักสตู รโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)” ************************************************************** คำชแ้ี จง แบบสอบถามน้ีจัดทำข้ึนเพื่อเก็บข้อมูลในโครงการวิจัย เร่ือง “การประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)” จึงขอความอนุเคราะห์อาจารย์ผู้สอน กรณุ าตอบแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมตี ่อหลักสูตรสถานศึกษาในปจั จุบันทุกขอ้ เพ่ือความสมบรู ณ์และความ น่าเช่ือถือของขอ้ มลู สามารถนำผลการศึกษาครัง้ นีไ้ ปใช้ประโยชน์ไดต้ รงกบั สง่ิ ทโ่ี รงเรยี นต้องพัฒนามากทีส่ ดุ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป 2) หญิง 1. เพศ 1) ชาย 2. วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด 1) ปริญญาตรี สาขา……………………………………………………………………………...................... 2) ปริญญาโท สาขา……………………………………………………………………………...................... 3) ปริญญาเอก สาขา…………………………….………………………………….…………….................... 4) อ่นื ๆ ระบุ…………………………….…………………………………………….......................... 3. ประสบการณก์ ารสอนในโรงเรียนสาธิตเกษตรฯ กำแพงแสน 1) น้อยกวา่ 10 ปี 2) 10-15 ปี 3) มากกวา่ 15 ปี 4. ระดับการศกึ ษาที่สอนในโรงเรยี นสาธติ เกษตรฯ กำแพงแสน (เลอื กไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) 1) ระดบั ปฐมวยั 2) ระดบั ประถมศกึ ษา 3) ระดับมัธยมศกึ ษา 4) ระดับมัธยมศกึ ษา (โครงการพเิ ศษ EP) สว่ นที่ 2 ความคดิ เห็นที่มตี ่อหลักสูตรโรงเรียนสาธติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) คำชแี้ จง โปรดพิจารณาประเดน็ การประเมนิ หลักสูตรตามองค์ประกอบ 5 ด้าน และทำเครือ่ งหมาย✓ลงใน ท่ีตรงกบั ระดับความคิดเหน็ ของท่านมากท่สี ดุ 5 หมายถงึ เห็นด้วยมากที่สดุ 4 หมายถึง เหน็ ดว้ ยมาก 3 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง 2 หมายถึง เหน็ ด้วยนอ้ ย 1 หมายถงึ เหน็ ด้วยนอ้ ยทส่ี ดุ
331 ประเด็นการประเมินหลักสตู ร ระดับความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะ 54321 1. ประเมนิ บริบท (C: Context Evaluation) ❖ หลกั สูตร 1.1 ปรชั ญา วัตถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายของหลกั สตู ร มคี วาม สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้เรียนและสังคม 1.2 วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของหลกั สตู รเหมาะสมกบั สภาพการณ์ปจั จบุ ัน 1.3 วิสัยทศั นแ์ ละพนั ธกิจมีความสอดคล้องกนั และสามารถ นำไปส่กู ารปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ 1.4 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผ้เู รียน สะทอ้ นอตั ลกั ษณ์ และเอกลกั ษณ์ของโรงเรียน 1.5 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น สอดคล้องกับ เป้าหมายของหลกั สตู รแตล่ ะระดบั การศกึ ษา และมาตรฐาน การศึกษาท่เี นน้ ผลลัพธ์ทีพ่ งึ ประสงค์ 3 ด้าน (Desired Outcomes of Education : DOE Thailand) คอื ผู้เรยี นรู้ ผู้รว่ มสร้างสรรค์นวัตกรรม และพลเมอื งท่ีเขม้ แขง็ 1.6 การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนของผเู้ รยี น สอดคลอ้ งกับ เป้าหมายของหลกั สูตรแตล่ ะระดบั การศกึ ษา และมาตรฐาน การศึกษาทเี่ นน้ ผลลัพธท์ ่ีพึงประสงค์ (DOE Thailand) 1.7 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาโดยภาพรวม 3 ระดบั คือ ปฐมวัย ประถมศกึ ษา และมธั ยมศึกษา มีความต่อเนื่องเช่ือมโยงกัน 1.8 โครงสรา้ งหลกั สูตรระดบั ปฐมวัย มีความเหมาะสม และ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั พ.ศ.2561 1.9 โครงสรา้ งหลกั สตู รระดับประถมศกึ ษา ซึ่งประกอบดว้ ย สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น มคี วาม เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาระดับ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ.2561 1.10 โครงสร้างหลักสูตรระดบั มัธยมศกึ ษา ซงึ่ ประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ และกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น มีความ เหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ.2561 1.11 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาสามารถทำใหผ้ เู้ รยี นบรรลุ ตามวตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของหลกั สูตรสถานศึกษาได้ 1.12 จำนวนหนว่ ยกติ หรือเวลาเรยี นตลอดหลักสูตร ระดับปฐมวยั มีความเหมาะสม 1.13 จำนวนหน่วยกติ หรือเวลาเรยี นตลอดหลักสูตร ระดับประถมศึกษา มคี วามเหมาะสม 1.14 จำนวนหนว่ ยกติ หรือเวลาเรยี นตลอดหลกั สตู ร ระดบั มธั ยมศกึ ษา มีความเหมาะสม 1.15 เน้อื หาสาระของหลกั สูตรระดบั ปฐมวัย เหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั คำอธิบายรายวชิ า และสามารถ นำไปใช้ไดจ้ รงิ
332 ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตร ระดับความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะ 54321 1.16 เน้อื หาสาระของหลกั สตู รระดับประถมศึกษา เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด คำอธบิ ายรายวชิ า และสามารถ นำไปใช้ไดจ้ ริง 1.17 เนื้อหาสาระของหลักสตู รระดบั มัธยมศึกษา เหมาะสม สอดคล้องกบั มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด คำอธิบายรายวิชา และสามารถ นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ 1.18 คำอธิบายรายวิชา เหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐาน/ ตัวชี้วัด 1.19 หนว่ ย/ แผนการจดั การเรียนรู้ มคี วามเหมาะสม ถูกต้อง มีองค์ประกอบครบถว้ น และมีข้ันตอนของการจดั กจิ กรรมการ เรียนรตู้ ามแนวคดิ Active Learning ทส่ี ะทอ้ นผลลัพธ์ทีพ่ ึง ประสงคข์ องการศกึ ษา (DOE Thailand) ในมาตรฐาน การศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 ❖ รายวชิ า (พื้นฐานและเพมิ่ เติม) และกจิ กรรมพัฒนา ผู้เรียน 1.20 รายวชิ าและกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมี สมรรถนะสำคัญ 5 ดา้ น (การส่ือสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การ ใชท้ ักษะชวี ิต และการใชเ้ ทคโนโลยี) 1.21 รายวชิ าและกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมี สมรรถนะในการเป็นผเู้ รยี นรู้ 1.22 รายวชิ าและกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมี สมรรถนะในการเป็นผรู้ ่วมสรา้ งสรรค์นวตั กรรม 1.23 รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมี สมรรถนะในการเป็นพลเมืองทเี่ ข้มแข็ง 1.24 กิจกรรมและประสบการณใ์ นระดบั ปฐมวยั (อ.1-3) สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มบี คุ ลกิ ภาพ 5 ด้าน และมีความสามารถทาง ปัญญา 8 ดา้ น ตามแนวคิดทฤษฎพี หุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) 1.25 รายวชิ าและกจิ กรรมในระดบั ประถมศกึ ษา (ป.1-3) สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมีความรูค้ วามสามารถในการอ่าน การเขียน และคดิ คำนวณ (3R) มีบุคลกิ ภาพ 5 ดา้ น และมคี วามสามารถ ทางปญั ญา 8 ดา้ น ตามแนวคดิ ทฤษฎีพหุปญั ญา (Multiple Intelligences Theory : MI) 1.26 รายวิชาและกจิ กรรมในระดบั ประถมศึกษา (ป.4-6) สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมีความรูค้ วามสามารถในการอา่ นออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น (3R) มีบคุ ลิกภาพ 5 ดา้ น และมีความสามารถ ตามคณุ ลกั ษณะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 (7C) 1.27 รายวชิ าและกจิ กรรมในระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียน มบี คุ ลกิ ภาพ 5 ดา้ น มคี วามสามารถตาม คณุ ลกั ษณะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 (7C) และมีทกั ษะอาชพี
333 ประเดน็ การประเมินหลักสูตร ระดบั ความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะ 54321 1.28 รายวชิ าและกิจกรรมในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4- 6) สง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นมีบคุ ลกิ ภาพ 5 ดา้ น มีความสามารถตาม คุณลกั ษณะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 (7C) และมีทกั ษะอาชีพ ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ ดา้ นบริบท (C: Context) .................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. 2. ประเมนิ ปจั จัยนำเขา้ (I: Input Evaluation) ❖ บุคคล 2.1 คณุ วฒุ ิ ความรู้ ประสบการณ์ ผลงานทางวชิ าการและ ผลงานวิจัยดา้ นการบรหิ ารของผ้บู รหิ ารมศี ักยภาพที่เหมาะสม 2.2 คณุ วุฒิ ความรู้ ประสบการณ์ ผลงานทางวชิ าการ และ ผลงานวจิ ัยดา้ นการเรียนการสอนของอาจารย์ผสู้ อนมีศักยภาพ ทีเ่ หมาะสม 2.3 อาจารย์ผ้สู อนไดส้ อนในรายวชิ าทตี่ รงกับคุณวุฒิและความ เช่ยี วชาญ 2.4 เจา้ หน้าที่ มคี วามรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่งและได้ ทำงานตรงกบั คุณวฒุ แิ ละความสามารถ 2.5 เจ้าหน้าท่ี มีความพรอ้ มในการให้บริการ สนบั สนนุ และ อำนวยความสะดวกเพอื่ การบรรลเุ ป้าหมายของงาน 2.6 ผูเ้ รยี นมพี น้ื ฐานความรู้ความสามารถตรงตามระดบั ชน้ั ท่ี เรยี น และสามารถศกึ ษาต่อในระดบั ท่สี ูงข้ึน 2.7 ผูป้ กครองมคี วามเข้าใจ และสนบั สนนุ กจิ กรรมการเรยี น การสอนของโรงเรยี น 2.8 ผปู้ กครองสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพเพิ่มเตมิ จาก ในชั้นเรยี น โดยยินดใี หผ้ เู้ รียนเข้ารว่ มกจิ กรรมของทางโรงเรยี น ❖ เอกสาร สือ่ เทคโนโลยี และสง่ิ สนับสนนุ ทเ่ี อือ้ ต่อการเรยี นรู้ 2.9 ห้องเรียนมีสภาพท่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 2.10 มหี นงั สือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพยี งพอกบั จำนวนผู้เรยี น 2.11 มีวสั ดอุ ุปกรณก์ ารเรยี น สื่อ และเทคโนโลยีในช้ันเรยี นเพ่อื ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรไู้ ดด้ ีขึ้น 2.12 มสี ่อื วัสดุ อุปกรณส์ ำหรับการเรยี นการสอนเพยี งพอตอ่ จำนวนนักเรยี น 2.13 มงี บประมาณสนับสนนุ ในการจดั ทำสอ่ื การเรียนรอู้ ยา่ ง เพียงพอ 2.14 มีการจดั สรรงบประมาณเพอ่ื ใช้ในโครงการหรือกิจกรรม การเรยี นรูข้ องผ้เู รียนอย่างเพยี งพอ
334 ประเด็นการประเมินหลักสตู ร ระดบั ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ 54321 2.15 มีงบประมาณสนับสนนุ และพัฒนาความรู้ความสามารถ ของบุคลากรอย่างเพยี งพอ 2.16 มกี ารจัดแหล่งเรียนรสู้ อดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรยี นรูข้ อง ผู้เรยี น 2.17 มีแหลง่ การเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกบั วยั ของผู้เรยี น 2.18 มีแหลง่ เรยี นรผู้ ่านระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรท์ เี่ หมาะสม 2.19 มีการจัดสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นทเี่ หมาะสมและเอ้ือต่อ การเรยี นรู้ 2.20 มีกจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ บั ชุมชน และชมุ ชนมีสว่ น รว่ มในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ดา้ นปัจจยั นำเข้า (I: Input) .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. 3. ประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) ❖ การบริหารจัดการหลกั สตู ร 3.1 มีแผนการดำเนินงานดา้ นหลกั สตู รอยา่ งชดั เจนและเปน็ ระบบ 3.2 มกี ระบวนการคดั เลือกนักเรียนเขา้ ศกึ ษาในโรงเรยี นอยา่ ง เหมาะสม 3.3 มีการพิจารณาอาจารย์ผสู้ อนรายวชิ าให้เหมาะสมกบั ความรู้ ความสามารถและคณุ วุฒิ 3.4 มกี ารจัดระบบอาจารย์ประจำช้นั /อาจารย์ที่ปรกึ ษานักเรยี น อย่างเหมาะสม 3.5 มีการวางแผนการนำหลักสตู รไปใช้ทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ และทกุ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 3.6 โรงเรยี นมีการเตรียมความพรอ้ มให้อาจารยผ์ ู้สอนจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาผู้เรยี นตามเปา้ หมายของหลักสตู ร เชน่ การสง่ เสริมให้เขา้ รบั การอบรม-สัมมนาทางวิชาการ การ ประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร หรือการศึกษาดงู านดา้ นหลกั สตู ร การ เรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล 3.7 อาจารยผ์ ้สู อนมกี ารพัฒนาตนเองอยเู่ สมอในด้านหลักสตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล 3.8 อาจารย์ผ้สู อนจัดทำหน่วย/แผนการจดั การเรียนรู้ทุก รายวิชา 3.9 ส่งเสรมิ ใหอ้ าจารยผ์ ้สู อนจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่อื การ พฒั นาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เช่น การจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิด Active Learning/ STEM เปน็ ต้น
335 ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตร ระดับความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะ 54321 3.10 อาจารย์ผูส้ อนจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามแผนการจดั การ เรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3.11 มรี ะบบการนิเทศ ตดิ ตาม เพ่อื ใหค้ ำแนะนำ ช่วยเหลือ (การพัฒนาวชิ าชพี ) เกยี่ วกับการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ขู อง อาจารยผ์ ู้สอน 3.12 มรี ะบบการสะทอ้ นผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรูข้ อง อาจารยผ์ ูส้ อนอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพื่อให้การสนบั สนุนและช่วยเหลอื 3.13 อาจารย์ผ้สู อนเป็นต้นแบบทดี่ ีแก่ผเู้ รียน 3.14 มรี ะบบ/รูปแบบ/กระบวนการ การประกนั คณุ ภาพ การศึกษาด้านหลักสตู รท่ีชัดเจน สามารถนำมาปฏิบตั ไิ ดจ้ ริง และนำผลมาปรบั ปรงุ พฒั นาหลักสูตรทกุ ระดับการศกึ ษา 3.15 โรงเรียนและชมุ ชนมกี ารจดั กจิ กรรมร่วมกนั เพ่อื พัฒนา คุณภาพผ้เู รยี นอยา่ งต่อเน่อื ง ❖ กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล 3.16 จัดการเรียนรโู้ ดยใชร้ ูปแบบ วธิ กี ารท่ีหลากหลาย 3.17 จดั การเรยี นรู้โดยคำนึงถงึ ความสามารถของผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล 3.18 มกี จิ กรรมการเรียนรูท้ เ่ี น้นใหผ้ ู้เรยี นไดค้ ดิ วเิ คราะห์ และ ลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ 3.19 จัดการเรยี นรโู้ ดยกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นกระตอื รือรน้ ในการ แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง 3.20 จดั การเรยี นรโู้ ดยสอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรม 3.21 เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมการ เรยี นรู้ 3.22 มีการบอกวธิ กี ารวัดและประเมินผลแตล่ ะครง้ั ใหผ้ ู้เรียน ทราบลว่ งหนา้ 3.23 มกี ารวดั และประเมินผลอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกบั การ เรียนการสอน 3.24 วัดผลและประเมนิ ครอบคลมุ การเรยี นรทู้ งั้ ดา้ นความรู้ เจตคติ และการปฏบิ ตั ิ 3.25 ใชว้ ิธกี ารและเครอ่ื งมือในการวดั และประเมนิ ผลท่ี หลากหลาย 3.26 เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการวดั และประเมินผล 3.27 มีการนำผลการประเมนิ มาพฒั นาการเรยี นการสอนและ สะทอ้ นผลใหผ้ ้เู รยี นได้พัฒนาตนเองเต็มศกั ยภาพ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ดา้ นกระบวนการ (P: Process) .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................................
336 ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตร ระดับความคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะ 54321 4. ประเมินผลผลติ (P: Product Evaluation) 4.1 ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นบรรลุตามวตั ถุประสงค์ของ หลักสตู ร 4.2 ผ้เู รียนมสี มรรถนะสำคญั บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคห์ ลักสูตร 4.3 ผเู้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ หลักสตู ร 4.4 ผูเ้ รียนมีบคุ ลกิ ภาพที่ดี 5 ดา้ น ตามเปา้ หมายของหลักสตู ร 4.5 ผ้เู รียนมีความรคู้ วามสามารถในการอ่าน การเขยี น และคดิ คำนวณ (3R) ตามเป้าหมายของหลกั สูตร 4.6 ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถทางปญั ญา 8 ดา้ น ตามเปา้ หมาย ของหลักสตู ร 4.7 ผเู้ รียนมีความสามารถตามคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นใน ศตวรรษท่ี 21 (7C) ตามเป้าหมายของหลักสตู ร 4.8 ผเู้ รียนมคี วามมงุ่ มัน่ ในการเรียน การทำงาน และกล้า แสดงออกในทางที่ถูกตอ้ งเหมาะสม 4.9 ผู้เรียนมกี ระบวนการทำงานอย่างเปน็ ระบบ 4.10 ผู้เรยี นมสี มรรถนะในการสรา้ งสรรคช์ ิ้นงาน 4.11 อาจารยผ์ สู้ อนมสี มรรถนะในการจัดการเรยี นรเู้ พ่อื พฒั นา ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 4.12 ผู้บรหิ ารมสี มรรถนะในการบริหารจดั การหลักสูตร โดย การนำหลักสตู รสู่ชนั้ เรียนเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพอาจารยผ์ สู้ อน และผเู้ รยี น ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ ดา้ นผลผลติ (P: Product) .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................. 5. ประเมินผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 5.1 ผู้เรียนมีความรสู้ กึ รักและภาคภูมิใจตอ่ สถาบัน 5.2 ผเู้ รยี นมคี วามรูค้ วามสามารถเปน็ ทยี่ อมรบั ของชุมชน สังคม ทัง้ ภายในและภายนอกสถาบัน 5.3 ผู้ท่จี บการศกึ ษาจากโรงเรียนเปน็ ทยี่ อมรับของ สถาบันการศึกษาท้ังในและตา่ งประเทศ 5.4 อาจารยผ์ ้สู อนสร้างนวัตกรรมการเรยี นการสอนผ่าน กระบวนการวิจยั อย่างต่อเน่ือง 5.5 อาจารย์ผู้สอนมกี ารเผยแพร่ผลงานวชิ าการ งานวจิ ยั อยา่ ง ต่อเนือ่ ง 5.6 อาจารย์ผู้สอนไดร้ ับเชิญเป็นวทิ ยากรเพอ่ื ช่วยพฒั นาการ จัดการเรยี นร้ใู ห้แกบ่ ุคลากรทงั้ ภายในและภายนอกสถาบนั 5.7 โรงเรยี นเป็นทย่ี อมรบั ของผปู้ กครอง ชุมชน สังคม
337 ประเดน็ การประเมนิ หลักสูตร ระดบั ความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ 54321 ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ ดา้ นผลกระทบ (I: Impact) .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................. ขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณที่ใหค้ วามอนเุ คราะห์ตอบแบบสอบถามโดยสมบรู ณ์ คณะกรรมการประเมนิ หลกั สูตรโรงเรียน
338 สว่ นที่ 3 ความคดิ เห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของรายวชิ าในหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) คำช้ีแจง โปรดพิจารณาประเดน็ การประเมินหลกั สูตรในด้านความเหมาะสมของรายวิชา และทำเครื่องหมาย ✓ ลงใน ท่ีตรงกบั ความคดิ เหน็ ของท่านมากท่ีสุด 5 หมายถงึ เหมาะสมมากทส่ี ุด 4 หมายถงึ เหมาะสมมาก 3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 2 หมายถงึ เหมาะสมน้อย 1 หมายถึง เหมาะสมน้อยท่ีสุด รายวิชาในหลักสตู ร ระดับความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหตผุ ลและ (จำนวนหน่วยกิต/เวลาเรียน) 54321 ข้อเสนอแนะ 1. กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย 5 4 3 2 1 ไมเ่ หมาะสม โปรดระบเุ หตผุ ล และขอ้ เสนอแนะ รายวชิ าพื้นฐาน (ประถมศึกษา) ท 11101 ภาษาไทย 1 (6 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ท 12101 ภาษาไทย 2 (6 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ท 13101 ภาษาไทย 3 (6 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ท 14101 ภาษาไทย 4 (5 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ท 15101 ภาษาไทย 5 (5 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ท 16101 ภาษาไทย 6 (5 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 รายวิชาพื้นฐาน (มัธยมศึกษาตอนต้น) ท 21101 ภาษาไทย 1 (1.5 นก.) 54321 ท 21102 ภาษาไทย 2 (1.5 นก.) 54321 ท 22101 ภาษาไทย 3 (1.5 นก.) 54321 ท 22102 ภาษาไทย 4 (1.5 นก.) 54321 ท 23101 ภาษาไทย 5 (1.5 นก.) 54321 ท 23102 ภาษาไทย 6 (1.5 นก.) 54321 รายวิชาพื้นฐาน (มธั ยมศึกษาตอนปลาย) ท 31101 ภาษาไทย 1 (1 นก.) 54321 ท 31102 ภาษาไทย 2 (1 นก.) 54321 ท 32101 ภาษาไทย 3 (1 นก.) 54321 ท 32102 ภาษาไทย 4 (1 นก.) 54321 ท 33101 ภาษาไทย 5 (1 นก.) 54321 ท 33102 ภาษาไทย 6 (1 นก.) 54321 รายวชิ าเพิ่มเติม (มธั ยมศึกษาตอนปลาย) ท 31201 ประวัติวรรณคดี 1 (1 นก.) 54321 ท 31202 ประวตั ิวรรณคดี 2 (1 นก.) 54321 ท 32201 ภาษากับวฒั นธรรม (1 นก.) 54321 ท 32202 วรรณคดมี รดก (1 นก.) 54321
339 รายวชิ าในหลกั สตู ร ระดบั ความเหมาะสม ไม่เหมาะสม เหตผุ ลและ (จำนวนหน่วยกิต/เวลาเรียน) 54321 ข้อเสนอแนะ 54321 ท 33201 การพฒั นาทกั ษะทางภาษา (1 นก.) 54321 ท 33202 ภาษาในเพลง (1 นก.) 54321 ท 31203 ภาษาไทยเพือ่ การพฒั นาตนเอง (2 นก.) 54321 ท 31204 หลกั ภาษาไทย (2 นก.) 54321 ท 32203 การพิจารณาวรรณกรรม (2 นก.) 54321 ท 32204 ศิลปะการสื่อสาร (2 นก.) 54321 ท 33203 การอ่านตคี วาม (2 นก.) 54321 ท 33204 สมั มนาภาษาไทย (2 นก.) 54321 ท 21210 นิทานหรรษา (1.5 นก.) 54321 ท 21211 ภาษาเพื่อการแสดง (1.5 นก.) 54321 ท 21212 การเขยี นเชิงสร้างสรรค์ (1.5 นก.) 54321 ท 21213 การอ่านคำประพันธร์ ้อยแก้ว (1.5 นก.) 54321 ท 22210 ภาษาเชงิ สร้างสรรค์ (1.5 นก.) 54321 ท 22211 วรรณกรรมนำสขุ (1.5 นก.) 54321 ท 22212 การอา่ นงานประพันธ์ร้อยกรอง (1.5 นก.) 54321 ท 22213 หลักภาษาไทยเบื้องตน้ (1.5 นก.) 54321 ท 23210 เสริมทักษะภาษา (1.5 นก.) 54321 ท 23211 ภาษาเพ่ือการสื่อสาร (1.5 นก.) 54321 ท 23212 การพูดเบื้องต้น (1.5 นก.) 54321 ท 23213 การอา่ นและพจิ ารณาหนงั สอื (1.5 นก.) 54321 ท 31210 ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย 1 (1 นก.) 54321 ท 31211 ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย 2 (1 นก.) 54321 ท 32210 ภาษาบาลี 1 (1 นก.) 54321 ท 32211 ภาษาบาลี 2 (1 นก.) 54321 ท 33210 เสรมิ ประสบการณท์ างภาษา 1 (1 นก.) 54321 ท 33211 เสริมประสบการณท์ างภาษา 2 (1 นก.)
340 รายวิชาในหลกั สูตร ระดับความเหมาะสม ไม่เหมาะสม เหตผุ ลและ (จำนวนหน่วยกิต/เวลาเรยี น) 54321 ไมเ่ หมาะสม ข้อเสนอแนะ 2. กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 54321 โปรดระบเุ หตผุ ล และขอ้ เสนอแนะ รายวิชาพนื้ ฐาน 54321 ค 11101 คณิตศาสตร์ 1 (6 คาบ/สปั ดาห์) 54321 ค 12101 คณิตศาสตร์ 2 (6 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ค 13101 คณติ ศาสตร์ 3 (6 คาบ/สัปดาห)์ 54321 ค 14101 คณติ ศาสตร์ 4 (5 คาบ/สัปดาห์) 54321 ค 15101 คณิตศาสตร์ 5 (5 คาบ/สัปดาห์) 54321 ค 16101 คณติ ศาสตร์ 6 (5 คาบ/สัปดาห)์ รายวชิ าพื้นฐาน (มธั ยมศกึ ษาตอนต้น) 54321 ค 21101 คณิตศาสตร์ 1 (1.5 นก.) 54321 ค 21102 คณติ ศาสตร์ 2 (1.5 นก.) 54321 ค 22101 คณิตศาสตร์ 3 (1.5 นก.) 54321 ค 22102 คณติ ศาสตร์ 4 (1.5 นก.) 54321 ค 23101 คณติ ศาสตร์ 5 (1.5 นก.) 54321 ค 23102 คณติ ศาสตร์ 6 (1.5 นก.) รายวิชาพื้นฐาน (มธั ยมศึกษาตอนปลาย) 54321 ค 31107 คณติ ศาสตร์ (2 นก.) 54321 ค 31108 คณิตศาสตร์ (2 นก.) 54321 ค 32109 คณติ ศาสตร์ (2 นก.) 54321 ค 31101 คณติ ศาสตร์ 1 (1 นก.) 54321 ค 31102 คณิตศาสตร์ 2 (1 นก.) 54321 ค 32101 คณติ ศาสตร์ 3 (1 นก.) 54321 ค 32102 คณติ ศาสตร์ 4 (1 นก.) 54321 ค 33101 คณติ ศาสตร์ 5 (1 นก.) 54321 ค 33102 คณิตศาสตร์ 6 (1 นก.) รายวิชาเพิม่ เติม (มธั ยมศกึ ษาตอนต้น) 54321 ค 21201 การประยกุ ต์ 1 (1 นก.) 54321 ค 21202 การประยกุ ต์ 2 (1 นก.) 54321 ค 22201 การประยุกต์ 3 (1 นก.) 54321 ค 22202 การประยกุ ต์ 4 (1 นก.) 54321 ค 23201 การประยกุ ต์ 5 (1 นก.) 54321 ค 23202 การประยุกต์ 6 (1 นก.) รายวชิ าเพม่ิ เตมิ (มัธยมศึกษาตอนปลาย) 54321 ค 31201 เมทริกซ-์ เรขาคณติ วิเคราะห์ (1 นก.) 54321 ค 31202 ภาคตดั กรวย (1 นก.) 54321 ค 32201 จำนวนเชงิ ซอ้ น-เวกเตอร์สามมติ ิ(1 นก.) 54321 ค 32202 ฟงั ก์ชันประยุกต์ (2.5 นก.) 54321 ค 33201 อนกุ รม-แคลคลู สั (2.5 นก.)
341 รายวิชาในหลกั สูตร ระดบั ความเหมาะสม ไม่เหมาะสม เหตุผลและ ข้อเสนอแนะ (จำนวนหน่วยกติ /เวลาเรียน) 54321 ค 33202 การแจกแจงความน่าจะเป็น-สถิติ (2.5 นก.) 5 4 3 2 1 ค 21210 คณติ กบั ศิลป์ (1.5 นก.) 54321 ค 21211 การสร้างแบบรปู (1.5 นก.) 54321 ค 22210 ทักษะทางคณติ ศาสตร์ (1.5 นก.) 5 4 3 2 1 ค 22211 คณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจำวนั (1.5 นก.) 5 4 3 2 1 ค 23210 การพิสูจน์ทฤษฎบี ททางเรขาคณิต(1.5 นก.) 5 4 3 2 1 ค 23211 เรขาคณิตวิเคราะห์ (1.5 นก.) 54321 ค 31210 พีชคณิต (1 นก.) 54321 ค 31211 สมการเชงิ พยากรณ์ (1 นก.) 54321 ค 32210 โปรแกรมคณิตศาสตรเ์ บอ้ื งต้น (1 นก.) 5 4 3 2 1 ค 32211 โปรแกรมคณติ ศาสตร์ประยุกต์ (1 นก.) 5 4 3 2 1 ค 32212 เมทรกิ ซ์ประยกุ ต์ (1 นก.) 54321 ค 33210 ทฤษฎีความนา่ จะเปน็ (1 นก.) 54321 ค 33211 แคลคูลัสประยุกต์ (1 นก.) 54321 ค 33212 สถติ ิเชิงวเิ คราะห์ (1 นก.) 54321 ค 31220 ทกั ษะการใชโ้ ปรแกรมคำนวณทาง 54321 คณติ ศาสตร์ (1 นก.) ค 31221 การดำเนินการทางคณติ ศาสตร์ (1 นก.) 5 4 3 2 1 ค 32220 คณติ ศาสตร์กับ GSP (1 นก.) 54321 ค 32221 เศรษฐมิตเิ บื้องต้น (1 นก.) 54321 ค 33220 เวกเตอร์ในสามมติ ิ (1 นก.) 54321 ค 33221 คณติ ศาสตร์กบั การตดั สนิ ใจ (1 นก.) 5 4 3 2 1
342 รายวิชาในหลกั สตู ร ระดบั ความเหมาะสม ไม่เหมาะสม เหตผุ ลและ (จำนวนหนว่ ยกติ /เวลาเรียน) 54321 ไมเ่ หมาะสม ข้อเสนอแนะ 3. กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5 4 3 2 1 โปรดระบุเหตผุ ล และขอ้ เสนอแนะ รายวชิ าพนื้ ฐาน ว 11101 วทิ ยาศาสตร์ 1 (3 คาบ/สัปดาห)์ 54321 ว 12101 วทิ ยาศาสตร์ 2 (3 คาบ/สัปดาห)์ 54321 ว 13101 วิทยาศาสตร์ 3 (3 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ว 14101 วิทยาศาสตร์ 4 (3 คาบ/สัปดาห์) 54321 ว 15101 วิทยาศาสตร์ 5 (3 คาบ/สัปดาห)์ 54321 ว 16101 วทิ ยาศาสตร์ 6 (3 คาบ/สัปดาห)์ 54321 รายวชิ าพื้นฐาน (มัธยมศึกษาตอนตน้ ) ว 21101 วิทยาศาสตร์ 1 (1.5 นก.) 54321 ว 21102 วทิ ยาศาสตร์ 2 (1.5 นก.) 54321 ว 22101 วทิ ยาศาสตร์ 3 (1.5 นก.) 54321 ว 22102 วิทยาศาสตร์ 4 (1.5 นก.) 54321 ว 23101 วิทยาศาสตร์ 5 (1.5 นก.) 54321 ว 23102 วทิ ยาศาสตร์ 6 (1.5 นก.) 54321 รายวชิ าพ้นื ฐาน (มธั ยมศึกษาตอนปลาย) ว 31107 วทิ ยาศาสตร์ (2 นก.) 54321 ว 31108 วิทยาศาสตร์ (2 นก.) 54321 ว 32109 วิทยาศาสตร์ (2 นก.) 54321 ว 31101 วทิ ยาศาสตร์ 1 (1 นก.) 54321 ว 31102 วทิ ยาศาสตร์ 2 (1 นก.) 54321 ว 32101 วทิ ยาศาสตร์ 3 (1 นก.) 54321 ว 32102 วิทยาศาสตร์ 4 (1 นก.) 54321 ว 33101 วิทยาศาสตร์ 5 (1 นก.) 54321 ว 33102 วิทยาศาสตร์ 6 (1 นก.) 54321 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ (มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ) ว 21201 วิทยาศาสตร์ส่งิ แวดล้อม (1 นก.) 54321 ว 21202 พลงั งานสะอาด (1 นก.) 54321 ว 22201 รกั ษโ์ ลกดว้ ย 5R (1 นก.) 54321 ว 22202 ผลิตภณั ฑ์จากพนั ธไ์ุ ม้ (1 นก.) 54321 ว 23201 STEM กับการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน (1 นก.) 5 4 3 2 1 ว 23202 สร้างสรรค์งานไฟฟา้ และเครอ่ื งกล(1 นก.) 5 4 3 2 1 รายวิชาเพมิ่ เติม (มธั ยมศึกษาตอนปลาย) ว 31201 ฟสิ ิกส์ 1 (1 นก.) 54321 ว 31202 ฟสิ ิกส์ 2 (1 นก.) 54321 ว 32203 ฟสิ กิ ส์ 3 (1 นก.) 54321 ว 32204 ฟิสกิ ส์ 4 (2.5 นก.) 54321 ว 33205 ฟิสกิ ส์ 5 (2.5 นก.) 54321
343 รายวิชาในหลกั สตู ร ระดบั ความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหตุผลและ (จำนวนหน่วยกิต/เวลาเรยี น) 54321 ข้อเสนอแนะ 5 432 1 ว 33206 ฟสิ ิกส์ 6 (2.5 นก.) 5 432 1 ว 31221 เคมี 1 (1 นก.) 5 432 1 ว 31222 เคมี 2 (1 นก.) 5 432 1 ว 32223 เคมี 3 (1 นก.) 5 4 321 ว 32224 เคมี 4 (1.5 นก.) 5 4 321 ว 33225 เคมี 5 (1.5 นก.) 5 4 321 ว 33226 เคมี 6 (1.5 นก.) 5 4 321 ว 31241 ชวี วทิ ยา 1 (1 นก.) 5 4 321 ว 31242 ชีววทิ ยา 2 (1 นก.) 5 4 321 ว 32243 ชวี วิทยา 3 (1 นก.) 5 4 321 ว 32244 ชีววทิ ยา 4 (1.5 นก.) 5 4 321 ว 33245 ชวี วิทยา 5 (1.5 นก.) 5 4 321 ว 33246 ชีววทิ ยา 6 (1.5 นก.) 5 4 321 ว 31281 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1 (0.5 นก.) 5 4 321 ว 31282 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 (0.5 นก.) 5 4 321 ว 32283 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 (0.5 นก.) 5 4 321 ว 32284 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 4 (0.5 นก.) รายวชิ าเพิ่มเติม (เลอื กเสร)ี 5 4 321 ว 21210 การใชอ้ ปุ กรณ์วทิ ยาศาสตร์ (1.5 นก.) 5 4 321 ว 21211 วทิ ยาศาสตร์กบั การดำรงชีวิต (1.5 นก.) 5 4 321 ว 21212 การคดิ กับวทิ ยาศาสตร์ (1.5 นก.) 5 4 321 ว 22210 ตามรอยนักวทิ ยาศาสตร์ (1.5 นก.) 5 4 321 ว 22211 ของเล่นเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (1.5 นก.) 5 4 321 ว 22212 นาโนเทคโนโลยีเบ้อื งตน้ (1.5 นก.) 5 4 321 ว 23210 วิถโี ค้งวถิ ีการเดินทาง (1.5 นก.) 5 4 321 ว 23211 พลังงานแสงพลังงานสะอาด (1.5 นก.) 5 4 321 ว 23212 เคร่ืองกลเพ่อื การผ่อนแรง (1.5 นก.) 5 4 321 ว 21213 หุ่นยนตเ์ บ้ืองต้น (1.5 นก.) 5 4 321 ว 21214 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (1.5 นก.) 5 4 321 ว 21215 การใชโ้ ปรแกรมสำนกั งาน (1.5 นก.) 5 4 321 ว 21216 การใชโ้ ปรแกรมประยกุ ต์ (1.5 นก.) ว 22213 การเขยี นโปรแกรมควบคุมหนุ่ ยนต์ 5 432 1 (1.5 นก.) 5 432 1 ว 22214 การสรา้ งเกมส์คอมพิวเตอร์ (1.5 นก.) 5 432 1 ว 22215 การผลิตสอื่ มลั ติมีเดยี (1.5 นก.) ว 22216 การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ 5 432 1 ด้านมลั ตมิ เี ดีย (1.5 นก.) 5 432 1 ว 23213 โครงงานหนุ่ ยนต์ (1.5 นก.) 5 432 1 ว 23214 ระบบคอมพวิ เตอร์ (1.5 นก.)
344 รายวิชาในหลักสูตร ระดับความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหตุผลและ (จำนวนหนว่ ยกิต/เวลาเรียน) 54321 ข้อเสนอแนะ ว 23215 การออกแบบและสรา้ งแอนิเมชนั 2 มิติ 5 432 1 (1.5 นก.) 5 432 1 ว 23216 คอมพิวเตอร์กราฟกิ และแอนเิ มชัน ประยุกต์ (1.5 นก.) 5 432 1 ว 31250 วศิ วกรรมปโิ ตร (1 นก.) 5 432 1 ว 31251 กลศาสตรว์ ศิ วกรรม (1 นก.) 5 432 1 ว 31252 วิศวกรรมแสงสเี สียง (1 นก.) 5 432 1 ว 31253 ระบบห่นุ ยนต์ (1 นก.) 5 432 1 ว 31254 การพฒั นาแอพพลเิ คช่ัน (1 นก.) 5 432 1 ว 31255 ดิจติ อลพ้นื ฐาน (1 นก.) 5 432 1 ว 31256 โครงสรา้ งฐานข้อมูล (1 นก.) 5 432 1 ว 31260 เทคโนโลยสี เี ขยี ว (1 นก.) 5 432 1 ว 31261 การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ในอาเซียน(1 นก.) 5 432 1 ว 31262 เทคโนโลยชี ีวภาพ (1 นก.) ว 31270 การออกแบบและสร้างภาพกราฟิก 2 5 432 1 มติ ิ (1 นก.) 5 432 1 ว 31271 นวัตกรรมและเทคโนโลยีส่อื ดิจิตอล (1 นก.) 5 432 1 ว 32250 เคมีวศิ วกรรม (1 นก.) 5 432 1 ว 32251 วศิ วกรไฟฟา้ แม่เหลก็ (1 นก.) 5 432 1 ว 32252 การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (1 นก.) 5 432 1 ว 32253 ฐานขอ้ มูลออนไลน์ (1 นก.) ว 32254 การพฒั นาเว็บไซตพ์ าณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 5 432 1 (1 นก.) 5 432 1 ว 32255 โปรแกรมประยุกต์ด้านธุรกิจ (1 นก.) ว 32260 สถาปตั ยกรรมเพ่อื การอนุรกั ษพ์ ลังงาน 5 432 1 (1 นก.) 5 432 1 ว 32270 การจัดองคป์ ระกอบศิลป์ดา้ น 5 432 1 คอมพวิ เตอร์กราฟกิ (1 นก.) 5 432 1 ว 32271 ศิลปะเชงิ กราฟิกและมัลติมีเดยี (1 นก.) 5 432 1 ว 32272 การพัฒนาเว็บไซต์อเิ ล็กทรอนกิ ส์(1 นก.) 5 432 1 ว 32273 การใช้งานโปรแกรมประยุกต์ (1 นก.) 5 432 1 ว 32274 นวัตกรรมและเทคโนโลยแี อนนเิ มชน่ั (1 นก.) 5 432 1 ว 33250 วศิ วกรรมสังเคราะห์ (1 นก.) 5 432 1 ว 33251 พลังงานกับชีวติ (1 นก.) 5 432 1 ว 33252 ฟิสิกสส์ ำหรับวศิ วกร (1 นก.) 5 432 1 ว 33260 ออกแบบอารยสถาปตั ย์ (1 นก.) 5 432 1 ง 33210 สถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์ (1 นก.) 5 432 1 ง 33211 การซ่อมบำรงุ คอมพิวเตอร์ (1 นก.) ง 33212 หนุ่ ยนตอ์ ัตโนมตั ิ (1 นก.)
345 รายวิชาในหลกั สตู ร ระดบั ความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสม เหตุผลและ (จำนวนหน่วยกิต/เวลาเรยี น) 54321 ขอ้ เสนอแนะ ง 33213 โครงงานคอมพิวเตอร์ (1 นก.) 5 432 1 ง 33220 การออกแบบสอื่ สง่ิ พิมพแ์ ละสอื่ ดจิ ติ อล 5 432 1 (1 นก.) ง 33221 การออกแบบด้วยคอมพวิ เตอร์ 5 432 1 5 432 1 ด้านสถาปตั ยกรรม (1 นก.) ง 33222 สรา้ งสือ่ มัลติมีเดีย (1 นก.) 5 432 1 รายวชิ า/กิจกรรมเพิ่มเติม 5 432 1 ว 12201 คอมพวิ เตอร์ 2 (1 คาบ/สัปดาห์) 5 432 1 ว 13201 คอมพวิ เตอร์ 3 (1 คาบ/สัปดาห)์ 5 432 1 ว 14201 คอมพิวเตอร์ 4 (2 คาบ/สัปดาห์) 5 432 1 ว 15201 คอมพิวเตอร์ 5 (2 คาบ/สปั ดาห์) 5 432 1 ว 16201 คอมพิวเตอร์ 6 (2 คาบ/สัปดาห์) 5 4 321 ว 14201 ร้จู ักโครงงาน (2 คาบ/สปั ดาห์) 5 4 321 ว 15201 เรียนรโู้ ครงงาน (2 คาบ/สัปดาห์) 5 4 321 ว 16201 สร้างสรรค์โครงงาน (2 คาบ/สปั ดาห์) 5 4 321 ว 14202 สะเตม็ ศกึ ษา 1 5 4 321 ว 15202 สะเตม็ ศกึ ษา 1 ว 16202 สะเตม็ ศึกษา 1
346 รายวิชาในหลกั สตู ร ระดบั ความเหมาะสม ไม่เหมาะสม เหตผุ ลและ (จำนวนหน่วยกติ /เวลาเรยี น) 54321 ไม่เหมาะสม ข้อเสนอแนะ 4. กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและ 54321 โปรดระบุเหตผุ ล วัฒนธรรม และข้อเสนอแนะ รายวิชาพ้ืนฐาน ส 11101 สงั คมศกึ ษา 1 (3 คาบ/สัปดาห์) 54321 ส 11102 ประวัตศิ าสตร์ (1 คาบ/สัปดาห)์ 54321 ส 12101 สังคมศึกษา 2 (3 คาบ/สัปดาห)์ 54321 ส 12102 หน้าที่พลเมือง (1 คาบ/สัปดาห)์ 54321 ส 13101 สงั คมศึกษา 3 (3 คาบ/สปั ดาห์) 54321 ส 13102 ภูมศิ าสตร์ (1 คาบ/สปั ดาห์) 54321 ส 14101 สังคมศกึ ษา 4 (2 คาบ/สปั ดาห์) 54321 ส 14102 ประวตั ศิ าสตร์ (1 คาบ/สัปดาห)์ 54321 ส 15101 สงั คมศกึ ษา 5 (2 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ส 15102 หนา้ ที่พลเมอื ง (1 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 ส 16101 สงั คมศกึ ษา 6 (2 คาบ/สปั ดาห์) 54321 ส 16102 ภูมศิ าสตร์ (1 คาบ/สปั ดาห)์ 54321 รายวิชาพื้นฐาน (มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ) ส 21101 สังคมศึกษา 1 (1.5 นก.) 54321 ส 21102 สังคมศึกษา 2 (1.5 นก.) 54321 ส 21103 ประวัตศิ าสตร์ 1 (0.5 นก.) 54321 ส 21104 ประวัติศาสตร์ 2 (0.5 นก.) 54321 ส 22101 สังคมศกึ ษา 3 (1.5 นก.) 54321 ส 22102 สังคมศึกษา 4 (1.5 นก.) 54321 ส 22103 หนา้ ที่พลเมอื ง 1 (0.5 นก.) 54321 ส 22104 หน้าที่พลเมอื ง 2 (0.5 นก.) 54321 ส 23101 สังคมศกึ ษา 5 (1.5 นก.) 54321 ส 23102 สงั คมศกึ ษา 6 (1.5 นก.) 54321 ส 23103 ภมู ศิ าสตร์ 1 (0.5 นก.) 54321 ส 23104 ภูมศิ าสตร์ 2 (0.5 นก.) 54321 รายวชิ าพ้นื ฐาน (มัธยมศกึ ษาตอนปลาย) ส 31101 ศาสนศกึ ษาและคุณธรรมเพื่อชีวิต 54321 (1นก.) 54321 ส 31102 มนษุ ยก์ ับสงั คม (1 นก.) 54321 ส 31103 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย (0.5 นก.) 54321 ส 31104 ประวตั ศิ าสตรส์ ากล (0.5 นก.) 54321 ส 32101 ภูมิศาสตร์ (1 นก.) 54321 ส 32102 เศรษฐศาสตร์ (1 นก.) 54321 ส 32103 หน้าทพ่ี ลเมือง 1 (0.5 นก.) 54321 ส 32104 หน้าทีพ่ ลเมือง 2 (0.5 นก.) 54321 ส 33101 อารยธรรมโลก (1 นก.)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430