ข้อ ปัญหา 252 3) กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนมีความหลากหลาย ขอ้ ความคดิ เหน็ ของอาจารย์ทมี่ ตี อ่ หลกั สูตร English Prog EP และผลการสนทนากลุ่มผปู้ กครอง อาจารย ประเดน็ 3 ลำดบั ทา้ ย ซงึ่ อาจารยม์ คี วามคดิ เห็นอยู่ใน 3.2 ไมม่ ปี ระเดน็ 3 ลำดบั ทา้ ย ทอี่ าจารย์มีความคดิ เหน็ อยใู่ นระดับ “ปานกลาง” ด้านการบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร 1) จากผลการสนทนากลุ่มผู้ปกครองเห็นว่า โรงเรียนควรมีทิศทางการพัฒนา นกั เรียนสำหรบั หลักสูตร EP ที่ชัดเจน
แนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลกั สูตร 252 3) ควรมีชมรมให้นักเรียนเลือกเรียนหลากหลายมากขึ้น หรืออาจให้นักเรียนเปิดชมรม เองตามท่ีสนใจ 4) ควรใหค้ วามสำคญั กับนกั เรยี น EP มากข้นึ และพัฒนานักเรยี น EP ใหม้ ีความเป็นผ้นู ำ 5) จากผลการสนทนากลุ่มนักเรียนส่วนหนึ่งเห็นว่า โรงเรียนควรพัฒนาสิ่งอำนวยความ สะดวกและเทคโนโลยีที่จำเป็นต้องใช้ในการเรียน ที่นั่งพักผ่อนของนักเรียนที่เพียงพอ ให้ความสำคัญและจัดกิจกรรมให้นักเรียน EP ได้แสดงออกบนเวทีมากขึ้น และให้ นักเรียนสามารถใช้โทรศัพท์ที่โรงเรียนได้อิสระมากขึ้นเนื่องจากบางครั้งจำเป็นต้อง คน้ คว้าจาก Website เพ่อื ทำงานสง่ อาจารย์ให้ทัน gram (ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติมจากตารางที่ 25 จากตอนที่ 2 ย์และผูบ้ รหิ าร และผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จากตอนที่ 3) นระดบั “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ 1) ผู้ปกครองเห็นว่า โรงเรียนควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” ขึ้นอยู่กับทาง โรงเรียนจะเห็นสมควร แต่นักเรียน EP ควรมีความมั่นใจในการพูดภาษาอังกฤษอย่าง เป็นธรรมชาติ ไม่เขินอาย และสามารถอ่านเขียนได้เพื่อเปน็ พ้ืนฐานในการศึกษาต่อของ นักเรียน และใหผ้ ูป้ กครองไดเ้ ห็นพัฒนาการดา้ นภาษาของนักเรยี นไดช้ ดั เจน 2) อาจารยแ์ ละผูบ้ รหิ ารเห็นว่า ควรพัฒนาหลักสูตรเพือ่ สง่ เสริมสมรรถนะของผู้เรียน ที่ เน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะท้ัง Hard Skills และ Soft Skills ทักษะการคิดขั้นสงู ได้แก่ คิด วิเคราะห์ สามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อน และสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ สามารถเรียนรู้ด้วย ตนเอง มีความสามารถในการวิพากษ์และวิจารณ์ สามารถปรับตัวเข้ากับการ เปลี่ยนแปลงได้ มีความฉลาดทางอารมณ์ และมภี าวะความเป็นผู้นำ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นเช่นเดียวกับหลักสูตรปกติ โดยเสนอแนะว่า รูปแบบการ พัฒนาหลักสูตรของโรงเรียน ควรประกอบด้วย 3.1) หลักการ คือ ให้ความสำคัญกับ Growth mindset ในการพัฒนาหลกั สูตรท่คี ณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และบคุ ลากร ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรที่ให้ความสำคัญกับคุณภาพผู้เรียน ด้านต่างๆ และพัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียนในลักษณะ
253 ขอ้ ปัญหา ขอ้
แนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลักสตู ร 253 Personalized learning และใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ ร่วมกับ การเรียนรแู้ บบ Creative Team Learning 3.2) วัตถปุ ระสงค์ คือ เพ่อื พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาที่ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน เสริมสร้างคุณภาพ ผู้เรียนแบบบูรณาการ เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน และเพ่ือ พัฒนาชุมชน ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตร และการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน 3.3) กระบวนการ ดำเนนิ การโดย การกระตนุ้ Growth mindset และ Passion ของผู้มสี ่วน เกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตร การถอดบทเรียน จุดแข็ง และจุดที่ควรปรับปรุง หลักสูตรเดิม การกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของ สังคมในอนาคต การดำเนินการพัฒนาหลักสูตรที่มีความเป็นนวัตกรรม Curriculum innovation ตอบสนองเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน การใช้หลักสูตรแบบวิจัยเป็นฐานที่มี การประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามวงจร Plan Do Check Reflection 3.4) การวัดและประเมินผล ได้แก่ การประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนอย่าง ต่อเนื่อง การประเมินคณุ ภาพของผู้เรยี นอย่างต่อเนื่อง การสะท้อนผลการประเมินและ นำไปปรับปรุงหลักสูตร และการถอดบทเรียนนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ของ โรงเรียน 3.5) ปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ การสนับสนุนเชิงวิชาการของผู้บริหารทั้งระดับ มหาวิทยาลยั ระดบั คณะ และระดับโรงเรยี น Growth mindset ของบุคลากรที่มีต่อการ พัฒนาหลกั สตู รและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การสนับสนนุ จากชมุ ชน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ทรัพยากรหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ งบประมาณในการดำเนินการ และการได้รบั ความรว่ มมอื จากผู้ปกครอง ข้อเสนอแนะดา้ นกระบวนการ โดยอาจารยช์ าวตา่ งชาติ 1) Harbor a more inclusive network of educators by allowing maternal and resources to be more accessible. 2) Support teachers’ innovative ideas and give then where they can showcase their innovations and evaluate the output.
254 ข้อ ปัญหา ข้อ 4. ด้านผลผลติ (P: Product) EP ความคดิ เห็นของนกั เรยี นทีม่ ตี อ่ หลกั สูตร English Program (รายงานผลการสอบถา ประเดน็ 3 ลำดับท้าย ซ่ึงนกั เรยี นมีความคิดเหน็ อยู่ใน 4.1 1) นักเรียนมีความสามารถตามคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (7C) 4.1 ตามเป้าหมายของหลักสตู ร 2) นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน การทำงาน และกล้าแสดงออกในทางที่ ถูกตอ้ งเหมาะสม 3) นกั เรยี นมบี ุคลกิ ภาพทดี่ ีตามเป้าหมายของหลกั สตู ร ในด้านการเรียนรอู้ ยา่ งมี ความสุข การเป็นท่ียอมรบั ของผอู้ ่ืน การช่วยเหลือ โอบอ้อมอารี สอ่ื สาร และใฝ่ เรยี นรูส้ ง่ิ ใหม่ ๆ ความคดิ เห็นของอาจารย์ทม่ี ีตอ่ หลกั สูตร English Prog EP และผลการสนทนากลุ่มผูป้ กครอง อาจารย ประเดน็ 3 ลำดับทา้ ย ซง่ึ อาจารยม์ ีความคดิ เหน็ อยู่ใน ไม่มีประเด็น 3 ลำดบั ท้าย ทอ่ี าจารย์มคี วามคดิ เห็นอยู่ในระดับ “ปานกลาง”
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลักสตู ร 254 3) To produce a much better learning environment, the school “MUST” have a strict implement policy with rebounds to the use of Mobile phones. Mobile phones are useful but in most cases they are very disruptive to student especially diving the teaching and vitiation. 4) Require and train teachers to facilitate at least one class in blended learning mode. Teachers’ knowledge in LMS can come in handy as an existing structure of the school’s contingence plan. (blended-learning classroom through computer-assisted learning/internet assisted learning using LMS) ามความคิดเหน็ ตารางท่ี 23 จากตอนท่ี 2 และผลการสนทนากลุ่มนักเรียน จากตอนท่ี 3) นระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพิจารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง 1) จากผลการสนทนากลมุ่ นักเรยี นส่วนหน่ึงเห็นวา่ คุณลกั ษณะของครูที่พึงประสงค์ คือ อยากให้อาจารย์สอนเก่งๆ ใจดี ไม่ดุ ฟังเหตุผลของนักเรียน เป็นกันเอง และจัดการกับ นักเรียนที่ทำผิดให้จริงจัง ห้องเรียนจะได้ไม่วุ่นวาย คุณลักษณะของนักเรียนที่พึง ประสงค์ คอื ตั้งใจเรียน รับผิดชอบทำงาน ไมเ่ อาเปรยี บเพอ่ื น และเขา้ ใจผู้อนื่ gram (ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมจากตารางที่ 25 จากตอนที่ 2 ย์และผู้บริหาร และผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จากตอนที่ 3) นระดบั “ปานกลาง” ควรนำมาพิจารณาแกไ้ ขปรบั ปรุง 1) ผูป้ กครองเหน็ ว่าคุณลักษณะของครูทพี่ งึ ประสงค์ คือ ดแู ลเอาใจใสเ่ ดก็ ทกุ คน เขา้ ใจ เด็ก พัฒนาเทคนิคการสอนให้น่าสนใจ ประเมินผลอย่างเป็นธรรมตรวจสอบได้ มีความ ยุติธรรม เข้าสอนตรงเวลามอบหมายงานให้ชัดเจน และเป็นคนมีเหตุผล คุณลักษณะ
255 ขอ้ ปัญหา ขอ้
แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลกั สูตร 255 ของนักเรียนที่พึงประสงค์ คือ เป็นคนดี ขยันและรับผิดชอบ กล้าแสดงออก มี ความสามารถในการเรยี น พฒั นาความคิด และมีทักษะชวี ติ 2) อาจารย์และผ้บู รหิ ารเหน็ วา่ คณุ ลกั ษณะของครทู ่ีพึงประสงค์ คอื รกั การเรียนรู้และ ชอบค้นหาสิ่งใหม่ ๆ มีทักษะการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง มีทักษะอ่านใจ ผู้เรียน มีความชำนาญในการจัดการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยี มีทักษะด้านการวิจัย มี ทักษะในการพัฒนานวัตกรรม มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจิตอาสา คุณลักษณะของ นกั เรยี นทพ่ี ึงประสงค์ คือ มีความรบั ผิดชอบ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม กล้าแสดงออกในสง่ิ ท่ี ดี มีจิตอาสา ปฏิบัติตนตามระเบียบของโรงเรียน สามารถปรับตัวและยอมรับการ เปลี่ยนแปลง สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นคนที่มีเหตุผล เป็นนักคิด ชอบค้นคว้าหา ความรู้ มีทักษะในการทำงานเป็นทีม มีทักษะในการสื่อสาร มีความเข้าใจในตนเองและ ผู้อื่น 3) ผู้ทรงคุณวุฒิเหน็ ว่า คุณลักษณะของครทู ี่พงึ ประสงค์ คือ เป็นคนทีน่ ักเรียนไว้วางใจ มีความพร้อมในการพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอยู่เสมอ ใจกว้าง มีภาวะผู้นำ มี ความสามารถในการทำวิจัย มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อนักเรียนและบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีจิต เมตตา และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ คุณลักษณะของนักเรียนที่พึงประสงค์ คือ รู้จักแสวงหา ความรู้อยู่เสมอ เข้าใจผอู้ น่ื รูจ้ ักการเป็นผใู้ ห้และผ้รู บั ทดี่ ี มีความกตัญญู อดทน เข้มแข็ง มคี วามรับผดิ ชอบ มคี วามสามารถในการเลอื กใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ และรกั การ เรยี นรูต้ ลอดชีวติ ขอ้ เสนอแนะด้านผลผลติ โดยอาจารยช์ าวตา่ งชาติ EP should be a training ground or home to learners of the 21st century. They are critical thinkers, creative and knows how to collaborate with others to arrive very satisfactorily at a given goal and also very capable of communicating their know league and skills using traditional and contemporary media.
256 ข้อ ปัญหา ขอ้ 5. ดา้ นผลกระทบ (I: Impact) EP ความคดิ เห็นของนักเรียนทม่ี ตี อ่ หลกั สูตร English Program (รายงานผลการสอบถา ประเด็น 3 ลำดับทา้ ย ซ่ึงนกั เรยี นมคี วามคิดเหน็ อยใู่ น 5.1 1) นักเรยี นมีความรู้สกึ รกั และภาคภมู ิใจตอ่ สถาบัน 5.1 2) จากผลการสนทนากลมุ่ นักเรยี นส่วนหน่ึงเหน็ ว่า โรงเรียนยังไม่มีหลักสตู ร EP ต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงจำเป็นต้องเลือกเรียนเท่าที่โรงเรียนเปิด สอน ในขณะที่มีนักเรียนบางคนไมต่ ้องการที่จะเรียนต่อในหลักสูตร EP เพราะ รสู้ ึกว่าไม่ถนดั ด้านภาษา ความคิดเห็นของอาจารย์ทมี่ ตี ่อหลกั สูตร English Prog EP และผลการสนทนากล่มุ ผู้ปกครอง อาจารย ประเดน็ 3 ลำดบั ทา้ ย ซึง่ อาจารยม์ ีความคิดเห็นอยใู่ น 5.2 ไม่มปี ระเดน็ 3 ลำดบั ทา้ ย ทอ่ี าจารย์มคี วามคิดเหน็ อยู่ในระดับ “ปานกลาง” 1) การเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการของอาจารย์ มีจำนวนยังไม่ถึง ครงึ่ หน่ึงของอาจารย์ทงั้ หมดในโรงเรยี น
แนวทางการพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสูตร 256 ามความคดิ เห็นตารางท่ี 23 จากตอนท่ี 2 และผลการสนทนากลมุ่ นกั เรยี น จากตอนที่ 3) นระดับ “ปานกลาง” ควรนำมาพจิ ารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ 1) โรงเรียนควรมีกิจกรรมที่ให้รุ่นพี่รุ่นน้องได้ทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้น เพื่อให้มี ความคุน้ เคยกัน 2) จากผลการสนทนากลมุ่ นกั เรยี นสว่ นหน่ึงเห็นว่า หลกั สูตรสถานศึกษาฯ ควรมีการต่อ ยอดหลกั สูตรโดยควรให้นักเรียนมที างเลือกในแผนการเรียนที่ตรงกบั ความต้องการและ ความถนัดของนักเรยี นแตล่ ะคน gram (ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ จากตารางที่ 25 จากตอนท่ี 2 ย์และผูบ้ ริหาร และผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จากตอนที่ 3) นระดบั “ปานกลาง” ควรนำมาพิจารณาแกไ้ ขปรบั ปรงุ 1) ผู้ปกครองคิดว่า หลักสูตรสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความ ต้องการของมหาวิทยาลัยที่จะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อ แต่นักเรียน EP ที่จบม.3 ส่วน ใหญ่สามารถเรียนต่อในชั้นม.4 ของโรงเรียนได้จนจบม.6 และสอบเข้าเรียนต่อใน มหาวิทยาลัยได้ และทราบว่ามีอาจารย์บางท่านเท่านั้นที่ให้บริการวิชาการแก่สถาบัน อ่ืนๆ บา้ ง 2) อาจารย์และผู้บริหารเห็นว่า หลักสูตรสถานศึกษาสามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตาม ความต้องการของสถาบันท่จี ะรับนกั เรียนเขา้ ศึกษาต่อหรอื ประกอบอาชพี สังเกตได้จาก ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่สามารถสอบเขา้ มหาวิทยาลัยที่ต้องการได้ และนักเรียนม.3 ของหลกั สูตร EP เรียนต่อในชนั้ ม.4 ของโรงเรยี น โดยมกี ารเลือกเรียนในแผนการเรียนท่ี แตกต่างกันไป ควรสร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาการสอน และทำวิจัย และสง่ เสรมิ ใหม้ ีเผยแพร่ผลการวิจัยใหเ้ ปน็ ท่ีประจักษ์ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่า นักเรียนมีโอกาสดีที่ได้รับโควตาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลายที่นั่ง และมีข้อมูลการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของนักเรียน 100% สำหรับ อาจารย์ควรมีการพฒั นางานแบบ Routine to Research โดยทำการสอนควบคกู่ ับการ
257 ขอ้ ปัญหา ขอ้
แนวทางการพฒั นาและปรับปรงุ หลกั สูตร 257 ทำวิจัยไปพร้อมๆกัน เพื่อผลิตและเผยแพร่ผลงานโดยสามารถเขียนบทความวิจัยและ เผยแพร่ผ่านวารสารต่างๆ ได้ หรืออาจเลือกการนำเสนอผลงานในงานสัมมนาทาง วชิ าการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ เพอ่ื ใช้ในการทำผลงานทางวิชาการของตนเองได้ โรงเรียนควรส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงาน และกระตุ้นให้ อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรยี นรรู้ วมทั้งให้บรกิ ารวชิ าการแก่เพื่อนรว่ มวชิ าชีพทง้ั ในและนอกโรงเรยี นมากขน้ึ ข้อเสนอแนะด้านผลกระทบ โดยอาจารยช์ าวต่างชาติ 1) Support teachers’ innovative approach and encourage teachers to be more innovative in dealing with their teaching and instructions to develop more productive individuals 2) Support teachers’ innovative ideas and give them a venue where they can showcase their innovations and evaluate the output. 3) Support and encourage foreign employees to participate and contribute in instructional innovation through academic research.
258 จากผลการศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) พบว่าทุกปัญหาท่ี นักเรียน อาจารย์ ผู้บริหาร และผู้ทรงคุณวุฒิได้เสนอความคิดเห็นไว้นั้น ได้มีการเสนอแนะแนว ทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ในทกุ ประเด็น และทกุ ด้าน ทง้ั หลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อค้นพบจากการประเมินหลักสูตรครั้งนี้ไปใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาไดใ้ นโอกาสต่อไป
259 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยเรื่อง “การประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)” ในครั้งน้ี เป็นการวิจัยเชิงประเมิน (Evaluation Research) โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์การวิจัย 1) เพ่อื ศกึ ษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 2) เพื่อประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในด้านบริบท ด้าน ปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และ หลักสูตร English Program และ3) เพื่อศึกษาปัญหาและเสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุง หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program คณะผู้วิจัยได้ประเมินหลักสูตร สถานศึกษาครั้งนี้ โดยใช้วิธีการประเมินของ Danial L. Stufflebeam รูปแบบการประเมินแบบ CIPPI Model โดยประเมินผลหลักสูตรใน 5 ดา้ น คอื ดา้ นบรบิ ท ดา้ นปจั จัยนำเข้า ดา้ นกระบวนการ ดา้ นผลผลิต และดา้ นผลกระทบ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถามความคิดเห็น การสมั ภาษณ์ และ สนทนากลุ่ม ความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร 4 กลุ่ม เป็นกลุ่มเป้าหมายซึ่งได้มาโดย วิธีการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ 1) นักเรียนหลักสูตรปกติ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 12 คน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 รวมจำนวน 442 คน ที่เรียนในปีการศึกษา 2562 ซึ่งใช้หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) รวมทั้งสิ้น 454 คน และนักเรียนหลักสูตร English Program ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2 จำนวน 27 คน 2) อาจารย์ผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ หลักสูตรปกติมีจำนวน 89 คน และหลักสูตร English Program มจี ำนวน 22 คน 3) ผ้บู ริหาร ประกอบดว้ ย ผบู้ รหิ ารระดับคณะ ผู้บริหารโรงเรียน และคณะกรรมการวิชาการ ซึ่งประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้า งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และหัวหน้างานทะเบียนและประมวลผล รวมจำนวน 19 คน และ4) ผูป้ กครองของนกั เรยี นที่ศึกษาในหลักสตู รปกติ ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-2 และช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4-5 ของปีการศกึ ษา 2562 มจี ำนวน 15 คน และหลกั สตู ร English Program ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1-2 มีจำนวน 5 คน รวมจำนวนผู้ปกครอง 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ยั ประกอบด้วย แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ และประเด็นสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าสถิติ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) มีผลสรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดังน้ี
260 สรุปผลการวจิ ัย การประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาการศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับ ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ในครง้ั นี้ สรุปตามวัตถปุ ระสงค์ 3 ข้อไดด้ ังน้ี 1. ผลการศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการ ประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษา มขี ้อค้นพบ จำแนกเปน็ หลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program ดงั นี้ 1.1 หลกั สูตรปกติ 1.1.1 หลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นตามกรอบหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มีสิ่งที่ดีควรพัฒนาต่อยอด คือ เป็นหลักสูตร สถานศึกษาพัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยครบถ้วนและสมบูรณ์ สามารถรายงานผลการศึกษาของนักเรียนได้ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกำหนดทุกประเด็น มีแนวทางให้ครูได้นำไปกำหนดเนื้อหาสาระที่ใช้ในการ จัดการเรียนการสอน และมีสิ่งที่ควรแก้ไข/ปรับปรุง คือ ตัวชี้วัดบางข้อวัดได้ยาก ควรปรับข้อความ เน้นเป็นพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกได้ชัดเจน การกำหนดกรอบแนวคิดยังไม่ชัดเจน เอกสาร หลักสูตรและคู่มือการวัดและประเมินผลควรรวมเป็นเล่มเดียวกัน เป้าหมายของหลักสูตรยังไม่มี กระบวนการหรือเครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่สะท้อนถึงการบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร จุดเน้นของหลักสูตรยังไม่ชัดเจนและเพียงพอ การนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนควรต้องสร้างความเข้าใจ ร่วมกัน การจัดการเรียนการสอนไม่มีการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้อาจส่งผลให้เกิด ความไม่ต่อเนื่องและไม่เช่ือมโยง ขาดการบริหารจดั การรายวชิ าบูรณาการในระดับประถมศึกษาตอน ปลาย (ป.4-6) ในหลกั สูตรระดับประถมศึกษา ควรจัดให้มีการเรียนการสอนรายวชิ าภาษาจีน และใน ระดับมธั ยมศึกษาควรมีอาจารย์พเิ ศษมาใหค้ วามรแู้ ละประสบการณ์กับนกั เรียน 1.1.2 สภาพปญั หาของหลกั สูตรสถานศกึ ษาท่ีควรตอ้ งเรง่ แกไ้ ขปรับปรงุ และพัฒนา เพื่อมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ปัญหาอยู่ที่การนำหลักสูตรไปใช้ โดยครูไม่สามารถพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้ไปถงึ เป้าหมายของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ไดค้ รบถว้ น ซงึ่ เกิดจากความไม่พร้อมใน การปฏิบัติหน้าที่ ไม่เข้าใจหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและประเมินผลไม่ตรงตามมาตรฐาน/ ตัวชี้วัด การเรียนการสอนยึดเนื้อหาเป็นหลัก ไม่มีวิธีการที่จะทำให้ทราบว่าคุณภาพนักเรียนบรรลุ เป้าหมายตามท่ีหลกั สตู รแต่ละระดบั การศกึ ษากำหนดไว้หรอื ไม่ ส่งิ ทีค่ วรแกไ้ ขและปรับปรุงคอื ควรให้ อาจารยผ์ ู้สอนทกุ ท่านโดยเฉพาะอาจารยใ์ หม่ของโรงเรียนไดต้ ระหนกั ถึงความจำเป็นท่จี ะต้องรับรู้และ ทำความเข้าใจหลักสูตรของโรงเรียนให้ชัดเจน และสามารถนำหลักสูตรไปใช้ในการออกแบบและ จัดการเรียนการสอนให้บรรลุเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ ดังนั้นควรต้องมีการ กำหนดกระบวนการในการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนให้ชัดเจน มีระบบพี่เลี้ยงสำหรับอาจารย์ใหม่ของ โรงเรียน และมีการนิเทศ ติดตาม และช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ โรงเรียนควรมีการประเมิน หลกั สูตรเพื่อสะท้อนผลการใช้หลักสูตร และควรมีการประเมินหลักสตู รอย่างต่อเน่ืองโดยกำหนดให้มี การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผลการศึกษาหลักสูตรในแต่ละปกี ารศึกษา เพื่อนำผลไปปรับปรุง แกไ้ ขและพฒั นาคุณภาพนักเรยี น จากนน้ั นำมาประมวลผลตามวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร
261 1.1.3 สถานศึกษามีความต้องการจำเป็นมากที่จะต้องมีการประเมินหลักสูตรเพื่อ การปรับปรุงและพัฒนา โดยอาจประเมินทุกปีการศึกษา หรืออาจประเมินเมื่อครบร อบการใช้ หลักสูตรอย่างนอ้ ย 3 ปี ตามความเหมาะสม ทั้งน้ีโรงเรียนควรมีการประเมินหลักสูตรเพื่อสะท้อนผล การใช้หลักสูตร และควรมีการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่องโดยกำหนดให้มีการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ผลการศึกษาหลักสูตรในแต่ละปีการศึกษา เพื่อนำผลไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา คณุ ภาพนักเรียน จากนนั้ นำมาประมวลผลตามวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู รเม่ือใช้หลกั สูตรครบรอบทุกๆ 3 ปี 1.1.4 ความสำคัญของการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้อยู่ที่การทำความเข้าใจ หลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจนร่วมกัน หลักสูตรควรมุ่งเน้นการ พัฒนาพฤตกิ รรมของนักเรียนท้งั ดา้ นการเรยี นควบคู่กบั การพัฒนาคณุ ธรรม-จรยิ ธรรม 1.2 หลักสูตร English Program 1.2.1 หลักสตู รสถานศกึ ษามสี ิ่งที่ดคี วรพฒั นาต่อยอดและมสี ิ่งทคี่ วรแก้ไข/ปรับปรุง คอื This Curriculum aim to benefit the learners to the fullest and to be a well-rounded individual in the future but some aspects are just too much for the students and teachers to accommodate. The students study a little of so many things that we forgot. The most important thing “mastery”. We try to know more but master only a few. This I guess we have to look upon and do something. 1.2.2 สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาทีค่ วรตอ้ งเรง่ แกไ้ ขปรบั ปรงุ และพัฒนา ในสถานศึกษาเพื่อมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 คือ The Basic Core Curriculum of the MOE and the KUSK curriculum aims to develop learners potentials and abilities but there are some areas in the Basic Core Curriculum that need to be considered, some of the learning indicators that should be specifically designed for a certain level are missing so sometimes it leads to the problem about making a syllabus. 1.2.3 สถานศึกษามีความต้องการจำเป็นในการประเมินหลักสูตร กล่าวคือ Evaluation of Curriculum is necessary but changing it needs to be assessed evaluate the curriculum to see if it worked or not. If it works reuse and improve to cope with recent educational trend. But if not immediate change is recommended for the betterment of the curriculum and the institution. 1.2.4 ความสำคัญของการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ คือ 1) The school needs to activate the school support system, 2) Support teachers innovative ideas to benefit the learners, and 3 ) Provide the latest educational technologies and applications to promote and enhance learning. 2. ผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวมและเป็นรายด้าน 5 ด้าน คือ ด้านบรบิ ท ด้านปัจจยั นำเข้า
262 ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program มขี อ้ ค้นพบโดยสรปุ คือ 2.1 ผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอน ของหลักสูตรปกติ พบว่า ในภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง และมีความคิดเหน็ ในด้านผลกระทบอยู่ใน ระดับมาก โดยมีความคิดเห็นท่ีไม่สอดคล้องกัน คือนักเรียนมีความคดิ เห็นตอ่ หลักสูตรในภาพรวมอยู่ ในระดับปานกลาง ส่วนอาจารย์ผู้สอนเห็นว่าอยู่ในระดับมาก สำหรับความคิดเห็นตามองค์ประกอบ ของการประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านโดยการจัดลำดับความคิดเห็นแล้วพบว่า มีลำดับของความ คิดเห็นที่สอดคล้องกันเพียง 1 ด้านเท่านั้น คือ ด้านผลผลิต อยู่ในลำดับที่ 3 และโดยสรุปพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นในด้านผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการเป็นลำดับที่ 5 ส่วน อาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นในด้านบริบทเป็นลำดบั ที่ 1 และด้านผลกระทบเป็นลำดบั ที่ 5 มีผลสรปุ ของประเด็นในแตล่ ะดา้ น 5 ด้านดังนี้ 2.1.1 ด้านบริบท (Context) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้าน หลักสูตร และองค์ประกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี ค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ องค์ประกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร และองค์ประกอบด้านบริบท มีผลการตรวจสอบ องคป์ ระกอบและคุณภาพหลักสตู รสถานศกึ ษาในภาพรวมพบว่า หลักสตู รสถานศึกษามีคณุ ภาพอยู่ใน ระดับมาก ส่วนผลการประเมินความเหมาะสมของรายวิชาในหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรปกติ ที่ ประกอบด้วย รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) และรายวิชาเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) พบว่า ในภาพรวมและรายวิชาเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากท่ีสดุ และ ผลการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรปกติ ซึ่ง ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมชมรม และกิจกรรมเพ่ือ สังคมและสาธารณประโยชน์ พบว่า ในภาพรวม กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือ กิจกรรม แนะแนวทุกระดับชั้นควรมีคู่มือกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลนักเรียน และเน้น แนวโน้มการเลือกอาชีพในอนาคตที่มีความเป็นไปได้ของนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ควรปรับเปลี่ยนวิธีการประเมินผลให้สะท้อนถึงการปฏิบัติจริงมากกว่าการ ถ่ายภาพมาส่งอาจารย์เพียงอย่างเดียว และกิจกรรมจิตอาสา ควรปรับวิธีการประเมินและปลูกฝังจติ ใต้สำนกึ ใหน้ กั เรยี น 2.1.2 ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้าน บุคคลอยู่ในระดับมาก และองค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการ เรียนรูน้ ักเรยี นมคี วามคดิ เห็นอยูใ่ นระดับปานกลาง 2.1.3 ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนมีความคิดเหน็ อยู่ในระดับปานกลาง ทกุ ประเด็น โดยประเด็นท่ีมีค่าเฉล่ียของระดบั ความคิดเหน็ มากท่สี ุด รองลงมา และน้อยทส่ี ุดคือ 3.6) เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.13) มีอาจารย์ที่ปรึกษาดูแล ให้
263 คำแนะนำ และช่วยเหลอื นักเรยี นอยา่ งใกล้ชิด และ3.2) มีการจดั การเรียนรูโ้ ดยคำนึงถึงความสามารถ ของผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล ตามลำดับ อาจารยม์ ีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทงั้ 2 องค์ประกอบ โดยมี ค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการหลักสูตร รองลงมา คือ องค์ประกอบดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล 2.1.4 ด้านผลผลิต (Product) นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทุก ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และน้อยที่สุดคือ 4.2) นักเรียนมีสมรรถนะสำคัญบรรลุตามวตั ถุประสงคห์ ลักสตู ร (ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การ แกป้ ัญหา การใชท้ ักษะชวี ติ และการใช้เทคโนโลยี) 4.8) นักเรียนมคี วามม่งุ มน่ั ในการเรยี น การทำงาน และกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องเหมาะสม และ4.9) นักเรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ตามลำดับ อาจารย์มคี วามคิดเห็นอยใู่ นระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นทม่ี คี า่ เฉลี่ยของระดับความ คิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และน้อยที่สุดคือ 4.5) ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ (3R) ตามเป้าหมายของหลักสูตร 4.12) ผู้บริหารมีสมรรถนะในการบริหารจัดการ หลักสูตร โดยการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพอาจารย์ผู้สอนและผู้เรียน และ4.9) ผเู้ รียนมีกระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ ตามลำดบั 2.1.5 ด้านผลกระทบ (Impact) นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากใน ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดและรองลงมา คือ 5.4) นักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนประสบ ผลสำเร็จในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และ5.2) นักเรียนมีความรู้ความสามารถเป็นที่ยอมรับของ ชุมชน สังคม ท้ังภายในและภายนอกสถาบนั ตามลำดบั และประเดน็ ทีม่ ีค่าเฉลี่ยน้อยทส่ี ดุ ซ่งึ นกั เรียน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 5.1) นักเรียนมีความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบัน อาจารยม์ คี วามคิดเห็นอยใู่ นระดับมากทกุ ประเดน็ โดยประเดน็ ทีม่ คี า่ เฉลยี่ ของระดับความคิดเห็นมาก ที่สุด รองลงมา และน้อยที่สุดคือ 5.3) ผู้ที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของ สถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ 5.7) โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน และสังคม และ5.5) อาจารย์ผสู้ อนมกี ารเผยแพร่ผลงานวชิ าการ งานวิจยั อยา่ งตอ่ เน่ือง ตามลำดับ 2.2 ผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอน ของหลักสูตร English Program พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และนักเรียนมีความคิดเห็นต่อ หลกั สูตรในภาพรวมอยู่ในระดับมากซ่ึงสอดคล้องกันกับความคิดเหน็ ของอาจารยผ์ ้สู อน สำหรับความ คิดเห็นตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านโดยการจัดลำดับความคิดเห็นทั้งของ นักเรียนและของอาจารย์ผู้สอนแล้วพบว่า มีลำดับของความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน 2 ด้าน คือ ด้าน บริบทอยู่ตรงกันในลำดับที่ 3 และด้านผลผลิตอยู่ตรงกันในลำดับที่ 4 และโดยสรุปพบว่า นักเรียนมี ความคิดเหน็ ในดา้ นผลกระทบเปน็ ลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการเป็นลำดับที่ 5 ส่วนอาจารย์ผูส้ อน มีความคดิ เหน็ ในดา้ นกระบวนการ เปน็ ลำดบั ที่ 1 และด้านปจั จัยนำเข้าเป็นลำดบั ที่ 5 ซ่ึงไม่สอดคล้อง กัน มผี ลสรปุ ของประเด็นในแต่ละดา้ น 5 ดา้ นดงั น้ี
264 2.2.1 ด้านบริบท (Context) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้าน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอยู่ในระดับมาก ส่วนองค์ประกอบด้านหลักสูตรอยู่ในระดับปาน กลาง และองค์ประกอบดา้ นบริบท มีผลการตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษา โดย คณะกรรมการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนได้ประเมินคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาตามเกณฑ์ใน ภาพรวมพบว่า หลักสูตร English Program มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั มากเช่นเดยี วกบั หลกั สตู รปกติ สว่ น ผลการประเมนิ รายวชิ าของหลักสูตร English Program ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบวา่ ทุกรายวิชา ในภาพรวม รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม (ตามจุดเน้น) และรายวิชาเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) มี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมชมรม และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ พบว่า หลักสูตร English Program ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในภาพรวมของ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น และทุกกิจกรรมย่อยมีความเหมาะสมอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ดุ 2.2.2 ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้าน บุคคล และองค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนบั สนุนทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนรู้อยู่ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ องค์ประกอบด้านบุคคล รองลงมาคือ องค์ประกอบดา้ นเอกสาร สอ่ื เทคโนโลยี และสิ่งสนบั สนุนที่เออื้ ต่อการเรียนรู้ 2.2.3 ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากใน ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดและรองลงมา คือ 3.1) มีการจัดการเรียนรู้ด้วย วิธีการที่หลากหลาย และ3.11) เปิดโอกาสให้นักเรยี นมีส่วนร่วมในการวัดและประเมนิ ผล ตามลำดับ และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด โดยนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน กลาง คือ 3.16) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนช่วยสะท้อนความสามารถและความถนัดของนักเรียนได้ดี อาจารย์มีความคิดเห็นต่อทั้ง 2 องค์ประกอบ อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น มากที่สุด คือ องค์ประกอบด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล รองลงมา คือ องคป์ ระกอบด้านการบรหิ ารจัดการหลักสูตร 2.2.4 ด้านผลผลิต (Product) นักเรียนมีความคดิ เหน็ อยูใ่ นระดบั มากในประเด็น ที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดและรองลงมา คือ 4.10) นักเรียนมีความสามารถในการ สรา้ งสรรคช์ น้ิ งาน และ4.9) นกั เรียนมกี ระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ตามลำดับ และประเด็นที่มี ค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 4.7) นักเรยี นมีความสามารถตามคุณลักษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 (7C) ตามเปา้ หมายของหลักสูตร อาจารยม์ คี วามคิดเหน็ อยู่ในระดบั มากทกุ ประเดน็ โดยประเด็นท่มี คี า่ เฉลยี่ ของระดับความคดิ เห็นมาก ที่สุด รองลงมา และน้อยที่สุดคือ 4.1) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ หลกั สตู ร 4.12) ผบู้ ริหารมสี มรรถนะในการบริหารจัดการหลักสูตร โดยการนำหลกั สตู รสู่ช้ันเรียนเพื่อ ยกระดับคุณภาพอาจารย์ผู้สอนและผู้เรียน และ4.9) ผู้เรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ตามลำดบั 2.2.5 ด้านผลกระทบ (Impact) นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากใน ประเด็นทีม่ คี า่ เฉล่ยี ของระดับความคิดเห็นมากทส่ี ดุ และรองลงมา คือ 5.6) โรงเรยี นมชี ื่อเสียงและเป็น ผู้นำในด้านการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และ
265 มธั ยมศึกษา และ5.4) นกั เรยี นท่จี บการศึกษาจากโรงเรียน ประสบผลสำเร็จในการศึกษาตอ่ ในระดับที่ สูงขึ้น ตามลำดับ และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมคี วามคิดเห็น อยู่ในระดับปานกลาง คือ 5.1) นักเรียนมีความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบัน อาจารย์มีความ คิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ประเด็น คือ 5.7) โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน และ สังคม รองลงมาและน้อยที่สุด ซึ่งอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 5.3) ผู้ที่จบการศึกษา จากโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของสถาบันการศึกษาท้ังในและต่างประเทศ และ5.5) อาจารย์ผู้สอนมีการ เผยแพรผ่ ลงานวิชาการ งานวจิ ัยอย่างตอ่ เนือ่ ง ตามลำดับ 3. ผลการเสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยจำแนกเป็น หลักสตู รปกติ และหลักสูตร English Program 3.1 หลักสูตรปกติ มีผลการเสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษา ตามองค์ประกอบ 5 ด้านดังนี้ 3.1.1 ด้านบริบท (Context) ควรปรับข้อความตัวชี้วัดเน้นเป็นพฤติกรรมที่ นักเรียนแสดงออกได้ชัดเจน ควรปรับลดจำนวนตัวชี้วัดให้เหลือเท่าที่จำเป็น และควรปรับการเรียน การสอนในวิชาหน้าที่พลเมืองในรูปแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่น โรงเรียนควรบริหารให้ครูผู้สอน สามารถสอนบูรณาการ STEM ได้ ควรมีการแนะนำการเลือกสือ่ หรือหนังสือเรียนให้เหมาะสมกับวยั ของนักเรียน หลกั สตู รแกนกลางฯ ควรปรับสดั ส่วนให้สถานศกึ ษาสามารถจัดรายวิชาเรียนตามจุดเน้น ได้มากขน้ึ ควรให้สถานศกึ ษามีอสิ ระในการออกแบบหลักสูตรได้อย่างแท้จริง หลักสูตรควรตอบสนอง นักเรียนแต่ละคน และควรมีรูปแบบการประเมินที่หลากหลายและเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล นักเรียนควรได้รับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการนำไปใช้ศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ควรสร้าง แรงจูงใจให้ครูไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะการจดั การเรียนรู้และการประเมินผลทีส่ ง่ เสรมิ ทักษะผูเ้ รยี น ในศตวรรษที่ 21 และพฒั นาเคร่ืองมือประเมินที่สะท้อนผลลัพธ์การบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ควร ทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจนร่วมกัน นำหลักสูตร ไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำ ผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา โรงเรียนและครอบครัวควรให้ ความสำคญั กบั การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจของนกั เรยี นท่ีอยู่ในยุคการเปล่ียนแปลงแบบหักศอก (Disruption) แนะนำให้นักเรียนได้ปรับตัวและกล้ายอมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น การกำหนด กรอบแนวคิดในเอกสารหลักสตู รของโรงเรยี นสาธิตเกษตรฯ กำแพงแสนยังไม่ชัดเจน ควรจำแนกเป็น ระดับการศึกษาและให้มีภาพประกอบคำบรรยาย เอกสารหลักสูตรและคู่มือการวัดและประเมินผล ควรรวมเป็นเลม่ เดียวกัน และใหม้ อี งค์ประกอบครบถ้วนเพียงพอท่จี ะนำไปใชป้ ฏิบัติได้จริงในช้ันเรียน ควรทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจนร่วมกัน นำ หลักสูตรไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา และควรเพิ่มจุดเน้นและ ความโดดเด่นของโรงเรียนให้เด่นชัดกว่าที่ปรากฏอยู่ในหลักสูตร การนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนควรต้อง
266 สร้างความเข้าใจร่วมกัน กำหนดให้มีการเลือกวิธีหรือรูปแบบการจัดการเรียนการสอนและการ ประเมินผลที่เหมาะสมเพื่อให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามที่หลักสูตรกำหนด ควรมี ระบบการบริหารจัดการหลักสูตรรายวิชา โดยให้มีการปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนและการวดั และประเมินผลให้มีความชัดเจนในแนวทางการปฏิบัติและมีความต่อเนื่องของสาระที่ใช้ในการจัด กิจกรรม ในหลักสตู รระดับประถมศกึ ษา ควรจดั ใหม้ ีการเรยี นการสอนรายวิชาภาษาจนี และในระดับ มธั ยมศึกษา ควรมีอาจารย์พเิ ศษมาให้ความรู้และประสบการณ์กับนักเรยี น ควรพจิ ารณาปรับรายวิชา ให้เหมาะสม และบริหารจัดการผู้สอนเพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา ควรให้ อาจารยผ์ ู้สอนทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ของโรงเรียนได้ตระหนกั ถึงความจำเป็นที่จะต้องรับรู้และ ทำความเข้าใจหลักสูตรของโรงเรียนให้ชัดเจน และสามารถนำหลักสูตรไปใช้ในการออกแบบและ จัดการเรียนการสอนให้บรรลุเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ ดังนั้นควรต้องมีการ กำหนดกระบวนการในการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนให้ชัดเจน มีระบบพี่เลี้ยงสำหรับอาจารย์ใหม่ของ โรงเรียน และมีการนิเทศ ติดตาม และช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนี้ควรให้อาจารย์ ผ้สู อนมกี ารวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด เพ่อื จัดลำดับความสำคัญของเนื้อหาสาระในกรณีท่ีต้อง มีการต่อยอดความรู้ข้ามศาสตร์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเพียงพอสำหรับการศึกษาในเรื่องท่ี ซับซ้อนมากขึ้นหรือในระดับชั้นเรียนทีส่ ูงขึ้นได้ นักเรียนต้องการให้เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละรายวิชา ในภาพรวมมคี วามเหมาะสม สามารถนำไปใช้ไดจ้ รงิ ในชีวิตประจำวัน สง่ เสริมให้นกั เรียนมคี วามพร้อม ในการศึกษาต่อตามความถนดั ความสนใจ และความตอ้ งการของนกั เรยี น เวลาเรียนต่อวันมากเกินไป และมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ของหลักสูตร ควรเพิ่มการจัดกจิ กรรมเสริมหลักสูตรให้มาก ขึ้นเพื่อเน้นความกล้าแสดงออกของนักเรียน ควรเพิ่มจำนวนคาบเรียนวิชาเทคโนโลยี พลศึกษา และ ดนตรีให้มากขึ้น วิชาพละให้มีมวยสากล ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายควรมีแผนการเรียนเพิ่มข้ึน และเน้นด้านอาชีพ เช่น วิทย์-แพทย์ วิทย์-กีฬา ภาษาต่างประเทศ-ภาษาเกาหลี ควรนำหลักสูตรใน มหาวิทยาลัยมาทดลองใช้ในระดับมัธยมศึกษาเพื่อให้นักเรียนมีทางเลือกที่เหมาะสมกับตนเอง หลากหลายมากขึ้น มีระบบแผนการเรียนเตรียมศิลปกรรม เตรียมวิทย์-คอมพ์ เตรียมนิเทศ-มนุษย์ เปน็ ต้น แทนแผนการเรียนทเี่ ปิดในปัจจุบัน ควรมีวิชาเลือกให้นักเรียนได้เลือกเรียนมากขึ้นครอบคลุม ทุกกลมุ่ สาระฯ มรี ายวชิ าอาชีพทีเ่ จาะลึกถึงเร่ืองนน้ั ๆ ควรให้วิชา \"งานช่างไม้\" อย่ใู นวิชาเพิ่มเติมหรือ ชมรมอย่างเดียว ไม่ต้องการให้อยู่ในกลุ่มรายวิชาพื้นฐาน ในโครงการแลกเปลี่ยนนักเรียนใน ต่างประเทศควรให้มีเกาหลีมาด้วย ควรพัฒนาหลักสูตรวิทย์-คณิตให้เข้มข้นขึ้นเพื่อการสอบแข่งขัน ตา่ งๆ และเน้นภาษาอังกฤษมากข้ึน โรงเรียนสมควรเป็นสถานท่ีท่ีทำให้เด็กไดร้ วู้ ่าชอบอะไร หลักสูตร ควรเนน้ ความสามารถของเดก็ มากกวา่ การให้แตค่ วามรู้ ควรลดชว่ั โมงวิชาภาคบังคบั ลงและเพ่ิมชัว่ โมง วิชาเลอื กและชมรมให้มากขึ้น ควรจัดห้องเรียนแบบคัดมากกว่าแบบคละชน้ั เพื่อให้อาจารยใ์ นรายวิชา สอนได้อย่างทว่ั ถงึ ควรปรับเวลาเรยี นเป็นเรยี นวชิ าหลักในช่วงเชา้ เพิ่มชว่ งกลางวนั เป็นเรียนวิชาตาม ความถนัด ควรลดเวลาเรียน ลดงาน ลดการบ้านลง บางอย่างเรียนไปก็ไม่ได้ใช้ เพื่อให้นักเรียนนำ เวลาว่างไปอ่านหนังสือ หรือค้นคว้าหาความรู้ในสิ่งที่สนใจและสิ่งที่ชอบเพื่อต่อยอดในอนาคต และ อาจารย์ควรสอนใหเ้ ตม็ เวลาและไม่ต้องให้มีการบ้าน นักเรยี นท่ไี มผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ของหลักสูตร โรงเรียนควรพิจารณาสาเหตุที่แท้จริงและมีระบบการให้ความช่วยเหลือให้ทันก่อนนักเรียนจบ หลกั สตู ร ควรจัดโครงการเพ่อื เช่อื มตอ่ การศึกษาระหวา่ งระดับปฐมวยั สู่ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
267 ตามลำดบั เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดป้ รบั ตัวเข้ากับการเรียนการสอนในระดับท่สี งู ข้ึนได้ โดยมีเป้าหมายคือการ พัฒนานักเรยี นใหบ้ รรลุมาตรฐานการศึกษาและคุณภาพนักเรียนตามท่ีหลักสตู รสถานศกึ ษาท่ีกำหนด การนำหลักสูตรไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมนิ ผลอาจยงั มสี ่วนที่ต้องพัฒนา ในเรื่องกระบวนการในการพัฒนานักเรียนให้ไปในทิศทางของหลักสูตร การสร้างความเข้าใจร่วมกัน เป็นสิ่งสำคัญที่สุดของอาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการนำหลักสูตรไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพ นักเรียนได้ตามเป้าหมาย เมื่อพิจารณาบริบทของสังคมในปัจจุบัน หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ควรมีการปรับปรุงวิสัยทัศน์ของหลักสูตรควรเป็น การจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งการคดิ สรา้ งสรรค์ และทักษะนวัตกรรมให้มากข้ึน ควรเพิ่มเติมการคิด ขัน้ สงู (Higher-order thinking) Creative Based, Technology Based ไวใ้ นกรอบแนวคดิ หลกั สตู ร ร่วมกับ Project Based, Career Based เน้น Competency Based ไว้ในกรอบแนวคิดหลักสูตร และแนวการจัดหลักสูตรระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ควรเน้นการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ Creative Integration ใหม้ ากขึน้ จะชว่ ยเสริมสรา้ ง Innovative skills 3.1.2 ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรด้าน บุคคล คือ อาจารย์และเจ้าหน้าที่ควรเป็นต้นแบบที่ดีให้นักเรียน มีความยุติธรรม ให้ความเสมอภาค ควรมีอุปกรณ์ประกอบการสอน ควรเน้นปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี ไม่ทิ้งคาบสอบ ควรสอนให้เด็กเข้าใจ ได้โดยควรอธิบายเพิ่มเติมจากในหนังสือเรียน ไม่ปล่อยเกรดและคะแนน ควรควบคุมชั้นเรียนให้ได้ ในขณะสอน และควรใชภ้ าษาที่สุภาพในชัน้ เรียน ควรมอี าจารยม์ าสอนวิชา English เปน็ ชาวอเมริกัน มากกว่าฟิลิปปินส์ ที่จะช่วยให้นักเรียนสามารถฟังพูดอ่านเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสอนใน ระดับประถมศึกษาโดยอาจารย์ไม่ควรให้คำอ่านที่เป็นภาษาไทยให้เด็ก ควรเน้นให้เด็กออกเสียงให้ ถูกต้องจะเหมาะสมกว่า ควรอนุญาตให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีประกอบการเรียนได้เป็นส่วนตัว เช่น iPad ในการ Lecture จะทำให้ค้นคว้าข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และให้ใช้โทรศัพท์ในขณะเรียนได้แต่มี มาตรการควบคุม เจา้ หน้าที่ควรให้ความเป็นมิตรกบั นักเรยี น อาจารยผ์ สู้ อนและอาจารย์ประจำชั้น/ที่ ปรึกษาควรมีหน้าที่โดยตรงที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้ได้มากที่สุดในทุกด้าน เพราะใกล้ชิด นักเรียนและสามารถจะเข้าใจนักเรยี นได้ดี เพ่ือนและรนุ่ พ่ีกม็ สี ว่ นชว่ ยในเร่ืองการเรียนได้ ผู้ปกครองมี สว่ นชว่ ยเหลอื สำหรับนักเรยี นระดับประถมศึกษา แตใ่ นระดบั มธั ยมศึกษานักเรยี นต้องดูแลตัวเองมาก ขึ้น โรงเรียนควรมีกิจกรรมที่อาจจะให้ผู้ปกครองบางคนเข้ามาร่วมกิจกรรมแนะนำเรื่องอาชีพและ แนวทางการศึกษาต่อให้แก่นักเรียนได้ ในช่วงวยั ประถมศึกษา อาจารย์ควรช่วยปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ ดี ให้คำแนะนำ มีเหตุผลกับเด็ก การเรียนการสอนตอบสนองความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยนกั เรียนสามารถเข้าเรยี นตอ่ ในระดับมหาวิทยาลัยได้ นักเรยี นมคี วามปลอดภัย มสี งั คม ที่ดี นักเรียนมีความพร้อมทางด้านวิชาการ ปัจจัยสำคัญทีจ่ ะช่วยขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสู่ช้ันเรยี น คือ ด้านอาจารย์ผู้สอนควรต้องได้รับการดูแลและพัฒนาจากทางโรงเรียน ควรมีการเพิ่มกิจกรรม ร่วมกับชุมชนหรือมีการสำรวจความตอ้ งการของชุมชน และเปิดโอกาสใหผ้ ู้ปกครอง ศิษย์เก่าเข้ามามี ส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนและติดตามความก้าวหน้าในผลการเรียนของนักเรียน และการเรียน การสอนของโรงเรียน ควรมีการบริหารจัดการหลักสูตรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีการสร้างและ ปรับเปล่ยี น mindset เพอื่ การนำหลักสตู รไปใช้ตามวัตถุประสงค์ มีการพัฒนาวธิ กี ารหรอื ขั้นตอนการ นำหลกั สตู รไปใช้ร่วมกนั มกี ารให้คำแนะนำ ตดิ ตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เลอื กวิธีการจดั การเรียนรู้และ
268 การประเมินผลที่หลากหลายและเหมาะสมเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้บรรลุ เป้าหมาย มีการจัดการความรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมกันแก้ไข/ ปรับปรุงและสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน มีครูภูมิปัญญาให้กับนักเรียน มีแหล่งเรียนรู้เชิง สร้างสรรค์ และชุมชนมีส่วนร่วมในการสะท้อนคุณภาพผู้เรียน และปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนการ นำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชั้นเรียน ควรประกอบด้วย Growth mindset และ Passion ของบุคลากร ทกุ ฝ่ายในการนำหลักสตู รไปใช้ในช้ันเรียนตามเจตนารมณ์ของหลกั สูตร ความรคู้ วามเข้าใจและทักษะ ในการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ของผู้สอน ที่สามารถตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของ ผเู้ รยี น และความเขม้ แขง็ ของการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาของชุมชนและผู้ปกครอง 3.1.3 ดา้ นกระบวนการ (Process) แนวทางการพฒั นาและปรับปรุงหลักสูตร คือ ควรมกี ารจดั การดูแลเด็กให้ทว่ั ถงึ ควรทำตารางกจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้นักเรยี นตั้งแตต่ น้ -จบปีการศึกษาว่า มีกิจกรรมใดวันใด โรงเรียนควรรับฟังความเห็นของนักเรียนจากตัวแทนนักเรียนแต่ละระดับชั้น อาจารย์ควรเพิ่มเทคนิคใหม่ ๆ ในการสอน ให้เด็กได้ปฏิบัติลงมือทำจริงและเรียนนอกห้องเรียนบ้าง เพิ่มทักษะในการใช้ชีวิตประจำวัน และจัดรูปแบบการสอนให้น่าสนใจ ควรให้เด็กมีโอกาสเลือกเรียน ในสิ่งท่ีจะนำไปใช้ได้จริงมากกว่านี้ ควรปรับปรุงหลักสูตรแบบระบบของประเทศฟินแลนด์ ให้ อิสรภาพกับผู้เรียนมากขึ้น ช่วยแนะนำผู้เรียน และเข้าถึงผู้เรียนให้มากขึ้น และสามารถประเมิน ผู้เรียนได้ตามความประสงค์ของผู้เรียน ควรมีเวลาว่างที่ให้นักเรียนได้ลองทำสิ่งต่างๆ มากกว่าการ เรียนคาบที่ 7 หรือคาบที่ 8 ของแต่ละวัน การติว GAT, PAT ควรให้มีการติวในแผนภาษาและ สนับสนุนการสอบวัดระดับให้นักเรียนด้วย อาจารย์ควรให้คำแนะนำในเรื่องการศึกษาต่ออย่างเป็น กลางไม่พดู โนม้ นา้ วให้เด็กเกดิ ความร้สู กึ ท่ีไมด่ ีตอ่ บางสถาบนั และควรมคี วามพร้อมให้มรี ะบบการแนะ แนวที่เข้มข้นเพื่อให้เด็กได้รู้เส้นทางและเตรียมความพร้อมสำหรับตนเองมากขึ้นด้วย และควร สนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม Open house ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ โดยนับเวลาเรียน รายวิชาให้ ควรพฒั นานักเรียนให้มีศกั ยภาพท้ังดา้ นความรู้และคุณธรรม ควรแนะนำให้เด็กๆ มีโอกาส ทำงานพาร์ทไทม์ ควรมีกิจกรรมรุ่นพี่รุ่นน้องเพื่อสร้างความผูกพันและให้ความเคารพซึ่งกันและกัน การเรียนการสอนควรใหเ้ ด็กๆ สามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันและทำอะไรได้จริงด้วย ควรมีการตง้ั คำถามชวนคิดให้นักเรียนมากกว่าคำถามท่ีท่วั ๆไป และควรจัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนได้พบกับเพื่อนต่าง โรงเรียนมากขึ้น การวัดและประเมินผลควรแจ้งนกั เรียนให้ชดั เจนเกี่ยวกับวิธีการประเมินและการให้ คะแนน ควรเสริมสร้างประสบการณ์ทางด้านการแข่งขันให้กับนักเรียนมากขึ้น เช่น กิจกรรมแข่งขัน ตอบปัญหา ส่งเสริมกิจกรรมการแสดงความสามารถของนักเรียนทุกสัปดาห์ในแต่ละวิชาและแต่ละ ระดบั ชนั้ และให้เดก็ ศึกษาการใชช้ ีวิตมากกว่าการเรียนตามหลักสูตรกระทรวงฯ ควรจัดการเรียนการ สอนนอกห้องเรียนมากกว่าในห้องเรียนเพราะในชีวิตจริงไม่ได้อยู่ในห้องเรียน มอบหมายงานแบบ พอดี ไม่มอบหมายก่อนสอบและให้เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ควรมีอุปกรณ์การปฏิบัติสำหรับ นักเรียนให้พร้อมและเพียงพอ ควรสอนนอกเหนือจากที่หนังสือมีเพราะในหนังสือนกั เรียนอ่านเองได้ เน้นกระบวนการแกป้ ัญหาจากชวี ิตในปัจจุบนั ควรมรี ะบบการดูแลนักเรยี นอยา่ งใกลช้ ดิ เวลาทำงานท่ี อาจเกดิ อบุ ัตเิ หตุอาจารยค์ วรสอนวิธปี อ้ งกนั หรือทำใหด้ เู ป็นตวั อยา่ ง ควรมกี ารพัฒนามารยาทนักเรียน ให้มากขึ้น ควรมีกิจกรรมราตรีเขียว-ม่วงสำหรับเด็กมัธยมเหมือนเด็กประถม ควรมีกิจกรรมค่ายเพ่ือ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้องบ่อยๆ ควรออกแบบการจัดงานปัจฉิมนิเทศให้รู้สึกผูกพัน
269 และประทับใจ ควรดแู ลและควบคุมเด็กด้ือโดยใชห้ ลักจิตวิทยา ควรนำปญั หาท่ีพบในกระทู้ kuskfact มาพัฒนาในบางส่วน อยากให้มีกิจกรรมแข่งขันตอบปัญหา ความสามารถต่างๆ ในแต่ละวิชาและแต่ ละระดับชั้น ควรมีการส่งเสริมการเรียนเพิ่มเติมสำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ งานกิจกรรม ต่าง ๆ ถ้าเป็นตามรายวิชาก็ควรจัดรวมกันแบบวันวิชาการ งานกีฬาสีควรเพิ่มกีฬา e-sport สำหรับ วัยรุ่น ควรมีระบบการสอนที่ทำให้นักเรียนได้สนุกไปกับการเรียนและอยากมาเรียนมากกว่าอยู่บ้าน ครูต้องเข้าใจพื้นฐานของเด็กแตล่ ะคน ควรจดั สภาพแวดล้อมในโรงเรียนใหม้ ีต้นไมม้ ากขนึ้ และทำป้าย ชอื่ ต้นไมใ้ ห้เด็กไดเ้ รียกช่ือได้ถูกต้อง ดแู ลเรือ่ งระเบยี บวนิ ัยของนักเรียนให้มากข้ึน และควรให้นักเรียน ได้ใช้โทรศัพท์หรือ IPad เป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าในระหว่างการเรียนได้ หลักสูตรควรมี วตั ถุประสงค์เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจให้กับนกั เรียน และควรพัฒนาการทำงานให้แกน่ ักเรียน ไม่ควรให้ เป็นหน้าท่ีของนักเรียนคนใดคนหน่งึ ในกลุม่ และเห็นวา่ ปจั จยั สนับสนุนเพือ่ ใหห้ ลักสูตรมีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมายมากขึ้นคือ อาจารย์ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถตรงตามสาขาที่สอน มีการ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่นักเรียน มีจิตใจโอบอ้อมอารีกับนักเรียน มีบทบาทที่หลากหลาย เช่น เป็นครู เป็นที่ปรึกษา เป็นเพื่อน มีคุณธรรม มีการติดตามข่าวสารและเทคโนโลยีใหม่ๆ เพ่ือ นำมาใช้ในการเรียนการสอน และมีการนิเทศและติดตามการสอนของอาจารย์ที่เข้ามาสอนใหม่ ด้าน นักเรียน ควรต้องอยู่ในกฎและรักษาระเบียบวินัยของโรงเรียน มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มีเป้าหมาย และมีแรงบันดาลใจในการเรียน ด้านบรรยากาศในห้องเรียน ควรสร้างบรรยากาศในห้องเรียนเพื่อ กระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียนรู้ กระตุ้นให้นักเรียนอยากเรียน มีความสุขและสนุกกับการเรียน ควรมี มุมที่สร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ในห้องเรียน และห้องเรียนต้องสะอาด ด้านสื่ออุปกรณ์และ แหล่งเรียนรู้ ควรมีสือ่ อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย และเพียงพอกับจำนวนนักเรียน และด้านการ สนับสนุนจากผบู้ รหิ าร โดยควรยึดม่ันในความถูกต้องและความดี กล้าตัดสินใจ มีความยตุ ธิ รรม เข้าใจ นักเรียนและดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึงทุกระดับชั้น สนับสนุนนักเรียนในด้านการแข่งขันทั้งในและนอก โรงเรียน รวมทั้งสนับสนุนนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ โรงเรียนควรมี “รูปแบบการพัฒนา หลักสูตร” ที่ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ คือ การจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วน ร่วมของทุกฝ่าย เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนทุกด้าน สร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ให้บุคลากร 2) วัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับจุดเน้นและอัตลักษณ์ของ โรงเรียน และเพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และคุณธรรมและ จริยธรรมตามที่สังคมต้องการ 3) กระบวนการ ดำเนินการโดย การสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับ หลักสูตรสถานศึกษาและการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาหลักสูตร กำหนดบทบาทหน้าที่ความ รบั ผิดชอบในการดำเนินการพัฒนาหลักสูตร จัดทำรายละเอยี ดตามองคป์ ระกอบหลักสตู รให้ครบถ้วน ติดตามตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสมเพื่อปรับปรุงและแก้ไข นำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน ประเมินผล และตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับรองหลักสูตร 4) การวัดและ ประเมนิ ผล ไดแ้ ก่ ประเมินคุณภาพนกั เรยี นดา้ นทักษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 และประเมินคุณภาพ นักเรียนตามจุดเน้นและอัตลักษณ์ของโรงเรียนรวมทั้งคุณธรรมและจริยธรรม 5) ปัจจัยสนับสนุน ประกอบด้วย การสนับสนุนจากโรงเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการสร้างสือ่ นวัตกรรมของ อาจารย์ การสร้างขวัญและกำลังใจของผู้บริหาร และความร่วมมือในการนำหลักสูตรไปใช้ของ อาจารย์ และความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง
270 ชุมชน และสถาบันเครือข่ายความร่วมมือ นอกจากน้ีรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียน ควรให้ ความสำคัญกับ Growth mindset ในการพัฒนาหลักสูตรที่คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและ บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรที่ให้ความสำคัญกับคุณภาพผู้เรียนด้านต่างๆ และ พัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียนในลักษณะ Personalized learning และใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ร่วมกับการเรียนรู้แบบ Creative Team Learning ควรมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อตอบสนองธรรมชาติและความ ต้องการของผู้เรียน เสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนแบบบูรณาการ เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับผูเ้ รียน และเพื่อพัฒนาชุมชน ผู้นำนวตั กรรมหลักสตู ร และการเรียนรูข้ องครูในโรงเรยี น ควรมีกระบวนการโดย การกระตุ้น Growth mindset และ Passion ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการ พัฒนาหลักสูตร การถอดบทเรียน จุดแข็ง และจุดที่ควรปรับปรุงหลักสูตรเดิม การกำหนดเป้าหมาย คุณภาพผู้เรียนที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมในอนาคต การดำเนินการพัฒนาหลักสูตรที่มี ความเป็นนวัตกรรม Curriculum innovation ตอบสนองเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน การใช้หลักสูตร แบบวิจัยเป็นฐานที่มีการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามวงจร Plan Do Check Reflection ควรมีการวัดและประเมินผล ได้แก่ การประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนอย่างต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง การสะท้อนผลการประเมินและนำไปปรับปรุงหลักสูตร และการถอดบทเรียนนวัตกรรมหลักสตู รและการเรยี นรู้ของโรงเรยี น และควรคำนึงถงึ ปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ การสนับสนุนเชิงวิชาการของผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับโรงเรี ยน Growth mindset ของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การ สนับสนุนจากชุมชน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ทรัพยากรหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ งบประมาณในการดำเนินการ และการได้รบั ความร่วมมือจากผู้ปกครอง ควรมีการประเมินผลตรงกบั สภาพความเป็นจริงของนักเรียน ควรเน้นการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของผู้เรียน พัฒนา กิจกรรมเสริมทักษะของนักเรียนด้านวิชาการ ด้านอาชีพ ด้านทักษะต่างๆ ในชีวิตประจำวนั ควรเน้น การเรียนการสอนที่มีการลงมือปฏิบัติที่มีความหลากหลาย และเน้นให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริงด้วย ตนเอง มีการนำแหล่งเรยี นรู้หรือบุคลากรในมหาวิทยาลัยเข้ามามีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอน มีการ แนะแนวให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ตรงตามความต้องการและความสามารถ ของตนเอง รวมทั้งการเพิ่มทักษะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานเป็นทีม และทักษะการสื่อสาร และโรงเรียนควรดึงศักยภาพ ของผู้ปกครองมาสนับสนุนการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆ ควรมีการนำหลักสูตรไปใช้ในการ จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนโดยเสนอใหม้ ีรูปแบบการเรียนการสอนเป็นของตนเอง (สาธิตเกษตร โมเดล) ซึ่งเป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของสาธิตเกษตร กำแพงแสน โดยเฉพาะ ทั้งนี้ต้องมั่นใจได้ว่าโมเดลนั้นสามารถนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมายสอดคล้องกับความต้องการ ของประเทศและชุมชน โดยอาจารย์ต้องปรบั เปล่ียนวธิ ีการคิด ปรบั เปล่ยี นวธิ กี ารสอน และในทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนจะต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานที่ต้องทำให้เด็ก บรรลุเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษา รวมถึงการบริหารจัดการของผู้บริหารจะต้องตอบสนองต่อ เป้าหมายของโมเดล ดังน้ันผ้บู ริหารโรงเรยี นต้องกลา้ คดิ กล้าทำ และกล้าปรับเปล่ยี น
271 3.1.4 ด้านผลผลิต (Product) โรงเรียนควรให้ความสำคัญกับการสร้างกลไกการ พัฒนาผลผลิตจากหลักสูตรเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาบรรลุผลตาม จุดม่งุ หมายทเ่ี กี่ยวข้องคือ คณุ ลักษณะท่ดี ีของนักเรียน และอาจารย์ผูส้ อน กล่าวคอื คุณลักษณะครูที่ พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรเป็นผู้มีความรู้ และเข้าใจนักเรียน สอนเข้าใจและเน้นให้นักเรียนได้ ปฏิบัติจริง มีความรู้และความชำนาญในวิชาที่สอน ดูแลและเอาใจใส่นักเรียนทั่วถึง และมีจิตใจโอบ อ้อมอารีกับนักเรียน มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ มีความสามารถในการวิจัยในชั้นเรียน และมี ความเอาใจใส่ในการพัฒนานักเรียน มี Passion ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รักการสอน/รักการ จัดการเรียนรู้ รักผู้เรียน มีความเป็นกัลยาณมิตร เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และเป็นนักสร้างสรรค์ นวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ ส่วนคุณลักษณะนักเรียนที่พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรเป็นผู้มี ความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่เรียน มีความรู้ความสามารถทางวิชาการหรือเฉพาะทาง มีทักษะการคิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่สามารถแปลงความคิดสร้างสรรค์มา เป็นนวัตกรรมได้มีทักษะการแก้ปัญหา และทักษะด้านการใช้ภาษาในการสื่อสาร มีความรับผิดชอบ ต่อตนเองและผู้อืน่ มีวนิ ัย มีคุณธรรม-จรยิ ธรรม มจี ิตอาสา เหน็ คณุ ค่าในตนเอง มีความเอ้ือเฟือ้ เผื่อแผ่ และแบ่งปนั (เมตตากรณุ า) 3.1.5 ด้านผลกระทบ (Impact) ควรมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนรู้สึกรักและ ภาคภูมิใจต่อสถาบัน และสนับสนุนให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้รวมทั้งให้บริการวิชาการแก่เพื่อนร่วมวิชาชีพทั้งในและนอกโรงเรียน หลักสูตรควรจัดรายวิชา เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้น้อยลงเพื่อให้นักเรียนมีเวลาเตรียมความพร้อมเข้ามหาวิทยาลัย ได้มากข้ึน 3.2 หลักสูตร English Program มีผลการศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาและ ปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามองคป์ ระกอบ 5 ดา้ นดังนี้ 3.2.1 ดา้ นบรบิ ท (Context) ควรปรบั ข้อความตัวช้ีวดั ที่เน้นพฤตกิ รรมท่ีนักเรียน แสดงออกได้อย่างชัดเจน ควรปรับลดจำนวนตัวชี้วัดให้เหลือเท่าที่จำเป็นที่สามารถสะท้อนความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่จำเป็นของนักเรียนในชีวิตจริง และควรปรับการเรียนการสอนในวชิ าหน้าที่ พลเมืองในรูปแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่น โรงเรียนควรบริหารให้ครูผู้สอนสามารถสอนบูรณาการ STEM ได้ ควรมีการแนะนำการเลือกสื่อ หรือหนังสือเรียนให้เหมาะสมกับวัยของนักเรียน หลักสูตร แกนกลางฯควรปรับสัดส่วนให้สถานศึกษาสามารถจัดรายวิชาเรียนตามจุดเน้นได้มากขึ้น ควรให้ สถานศึกษามีอิสระในการออกแบบหลักสูตรได้อย่างแท้จรงิ หลกั สตู รควรตอบสนองนักเรียนแต่ละคน และควรมีรูปแบบการประเมินที่หลากหลายและเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล ควรสร้างแรงจูงใจ ให้ครูได้รับการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลที่ส่งเสริมทักษะผู้เรียนใน ศตวรรษท่ี 21 ได้ และพัฒนาเครื่องมือประเมินท่ีสะท้อนผลลัพธ์การบรรลุเป้าหมายของหลักสตู ร ควร ทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจนร่วมกัน นำหลักสูตร ไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำ ผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา โรงเรียนและครอบครัวควรให้ ความสำคญั กับการดแู ลสุขภาพรา่ งกายและจิตใจของนกั เรยี นท่ีอยู่ในยุคการเปล่ียนแปลงแบบหักศอก
272 (Disruption) แนะนำให้นักเรียนได้ปรับตัวและกล้ายอมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เอกสาร หลักสูตรและคู่มือการวัดและประเมินผลควรรวมเป็นเล่มเดียวกัน และให้มีองค์ประกอบครบถ้วน เพียงพอที่จะนำไปใชป้ ฏิบัติได้จริงในชน้ั เรียน ควรเพม่ิ จุดเน้นและความโดดเด่นของโรงเรียนให้เด่นชัด กว่าที่ปรากฏอยู่ในหลักสูตร ควรกำหนดให้มีการเลือกวิธีหรือรูปแบบการจัดการเรียนการสอนและ การประเมินผลทเี่ หมาะสมเพื่อให้นกั เรียนบรรลุเป้าหมายคุณภาพผเู้ รียนตามที่หลักสูตรกำหนด ควรมี ระบบการบรหิ ารจดั การหลักสูตรรายวิชา โดยควรใหม้ ีการปรบั ปรุงรูปแบบการเรียนการสอนและการ วัดและประเมินผลให้มีความชดั เจนในแนวทางการปฏิบัตแิ ละมีความต่อเนือ่ งของสาระที่ใช้ในการจัด กิจกรรม ควรพิจารณาปรับรายวิชาให้เหมาะสม และบริหารจัดการผู้สอนเพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา ควรให้อาจารย์ผู้สอนทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ของโรงเรียนได้ ตระหนกั ถึงความจำเปน็ ที่จะต้องรับรู้และทำความเข้าใจหลักสูตรของโรงเรียนใหช้ ัดเจน และสามารถ นำหลักสูตรไปใช้ในการออกแบบและจัดการเรียนการสอนให้บรรลุเป้ าหมายคุณภาพผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ได้ ดังนั้นควรต้องมีการกำหนดกระบวนการในการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนให้ชัดเจน มี ระบบพี่เลี้ยงสำหรับอาจารย์ใหม่ของโรงเรียน และมีการนิเทศ ติดตาม และช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา วิชาชีพ นอกจากนี้ควรให้อาจารย์ผู้สอนมีการวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เพื่อจัดลำดับ ความสำคัญของเนื้อหาสาระในกรณีที่ต้องมีการต่อยอดความรู้ข้ามศาสตร์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ พื้นฐานเพียงพอสำหรับการศึกษาในเร่ืองท่ีซับซ้อนมากข้ึนหรือในระดับชั้นเรียนท่ีสูงขึ้นได้ นอกจากนี้ ควรพัฒนาความพร้อมของบุคลากร อาจารย์ผู้สอน สถานที่ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในโรงเรียน และ พัฒนาภาวะผู้นำให้แก่นักเรียน และควรเพิ่มการดูแลนักเรียนให้ปฏิบัติตามระเบียบของโรงเรียนมาก ข้ึน 3.2.2 ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) แนวทางการพัฒนาและปรับปรุง คือ ห้องเรียน ควรมีสภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ควรมีห้องบริการสืบค้นข้อมูลด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ เหมาะสมและทันสมัย ควรมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน และชุมชนมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษาของโรงเรียน หนงั สอื และสอ่ื วสั ดุอปุ กรณ์ทีน่ ักเรียนใช้เรยี นยังไม่ค่อยมีใช้ประกอบการเรียน นักเรียนควรได้รับความสำคัญจากโรงเรียนมากขึ้น เนื่องจากข่าวสารข้อมูลหรือกิจกรรมต่างๆ ของ โรงเรียนมักรบั รู้ไดช้ า้ กว่านกั เรยี นหลกั สตู รปกติ ควรมีการคดั เลือกนกั เรียน EP อย่างละเอียดเพอ่ื ให้ได้ ผู้เรียนที่มีความพร้อมและความสนใจในหลักสูตรนี้อย่างแท้จริง ควรพิจารณาคุณสมบัติของอาจารย์ ผู้สอนที่มีความเข้าใจ ใสใ่ จในการดูแลนักเรียน และสื่อสารกับนักเรยี นด้วยภาษาสุภาพ และเห็นว่าไม่ จำเป็นต้องให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนเพราะนักเรียนคิดว่าตนเอง ควรมอี สิ ระในการเลือกเรียนและรับผิดชอบดว้ ยตนเองได้ ควรเพ่ิมแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ ในโรงเรียน ควร มีการกำหนดเป้าหมายของนักเรียนหลักสูตร EP ให้ชัดเจนว่าแตกต่างจากหลักสูตรปกติของโรงเรียน อย่างไร ความพร้อมของอาจารย์ผู้สอน เช่น ความสามารถในการสอน คุณลักษณะที่เป็นมิตรของ อาจารย์ผู้สอน คุณสมบัติของอาจารย์ชาวต่างชาติที่สอน และความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ของ นักเรยี นด้วย ผปู้ กครองยินดีมาเขา้ ร่วมหรือช่วยจัดกิจกรรมให้นักเรยี น เพราะบางท่านมคี วามสามารถ ที่เหมาะสมกับกิจกรรมของนักเรียนหลักสูตร EP บางท่านก็อาจมีความชำนาญที่สอดคล้องกับ กิจกรรมพอดี และโรงเรียนอาจจดั หลักสูตรท่ใี หผ้ ู้ปกครองได้พัฒนาด้านภาษาอังกฤษเพ่ือใช้ในการพูด สื่อสารเพื่อจะได้สามารถพูดคุยกับลูกเป็นภาษาอังกฤษที่บา้ นได้ด้วย ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยขับเคลือ่ น
273 การนำหลักสตู รไปใช้ คือ ความสามารถของอาจารย์ในการใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มากขึน้ ในแต่ละรายวิชา และถ้านักเรียนเป็นผู้ที่มีความพร้อมและสนใจด้าน ภาษาจริง ๆ เข้ามาเรียนจะช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ได้ดีและรวดเร็วมากขึ้น ดังนั้นแนวทางในการ ดำเนินการให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อนักเรียน ควรต้องเกี่ยวขอ้ งกับการบรหิ ารจัดการอาจารย์ผู้สอน ให้มีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ นอกจากนี้ควรเชิญผู้ปกครอง และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาในกิจกรรมพิเศษของ โรงเรียน เช่น กจิ กรรมชมรม กิจกรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ หรอื อาจเชิญมาชว่ ยจดั กิจกรรมใน รายวิชาเพื่อสร้างแรงจูงใจและเปน็ ตน้ แบบทางวิชาชีพให้แก่นกั เรียน ปัจจัยสำคัญท่ีจะช่วยขับเคลื่อน การนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ช้นั เรียน คือ การสรา้ งความเขา้ ใจในการจดั การเรยี นรู้ร่วมกัน และการมี เจตคติทีด่ ตี อ่ หลักสตู ร นกั เรียน อาจารย์ และผ้บู ริหาร ต้องมีความร้คู วามเข้าใจเร่ืองการนำหลักสูตรสู่ ชั้นเรียน เนื่องจากเป็นการสอนโดยอาจารย์ชาวต่างชาติเป็นหลัก ดังนั้น โรงเรียนควรมีการบริหาร จดั การความรทู้ ่เี ปน็ ระบบโดยมีการแลกเปลยี่ นเพ่ือการพฒั นาการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเน่ือง มรี ะบบ การช่วยเหลือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักเรียน การส่งเสริมให้นักเรียนได้มองเห็นเส้นทางใน อนาคตของตนเองหรือการค้นพบตนเองรวมทั้งการเห็นคุณค่าของตนเองจะเป็นแรงจูงใจที่ดีสำหรับ การเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพ่ือก้าวสู่การเรยี นในระดับทส่ี งู ข้ึน ควรเปดิ โอกาสให้ผู้ปกครอง และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมโดยโรงเรียนสามารถใช้จุดแข็งของผู้ปกครอง ชุมชน มาสร้างสรรค์ นวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการออกแบบหลักสูตร การออกแบบการ วัดผลการเรียนรู้ การเป็นครูภูมิปัญญาให้กับนักเรียน การเป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ และการมี ส่วนร่วมในการสะท้อนคุณภาพผู้เรียน ควรส่งเสริมการทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ระหว่างโรงเรียน ควรมีกิจกรรมให้ผู้ปกครองหรือชุมชนมีส่วนร่วมกับนักเรียน ควรมี หนังสือเรียน สื่อ-อุปกรณ์การสอนทุกประเภทและหลากหลายที่จะช่วยให้นักเรียนมีความเข้าใจและ นำไปใช้ได้จริง รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนให้เพียงพอ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมด้านปัจจัย นำเขา้ คือ 1) To produce a much better learning environment, the school “MUST” have a strict implementing “Policy” with regards to the use “Mobile Phones”. Mobile phones are useful BUT in most cases they are very disruptive to students especially during the teaching and learning situation. 2) Innovating enough to support both instructors & Learners. แ ล ะ 3 ) The availability of learning materials and resources is more than appropriate but the challenge is on the management of these resources to make if more accessible. 3.2.3 ด้านกระบวนการ (Process) ควรเพิ่มความเข้มข้นของการให้บริการแนะ แนวตามเวลาที่นักเรียนว่างจากการเรียน ทุกรายวิชาควรให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการทำจริงจะได้ เข้าใจและจำได้ ควรมีชมรมให้นักเรียนเลือกเรียนหลากหลายมากขึ้น หรืออาจให้นักเรียนเปิดชมรม เองตามท่ีสนใจ ควรให้ความสำคญั กบั นักเรียน EP มากข้นึ และพัฒนานักเรยี น EP ใหม้ คี วามเป็นผู้นำ โรงเรยี นควรพัฒนาสิง่ อำนวยความสะดวกและเทคโนโลยที ี่จำเป็นต้องใช้ในการเรียน ทน่ี ั่งพักผ่อนของ นักเรียนท่ีเพียงพอ ให้ความสำคัญและจัดกจิ กรรมใหน้ กั เรียน EP ได้แสดงออกบนเวทีมากขึน้ และให้ นักเรียนสามารถใช้โทรศัพท์ที่โรงเรียนได้อิสระมากขึ้นเนื่องจากบางครั้งจำเป็นต้องค้นคว้าจาก
274 Website เพื่อทำงานส่งอาจารย์ให้ทัน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือ 1) Harbor a more inclusive network of educators by allowing maternal and resources to be more accessible. 2) Support teachers’ innovative ideas and give then where they can showcase their innovations and evaluate the output. 3) To produce a much better learning environment, the school “MUST” have a strict implement policy with rebounds to the use of Mobile phones. Mobile phones are useful but in most cases they are very disruptive to student especially diving the teaching and vitiation. 4) Require and train teachers to facilitate at least one class in blended learning mode. Teachers’ knowledge in LMS can come in handy as an existing structure of the school’s contingence plan. (blended-learning classroom through computer-assisted learning/internet assisted learning using LMS) นอกจากน้ีโรงเรียนควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” ที่มีเป้าหมายให้ นักเรียนหลักสูตร EP มีความมั่นใจในการพูดภาษาอังกฤษอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่เขินอาย และ สามารถอ่านเขียนได้เพื่อเป็นพื้นฐานในการศกึ ษาต่อของนักเรียน และให้ผู้ปกครองได้เห็นพัฒนาการ ดา้ นภาษาของนกั เรยี นไดช้ ดั เจน ควรพัฒนาหลกั สูตรเพือ่ ส่งเสรมิ สมรรถนะของผ้เู รียน ทีเ่ นน้ ให้ผเู้ รียน เกดิ ทักษะท้ัง Hard Skills และ Soft Skills ทักษะการคิดขน้ั สงู ไดแ้ ก่ คดิ วเิ คราะห์ สามารถแกป้ ัญหา ที่ซับซ้อน และสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสามารถในการวิพากษ์และ วิจารณ์ สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้ มีความฉลาดทางอารมณ์ และมีภาวะความเป็น ผู้นำ รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียนควรประกอบด้วย 1) หลักการ คือ ให้ความสำคัญกับ Growth mindset ในการพฒั นาหลักสตู รท่ีคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร และบุคลากรทุกฝา่ ยมีส่วน ร่วมในการพัฒนาหลักสูตรที่ให้ความสำคัญกับคุณภาพผู้เรียนด้านต่างๆ และพัฒนาหลักสูตรให้ ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียนในลักษณะ Personalized learning และใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ ร่วมกับการเรียนรู้แบบ Creative Team Learning 2) วัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีตอบสนองธรรมชาติและความตอ้ งการของผูเ้ รยี น เสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนแบบบูรณาการ เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน และ เพื่อพัฒนาชุมชน ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตร และการเรียนรูข้ องครูในโรงเรยี น 3) กระบวนการ โดยการ กระตุ้น Growth mindset และ Passion ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตร การถอด บทเรียน จดุ แข็ง และจดุ ทคี่ วรปรับปรงุ หลักสตู รเดิม การกำหนดเป้าหมายคณุ ภาพผเู้ รียนที่ตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงของสังคมในอนาคต การดำเนินการพัฒนาหลักสูตรที่มีความเป็นนวัตกรรม Curriculum innovation ตอบสนองเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน การใช้หลักสูตรแบบวิจัยเป็นฐานที่มี การประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามวงจร Plan Do Check Reflection 4) การวัดและ ประเมินผล โดยการประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนอย่างต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพ ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง การสะท้อนผลการประเมินและนำไปปรับปรุงหลักสูตร และการถอด บทเรียนนวัตกรรมหลักสูตรและการเรยี นรูข้ องโรงเรียน และ5) ปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ การสนับสนุน เชิงวิชาการของผู้บริหารทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และระดับโรงเรียน Growth mindset ของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การสนับสนุนจากชุมชน
275 องค์กรภาครัฐ และเอกชน ทรัพยากรหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ งบประมาณในการดำเนินการ และการไดร้ บั ความรว่ มมือจากผู้ปกครอง 3.2.4 ด้านผลผลิต (Product) แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาด้านผลผลิต ประกอบด้วยประเด็นเกี่ยวกับ ความสามารถตามคุณลักษณะของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ตามเป้าหมายของหลักสูตร ความมุ่งมั่นในการเรียน การทำงาน และกล้าแสดงออก ในทางที่ถูกต้องเหมาะสม การมีบุคลิกภาพที่ดีตามเป้าหมายของหลักสูตรในด้านการเรียนรู้อย่างมี ความสุข การเป็นที่ยอมรับของผู้อื่น การช่วยเหลือ โอบอ้อมอารี สื่อสาร และใฝ่เรียนรู้สิ่งใหม่ นอกจากน้ีพบว่า คุณลักษณะของครูทีพ่ ึงประสงค์ของโรงเรียน ควรเป็นบุคคลที่สอนเก่ง ดูแลเอาใจ ใส่ มีเหตุผล มีความยุติธรรม รักการเรียนรู้ มีทักษะการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง มีทักษะ ด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม มีคุณธรรมจริยธรรมและมีจิตอาสา มีความพร้อมในการพัฒนา วชิ าชพี ให้ทนั สมยั อยู่เสมอ ใจกว้าง มภี าวะผนู้ ำ มปี ฏสิ ัมพันธ์ท่ดี แี ละเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ สำหรบั นักเรียนท่ี พึงประสงค์ของโรงเรียน ควรมีความรับผิดชอบ เข้าใจตนเองและผู้อื่น กล้าแสดงออกในสิ่งที่ดี มีจิต อาสา ปฏิบัติตนตามระเบียบของโรงเรียน มีเหตุผล มีความกตัญญู อดทน เข้มแข็ง เป็นนักคิด รู้จัก แสวงหาความรู้อยู่เสมอ มีทักษะในการทำงานเป็นทีม มีทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการ เลือกใช้เทคโนโลยใี หเ้ กิดประโยชน์ และรักการเรียนรู้ตลอดชวี ติ 3.2.5 ด้านผลกระทบ (Impact) แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาในประเด็นเรื่อง ความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบันของนักเรียน โรงเรียนยังไม่มี หลักสูตร EP ให้นักเรียนศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงจำเป็นต้องเลือกเรียนเท่าที่ โรงเรียนเปิดสอน ในขณะที่มีนักเรียนบางคนไม่ต้องการทีจ่ ะเรียนต่อในหลักสูตร EP เพราะรู้สึกว่าไม่ ถนัดด้านภาษา การเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการของอาจารย์มีจำนวนยังไม่ถึงครึ่งหนึ่งของ อาจารย์ทั้งหมดในโรงเรียน ดังนั้นหลักสูตรสถานศึกษาฯ ควรมีการต่อยอดหลักสูตรโดยควรให้ นักเรียนมีทางเลือกในแผนการเรียนที่ตรงกับความต้องการและความถนัดของนักเรียนแต่ละคน โรงเรยี นควรมีกิจกรรมที่ใหร้ นุ่ พ่รี ุ่นน้องไดท้ ำกจิ กรรมรว่ มกันมากข้ึนเพ่ือสร้างความคุน้ เคย นอกจากนี้ มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมด้านผลกระทบ คือ 1) Support teachers’ innovative approach and encourage teachers to be more innovative in dealing with their teaching and instructions to develop more productive individuals. 2 ) Support teachers’ innovative ideas and give them a venue where they can showcase their innovations and evaluate the output. แ ล ะ 3 ) Support and encourage foreign employees to participate and contribute in instructional innovation through academic research. หลักสูตรสถานศึกษา สามารถพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความต้องการของมหาวิทยาลัยที่จะรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อ และ นักเรยี นม.3 ของหลักสูตร EP เรยี นตอ่ ในช้ันม.4 ของโรงเรยี น โดยมีการเลือกเรียนในแผนการเรียนที่ แตกต่างกันไป โรงเรียนควรสร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาการสอนและ ทำวิจัย และส่งเสริมให้มีเผยแพร่ผลการวิจัยให้เป็นที่ประจักษ์ อาจารย์ควรมีการพัฒนางานแบบ Routine to Research โดยทำการสอนควบคู่กับการทำวิจัยไปพร้อมๆกัน เพื่อผลิตและเผยแพร่ ผลงานโดยสามารถเขียนบทความวิจัยและเผยแพร่ผ่านวารสารต่างๆ ได้ หรืออาจเลือกการนำเสนอ ผลงานในงานสัมมนาทางวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อใช้ในการทำผลงานทางวิชาการ
276 ของตนเองได้ โรงเรียนควรส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงาน และกระตุ้นให้ อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมทั้ง ใหบ้ ริการวิชาการแกเ่ พ่ือนร่วมวชิ าชีพท้งั ในและนอกโรงเรยี นมากขน้ึ อภปิ รายผลการวิจัย ผลจากการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)” ในคร้งั น้ี มปี ระเด็นทีค่ ณะผู้วิจยั นำมาอภปิ รายผล 3 ขอ้ หลกั ดงั นี้ 1. จากผลการศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจบุ ัน และความต้องการ ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา สำหรับหลักสูตรปกติที่พบว่า หลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นตาม กรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มีความ ครบถ้วนและสมบูรณ์ สามารถรายงานผลการศึกษาของนักเรียนได้ตามท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด ทุกประเดน็ มีแนวทางใหค้ รไู ด้นำไปกำหนดเนอื้ หาสาระที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน แตม่ ีส่งิ ที่ควร แกไ้ ข/ปรบั ปรงุ คือ ตวั ชว้ี ัดบางข้อวัดได้ยาก ควรปรบั ขอ้ ความเน้นเปน็ พฤติกรรมท่ีนกั เรยี นแสดงออก ไดช้ ดั เจน เปา้ หมายของหลักสตู รยังไมม่ ีกระบวนการหรือเคร่ืองมือในการวัดและประเมินผลที่สะท้อน ถึงการบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร จุดเน้นของหลักสูตรยังไม่ชัดเจนและเพียงพอ การนำหลักสูตรสู่ ชั้นเรียนควรต้องสร้างความเข้าใจร่วมกัน ขาดการบริหารจัดการรายวิชาบูรณาการ ในระดับประถม ศึกษาควรจัดให้มีการเรียนการสอนรายวิชาภาษาจีน และในระดับมัธยมศึกษาควรมีอาจารย์พิเศษมา ให้ความรู้และประสบการณ์กับนักเรียน และสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาที่ควรต้องเร่ง แก้ไขปรับปรุงและพัฒนาคือ การนำหลักสูตรไปใช้โดยครูไม่สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ไปถึง เป้าหมายของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ครบถ้วน ซึ่งเกิดจากความไม่พร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ เข้าใจหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและประเมินผลไม่ตรงตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด การเรียนการ สอนยึดเนื้อหาเป็นหลักและไม่มีวิธีการที่จะทำให้ทราบว่าคุณภาพนักเรียนบรรลุเป้าหมายตามท่ี หลักสูตรแต่ละระดับการศึกษากำหนด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าหลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นตาม กรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ได้รับ การปรับปรุงและพัฒนาโดยมีกรอบในการปรับปรุงหลักสูตรให้มีองค์ความรู้ที่เป็นสากลเทียบเท่า นานาชาติปรับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำซ้อนสอดคล้องและ เชอื่ มโยงกนั ภายในกล่มุ สาระการเรยี นรู้และระหว่างกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ตลอดจนจัดเรียงลำดับความ ยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นตามพัฒนาการแต่ละช่วงวัยให้มีความเชื่อมโยงความรู้และ กระบวนการเรียนรู้โดยให้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิดโดยมีสาร ะสำคัญ ของการปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โดยจัดกลุ่มความรู้ใหม่ และนำทกั ษะกระบวนการไปบูรณาการกับตวั ช้วี ัด ทำให้ผู้เรยี นได้พฒั นาการคดิ วิเคราะห์ คิดแกป้ ญั หา และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เฉพาะเจาะจง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้เพิ่มสาระเทคโนโลยี ได้แก่ การออกแบบ เทคโนโลยี และวิทยาการคำนวณเพื่อเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์
277 วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชงิ วิศวกรรมตามแนวคิดสะเต็มศึกษา จึงทำใหห้ ลักสูตร แกนกลางมีความครบถว้ นและสมบรู ณ์มากขึ้นช่วยให้ครูได้มีแนวทางนำไปกำหนดเนือ้ หาสาระที่ใชใ้ น การจัดการเรียนการสอน อยา่ งไรก็ตามผู้บริหารโรงเรียนและครูยังเห็นสอดคล้องกันว่าจำนวนตัวช้ีวัด ยังมากอยู่และบางข้อวัดพฤติกรรมผู้เรียนได้ยาก หลักสูตรสถานศึกษายังไม่ได้ระบุจุดเน้นที่ชัดเจน ความสามารถของครูในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติในชั้นเรียนอาจมีไม่เพียงพอ ไม่สามารถช่วยให้ ผเู้ รยี นมีทักษะในศตวรรษที่ 21 การจดั การเรียนการสอนยังเนน้ การบรรยายตามหนงั สือเรียนเป็นส่วน ใหญ่ ไม่เน้นการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และไม่เน้นการลงมือปฏิบัติจริง การวัดและประเมินผล ยังไม่สามารถสะท้อนความรู้ความสามารถและคุณลักษณะตามตัวชี้วัดได้ ซึ่งอาจเกิดจากความไม่ เข้าใจหรือความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของครูในการนำหลักสูตรไปใช้ โรงเรียนอาจขาดการบริหาร จัดการหลักสูตรที่ดี ไม่มีระบบการนิเทศติดตามให้ความช่วยเหลือหรือแนะนำที่ชัดเจนตามความ ต้องการของครู ซึง่ สอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ มาเรียม นลิ พันธุ์ และคณะ (2556: 191-192) เรอื่ ง การ ประเมนิ ผลการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในโรงเรียนต้นแบบการ ใช้หลักสูตร ที่พบว่า ผลการประเมินการใช้หลักสูตรในด้านสภาพการใช้หลักสูตร หลักการ จุดหมาย วิสัยทัศน์ มีรายละเอียดมากเกินไปจนหาอัตลักษณ์ไม่ได้ สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียนระบุเป็นภาพ กว้างยากแก่การปฏบิ ตั ิ มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วดั มีจำนวนมากเกนิ ไป และกลุ่มสาระการเรยี นรู้ใน ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีจำนวนมากเกนิ ไปไม่เหมาะกับวยั ของผเู้ รียนท่ีควรพัฒนาพ้ืนฐานการ เรียนรู้ไม่จำเป็นต้องบังคับให้เรียนถึง 8 กลุ่มสาระ ด้านปัญหาและข้อเสนอแนะในการนำหลักสูตรไป ใช้ในสถานศึกษา พบว่าครูขาดความเข้าใจในกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนการสอนที่อิง มาตรฐานการจัดการเรียนการสอนไม่มีความหลากหลาย ขาดความรู้เรื่องการวัดและประเมินผล ไม่ สามารถวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เพื่อการประเมินได้ ครูไม่เข้าใจการสร้างเกณฑ์การ ประเมินรูปแบบต่าง ๆ ครูขาดความเข้าใจเรื่องการประเมินผลตามสภาพจริง ไม่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง และไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง การบริหารจัดการหลักสูตรพบว่า ผู้บริหารและครูขาดความรู้ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรอย่างแท้จริง ทั้งนี้การดำเนินงานด้านการ บริหารจัดการหลักสูตรส่วนใหญ่เป็นการดำเนินงานของกลุ่มบุคคลเพียงไม่กี่คนส่งผลให้การ ดำเนินงานไม่เป็นระบบ โรงเรียนจึงควรจัดอบรมเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อให้ความรู้กับ บุคลากรทุกฝ่ายและทุกคน สร้างความเข้าใจร่วมกันและควรติดตามผลการนำหลักสูตรไปใช้อย่าง ต่อเนื่อง มีระบบการช่วยเหลือและให้คำปรึกษาตามความต้องการของครูเพื่อพัฒนาสมรรถนะทาง วิชาชีพที่จำเป็นสำหรับครูนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพของนักเรียนต่อไป และจากผลการศึกษาความ ต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ทีพ่ บวา่ สถานศกึ ษามีความต้องการจำเป็นมากท่ีจะต้องมีการ ประเมินหลักสูตรเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา โดยโรงเรียนควรมีการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เพื่อสะท้อนผลการใช้หลักสูตรในแต่ละปีการศึกษา และนำผลไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาคุณภาพ นักเรยี น จากนั้นจงึ นำขอ้ มลู ทงั้ หมดมาประมวลผลตามวัตถปุ ระสงค์เม่อื ใชห้ ลกั สูตรครบรอบทุกๆ 3 ปี ทั้งน้ีผลจากการประเมินหลักสูตรที่ครอบคลุมทุกด้านจะสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรได้ตรงประเด็น ทำให้ผลการประเมินตรงตามสภาพความเป็นจริง ครอบคลุมและตอบสนอง ความต้องการของผู้ที่จะใช้ผลประเมิน และสามารถนำไปใช้ในการพิจารณาตัดสินใจในเชิงบริหาร สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพและนา่ เช่ือถอื การประเมินหลักสูตรจะชว่ ยให้มขี ้อมูล สารสนเทศ
278 เพือ่ การปรบั ปรุง เปล่ียนแปลงหลักสูตรให้มีความเหมาะสมและทันสมัยมากข้นึ ส่งผลต่อคุณภาพของ ผู้เรียนจากการนำผลการประเมินไปใช้จรงิ โดยควรเลือกรูปแบบการประเมินหลักสตู รที่เหมาะสมกบั บริบทและความต้องการของสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับ ศิริชัย กาญจนวาสี (2553: ออนไลน์) ที่ กล่าวว่าการประเมนิ หลกั สูตรจำเป็นตอ้ งดำเนินการอย่างเป็นระบบทีส่ อดคลอ้ งสัมพันธก์ ันโดยเฉพาะ อย่างยิ่งการประเมินหลักสูตรต้องเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพในการติดตามคุณค่าของหลักสูตรอย่าง ต่อเนื่อง อย่างน้อย 1 ครั้ง ทุกวงรอบของการใช้หลักสูตร เพื่อให้ได้สารสนเทศสำหรับพัฒนาและ ปรับปรุงหลักสูตร ให้หลักสูตรมีความทันสมัย ทันการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการของโลกสามารถ ตอบสนองความต้องการของสังคมในการนำความรทู้ ่ีได้ไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริง และสร้างความพึงพอใจ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง ในขณะเดียวกันการประเมินหลักสูตรจะต้องให้สารสนเทศที่สามารถรองรับการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรทั้งจากผู้ประเมินภายในและภายนอก ดังนั้นควรให้อาจารย์ ผู้สอนทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ของโรงเรียนได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องรับรู้และทำ ความเข้าใจหลักสูตรของโรงเรยี นใหช้ ัดเจน และสามารถนำหลักสูตรไปใช้ในการออกแบบและจัดการ เรียนการสอนให้บรรลุเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีการกำหนดกระบวนการในการนำ หลกั สตู รสู่ชัน้ เรยี นให้ชดั เจน มรี ะบบพีเ่ ล้ียงสำหรับอาจารย์ใหม่ของโรงเรียน และมีการนิเทศ ติดตาม และช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ โรงเรียนควรมีการประเมินหลักสูตรเพื่อสะท้อนผลการใช้ หลักสูตร และควรมีการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่องโดยกำหนดให้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลและ วิเคราะห์ผลการศึกษาหลักสูตรในแต่ละปีการศึกษา เพื่อนำผลไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาคุณภาพ นักเรียน จากนนั้ นำมาประมวลผลตามวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร จากผลการศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการ ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา สำหรับหลักสูตร English Program ที่พบว่า หลักสูตรสถานศึกษามี สิ่งที่ดีควรพัฒนาต่อยอดและมีสิ่งที่ควรแก้ไข/ปรับปรุง คือ This Curriculum aim to benefit the learners to the fullest and to be a well-rounded individual in the future but some aspects are just too much for the students and teachers to accommodate. The students study a little of so many things that we forgot. The most important thing “mastery”. We try to know more but master only a few. This I guess we have to look upon and do something. และสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาที่ควรต้องเร่งแก้ไข ปรบั ปรงุ และพัฒนาเพ่ือมุ่งสูค่ ุณภาพผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 คอื The Basic Core Curriculum of the MOE and the KUSK curriculum aims to develop learners potentials and abilities but there are some areas in the Basic Core Curriculum that need to be considered, some of the learning indicators that should be specifically designed for a certain level are missing so sometimes it leads to the problem about making a syllabus. ท้งั น้อี าจเป็น เพราะว่าหลักสูตรแกนกลางให้อิสระแก่สถานศึกษาในการออกแบบหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบท และตอบสนองความต้องการของผเู้ รียนและชุมชน แตเ่ มือ่ พจิ ารณาตัวชว้ี ดั แล้วมีจำนวนมาก และไม่มี ตัวชี้วัดสำหรับหลักสูตรที่มีลักษณะเฉพาะเพื่อเป็นแนวทางให้โรงเรียนกำหนดรายละเอียดของ หลักสูตร ทำให้ยากต่อการพัฒนาหลักสูตรที่มีลักษณะเป็นหลักสูตรทางเลือก นอกจากนี้การพัฒนา นักเรียนให้มีความรอบรู้และรู้ลึกเฉพาะทางเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
279 นักเรียนตามเป้าหมายของหลักสูตร อย่างไรก็ตามสำหรับหลักสูตร English Program มักประสบ ปัญหาการขาดแคลนอาจารย์ผู้สอนชาวต่างชาติ หรือความจำเป็นที่ต้องเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอนบ่อยๆ อันเนื่องมาจากการลาออก ส่งผลกระทบต่อการปรับตัวเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างมาก ดังนั้น สถานศึกษาที่เปิดสอน EP ต้องมีการจัดองค์กร โครงสร้างการบริหารและระบบการบริหารที่มีความ คล่องตัวสูง ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมโดยกำหนดบทบาทหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน บุคลากรทั้ง ส่วนของผู้บริหาร หัวหน้าโครงการและครูผู้สอน ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในหลักการของการ จัดการเรียนการสอน EP/MEP มีภาวะผู้นำและสามารถประสานงานบุคลากรได้อย่างดี (ฐิติกา เสนา จิตต์ และจุฑามณี ตระกูลมุทุตา, 2560: 78) และจากผลการศึกษาความต้องการประเมินหลักสูตร สถานศึกษา ที่พบว่า Evaluation of Curriculum is necessary but changing it needs to be assessed evaluate the curriculum to see if it worked or not. If it works reuse and improve to cope with recent educational trend. But if not immediate change is recommended for the betterment of the curriculum and the institution. ทั้งนี้อาจเป็น เพราะว่าการประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศตลอดจนกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับหลักสตู รเพอ่ื นำมาตดั สินคุณค่าหรือคณุ ภาพของหลกั สตู รนน้ั การรวบรวมข้อมูลและวเิ คราะห์ ขอ้ มลู ก็เพ่อื จะดวู า่ กระบวนการจัดกจิ กรรมหลักสูตรและการสอนมปี ระสิทธิผล มีคณุ คา่ ตามเป้าหมาย หรือมีคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนดไว้หรือไม่ เพียงใด เพือ่ นำมาใช้ในการตัดสินใจวางแผนกิจกรรม ต่างๆ ในหลักสูตรให้ดีขึ้น (Cronbach, 1970, Stufflebeam. et al., 1971, Good, 1973, วิชัย วงษใ์ หญ่, 2554 และมารตุ พฒั ผล, 2558) ดงั น้ันการประเมินหลักสตู รจึงเปน็ ขั้นตอนหนงึ่ ทีส่ ำคัญของ การทำงานดา้ นหลักสูตร เมื่อมกี ารใช้หลักสูตรทุกคร้ัง จำเปน็ ตอ้ งมีการประเมนิ หลักสูตรเพื่อให้ทราบ ว่า การทำงานด้านหลักสูตรนั้นได้ผลตามความมุ่งหมายที่กำหนดไว้เพียงใด มีปัญหาหรืออุปสรรค ใดบา้ ง จะได้หาแนวทางการแก้ไข ปรบั ปรงุ และพัฒนาตอ่ ไป 2. จากผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวมและเป็นรายด้าน 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเขา้ ด้านกระบวนการ ดา้ นผลผลติ และดา้ นผลกระทบ ตามความคดิ เหน็ ของนักเรยี นและอาจารย์ ผู้สอนของหลกั สูตรปกติ ทพี่ บวา่ ในภาพรวมมคี วามคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง และมีความคิดเห็น ในด้านผลกระทบอยู่ในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นที่ไม่สอดคล้องกัน คือนักเรียนมีความคิดเห็นต่อ หลักสูตรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนอาจารย์ผู้สอนเห็นว่าอยู่ในระดับมาก สำหรับความ คิดเห็นตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านโดยการจัดลำดับความคิดเห็นแล้ว พบว่า มีลำดับของความคิดเห็นที่สอดคล้องกันเพียง 1 ด้านเท่านั้น คือ ด้านผลผลิต อยู่ในลำดับที่ 3 และโดยสรุปท่ีพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นในด้านผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการ เป็นลำดับที่ 5 ส่วนอาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นในด้านบริบทเป็นลำดับที่ 1 และด้านผลกระทบเป็น ลำดับที่ 5 ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า นักเรยี นมีมมุ มองจากสิ่งท่ีไดพ้ บเห็นและได้สัมผสั ด้วยตนเองซ่งึ ส่วน ใหญ่อาจไม่ไดร้ ับรู้หรอื ไม่ได้สนใจเกยี่ วกบั รายละเอยี ดของหลักสูตรในทกุ ประเดน็ เนื่องจากเห็นว่าเป็น เรื่องไกลตัว โดยเฉพาะองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรด้านกระบวนการที่นักเรียนมีความ
280 คดิ เหน็ เปน็ ลำดบั ที่ 5 ซง่ึ เปน็ ลำดับสดุ ทา้ ย สว่ นครูเป็นผทู้ ีม่ ีหน้าท่ีนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่การปฏิบัติ จึงทำให้ทราบกระบวนการและแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนกว่านักเรียน แต่เหตุผลสำคัญท่ีเป็นข้อ ค้นพบสำหรับการวจิ ยั ครัง้ นค้ี อื นกั เรยี นมคี วามคิดเห็นอยูใ่ นระดับปานกลางในหลายประเด็นของทุก องค์ประกอบที่นกั เรียนได้รับจากโรงเรียน จงึ เป็นผลให้นักเรยี นมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลางด้วย ได้แก่ องค์ประกอบด้านบริบท เกี่ยวกับประเด็นที่โรงเรียนส่งเสริมให้ นักเรียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อตามความถนัด ความสนใจ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของ นักเรียน จำนวนเวลาเรียน 6-8 คาบต่อวัน เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละรายวิชาในภาพรวมสามารถ นำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมให้นักเรียนมีสมรรถนะใน การเป็นพลเมอื งทีเ่ ข้มแข็ง รายวชิ าและกจิ กรรมการเรยี นการสอนในโรงเรียนชว่ ยสง่ เสริมให้นักเรียนมี บุคลิกภาพที่ดีในด้านการเรียนรู้อย่างมีความสุข การเป็นที่ยอมรับของผู้อื่น การช่วยเหลือ โอบอ้อม อารี สื่อสาร และใฝ่เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ รายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนช่วยส่งเสริมให้ นักเรียนมีทักษะชีวิตและเข้าใจอาชีพ องค์ประกอบด้านปัจจัยนำเข้า เกี่ยวกับประเด็นเจ้าหน้าที่ มี ความพร้อมในการให้บริการ สนับสนุน และอำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลุเป้าหมายของงาน องค์ประกอบด้านกระบวนการ เกี่ยวกับประเด็นการจัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของ ผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นชว่ ยสะท้อนความสามารถและความถนัดของนักเรียนได้ดี ใช้วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย มีกิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียนหรือ บุคคลภายนอกเพือ่ แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ซ่ึงกันและกันมีสือ่ วัสดุ อุปกรณ์ประกอบการ เรียนเพียงพอ และห้องเรียนมีสภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้ องค์ประกอบด้านผลผลิต เกี่ยวกับประเด็น นักเรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ มีความสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามเป้าหมายของ หลกั สตู ร และมคี วามสามารถตามคุณลักษณะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 ตามเป้าหมายของหลักสูตร และองค์ประกอบด้านผลกระทบ เกี่ยวกับประเด็นนักเรียนมีความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบัน นักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนได้รับการยอมรับว่า “เป็นคนดีในสังคม” เป็นที่ยอมรับของ สถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ โดยประเด็นทั้งหมดที่กล่าวข้างต้นจะเป็นฐานข้อมูลที่สำคญั นำไปสู่การหาแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในครัง้ ต่อไปได้ตรงประเดน็ มากทีส่ ุด นั่นย่อม หมายถึง ผู้บริหาร ครู และนักเรียนควรได้รับรู้และเห็นผลลัพธ์ของการปฏิบัติงานตามองค์ประกอบ ของการประเมินหลักสูตร 5 ด้านที่สอดคล้องกัน โดยในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาควรให้ นักเรียนได้มีส่วนร่วมรับรู้และแสดงความคิดเห็นร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เก่ยี วกบั ข้อมูลพน้ื ฐานที่จําเป็นสาํ หรับนาํ ไปใชเ้ ปน็ ฐานข้อมลู ในการกำหนดหลักสูตร และมสี ่วนร่วมใน การออกแบบหลกั สูตรเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของนักเรยี นเอง มคี วามเขา้ ใจถึงที่มา ความจำเป็น และข้อจำกัดของการพัฒนาหลักสูตรตามบริบทของสถานศึกษาของตนเองและใจกว้างที่จะยอมรับ การเปลย่ี นแปลงเพื่อการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามจดุ เน้นของสถานศึกษาเนอื่ งจากผเู้ รียนเป็นผลผลิต ของการจัดการศึกษาโดยตรง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2554: 16-20) และTyler (1969: 37) ท่ีกล่าวถึงการออกแบบหลักสูตรท่ีชัดเจนและสอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจของ ผู้เรียน และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมนั้น ต้องพิจารณาสิ่งที่มากำหนดหลักสูตร ทั้งนี้ รวมถึงด้านวิชาการ และด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้เรียน และจากผลการวิจัยที่พบว่า นักเรียนมี ความคิดเห็นในด้านผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 อาจเนื่องมาจาก นักเรียนเห็นตัวอย่างจากรุ่นพี่ที่จบ
281 การศึกษาจากโรงเรยี นประสบผลสำเร็จในการศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษาท่ีต้องการได้ทุกคน รวมท้ัง เปน็ ท่ยี อมรับในความรคู้ วามสามารถหลังสำเรจ็ การศึกษาแลว้ ท้ังภายในและภายนอกสถาบัน และเหน็ ว่าโรงเรียนมีชื่อเสียงและเป็นผู้นำในด้านการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทั้งในระดับ ปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยสังเกตจากที่มีสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งระดับโรงเรียน และระดับมหาวิทยาลัยมาศึกษาดงู านในโรงเรียน ส่วนอาจารยผ์ ู้สอนมีความคิดเห็นในด้านบรบิ ทเปน็ ลำดบั ที่ 1 อาจเป็นเพราะอาจารย์เห็นว่าโครงสร้างหลักสูตรและจำนวนหน่วยกิตหรือเวลาเรียนตลอด หลกั สูตรมคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2561 ซ่งึ สอดคลอ้ งกับผลงานวจิ ยั ประเมินหลกั สูตรของ มาเรยี ม นิลพันธ์ุ (2011: 248-249) ท่พี บว่า ผลการ ประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยภาพรวมและจำแนกรายด้านท่ีพบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นในด้าน ผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 เนื่องมาจาก นักศึกษามีความภาคภมู ิใจในสาขาวิชา สามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีภาวะผู้นำทางวิชาการ ส่วนอาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นในด้านบริบท เป็นลำดับที่ 1 โดยเห็นว่าหลักสูตรนี้ได้มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา วัตถุประสงค์หลักสูตรมีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและสังคม เนื้อหาและจำนวน หน่วยกิตตลอดหลักสตู รมีความเหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้จริง บัณฑติ จากหลักสูตรน้ีเป็นท่ียอมรับ ทางวิชาการจากสถาบันต่าง ๆ และจากผลการประเมินตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตร 5 ดา้ น โดยหลกั สตู รปกตทิ พ่ี บว่า 2.1 ด้านบริบท (Context) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้านหลักสูตร และองค์ประกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนอาจารย์มีความ คิดเห็นต่อทั้ง 2 องค์ประกอบอยู่ในระดับมากซ่ึงมีมุมมองไมส่ อดคลอ้ งกนั แต่ทั้งนักเรียนและอาจารย์ มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ องค์ประกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า องค์ประกอบด้านรายวิชาและ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น โรงเรียนจัดการเรียนรทู้ ่ีชว่ ยส่งเสริมให้นักเรยี นมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ ดา้ นการอา่ น เขยี น คดิ คำนวณ และมีสมรรถนะสำคัญตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) กำหนดไว้ครบถ้วน และที่พบว่าองค์ประกอบด้าน หลักสูตรทุกประเด็นนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับ ความคิดเห็นมากที่สุดคือ โรงเรียนได้พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียน ช่วยใหน้ ักเรยี นมที กั ษะพ้ืนฐานท่ีจำเปน็ ในการศกึ ษารายวชิ าตามความถนัดและความสนใจ และ น้อยที่สุดคือ เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละรายวิชาในภาพรวมมีความเหมาะสม นักเรียนสามารถนำไปใช้ ได้จริงในชีวิตประจำวัน และอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นที่มี ค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ โครงสร้างหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2561 และน้อยที่สุด การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของ ผู้เรียน สอดคล้องกับเป้าหมายของหลักสูตรแต่ละระดับการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาที่เน้น ผลลพั ธท์ ่พี งึ ประสงค์ (DOE Thailand) สำหรับองค์ประกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ทุกประเด็นนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความ
282 คิดเห็นมากท่ีสุดคือ รายวชิ าและกจิ กรรมการเรยี นการสอนในโรงเรยี นช่วยสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมีความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านการอ่าน เขียน คิด คำนวณ และน้อยทสี่ ดุ คือ รายวิชาและกิจกรรมการ เรียนการสอนในโรงเรียนช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะชีวิตและเข้าใจอาชีพ และอาจารย์มีความ คิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกประเด็น โดยมีประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ กิจกรรมและประสบการณ์ในระดับปฐมวัย ส่งเสริมให้เด็กมีบุคลิกภาพ 5 ด้าน และมีความสามารถ ทางปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) และน้อย ที่สุดคือ รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม ทงั้ น้อี าจเป็นเพราะว่า หลกั สูตรในระดับประถมศึกษามีโครงการรักการอ่านเพื่อส่งเสริมให้ นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน และโครงการบูรณาการประสบการณ์ 3 ศาสตร์ ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงผ่านการทำโครงงาน และใน ระดับมัธยมศึกษามีกิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการคิดขั้นสูงในระหว่างการเรียนการสอนรายวิชา เพิ่มเติม โดยอาจารย์มีการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิด STEM และ Active Learning หรือการ จัดการเรียนสอนในรูปแบบต่างๆ ที่ผสมผสานเทคโนโลยีในบางรายวิชาเพื่อพัฒนาการคิดขั้นสูงของ นักเรยี น แตใ่ นกจิ กรรมชมรม อาจารย์เหน็ ว่ายงั ไม่สามารถส่งเสรมิ ให้นักเรยี นมีสมรรถนะในการเป็นผู้ ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ ดังนั้นโรงเรียนควรนำประเด็นที่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทุก ประเด็นไปใช้ในการออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา นอกจากน้ีในด้านบริบท ที่พบวา่ ผลการตรวจสอบ องค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาในภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก และผลการ ประเมินความเหมาะสมของรายวิชาในหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรปกติ พบว่า ในภาพรวมและ รายวิชาเพิ่มเติม (ตามความสนใจ) มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรปกติ พบว่า ในภาพรวม กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ มี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมากท่สี ุด โดยมีขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ คอื กิจกรรมแนะแนวทุกระดบั ช้นั ควร มีคู่มือกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลนักเรียน และเน้นแนวโน้มการเลือกอาชีพใน อนาคต กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ควรปรับเปลย่ี นวิธีการประเมนิ ผลให้สะท้อนถึงการ ปฏิบัติจริง และกิจกรรมจิตอาสาควรปรับวิธีการประเมินและปลูกฝังจิตสำนึกให้นักเรียน ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากโรงเรียนมีเอกสารหลักสูตรสถานศึกษาที่มีองค์ประกอบหลักครบถ้วน อาจารย์จึงมี แนวทางในการปฏิบัติงานที่ดีและเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยควรนำเล่มเอกสารหลักสูตรและการ ประเมินผลรวมเป็นเล่มเดียวกัน สำหรับรายวิชาเพิ่มเติมมีรายวิชาที่นักเรียนมีโอกาสเลือกเรียนตาม ความถนัดและความสนใจ นกั เรียนจึงเหน็ ว่ามคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ และกจิ กรรม แนะ แนวนกั เรียนมีความต้องการใช้บริการช่วงท่ีวา่ งจากการเรยี นหรือการทำงานรวมทั้งส่งเสริมการศึกษา ต่อและการเลือกอาชีพในอนาคต ซึ่งกิจกรรมแนะแนวควรมีระบบบริหารจัดการเชิงรกุ เพื่อตอบสนอง ความตอ้ งการของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล 2.2 ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้านบุคคล อยู่ในระดับมาก และองค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทั้ง 2 องคป์ ระกอบ และพบวา่ องค์ประกอบด้านบุคคล ประเดน็ ที่มีคา่ เฉลย่ี ของระดับความคิดเหน็ มากที่สุด โดยนักเรียนมคี วามคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ ผู้ปกครองส่งเสรมิ นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพเพิ่มเติม
283 จากในชั้นเรียนโดยยินดีให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียนทุกกิจกรรม และน้อยที่สุดซ่ึง นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ เจ้าหน้าที่ มีความพร้อมในการให้บริการ สนับสนนุ และอำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลุเป้าหมายของงาน ส่วนอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ที่สุด คือ อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาที่ตรงกับคุณวุฒิและความเชี่ยวชาญ และน้อยที่สุดคือ ผู้ปกครองมีความเข้าใจและสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียน สำหรับองค์ประกอบ ด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับ ความคดิ เหน็ มากทส่ี ุดโดยนักเรียนมีความคดิ เห็นอยู่ในระดับมากคือ มหี อ้ งสมดุ ให้บรกิ ารหนังสืออย่าง เพียงพอกับความต้องการของนักเรียน และน้อยที่สุดพบว่านักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน กลางคือ มีกิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ซึ่งกันและกัน ส่วนประเด็นท่ีมคี ่าเฉลีย่ ของระดับความคิดเห็นมากที่สุดโดยอาจารย์มีความคดิ เห็นอยู่ ในระดับมากคือ มีหนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนผู้เรียน และน้อยที่สดุ มี ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางคือ มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับชุมชน และชุมชนมีส่วนรว่ มใน การจัดการศึกษาของโรงเรียน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า โรงเรียนมีนโยบายรับอาจารย์ตรงสาขาที่สอน นกั เรียนซ่ึงเป็นจดุ แขง็ ทีโ่ รงเรียนได้อาจารย์ทมี่ ีความเชีย่ วชาญเฉพาะทางมาสอน ผูป้ กครองสง่ เสริมให้ นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมจากในชั้นเรียน แต่โรงเรียนจำเป็นต้องสร้างความเข้าใจที่ดีกับ ผูป้ กครองเพือ่ พัฒนานกั เรยี นร่วมกนั และควรมกี จิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกันระหวา่ งนกั เรียนต่าง สถาบันและโรงเรียนกับชุมชนเพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมและรับผิดชอบต่อหลักสูตร สถานศกึ ษารว่ มกัน 2.3 ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทกุ ประเด็น โดยประเดน็ ท่ีมีคา่ เฉล่ียของระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ เปิดโอกาสให้นักเรยี นมีส่วนรว่ ม ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และน้อยที่สุดคือ มีการจัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทั้ง 2 องค์ประกอบ โดยมีค่าเฉลี่ยของ ระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการหลักสูตร รองลงมา คือ องค์ประกอบด้านกระบวนการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และพบว่าองค์ประกอบด้านการ บริหารจัดการหลักสูตร อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ย ของระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ มีการพิจารณาอาจารย์ผู้สอนรายวิชาให้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถและคุณวุฒิ และน้อยที่สุดคือ โรงเรียนและชุมชนมีการจัดกิจกรรมร่วมกันเพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง สำหรับองค์ประกอบด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับ ความคิดเห็นมากที่สุดคือ มีการวัดและประเมินผลอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการเรียนการสอน และ น้อยทีส่ ุดคือ จัดการเรยี นรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของผเู้ รียนเป็นรายบุคคล ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะว่า ในกระบวนการนำหลักสูตรไปใช้ปฏิบัตจิ ริงในชั้นเรียนนั้น บางรายวิชาเปิดโอกาสให้นักเรียนได้มสี ่วน ร่วมในการออกแบบกิจกรรมที่จะนำมาใช้เรียนตามที่นักเรียนต้องการ แต่การจัดการเรียนรู้ของ อาจารย์ผ้สู อนใช้รูปแบบเดยี วกนั มอบหมายงานเหมอื นกัน ใชเ้ วลาเทา่ กัน โดยเช่ือวา่ จะทำให้นกั เรียน ทุกคนได้รบั ความเทา่ เทียมกนั และมีความยุติธรรมเกดิ ขน้ึ ในชัน้ เรยี น และไมไ่ ด้คำนึงถึงความสามารถ ในการเรียนรู้ของนักเรียนที่แตกต่างกัน ในกรณีนี้ ผู้บริหารและอาจารย์ผู้สอนควรต้องสร้างความ
284 เข้าใจที่ถูกตอ้ งร่วมกัน เพื่อเน้นการจดั การเรียนรูโ้ ดยคำนึงถึงความสามารถในการเรียนรู้ของนกั เรยี น เปน็ รายบุคคล และมอี าจารยผ์ ู้สอนทำหน้าที่เปน็ ผู้เอื้ออำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้ (Facilitator) ทง้ั นเ้ี พอื่ ใหน้ กั เรยี นทกุ คนได้มโี อกาสทจ่ี ะเร่ิมต้นพัฒนาและคน้ พบเส้นทางในการเรยี นรู้เป็นของตนเอง โดยไม่มีนักเรียนคนใดที่จะถูกทิ้งไว้ข้างหลัง (No Child Left Behind) สอดคล้องบทความวิชาการ เรื่อง “การจัดการเรียนรูที่เนนความแตกตางระหวางบุคคล” ที่สรุปว่า จัดการเรียนรูใหผูเรียนได เรยี นอยางมคี วามสุข ไดรวู ธิ ีเรียนรู วิธคี ดิ วิเคราะหสามารถแสวงหาความรูไดดวยตนเองและคนพบเอง (Learn by Discovery) จากประสบการณจริงโดยการปฏิบัติและใฝใจที่จะเรียนรูอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต (Lifelong Education) ทั้งนี้กระบวนการเรียน การวัดผลประเมินผลก็จะตองยืดหยุนและ หลากหลายแมวาผูเรียนเหลานั้นอาจจะออกเดินไมเท่ากันแตควรมีลูวิ่งและเสนชัยของเขาเอง ผูเรียน สามารถไปสูจดุ หมายปลายทางไดดีเชนกัน มีโอกาสเปนผูชนะตามแบบฉบับของตนเอง ดังนั้นครูตอง ไมบงั คบั ใหเดก็ ทุกคนตองเรียนอยางเดียวกนั ในเวลาเดียวกนั เพื่อเปาหมายอยางเดียวกัน ครูเปนเพียง ผูอํานวยความสะดวกเพื่อการพัฒนาของแต ละบุคคล (The Teacher as a Facilitator of Individual Development) เปลี่ยนบทบาทจากผูสอนหรือผูถายทอดขอมูลความรูมาเปนผูจัด ประสบการณการเรียนรูใหผูเรียน เพราะครูมีหนาที่พัฒนาคนไมใชพัฒนาวิชาแตจะอาศัยวิชามา พัฒนาคน แนวคดิ ในการจัดการศึกษาจึงตองมีฐานอยูบนความเป็นมนุษยดวยหลักการที่วา มนุษยทุก คนมีความแตกตางกัน เราตองเคารพในคุณคาความเปนมนุษยของคนอยางเทาเทียมกันจึงจะไดชื่อว าเป็นการจัดการศึกษาอยางเสมอภาคและยุติธรรม (ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย, 2559: 74) และ สอดคล้องกับบทบาทครู ดังคำกล่าวของ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2554: 26) ที่กล่าวว่า บทบาทของผู้สอนที่ สอดคล้องกับหลักสตู รคอื เปน็ ผเู้ ออ้ื อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ (Facilitator) ซึ่งมีคุณสมบัติคือ มีความสามารถในการฟังอย่างมีประสิทธิภาพ มีความจริงใจ มีความเข้าใจ มีการยอมรับ มีไหวพริบ และมีทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล นอกจากนี้ ที่พบว่าองค์ประกอบย่อยด้านการบริหารจัดการ หลักสูตร อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก อาจเนื่องมาจากในการบริหารจัดการหลักสูตร สถานศกึ ษามกี ระบวนการทำงานทีม่ ีความต่อเนื่อง แต่อาจยังไม่มีระบบการติดตามชว่ ยเหลืออยา่ งเป็น รปู ธรรมในระหวา่ งการนำหลักสูตรไปใช้ ควรมกี ารพจิ ารณานักเรียนท่ีอาจจะมคี วามบกพร่องด้านการ เรียนรู้โดยมีการสังเกต และประเมินอย่างจริงจัง และให้ความช่วยเหลือเพื่อให้นักเรียนและอาจารย์ ผู้สอนได้จัดการเรียนรู้และประเมินความสามารถตามความเหมาะสม และควรมีการสนับสนุนและ ส่งเสริมให้บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านวิชาชีพกับสถาบันอื่น ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเองอยา่ งสม่ำเสมอ โดยอาจจัดเวทีเสวนา ศึกษาดูงาน เชิญนักวิชาการมาให้ความรู้และ ประสบการณ์ในโรงเรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการพัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวทันการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษา และสร้างจุดแข็งด้านวิชาชีพให้มีความโดดเด่นตามความสนใจของ บุคลากรแต่ละคน รวมทั้งการพัฒนาอาจารย์ให้สามารถจัดการเรียนการสอนและประเมินผลได้ สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาหลักสูตรและวิสัยทัศน์ของโรงเรียน สอดคล้องงานวิจัยของ จิราวดี พวงจันทร์ (2554: 78-79) เรื่อง การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาระดับสถานศึกษา สังกัด สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ผลการวิจยั พบวา่ แนวทางการแก้ปัญหาการ บริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ระดับสถานศึกษา มี 3 แนวทาง คือ 1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษาละ 1–2 ครั้ง ทบทวนสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน 2) ไม่ควรมี
285 การปรับปรุงหลักสูตรบ่อยทำให้เกิดความสับสนแก่ผู้ปฏิบัติ และ3) มีนโยบายลดงานกระดาษลง เพอ่ื ใหค้ รูผู้สอนไดท้ ่มุ เวลาไปกบั การเรียนการสอน 2.4 ด้านผลผลิต (Product) นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทุก ประเดน็ โดยประเดน็ ที่มีค่าเฉล่ียของระดับความคิดเห็นมากที่สดุ คือ นกั เรยี นมีสมรรถนะสำคัญบรรลุ ตามวตั ถปุ ระสงค์หลักสูตร และน้อยท่สี ดุ คือ นกั เรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ อาจารย์มี ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ (3R) ตามเป้าหมายของหลักสูตร และน้อยทสี่ ุดคือ ผูเ้ รยี นมกี ระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ ทง้ั น้ีอาจเปน็ เพราะว่า อาจารย์ผู้สอนมี การจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่สะท้อน สมรรถนะสำคัญจึงทำให้สมรรถนะสำคัญ ของนกั เรยี นบรรลุวตั ถุประสงค์หลักสูตรสถานศึกษา 2.5 ดา้ นผลกระทบ (Impact) นกั เรยี นมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากในประเด็น ท่มี ีค่าเฉล่ียมากที่สุดคือ นกั เรยี นทจ่ี บการศึกษาจากโรงเรยี นประสบผลสำเร็จในการศกึ ษาต่อในระดับ ที่สูงขึ้น และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ นักเรียนมีความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบัน อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นท่มี คี ่าเฉลี่ยของระดับความคดิ เหน็ มากท่ีสดุ คอื ผทู้ ี่จบการศึกษาจากโรงเรยี นเปน็ ที่ยอมรับ ของสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ และน้อยที่สุดคือ อาจารย์ผู้สอนมีการเผยแพร่ผลงาน วิชาการ งานวิจยั อยา่ งต่อเน่ือง ทง้ั นี้อาจเป็นเพราะว่า นกั เรยี นไดร้ ับทราบขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษาต่อของ รุ่นพี่ซึ่งพบว่านักเรียนที่สำเร็จการศึกษาสามารถศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ทุกคนและเป็นท่ี ยอมรับในความรู้ความสามารถ แต่ที่เป็นข้อกังวลคือ ประเด็นเกี่ยวกับนักเรียนมีความรู้สึกรักและ ภาคภูมิใจต่อสถาบัน ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง โรงเรียนควรมีกิจกรรมร่วมกัน อย่างหลากหลายและต่อเนื่องระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้องเพื่อสร้างความผูกพันที่ดีต่อกันอย่างกัลยาณมิตร รวมทั้งส่งเสริมสนบั สนุน และให้มีระบบติดตามเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจที่ดีของการเผยแพร่ผลงาน วิชาการและงานวจิ ัยของอาจารย์ จากผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ ผู้สอนของหลักสูตร English Program ที่พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และนักเรียนมีความ คิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ในระดับมากซึ่งสอดคล้องกันกั บความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอน สำหรับความคิดเห็นตามองค์ประกอบของการประเมินหลักสูตรเป็นรายด้านโดยการจัดลำดับความ คิดเห็นทั้งของนักเรียนและของอาจารย์ผู้สอนแล้วพบว่า มีลำดับของความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน 2 ดา้ น คอื ด้านบรบิ ทอยู่ตรงกันในลำดับที่ 3 และด้านผลผลติ อยู่ตรงกันในลำดับที่ 4 และโดยสรุปพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นในด้านผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการเป็นลำดับที่ 5 ส่วน อาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นในด้านกระบวนการ เป็นลำดับที่ 1 และด้านปัจจัยนำเข้าเป็นลำดับที่ 5 ซึ่งไม่สอดคล้องกัน โดยมีเหตุผลเช่นเดยี วกับนักเรยี นหลักสูตรปกติท่ีมีความคิดเหน็ ในด้านผลกระทบ เป็นลำดับที่ 1 และด้านกระบวนการเป็นลำดับที่ 5 แต่เหตุผลสำคัญที่เป็นข้อค้นพบสำหรับความ คิดเห็นของนักเรียนหลักสูตร English Program คือ นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับ ปาน กลางในหลายประเด็นของทุกองคป์ ระกอบ ซง่ึ โรงเรยี นควรนำไปใช้เปน็ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
286 และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ องค์ประกอบด้านบริบท เกี่ยวกับประเด็นเนื้อหาสาระท่ี เรียนแต่ละรายวิชาในภาพรวมมีความเหมาะสม นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน โรงเรียนส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมีความพร้อมในการศึกษาต่อตามความถนัด ความสนใจ ซึ่งสอดคล้องกับ ความตอ้ งการของนักเรียน โรงเรียนส่งเสรมิ ให้นักเรียนสามารถแสวงหาและสรา้ งความรูด้ ว้ ยตนเองได้ รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมให้นักเรียนมีสมรรถนะในการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การ แก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี รายวิชาและกจิ กรรมการเรียนการสอนในโรงเรยี น ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีบุคลิกภาพที่ดีในด้านการเรียนรู้อย่างมีความสุข การเป็นที่ยอมรับของผู้อ่ืน การช่วยเหลือ โอบอ้อมอารี สื่อสาร และใฝ่เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ องค์ประกอบด้านปัจจัยนำเข้า เกี่ยวกับ ประเด็นเจ้าหน้าที่ มีความพร้อมในการให้บริการ สนับสนุน และอำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลุ เปา้ หมายของงาน ความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ของอาจารยผ์ สู้ อน มีความ เหมาะสม อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาที่ตรงกับความเชี่ยวชาญ มีกิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียน หรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ห้องเรียนมีสภาพที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ มีห้องบริการสืบค้นข้อมูลด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมและทันสมัย องค์ประกอบดา้ นกระบวนการ เก่ยี วกบั ประเดน็ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นช่วยสะท้อนความสามารถและ ความถนัดของนักเรียนได้ดี มกี จิ กรรมการเรียนรทู้ ี่เน้นให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ และลงมือปฏิบัติจริง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีความหลากหลาย องค์ประกอบด้านผลผลิต เกี่ยวกับประเด็นนักเรียนมี ความสามารถตามคณุ ลักษณะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 ตามเป้าหมายของหลกั สตู ร นกั เรยี นมีความ มุ่งมั่นในการเรียน การทำงาน และกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องเหมาะสม นักเรียนมีบุคลิกภาพที่ดี ตามเป้าหมายของหลักสูตร ในด้านการเรียนรู้อย่างมีความสุข การเป็นที่ยอมรับของผู้อื่น การ ช่วยเหลือ โอบอ้อมอารี สื่อสาร และใฝ่เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และองค์ประกอบด้านผลกระทบ เกี่ยวกับ ประเด็นนักเรียนมีความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบัน โดยประเด็นทั้งหมดที่กล่าวข้างต้นจะเป็น ฐานข้อมูลที่สำคัญนำไปสู่การหาแนวทางการปรับปรุงและออกแบบหลักสูตรในครั้งต่อไปได้ตรง ประเดน็ มากทีส่ ุด ซึง่ สอดคลอ้ งกับแนวคิดของวิชัย วงษ์ใหญ่ (2554: 16-20) และTyler (1969: 37) ที่ กล่าวถึงการออกแบบหลักสูตรที่ชัดเจนและสอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน และ สอดคล้องกับความต้องการของสังคมนั้น ต้องพิจารณาสิ่งที่มากำหนดหลักสูตร ทั้งนี้รวมถึงด้าน วิชาการ และดา้ นคุณธรรมจริยธรรมของผเู้ รยี น และจากผลการวจิ ยั ท่พี บวา่ นักเรยี นมีความคดิ เห็นใน ด้านผลกระทบเป็นลำดับที่ 1 อาจเนื่องมาจากเห็นว่าโรงเรียนมีชื่อเสียงและเป็นผู้นำในด้านการจัด การศึกษาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับโดยสังเกตจากการที่มีสถาบันการศึกษามาขอศึกษาดู งาน นอกจากนี้ยังพบว่านกั เรยี นท่จี บการศกึ ษาจากโรงเรยี นได้รับการยอมรบั วา่ “เป็นคนดใี นสังคม” และประสบผลสำเร็จในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ส่วนอาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นในด้าน กระบวนการ เป็นลำดับที่ 1 อาจเป็นเพราะอาจารย์เห็นว่า ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร มีการ พิจารณาอาจารย์ผู้สอนรายวิชาให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและคุณวุฒิ มีการจัดระบบ อาจารย์ประจำชั้น/อาจารย์ที่ปรึกษานักเรียนอย่างเหมาะสม และอาจารย์ผู้สอนเป็นต้นแบบที่ดีแก่ ผู้เรยี น ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล มกี ารบอกวธิ ีการวัดและประเมินผลแต่ ละครั้งให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้า มีการวัดและประเมินผลอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการเรียนการสอน
287 และจัดการเรยี นร้โู ดยสอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และจากผลการประเมินตามองค์ประกอบของการ ประเมนิ หลักสูตร 5 ด้าน โดยหลกั สตู ร English Program ทพี่ บวา่ 2.6 ด้านบริบท (Context) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้านรายวิชา และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนอยูใ่ นระดบั มาก สว่ นองคป์ ระกอบด้านหลักสูตรอย่ใู นระดับปานกลาง และ พบว่า องค์ประกอบด้านหลักสูตร มีประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับมากคือ การจัดการศึกษาของโรงเรียนมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันตั้งแต่ระดับประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางคือ เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละรายวิชาในภาพรวมมีความเหมาะสม นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้จริงใน ชีวิตประจำวัน อาจารย์มีความคิดเห็นต่อทั้ง 2 องค์ประกอบอยู่ในระดับมาก องค์ประกอบด้าน หลักสูตร ประเด็นที่มีค่าเฉลีย่ มากทีส่ ดุ โดยอาจารย์มีความคดิ เห็นอยูใ่ นระดบั มากที่สุดคือ โครงสร้าง หลักสูตรระดับประถมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี ความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ.2561 และน้อย ที่สุด ซึ่งอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากคือ หน่วย/แผนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสม ถูกต้อง มีองค์ประกอบครบถ้วน และมีขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning ที่สะท้อนผลลัพธ์ทีพ่ ึงประสงค์ของการศกึ ษา (DOE Thailand) ในมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ พ.ศ.2561 ส่วนองคป์ ระกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มปี ระเดน็ ที่มีค่าเฉล่ียมาก ที่สดุ ซึ่งนักเรียนมคี วามคิดเหน็ อยู่ในระดบั มาก คือ รายวชิ าและกจิ กรรมการเรยี นการสอนในโรงเรียน ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่ง นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนส่งเสริมให้ นักเรียนมีสมรรถนะในการเป็นพลเมอื งที่เขม้ แข็ง ส่วนอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุดใน ประเด็น กิจกรรมและประสบการณ์ในระดับปฐมวัยส่งเสริมให้เด็กมีบุคลิกภาพ 5 ด้าน และมี ความสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) และน้อยที่สุดคือ รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ เรียนรู้ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าเนื้อหาสาระทีเ่ รียนแตล่ ะรายวชิ านกั เรียนอาจยังไม่สามารถเชือ่ มโยงกับ สถานการณ์ที่พบในชีวิตจริงได้ รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนยังไม่ส่งเสริมสมรรถนะในการเป็น พลเมอื งทีเ่ ข้มแข็งของนักเรียน ดังนน้ั หน่วย/แผนการจดั การเรยี นรู้ของอาจารย์จึงควรสอดแทรก หรือ กำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning ที่สะท้อนผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (DOE Thailand) ในมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ที่เน้นด้านการเป็นผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม และพลเมืองที่เข้มแข็ง โดยกิจกรรมท่ี เน้นในด้านพลเมืองที่เข้มแข็งก็เพื่อสะท้อนความรักชาติ รักท้องถิ่น มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทย มีจิต อาสา มสี ว่ นรว่ มในการพัฒนา มคี วามยุตธิ รรม ความเทา่ เทียม และการอย่รู ่วมกันในสงั คม นอกจากนี้ ในด้านบริบท ที่พบว่าผลการตรวจสอบองค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาในภาพรวม พบว่า หลักสูตร English Program มีคุณภาพอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกับหลักสูตรปกติ ส่วนผลการ ประเมินรายวิชาของหลักสูตร English Program ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า ทุกรายวิชาใน ภาพรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มากท่ีสุด และผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนในภาพรวม และทุกกิจกรรมย่อยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่ารายวิชาต่างๆ และ
288 กิจกรรมพัฒาผู้เรียน มีกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง ฝึกทักษะให้นักเรียนมีความ ชำนาญตามความถนดั และความสนใจ จงึ ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามความต้องการ และมีความพร้อม สนกุ กับการเรียนรู้และสามารถเชือ่ มโยงความรู้ส่สู ถานการณ์ในชวี ติ ประจำวันได้และสำหรบั นักเรียนท่ี ไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ได้ ครูต้องใหค้ ำแนะนำช่วยเหลอื เพ่มิ เตมิ 2.7 ด้านปจั จยั นำเขา้ (Input) นกั เรยี นมีความคดิ เห็นตอ่ องค์ประกอบด้านบุคคล และองค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก และพบวา่ องค์ประกอบดา้ นบุคคล มปี ระเดน็ ท่ีมีค่าเฉลี่ยของระดับความคดิ เหน็ มากที่สุด ซ่ึงนักเรียน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากคือ ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอน ของโรงเรียน และน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางคือ เจ้าหน้าที่มีความ พรอ้ มในการใหบ้ ริการ สนับสนุน และอำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลุเป้าหมายของงาน อาจารย์มี ความคิดเห็นต่อทั้ง 2 องค์ประกอบอยู่ในระดับมาก มีประเด็นที่มีคา่ เฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมาก ที่สุด ซึ่งอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุดคือ อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาที่ตรงกับ คุณวุฒิและความเชี่ยวชาญ และน้อยที่สุดโดยอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากคือ ผู้ปกครองมี ความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรยี นการสอนของโรงเรียน สำหรับองค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนนุ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ประเด็นที่มีค่าเฉล่ียของระดับความคิดเห็นมาก ที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากคือ มีวัสดุอุปกรณ์การเรียน สื่อ และเทคโนโลยีในชั้น เรียนเพื่อช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้ดขี ึ้น และน้อยที่สุดซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ มกี จิ กรรมกับเพ่ือนต่างโรงเรยี นหรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งกัน และกนั ประเดน็ ท่มี คี า่ เฉลีย่ ของระดบั ความคดิ เหน็ มากทีส่ ุด ซึง่ อาจารย์มีความคิดเหน็ อยู่ในระดับมาก คือ มีการจัดสรรงบประมาณเพือ่ ใช้ในโครงการหรือกิจกรรมการเรียนรูข้ องผู้เรียนอย่างเพียงพอ และ น้อยที่สุดซึ่งอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางคือ มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน และชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ทง้ั นอี้ าจเป็นเพราะการให้บริการของเจ้าหน้าที่ มีช่องว่างของความสัมพันธ์ที่ดี นักเรียนต้องการให้มีความเป็นกัลยาณมิตรมากขึ้น โรงเรียนควรทำ หน้าทีป่ รบั ความเขา้ ใจซ่งึ กนั และกัน และสง่ เสริมบุคลิกลักษณะทีด่ ี รวมทงั้ การใชภ้ าษาท่สี ุภาพเพ่ือลด ความขัดแย้งในการสือ่ สาร 2.8 ด้านกระบวนการ (Process) นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากใน ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ มีการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และน้อยที่สุดโดยนักเรียนมีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับปานกลางคือ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนช่วยสะท้อน ความสามารถและความถนัดของนักเรียนได้ดี อาจารย์มีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้าน กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการหลักสูตร อยู่ในระดับมาก องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการหลักสูตร อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากที่สุดคือ มีการพิจารณาอาจารย์ผู้สอนรายวิชาให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและคุณวุฒิ และน้อยที่สุด ซึ่งพบว่าอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ มีระบบการนิเทศ ติดตาม เพื่อให้ คำแนะนำ ช่วยเหลือ (การพัฒนาวิชาชีพ) เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอน สำหรับองค์ประกอบด้านกระบวนการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล พบว่า อาจารย์มีความ คิดเหน็ อยูใ่ นระดับมากทกุ ประเด็น โดยประเด็นทม่ี คี ่าเฉล่ยี ของระดบั ความคิดเหน็ มากทสี่ ุดคือ จัดการ
289 เรยี นรู้โดยสอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และนอ้ ยท่สี ดุ คอื จดั การเรียนรู้โดยคำนงึ ถึงความสามารถของ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ตามลำดับ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ครูยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลือ่ นในเร่ืองการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งเป็นสิ่งที่ครูควรให้ความสำคัญอย่างย่ิง สำหรับการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันและอนาคตเนื่องจากนักเรียนทุกคนจะได้รับการพัฒนาอย่างเต็ม ศักยภาพของตนเอง สอดคล้องกับ Tomlinson (2001: 1-7) การจัดการเรียนการสอนตามหลักการ แนวคิดน้ี ผู้เรยี นน้ันถึงแม้จะมีเหมือนกนั ในด้านของเพศ อายุ และวยั แต่ส่งิ ทต่ี ่างกันคอื ความสามารถ ในการรับรู้ (Perception) แบบการเรียนรู้ (Learning Style) แนวคิด (Idea) และ ภูมิหลัง (backgrounds) ซึ่งความแตกต่างเหล่าน้ีเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อการสอนและการเรียนรู้ ซึ่งครู จะตอ้ งให้ความสำคญั เพ่ือนำไปสู่การวางแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ีมีประสิทธภิ าพบนความแตกต่างของ ผู้เรียนในชั้นเรียนมิใช่การมุ่งแก้ไขปัญหาเฉพาะผู้เรียนคนดคนหนึ่ง (No Individual Instruction) โดยที่ผู้สอนจะมีการวางแผนการสอน สื่อการสอน วิธีการสอน การวัดผลประเมินผลให้เหมาะสมกับ ผู้เรียนในแต่ละกลุ่มในชั้นเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย (Not just “tailor the same suit for clothes”) เน้นคุณภาพที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน คือ ความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนทุกคนในชั้นเรียน (whole class) มากกว่าปริมาณของเนื้อหาที่สอนหรือสอนครบตามเนือ้ หาสาระ(Qualitative more than Quantitative) หรือผู้เรียนคนใดคนหน่ึง และเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบ การเรยี นการสอน การวดั ผลประเมินผลการเรยี นรขู้ องตนเอง 2.9 ดา้ นผลผลติ (Product) นกั เรียนมคี วามคดิ เห็นอยใู่ นระดับมากในประเด็นที่ มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ นักเรียนมีความสามารถในการสรา้ งสรรค์ชิ้นงาน และ นอ้ ยทสี่ ดุ ซง่ึ นกั เรียนมีความคดิ เห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ นักเรียนมีความสามารถตามคุณลักษณะ ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ตามเป้าหมายของหลักสูตร อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุก ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และน้อยที่สุดคือ ผู้เรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า การเรียนการสอนส่วนใหญ่ได้รับการออกแบบให้มุ่งเน้นการประเมินผลตาม มาตรฐาน/ตัวชี้วัดของหลักสตู รเป็นหลัก ดังนั้นถ้าต้องการพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ให้มีผลสะท้อนที่ชัดเจน ครูควรต้องมีการปรับวิธีเรียนและเปลี่ยนวธิ ีสอนเพื่อออกแบบกิจกรรมที่ จะช่วยพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดคุณลักษณะของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ใหม้ คี ณุ ภาพพรอ้ มนำไปใช้ และประเมนิ หลักสูตรต่อไป 2.10 ด้านผลกระทบ (Impact) นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากใน ประเด็นที่มีค่าเฉล่ียของระดับความคิดเหน็ มากทีส่ ดุ คือ โรงเรียนมีชื่อเสยี งและเปน็ ผูน้ ำในด้านการจัด การศกึ ษาและพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ทงั้ ในระดบั ปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษา และน้อยท่ีสุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ นักเรียนมีความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบัน อาจารยม์ ีความคิดเหน็ อยู่ในระดับมากท่ีสดุ คือ โรงเรียนเปน็ ที่ยอมรบั ของผปู้ กครอง ชมุ ชน และสังคม และน้อยที่สุดซึ่งอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากคือ อาจารย์ผู้สอนมีการเผยแพร่ผลงาน วชิ าการ งานวิจัยอยา่ งต่อเนื่อง ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากกจิ กรรมทีโ่ รงเรยี นจัดใหน้ ักเรียนยังไม่สะท้อนให้ นักเรียนเกิดความรัก ความภูมิใจ และความผูกพันต่อสถาบันเท่าที่ควร รวมทั้งอาจารย์ผู้สอนยังไม่ พร้อมที่จะทำงานวิจัย หรือผลงานวิชาการอย่างจริงจังด้วยเหตุผลในเรื่องของเวลาและความรู้
290 ความสามารถ โรงเรยี นจึงควรหาวิธีการกระตนุ้ ให้อาจารย์ไดเ้ ห็นความสำคัญ และสร้างแรงบันดาลใจ ในการทำงานวจิ ัยหรือผลงานวิชาการให้บรรลุผลสำเรจ็ 3. จากผลการศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลักสูตรโรงเรียนสาธติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามองค์ประกอบของ การประเมนิ หลักสูตร 5 ด้าน โดยหลกั สูตรปกติ ท่พี บว่า ดา้ นบริบท (Context) ตัวช้วี ดั บางข้อวัดได้ ยาก และมีจำนวนมากเกินไป หลักสูตรยังไม่มีจุดเนน้ หรือความโดดเด่นรวมทั้งทิศทางของหลักสตู รที่ บอกได้ชัดเจน แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรคือ ควรปรับข้อความเน้นเป็นพฤติกรรมที่ นักเรียนแสดงออกได้ชัดเจน ควรปรับลดจำนวนตัวชี้วัดให้เหลือเท่าที่จำเป็นทีส่ ามารถสะท้อนความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่จำเป็นของนักเรียนในชีวิตจริง ควรให้สถานศึกษามีอิสระในการออกแบบ หลักสตู รไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ หลักสูตรควรตอบสนองนักเรยี นแตล่ ะคน และควรมีรปู แบบการประเมินผลท่ี หลากหลายและเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ควรมีการปรับปรุง วิสัยทัศน์ของหลักสูตรควรเป็นการจัดการศึกษาเพ่ือ เสรมิ สร้างการคิดสรา้ งสรรค์ และทกั ษะนวัตกรรมให้มากขึ้น ควรเพม่ิ เตมิ การคิดข้นั สงู (Higher-order thinking) Creative Based, Technology Based ไว้ในกรอบแนวคิดหลักสูตร ร่วมกับ Project Based, Career Based เน้น Competency Based ไว้ในกรอบแนวคิดหลักสูตร และแนวการจัด หลักสูตรระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ควรเน้นการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ (Creative Integration) ให้มากขึ้นจะช่วยเสริมสร้าง Innovative Skills ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากยังไม่เคยมีการ กำหนดวิสัยทัศน์ของหลักสูตรสถานศึกษา และยังไม่เคยมีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาที่ ครอบคลุมองค์ประกอบ 5 ด้านของการประเมินหลักสูตร ประกอบด้วย ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต และผลกระทบ ช่วยให้มองเห็นภาพของการประเมินรอบด้านมากขึ้น ทุก ประเด็นในด้านบริบท มีคุณค่าอย่างยิ่งสำหรับการนำไปปรับปรุงแก้ไขให้ตรงประเด็นที่บกพร่องมาก ที่สุด หลักสูตรที่ดีสำหรับโรงเรียน คือ การกำหนดวิสัยทัศน์ของหลักสูตร จุดเน้นและทิศทางของ หลกั สูตร เป้าหมายของหลกั สตู ร กรอบแนวคิดหลกั สตู ร และแนวทางการบรหิ ารจัดการหลักสูตร การ เลือกรูปแบบการประเมินสำหรับการวจิ ัยครั้งนี้สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยประเมนิ หลักสูตรทีใ่ ชร้ ปู แบบการ ประเมินแบบ CIPP Model ของ มาเรียม นิลพันธุ์ และคณะ (2556) เรื่อง การประเมินผลหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร Brigman (1992: 2814-A) ได้ศึกษาเพื่อประเมินผลของหลักสูตรการฝึกความพร้อมของนักเรียน ที่มีต่อความ ตง้ั ใจ ความเข้าใจในการฟังและทักษะทางสงั คมของนักเรยี นอนบุ าล สิราวรรณ จรสั รววี ัฒน์ และคณะ (2558) วิจัยเรือ่ ง การประเมินหลักสูตรการศึกษาบัณฑติ (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนภาษาจนี (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา นพมณี เช้อื วัชรนิ ทร์ และคณะ (2558) วิจัยเรื่อง การประเมินหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนชีววิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา รัตนศิริ เข็มราช และคณะ (2558) วจิ ยั เร่อื ง การประเมนิ หลกั สูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษในฐานะ เป็นภาษาโลก อิศเรศ พิพฒั น์มงคลพร และคณะ (2556) รายงานการวิจัยเร่ือง การประเมินหลักสูตร
291 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ฐิติมา นิติกรวรากุล (2554) การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” จ.ราชบุรี ช่วงชัน้ ที่ 3-4 โดยใช้รูปแบบการประเมนิ CIPP Model ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ปัญหา คือ ความพร้อมในการให้บริการ สนับสนุน และอำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลุเป้าหมายของงาน เจ้าหน้าที่ ความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ของอาจารย์ผู้สอน ความเข้าใจ และการสนบั สนนุ กิจกรรมการเรียนการสอนของผปู้ กครอง แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงหลักสูตร คือ อาจารย์และเจ้าหน้าที่ควรเป็นต้นแบบที่ดีให้นักเรียน มีความยุติธรรม ให้ความเสมอภาค ควรมี อุปกรณป์ ระกอบการสอน ควรเนน้ ปฏิบตั ิมากกวา่ ทฤษฎี ไม่ท้ิงคาบสอบ ควรสอนใหเ้ ดก็ เขา้ ใจโดยควร อธิบายเพิ่มเตมิ จากในหนังสือเรียน ควรควบคมุ ช้นั เรยี นให้ไดใ้ นขณะสอน และควรใช้ภาษาท่ีสุภาพใน ชั้นเรียน ควรมีอาจารย์มาสอนวิชา English เป็นชาวอเมริกันมากกว่าฟิลิปปินส์ ที่จะช่วยให้นักเรียน สามารถฟงั พูดอา่ นเขยี นได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ควรมีการบรหิ ารจดั การหลกั สูตรอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง มีการสร้างและปรับเปลี่ยน mindset เพื่อการนำหลักสูตรไปใช้ตามวัตถุประสงค์ มีการให้ คำแนะนำ ตดิ ตาม แลกเปลยี่ นเรียนรู้ เลือกวธิ ีการจัดการเรยี นรู้และการประเมินผลท่ีหลากหลายและ เหมาะสมเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาคณุ ภาพนักเรียนให้บรรลเุ ป้าหมาย มีการจัดการความรู้ร่วมกัน อย่างต่อเนอ่ื ง รว่ มคดิ รว่ มทำ ร่วมรบั ผิดชอบ ร่วมกันแกไ้ ข/ปรบั ปรุงและสรา้ งขวญั และกำลังใจในการ ทำงาน มีครภู มู ิปัญญาให้กับนักเรียน มีแหล่งเรยี นรู้เชิงสร้างสรรค์ และชุมชนมีสว่ นร่วมในการสะท้อน คุณภาพผู้เรียน และปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชั้นเรียน ควร ประกอบด้วย Growth mindset และ Passion ของบุคลากรทุกฝ่ายในการนำหลักสูตรไปใช้ในชั้น เรียนตามเจตนารมณข์ องหลักสูตร ความรูค้ วามเข้าใจและทักษะในการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ของผู้สอน ที่สามารถตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน และความเข้มแข็งของการมี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชนและผู้ปกครอง ควรมีห้องเทคโนโลยีและสื่อการสอนที่ทันสมัย เข้าถึงได้ง่ายรวมทั้งมีกิจกรรมบูรณาการในรายวิชา ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะวา่ บคุ คลที่ เกี่ยวข้องกับการประเมินด้านปัจจัยนำเข้า คือ ผู้บริหาร อาจารย์และเจ้าหน้าท่ี นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ซึ่งมีหลากหลายบทบาทที่จำเป็นต้องเป็นกัลยาณมิตรต่อกันเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา งาน หลักสูตรสถานศึกษาควรกำหนดให้มีครูภูมิปัญญาและอาจารย์พิเศษมาให้ประสบการณ์กับ นักเรียน และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการสะท้อนคุณภาพผู้เรียน มีแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ และ ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่ชั้นเรียน ควรประกอบด้วย Growth mindset และ Passion ของบุคลากรทุกฝ่ายในการนำหลักสูตรไปใช้ในชั้นเรียนเพื่อให้การบรรลุ จุดมุง่ หมายของหลกั สูตร 3.3 ด้านกระบวนการ (Process) ปัญหาด้านการบริหารจัดการหลักสูตรที่ โรงเรียนยังไม่ได้ดำเนินการหรือดำเนินการไม่เป็นที่ประจักษ์ ได้แก่ การจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่าง โรงเรียนและชุมชนเพอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นอย่างต่อเน่ือง การมีระบบการสะทอ้ นผลการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ การมีระบบการนิเทศ ติดตาม เพื่อให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ (การพัฒนาวิชาชีพ) เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ อาจารย์ผู้สอน การจัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล การจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนเพื่อช่วยสะท้อนความสามารถและความถนัดของนักเรียน การเลือกใช้วิธีการและ
292 เครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรคือ โรงเรียนควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” ที่ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ คือ ให้ความสำคัญกับ Growth mindset ในการพัฒนาหลักสูตรที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย เพื่อ สง่ เสริมพฒั นาการของนักเรียนทุกด้าน และพฒั นาหลักสูตรให้ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการ ของผเู้ รียนในลักษณะ Personalized learning และใช้ Technology เป็น Platform ของการเรียนรู้ ร่วมกับการเรียนรู้แบบ Creative Team Learning สร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้ บุคลากร 2) วัตถุประสงค์ เพื่อตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน เสริมสร้างคุณภาพ ผู้เรียนแบบบูรณาการ เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน และเพื่อพัฒนาชุมชน ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตร และการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน และเพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนใหม้ ีทกั ษะ ทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 รวมทง้ั คุณธรรมและจรยิ ธรรมตามท่ีสังคมต้องการ 3) กระบวนการ โดยการ สรา้ งความเขา้ ใจร่วมกันเก่ียวกบั หลักสูตรสถานศึกษาและการกำหนดเปา้ หมายในการพัฒนาหลักสูตร กำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการดำเนินการพัฒนาหลักสูตร การถอดบทเรียน จุดแข็ง และจุดท่ีควรปรับปรงุ หลักสูตรเดมิ การกำหนดเปา้ หมายคณุ ภาพผเู้ รียนทีต่ อบสนองการเปล่ียนแปลง ของสงั คมในอนาคต การดำเนนิ การพฒั นาหลักสูตรท่ีมีความเป็นนวตั กรรม Curriculum innovation ตอบสนองเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน การใช้หลักสูตรแบบวิจัยเป็นฐานที่มีการประเมินและปรับปรุง อย่างต่อเนื่องตามวงจร Plan Do Check Reflection จัดทำรายละเอียดตามองค์ประกอบหลักสูตร ให้ครบถ้วน ติดตามตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสมเพื่อปรับปรุงและแก้ไข นำหลักสูตรไปใช้ใน การจัดการเรียนการสอน ประเมินผล และตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับรองหลักสูตร 4) การวัด และประเมินผล ได้แก่ การประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนอย่างต่อเนื่อง การประเมิน คุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง และการสะท้อนผลการประเมินและนำไปปรับปรุงหลักสูตร 5) ปัจจัยสนับสนุน ประกอบด้วย การสนับสนุนจากโรงเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการสร้าง สื่อนวตั กรรมของอาจารย์ การสร้างขวญั และกำลงั ใจของผู้บริหาร และความรว่ มมือในการนำหลกั สูตร ไปใชข้ องอาจารย์ การสนับสนนุ เชงิ วชิ าการของผู้บรหิ ารทัง้ ระดับมหาวิทยาลัย ระดบั คณะ และระดับ โรงเรียน Growth mindset ของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การสนับสนุนจากชุมชน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ทรัพยากรหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ งบประมาณในการดำเนินการ และการได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า โรงเรียนยังขาดการจัดการเชิงระบบในการพัฒนาหลกั สูตร โดยเฉพาะดา้ นการบรหิ ารจัดการหลักสูตร ซึง่ สามารถสะท้อนผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ของอาจารยผ์ สู้ อนได้อย่างต่อเน่ืองโดยเน้นให้นักเรียน พัฒนาตนเองได้เพื่อร่วมกันพัฒนาวิชาชีพในโรงเรียนในรูปแบบ PLC มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมี ระบบการจัดการความรู้อย่างเป็นรปู ธรรม การจดั การเรียนรู้ต้องคำนึงถึงความสามารถของผเู้ รียนเป็น รายบุคคล และควรมี “รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร” เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร สถานศกึ ษาให้สอดคล้องกันทกุ ประเด็น 3.4 ด้านผลผลิต (Product) ปัญหาของนักเรียนที่โรงเรียนยังไม่ได้ดำเนินการ หรือดำเนินการแล้วแต่ยังไม่เป็นที่ประจักษ์ ได้แก่ กระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ สมรรถนะใน การสร้างสรรค์ชิ้นงาน ความสามารถและคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ตามเป้าหมายของ หลักสูตร ความสามารถทางปัญญา 8 ด้าน (ความสามารถด้านภาษา คณิตศาสตร์ มิติสัมพันธ์ การ
293 ควบคุมความคิดความรู้สึก ดนตรี มนุษย์สัมพันธ์ เข้าใจตนเอง และเข้าใจธรรมชาติ) ดังนั้นแนวทาง การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรคือ โรงเรียนควรให้ความสำคัญกับการสร้างกลไกการพัฒนาผลผลิต จากหลักสูตรเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายท่ี เกี่ยวข้องคือ คุณลักษณะที่ดีของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอน กล่าวคือ คุณลักษณะนักเรียนที่พึง ประสงค์ของโรงเรียน ควรเป็นผู้มีความรูค้ วามเข้าใจในสิ่งที่เรียน มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ หรือเฉพาะทาง มีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะในการสร้างสรรค์นวตั กรรมท่ีสามารถ แปลงความคิดสรา้ งสรรค์มาเป็นนวัตกรรมได้มีทกั ษะการแก้ปัญหา และทกั ษะด้านการใช้ภาษาในการ สื่อสาร มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น มีวินัย มีคุณธรรม-จริยธรรม มีจิตอาสา เห็นคุณค่าใน ตนเอง มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และแบ่งปัน (เมตตากรุณา) และคุณลักษณะครูที่พึงประสงค์ของ โรงเรยี น ควรเป็นผมู้ คี วามรู้ และเข้าใจนักเรียน สอนเขา้ ใจและเน้นใหน้ ักเรียนไดป้ ฏิบัติจริง มีความรู้ และความชำนาญในวชิ าทส่ี อน ดูแลและเอาใจใสน่ กั เรียนทว่ั ถงึ และมจี ติ ใจโอบออ้ มอารกี ับนักเรยี น มี สมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ มีความสามารถในการวิจัยในชั้นเรียน และมีความเอาใจใส่ในการ พัฒนานักเรียน มี Passion ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รักการสอน/รักการจัดการเรียนรู้ รักผู้เรียน มีความเป็นกัลยาณมิตร เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ และเป็นนักสร้างสรรคน์ วัตกรรมหลักสูตรและการ เรียนรู้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากความคาดหวังของผู้ปกครอง ผู้บริหารและครู ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมทั้ง นกั เรยี นเอง ท่ตี ้องการใหบ้ ุตรหลาน/นกั เรียนมีความพร้อมและมีพัฒนาการที่ดีตามวัยทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกเรียนตามความสนใจและความถนัดด้วยตนเอง ได้รับ การส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ มีทักษะการคิดขั้นสูงและทักษะในศตวรรษที่ 21 มีความรู้ ความสามารถเพียงพอสำหรับการศึกษาในระดบั ทีส่ งู ขึน้ และการเลือกอาชีพได้ตั้งแต่เรียนอยู่ในระดับ มัธยมศึกษา เป็นคนดีมีคุณธรรม มีน้ำใจ มีจิตอาสา มีภาวะผู้นำ-ผู้ตามที่ดี รวมทั้งมีทักษะการจัดการ และการรู้จักแก้ปัญหา มีความรอบรู้การเปลี่ยนแปลงของโลก (World Changing) ในศตวรรษที่ 21 ดังนั้นครูจึงควรมี Passion ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีความเป็นครูมืออาชีพที่ก้าวทันการ เปลี่ยนแปลงในยุค Disruption เป็นนักพัฒนาและเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์อยู่เสมอ เพื่อเป็นต้นแบบใน การปฏิบัติตนที่ดีสำหรับนักเรียน โดยครูไม่จำเป็นต้องสอนความรู้ให้นักเรียนมากนักเพราะนักเรียน สามารถหาความร้ดู ว้ ยตนเองได้ แต่จากการสมั ภาษณ์นักเรียน พบว่า มีสง่ิ ท่นี กั เรยี นตอ้ งการคือ ให้ครู จัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มประสบการณ์การเรียนรู้ให้นักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันผ่านการลง มือปฏิบัติจริง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เนตรนภา หยูมาก (2562: 34-35) เรื่อง การศึกษา คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่พบว่านักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม มีทัศนะต่อคุณลักษณะของครูท่ีพึงประสงค์อยู่ในระดับ ปานกลาง ให้ความสำคัญต่อคุณลักษณะของครูด้านการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยสูงเป็น อันดับท่ี 1 โดยครูต้องเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ศิษย์ต่อไป ส่วน คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ด้านวิชาการที่นักเรียนให้ความสำคัญน้อยเป็นลำดับที่ 8 เนื่องจาก ปัจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารเจริญก้าวหน้ามาก ความสำคัญต่อคุณลักษณะของครูในด้านนี้จึง น้อยที่สุด และพบว่า ด้านการสอน นักเรียนต้องการให้ครูจัดกิจกรรมประกอบการเรียนช่วยให้ นักเรียนมีความสุขในการเรียน ด้านวิชาการ นักเรียนต้องการให้ครูพานักรัยนเข้าห้องสมุดเพื่อหา ความรู้เพิ่มเติม ด้านสุขภาพกายและจิต นักเรียนต้องการให้ครู เป็นคนใจเย็นไม่โกรธง่าย ด้านมนุษย
294 สัมพันธ์ นักเรียนต้องการให้ครูใจดี ด้านบุคลิกลักษณะ นักเรียนต้องการให้ครูเป็นคนสุภาพอ่อนโยน และส่งเสริมยกยอ่ งนักเรียนที่ทำดี และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุชาดา สุดจิตร (2562: 153) เรื่อง คุณลักษณะของอาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็นของนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาตรีใน จังหวัดภเู ก็ตที่พบว่า คุณลักษณะของอาจารย์ผูส้ อนตามความคิดเห็นของนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษา ระดับปริญญาตรีในจังหวัดภูเก็ต ด้านวิชาการ มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซ้ึง มี การจัดทำแผนและวางแผนในการสอน และศึกษาอบรมดูงานอย่างสม่ำเสมอและสามารถนำความร้ทู ่ี ได้มาถ่ายทอดให้นักศึกษาได้เป็นอย่างดี ด้านทักษะและเทคนิควิธีการสอน ใช้เทคนิคและวิธีการสอน ที่หลากหลาย เอื้อต่อการเรียนรู้ ส่งเสริมให้นักศึกษาวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ปัญหา และการ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ และเป็นผู้ริเริ่มค้นคว้าหาวธิ ีการสอนที่ทันสมัยอยู่เสมอ ด้านการวัดผลและ ประเมินผล มีวิธกี ารวดั ผลและประเมินผลทหี่ ลากหลายวิธี ทง้ั ปรนยั อตั นัย และการประเมินจากงาน ที่มอบหมาย มีการแจ้งข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์และทันกาล ด้านบุคลิกภาพ ครู ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อยและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และมีความ กระตือรือร้น พัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา ด้านคุณธรรมและจริยธรรม มีความอดทนอดกลั้นต่อ พฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาให้ความช่วยเหลือแก่นักศึกษาและเพื่อนร่วมอาชีพและปฏิบัติต่อ นกั ศึกษาได้เหมาะสมและเสมอภาค 3.5 ด้านผลกระทบ (Impact) ปัญหาที่เป็นข้อกังวลของนักเรียนและอาจารย์ ได้แก่ ความรู้สึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบันของนักเรียน การเป็นที่ยอมรับของสถาบันการศึกษาท้ัง ในและต่างประเทศ การได้รับการยอมรับว่า “เป็นคนดีในสังคม” การเผยแพร่ผลงานวิชาการและ งานวิจัยของอาจารย์ การสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอนของอาจารย์ผ่านกระบวนการวิจัย การ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรเพื่อช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้ใหแ้ ก่บุคลากรทั้งภายในและภายนอกสถาบัน การเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการของอาจารย์ มีจำนวนยังไม่ถึงครึ่งหนึ่งของอาจารย์ทั้งหมด ในโรงเรียน แนวทางการปรับปรุงและพัฒนาคือ ควรมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนรู้สึกรักและ ภาคภูมิใจต่อสถาบัน และสนับสนุนให้อาจารย์มีการเผยแพร่ผลงานหรือให้บริการวิชาการมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้อาจารย์ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้รวมทั้งให้บริการวิชาการแก่เพื่อนร่วมวิชาชีพทั้งในและนอกโรงเรียน หลักสูตรควรจัดรายวิชา เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้น้อยลงเพื่อให้นักเรียนมีเวลาเตรียมความพร้อมเข้ามหาวิทยาลัย ได้มากขึ้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า กิจกรรมหรือโครงการที่โรงเรียนจัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างความผูกพัน ระหว่างนักเรียนร่วมกันทุกหลักสูตรทุกระดับชั้นมีเพียง 2 โครงการเท่านั้น คือ โครงการปัจฉิมนิเทศ และโครงการกีฬาสีภายใน จึงทำให้ความรักความผูกพันของนักเรียนระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้องซึ่งเกิด จากการทำกิจกรรมร่วมกัน ดูแลห่วงใยช่วยเหลือแนะนำซึ่งกันและกันไม่เกิดขึ้น รวมทั้งความไม่ ประทับใจของนักเรียนที่มีต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ หรือจากการที่นักเรียนรู้สึกได้ว่าอาจารย์ ไม่ไดด้ แู ลผู้เรียนอย่างเต็มความสามารถ ส่งิ เหลา่ น้ีอาจสง่ ผลต่อความร้สู ึกรัก ผกู พนั และภาคภูมิใจต่อ โรงเรียนหรือสถาบันของตนเองลดลงตามไปด้วยซง่ึ สอดคล้องกับงานวจิ ัยของจฑุ ารตั น์ ทิพยบ์ ุญทรัพย์ และศศิธร โรจน์สงคราม (2560: 64-66) เรื่อง การศึกษาความผูกพันของนักศึกษาต่อวิทยาลัย นานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของนักศึกษาต่อวิทยาลัย นานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยพบว่าความผูกพันต่ออาจารย์ เจ้าหน้าที่ และเพื่อนส่งผลตอ่ ความ
295 ผูกพันของนักศึกษาในภาพรวม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนความผูกพันต่อรุ่นพี่รุ่น น้องส่งผลต่อความผูกพันของนักศึกษาในภาพรวมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ อรวรรณ จุลวงษ์ (2555) ได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาเชิงคุณภาพเกี่ยวกับ ความรู้สึกผกู พันต่อสถาบนั การศึกษาของนักศึกษาพยาบาลกองทัพบก พบว่า การได้เข้ารว่ มกิจกรรม ต่างๆ ร่วมกันทําให้รู้สึกผกู พันกับสถาบนั การศึกษา เนื่องจากผู้ให้ข้อมูลมโี อกาสได้ผ่อนคลายความตงึ เครียดจากการเรียน ทําให้มีความสนิทสนมกันมากขึ้น มีความเป็นหนึ่งเดียวมากข้ึน (Unity) และถ้า ผู้เรียนได้รับการคัดเลือกให้เป็นตัวแทนสถาบันจะเกิดความภาคภูมิใจ และรู้สึกหวงแหน และเกิด ความรู้สึกเปน็ เจ้าของสถาบัน ความรู้สึกของการเป็นสว่ นหนึง่ จัดเป็นความรู้สึกท่ีแสดงถึงความผูกพนั (Libbey, 2004) การส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของบุคคล (Self Esteem) โดยการเปิด โอกาสใหม้ ีกิจกรรมตามความสามารถของบุคคล จะทาํ ให้บุคคลรู้สึกของการเป็นสว่ นหนึ่งของสถาบัน (Eggert, 1994) จากผลการศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศกึ ษา ตามองคป์ ระกอบของการประเมนิ หลกั สูตร 5 ด้าน โดยหลักสูตร English Program ท่พี บวา่ 3.6 ดา้ นบริบท (Context) ปญั หาของหลกั สูตรสถานศกึ ษาด้านบริบท ทพี่ บวา่ มี ข้อค้นพบเช่นเดียวกับหลักสตู รปกติ และมีส่วนที่เพิ่มเติม คือ ความเหมาะสมของเนื้อหาสาระที่เรียน แต่ละรายวชิ าในภาพรวม นกั เรียนควรสามารถนำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในชีวิตประจำวัน การสง่ เสริมให้นกั เรยี น สามารถแสวงหาและสร้างความรู้ด้วยตนเอง นักเรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเข้ามา เรียนอยูใ่ นระดับปานกลางถึงตำ่ ซ่ึงเป็นปัจจัยสำคญั ต่อการออกแบบหลักสูตรใหเ้ หมาะสม สว่ นปญั หา ดา้ นรายวชิ า (พน้ื ฐานและเพม่ิ เตมิ ) และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน คือ การส่งเสริมให้นกั เรยี นมีสมรรถนะ ในการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี แนวทางการปรับปรุงและพัฒนาคือ หลักสูตรควรตอบสนองนักเรียนแต่ละคน และควรมีรูปแบบการประเมินที่หลากหลายและเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล ควรสร้างแรงจูงใจ ให้ครูได้รับการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลที่ส่งเสริมทักษะผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 และพัฒนาเครื่องมือประเมินที่สะท้อนผลลัพธ์การบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร นอกจากน้ีควรพัฒนาความพร้อมของบุคลากร อาจารย์ผู้สอน สถานที่ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ใน โรงเรียน และพัฒนาภาวะผู้นำให้แก่นักเรียน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าเนื้อหาสาระที่เรียนส่วนใหญ่เป็น เน้ือหาเดยี วกับหลักสตู รปกติแต่เรียนเป็นภาษาองั กฤษเท่าน้ัน และไมไ่ ดเ้ น้นสถานการณ์ท่ีนักเรียนจะ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ทำให้นักเรียนไม่เห็นความสำคัญหรือประโยชน์ที่เกิดจากการ เรียนในรายวิชา โดยในการออกแบบหลักสูตรจึงควรคำนึงถึงต้นทุนด้านความสามารถในการเรียนรู้ ของนักเรยี นรว่ มด้วย 3.7 ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาด้านปัจจัยนำเข้า มีข้อที่กังวลคือ ความชัดเจนของคุณสมบัติอาจารย์ผู้สอนนักเรียนหลักสูตร EP ความพร้อมของ เจ้าหน้าที่ในการให้บริการ สนับสนุน และอำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลุเป้าหมายของงาน อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาที่ตรงกับความเชี่ยวชาญ ความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และ ประสบการณ์ของอาจารยผ์ ู้สอน ด้านเอกสาร ส่อื เทคโนโลยี และสิง่ สนับสนนุ ทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ การ มกี จิ กรรมกับเพื่อนตา่ งโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเพอื่ แลกเปลยี่ นประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งกันและ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430