ประเด็นสมั ภาษณ์ ผ้บู ริหารคนท่ี 1 ผู้บรหิ ารคนท่ี 2 ผู้บรหิ
134 หารคนท่ี 3 ผูบ้ ริหารคนที่ 4 ผู้บริหารคนท่ี 5 ผลการสงั เคราะหโ์ ดยผู้วจิ ยั ความสำคญั ของการใช้ ตรงจดุ ตามบรบิ ท เป็นระบบ และนำผลการ หลักสตู รเพือ่ ใหบ้ รรลุ ความต้องการของ ประเมินหลกั สตู รไปใช้ในการ เปา้ หมาย สถานศกึ ษา จดั ทำแผนพฒั นาสถานศึกษา 134
135 จากตารางที่ 10 ความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนเกี่ยวกับสภาพปัญหาของหลักสูตร สถานศกึ ษาในปัจจุบันและความตอ้ งการประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษาพบว่า หลกั สูตรสถานศึกษาท่ี พัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มีสิ่งที่ดีควรพัฒนาต่อยอด คือ มีแนวทางให้ครูได้นำไปกำหนดเนือ้ หาสาระทีใ่ ช้ในการจดั การ เรียนการสอน มีการจัดทำเอกสารหลักสูตรสถานศึกษาและองค์ประกอบของหลักสูตร การนำ หลักสูตรไปใช้ เพื่อให้บรรลุมาตรฐานและตัวชี้วัด มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนทั้งระบบให้บรรลุตาม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เป็นหลักสูตรที่ตอบสนองการกระจายอำนาจ และเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน และทอ้ งถ่ินเข้ามามีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา นกั เรียนไดร้ ับองค์ความรู้พื้นฐานตามกรอบหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน แต่อาจขาดทักษะสำคญั สำหรับการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน และทักษะ ใหม่ (New Skills) ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างคุณลักษณะแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และมีสิ่งท่ี ควรแก้ไข/ปรับปรุง คือ ตัวชี้วัดบางข้อ วัดได้ยาก ควรปรับข้อความเน้นเป็นพฤติกรรมที่นักเรียน แสดงออกได้ชัดเจน ตัวชีว้ ดั ทปี่ รับปรุงใหมแ่ ล้วยังมจี ำนวนมากอยู่ ควรปรับลดจำนวนตัวช้ีวัดให้เหลือ เท่าที่จำเป็นที่สามารถสะท้อนความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่จำเป็นของนักเรียนในชีวิตจริง ควร ปรับการเรียนการสอนในวิชาหน้าที่พลเมืองในรูปแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่น ครูวิทยาศาสตร์ไม่ สามารถสอนบูรณาการ STEM ตามที่หลักสูตรกำหนดแนวทางไว้ได้ โรงเรียนจึงควรบริหารให้ ครูผู้สอนสามารถสอนบูรณาการ STEM ได้ ควรมีการแนะนำการเลือกสื่อ หรือหนังสือเรียนให้ เหมาะสมกับวัยของนักเรียน โครงสร้างเวลาเรียนในระดับประถมศึกษา ควรปรับสัดส่วน ให้ สถานศึกษาสามารถจัดรายวิชาเรียนตามจุดเน้นได้มากขึ้น ควรให้สถานศึกษามีอิสระในการออกแบบ หลักสูตรได้อย่างแท้จริง หลักสูตรควรตอบสนองนักเรียนแต่ละคน และควรมีรูปแบบการประเมินที่ หลากหลายท่ีเนน้ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล กรณสี ภาพปัญหาของหลกั สูตรสถานศึกษาท่คี วรต้อง เร่งแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาเพื่อมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผู้บริหารโรงเรียนเห็นว่า ปัญหาอย่ทู กี่ ารนำหลักสูตรไปใช้ โดยครูไมส่ ามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ไปถึงเปา้ หมายของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ได้ครบถ้วน ซึ่งเกิดจากความไม่พร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่เข้าใจหลักสูตร และ จัดการเรียนการสอนและประเมินผลไม่ตรงตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ไม่มีเครื่องมือสะท้อนผลลัพธ์การ บรรลุเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน นักเรียนควรได้รับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการ นำไปใช้ศึกษาตอ่ ในระดับมหาวทิ ยาลัยมากกว่า แรงกดดันจากครอบครัว และสังคม ทำให้พัฒนาการ ตามวัยและคุณธรรมจริยธรรมลดลง ความหลากหลายของรายวิชา/กิจกรรม และความยืดหยุ่นของ หลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการและความสามารถพิเศษของนักเรียนมีน้อยเนื่องจากหลักสูตร แกนกลางเน้นที่ความรูพ้ ื้นฐานตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที่มีจำนวนมาก นอกจากนี้ ผู้บริหารโรงเรียน เห็นวา่ สถานศกึ ษามีความตอ้ งการจำเป็นมากท่ีจะต้องมีการประเมนิ หลักสตู รเพ่ือการปรับปรุงและ พัฒนา โดยอาจประเมินทุกปีการศึกษา หรืออาจประเมินเมื่อครบรอบการใช้หลักสูตรอย่างนอ้ ย 3 ปี ตามความเหมาะสม และมีข้อคิดเห็นเพิ่มเติมว่า ความสำคัญของการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ อยู่ที่การทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ชัดเจนร่วมกัน นำ หลักสูตรไปใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินหลกั สตู รไปใชใ้ นการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา
136 2. ผลการสัมภาษณ์กลุ่มผู้จัดการและอาจารย์ผู้สอนชาวต่างชาติสำหรับหลักสูตร English Program (EP) ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการศึกษา มคี วามคิดเหน็ เกี่ยวกับสภาพปญั หาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบัน และความต้องการของการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ไดข้ อ้ สรปุ แตล่ ะประเดน็ ดงั น้ี 2.1 หลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานนั้น มีสิ่งที่ดี ควรพัฒนาต่อยอด และมสี ิง่ ทคี่ วรแก้ไข/ปรับปรุง ดงั นี้ Our curriculum is basically based on the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 and the Curriculum prepared and developed by Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Development Center Academic Department. This Curriculum aim to benefit the learners to the fullest and to be a well rounded individual in the future but some aspects are just too much for the students and teachers to accommodate. The students study a little of so many things that we forgot. The most important thing “mastery”. We try to know more but master only a few. This I guess we have to look upon and do something. 2.2 สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ที่ควรต้องเร่งแกไ้ ขปรับปรุงและพัฒนาใน สถานศกึ ษาเพื่อมงุ่ สคู่ ณุ ภาพผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21 มีดังน้ี The collaborative method of constructing a curriculum yields a very good output to the learners. The Basic Core Curriculum of the MOE and the KUSK curriculum aims to develop learners potentials and abilities but there are some areas in the Basic Core Curriculum that need to be considered, some of the learning indicators that should be specifically designed for a certain level are missing so sometimes it leads to the problem about making a syllabus. 2.3 ความต้องการในการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา และช่วงเวลาที่เหมาะสมใน การประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษา ควรเปน็ ดงั นี้ Evaluation of Curriculum is necessary but changing it needs to be assessed evaluate the curriculum to see if it worked or not. If it works reuse and improve to cope with recent educational trend. But if not immediate change is recommended for the betterment of the curriculum and the institution. 2.4 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 4.1 The school needs to activate the school support system. 4.2 Support teachers innovative ideas to benefit the learners. 4.3 Provide the latest educational technologies and applications to promote and enhance learning.
137 3. ผลการจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion : FGD) คณะกรรมการฝ่าย วิชาการ จำนวน 12 คน ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา พบว่าคณะกรรมการวิชาการมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของ หลักสูตรสถานศึกษาในปจั จุบนั และความต้องการของการประเมินหลักสูตรสถานศกึ ษาตามประเดน็ สนทนากลมุ่ ดังนี้ 3.1 หลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานนั้น มีสิ่งที่ดี ควรพัฒนาตอ่ ยอด และมีสิ่งที่ควรแก้ไข/ปรับปรุงดงั นี้ คณะกรรมการวิชาการสว่ นใหญ่เห็นสอดคล้องกันว่ามีสิ่งทีด่ ีควรพัฒนาต่อยอด คือ เป็น หลักสูตรสถานศึกษาพัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยครบถ้วนและสมบูรณ์ สามารถรายงานผลการศึกษาของนักเรียนได้ ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดทกุ ประเดน็ แต่มสี งิ่ ท่ีควรแกไ้ ขและปรบั ปรุงดงั น้ี 1) การกำหนดกรอบแนวคิดยังไม่ชัดเจน ควรจำแนกเป็นระดับการศึกษาและมี ภาพประกอบคำบรรยาย 2) เอกสารหลักสูตรและคู่มือการวัดและประเมินผลควรรวมเป็นเล่มเดียวกัน และให้มี องคป์ ระกอบครบถว้ นเพยี งพอที่จะนำไปใช้ปฏบิ ตั ิได้จริงในช้ันเรียน 3) เป้าหมายของหลักสูตรยังไม่มีกระบวนการหรือเครื่องมือในการวัดและประเมินผลท่ี สะท้อนถึงการบรรลเุ ปา้ หมายของหลักสตู ร 4) จุดเน้นของหลักสูตรยังไม่ชัดเจนและเพียงพอ ควรเพิ่มจุดเน้นและความโดดเด่นของ โรงเรยี นให้เดน่ ชัดกว่าท่ปี รากฏอยูใ่ นหลักสตู ร 5) การนำหลักสูตรสูช่ ้ันเรียน อาจารย์ผู้สอนส่วนหนึ่งอาจยังไม่ทราบถึงเป้าหมายสำคญั ของหลักสูตรทั้งในภาพรวมของโรงเรียน และหลักสูตรเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงควรต้องสร้าง ความเข้าใจร่วมกัน กำหนดให้มีการเลือกวิธหี รือรปู แบบการจัดการเรียนการสอนและการประเมนิ ผล ที่เหมาะสมเพอ่ื ให้นกั เรยี นบรรลเุ ป้าหมายคณุ ภาพผเู้ รยี นตามท่หี ลักสูตรกำหนด 6) การจัดการเรียนการสอนมีลักษณะเป็นแบบแยกส่วน ยังไม่มีการบูรณาการระหว่าง กล่มุ สาระการเรียนรู้อาจส่งผลให้เกดิ ความไม่ต่อเน่ืองและไมเ่ ชื่อมโยงของสาระการเรียนรู้ที่ต้องอาศัย พ้นื ฐานความรู้ซ่งึ กันและกนั ระหว่างรายวิชา เขน่ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสังคมศกึ ษา 7) รายวิชาบูรณาการในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-6) ขาดการบริหารจัดการ รายวิชาเนื่องจากมีอาจารย์ผู้สอนเป็นทีม จำนวน 3 คน จึงควรมีระบบการบริหารจัดการหลักสูตร รายวิชา โดยควรให้มีการปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลให้มีความ ชัดเจนในแนวทางการปฏบิ ัติและมีความต่อเนือ่ งของสาระท่ีใช้ในการจัดกจิ กรรม นอกจากน้ยี งั พบว่ามี การเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอนในแต่ละปีการศึกษา ซึ่งอาจมีผลทำให้การพัฒนารายวิชาเป็นไปด้วยความ ล่าช้า 8) ในหลักสูตรระดับประถมศึกษา ควรจัดให้มีการเรียนการสอนรายวิชาภาษาจีน และ ในระดับมธั ยมศึกษาควรมอี าจารย์พิเศษมาให้ความรู้และประสบการณ์กบั นกั เรียน
138 ดังคำกลา่ วของคณะกรรมการวิชาการท่ีกล่าววา่ “กรอบแนวคิดของหลกั สูตรยังไมม่ ีความชัดเจน” “ในเลม่ หลักสูตรมรี ายละเอยี ดไม่ครบในบางสว่ น เช่น กรอบแนวคิด” “ควรจำแนกเปน็ ระดับการศึกษาปฐมวยั ระดบั ประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา และควรทำเปน็ ภาพประกอบคำบรรยาย” “เอกสารหลักสูตรและคมู่ ือการวัดประเมินผลควรอยู่ในเล่มเดยี วกนั ” “ควรมีองคป์ ระกอบของหลกั สตู ร ทีม่ รี ายละเอียดสอดคล้องกบั หลักสูตรแกนกลางฯ และมีความชัดเจน” “ยงั ไม่มกี ระบวนการหรือเครื่องมือในการวดั และประเมนิ ผลท่ีสะทอ้ นถงึ การบรรลุเปา้ หมายของหลกั สูตร” “ควรมจี ดุ เด่น-จุดด้อยของโรงเรียน ควรเพม่ิ จดุ เนน้ และความโดดเด่นของโรงเรยี นให้เด่นชัด” “อาจารยผ์ สู้ อนสว่ นหนง่ึ อาจยงั ไมท่ ราบถึงเป้าหมายสำคญั ของหลกั สตู ร ควรตอ้ งสรา้ งความเข้าใจร่วมกนั ควรเลอื กรปู แบบการจดั การเรียนการสอนที่เหมาะสม เพ่อื ให้นักเรียนบรรลุเปา้ หมายคุณภาพผเู้ รยี น” “ขาดการเชอ่ื มโยงในเนื้อหาของแตล่ ะวิชาในแตล่ ะกล่มุ สาระฯ เช่น วทิ ย์ – คณิต - สงั คม เนือ้ หาควรมีความสอดคลอ้ งและต่อเน่ืองกนั ” “วชิ าบูรณาการในระดับประถมศึกษาไม่มีความต่อเนื่องในการสอน เน่ืองจากมกี ารปรับเปล่ียน อาจารยผ์ ู้สอนในทุกๆ ปี มีแนวการสอนไมช่ ัดเจนและไมเ่ หมาะสมกับระยะเวลาทีส่ อน” “ความชดั เจนในการประเมนิ ผลการเรยี นของนักเรียนในวิชาบูรณาการ (โครงงาน) ยังไม่มีความ ชัดเจน ขาดกระบวนการและการบรหิ ารจัดการในการเรียนการสอน” “ในการเรียนการสอนของระดับประถมฯ ควรมีการสอนภาษาจีนเชน่ เดิม” “ในระดบั มธั ยมศึกษาควรมีอาจารยท์ มี่ คี วามเชี่ยวชาญเฉพาะทางมาใหค้ วามร้กู บั นักเรียน หรือเชิญอาจารย์ในมหาวทิ ยาลยั มาใหค้ วามร้แู ก่นักเรียน”
139 3.2 สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ที่ควรต้องเร่งแก้ไขปรับปรุงและพฒั นาใน สถานศึกษาเพ่ือมุ่งสคู่ ณุ ภาพผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21 มีดังนี้ คณะกรรมการวิชาการส่วนใหญ่เห็นว่า อาจารย์ผู้สอนบางส่วนยังขาดความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรของโรงเรียน ส่วนใหญ่จัดการเรียนการสอนโดยยึดเนื้อหาเป็นหลัก ใช้ประมวลการ สอน (Corse Syllabus) เพื่อให้นักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้รับทราบรายละเอียด ของรายวิชา และแม้ว่าหลักสูตรจะมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนแล้วแต่ยังไม่มีวิธีการที่จะทำให้ ทราบว่าคุณภาพนักเรียนบรรลุเป้าหมายตามที่หลักสูตรแต่ละระดับการศึกษากำหนดไว้หรือไม่ รวมทั้งบางรายวิชามีความจำเป็นต้องให้มีการเชื่อมโยงความรู้ระหว่างศาสตร์ เพื่อนำความรู้ของ ศาสตร์หนึง่ ไปใช้เปน็ พน้ื ฐานตอ่ ยอดความรขู้ องอีกศาสตรห์ นึง่ ได้อยา่ งเข้าใจ สิ่งที่ควรแก้ไขและปรับปรุงคือ ควรให้อาจารยผ์ ู้สอนทุกทา่ นโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ของ โรงเรียนได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องรับรู้และทำความเข้าใจหลักสูตรของโรงเรียนให้ชัดเจน และสามารถนำหลักสูตรไปใช้ในการออกแบบและจัดการเรียนการสอนให้บรรลุเป้าหมายคุณภาพ ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ ดังนั้นควรต้องมีการกำหนดกระบวนการในการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนให้ ชัดเจน มีระบบพี่เลี้ยงสำหรับอาจารย์ใหม่ของโรงเรียน และมีการนิเทศ ติดตาม และช่วยเหลือเพื่อ การพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนี้ควรให้อาจารย์ผู้สอนมีการวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เพ่ือ จัดลำดับความสำคัญของเนื้อหาสาระในกรณีที่ต้องมีการต่อยอดความรู้ข้ามศาสตร์เพื่อให้นักเรียนมี ความร้พู นื้ ฐานเพียงพอสำหรับการศึกษาในเร่ืองท่ีซับซ้อนมากขน้ึ หรอื ในระดบั ชนั้ เรยี นท่สี งู ขึ้นได้ ดังคำกลา่ วของคณะกรรมการวชิ าการบางท่านท่กี ล่าวว่า “อาจารยบ์ างทา่ นยงั ไมร่ บั รหู้ รอื เข้าใจในกระบวนการ/วิธกี ารเพื่อใหไ้ ปสจู่ ดุ มุ่งหมายของหลกั สตู ร และยังไม่มีวิธีการแสดงให้เห็นวา่ นกั เรียนไปถึงเปา้ หมายของหลักสูตรแล้วหรอื ไม่” “บางรายวชิ ามคี วามจำเปน็ ต้องใหม้ ีการเช่ือมโยงความรู้ระหว่างศาสตร์ แต่ในทางปฏบิ ตั ิยังไม่มีการต่อยอดความรซู้ ึ่งกันและกัน” “ผ้บู รหิ าร อาจารยท์ ุกทา่ นในแต่ละกลมุ่ สาระฯ อาจารยใ์ หม่ และครูผู้สอนทกุ คนควรเข้าใจในหลกั สตู รของโรงเรียน” “แต่ละรายวชิ าควรมคี วามเช่อื มโยงและตอ่ เน่ืองของเนื้อหา เพื่อใช้เปน็ พนื้ ฐาน และตอ่ ยอดในการเรยี นการสอนในระดบั ชน้ั ที่สงู ข้นึ ” “ควรตอ้ งมีการกำหนดกระบวนการในการนำหลกั สตู รสชู่ ัน้ เรยี นให้ชัดเจน มรี ะบบพ่ีเลยี้ งสำหรับ อาจารยใ์ หม่ของโรงเรยี น และมกี ารนเิ ทศ ติดตาม และช่วยเหลอื ”
140 “ควรมีระบบอาจารย์พ่ีเลยี้ งสำหรบั อาจารย์ทเ่ี ข้าใหม่” “ควรมกี ารนิเทศการเรียนการสอนของอาจารยผ์ ้สู อน เปน็ ระยะ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาตอ่ ไป” 3.3 ความต้องการจำเป็นในการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา และช่วงเวลาท่ี เหมาะสมในการประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษา ควรเปน็ ดงั น้ี คณะกรรมการวิชาการส่วนใหญเ่ ห็นว่า โรงเรียนควรมกี ารประเมินหลกั สตู รเพือ่ สะท้อน ผลการใช้หลักสูตร และควรมีการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่องโดยกำหนดให้มีการเก็บรวบรวม ข้อมูลและวิเคราะห์ผลการศึกษาหลักสูตรในแต่ละปีการศึกษา เพื่อนำผลไปปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนา คุณภาพนักเรยี น จากน้ันนำมาประมวลผลตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเม่ือใชห้ ลกั สูตรครบรอบทุกๆ 3 ปี ดงั คำกล่าวของคณะกรรมการวชิ าการท่านหนึ่งกลา่ ววา่ “ควรมีการประเมนิ ฯ เพ่ือสะทอ้ นผลการใชห้ ลกั สตู ร เมื่อหลักสตู รน่ิงควรมกี ารประเมินในทกุ ๆ 3 ปี แตใ่ หม้ กี ารเกบ็ ข้อมูลของหลักสตู รในแตล่ ะปี” 3.4 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คณะกรรมการวิชาการบางส่วนให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมคือ ควรมุ่งเน้น การพฒั นาพฤตกิ รรมของนกั เรยี นทั้งดา้ นการเรียนควบคู่กับการพฒั นาคุณธรรม-จริยธรรม ดังคำกล่าวของคณะกรรมการวชิ าการท่ีกล่าววา่ “ควรมงุ่ เน้นพัฒนาปรับปรุงพฤตกิ รรมของนักเรียน” “ควรพฒั นาการเรยี นไปพร้อมๆกบั การพัฒนาคุณธรรม-จริยธรรมของนักเรียน” ผลสรปุ ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐาน สภาพปญั หาของหลักสูตรสถานศึกษาใน ปจั จบุ นั และความตอ้ งการประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษา มขี อ้ คน้ พบคือ ขอ้ มูลพ้นื ฐาน ประกอบด้วย 1) ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนและอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรปกติและหลักสูตร English Program ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น และผูป้ กครอง พบวา่ นกั เรยี นหลกั สูตรปกติ จำนวน 442 คน สว่ นใหญ่เรียนอยู่ที่ โรงเรียนสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน 4-6 ปี นักเรียนหลักสูตร English Program จำนวน 27 คน ส่วนใหญ่เรียนอยู่ที่โรงเรียนสาธิตเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน 1-3 ปี นักเรียนทั้ง 2 หลักสูตร มี ความประทับใจในกจิ กรรมวันเด็กของโรงเรียนมากทส่ี ุด อาจารยผ์ ูส้ อนหลกั สูตรปกติ จำนวน 89 คน ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาสูงสุดคือ ระดับปริญญาโท และมีประสบการณ์การสอนในโรงเรียนสาธิต เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน มากกว่า 15 ปี อาจารย์ผู้สอนหลักสูตร English Program จำนวน 22
141 คน ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาสูงสุดคือ ระดับปริญญาโท และมีประสบการณก์ ารสอนในโรงเรียนสาธิต เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน มากกว่า 15 ปีเช่นกัน ผู้บริหารโรงเรียนที่ทำหน้าที่บริหารทั้งหลักสูตร ปกติและหลกั สูตร English Program จำนวน 19 คน ส่วนใหญ่มวี ิทยฐานะเปน็ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ มี ประสบการณ์การบริหาร มากกว่า 10 ปี และมีวุฒิการศึกษาสูงสุดคือ ระดับปริญญาโท ผู้ปกครอง ของนักเรียนหลกั สูตรปกติ จำนวน 15 คน มีสถานภาพเป็นบิดา-มารดาของนักเรียน และส่วนใหญ่มี วุฒิการศึกษาสูงสุดคือ ระดับปริญญาตรี ผู้ปกครองของนักเรียนหลักสูตร English Program จำนวน 5 คน มีสถานภาพเป็นบิดา-มารดาของนกั เรียน และส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาสูงสุดคือ ระดับ ปริญญาตรี เช่นเดียวกับหลักสูตรปกติ 2) ข้อมูลผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่ม สาระการเรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ การอ่าน การคิดวเิ คราะห์ และการเขยี น ของนักเรียน ที่เรียนในปกี ารศึกษา 2560-2562 พบวา่ ในปกี ารศึกษา 2562 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 8 กลุม่ สาระ การเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีระดับคุณภาพสูงสุดของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 9 วิชาอยู่ในระดับดีเลิศ รองลงมาอยู่ในระดับดีคือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และระดับปานกลางคือ ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีวิชาที่อยู่ในระดับกำลังพัฒนา ได้แก่ วิชา ภาษาอังกฤษตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 วิชาคณิตศาสตร์ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 วิชา วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 วิชาสังคมศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาประวัติศาสตร์ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 และ6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1-3มีระดับคุณภาพสูงสุดของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกรายวิชาอยู่ในระดับปาน กลางคือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2-3 และมีคุณภาพต่ำสุดอยู่ในระดับกำลังพัฒนาคือชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 มีวชิ าท่ีอยู่ในระดับกำลังพฒั นา ได้แก่ วชิ าภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-2 วิชาคณิตศาสตร์และวิชา วิทยาศาสตร์ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 วิชาสงั คมศึกษาและวิชาประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ วชิ าภาษาองั กฤษช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-2 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ของนักเรียน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 มรี ะดบั คุณภาพของผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นทุกระดับชัน้ และทุกรายวิชาอยู่ใน ระดับปานกลาง มีวชิ าทอี่ ยูใ่ นระดบั กำลังพฒั นา ไดแ้ ก่ กลุ่มวชิ าคณติ ศาสตร์และกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และกลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ฝรั่งเศส-จีน-ญี่ปุ่นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 และกลุ่มวิชา ภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-NET) ปีการศึกษา 2562 พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) จำนวน 4 วิชา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำแนกตามสังกัด พบว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรวม 4 วิชา มากกว่าคะแนนเฉลี่ยของ 3 สังกัด คือ จังหวัด ภาค และประเทศ แต่น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สังกัดอว. และวิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าทุกสังกัด นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) จำนวน 4 วิชา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำแนกตามสังกัด พบว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรวม 4 วิชา มากกว่าคะแนนเฉลี่ยของ 3 สังกัด คือ จังหวัด ภาค และประเทศ แต่น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สังกัดอว. และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O- NET) จำนวน 5 วิชา ได้แก่ ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์
142 และวิทยาศาสตร์ จำแนกตามสังกัด พบว่านักเรียนมีคะแนนเฉล่ียรวม 5 วิชา มากกว่าคะแนนเฉล่ีย ของ 3 สังกัด คือ จังหวัด ภาค และประเทศ แต่น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ยของสังกัดอว. วิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าทุกสังกัด ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียน พบว่า จำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับ คุณภาพยอดเยี่ยมมากกว่าดีเลิศทั้งในภาพรวมและทุกระดับชั้น ผลการประเมินความสามารถในการ อ่านเขียนและการสื่อสาร และการคิดคำนวณ จำแนกเป็นผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน (Reading Test: RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความสามารถด้านการอ่านจำแนกตาม สังกัด โดยมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของการอ่านในภาพรวม น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละของ 3 สังกัด คือ จังหวัด ศึกษาธิการภาค และอว. แต่สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละของประเทศ โดยมีความสามารถ ด้านการอ่าน (Reading Test: RT) อยู่ในระดับคุณภาพดี ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน เขียนและการสื่อสาร พบว่าจำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ในภาพรวมและระดับชั้นส่วน ใหญ่มีความสามารถในการอ่านเขียนและการสื่อสารอยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยมมากกว่า ดีเลิศ ยกเวน้ นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 และช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทจี่ ำนวนนกั เรียนมีความสามารถใน การอ่านเขียนและการสื่อสารอยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยมน้อยกว่าดีเลิศ สำหรับจำนวนนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1-6 มีความสามารถในการอ่านเขียนและการสื่อสารอยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม มากกว่าดีเลิศทั้งในภาพรวมและทุกระดับชั้น ผลการประเมินความสามารถในการคิดคำนวณ พบว่า จำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในภาพรวมมีความสามารถในการคิด คำนวณอยู่ในระดับดีข้ึนไป 3) ข้อมูลผลการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ปีการศึกษา 2562 พบว่า ได้รับการประเมิน คณุ ภาพอย่ใู นระดับยอดเย่ียมจากคณะกรรมการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน (โรงเรยี นสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา, 2563: 125-126) และมีจุดเด่นในด้านหลักสูตรสถานศกึ ษามีความหลากหลายสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ในหลายมิติ โดย มีสิ่งที่ควรพัฒนาเกี่ยวกับหลักสูตรคือ ควรมีการวิเคราะห์จำนวนกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียนและผู้เรียน และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน เพื่อสนับสนุนนโยบาย ของสถานศึกษา และมีข้อเสนอแนะจากผู้ทรงวุฒิ คือ 1) ควรมีการบูรณาการกิจกรรมเสริมหลักสูตร ของแต่ละกลุ่มสาระฯ 2) ควรนำรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับลงสู่การปฏิบัติและ การติดตามประเมินผลอย่างชัดเจน เพื่อเป็นต้นแบบให้กับสถานศึกษาอื่นๆ และ3) ควรจัดกิจกรรม เสริมหลักสูตรโดยนำศักยภาพของมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานภายนอกมาพัฒนาการเรียนรู้ของ ผูเ้ รียนมากข้ึนและ4) ขอ้ มูลผลการพฒั นากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ ปีการศึกษา 2562 พบว่า กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในด้านจัดการ เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ด้านการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ด้านตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน และด้านมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการการเรียนรู้ พบว่ามีผล การประเมนิ คุณภาพอยู่ในระดับ 5 ยอดเย่ียมทุกดา้ น โดยครูมคี วามมุง่ ม่นั ในการจัดการเรียนการสอน
143 เพอื่ ให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาตนเองเตม็ ศักยภาพ การจัดการเรยี นการสอนของครูเนน้ การพัฒนาผู้เรยี นอย่าง เท่าเทยี มกันโดยรวมมากกว่าการพฒั นาผเู้ รียนบนความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลทช่ี ัดเจน นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความ ต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา จากผลการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และสังกัด กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รวมจำนวน 5 โรงเรียน พบว่า หลักสูตรสถานศกึ ษาท่พี ฒั นาข้นึ ตามกรอบหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) มสี ง่ิ ท่ีดีควรพฒั นาต่อยอด คือ มีแนวทางใหค้ รูได้นำไปกำหนดเน้ือหาสาระ ท่ใี ช้ในการจดั การเรียนการสอน และมีส่ิงทค่ี วรแก้ไข/ปรับปรุง คอื ตัวชีว้ ัดบางขอ้ วดั ไดย้ าก ควรปรับ ข้อความเน้นเป็นพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกได้ชดั เจน กรณีสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษา ท่คี วรต้องเร่งแก้ไขปรบั ปรุงและพัฒนาเพื่อมุ่งสคู่ ุณภาพผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21น้ัน ปัญหาอยู่ที่การนำ หลักสูตรไปใช้ โดยครูไม่สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ไปถึงเป้าหมายของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ไดค้ รบถว้ น ซึ่งเกิดจากความไม่พร้อมในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ไม่เขา้ ใจหลักสตู ร และจัดการเรียนการสอน และประเมินผลไม่ตรงตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด สถานศึกษามีความต้องการจำเป็นมากที่จะต้องมีการ ประเมินหลักสูตรเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา โดยอาจประเมินทุกปีการศึกษา หรืออาจประเมินเม่ือ ครบรอบการใช้หลักสูตรอย่างน้อย 3 ปีตามความเหมาะสม ความสำคัญของการนำหลักสูตร สถานศึกษาไปใช้อยู่ที่การทำความเข้าใจหลักสูตรและกระบวนการพัฒนานักเรียนตามเป้าหมายให้ ชดั เจนร่วมกนั ผลการสมั ภาษณ์กลุ่มผู้จัดการและอาจารย์ผู้สอนชาวตา่ งชาตสิ ำหรบั หลักสูตร English Program (EP) พบว่า หลักสูตรสถานศึกษามีสิ่งที่ดีควรพัฒนาต่อยอดและมีสิ่งที่ควรแก้ไข/ปรับปรุง คือ This Curriculum aim to benefit the learners to the fullest and to be a well rounded individual in the future but some aspects are just too much for the students and teachers to accommodate. The students study a little of so many things that we forgot. The most important thing “mastery”. We try to know more but master only a few. This I guess we have to look upon and do something. สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาท่ี ควรต้องเร่งแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาในสถานศึกษาเพื่อมุ่งสู่คณุ ภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 คือ The Basic Core Curriculum of the MOE and the KUSK curriculum aims to develop learners potentials and abilities but there are some areas in the Basic Core Curriculum that need to be considered, some of the learning indicators that should be specifically designed for a certain level are missing so sometimes it leads to the problem about making a syllabus. สถานศึกษามีความต้องการจำเป็นในการประเมินหลักสูตร กล่าวคือ Evaluation of Curriculum is necessary but changing it needs to be assessed evaluate the curriculum to see if it worked or not. If it works reuse and improve to cope with recent educational trend. But if not immediate change is recommended for the betterment of the curriculum and the institution. และผลการจดั สนทนากล่มุ (Focus Group Discussion : FGD) คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ จำนวน 12 คน ของโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา พบว่า
144 คณะกรรมการวิชาการส่วนใหญ่เห็นสอดคล้องกันว่ามีสิ่งที่ดีควรพัฒนาต่อยอด คือ เป็นหลักสูตร สถานศึกษาพัฒนาขึ้นตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยครบถ้วนและสมบูรณ์ สามารถรายงานผลการศึกษาของนักเรียนได้ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกำหนดทุกประเด็น แต่มีสิ่งที่ควรแก้ไขและปรับปรุงเกี่ยวกับ การกำหนดกรอบ แนวคิดยังไม่ชัดเจน เอกสารหลักสูตรและคู่มือการวัดและประเมินผลควรรวมเป็นเล่มเดียวกัน เป้าหมายของหลักสูตรยังไม่มีกระบวนการหรือเครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่สะท้อนถึงการ บรรลเุ ป้าหมายของหลักสูตร จดุ เน้นของหลักสูตรยังไม่ชัดเจนและเพียงพอ การนำหลกั สูตรสู่ชั้นเรียน ควรต้องสร้างความเข้าใจร่วมกัน การจัดการเรียนการสอนไม่มีการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการ เรียนรู้อาจส่งผลให้เกิดความไม่ต่อเนื่องและไม่เชื่อมโยง ขาดการบริหารจัดการรายวิชาบูรณาการใน ระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-6) ในหลักสูตรระดับประถมศึกษา ควรจัดให้มีการเรียนการสอน รายวิชาภาษาจีน และในระดับมัธยมศึกษาควรมีอาจารย์พิเศษมาให้ความรู้และประสบการณ์กับ นักเรียน สภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาที่ควรต้องเร่งแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาเพื่อมุ่งสู่ คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรของโรงเรียน การเรียนการสอนยดึ เนื้อหาเป็นหลัก ไม่มีวิธีการที่จะทำให้ทราบว่าคุณภาพนักเรียนบรรลุเป้าหมายตามที่หลักสูตรแต่ละ ระดับการศึกษากำหนดไว้หรือไม่ สิ่งที่ควรแก้ไขและปรับปรุงคือ ควรให้อาจารย์ผู้สอนทุกท่าน โดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ของโรงเรียนได้ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องรับรู้และทำความเข้าใจ หลักสูตรของโรงเรียนให้ชัดเจน และสามารถนำหลักสูตรไปใช้ในการออกแบบและจัดการเรียนการ สอนให้บรรลเุ ป้าหมายคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ได้ ดังนนั้ ควรตอ้ งมีการกำหนดกระบวนการใน การนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนให้ชัดเจน มีระบบพี่เลี้ยงสำหรับอาจารย์ใหม่ของโรงเรียน และมีการนิเทศ ติดตาม และช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ โรงเรียนควรมีการประเมินหลักสูตรเพื่อสะท้อนผลการ ใช้หลักสูตร และควรมีการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่องโดยกำหนดให้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลและ วิเคราะห์ผลการศึกษาหลักสูตรในแต่ละปีการศึกษา เพื่อนำผลไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาคุณภาพ นักเรียน จากนั้นนำมาประมวลผลตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเมื่อใช้หลักสูตรครบรอบทุกๆ 3 ปี และควรมุ่งเน้นการพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนทั้งด้านการเรียนควบคู่กับการพัฒนาคุณธรรม - จรยิ ธรรม ตอนที่ 2 ผลการประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ในภาพรวมและเป็นรายดา้ น 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเขา้ ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ โดยจำแนกเป็นหลักสูตรปกติ และหลักสูตร English Program จากการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนและอาจารย์ที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มีรายละเอยี ดดงั นี้
145 2.1 ความคิดเหน็ ของนักเรียน ในการวิจยั คร้ังน้ี ผู้วิจยั ศึกษาความคิดเหน็ ของนักเรียนท่ีมีต่อหลักสตู รโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มีผลการประเมินใน ภาพรวมและรายด้าน 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และ ด้านผลกระทบ โดยจำแนกเปน็ หลกั สูตรปกติ และหลักสูตร English Program ดังตารางท่ี 11-12 ตารางที่ 11 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลกั สตู รปกติ ประเดน็ การประเมินหลกั สูตร ระดับความคิดเห็น 1. ประเมินบริบท (C: Context Evaluation) X S.D. ความหมาย ลำดับที่ ❖ หลกั สูตร 1.1 โรงเรยี นพัฒนาคณุ ภาพนักเรยี นไมต่ ำ่ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน 3.31 0.82 ปานกลาง 3 การศกึ ษาของชาติ พ.ศ.2561 (เป็นผู้เรยี นรู้ เป็นผูร้ ว่ ม สร้างสรรคน์ วตั กรรม และเป็นพลเมอื งท่เี ขม้ แขง็ ) 1.2 โรงเรียนสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นสามารถแสวงหาและสร้างความรู้ 3.29 0.90 ปานกลาง 5 ด้วยตนเองได้ 1.3 โรงเรียนส่งเสรมิ ให้นักเรียนมีความพร้อมในการศกึ ษาต่อตาม 3.10 1.07 ปานกลาง 9 ความถนดั ความสนใจ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ นักเรยี น 1.4 โรงเรียนไดพ้ ัฒนาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้เู รยี น เปน็ 3.29 0.96 ปานกลาง 6 การชว่ ยสะท้อนความมุ่งม่นั ศกึ ษา กลา้ แสดงออกของนกั เรยี น 1.5 โรงเรยี นไดพ้ ฒั นาใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิด 3.36 0.97 ปานกลาง 1 วิเคราะห์ และเขยี น ชว่ ยให้นกั เรียนมที กั ษะพ้ืนฐานทีจ่ ำเป็นใน การศึกษารายวิชาตามความถนัดและความสนใจ 1.6 การจัดการศึกษาของโรงเรยี นมคี วามตอ่ เนื่องเชอื่ มโยงกันตั้งแต่ 3.33 1.03 ปานกลาง 2 ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา 1.7 รายวิชาตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุม่ และกจิ กรรมพัฒนา 3.30 0.94 ปานกลาง 4 ผ้เู รยี น ทำใหน้ ักเรยี นมที ักษะการคิด และสามารถแกป้ ญั หาใน ชวี ิตประจำวนั ได้ 1.8 รายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ และกจิ กรรมพฒั นา 3.23 0.98 ปานกลาง 7 ผเู้ รยี น ทำให้นกั เรยี นมีบุคลิกภาพท่ดี ีในดา้ นการเรียนรู้อย่างมี ความสขุ การเป็นทย่ี อมรบั ของผูอ้ นื่ การช่วยเหลอื โอบออ้ ม อารี สอื่ สาร และใฝเ่ รยี นรสู้ ่งิ ใหมๆ่ 1.9 จำนวนเวลาเรียน 6-8 คาบตอ่ วนั มคี วามเหมาะสม 3.12 1.27 ปานกลาง 8 1.10 เน้ือหาสาระที่เรียนแตล่ ะรายวชิ าในภาพรวมมคี วามเหมาะสม 3.07 0.96 ปานกลาง 10 นกั เรียนสามารถนำไปใช้ไดจ้ ริงในชวี ติ ประจำวนั
146 ประเดน็ การประเมนิ หลกั สูตร X ระดบั ความคิดเหน็ S.D. ความหมาย ลำดับท่ี สรุปดา้ นหลักสตู ร 3.24 0.63 ปานกลาง ❖ รายวิชา (พน้ื ฐานและเพิม่ เตมิ ) และกจิ กรรมพัฒนา 3.41 0.86 ปานกลาง 2 ผู้เรยี น 3.32 0.92 ปานกลาง 4 1.11 รายวชิ าและกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมี ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใช้ 3.38 0.93 ปานกลาง 3 ทักษะชวี ิต และการใช้เทคโนโลยี 1.12 รายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นมี 3.20 1.10 ปานกลาง 7 สมรรถนะในการเปน็ ผูเ้ รยี นรู้ ได้แก่ มคี วามเพียร ใฝเ่ รยี นรู้ และมีทกั ษะการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ก้าวทนั โลกยคุ ดจิ ิทลั และโลก 3.46 0.96 ปานกลาง 1 ในอนาคต มีสนุ ทรียะ มีทกั ษะชีวติ มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี ตอ่ 3.32 0.95 ปานกลาง 5 ตนเอง ครอบครวั และสงั คม 1.13 รายวิชาและกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมี 3.23 1.00 ปานกลาง 6 สมรรถนะในการเป็นผูร้ ว่ มสร้างสรรค์นวตั กรรม ได้แก่ มี ทักษะทางปัญญา สามารถใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลอยา่ งเหมาะสม 3.12 1.11 ปานกลาง 8 มที กั ษะการคิดสรา้ งสรรค์ สามารถปรบั ตัวเขา้ กับผู้อื่นไดด้ ี และ 3.30 0.71 ปานกลาง มกี ารสรา้ งสรรค์งานใหม่ 3.27 0.63 ปานกลาง 1.14 รายวชิ าและกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นมี สมรรถนะในการเป็นพลเมอื งทีเ่ ขม้ แข็ง ไดแ้ ก่ มีความรกั ชาติ รักทอ้ งถิน่ มีจติ อาสา มอี ดุ มการณ์ มคี วามยตุ ิธรรม และใช้ ทรัพยากรอยา่ งรู้คณุ คา่ 1.15 รายวิชาและกิจกรรมการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ชว่ ย สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมีความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านการ อา่ น เขียน คิด คำนวณ 1.16 รายวชิ าและกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน ชว่ ย สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นมีคณุ ลกั ษณะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ได้แก่ ความสามารถในการคดิ ไตรต่ รอง คิดแกป้ ญั หา มที กั ษะการ ทำงานรว่ มกัน มที ักษะการส่อื สาร มคี วามรอบรู้ทางขอ้ มลู สารสนเทศและทางดจิ ิทลั มคี วามคิดสร้างสรรค์ สามารถ สร้างสรรคผ์ ลงานใหมไ่ ด้ 1.17 รายวชิ าและกจิ กรรมการเรยี นการสอนในโรงเรียน ช่วย สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนมบี ุคลิกภาพทดี่ ใี นด้านการเรยี นรูอ้ ยา่ งมี ความสุข การเปน็ ท่ยี อมรับของผอู้ นื่ การช่วยเหลือ โอบอ้อม อารี ส่ือสาร และใฝ่เรยี นรสู้ ่ิงใหมๆ่ 1.18 รายวิชาและกจิ กรรมการเรียนการสอนในโรงเรยี น ช่วย ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนมที ักษะชีวติ และเขา้ ใจอาชพี สรุปดา้ นรายวิชา(พืน้ ฐานและเพม่ิ เติม) และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น สรปุ ผลการประเมินบริบท (C: Context Evaluation) 2. ประเมินปจั จยั นำเข้า (I: Input Evaluation)
147 ประเดน็ การประเมินหลักสตู ร X ระดับความคิดเห็น S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี ❖ บุคคล 3.49 2.1 ความร้คู วามสามารถ ความเชยี่ วชาญ และประสบการณ์ของ 3.64 0.98 ปานกลาง 4 3.05 อาจารยผ์ สู้ อน มีความเหมาะสม 3.56 1.00 มาก 2 2.2 อาจารยผ์ ู้สอนไดส้ อนในรายวิชาที่ตรงกบั ความเช่ียวชาญ 3.49 1.13 ปานกลาง 6 2.3 เจา้ หน้าที่ มีความพรอ้ มในการใหบ้ รกิ าร สนับสนนุ และอำนวย 3.75 2.63 มาก 3 ความสะดวกเพอ่ื การบรรลุเปา้ หมายของงาน 3.50 2.4 ผ้เู รยี นมพี ืน้ ฐานความรคู้ วามสามารถตรงตามระดบั ชั้นที่เรียน 0.98 ปานกลาง 4 3.12 และสามารถศกึ ษาต่อในระดบั ทสี่ งู ขึ้น 3.49 1.03 มาก 1 2.5 ผปู้ กครองมคี วามเขา้ ใจ และสนับสนุนกจิ กรรมการเรียนการ 3.26 3.41 0.83 มาก สอนของโรงเรียน 3.55 2.6 ผูป้ กครองส่งเสรมิ นักเรยี นได้พฒั นาศักยภาพเพ่ิมเตมิ จากในช้นั 3.33 1.10 ปานกลาง 7 3.36 1.13 ปานกลาง 2 เรียน โดยยนิ ดใี หน้ ักเรียนเข้ารว่ มกิจกรรมของทางโรงเรยี นทกุ 2.92 1.13 ปานกลาง 6 กจิ กรรม 3.30 1.06 ปานกลาง 3 3.39 สรุปดา้ นบคุ คล 3.31 1.12 มาก 1 ❖ เอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนนุ ที่เอื้อต่อการ 2.89 เรยี นรู้ 3.18 1.16 ปานกลาง 5 2.7 ห้องเรยี นมสี ภาพที่เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ 2.8 มีหนงั สือ/ตำรา/เอกสารเพยี งพอสำหรบั ใชป้ ระกอบการเรยี น 0.98 ปานกลาง 4 2.9 มีส่ือ วัสดุ อปุ กรณป์ ระกอบการเรยี นเพียงพอ 2.10 มวี ัสดุอุปกรณก์ ารเรยี น ส่อื และเทคโนโลยใี นช้นั เรียนเพื่อชว่ ย 1.23 ปานกลาง 8 ใหน้ ักเรียนเรยี นรไู้ ดด้ ขี นึ้ 0.79 ปานกลาง 2.11 มหี อ้ งสมดุ ให้บรกิ ารหนังสืออย่างเพียงพอกับความตอ้ งการ 0.72 ปานกลาง ของนักเรยี น 2.12 มีห้องบริการสืบคน้ ข้อมลู ดว้ ยระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ี่ 0.92 ปานกลาง 6 1.06 ปานกลาง 16 เหมาะสมและทนั สมัย 2.13 มกี ารจดั สภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นทีเ่ หมาะสมและเออ้ื ต่อการ 0.99 ปานกลาง 10 เรียนรู้ 2.14 มีกจิ กรรมกบั เพื่อนตา่ งโรงเรยี นหรือบคุ คลภายนอกเพื่อ แลกเปลยี่ นประสบการณก์ ารเรียนรซู้ ึ่งกันและกนั สรปุ ด้านเอกสาร สอื่ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนนุ ที่เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ สรุปผลการประเมินปจั จยั นำเขา้ (I: Input Evaluation) 3. ประเมนิ กระบวนการ (P: Process Evaluation) 3.1 มกี ารจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยวิธีการท่หี ลากหลาย 3.2 มกี ารจัดการเรียนรโู้ ดยคำนงึ ถงึ ความสามารถของผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล 3.3 มกี จิ กรรมการเรียนรู้ทีเ่ น้นให้นักเรยี นได้คดิ วเิ คราะห์ และลง มอื ปฏิบัตจิ รงิ
148 ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตร ระดับความคดิ เหน็ X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 3.4 จัดการเรยี นร้โู ดยกระตุน้ ใหผ้ ู้เรยี นกระตอื รอื รน้ ในการแสวงหา 3.20 0.99 ปานกลาง 9 ความรู้ด้วยตนเอง 3.5 จัดการเรียนรโู้ ดยสอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3.16 1.05 ปานกลาง 13 3.6 เปิดโอกาสให้นักเรยี นมีสว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 3.42 0.97 ปานกลาง 1 3.7 มกี ารบอกวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลแต่ละคร้ังใหผ้ ูเ้ รยี นทราบ 3.40 1.07 ปานกลาง 3 ล่วงหน้า 3.8 มกี ารวัดและประเมินผลอยา่ งต่อเน่ืองควบคู่ไปกับการเรียนการ 3.34 1.00 ปานกลาง 4 สอน 3.9 วัดผลและประเมินครอบคลมุ การเรยี นรทู้ งั้ ด้านความรู้ เจตคติ 3.23 0.93 ปานกลาง 8 และการปฏบิ ตั ิ 3.10 ใชว้ ธิ ีการและเครอ่ื งมือในการวดั และประเมนิ ผลที่หลากหลาย 3.14 0.99 ปานกลาง 14 3.11 เปิดโอกาสให้นักเรยี นมสี ่วนร่วมในการวัดและประเมนิ ผล 3.32 1.07 ปานกลาง 5 3.12 มีการนำผลการประเมินมาสะทอ้ นผลให้นกั เรียนได้พัฒนา 3.24 1.03 ปานกลาง 7 ตนเองเต็มศักยภาพ 3.13 มีอาจารย์ท่ปี รกึ ษาดูแล ใหค้ ำแนะนำ และช่วยเหลือนักเรยี น 3.42 1.09 ปานกลาง 2 อย่างใกลช้ ดิ 3.14 มกี ารจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนท่เี ปน็ ระบบ ชดั เจน และ 3.18 0.99 ปานกลาง 10 ปฏบิ ัติไดจ้ ริง 3.15 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นมีความหลากหลาย 3.18 1.08 ปานกลาง 12 3.16 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ชว่ ยสะทอ้ นความสามารถและความ 3.14 1.13 ปานกลาง 15 ถนัดของนักเรียนได้ดี สรปุ ผลการประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) 3.23 0.67 ปานกลาง 4. ประเมินผลผลิต (P: Product Evaluation) 4.1 นักเรียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ของ 3.39 1.01 ปานกลาง 4 หลกั สตู ร 4.2 นักเรยี นมสี มรรถนะสำคญั บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์หลักสตู ร 3.45 0.97 ปานกลาง 1 (ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้ ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลย)ี 4.3 นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ 3.44 1.04 ปานกลาง 3 หลกั สตู ร (รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอื่ สัตยส์ จุ รติ มวี นิ ัย ใฝ่ เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มุ่งม่ันในการทำงาน รักความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ มสี นุ ทรียภาพ และมสี ุขนสิ ัย สุขภาพกาย และ สขุ ภาพจิตทดี่ ี) 4.4 นักเรียนมบี ุคลิกภาพที่ดตี ามเป้าหมายของหลักสตู ร ในด้าน 3.38 0.97 ปานกลาง 5 การเรยี นร้อู ย่างมีความสุข การเปน็ ทยี่ อมรับของผู้อ่ืน การ ช่วยเหลือ โอบอ้อมอารี สอื่ สาร และใฝเ่ รยี นร้สู ง่ิ ใหมๆ่ 4.5 นักเรียนมีความรูค้ วามสามารถในการอ่าน การเขียน และคดิ 3.36 0.97 ปานกลาง 7 คำนวณ (3R) ตามเปา้ หมายของหลกั สูตร
149 ประเดน็ การประเมินหลักสตู ร ระดบั ความคิดเหน็ X S.D. ความหมาย ลำดับที่ 4.6 นกั เรียนมคี วามสามารถทางปัญญา 8 ดา้ น ตามเป้าหมายของ 3.31 1.06 ปานกลาง 8 หลักสตู ร (ความสามารถดา้ นภาษา คณิตศาสตร์ มติ สิ มั พนั ธ์ การควบคมุ ความคิดความรสู้ ึก ดนตรี มนุษยส์ ัมพนั ธ์ เข้าใจ ตนเอง และเขา้ ใจธรรมชาต)ิ 4.7 นกั เรียนมีความสามารถตามคณุ ลกั ษณะของผู้เรยี นในศตวรรษ 3.24 0.93 ปานกลาง 9 ที่ 21 (7C) ตามเป้าหมายของหลกั สูตร 4.8 นกั เรยี นมีความมุง่ ม่ันในการเรยี น การทำงาน และกลา้ 3.44 1.03 ปานกลาง 2 แสดงออกในทางทถี่ กู ต้องเหมาะสม 4.9 นักเรียนมีกระบวนการทำงานอยา่ งเป็นระบบ 3.24 1.00 ปานกลาง 10 4.10 นกั เรยี นมีความสามารถในการสรา้ งสรรคช์ ้ินงาน 3.37 1.08 ปานกลาง 6 สรุปผลการประเมนิ ผลผลิต (P: Product Evaluation) 3.36 0.74 ปานกลาง 5. ประเมินผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 5.1 นักเรยี นมีความรสู้ กึ รักและภาคภมู ใิ จต่อสถาบัน 3.44 1.07 ปานกลาง 6 5.2 นกั เรียนมคี วามรคู้ วามสามารถเปน็ ทยี่ อมรับของชุมชน สังคม 3.52 0.96 มาก 2 ทง้ั ภายในและภายนอกสถาบนั 5.3 นกั เรียนท่จี บการศกึ ษาจากโรงเรียนเปน็ ทยี่ อมรบั ของ 3.48 1.01 ปานกลาง 5 สถาบนั การศกึ ษาทัง้ ในและตา่ งประเทศ 5.4 นกั เรียนท่ีจบการศึกษาจากโรงเรยี น ประสบผลสำเรจ็ ใน 3.70 0.88 มาก 1 การศกึ ษาต่อในระดับที่สูงขนึ้ 5.5 นกั เรยี นทจ่ี บการศึกษาจากโรงเรียนไดร้ ับการยอมรบั วา่ “เป็น 3.48 0.99 ปานกลาง 4 คนดใี นสังคม” 5.6 โรงเรียนมชี อื่ เสียงและเป็นผนู้ ำในด้านการจดั การศกึ ษาและ 3.51 1.07 มาก 3 พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ทั้งในระดับปฐมวยั ประถมศกึ ษา และ มัธยมศกึ ษา สรุปผลการประเมนิ ผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 3.52 0.73 มาก สรุปผลการประเมินหลกั สตู รของโรงเรียนในภาพรวม 3.33 0.61 ปานกลาง จากตารางที่ 11 ผลการประเมินหลักสูตรของโรงเรียนในภาพรวมตามความคิดเห็นของ นักเรยี นทม่ี ีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) หลกั สูตรปกติ พบวา่ นักเรียนมีความคดิ เหน็ ต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง ( X =3.33, S.D.=0.61) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้าน กระบวนการ ด้านผลผลิต และดา้ นผลกระทบ พบว่า นกั เรียนมีความคิดเห็นตอ่ หลกั สูตรโดยมีคา่ เฉลี่ย ของระดับความคิดเห็นมากที่สุดอยู่ในระดับมากเพียงด้านเดียวคือ ด้านผลกระทบ ( X =3.52, S.D.=0.73) รองลงมาอีก 4 ด้าน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความ คิดเห็นจากมากไปน้อย คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านผลผลิต ด้านบริบท และด้านกระบวนการ ( X = 3.39, S.D.=0.72, X =3.36, S.D.=0.74, X =3.27, S.D.=0.63 และ X =3.23, S.D.=0.67 ตามลำดับ) และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเดน็ ของแตล่ ะดา้ น มขี ้อค้นพบผลการประเมนิ หลักสตู ร 5 ดา้ นดังนี้
150 1. ด้านบริบท มี 2 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร และองค์ประกอบด้าน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อทั้ง 2 องค์ประกอบอยู่ในระดับ ปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ องค์ประกอบด้านรายวิชาและกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร ( X =3.30, S.D.=0.71 และ X =3.24, S.D.=0.63 ตามลำดับ) เมือ่ พิจารณาเป็นรายประเดน็ ย่อยของแตล่ ะองคป์ ระกอบ พบว่า องค์ประกอบ ดา้ นหลกั สูตรมีประเดน็ ย่อย 10 ประเดน็ ทุกประเดน็ มีความคิดเห็นอย่ใู นระดบั ปานกลาง โดยประเด็น ที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ 1.5) โรงเรียนได้พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถใน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ช่วยให้นักเรียนมีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นในการศึกษารายวิชาตาม ความถนัดและความสนใจ รองลงมาคือ 1.6) การจัดการศึกษาของโรงเรียนมีความต่อเนื่องเชื่อมโยง กันตั้งแต่ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และน้อยที่สุดคือ 1.10) เนื้อหาสาระที่เรียนแต่ละ รายวิชาในภาพรวมมีความเหมาะสม นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน ( X =3.36, S.D.=0.97, X =3.33, S.D.=1.03 และ X =3.07, S.D.=0.96 ตามลำดับ) ส่วนองค์ประกอบด้าน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีประเด็นย่อย 8 ประเด็น พบว่า ทุกประเด็นมีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับปานกลาง โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ 1.15) รายวิชาและ กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถ และทักษะด้าน การอ่าน เขยี น คิด คำนวณ รองลงมาคือ 1.11) รายวิชาและกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนสง่ เสริมให้นักเรียน มคี วามสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแก้ปัญหา การใชท้ ักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี และน้อย ที่สุดคือ 1.18) รายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนช่วยส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมที ักษะชีวิต และเข้าใจอาชพี ( X =3.46, S.D.=0.96, X =3.41, S.D.=0.86 และ X =3.12, S.D.=1.11 ตามลำดับ) 2. ด้านปัจจัยนำเข้า มี 2 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบด้านบุคคล และองค์ประกอบด้าน เอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ พบว่า องค์ประกอบด้านบุคคล นักเรียน มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก ( X =3.50, S.D.=0.83) ส่วนองค์ประกอบดา้ นเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.30, S.D.=0.79) และพบว่า องค์ประกอบด้านบุคคล มีประเด็นย่อย 6 ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ย ของระดับความคิดเห็นมากที่สุดและรองลงมา ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 2.6) ผู้ปกครองส่งเสริมนักเรียนได้พัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมจากในชั้นเรียนโดยยินดีให้นักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมของทางโรงเรียนทุกกิจกรรม และ2.2) อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาที่ตรงกับความ เชยี่ วชาญ ( X =3.75, S.D.=1.03 และ X =3.64, S.D.=1.00 ตามลำดับ) ส่วนประเดน็ ท่มี คี ่าเฉล่ียของ ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ เจ้าหน้าที่ มีความ พร้อมในการให้บรกิ าร สนับสนุน และอำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลเุ ปา้ หมายของงาน ( X =3.05, S.D.=1.13) สำหรับองค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มี ประเด็นย่อย 8 ประเด็น ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดโดยนักเรียนมีความ คิดเห็นอยู่ในระดับมากคือ 2.11) มีห้องสมุดให้บริการหนังสืออย่างเพียงพอกับความต้องการของ นักเรียน ( X =3.55, S.D.=1.12)ส่วนลำดับรองลงมาและนอ้ ยทีส่ ดุ พบว่านักเรยี นมีความคิดเหน็ อย่ใู น ระดับปานกลางคือ 2.8) มีหนังสือ/ตำรา/เอกสารเพียงพอสำหรับใช้ประกอบการเรียน และ2.14) มี
151 กิจกรรมกับเพื่อนต่างโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งกันและ กนั ( X =3.49, S.D.=1.13 และ X =2.92, S.D.=1.23 ตามลำดับ) 3. ด้านกระบวนการ มีประเด็นยอ่ ย 16 ประเด็น พบวา่ ทกุ ประเดน็ นักเรียนมีความคิดเห็น อยู่ในระดับปานกลาง โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และน้อย ที่สุดคือ 3.6) เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.13) มีอาจารย์ที่ปรึกษา ดูแล ให้คำแนะนำ และช่วยเหลือนักเรียนอย่างใกล้ชิด และ3.2) มีการจัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึง ความสามารถของผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล ( X =3.42, S.D.=0.97, X =3.42, S.D.=1.09 และ X =2.89, S.D.=1.06 ตามลำดับ) 4. ดา้ นผลผลิต มปี ระเด็นย่อย 10 ประเดน็ พบว่าทกุ ประเด็น นกั เรียนมีความคดิ เหน็ อยู่ใน ระดับปานกลาง โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และน้อยที่สุดคอื 4.2) นักเรียนมีสมรรถนะสำคัญบรรลุตามวตั ถุประสงค์หลกั สตู ร (ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี) 4.8) นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียน การ ทำงาน และกล้าแสดงออกในทางที่ถูกตอ้ งเหมาะสม และ4.9) นกั เรยี นมกี ระบวนการทำงานอย่างเป็น ระบบ ( X =3.45, S.D.=0.97, X =3.44, S.D.=1.03 และ X =3.24, S.D.=1.00 ตามลำดับ) 5. ด้านผลกระทบ มีประเด็นย่อย 6 ประเด็น พบว่า ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดและ รองลงมา ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 5.4) นักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียน ประสบผลสำเร็จในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และ5.2) นักเรียนมีความรู้ความสามารถเป็นท่ี ยอมรับของชุมชน สังคม ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ( X =3.70, S.D.=0.88 และ X =3.52, S.D.=0.96 ตามลำดับ) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คือ 5.1) นักเรยี นมีความรสู้ กึ รกั และภาคภูมิใจต่อสถาบนั ( X =3.44, S.D.=1.07) นอกจากนี้ นักเรียนหลักสูตรปกติได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในองค์ประกอบของการ ประเมนิ หลักสตู ร 5 ด้าน มีรายละเอียดดงั นี้ 1. ด้านบริบท ควรเพิ่มการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้มากขึ้นเพื่อเน้นความกล้า แสดงออกของนักเรยี น ควรลดเวลาเรียนลงบ้าง บางอยา่ งเรียนไปก็ไม่ได้ใช้ทำให้จำนวนคาบการเรียน มากเกินไป อาจารย์ควรสอนให้เต็มเวลาและไม่ต้องให้มีการบ้าน ควรเพิ่มจำนวนคาบเรียนวิชา เทคโนโลยี พลศึกษา และดนตรีให้มากข้ึน ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายควรมีแผนการเรียนเพิ่มขึ้น และเน้นด้านอาชีพ เช่น วิทย์-แพทย์ วิทย์-กีฬา ภาษาต่างประเทศ-ภาษาเกาหลี เป็นต้น ควรนำ หลักสูตรในมหาวิทยาลัยมาทดลองใช้ในระดับมัธยมศึกษาเพื่อให้นักเรียนมีทางเลือกที่เหมาะสมกับ ตนเองหลากหลายมากขึ้น ควรมีวิชาเสริมในรายวิชาเลือกหรือชมรมมากกว่านี้เพื่อให้นักเรียนเลือก เรียนสิ่งที่ชอบตามศักยภาพจริง ควรมีการฝึกฝนการเอาชีวิตรอดในสังคมมากข้ึน ควรปรับปรุง หลักสตู รให้ตรงกับความเปน็ จริง มีวิชาเลอื กใหน้ ักเรียนไดเ้ ลือกเรยี นมากขน้ึ ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระฯ มีรายวิชาอาชีพที่เจาะลึกถึงเรื่องนั้น ๆ เพิ่มหลักสูตรวิชาพละให้มีมวยสากล ในระดับม.ปลายคาบ ภาษาที่ 3 ฝรั่งเศส จีน ญี่ปุ่น ควรคงไว้ที่ 10 คาบเหมือนเดิมเพื่อจะช่วยเรื่องการพัฒนาภาษาที่สาม ของเด็กแผนศิลป์-ภาษา บางแผนการเรียนที่สนใจต้องใช้เกรดสูงบางคนเข้าเรียนไม่ได้ บางรายวิชา ควรปรับให้นำไปใช้ได้จริง ควรสอนปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยากให้
152 เปลี่ยนระบบแผนการเรียนเป็นเตรียมศิลปกรรม เตรียมวิทย์-คอมพ์ เตรียมนิเทศ-มนุษย์ เป็นต้น แทนแผนการเรยี นท่ีเปดิ ในปัจจบุ ัน ควรมหี อ้ งเรียนมัธยมศึกษามากขึ้น เรยี นแบบใหม่ เช่น ตามสายท่ี อยากจะเรียนต่อในมหาลัย ควรปรับการเรียนเป็นเรียนช่วงเช้าเพิ่มช่วงกลางวันเป็นเรียนวิชาตาม ความถนัด ไมอ่ ยากใหร้ บั เดก็ ที่สอบไม่ติดดว้ ยตนเอง ต้องการใหว้ ิชา \"งานชา่ งไม้\" อยู่ในวิชาเลือกหรือ ชมรมอย่างเดียว ไม่ต้องการให้อยู่ในวชิ าปกติ ในโครงการแลกเปลี่ยนนกั เรียนในตา่ งประเทศอยากให้ มีเกาหลีมาด้วย ควรสร้างยิมที่เป็นของกีฬาบาสเกตบอลโดยเฉพาะโดยใช้พื้นยิมเป็นไม้ปาเก้ ใช้แป้น บาสของ SPALDING ลูกบาสโรงเรียนมีให้ใช้แบบดีๆ ควรมีชมรมบาสและวิชาเลือกบาส เริ่มตั้งแต่ ป. 1-ม.6 จะให้เด็กได้ฝึกความแข็งแรงและมีคุณภาพในด้านกีฬาบาสเกตบอล ควรมีการจัดการดูแลเด็ก ให้ทั่วถึง ใครทำผิดควรรับผิดชอบ ร้านสวัสดิการควรมีอาจารย์เข้ามาดูแลทุกวัน อาจารย์แนะแนว ระดับประถมควรแนะนำมากกว่านี้โดยเฉพาะประถมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรโรงเรียนช้ากว่าที่ กรุงเทพและงา่ ยกวา่ ค่อนขา้ งมาก ควรลดเวลาเรียน ลดงาน ลดการบา้ นลง เพื่อให้นักเรยี นนำเวลาว่าง ไปอ่านหนังสือ หรือค้นคว้าหาความรู้ในสิ่งที่สนใจและสิ่งที่ชอบเพ่ือต่อยอดในอนาคต ควรพัฒนา หลักสูตรวิทย์-คณิตให้เข้มข้นขึ้น เพื่อการสอบแข่งขันต่างๆ และเน้นภาษาอังกฤษมากขึ้น ควรมีคาบ เรียนแบบตอนเรียนปรับพื้นฐาน ม.1 เพราะไม่มากเกินไปและมีเวลาพัก ควรมีการจัดความถนัดของ เด็กทัง้ 8 ดา้ น โรงเรียนสมควรเปน็ สถานทที่ ่ที ำให้เด็กได้ร้วู ่าชอบอะไร หลกั สตู รควรเน้นความสามารถ ของเด็กมากกวา่ การให้แต่ความรู้ ควรลดช่วั โมงวชิ าภาคบังคับลงและเพม่ิ ชัว่ โมงวชิ าเลอื กและชมรมให้ มากข้นึ ควรเรียนวนั ละ 4-5 ชม. แบ่งเรยี นหนกั เบาสลับกันไป สอบแค่วชิ าหลัก ควรลดคาบวิชาเรียน แล้วเพิ่มกิจกรรมอื่นๆ ทดแทนการนั่งเรียนที่ไม่ได้ขยับตัวยืดเหยียดกล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดผลเสียใน ภายหลัง นักเรียนควรเรียนเพียงครึ่งวัน หลังเที่ยงควรให้เลือกเรียนตามความสนใจ ควรให้จัดตาราง เรียนเอง ทุกคนควรมีสิทธิเสรีภาพในการเสนอความคิดเห็น ควรจัดห้องเรียนแบบคัดมากกว่าแบบ คละชั้นเพื่อให้อาจารย์ในรายวิชาสอนได้อย่างทั่วถึง ถ้าเป็นห้องเรียนแบบคละเด็กบางคนอาจยังไม่ เข้าใจแต่ผู้สอนปล่อยผ่านไป ควรทำตารางกิจกรรมต่าง ๆ ให้นักเรียนตั้งแต่ต้น-จบปีการศึกษาว่ามี กิจกรรมใดวันที่เท่าไหร่ ซึ่งให้ภายในช่วงเวลาที่เปิดเทอมต้นการศึกษานั้นๆ โรงเรียนควรรับฟัง ความเหน็ ของนักเรียนจากตวั แทนนักเรยี นแตล่ ะระดบั ชน้ั ควรมีสระว่ายน้ำในโรงเรียน ให้อาจารย์เพิ่ม เทคนิคใหม่ ๆ ในการสอน ให้เด็กได้ปฏิบัติลงมือทำจรงิ และเรียนนอกหอ้ งเรียนบ้าง เพิ่มทักษะในการ ใช้ชีวิตประจำวัน ให้เด็กมีโอกาสเลือกเรียนในสิ่งที่จะนำไปใชไ้ ด้จริงมากกว่านี้ จัดรูปแบบการสอนให้ น่าสนใจ ควรปรับปรุงหลักสูตรแบบระบบของประเทศฟินแลนด์ ให้อิสรภาพกับผู้เรียนมากขึ้น ช่วย แนะนำผู้เรียน และเข้าถึงผู้เรียนให้มากขึ้น และสามารถประเมินผู้เรียนได้ตามความประสงค์ของ ผเู้ รียน ควรมเี วลาว่างที่ให้นักเรียนไดล้ องทำสิ่งต่างๆ มากกว่าการเรียนคาบท่ี 8 หรอื คาบท่ี 7 ของแต่ ละวัน การติว GAT, PAT ควรให้มีการติวของแผนภาษาและสนับสนุนการสอบวัดระดับให้นักเรียน ด้วย อาจารย์ควรใหค้ ำแนะนำในเรอ่ื งการศึกษาต่ออยา่ งเป็นกลางไม่พูดโนม้ น้าวใหเ้ ด็กเกิดความรู้สึกท่ี ไม่ดีต่อบางสถาบัน และพร้อมให้มีระบบการแนะแนวที่เข้มข้นเพื่อให้เด็กได้รูเ้ ส้นทางและเตรียมความ พร้อมสำหรับตนเองมากขึ้น ควรสนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม Open house ของ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ โดยนับเวลาเรียนรายวิชาให้ โรงเรียนไม่สามารถพัฒนานักเรียนให้มีศักยภาพทั้ง ดา้ นความรูแ้ ละคุณธรรม
153 2. ด้านปัจจัยนำเข้า การปฏิบัติหน้าที่สอนของอาจารย์บางท่านที่พบคือเข้าสอนแต่ไม่ สามารถสอนให้เดก็ ทกุ คนเขา้ ใจได้ มีการปล่อยเกรดและคะแนน สอนตามหนังสอื ไมไ่ ด้อธบิ ายความให้ เข้าใจมากขึ้น ไม่เข้าสอน ไม่มีความเชี่ยวชาญในการสอน สอนไม่ตรงกับหัวข้อ สอนผิด ควบคุมชั้น เรียนไม่ได้ทำให้บางครั้งไม่ได้เรียนต่อ ใช้ภาษาไม่สุภาพในชั้นเรียน อาจารย์และเจ้าหน้าที่ควรเป็น ต้นแบบที่ดีให้นักเรียน มีความยุติธรรม ให้ความเสมอภาค ควรมีอุปกรณ์ประกอบการสอน ควรเน้น ปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี ควรมีอาจารย์มาสอนวิชา English เป็นชาวอเมริกันมากกว่าฟิลิปปินส์ เนื่องจากเรียนมาตั้งแต่ชั้นป.1-ม.6 ไม่สามารถทำให้นักเรียนฟังพูดอ่านเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสอนในระดับประถมศึกษาโดยอาจารย์ให้คำอา่ นไทยคิดว่าเปน็ การสอนที่ผิดมากๆ ทำให้นักเรยี น ไม่สามารถอ่านอังกฤษออกได้ ควรจัดหาห้องเรียนที่เหมาะสมกับผู้เรียน ควรอนุญาตให้นักเรียนใช้ เทคโนโลยีประกอบการเรียนได้เป็นส่วนตัว เช่น iPAD ในการ Lecture และค้นคว้าข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ว และให้ใช้โทรศัพท์ในขณะเรียนได้แต่มีมาตรการควบคุม ห้องสมุดมีหนังสือน้อย ปกหนังสือ บางเลม่ จะขาดแลว้ และไม่น่าสนใจ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีให้บริการไม่ทันสมัยและอินเตอร์เนตชา้ ควร สรา้ งและพัฒนาสนามกฬี าใหห้ ลากหลายชนดิ กีฬา เชน่ แฮนดบ์ อล บาสเกตบอล เพ่ิมอุปกรณ์งานช่าง ให้เพียงพอตอ่ จำนวนนักเรียน เพิ่มครูผูส้ อนเพ่อื จะได้ดูแลเด็กได้อย่างทว่ั ถึง อยากให้อาจารย์ผู้สอนทำ ความเข้าใจกับเด็กเพราะเด็กมีความสามารถในการรับรู้ไม่เท่ากันและอยากให้ปรับทัศนคติเด็กๆ เพื่อให้เด็กเป็นคนดีคิดดีทำดีขึ้น ควรพัฒนาเรื่องความสะอาดในโรงเรียนโดยเฉพาะบรเิ วณโรงอาหาร โต๊ะอาหารและที่นัง่ เรื่องระเบียบวินัย ปรับปรุงห้องน้ำใหส้ ะอาดและพร้อมใช้ได้ทกุ ห้อง ควรเข้มงวด ในเรือ่ ง ยาเสพตดิ ไมใ่ ห้มีในโรงเรยี น แนะนำใหเ้ ด็กๆ มโี อกาสทำงานพาร์ทไทม์ ควรมีกิจกรรมรุ่นพี่รุ่น น้องเพื่อสร้างความผูกพันและให้ความเคารพซึ่งกันและกัน ควรมีระบบการตรวจสอบการให้บริการ ของธุรการและร้านค้าต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่น ร้านค้าสวัสดิการ ร้านสหกรณ์ และร้านถ่ายเอกสาร ในเรื่องการใช้คำพูดที่ไม่สุภาพและการแสดงอาการต่างๆที่ไม่เหมาะสม ร้านอาหารบางร้านที่มีส่ิง แปลกปลอมติดมากับอาหาร เช่น เส้นผม ฝอยขัดหม้อ ควรมีร้านถ่ายเอกสารมากกว่า 1 ร้าน ห้อง คอมพิวเตอร์ระดับประถมมีแต่เด็กเล่มเกม ทุกรายวิชาควรมีหนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการ เรียนเพื่อให้นักเรียนได้ใช้ในการศึกษามาล่วงหน้า ควรมีห้องเทคโนโลยีและสื่อการสอนที่ทันสมัย เข้าถึงได้ง่ายรวมทั้งมีกิจกรรมบูรณาการในรายวิชาต่าง ๆ ให้มากขึ้น เจ้าหน้าที่ควรให้ความเป็นมิตร กบั นักเรยี น 3. ด้านกระบวนการ การเรียนการสอนควรให้เด็กๆสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและ ทำอะไรได้จริงด้วย ควรมีการตง้ั คำถามชวนคิดให้นักเรียนมากกวา่ คำถามที่ท่วั ๆไป ควรจัดกิจกรรมให้ นักเรยี นได้พบกับเพื่อนต่างโรงเรียนมากข้ึน การวัดและประเมินผลควรแจ้งนักเรยี นให้ชัดเจนเก่ียวกับ วิธีการประเมนิ และการให้คะแนน ควรเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ทางดา้ นการแข่งขันให้กับนักเรียนมาก ขึ้น ส่งเสริมกิจกรรมการแสดงความสามารถของนักเรียนทุกสัปดาห์ ควรให้เด็กศึกษาการใช้ชีวิต มากกว่าการเรียนหลักสูตรกระทรวงฯ จัดการเรียนการสอนนอกหอ้ งเรียนมากกวา่ ในห้องเรียนเพราะ ในชีวิตจริงไม่ได้อยู่ในห้องเรียน มอบหมายงานแบบพอดี ไม่มอบหมายก่อนสอบและให้เหมาะสมกับ วัยของนักเรียน อุปกรณ์การปฏิบัติสำหรับนักเรียนไม่พร้อมและไม่เพียงพอ ลดกิจกรรมการบริจาค ควรสอนนอกเหนือจากทห่ี นังสือมีเพราะในหนังสือนักเรยี นอา่ นเองได้ เนน้ กระบวนการแก้ปัญหาจาก ชีวิตในปัจจุบัน อยากให้อาจารย์เข้าใจนักเรียนทุกคนไม่แบ่งแยก เน้นวิชาในสายอาชีพในหลักสูตร มี
154 ระบบการดูแลนักเรียนอย่างใกลช้ ิด เวลาทำงานที่อาจเกิดอุบัติเหตุอาจารย์ควรสอนวิธีป้องกันหรือทำ ให้ดูเป็นตัวอย่าง ควรมีการพัฒนามารยาทนักเรียนให้มากขึ้น ควรมีกิจกรรมราตรีเขียว-ม่วงสำหรับ เด็กมัธยมเหมือนเด็กประถม ควรมีกิจกรรมค่ายเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้องบ่อยๆ ควรออกแบบการจัดงานปัจฉิมนิเทศให้รู้สึกผูกพันและประทับใจ ควรดูแลและควบคุมเด็กดื้อโดยใช้ หลักจิตวิทยา ควรนำปัญหาท่ีพบในกระทู้ kuskfact มาพัฒนาในบางส่วน อยากให้มีกิจกรรมแข่งขัน ตอบปัญหา ความสามารถต่างๆ ในแต่ละวิชาและแต่ละระดับชั้น ควรมีการส่งเสริมการเรียนเพิ่มเติม สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ งานกิจกรรมต่าง ๆ ถ้าเป็นตามรายวิชาก็ควรจัดรวมกันแบบ วันวิชาการ การจัดแยกบ่อยๆก็วุ่นวาย งานกีฬาสีควรเพิ่มกีฬา e-sport สำหรับวัยรุ่น เพราะถ้า นักเรียนบางส่วนไม่ได้ทำก็ไม่อยากอยู่ร่วมงาน อยากได้ระบบการสอนที่ทำให้นักเรียนได้สนุกไปกับ การเรียนและอยากมาเรียนมากกว่าอยู่บา้ น ครูต้องเข้าใจพื้นฐานของเด็กแต่ละคนอย่าดูถูกหรือใช้คำ ไม่เหมาะสมในการดุว่าเด็ก ออกข้อสอบตรงกับเนื้อหาที่สอน อยากให้อาจารย์มีเวลาใส่ใจและ พยายามเข้าใจเด็กมากข้ึน 4. ด้านผลผลิต นักเรียนส่วนใหญ่ของโรงเรียนมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ และได้รับเหรียญ ทอง และเกยี รติบัตรประเภทที่ 1-3 เรยี นดี พฤติกรรมดีเด่น และสรา้ งช่ือเสียงใหแ้ ก่โรงเรียน 5. ด้านผลกระทบ นักเรียนกล้าพูดในทีช่ มุ ชนและเป็นทีน่ ่าเช่ือถือของนักเรียนจากสถาบนั อื่น สังเกตจากการเข้าร่วมกิจกรรมค่ายต่างสถาบันที่เตรียมให้นักเรียนศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา นักเรียนที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีพบว่า มีจำนวนหนึ่งที่ได้รับเกียรตินิยมจากคณะใน มหาวทิ ยาลัยที่สำเร็จการศกึ ษา และบางสว่ นได้รบั ทุนจากรฐั บาลเพือ่ ศกึ ษาต่อทั้งในและต่างประเทศ ตารางที่ 12 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program ประเด็นการประเมนิ หลักสตู ร ระดบั ความคดิ เหน็ 1. ประเมนิ บรบิ ท (C: Context Evaluation) X S.D. ความหมาย ลำดับท่ี ❖ หลกั สูตร 1.1 โรงเรียนพฒั นาคุณภาพนกั เรยี นไม่ต่ำกว่าเกณฑม์ าตรฐาน 3.52 0.58 มาก 4 การศกึ ษาของชาติ พ.ศ.2561 (เปน็ ผูเ้ รยี นรู้ เปน็ ผรู้ ว่ ม สรา้ งสรรคน์ วตั กรรม และเป็นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ ) 1.2 โรงเรียนส่งเสริมให้นกั เรียนสามารถแสวงหาและสรา้ งความรู้ 3.37 0.97 ปานกลาง 8 ดว้ ยตนเองได้ 1.3 โรงเรียนสง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีความพร้อมในการศกึ ษาตอ่ ตาม 3.33 1.21 ปานกลาง 9 ความถนัด ความสนใจ ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ นักเรยี น 1.4 โรงเรียนได้พฒั นาคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น เป็น 3.59 0.84 มาก 3 การชว่ ยสะท้อนความมงุ่ ม่นั ศกึ ษา กล้าแสดงออกของนักเรียน
155 ประเดน็ การประเมนิ หลักสูตร X ระดบั ความคดิ เหน็ S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 1.5 โรงเรียนได้พัฒนาให้นกั เรียนมคี วามสามารถในการอา่ น คิด 3.41 วเิ คราะห์ และเขยี น ช่วยให้นกั เรยี นมที ักษะพน้ื ฐานทจ่ี ำเป็นใน 3.74 0.93 ปานกลาง 6 การศึกษารายวชิ าตามความถนดั และความสนใจ 3.48 3.37 0.94 มาก 1 1.6 การจัดการศึกษาของโรงเรียนมคี วามต่อเนอ่ื งเชื่อมโยงกันต้ังแต่ 0.70 ปานกลาง 5 ระดับประถมศกึ ษา และมัธยมศึกษา 3.65 3.23 0.84 ปานกลาง 7 1.7 รายวิชาตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ และกจิ กรรมพฒั นา 3.47 ผเู้ รยี น ทำให้นกั เรียนมีทกั ษะการคดิ และสามารถแก้ปญั หาใน 3.48 1.06 มาก 2 ชีวติ ประจำวนั ได้ 3.64 1.03 ปานกลาง 10 1.8 รายวิชาตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม และกจิ กรรมพฒั นา 3.68 0.51 ปานกลาง ผูเ้ รยี น ทำใหน้ ักเรยี นมีบคุ ลิกภาพที่ดีในด้านการเรยี นรูอ้ ยา่ งมี ความสุข การเป็นท่ียอมรบั ของผ้อู น่ื การช่วยเหลอื โอบออ้ ม 3.36 0.92 ปานกลาง 6 อารี สอ่ื สาร และใฝเ่ รยี นรสู้ ง่ิ ใหมๆ่ 3.72 0.95 มาก 4 1.9 จำนวนเวลาเรยี น 6-8 คาบตอ่ วัน มีความเหมาะสม 1.10 เนื้อหาสาระท่เี รยี นแตล่ ะรายวิชาในภาพรวมมคี วามเหมาะสม 0.85 มาก 3 นกั เรียนสามารถนำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในชวี ิตประจำวนั 0.91 ปานกลาง 8 สรปุ ดา้ นหลักสูตร 0.94 มาก 2 ❖ รายวิชา (พ้ืนฐานและเพ่ิมเตมิ ) และกจิ กรรมพัฒนา ผูเ้ รียน 1.11 รายวิชาและกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมี ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใช้ ทักษะชีวิต และการใชเ้ ทคโนโลยี 1.12 รายวชิ าและกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นมี สมรรถนะในการเปน็ ผู้เรยี นรู้ ไดแ้ ก่ มีความเพยี ร ใฝ่เรยี นรู้ และมที กั ษะการเรียนรตู้ ลอดชีวิต กา้ วทนั โลกยคุ ดจิ ทิ ลั และ โลกในอนาคต มสี นุ ทรียะ มที ักษะชวี ิต มีคุณภาพชวี ิตทด่ี ี ต่อ ตนเอง ครอบครัว และสังคม 1.13 รายวิชาและกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ส่งเสริมให้นักเรียนมี สมรรถนะในการเปน็ ผรู้ ว่ มสรา้ งสรรค์นวัตกรรม ได้แก่ มี ทกั ษะทางปัญญา สามารถใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลอย่างเหมาะสม มีทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์ สามารถปรบั ตวั เขา้ กบั ผอู้ ่นื ไดด้ ี และมกี ารสรา้ งสรรคง์ านใหม่ 1.14 รายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ส่งเสริมให้นักเรยี นมี สมรรถนะในการเปน็ พลเมอื งทเ่ี ขม้ แข็ง ไดแ้ ก่ มีความรกั ชาติ รกั ทอ้ งถิน่ มีจติ อาสา มอี ุดมการณ์ มีความยุตธิ รรม และใช้ ทรัพยากรอย่างรู้คณุ คา่ 1.15 รายวิชาและกิจกรรมการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ชว่ ย สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะดา้ น การอา่ น เขียน คดิ คำนวณ
156 ประเดน็ การประเมินหลักสูตร ระดบั ความคดิ เหน็ 1.16 รายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรยี น ชว่ ยส่งเสริม X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี ใหน้ กั เรียนมคี ุณลักษณะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 ไดแ้ ก่ ความสามารถในการคิดไตร่ตรอง คิดแก้ปญั หา มีทักษะการ 3.80 0.71 มาก 1 ทำงานร่วมกนั มที ักษะการสอื่ สาร มีความรอบรทู้ างข้อมูล สารสนเทศและทางดิจิทัล มีความคิดสรา้ งสรรค์ สามารถ 3.48 0.92 ปานกลาง 6 สรา้ งสรรคผ์ ลงานใหมไ่ ด้ 3.52 1.08 มาก 5 1.17 รายวิชาและกจิ กรรมการเรยี นการสอนในโรงเรียน ชว่ ย 3.59 0.66 มาก ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมีบุคลิกภาพทด่ี ใี นด้านการเรียนรูอ้ ยา่ งมี 3.52 0.54 มาก ความสุข การเป็นท่ียอมรับของผอู้ นื่ การช่วยเหลอื โอบอ้อม อารี สือ่ สาร และใฝ่เรยี นรสู้ ิง่ ใหม่ๆ 3.44 0.87 ปานกลาง 4 3.25 1.18 รายวิชาและกจิ กรรมการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ชว่ ย 3.20 1.22 ปานกลาง 5 สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนมที กั ษะชวี ติ และเข้าใจอาชพี 3.56 1.00 ปานกลาง 6 สรุปด้านรายวิชา(พ้ืนฐานและเพมิ่ เติม) 4.13 และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 4.04 0.87 มาก 3 สรุปผลการประเมนิ บริบท (C: Context Evaluation) 3.61 0.85 มาก 1 2. ประเมนิ ปจั จัยนำเขา้ (I: Input Evaluation) ❖ บคุ คล 3.40 0.89 มาก 2 3.67 2.1 ความรู้ความสามารถ ความเชย่ี วชาญ และประสบการณข์ อง 3.72 0.59 มาก อาจารยผ์ ู้สอน มคี วามเหมาะสม 3.80 1.26 ปานกลาง 7 2.2 อาจารยผ์ ้สู อนไดส้ อนในรายวชิ าท่ตี รงกับความเชยี่ วชาญ 0.96 มาก 5 2.3 เจ้าหน้าที่ มีความพรอ้ มในการใหบ้ ริการ สนบั สนุน และอำนวย 0.94 มาก 4 0.82 มาก 1 ความสะดวกเพือ่ การบรรลุเปา้ หมายของงาน 2.4 ผูเ้ รยี นมพี ืน้ ฐานความร้คู วามสามารถตรงตามระดับชั้นท่เี รยี น และสามารถศึกษาต่อในระดับทสี่ งู ขน้ึ 2.5 ผู้ปกครองมคี วามเขา้ ใจ และสนบั สนุนกิจกรรมการเรยี นการ สอนของโรงเรียน 2.6 ผู้ปกครองสง่ เสริมนักเรียนไดพ้ ัฒนาศักยภาพเพ่ิมเตมิ จากในช้นั เรยี น โดยยนิ ดีใหน้ ักเรียนเขา้ รว่ มกิจกรรมของทางโรงเรียนทกุ กิจกรรม สรปุ ด้านบคุ คล ❖ เอกสาร ส่ือ เทคโนโลยี และสิง่ สนบั สนนุ ทเ่ี ออื้ ตอ่ การ เรียนรู้ 2.7 หอ้ งเรียนมสี ภาพท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรู้ 2.8 มีหนงั สือ/ตำรา/เอกสารเพียงพอสำหรบั ใช้ประกอบการเรยี น 2.9 มีสือ่ วสั ดุ อปุ กรณป์ ระกอบการเรยี นเพยี งพอ 2.10 มีวัสดอุ ุปกรณ์การเรยี น สอ่ื และเทคโนโลยีในชน้ั เรยี นเพอ่ื ช่วยใหน้ ักเรียนเรยี นรไู้ ดด้ ีข้นึ
157 ประเด็นการประเมินหลักสูตร ระดับความคิดเห็น 2.11 มหี อ้ งสมดุ ใหบ้ ริการหนังสอื อยา่ งเพียงพอกบั ความตอ้ งการ X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ ของนักเรยี น 3.76 1.01 มาก 2 2.12 มหี ้องบรกิ ารสบื ค้นขอ้ มูลด้วยระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ที่ เหมาะสมและทันสมัย 3.52 1.16 มาก 6 2.13 มกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นทีเ่ หมาะสมและเอื้อต่อการ 3.72 0.84 มาก 3 เรียนรู้ 3.04 1.21 ปานกลาง 8 2.14 มกี จิ กรรมกบั เพอ่ื นต่างโรงเรียนหรือบคุ คลภายนอกเพ่ือ แลกเปลยี่ นประสบการณก์ ารเรียนร้ซู ึ่งกันและกัน 3.58 0.75 มาก สรปุ ดา้ นเอกสาร สือ่ เทคโนโลยี และสิ่งสนบั สนนุ ที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 3.59 0.63 มาก สรปุ ผลการประเมนิ ปัจจัยนำเข้า (I: Input Evaluation) 3.67 1.11 มาก 1 3. ประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) 3.14 3.1 มกี ารจัดการเรียนรดู้ ว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลาย 0.99 ปานกลาง 11 3.2 มกี ารจดั การเรยี นรโู้ ดยคำนึงถงึ ความสามารถของผู้เรียนเปน็ 3.05 1.40 ปานกลาง 15 รายบคุ คล 3.14 3.3 มีกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ีเน้นใหน้ กั เรยี นไดค้ ดิ วิเคราะห์ และลง 1.13 ปานกลาง 13 3.32 มือปฏิบัตจิ ริง 3.50 1.21 ปานกลาง 8 3.4 จดั การเรียนรโู้ ดยกระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรอื ร้นในการแสวงหา 3.55 1.19 มาก 5 1.01 มาก 3 ความรู้ด้วยตนเอง 3.45 3.5 จัดการเรยี นรโู้ ดยสอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรม 1.01 ปานกลาง 6 3.6 เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3.18 3.7 มีการบอกวิธีการวัดและประเมนิ ผลแต่ละคร้งั ใหผ้ ้เู รียนทราบ 0.91 ปานกลาง 9 3.18 ลว่ งหน้า 3.59 1.05 ปานกลาง 10 3.8 มกี ารวัดและประเมินผลอย่างต่อเน่ืองควบคไู่ ปกบั การเรียนการ 3.32 1.33 มาก 2 1.09 ปานกลาง 7 สอน 3.55 3.9 วดั ผลและประเมนิ ครอบคลมุ การเรยี นร้ทู ัง้ ดา้ นความรู้ เจตคติ 1.30 มาก 4 3.14 และการปฏิบัติ 1.04 ปานกลาง 12 3.10 ใช้วิธกี ารและเครอ่ื งมือในการวัดและประเมนิ ผลทีห่ ลากหลาย 3.09 3.11 เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นมีสว่ นร่วมในการวดั และประเมนิ ผล 3.00 0.87 ปานกลาง 14 3.12 มกี ารนำผลการประเมินมาสะท้อนผลให้นักเรยี นไดพ้ ัฒนา 1.15 ปานกลาง 16 ตนเองเตม็ ศักยภาพ 3.13 มอี าจารยท์ ีป่ รกึ ษาดแู ล ให้คำแนะนำ และช่วยเหลือนกั เรยี น อยา่ งใกล้ชิด 3.14 มีการจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นที่เปน็ ระบบ ชดั เจน และ ปฏบิ ตั ิได้จริง 3.15 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นมคี วามหลากหลาย 3.16 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นช่วยสะท้อนความสามารถและความ ถนัดของนกั เรียนได้ดี
158 ประเดน็ การประเมินหลักสตู ร ระดับความคดิ เห็น สรุปผลการประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 3.30 0.85 ปานกลาง 4. ประเมินผลผลติ (P: Product Evaluation) 4.1 นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคข์ อง 3.50 1.06 มาก 5 หลกั สตู ร 4.2 นักเรียนมสี มรรถนะสำคญั บรรลตุ ามวัตถุประสงคห์ ลักสตู ร 3.55 1.34 มาก 4 (ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้ ทกั ษะชีวติ และการใช้เทคโนโลยี) 4.3 นักเรียนมีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคบ์ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ 3.61 0.84 มาก 3 หลกั สตู ร (รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอื่ สัตยส์ ุจรติ มวี นิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง ม่งุ มนั่ ในการทำงาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ มสี นุ ทรยี ภาพ และมีสุขนสิ ยั สุขภาพกาย และ สุขภาพจิตทดี่ )ี 4.4 นักเรยี นมบี ุคลกิ ภาพที่ดีตามเป้าหมายของหลกั สตู ร ในดา้ น 3.39 0.84 ปานกลาง 8 การเรยี นรูอ้ ย่างมีความสุข การเปน็ ที่ยอมรบั ของผูอ้ ืน่ การ ช่วยเหลือ โอบอ้อมอารี สอ่ื สาร และใฝ่เรยี นรสู้ ง่ิ ใหมๆ่ 4.5 นกั เรยี นมีความร้คู วามสามารถในการอ่าน การเขียน และคดิ 3.43 0.84 ปานกลาง 6 คำนวณ (3R) ตามเป้าหมายของหลกั สูตร 4.6 นักเรียนมีความสามารถทางปัญญา 8 ดา้ น ตามเปา้ หมายของ 3.43 0.90 ปานกลาง 7 หลักสตู ร (ความสามารถด้านภาษา คณิตศาสตร์ มิตสิ ัมพนั ธ์ การควบคุมความคดิ ความรสู้ ึก ดนตรี มนุษยส์ มั พันธ์ เขา้ ใจ ตนเอง และเขา้ ใจธรรมชาติ) 4.7 นักเรียนมีความสามารถตามคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนในศตวรรษ 3.26 0.75 ปานกลาง 10 ที่ 21 (7C) ตามเป้าหมายของหลกั สตู ร 4.8 นกั เรยี นมคี วามมุง่ มั่นในการเรียน การทำงาน และกล้า 3.39 0.99 ปานกลาง 9 แสดงออกในทางที่ถกู ตอ้ งเหมาะสม 4.9 นกั เรียนมกี ระบวนการทำงานอยา่ งเป็นระบบ 3.65 0.98 มาก 2 4.10 นกั เรียนมคี วามสามารถในการสรา้ งสรรคช์ น้ิ งาน 3.65 0.93 มาก 1 สรุปผลการประเมินผลผลติ (P: Product Evaluation) 3.48 0.70 ปานกลาง 5. ประเมนิ ผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 5.1 นกั เรยี นมีความรสู้ กึ รักและภาคภมู ใิ จตอ่ สถาบนั 3.39 0.84 ปานกลาง 6 5.2 นักเรียนมีความรู้ความสามารถเปน็ ท่ียอมรับของชมุ ชน สงั คม 3.73 1.08 มาก 5 ท้งั ภายในและภายนอกสถาบัน 5.3 นกั เรียนท่จี บการศึกษาจากโรงเรยี นเปน็ ทย่ี อมรับของ 3.74 0.75 มาก 4 สถาบันการศึกษาทั้งในและตา่ งประเทศ 5.4 นักเรียนทีจ่ บการศึกษาจากโรงเรยี น ประสบผลสำเรจ็ ใน 4.00 0.93 มาก 2 การศึกษาต่อในระดบั ทสี่ ูงข้ึน 5.5 นกั เรียนทีจ่ บการศึกษาจากโรงเรียนได้รบั การยอมรบั วา่ “เป็น 3.78 1.00 มาก 3 คนดีในสังคม”
159 ประเดน็ การประเมินหลักสูตร ระดับความคดิ เหน็ X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 5.6 โรงเรยี นมชี ่ือเสียงและเปน็ ผนู้ ำในด้านการจดั การศึกษาและ 4.04 0.95 มาก 1 พัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น ทัง้ ในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา สรุปผลการประเมินผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 3.75 0.69 มาก สรปุ ผลการประเมนิ หลักสตู รของโรงเรยี นในภาพรวม 3.52 0.59 มาก จากตารางที่ 12 ผลการประเมินหลักสูตรของโรงเรียนในภาพรวมตามความคิดเห็นของ นักเรยี นทม่ี ตี อ่ หลักสตู รโรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) หลักสตู ร English Program พบว่า นกั เรยี นมคี วามคดิ เห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก ( X =3.52, S.D.=0.59) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ พบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตร อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นจากมากไปน้อยคือ ด้านผลกระทบ ด้าน ปจั จัยนำเข้า และดา้ นบรบิ ท ( X =3.75, S.D.=0.69, X =3.59, S.D.=0.63 และ X =3.52, S.D.=0.54 ตามลำดับ) รองลงมาพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย ของระดับความคิดเห็นจากมากไปน้อยคือ ด้านผลผลิต และด้านกระบวนการ ( X =3.48, S.D.=0.70 และ X =3.30, S.D.=0.85 ตามลำดับ) และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นของแต่ละด้าน มีข้อค้นพบ ผลการประเมนิ หลักสูตร 5 ด้านดังนี้ 1. ด้านบริบท มี 2 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร และองค์ประกอบด้าน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้านรายวิชาและ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอยู่ในระดับมาก ส่วนองค์ประกอบด้านหลักสูตรอยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.59, S.D.=0.66 และ X =3.47, S.D.=0.51 ตามลำดับ) และพบว่า องค์ประกอบด้านหลักสูตร มี ประเด็นยอ่ ย 10 ประเด็น โดยมปี ระเด็นท่ีมีค่าเฉลีย่ มากท่ีสุดและรองลงมา ซึ่งนกั เรียนมีความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก คือ 1.6) การจัดการศึกษาของโรงเรียนมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันตั้งแต่ระดับ ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และ1.9) จำนวนเวลาเรียน 6-8 คาบต่อวัน มีความเหมาะสม ( X = 3.74, S.D.=0.94 และ X =3.65, S.D.=1.06 ตามลำดับ) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่ง นักเรยี นมคี วามคิดเหน็ อยู่ในระดบั ปานกลาง คือ 1.10) เนือ้ หาสาระท่เี รยี นแตล่ ะรายวิชาในภาพรวมมี ความเหมาะสม นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน ( X =3.23, S.D.=1.03) ส่วน องค์ประกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีประเด็นย่อย 8 ประเด็น โดยมีประเด็นที่มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุดและรองลงมา ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 1.16) รายวิชาและ กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความสามารถในการคิดไตร่ตรอง คิดแก้ปัญหา มีทักษะการทำงานร่วมกัน มีทักษะการสื่อสาร มคี วามรอบรทู้ างข้อมูลสารสนเทศและทางดจิ ทิ ลั มีความคิดสรา้ งสรรค์ สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานใหม่ ได้ และ1.15) รายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านการอ่าน เขียน คิด คำนวณ ( X =3.80, S.D.=0.71 และ X =3.72, S.D.=0.94 ตามลำดับ) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน
160 กลาง คือ 1.14) รายวชิ าและกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นมสี มรรถนะในการเป็นพลเมือง ทเี่ ข้มแขง็ ได้แก่ มีความรักชาติ รักท้องถน่ิ มจี ิตอาสา มีอุดมการณ์ มคี วามยตุ ธิ รรม และใช้ทรัพยากร อยา่ งร้คู ุณค่า ( X =3.36, S.D.=0.91) 2. ด้านปัจจัยนำเข้า มี 2 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบด้านบคุ คล และองค์ประกอบด้าน เอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ พบว่า ทั้ง 2 องค์ประกอบ นักเรียนมี ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ องค์ประกอบด้าน บุคคล รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ( X =3.61, S.D.=0.59 และ X =3.58, S.D.=0.75 ตามลำดับ) และพบว่า องค์ประกอบด้านบุคคล มี ประเด็นย่อย 6 ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดและรองลงมา ซ่ึง นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 2.5) ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการ เรียนการสอนของโรงเรียน และ2.6) ผู้ปกครองส่งเสริมนักเรียนได้พัฒนาศักยภาพเพิ่มเติมจากในชั้น เรียน โดยยินดีให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียนทุกกิจกรรม ( X =4.13, S.D.=0.85 และ X =4.04, S.D.=0.89 ตามลำดับ) ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ซ่ึง นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 2.3) เจ้าหน้าที่มีความพร้อมในการให้บริการ สนับสนุน และอำนวยความสะดวกเพื่อการบรรลุเป้าหมายของงาน ( X =3.20, S.D.=1.00) สำหรับ องค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีประเด็นย่อย 8 ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดและรองลงมา ซึ่งนักเรียนมีความ คิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 2.10) มีวัสดุอุปกรณ์การเรียน สื่อ และเทคโนโลยีในชั้นเรียนเพื่อช่วยให้ นักเรียนเรียนรู้ได้ดีขึ้น และ2.11) มีห้องสมุดให้บริการหนังสืออย่างเพียงพอกับความต้องการของ นักเรียน ( X =3.80, S.D.=0.82 และ X =3.76, S.D.=1.01 ตามลำดับ) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของ ระดับความคิดเหน็ น้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคดิ เห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 2.14) มีกิจกรรมกบั เพื่อนต่างโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ( X = 3.04, S.D.=1.21) 3. ด้านกระบวนการ มีประเด็นย่อย 16 ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความ คิดเหน็ มากทส่ี ุดและรองลงมา ซึ่งนกั เรียนมคี วามคิดเห็นอยู่ในระดบั มาก คอื 3.1) มกี ารจัดการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และ3.11) เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล ( X =3.67, S.D.=1.11 และ X =3.59, S.D.=1.33 ตามลำดับ) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความ คิดเห็นน้อยที่สุด โดยนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 3.16) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชว่ ยสะท้อนความสามารถและความถนดั ของนกั เรยี นได้ดี ( X =3.00, S.D.=1.15) 4. ดา้ นผลผลิต มปี ระเด็นยอ่ ย 10 ประเด็น โดยประเดน็ ท่มี คี ่าเฉล่ียของระดบั ความคิดเห็น มากที่สุดและรองลงมา ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 4.10) นักเรียนมีความสามารถ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน และ4.9) นักเรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ( X =3.65, S.D.=0.93 และ X =3.65, S.D.=0.98 ตามลำดับ) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น น้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 4.7) นักเรียนมีความสามารถตาม คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 (7C) ตามเปา้ หมายของหลักสตู ร ( X =3.26, S.D.=0.75)
161 5. ด้านผลกระทบ มีประเด็นย่อย 6 ประเด็น พบว่า ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความ คิดเห็นมากที่สุดและรองลงมา ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 5.6) โรงเรียนมีช่ือเสียง และเป็นผู้นำในด้านการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และ5.4) นักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียน ประสบผลสำเร็จในการศึกษาต่อใน ระดับที่สูงขึ้น ( X =4.04, S.D.=0.95 และ X =4.00, S.D.=0.93 ตามลำดับ) และประเด็นที่มคี ่าเฉลย่ี ของระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 5.1) นักเรียนมี ความรสู้ ึกรักและภาคภูมิใจต่อสถาบนั ( X =3.39, S.D.=0.84) นอกจากน้ี นักเรยี นหลักสตู ร English Program ไดใ้ ห้ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ ในองค์ประกอบ ของการประเมนิ หลกั สูตร 2 ด้าน มรี ายละเอียดดงั น้ี 1. ด้านปัจจัยนำเขา้ ควรเพิม่ ความละเอยี ดในการดูแลเด็กให้ปรบั ตัวสำหรับการเรียน ควร เปลี่ยนอาจารย์สอนในบางท่านเนื่องจากไม่ค่อยได้สอนนักเรียนและสอนไม่เข้าใจ ควรพัฒนาอาคาร เรียนให้พร้อมสำหรับนักเรียน EP เจ้าหน้าที่ในห้องธุรการ/ห้องพยาบาล ควรพูดจาให้สุภาพขึ้นไม่ใส่ อารมณ์ตอนที่พูด อาจารย์ไม่ควรพูดดูถูกนักเรียนและให้ความยุติธรรมกับนักเรียน ไม่เลือกปฏิบัติ และควรมีทัศนคติที่ดีต่อนักเรียน EP ควรเพิ่มห้องดนตรีสากล ควรเตรียมความพร้อมในการพัฒนา นักเรียน EPกอ่ นท่ีจะเพม่ิ ห้องเรยี น ทัง้ ดา้ นบคุ ลากรและสถานที่ ควรมตี ึกของ EP เป็นกจิ จะลกั ษณะ 2. ด้านกระบวนการ ควรให้ความสำคญั กับนักเรยี น EP มากขึ้น ควรไดร้ ับข่าวสารท่รี วดเรว็ โรงเรียนควรเข้มงวดในเรื่องการเรียนและนักเรียนต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียนเพื่อให้มี ความสงบในห้องเรียน ควรมีการคัดเลือกนักเรียนทั้ง EP และห้องธรรมดาอย่างละเอียดตามเกณฑ์ทั้ง ดา้ นความรูแ้ ละทศั นคติ มีการประกาศกจิ กรรมใหท้ วั่ ถึงและพัฒนานักเรยี น EP ใหม้ คี วามเปน็ ผนู้ ำ 2.2 ความคดิ เห็นของอาจารย์ ในการวจิ ยั ครง้ั นี้ ผูว้ ิจยั ศกึ ษาความคดิ เหน็ ของอาจารย์ที่มตี ่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) มีผลการประเมินใน ภาพรวมและรายด้าน 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และ ดา้ นผลกระทบ โดยจำแนกเปน็ หลกั สตู รปกติ และหลักสูตร English Program ดงั ตารางที่ 13-14 ตารางที่ 13 ผลการศึกษาความคิดเห็นของอาจารย์ที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) หลกั สูตรปกติ ประเดน็ การประเมินหลกั สตู ร ระดบั ความคดิ เหน็ 1. ประเมินบริบท (C: Context Evaluation) X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ ❖ หลักสูตร 1.1 ปรัชญา วตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายของหลักสตู ร มีความ 4.11 0.71 มาก 12 สอดคล้องกับความตอ้ งการของผู้เรียนและสังคม
162 ประเดน็ การประเมนิ หลกั สูตร ระดบั ความคิดเหน็ X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายของหลกั สตู รเหมาะสมกับสภาพการณ์ 4.07 0.74 มาก 17 ปัจจบุ ัน 1.3 วิสยั ทัศน์และพันธกิจมีความสอดคล้องกัน และสามารถ 4.11 0.75 มาก 13 นำไปส่กู ารปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง 1.4 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผ้เู รียน สะท้อนอัตลักษณ์ และ 4.16 0.75 มาก 8 เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น 1.5 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผ้เู รียน สอดคล้องกบั เปา้ หมาย 4.09 0.75 มาก 15 ของหลกั สูตรแต่ละระดับการศกึ ษา และมาตรฐานการศึกษาที่ เนน้ ผลลพั ธท์ พี่ งึ ประสงค์ 3 ด้าน (Desired Outcomes of Education : DOE Thailand) คอื ผ้เู รียนรู้ ผู้รว่ ม สร้างสรรคน์ วตั กรรม และพลเมืองที่เขม้ แข็ง 1.6 การอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนของผู้เรยี น สอดคล้องกบั 3.99 0.70 มาก 19 เปา้ หมายของหลักสตู รแต่ละระดบั การศกึ ษา และมาตรฐาน การศึกษาที่เน้นผลลัพธท์ ี่พึงประสงค์ (DOE Thailand) 1.7 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาโดยภาพรวม 3 ระดบั คือ ปฐมวยั 4.07 0.81 มาก 18 ประถมศึกษา และมธั ยมศึกษา มคี วามตอ่ เน่ืองเชื่อมโยงกัน 1.8 โครงสรา้ งหลกั สตู รระดบั ปฐมวัย มคี วามเหมาะสม และ 4.18 0.81 มาก 5 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั พ.ศ.2561 1.9 โครงสรา้ งหลกั สตู รระดบั ประถมศกึ ษา ซ่ึงประกอบดว้ ย สาระ 4.36 0.68 มาก 2 การเรยี นรู้ 8 กล่มุ และกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น มคี วาม เหมาะสม และสอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2561 1.10 โครงสร้างหลกั สูตรระดับมธั ยมศึกษา ซ่งึ ประกอบดว้ ย สาระ 4.39 0.63 มาก 1 การเรยี นรู้ 8 กลมุ่ และกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น มีความ เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ.2561 1.11 โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษาสามารถทำให้ผู้เรยี นบรรลุ 4.17 0.69 มาก 6 ตามวัตถุประสงค์ เปา้ หมายของหลักสตู รสถานศึกษาได้ 1.12 จำนวนหนว่ ยกิตหรือเวลาเรยี นตลอดหลักสูตรระดบั ปฐมวัย 4.28 0.72 มาก 3 มคี วามเหมาะสม 1.13 จำนวนหนว่ ยกติ หรอื เวลาเรยี นตลอดหลกั สตู รระดบั 4.17 0.76 มาก 7 ประถมศกึ ษา มีความเหมาะสม 1.14 จำนวนหน่วยกิตหรอื เวลาเรยี นตลอดหลกั สูตรระดับ 4.12 0.75 มาก 11 มธั ยมศึกษา มีความเหมาะสม 1.15 เน้ือหาสาระของหลกั สตู รระดับปฐมวัย เหมาะสม สอดคล้อง 4.13 0.73 มาก 9 กบั มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด คำอธบิ ายรายวชิ า และสามารถนำไปใช้ ได้จริง
163 ประเดน็ การประเมนิ หลกั สตู ร ระดบั ความคิดเหน็ 1.16 เน้อื หาสาระของหลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษา เหมาะสม X S.D. ความหมาย ลำดับท่ี สอดคล้องกบั มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั คำอธิบายรายวิชา และ สามารถนำไปใชไ้ ดจ้ รงิ 4.12 0.62 มาก 10 4.10 1.17 เน้อื หาสาระของหลกั สตู รระดับมัธยมศกึ ษา เหมาะสม 4.20 0.64 มาก 14 สอดคล้องกบั มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด คำอธิบายรายวิชา และ 4.07 สามารถนำไปใช้ไดจ้ ริง 0.61 มาก 4 4.15 0.60 มาก 16 1.18 คำอธบิ ายรายวชิ า เหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐาน/ 4.19 ตวั ชวี้ ดั 4.13 0.53 มาก 4.00 1.19 หนว่ ย/ แผนการจัดการเรยี นรู้ มคี วามเหมาะสม ถูกต้อง มี 4.11 0.80 มาก 4 องคป์ ระกอบครบถว้ น และมีข้ันตอนของการจดั กิจกรรมการ 4.34 เรียนรตู้ ามแนวคดิ Active Learning ทสี่ ะทอ้ นผลลัพธ์ทพี่ ึง 0.69 มาก 6 ประสงคข์ องการศึกษา (DOE Thailand) ในมาตรฐาน 4.30 0.72 มาก 9 การศกึ ษาของชาติ พ.ศ.2561 0.71 มาก 8 สรปุ ดา้ นหลักสูตร 4.28 0.75 มาก 1 ❖ รายวชิ า (พนื้ ฐานและเพิ่มเติม) และกจิ กรรมพฒั นา 0.63 มาก 2 ผเู้ รียน 1.20 รายวชิ าและกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมี 0.60 มาก 3 สมรรถนะสำคัญ 5 ดา้ น (การสอื่ สาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชวี ติ และการใชเ้ ทคโนโลย)ี 1.21 รายวชิ าและกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมี สมรรถนะในการเปน็ ผเู้ รียนรู้ 1.22 รายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมี สมรรถนะในการเปน็ ผรู้ ว่ มสรา้ งสรรค์นวัตกรรม 1.23 รายวิชาและกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมี สมรรถนะในการเป็นพลเมอื งทเี่ ขม้ แข็ง 1.24 กจิ กรรมและประสบการณใ์ นระดบั ปฐมวัย (อ.1-3) สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มีบคุ ลิกภาพ 5 ด้าน และมคี วามสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคดิ ทฤษฎีพหปุ ัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) 1.25 รายวิชาและกจิ กรรมในระดบั ประถมศึกษา (ป.1-3) สง่ เสริม ใหผ้ ้เู รยี นมคี วามรคู้ วามสามารถในการอา่ น การเขยี น และคดิ คำนวณ (3R) มบี คุ ลิกภาพ 5 ด้าน และมคี วามสามารถทาง ปญั ญา 8 ด้าน ตามแนวคดิ ทฤษฎพี หปุ ญั ญา (Multiple Intelligences Theory : MI) 1.26 รายวชิ าและกจิ กรรมในระดบั ประถมศกึ ษา (ป.4-6) สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ความสามารถในการอา่ นออก เขียนได้ และ คดิ เลขเปน็ (3R) มีบคุ ลิกภาพ 5 ดา้ น และมีความสามารถ ตามคณุ ลักษณะผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 (7C)
164 ประเด็นการประเมินหลักสูตร ระดบั ความคิดเห็น 1.27 รายวิชาและกจิ กรรมในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม.1-3) X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียน มบี คุ ลิกภาพ 5 ด้าน มคี วามสามารถตาม คุณลักษณะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 (7C) และมที ักษะอาชพี 4.12 0.70 มาก 7 1.28 รายวชิ าและกจิ กรรมในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) 4.16 0.72 มาก 5 ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมีบคุ ลกิ ภาพ 5 ดา้ น มีความสามารถตาม คณุ ลกั ษณะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 (7C) และมที ักษะอาชพี 4.18 0.57 มาก สรุปด้านรายวชิ า (พ้นื ฐานและเพ่มิ เติม) 4.16 0.51 มาก และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น สรุปผลการประเมนิ บรบิ ท (C: Context Evaluation) 4.29 0.73 มาก 4 4.33 0.65 มาก 3 2. ประเมนิ ปจั จยั นำเข้า (I: Input Evaluation) ❖ บคุ คล 4.56 0.56 มากท่สี ดุ 1 4.35 0.72 มาก 2 2.1 คณุ วุฒิ ความรู้ ประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการและ 4.08 0.77 มาก 7 ผลงานวิจัยดา้ นการบรหิ ารของผู้บริหารมีศักยภาพท่เี หมาะสม 4.15 0.68 มาก 5 3.93 0.84 มาก 8 2.2 คุณวฒุ ิ ความรู้ ประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการ และ 4.12 0.78 มาก 6 ผลงานวจิ ัยด้านการเรียนการสอนของอาจารย์ผสู้ อนมี 4.23 0.53 มาก ศกั ยภาพทเ่ี หมาะสม 3.85 0.95 มาก 6 2.3 อาจารย์ผู้สอนไดส้ อนในรายวชิ าท่ีตรงกบั คุณวุฒิและความ 4.09 0.81 มาก 1 เชยี่ วชาญ 3.81 3.83 1.02 มาก 8 2.4 เจา้ หนา้ ท่ี มคี วามรูค้ วามสามารถเฉพาะตำแหน่งและได้ ทำงานตรงกับคณุ วุฒิและความสามารถ 0.99 มาก 7 2.5 เจ้าหนา้ ที่ มีความพรอ้ มในการใหบ้ รกิ าร สนับสนนุ และ อำนวยความสะดวกเพอ่ื การบรรลเุ ปา้ หมายของงาน 2.6 ผูเ้ รียนมีพื้นฐานความรคู้ วามสามารถตรงตามระดบั ชัน้ ทเี่ รียน และสามารถศกึ ษาต่อในระดับที่สงู ข้ึน 2.7 ผูป้ กครองมคี วามเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการ สอนของโรงเรยี น 2.8 ผูป้ กครองส่งเสริมให้ผเู้ รียนไดพ้ ัฒนาศักยภาพเพิ่มเตมิ จากใน ช้ันเรยี น โดยยนิ ดีใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมของทางโรงเรยี น สรปุ ด้านบคุ คล ❖ เอกสาร ส่ือ เทคโนโลยี และส่งิ สนับสนนุ ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การ เรียนรู้ 2.9 หอ้ งเรียนมสี ภาพท่ีเอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 2.10 มหี นงั สอื /ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับ จำนวนผู้เรยี น 2.11 มีวสั ดุอปุ กรณ์การเรียน ส่ือ และเทคโนโลยใี นช้นั เรยี นเพอื่ ชว่ ยให้ผเู้ รียนเรยี นรูไ้ ดด้ ขี ้นึ 2.12 มสี อื่ วสั ดุ อุปกรณส์ ำหรบั การเรยี นการสอนเพยี งพอต่อ จำนวนนกั เรียน
165 ประเดน็ การประเมินหลกั สตู ร ระดับความคดิ เห็น 2.13 มีงบประมาณสนับสนนุ ในการจัดทำสื่อการเรียนรู้อยา่ ง X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี เพยี งพอ 3.85 0.90 มาก 5 2.14 มกี ารจัดสรรงบประมาณเพอื่ ใช้ในโครงการหรอื กิจกรรมการ 3.96 เรียนร้ขู องผูเ้ รียนอยา่ งเพยี งพอ 3.91 0.86 มาก 3 3.80 2.15 มีงบประมาณสนับสนนุ และพฒั นาความรคู้ วามสามารถของ 3.80 0.83 มาก 4 บคุ ลากรอย่างเพียงพอ 3.80 3.96 0.87 มาก 9 2.16 มกี ารจัดแหลง่ เรยี นรสู้ อดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรยี นร้ขู อง 3.40 ผู้เรียน 3.84 0.93 มาก 11 3.99 0.87 มาก 9 2.17 มแี หล่งการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกบั วัยของผูเ้ รยี น 0.78 มาก 2 2.18 มแี หล่งเรียนรผู้ า่ นระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ท่เี หมาะสม 4.15 2.19 มีการจดั สภาพแวดล้อมในโรงเรยี นทเ่ี หมาะสมและเอ้ือต่อ 4.16 1.03 ปานกลาง 12 4.46 การเรยี นรู้ 4.28 0.75 มาก 2.20 มกี ิจกรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ บั ชุมชน และชมุ ชนมสี ว่ นร่วม 4.24 4.24 0.62 มาก ในการจดั การศึกษาของโรงเรียน สรุปดา้ นเอกสาร ส่อื เทคโนโลยี 4.19 0.63 มาก 12 4.20 0.74 มาก 11 และสิ่งสนับสนุนที่เอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ สรุปผลการประเมนิ ปจั จัยนำเขา้ (I: Input Evaluation) 0.57 มาก 1 3. ประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) ❖ การบริหารจดั การหลักสูตร 0.75 มาก 2 3.1 มีแผนการดำเนนิ งานดา้ นหลกั สตู รอยา่ งชดั เจนและเป็นระบบ 3.2 มีกระบวนการคดั เลอื กนักเรยี นเข้าศึกษาในโรงเรยี นอย่าง 0.74 มาก 4 เหมาะสม 3.3 มีการพจิ ารณาอาจารย์ผสู้ อนรายวชิ าใหเ้ หมาะสมกับความรู้ 0.62 มาก 3 ความสามารถและคณุ วุฒิ 3.4 มกี ารจดั ระบบอาจารย์ประจำชัน้ /อาจารย์ท่ปี รึกษานักเรยี น 0.58 มาก 6 อย่างเหมาะสม 0.64 มาก 5 3.5 มีการวางแผนการนำหลักสตู รไปใชท้ ุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และทกุ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 3.6 โรงเรยี นมีการเตรยี มความพรอ้ มให้อาจารยผ์ สู้ อนจดั กิจกรรม การเรยี นรู้เพื่อพฒั นาผเู้ รียนตามเป้าหมายของหลักสตู ร เชน่ การสง่ เสริมใหเ้ ขา้ รบั การอบรม-สมั มนาทางวชิ าการ การ ประชมุ เชิงปฏิบัติการ หรอื การศึกษาดงู านด้านหลกั สูตร การ เรยี นการสอน การวดั และประเมินผล 3.7 อาจารยผ์ ้สู อนมกี ารพฒั นาตนเองอย่เู สมอในด้านหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล 3.8 อาจารยผ์ สู้ อนจดั ทำหนว่ ย/แผนการจดั การเรียนร้ทู ุกรายวิชา
166 ประเด็นการประเมินหลักสูตร ระดบั ความคิดเห็น 3.9 สง่ เสรมิ ให้อาจารยผ์ ูส้ อนจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พ่ือการพัฒนา X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ ผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 เชน่ การจัดการเรยี นรตู้ ามแนวคดิ Active Learning/ STEM เปน็ ต้น 4.17 0.74 มาก 9 3.10 อาจารยผ์ ู้สอนจดั กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามแผนการจดั การ 4.17 0.63 มาก 8 เรียนรู้ได้อยา่ งเหมาะสม 3.83 0.77 มาก 13 3.11 มรี ะบบการนิเทศ ตดิ ตาม เพอื่ ใหค้ ำแนะนำ ชว่ ยเหลือ (การ 3.82 0.85 มาก 14 พัฒนาวิชาชพี ) เก่ยี วกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ขู อง 4.18 อาจารย์ผสู้ อน 4.16 0.65 มาก 7 0.62 มาก 10 3.12 มีระบบการสะท้อนผลการจดั กิจกรรมการเรียนรขู้ องอาจารย์ 3.71 ผู้สอนอย่างต่อเนื่องเพอ่ื ให้การสนบั สนนุ และชว่ ยเหลอื 4.13 0.84 มาก 15 3.13 อาจารย์ผสู้ อนเปน็ ตน้ แบบทด่ี ีแก่ผู้เรยี น 4.09 0.50 มาก 3.14 มรี ะบบ/รูปแบบ/กระบวนการ การประกันคุณภาพ 3.82 4.06 0.72 มาก 8 การศกึ ษาด้านหลกั สตู รท่ีชัดเจน สามารถนำมาปฏิบตั ไิ ดจ้ ริง 4.02 0.82 มาก 12 และนำผลมาปรบั ปรุง พฒั นาหลักสตู รทกุ ระดับการศกึ ษา 4.13 3.15 โรงเรยี นและชมุ ชนมกี ารจดั กิจกรรมรว่ มกันเพ่อื พัฒนา 4.17 0.68 มาก 9 คณุ ภาพผ้เู รียนอยา่ งต่อเนอ่ื ง 4.31 4.33 0.72 มาก 10 สรปุ ดา้ นการบริหารจดั การหลักสตู ร 4.25 ❖ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล 4.09 0.77 มาก 6 3.16 จดั การเรยี นรู้โดยใชร้ ปู แบบ วิธีการท่ีหลากหลาย 3.90 0.76 มาก 4 3.17 จัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของผูเ้ รยี นเป็น 4.16 0.68 มาก 2 รายบคุ คล 0.64 มาก 1 3.18 มีกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ให้ผูเ้ รยี นไดค้ ิดวเิ คราะหแ์ ละลงมอื 0.70 มาก 3 ปฏิบตั จิ รงิ 3.19 จัดการเรยี นรู้โดยกระตุ้นใหผ้ ้เู รยี นกระตือรือร้นในการ 0.70 มาก 7 แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 0.80 มาก 11 3.20 จดั การเรยี นรู้โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม 0.72 มาก 5 3.21 เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 3.22 มกี ารบอกวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลแตล่ ะครั้งใหผ้ ู้เรียนทราบ ล่วงหนา้ 3.23 มกี ารวดั และประเมินผลอย่างต่อเนอื่ งควบคไู่ ปกบั การเรยี น การสอน 3.24 วดั ผลและประเมินครอบคลมุ การเรยี นร้ทู ั้งด้านความรู้ เจตคติ และการปฏบิ ตั ิ 3.25 ใชว้ ิธีการและเคร่อื งมอื ในการวดั และประเมินผลท่ี หลากหลาย 3.26 เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นร่วมในการวัดและประเมินผล 3.27 มกี ารนำผลการประเมินมาพฒั นาการเรยี นการสอนและ สะทอ้ นผลใหผ้ ้เู รยี นได้พฒั นาตนเองเต็มศกั ยภาพ
167 ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตร ระดับความคดิ เห็น สรปุ ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นรู้ X S.D. ความหมาย ลำดับท่ี การวัดและประเมนิ ผล 4.11 0.58 มาก สรปุ ผลการประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) 4. ประเมินผลผลิต (P: Product Evaluation) 4.12 0.50 มาก 4.1 ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ 4.09 0.58 มาก 3 หลกั สตู ร 4.2 ผู้เรียนมสี มรรถนะสำคญั บรรลุตามวตั ถุประสงค์หลกั สตู ร 4.02 0.54 มาก 9 4.3 ผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ 4.07 0.60 มาก 4 หลักสตู ร 4.07 0.60 มาก 4 4.4 ผเู้ รยี นมีบคุ ลกิ ภาพทด่ี ี 5 ด้าน ตามเปา้ หมายของหลักสตู ร 4.10 0.62 มาก 1 4.5 ผู้เรยี นมีความรคู้ วามสามารถในการอา่ น การเขียน และคดิ 4.04 0.64 มาก 8 คำนวณ (3R) ตามเป้าหมายของหลกั สูตร 4.6 ผเู้ รยี นมีความสามารถทางปญั ญา 8 ดา้ น ตามเปา้ หมายของ 4.01 0.67 มาก 10 หลกั สตู ร 4.06 0.74 มาก 7 4.7 ผู้เรยี นมีความสามารถตามคณุ ลักษณะของผูเ้ รียนในศตวรรษ 3.96 0.71 มาก 12 ที่ 21 (7C) ตามเปา้ หมายของหลกั สูตร 4.01 0.72 มาก 11 4.8 ผเู้ รียนมคี วามมงุ่ มัน่ ในการเรยี น การทำงาน และกลา้ 4.07 0.65 มาก 6 แสดงออกในทางทีถ่ กู ตอ้ งเหมาะสม 4.10 0.64 มาก 2 4.9 ผเู้ รยี นมีกระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ 4.10 ผูเ้ รียนมสี มรรถนะในการสรา้ งสรรค์ช้นิ งาน 4.05 0.53 มาก 4.11 อาจารย์ผ้สู อนมสี มรรถนะในการจัดการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนา 4.00 0.75 มาก 4 ผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 4.10 0.71 มาก 3 4.12 ผบู้ ริหารมสี มรรถนะในการบริหารจดั การหลักสูตร โดยการ 0.72 มาก 1 4.27 0.87 มาก 6 นำหลกั สตู รสู่ชน้ั เรียนเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพอาจารยผ์ ู้สอน 0.84 มาก 7 และผเู้ รียน 3.74 0.87 มาก 5 สรปุ ผลการประเมินผลผลติ (P: Product Evaluation) 5. ประเมินผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 3.73 5.1 ผเู้ รียนมีความรสู้ ึกรักและภาคภมู ิใจต่อสถาบนั 5.2 ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความสามารถเปน็ ท่ยี อมรับของชุมชน สงั คม 3.76 ทง้ั ภายในและภายนอกสถาบนั 5.3 ผู้ที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเปน็ ท่ยี อมรับของ สถาบนั การศกึ ษาทั้งในและต่างประเทศ 5.4 อาจารย์ผู้สอนสร้างนวัตกรรมการเรยี นการสอนผ่าน กระบวนการวิจยั อย่างตอ่ เน่อื ง 5.5 อาจารย์ผสู้ อนมกี ารเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการ งานวจิ ยั อยา่ ง ต่อเน่ือง 5.6 อาจารย์ผสู้ อนไดร้ ับเชิญเป็นวิทยากรเพ่ือชว่ ยพัฒนาการ จัดการเรียนรใู้ หแ้ กบ่ ุคลากรทงั้ ภายในและภายนอกสถาบัน
168 ประเด็นการประเมินหลักสูตร ระดับความคดิ เห็น X S.D. ความหมาย ลำดับที่ 5.7 โรงเรยี นเปน็ ท่ียอมรบั ของผู้ปกครอง ชมุ ชน และสังคม 4.25 0.73 มาก 2 สรปุ ผลการประเมินผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 3.98 0.64 มาก สรปุ ผลการประเมินหลักสูตรของโรงเรียนในภาพรวม 4.09 0.48 มาก จากตารางที่ 13 ผลการประเมินหลักสูตรของโรงเรียนในภาพรวมตามความคิดเห็นของ อาจารยท์ ่ีมีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลกั สูตรปกติ พบวา่ อาจารย์มคี วามคิดเห็นต่อหลักสูตรในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ( X =4.09, S.D.=0.48) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้าน กระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ พบว่า อาจารย์มีความคิดเห็นต่อหลักสูตรอยู่ในระดับ มากทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นจากมากไปน้อย คือ ด้านบริบท ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต ด้านปจั จัยนำเข้า และดา้ นผลกระทบ ( X =4.16, S.D.=0.51, X =4.12, S.D.=0.50, X =4.05, S.D.=0.53, X =3.99, S.D.=0.62 และ X =3.98, S.D.=0.64 ตามลำดับ) และเมื่อพิจารณา เป็นรายประเด็นของแต่ละด้าน มขี ้อคน้ พบผลการประเมินหลกั สตู ร 5 ดา้ นดังน้ี 1. ด้านบริบท มี 2 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร และองค์ประกอบด้าน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พบว่า อาจารย์มีความคิดเห็นต่อทั้ง 2 องค์ประกอบอยู่ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลย่ี ของระดับความคิดเหน็ มากท่ีสุด คือ องค์ประกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร ( X =4.18, S.D.=0.57 และ X =4.15, S.D.=0.53 ตามลำดับ) และพบวา่ องคป์ ระกอบด้านหลักสตู ร มปี ระเด็นย่อย 19 ประเด็น อาจารยม์ คี วามคิดเห็น อยู่ในระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และ น้อยที่สุด คือ 1.10) โครงสร้างหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2561 1.9) โครงสร้างหลักสูตรระดับประถมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2561 และ1.6) การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียนของผู้เรียน สอดคล้องกับเป้าหมายของหลักสูตรแต่ละ ระดับการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาที่เน้นผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ (DOE Thailand) ( X =4.39, S.D.=0.63, X =4.36, S.D.=0.68 และ X =3.99, S.D.=0.70 ตามลำดับ) ส่วนองค์ประกอบด้าน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีประเด็นย่อย 9 ประเด็น อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดบั มาก ทุกประเด็น โดยมีประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และน้อยที่สุด คือ 1.24) กิจกรรมและประสบการณ์ในระดับปฐมวัย (อ.1-3) ส่งเสริมให้เด็กมีบุคลิกภาพ 5 ด้าน และมี ความสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) 1.25) รายวิชาและกจิ กรรมในระดับประถมศึกษา (ป.1-3) ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมีความรู้ความสามารถใน การอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ (3R) มีบุคลิกภาพ 5 ด้าน และมีความสามารถทางปญั ญา 8 ด้าน ตามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) และ1.22) รายวิชาและ
169 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น สง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นมีสมรรถนะในการเป็นผรู้ ว่ มสร้างสรรค์นวตั กรรม ( X =4.34, S.D.=0.75, X =4.30, S.D.=0.63 และ X =4.00, S.D.=0.72 ตามลำดับ) 2. ดา้ นปัจจยั นำเข้า มี 2 องคป์ ระกอบ คือ องค์ประกอบดา้ นบุคคล และองคป์ ระกอบด้าน เอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ พบว่า ทั้ง 2 องค์ประกอบ อาจารย์มี ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดคือ องค์ประกอบของ บุคคล รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ( X =4.23, S.D.=0.53 และ X =3.84, S.D.=0.75 ตามลำดับ) และพบว่า องค์ประกอบด้านบุคคล มี ประเด็นย่อย 8 ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ซึ่งอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ที่สุด คือ 2.3) อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาที่ตรงกับคุณวุฒิและความเชี่ยวชาญ ( X =4.56, S.D.=0.56) ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นรองลงมาและน้อยที่สุด พบว่า อาจารย์ ความคดิ เหน็ อยใู่ นระดบั มาก คือ 2.4) เจ้าหน้าท่ี มีความรคู้ วามสามารถเฉพาะตำแหน่งและได้ทำงาน ตรงกับคณุ วฒุ แิ ละความสามารถ และ2.7) ผู้ปกครองมคี วามเข้าใจและสนบั สนุนกจิ กรรมการเรียนการ สอนของโรงเรยี น ( X =4.35, S.D.=0.72 และ X =3.93, S.D.=0.84 ตามลำดบั ) สำหรับองค์ประกอบ ด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีประเด็นย่อย 12 ประเด็น โดย ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุดและรองลงมา ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับมาก คือ 2.10) มีหนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนผู้เรียน และ2.19) มีการจดั สภาพแวดลอ้ มในโรงเรียนท่ีเหมาะสมและเอ้ือต่อการเรียนรู้ ( X =4.09, S.D.=0.81 และ X = 3.96, S.D.=0.78 ตามลำดับ) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนมี ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 2.20) มีกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้กับชุมชน และชุมชนมสี ่วน รว่ มในการจัดการศึกษาของโรงเรยี น ( X =3.40, S.D.=1.03) 3. ด้านกระบวนการ มี 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการหลักสูตร และองค์ประกอบด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล พบว่า ทั้ง 2 องค์ประกอบ อาจารย์มคี วามคดิ เห็นอยูใ่ นระดบั มาก โดยมคี ่าเฉลยี่ ของระดบั ความคดิ เหน็ มากทีส่ ุดคอื องค์ประกอบ ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร รองลงมา คือ องค์ประกอบด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล ( X =4.13, S.D.=0.50 และ X =4.11, S.D.=0.58 ตามลำดับ) และพบว่า องค์ประกอบดา้ นการบริหารจดั การหลกั สตู ร มีประเด็นยอ่ ย 15 ประเดน็ อาจารยม์ คี วามคิดเหน็ อยู่ใน ระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และน้อย ที่สุดคือ 3.3) มีการพิจารณาอาจารย์ผู้สอนรายวิชาให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและคุณวุฒิ 3.4) มีการจัดระบบอาจารย์ประจำชั้น/อาจารย์ที่ปรึกษานักเรียนอย่างเหมาะสม และ3.15) โรงเรียน และชุมชนมีการจัดกิจกรรมร่วมกันเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ( X =4.46, S.D.=0.57, X =4.28, S.D.=0.75 และ X =3.71, S.D.=0.84 ตามลำดับ) สำหรับองค์ประกอบด้านกระบวนการ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล มีประเด็นย่อย 12 ประเด็น อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากทุกประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉล่ียของระดับความคิดเหน็ มากที่สุด รองลงมา และน้อยที่สุดคอื 3.23) มีการวัดและประเมินผลอย่างต่อเน่ืองควบคู่ไปกับการเรียนการสอน 3.22) มกี ารบอกวิธีการวัด และประเมินผลแตล่ ะครั้งให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้า และ3.17) จัดการเรียนรูโ้ ดยคำนึงถึงความสามารถ
170 ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ( X =4.33, S.D.=0.64, X =4.31, S.D.=0.68, X =3.82, S.D.=0.82 ตามลำดบั ) 4. ด้านผลผลิต มีประเด็นย่อย 12 ประเด็น พบว่า อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ทุกประเดน็ โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และน้อยท่ีสุดคือ 4.5) ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ (3R) ตามเป้าหมายของหลักสูตร 4.12) ผู้บริหารมีสมรรถนะในการบริหารจัดการหลักสูตร โดยการนำหลักสูตรสู่ชัน้ เรียนเพื่อยกระดับ คุณภาพอาจารย์ผู้สอนและผู้เรียน และ4.9) ผู้เรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ( X =4.10, S.D.=0.62, X =4.10, S.D.=0.64, X =3.96, S.D.=0.71 ตามลำดับ) 5. ดา้ นผลกระทบ มีประเด็นยอ่ ย 7 ประเด็น พบว่า อาจารยม์ ีความคดิ เห็นอยู่ในระดับมาก ทุกประเด็น โดยประเดน็ ท่ีมคี ่าเฉลี่ยของระดบั ความคดิ เหน็ มากท่สี ดุ รองลงม และนอ้ ยที่สุดคือ 5.3) ผู้ ที่จบการศึกษาจากโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ 5.7) โรงเรียน เป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน และสังคม และ5.5) อาจารย์ผู้สอนมีการเผยแพร่ผลงานวิชาการ งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง ( X =4.27, S.D.=0.72, X =4.25, S.D.=0.73, X =3.73, S.D.=0.84 ตามลำดับ) นอกจากนี้ อาจารย์ผู้สอนนักเรียนหลักสูตรปกติ ได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมใน องค์ประกอบของการประเมินหลกั สตู ร 5 ดา้ น มีรายละเอียดดังนี้ 1. ด้านบรบิ ท 1.1 การวางหลักสูตรในระดับประถมศึกษา ควรเพิ่มจำนวนเวลาเรียนในด้านการ อ่าน และการคำนวณขั้นพื้นฐานให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาด้านการอ่าน มาใช้ในการศึกษาในระดับสูง ตอ่ ไป 1.2 ในสภาพความเปน็ จริง โรงเรียนดำเนินการทำแตไ่ ม่ได้รวบรวมเก็บเป็นหลักฐาน เพ่อื ตอบคำถามในการพัฒนาเด็กในด้านตา่ ง ๆ 1.3 ควรเน้นยำ้ เร่อื งการสร้างนวตั กรรมในแผนการจัดการเรยี นรู้และการนำไปใช้จริง 1.4 โรงเรียนควรเนน้ ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมให้เดน่ ชดั 1.5 อาจารย์ควรมกี ารประชุมรว่ มกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษาเทอมละ 1 ครง้ั 1.6 อัตลักษณ์ของโรงเรียนคณะกรรมการประกันคุณภาพได้เสนอแนะให้ปรับแก้ หลายครงั้ แต่ทางคณะผูบ้ รหิ ารไม่เคยปรบั แก้ 1.7 หลักสูตรสถานศึกษามีบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี เปา้ หมายตามที่หลักสูตรกำหนด แตม่ แี บบไม่ชัดเจน และบางขนั้ บางตอนยังไม่สอดคล้องกัน จึงทำให้ ผลผลิตยงั ไปไม่ถงึ ยอดเยยี่ ม 1.8 เห็นด้วยกบั จำนวนหนว่ ยกติ ในวชิ าพน้ื ฐาน และวิชาเลอื กเสรี 1.9 ในรายวิชาเพิ่มเติม (เลือกเสรี) แต่ละกลุ่มสาระที่มี มีมากเกินไปควรให้มี วัตถุประสงค์ในการเปิดเพื่อให้นักเรียนนำไปใช้ในกรศึกษาต่อหรือการประกอบอาชีพในอนาคต และ ให้ทนั ในยกุ ต์ปจั จบุ ันทีเ่ ป็น 4.0
171 1.10 ในมัธยมศึกษาตอนปลาย เห็นด้วยที่ให้วชิ าพื้นฐานจบในภาคเรียนที่ 1 ใน ม.5 และต่อด้วยเพม่ิ เตมิ เพราะพ้ืนฐานจะช่วยใหเ้ รยี นเพิม่ เติมดขี ้ึน (โครงสร้างแผนวทิ ย์-คณิต) 1.11 วัตถุประสงค์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ให้เก็บหลักฐานด้วยคุณลักษณะอันพึง ประสงคต์ อ้ งมี 10 ขอ้ 1.12 รายวิชาบูรณาการช้ัน ป.4-6 (2 คาบ/สัปดาห์) มคี วามเหน็ วา่ ควรลดเวลาเรียน ให้เหลอื 1 คาบ/สปั ดาห์ หรือปิดรายวชิ าเพราะจากท่ีสังเกตการเรียนการสอน พบวา่ เน้ือหาในแต่ละ ชน้ั เรยี นมไี มม่ ากแตม่ เี วลาเรยี นมากเกินเนอื้ หา นักเรยี นไมค่ อ่ ยได้ประโยน์เท่าทค่ี วร การเรยี นการสอน ไม่มีแผนการสอนเป็นรายสัปดาห์ ผู้สอนจะสอนไปเรื่อย ๆ เพื่อให้หมดเวลาเรียนไปเอง เสียดายเวลา นักเรียนควรได้รับประโยชน์มากกว่านี้ อาจจัดการเรียนการสอนสอดแทรกไปในแต่ละวิชาโดยเฉพาะ ไทย คณติ วทิ ย์ อังกฤษ 1.13 ระดบั ช้ันประถมศึกษาตอนปลาย ไมค่ วรจัดใหม้ ีการเรียนการสอนในคาบท่ี 8 1.14 ควรจดั กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้ 1.15 การจัดหลักสูตรควรให้เห็นจุดเด่นของนักเรียนที่จะได้รับเมื่อจบช่วงชั้นต่าง ๆ เชน่ ระดับประถม ระดบั มธั ยมตน้ ระดับมัธยมปลาย 2. ดา้ นปจั จยั นำเข้า 2.1 ควรพิจารณาวุฒิการศึกษาสำหรับอาจารย์ผู้สอนให้เป็นวุฒิครู หรือหากจบวุฒิ อื่นที่สอดคล้องกับสาขาที่ใช้ในการสอนก็ควรมีการเรยี นครูเพิ่ม เพราะจำเป็นต้องใช้ในการศึกษาและ การอบรมส่งั สอนนกั เรียน 2.2 ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรมีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ประสบการณด์ ้าน วิชาชีพกับสถาบันอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ โดยอาจจัดเวทีเสวนา ศึกษา ดูงาน เชิญนักวิชาการมาให้ความรู้และประสบการณ์ในโรงเรียน กระตุ้นสร้างแรงจูงใจ แรง บันดาลใจในการพัฒนาวิชาชีพให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา และสร้างจุดแข็งด้านวิชาชีพ ให้มีความโดดเด่นตามความสนใจและความถนัดของบุคลากรแต่ละคนรวมทั้งการสร้างหรือพัฒนา อาจารย์ให้จัดการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผลสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาตามวสิ ัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรยี น 2.3 หลักสูตรในระดับปฐมวัยที่เน้นด้านพหุปัญญานั้น การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ ระดับปฐมวัยมีความหลากหลายดี แต่ควรมุ่งเน้นด้านความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ควบคู่ไป กับพหุปัญญาด้วย เพราะเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับประถมศึกษา อาจจะ เน้นความสามารถด้านการอ่านเขียนในระดับอนุบาล 3 เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถเหมือนเด็ก อนุบาลจากโรงเรียนสังกดั สพฐ.ท่ีสามารถอา่ นออกเขียนได้แต่ขาดประสบการณด์ า้ นกจิ กรรมต่าง ๆ 2.4 สภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ยังไมเ่ ด่นชดั แตด่ า้ นกฬี าเห็นชดั เจน 2.5 สภาพสื่อการเรียนการสอนไม่ทันสมัย ไมค์ ลำโพงตามห้องไม่มี มีแต่สภาพไม่ พร้อมใช้ 2.6 ควรติดลำโพงและตู้เกบ็ ของในหอ้ ง 2.7 ควรปรับปรุงหอ้ งปฏิบตั กิ าร และอปุ กรณต์ า่ งๆ ในห้องเรยี นใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อม ใชง้ าน
172 2.8 มีการลาออกบ่อยของอาจารย์และการคัดเลือกอาจารย์เห็นควรมีการสอบ ข้อเขียน และประกาศรับสมคั รในวงกวา้ งหลายช่องทางจะทำให้มีผู้มาสมัครมากๆ และจะได้คัดเลือก บคุ ลากรทค่ี ุณภาพ 3. ด้านกระบวนการ 3.1 อาจารยผ์ ู้สอนสว่ นหนง่ึ เห็นว่า ควรมีการสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านวิชาชีพกับสถาบันอื่น ๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองอย่าง สม่ำเสมอ โดยอาจจัดเวทีเสวนา ศึกษาดูงาน เชิญนักวิชาการมาให้ความรู้และประสบการณ์ใน โรงเรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการพัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงทาง การศึกษา และสร้างจุดแข็งด้านวิชาชีพให้มีความโดดเด่นตามความสนใจของบุคลากรแต่ละคน รวมทั้งการพัฒนาอาจารย์ใหส้ ามารถจัดการเรียนการสอนและประเมินผลได้สอดคล้องกับทิศทางการ พฒั นาหลักสูตรและวิสยั ทัศน์ของโรงเรยี น 3.2 การบริหารจัดการหลักสูตรมีความเหมาะสม แต่ด้านการจัดการความรู้ควรเน้น การปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ฝึกการปฏิบัติ และควรมีการพิจารณานักเรียนที่อาจจะมีความ บกพร่องด้านการเรียนรู้โดยมีการสังเกต และประเมินอย่างจริงจัง และให้ความช่วยเหลือเพื่อให้ นกั เรียนและผ้สู อนได้จดั การเรยี นรู้และประเมนิ ความสามารถตามความเหมาะสม 4. ดา้ นผลผลิต 4.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีสมรรถนะสำคัญ และมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ที่ได้จากการประเมินที่เชื่อถือได้ แต่กรณีของบุคลิกภาพที่เป็นเป้าหมายของหลักสูตรยังไม่มี การประเมินซึง่ กค็ วรมกี ารประเมินทช่ี ัดเจนมากกวา่ วิธกี ารสงั เกตของอาจารย์ 4.2 คุณลกั ษณะผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 กย็ ังไมม่ ีผลการประเมินนกั เรยี นเพ่ือสะท้อน 7 C เชน่ กนั 5. ด้านผลกระทบ 5.1 ปัจจุบันมีอาจารย์ผู้สอนที่สร้างนวัตกรรมการเรียนการสอน รวมทั้งอาจารย์ที่ ได้รบั เชญิ เป็นวทิ ยากรด้านการจัดการเรยี นรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนจำนวนน้อยกวา่ 50% ซึ่ง อาจารย์ควรได้รับการพฒั นาเพื่อให้มีสมรรถนะทางวิชาชพี เพ่ิมข้ึน 5.2 ศิษย์เก่าส่วนใหญ่ประสบผลสำเร็จในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาและส่ง บตุ รหลานเขา้ มาเรยี นทโ่ี รงเรียนสาธิตเป็นรุน่ ตอ่ ไป ตารางที่ 14 ผลการศึกษาความคิดเห็นของอาจารย์ที่มีต่อหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program ประเด็นการประเมนิ หลักสูตร ระดบั ความคิดเหน็ X S.D. ความหมาย ลำดับที่ 1. ประเมนิ บรบิ ท (C: Context Evaluation) ❖ หลกั สตู ร
173 ประเด็นการประเมนิ หลกั สูตร ระดับความคิดเหน็ X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ 1.1 ปรัชญา วัตถุประสงค์ และเปา้ หมายของหลักสตู ร มคี วาม 4.18 0.66 มาก 9 สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้เรยี นและสงั คม 1.2 วตั ถุประสงค์ เปา้ หมายของหลักสูตรเหมาะสมกบั สภาพการณ์ 4.05 0.72 มาก 18 ปจั จบุ นั 1.3 วสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกิจมคี วามสอดคล้องกนั และสามารถ 4.18 0.73 มาก 11 นำไปสกู่ ารปฏิบตั ิไดจ้ รงิ 1.4 คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น สะทอ้ นอัตลักษณ์ และ 4.27 0.63 มาก 4 เอกลักษณ์ของโรงเรียน 1.5 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รียน สอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย 4.27 0.70 มาก 5 ของหลกั สูตรแตล่ ะระดบั การศกึ ษา และมาตรฐานการศึกษาที่ เนน้ ผลลพั ธท์ พี่ ึงประสงค์ 3 ด้าน (Desired Outcomes of Education : DOE Thailand) คอื ผู้เรียนรู้ ผู้ร่วม สร้างสรรค์นวตั กรรม และพลเมืองท่ีเข้มแขง็ 1.6 การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียนของผ้เู รยี น สอดคล้องกับ 4.05 0.65 มาก 17 เปา้ หมายของหลกั สูตรแต่ละระดบั การศึกษา และมาตรฐาน การศึกษาทเ่ี น้นผลลัพธ์ท่พี งึ ประสงค์ (DOE Thailand) 1.7 โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาโดยภาพรวม 3 ระดบั คือ ปฐมวยั 4.14 0.71 มาก 12 ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษา มคี วามต่อเน่ืองเช่ือมโยงกัน 1.8 โครงสรา้ งหลักสูตรระดบั ปฐมวัย มีความเหมาะสม และ 4.32 0.65 มาก 3 สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย พ.ศ.2561 1.9 โครงสรา้ งหลกั สูตรระดบั ประถมศกึ ษา ซ่ึงประกอบด้วย สาระ 4.59 0.50 มากทสี่ ดุ 1 การเรยี นรู้ 8 กลมุ่ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น มคี วาม เหมาะสม และสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2561 1.10 โครงสรา้ งหลกั สูตรระดบั มัธยมศกึ ษา ซง่ึ ประกอบด้วย สาระ 4.50 0.67 มากที่สุด 2 การเรยี นรู้ 8 กล่มุ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น มคี วาม เหมาะสม และสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษาระดับ การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2561 1.11 โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาสามารถทำให้ผูเ้ รยี นบรรลุ 4.18 0.66 มาก 9 ตามวตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของหลกั สูตรสถานศึกษาได้ 1.12 จำนวนหน่วยกติ หรอื เวลาเรยี นตลอดหลกั สตู รระดบั ปฐมวยั 4.23 0.87 มาก 8 มคี วามเหมาะสม 1.13 จำนวนหน่วยกิตหรือเวลาเรยี นตลอดหลกั สตู รระดบั 4.09 0.68 มาก 15 ประถมศึกษา มคี วามเหมาะสม 1.14 จำนวนหนว่ ยกิตหรือเวลาเรยี นตลอดหลักสตู รระดบั 4.23 0.69 มาก 6 มัธยมศึกษา มคี วามเหมาะสม 1.15 เนือ้ หาสาระของหลกั สตู รระดับปฐมวัย เหมาะสม สอดคลอ้ ง 4.09 0.68 มาก 15 กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด คำอธิบายรายวชิ า และสามารถนำไปใช้ ได้จริง
174 ประเดน็ การประเมินหลักสูตร ระดบั ความคิดเห็น 1.16 เน้ือหาสาระของหลักสตู รระดับประถมศกึ ษา เหมาะสม X S.D. ความหมาย ลำดับท่ี สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั คำอธิบายรายวิชา และ สามารถนำไปใชไ้ ดจ้ ริง 4.09 0.53 มาก 13 4.09 1.17 เนอื้ หาสาระของหลกั สูตรระดับมธั ยมศึกษา เหมาะสม 4.23 0.61 มาก 14 สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั คำอธบิ ายรายวิชา และ 4.00 สามารถนำไปใช้ได้จรงิ 0.75 มาก 7 4.20 0.62 มาก 19 1.18 คำอธบิ ายรายวิชา เหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐาน/ 4.14 ตวั ช้วี ดั 4.09 0.48 มาก 4.09 1.19 หน่วย/แผนการจดั การเรียนรู้ มีความเหมาะสม ถกู ต้อง มี 4.27 0.83 มาก 6 องคป์ ระกอบครบถว้ น และมีขั้นตอนของการจัดกจิ กรรมการ 4.50 เรยี นรตู้ ามแนวคดิ Active Learning ที่สะท้อนผลลพั ธ์ท่พี งึ 0.75 มาก 9 ประสงคข์ องการศึกษา (DOE Thailand) ในมาตรฐาน 4.32 0.68 มาก 7 การศกึ ษาของชาติ พ.ศ.2561 0.70 มาก 4 สรุปด้านหลักสูตร 4.27 0.60 มากทส่ี ุด 1 ❖ รายวิชา (พน้ื ฐานและเพม่ิ เติม) และกจิ กรรมพฒั นา 0.57 มาก 2 ผู้เรยี น 1.20 รายวชิ าและกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมี 0.55 มาก 3 สมรรถนะสำคญั 5 ด้าน (การสอื่ สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชท้ ักษะชวี ิต และการใชเ้ ทคโนโลย)ี 1.21 รายวิชาและกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมี สมรรถนะในการเป็นผเู้ รยี นรู้ 1.22 รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมี สมรรถนะในการเปน็ ผรู้ ว่ มสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม 1.23 รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมี สมรรถนะในการเปน็ พลเมืองทีเ่ ข้มแขง็ 1.24 กิจกรรมและประสบการณใ์ นระดบั ปฐมวัย (อ.1-3) ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มบี ุคลกิ ภาพ 5 ดา้ น และมคี วามสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคดิ ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) 1.25 รายวชิ าและกจิ กรรมในระดบั ประถมศกึ ษา (ป.1-3) ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรคู้ วามสามารถในการอ่าน การเขยี น และคดิ คำนวณ (3R) มบี ุคลิกภาพ 5 ด้าน และมคี วามสามารถทาง ปัญญา 8 ดา้ น ตามแนวคิดทฤษฎพี หุปญั ญา (Multiple Intelligences Theory : MI) 1.26 รายวิชาและกจิ กรรมในระดบั ประถมศึกษา (ป.4-6) ส่งเสริม ใหผ้ เู้ รียนมคี วามรคู้ วามสามารถในการอ่านออก เขียนได้ และ คิดเลขเป็น (3R) มีบคุ ลกิ ภาพ 5 ดา้ น และมคี วามสามารถ ตามคณุ ลกั ษณะผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 (7C)
175 ประเด็นการประเมินหลกั สูตร ระดบั ความคิดเห็น 1.27 รายวิชาและกจิ กรรมในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) X S.D. ความหมาย ลำดบั ท่ี ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียน มบี คุ ลิกภาพ 5 ด้าน มคี วามสามารถตาม คุณลักษณะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 (7C) และมที ักษะอาชพี 4.09 0.68 มาก 7 1.28 รายวชิ าและกจิ กรรมในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) 4.18 0.66 มาก 5 ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมีบคุ ลกิ ภาพ 5 ดา้ น มีความสามารถตาม คณุ ลกั ษณะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 (7C) และมที ักษะอาชพี 4.22 0.55 มาก สรุปด้านรายวชิ า (พ้นื ฐานและเพิ่มเติม) 4.20 0.48 มาก และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น สรุปผลการประเมนิ บรบิ ท (C: Context Evaluation) 4.18 0.96 มาก 5 4.41 0.73 มาก 2 2. ประเมนิ ปจั จยั นำเข้า (I: Input Evaluation) ❖ บคุ คล 4.64 0.58 มากท่สี ดุ 1 4.23 0.61 มาก 3 2.1 คณุ วุฒิ ความรู้ ประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการและ 4.09 0.75 มาก 6 ผลงานวิจัยดา้ นการบรหิ ารของผู้บริหารมีศักยภาพท่เี หมาะสม 4.23 0.75 มาก 4 4.05 0.72 มาก 8 2.2 คุณวฒุ ิ ความรู้ ประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการ และ 4.09 0.87 มาก 7 ผลงานวจิ ัยด้านการเรียนการสอนของอาจารย์ผสู้ อนมี 4.24 0.57 มาก ศกั ยภาพทเ่ี หมาะสม 4.05 0.65 มาก 3 2.3 อาจารย์ผู้สอนไดส้ อนในรายวชิ าท่ีตรงกบั คุณวุฒิและความ 4.00 0.93 มาก 6 เชยี่ วชาญ 3.91 4.05 0.81 มาก 9 2.4 เจา้ หนา้ ท่ี มคี วามรูค้ วามสามารถเฉพาะตำแหนง่ และได้ ทำงานตรงกับคุณวุฒิและความสามารถ 0.72 มาก 5 2.5 เจ้าหน้าที่ มีความพรอ้ มในการให้บรกิ าร สนับสนุน และ อำนวยความสะดวกเพอ่ื การบรรลเุ ปา้ หมายของงาน 2.6 ผูเ้ รียนมีพื้นฐานความรคู้ วามสามารถตรงตามระดบั ชัน้ ท่ีเรียน และสามารถศึกษาต่อในระดับที่สงู ข้ึน 2.7 ผูป้ กครองมคี วามเข้าใจ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการ สอนของโรงเรยี น 2.8 ผูป้ กครองส่งเสริมให้ผเู้ รียนไดพ้ ัฒนาศกั ยภาพเพม่ิ เตมิ จากใน ช้ันเรยี น โดยยนิ ดีใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมของทางโรงเรยี น สรปุ ด้านบคุ คล ❖ เอกสาร ส่ือ เทคโนโลยี และส่งิ สนับสนนุ ทเ่ี อ้ือตอ่ การ เรียนรู้ 2.9 หอ้ งเรียนมสี ภาพท่ีเอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 2.10 มหี นงั สอื /ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับ จำนวนผู้เรยี น 2.11 มีวสั ดุอปุ กรณ์การเรียน ส่ือ และเทคโนโลยใี นช้นั เรยี นเพื่อ ชว่ ยให้ผเู้ รียนเรยี นรูไ้ ดด้ ขี ้นึ 2.12 มสี อื่ วสั ดุ อุปกรณส์ ำหรบั การเรยี นการสอนเพียงพอต่อ จำนวนนกั เรียน
176 ประเดน็ การประเมินหลักสูตร ระดบั ความคิดเห็น 2.13 มงี บประมาณสนบั สนุนในการจัดทำส่อื การเรยี นรอู้ ยา่ ง X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ เพยี งพอ 3.95 0.84 มาก 8 2.14 มีการจัดสรรงบประมาณเพอ่ื ใชใ้ นโครงการหรอื กจิ กรรมการ 4.14 เรียนรู้ของผู้เรยี นอย่างเพยี งพอ 4.09 0.64 มาก 1 3.82 2.15 มงี บประมาณสนบั สนนุ และพฒั นาความรคู้ วามสามารถของ 3.95 0.61 มาก 2 บุคลากรอยา่ งเพียงพอ 3.82 4.05 0.73 มาก 10 2.16 มีการจดั แหล่งเรียนรสู้ อดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรยี นรูข้ อง 3.41 ผเู้ รียน 3.94 0.79 มาก 7 4.06 0.73 มาก 10 2.17 มีแหล่งการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกบั วัยของผู้เรยี น 0.65 มาก 3 2.18 มีแหลง่ เรียนรผู้ ่านระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรท์ ่ีเหมาะสม 4.23 2.19 มีการจดั สภาพแวดล้อมในโรงเรยี นทเี่ หมาะสมและเอื้อต่อ 4.36 1.10 ปานกลาง 12 4.64 การเรยี นรู้ 4.45 0.53 มาก 2.20 มกี จิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ บั ชมุ ชน และชุมชนมีสว่ นรว่ ม 4.36 4.18 0.52 มาก ในการจดั การศึกษาของโรงเรียน สรปุ ด้านเอกสาร สือ่ เทคโนโลยี 4.18 0.69 มาก 8 4.27 0.66 มาก 4 และสิง่ สนบั สนุนท่ีเอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ สรปุ ผลการประเมนิ ปัจจัยนำเขา้ (I: Input Evaluation) 0.58 มากที่สดุ 1 3. ประเมินกระบวนการ (P: Process Evaluation) ❖ การบริหารจัดการหลกั สตู ร 0.67 มาก 2 3.1 มีแผนการดำเนนิ งานด้านหลกั สตู รอยา่ งชดั เจนและเปน็ ระบบ 3.2 มีกระบวนการคดั เลอื กนกั เรียนเข้าศึกษาในโรงเรยี นอย่าง 0.66 มาก 4 เหมาะสม 3.3 มีการพจิ ารณาอาจารย์ผสู้ อนรายวิชาให้เหมาะสมกับความรู้ 0.73 มาก 10 ความสามารถและคณุ วุฒิ 3.4 มกี ารจดั ระบบอาจารย์ประจำชั้น/อาจารย์ทีป่ รกึ ษานกั เรยี น 0.59 มาก 9 อยา่ งเหมาะสม 0.83 มาก 7 3.5 มีการวางแผนการนำหลกั สตู รไปใชท้ ุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และทกุ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 3.6 โรงเรียนมกี ารเตรียมความพรอ้ มให้อาจารยผ์ ู้สอนจดั กิจกรรม การเรยี นรู้เพ่อื พฒั นาผเู้ รยี นตามเปา้ หมายของหลักสตู ร เช่น การส่งเสริมใหเ้ ข้ารับการอบรม-สมั มนาทางวชิ าการ การ ประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ าร หรือการศกึ ษาดูงานดา้ นหลักสตู ร การ เรยี นการสอน การวดั และประเมินผล 3.7 อาจารยผ์ ู้สอนมีการพฒั นาตนเองอยเู่ สมอในดา้ นหลักสูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล 3.8 อาจารยผ์ ู้สอนจดั ทำหน่วย/แผนการจดั การเรียนรทู้ กุ รายวชิ า
177 ประเดน็ การประเมนิ หลกั สูตร ระดับความคิดเหน็ 3.9 ส่งเสริมให้อาจารยผ์ ู้สอนจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อการพฒั นา X S.D. ความหมาย ลำดบั ที่ ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 เชน่ การจดั การเรยี นรตู้ ามแนวคดิ Active Learning/ STEM เป็นต้น 4.14 0.71 มาก 11 3.10 อาจารย์ผูส้ อนจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามแผนการจัดการ 4.32 0.65 มาก 6 เรียนรูไ้ ด้อย่างเหมาะสม 3.73 1.03 มาก 15 3.11 มีระบบการนิเทศ ตดิ ตาม เพ่ือให้คำแนะนำ ชว่ ยเหลือ (การ 3.77 1.02 มาก 14 พฒั นาวิชาชพี ) เกย่ี วกบั การจัดกจิ กรรมการเรียนรขู้ อง 4.41 อาจารย์ผสู้ อน 4.05 0.50 มาก 3 0.65 มาก 12 3.12 มรี ะบบการสะท้อนผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรขู้ องอาจารย์ 3.82 ผสู้ อนอย่างต่อเนื่องเพอื่ ใหก้ ารสนบั สนุนและช่วยเหลือ 4.19 1.05 มาก 13 3.13 อาจารย์ผ้สู อนเป็นตน้ แบบทดี่ ีแกผ่ ้เู รียน 4.23 0.50 มาก 3.14 มีระบบ/รูปแบบ/กระบวนการ การประกันคณุ ภาพ 4.09 4.23 0.53 มาก 8 การศึกษาดา้ นหลักสูตรทีช่ ัดเจน สามารถนำมาปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ 4.23 0.87 มาก 12 และนำผลมาปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสตู รทกุ ระดับการศกึ ษา 4.45 3.15 โรงเรียนและชมุ ชนมกี ารจดั กจิ กรรมรว่ มกนั เพื่อพฒั นา 4.32 0.75 มาก 10 คณุ ภาพผู้เรียนอยา่ งต่อเนอื่ ง 4.41 4.36 0.69 มาก 9 สรุปดา้ นการบริหารจดั การหลกั สูตร 4.36 ❖ กระบวนการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล 4.27 0.67 มาก 1 3.16 จัดการเรยี นรโู้ ดยใช้รปู แบบ วิธกี ารที่หลากหลาย 4.23 0.72 มาก 6 3.17 จัดการเรยี นรโู้ ดยคำนึงถงึ ความสามารถของผเู้ รยี นเป็น 4.32 0.67 มาก 2 รายบคุ คล 0.66 มาก 3 3.18 มกี ิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นได้คิดวิเคราะห์และลงมอื 0.73 มาก 4 ปฏบิ ัติจรงิ 3.19 จดั การเรียนรูโ้ ดยกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นกระตือรือรน้ ในการ 0.70 มาก 7 แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง 0.75 มาก 10 3.20 จดั การเรียนรโู้ ดยสอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรม 0.65 มาก 5 3.21 เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 3.22 มีการบอกวิธกี ารวัดและประเมินผลแตล่ ะคร้ังใหผ้ ้เู รียนทราบ ล่วงหนา้ 3.23 มกี ารวัดและประเมนิ ผลอย่างต่อเนอ่ื งควบคู่ไปกบั การเรยี น การสอน 3.24 วัดผลและประเมนิ ครอบคลมุ การเรยี นรทู้ ั้งด้านความรู้ เจตคติ และการปฏบิ ตั ิ 3.25 ใชว้ ิธีการและเคร่อื งมือในการวัดและประเมนิ ผลท่ี หลากหลาย 3.26 เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการวดั และประเมินผล 3.27 มกี ารนำผลการประเมินมาพฒั นาการเรยี นการสอนและ สะทอ้ นผลให้ผ้เู รยี นได้พฒั นาตนเองเต็มศกั ยภาพ
178 ประเดน็ การประเมินหลกั สูตร ระดับความคดิ เหน็ สรปุ ด้านกระบวนการจัดการเรยี นรู้ X S.D. ความหมาย ลำดับท่ี การวดั และประเมนิ ผล 4.29 0.59 มาก สรปุ ผลการประเมนิ กระบวนการ (P: Process Evaluation) 4. ประเมินผลผลติ (P: Product Evaluation) 4.24 0.51 มาก 4.1 ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ของ 4.23 0.53 มาก 1 หลกั สตู ร 4.2 ผู้เรยี นมสี มรรถนะสำคญั บรรลุตามวตั ถุประสงคห์ ลกั สตู ร 4.05 0.58 มาก 10 4.3 ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ 4.14 0.56 มาก 3 หลักสตู ร 4.09 0.61 มาก 6 4.4 ผู้เรียนมีบคุ ลกิ ภาพทด่ี ี 5 ด้าน ตามเปา้ หมายของหลกั สตู ร 4.05 0.58 มาก 10 4.5 ผเู้ รียนมีความรู้ความสามารถในการอ่าน การเขยี น และคดิ 4.09 0.61 มาก 6 คำนวณ (3R) ตามเป้าหมายของหลักสตู ร 4.6 ผู้เรียนมคี วามสามารถทางปัญญา 8 ดา้ น ตามเปา้ หมายของ 4.09 0.75 มาก 9 หลกั สตู ร 4.14 0.71 มาก 5 4.7 ผู้เรยี นมีความสามารถตามคณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นในศตวรรษ 4.05 0.65 มาก 12 ท่ี 21 (7C) ตามเป้าหมายของหลกั สูตร 4.09 0.61 มาก 6 4.8 ผเู้ รียนมคี วามมงุ่ ม่ันในการเรียน การทำงาน และกลา้ 4.14 0.64 มาก 4 แสดงออกในทางท่ีถกู ตอ้ งเหมาะสม 4.23 0.61 มาก 2 4.9 ผู้เรยี นมกี ระบวนการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ 4.10 ผ้เู รยี นมสี มรรถนะในการสรา้ งสรรค์ชิน้ งาน 4.11 0.52 มาก 4.11 อาจารยผ์ สู้ อนมสี มรรถนะในการจัดการเรยี นร้เู พือ่ พัฒนา 4.18 0.80 มาก 4 ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 4.27 0.70 มาก 3 4.12 ผ้บู ริหารมสี มรรถนะในการบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร โดยการ 0.58 มาก 2 4.36 0.90 มาก 6 นำหลักสูตรสชู่ ัน้ เรยี นเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพอาจารยผ์ ้สู อน 0.98 มาก 7 และผู้เรียน 4.05 1.02 มาก 5 สรปุ ผลการประเมนิ ผลผลิต (P: Product Evaluation) 5. ประเมินผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 4.00 5.1 ผู้เรียนมคี วามรสู้ กึ รักและภาคภูมิใจตอ่ สถาบนั 5.2 ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความสามารถเปน็ ทย่ี อมรับของชุมชน สังคม 4.09 ท้งั ภายในและภายนอกสถาบนั 5.3 ผู้ท่ีจบการศกึ ษาจากโรงเรยี นเปน็ ท่ียอมรบั ของ สถาบันการศกึ ษาทงั้ ในและตา่ งประเทศ 5.4 อาจารย์ผสู้ อนสร้างนวตั กรรมการเรยี นการสอนผา่ น กระบวนการวิจัยอยา่ งต่อเน่ือง 5.5 อาจารย์ผู้สอนมกี ารเผยแพรผ่ ลงานวิชาการ งานวิจัยอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง 5.6 อาจารย์ผ้สู อนไดร้ ับเชญิ เป็นวทิ ยากรเพือ่ ชว่ ยพฒั นาการ จัดการเรียนร้ใู ห้แก่บุคลากรทงั้ ภายในและภายนอกสถาบัน
179 ประเดน็ การประเมนิ หลักสูตร ระดับความคดิ เห็น X S.D. ความหมาย ลำดับท่ี 5.7 โรงเรียนเป็นท่ียอมรบั ของผูป้ กครอง ชุมชน และสงั คม 4.50 0.67 มากท่ีสดุ 1 สรุปผลการประเมินผลกระทบ (I: Impact Evaluation) 4.21 0.67 มาก สรปุ ผลการประเมนิ หลกั สูตรของโรงเรยี นในภาพรวม 4.17 0.43 มาก จากตารางที่ 14 ผลการประเมินหลักสูตรของโรงเรียนในภาพรวมตามความคิดเห็นของ อาจารย์ที่มีต่อหลักสตู รโรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) หลักสูตร English Program พบว่า อาจารย์มคี วามคิดเหน็ ต่อหลักสูตรในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก ( X =4.17, S.D.=0.43) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ พบว่า อาจารย์มีความคิดเห็นต่อหลักสูตร อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นจากมากไปน้อย คือ ด้านกระบวนการ ด้านผลกระทบ ด้านบริบท ด้านผลผลิต และด้านปัจจัยนำเข้า ( X =4.24, S.D.=0.51, X =4.21, S.D.=0.67, X =4.20, S.D.=0.48, X =4.11, S.D.=0.52 และ X =4.06, S.D.=0.52 ตามลำดบั ) และ เม่อื พจิ ารณาเป็นรายประเดน็ ของแตล่ ะดา้ น มีข้อคน้ พบผลการประเมนิ หลกั สูตร 5 ดา้ นดงั น้ี 1. ด้านบริบท มี 2 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร และองค์ประกอบด้าน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พบว่า อาจารย์มีความคิดเห็นต่อทั้ง 2 องค์ประกอบอยู่ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลย่ี ของระดับความคดิ เหน็ มากทสี่ ุด คือ องคป์ ระกอบด้านรายวิชาและกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านหลักสูตร ( X =4.22, S.D.=0.55 และ X =4.20, S.D.=0.48 ตามลำดบั ) และพบวา่ องคป์ ระกอบด้านหลักสตู ร มีประเดน็ ยอ่ ย 19 ประเดน็ อาจารยม์ คี วามคิดเห็น อยู่ในระดับมากที่สุด 2 ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ 1.9) โครงสร้างหลกั สูตรระดับประถมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน มีความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ.2561 และ1.10) โครงสร้างหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา ซึ่งประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พ.ศ.2561 ( X =4.59, S.D.=0.50 และ X =4.50, S.D.=0.67 ตามลำดับ) ส่วนประเด็นที่มี คา่ เฉล่ยี ของระดับความคิดเหน็ น้อยท่สี ุด ซ่ึงอาจารย์มีความคิดเหน็ อยูใ่ นระดับมาก คือ 1.19) หน่วย/ แผนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสม ถูกต้อง มีองค์ประกอบครบถ้วน และมีขั้นตอนของการจัด กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามแนวคดิ Active Learning ทีส่ ะท้อนผลลพั ธท์ ีพ่ ึงประสงค์ของการศึกษา (DOE Thailand) ในมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 ( X =4.00, S.D.=0.62) สว่ นองคป์ ระกอบด้าน รายวิชาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีประเด็นย่อย 9 ประเด็น โดยอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากที่สุดในประเด็น 1.24) กิจกรรมและประสบการณ์ในระดับปฐมวัย (อ.1-3) ส่งเสริมให้เด็กมี บุคลิกภาพ 5 ด้าน และมีความสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences Theory : MI) ( X =4.50, S.D.=0.60) ประเด็นรองลงมาและน้อยที่สุด อาจารย์มี ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 1.25) รายวิชาและกิจกรรมในระดับประถมศึกษา (ป.1-3) ส่งเสริม ให้ผู้เรียนมคี วามรู้ความสามารถในการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ (3R) มีบุคลิกภาพ 5 ด้าน และ
180 มีความสามารถทางปัญญา 8 ด้าน ตามแนวคดิ ทฤษฎีพหุปญั ญา (Multiple Intelligences Theory : MI) และ1.21) รายวชิ าและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมสี มรรถนะในการเป็นผู้เรยี นรู้ ( X =4.32, S.D.=0.57 และ X =4.09, S.D.=0.75) 2. ด้านปจั จัยนำเขา้ มี 2 องคป์ ระกอบ คอื องคป์ ระกอบดา้ นบุคคล และองค์ประกอบด้าน เอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ พบว่า ทั้ง 2 องค์ประกอบ อาจารย์มี ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ องค์ประกอบด้าน บุคคล รองลงมาคือ องค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ( X =4.24, S.D.=0.57 และ X =3.94, S.D.=0.53 ตามลำดับ) และพบว่า องค์ประกอบด้านบุคคล มี ประเด็นย่อย 8 ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด ซึ่งอาจารย์มีความ คิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุดคือ 2.3) อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาที่ตรงกับคุณวุฒิและความ เชี่ยวชาญ ( X =4.64, S.D.=0.58) ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นรองลงมาและนอ้ ย ที่สุด โดยอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 2.2) คุณวุฒิ ความรู้ ประสบการณ์ ผลงานทาง วิชาการ และผลงานวิจัยด้านการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอนมีศักยภาพที่เหมาะสม และ2.7) ผู้ปกครองมีความเข้าใจ และสนบั สนนุ กิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียน ( X =4.41, S.D.=0.73 และ X =4.05, S.D.=0.72 ตามลำดับ) สำหรับองค์ประกอบด้านเอกสาร สื่อ เทคโนโลยี และสิ่ง สนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีประเด็นย่อย 12 ประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความ คิดเห็นมากที่สุดและรองลงมา ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 2.14) มีการจัดสรร งบประมาณเพื่อใช้ในโครงการหรือกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเพียงพอ และ2.15) มี งบประมาณสนับสนุน และพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรอย่างเพียงพอ ( X =4.14, S.D.=0.64 และ X =4.09, S.D.=0.61 ตามลำดับ) และประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น น้อยที่สุด ซึ่งอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 2.20) มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ชมุ ชน และชุมชนมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษาของโรงเรียน ( X =3.41, S.D.=1.10) 3. ด้านกระบวนการ มี 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการหลักสูตร และองค์ประกอบด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล พบว่า ทั้ง 2 องค์ประกอบ อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ องค์ประกอบด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล รองลงมา คือ องค์ประกอบด้าน การบริหารจัดการหลักสูตร ( X =4.29, S.D.=0.59 และ X =4.19, S.D.=0.50 ตามลำดับ) และพบวา่ องคป์ ระกอบด้านการบริหารจดั การหลักสูตร มปี ระเดน็ ย่อย 15 ประเดน็ และอาจารย์มีความคิดเห็น อยใู่ นระดับมากท่สี ดุ 1 ประเด็น คอื 3.3) มีการพิจารณาอาจารยผ์ ้สู อนรายวิชาใหเ้ หมาะสมกับความรู้ ความสามารถและคุณวุฒิ ( X =4.64, S.D.=0.58) ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น รองลงมาและน้อยที่สุด ซึ่งพบว่าอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 3.4) มีการจัดระบบ อาจารย์ประจำชั้น/อาจารย์ที่ปรึกษานักเรียนอย่างเหมาะสม และ3.11) มีระบบการนิเทศ ติดตาม เพอ่ื ให้คำแนะนำ ชว่ ยเหลือ (การพัฒนาวชิ าชีพ) เกย่ี วกบั การจัดกจิ กรรมการเรียนรูข้ องอาจารย์ผู้สอน ( X =4.45, S.D.=0.67 และ X =3.73, S.D.=1.03 ตามลำดับ) สำหรับองค์ประกอบด้านกระบวนการ จัดการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล มปี ระเดน็ ย่อย 12 ประเดน็ พบว่า อาจารยม์ ีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับมากทุกประเด็น โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นมากที่สุด รองลงมา และน้อย
181 ที่สุด คือ 3.20) จัดการเรียนรู้โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม 3.22) มีการบอกวิธีการวัดและ ประเมินผลแต่ละครัง้ ให้ผู้เรียนทราบล่วงหน้า และ3.17) จัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความสามารถของ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ( X =4.45, S.D.=0.67, X =4.41, S.D.=0.67, X =4.09, S.D.=0.87 ตามลำดับ) 4. ด้านผลผลิต มีประเด็นย่อย 12 ประเด็น พบว่า อาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ทกุ ประเด็น โดยประเดน็ ที่มีคา่ เฉลี่ยของระดบั ความคิดเหน็ มากท่สี ุด รองลงมา และน้อยท่ีสุดคือ 4.1) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 4.12) ผู้บริหารมีสมรรถนะใน การบริหารจัดการหลักสูตร โดยการนำหลักสูตรสู่ชั้นเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพอาจารย์ผู้สอนและ ผู้เรียน และ4.9) ผู้เรียนมีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ( X =4.23, S.D.=0.53, X =4.23, S.D.=0.61 และ X =4.05, S.D.=0.65 ตามลำดับ) 5. ด้านผลกระทบ มีประเด็นย่อย 7 ประเด็น พบว่า ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับความ คิดเห็นมากที่สุด ซึ่งอาจารย์มีความคิดเหน็ อยู่ในระดับมากท่ีสุดมี 1 ประเด็น คือ 5.7) โรงเรียนเปน็ ท่ี ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน และสังคม ( X =4.50, S.D.=0.67) ส่วนประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยของระดับ ความคิดเห็นรองลงมาและน้อยที่สุด ซึ่งอาจารย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ 5.3) ผู้ที่จบ การศึกษาจากโรงเรียนเป็นที่ยอมรับของสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ และ5.5) อาจารย์ ผู้สอนมีการเผยแพร่ผลงานวิชาการ งานวิจัยอย่างต่อเนื่อง ( X =4.36, S.D.=0.58, X =4.00, S.D.=0.98 ตามลำดับ) นอกจากนี้ อาจารย์ผู้สอนนักเรียนหลักสูตร English Program ได้ให้ข้อเสนอแนะ เพมิ่ เตมิ ในองค์ประกอบของการประเมนิ หลักสูตร 5 ด้าน มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. Context 1.1 Provide learners a venue for inclusive and collaborative learning where they (learners) can showcase their potentials and be able to think outside the box. 1.2 The context has a very strong objectives in regards to the (Learners) individuals. 1.3 Making a more inclusive learning institution requires the restatement of the selection process in assigning learners to academic level by age only. Some learners are advanced. 2. Input 2.1 To produce a much better learning environment, the school “MUST” have a strict implementing “Policy” with regards to the use “Mobile Phones”. Mobile phones are useful BUT in most cases they are very disruptive to students especially during the teaching and learning situation. 2.2 Innovating enough to support both instructors & Learners.
182 2.3 The availability of learning materials and resources is more than appropriate but the challenge is on the management of these resources to make if more accessible. 3. Process 3.1 Harbor a more inclusive network of educators by allowing maternal and resources to be more accessible. 3 . 2 Support teachers’ innovative ideas and give then where they can showcase their innovations and evaluate the output. 3 . 3 To produce a much better learning environment, the school “MUST” have a strict implement policy with rebounds to the use of Mobile phones. Mobile phones are useful but in most cases they are very disruptive to student especially diving the teaching and vitiation. 3.4 Require and train teachers to facilitate at least one class in blended learning mode. Teachers’ knowledge in LMS can come in handy as an existing structure of the school’s contingence plan. (blended-learning classroom through computer- assisted learning/internet assisted learning using LMS) 4. Product EP will be a training ground or home to learners of the 21st century. They are critical thinkers, creative and knows how to collaborate with others to arrive very satisfactorily at a given goal and also very capable of communicating their know league and skills using traditional and contemporary media. 5. Impact 5.1 Support teachers’ innovative approach and encourage teachers to be more innovative in dealing with their teaching and instructions to develop more productive individuals. 5.2 Support teachers’ innovative ideas and give them a venue where they can showcase their innovations and evaluate the output. 5.3 Support and encourage foreign employees to participate and contribute in instructional innovation through academic research. ในการประเมินหลักสูตรด้านบริบท (C : Context) ผู้วิจัยได้กำหนดให้มีการตรวจสอบ องค์ประกอบและคุณภาพหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยคณะกรรมการฝ่ายวิชาการของโรงเรยี น มีผลการ วเิ คราะห์ข้อมูลดงั ตารางที่ 15
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430