Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อุปทานของการผลิตกวางเชิงพาณิชย์และผลกระทบ (เอกรัฐ ชะอุ่มเอียด, 2562)

การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อุปทานของการผลิตกวางเชิงพาณิชย์และผลกระทบ (เอกรัฐ ชะอุ่มเอียด, 2562)

Published by RMUTL Knowledge Book Store, 2021-11-01 04:50:47

Description: การทำฟาร์มกวางกวางรูซ่าเชิงพาณิชย์ มีความเสี่ยงในการลงทุนทำฟาร์มอยู่ในระดับต่ำ และมีผลตอบแทนคุ้มค่าในการลงทุน สามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง ตั้งแต่ฟาร์มเลี้ยง และต่อยอดไปสู่ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ได้แก่ รีสอร์ต ร้านอาหาร ร้านกาแฟ และร้านขายสินค้าที่ระลึก

ดังนั้น เมื่อต้องการการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต หรือหาวิธีการลดต้นทุนในการผลิตต่อหน่วยลงให้ได้มากสุด เพื่อเพิ่มผลกำไรของฟาร์มให้มากยิ่งขึ้น นักวิจัยจึงดำเนินการในการพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อุปทานของการผลิตกวางเชิงพาณิชย์และผลกระทบ โดยมีภักดีฟาร์มร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก โดยมีวิธีการดำเนินการดังนี้

ศึกษาถึงโซ่อุปทานของอาหารและกระบวนการผลิตอาหารอาหารกวางเชิงพาณิชย์
พัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารกวาง (ทั้งหญ้าแห้ง และอาหารกวางผสมเสร็จ (Total Mixed Ration: TMR)
พัฒนาโปรแกรมและเครื่องให้อาหารกวางอัตโนมัติ
พัฒนาสื่อการเรียนรู้สำหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตอาหารกวางเชิงพาณิชย์แล้ว
ศึกษาผลกระทบของธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ต่อผู้ประกอบการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

Keywords: โซ่อุปทาน, กวาง, อาหารกวาง, การผลิตกวางเชิงพาณิชย์, supply chain, deer, deer feedstuff, commercial deer farming, การผลิตอาหารแห้ง, กระบวนการทางด้านวิศวกรรม, commercial deer farming business, produce dried feedstuff, engineering process, กวางรูซ่า, เครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์, หญ้าแพงโกล่า, อาหารผสมเสร็จ, Ruza deer, pelleting machine, Digitaria eriantha, total mixed ration (TMR), การพัฒนาระบบ, การจัดการงานฟาร์ม, การประชาสัมพันธ์, System Development, Farm Management, Public Relations, สื่อการเรียนรู้, แอนิเมชัน 3 มิติ, Instructional, Media 3D Animation, ธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์, ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย, Commercial Deer Farming, Stakeholder

Search

Read the Text Version

82 เอกสำรและงำนวิจัยที่เก่ยี วขอ้ งโครงกำรย่อยที่ 4 แนวคิดทฤษฎี หากสามารถควบคมุ การให้อาหารกวางให้เป็นตามปริมาณทแี่ นะนาได้ นอกจากจะส่งผลการ ต่อการเจรญิ เติบโตของกวางแลว้ ยงั ส่งผลทางอ้ออมในส่วนของของคา่ ใช้จ่ายท่ีสิ้นเปลืองไปกบั อาหาร ทกี่ วางได้รับมากเกินไป ดงั นั้นหากนาโปรแกรมควบคมุ การให้อาหารกวางอัตโนมัติมาใช้เพื่อควบคุม การให้อาหารกวางน่าจะเป็นแนวทางหน่ึงท่ีจะช่วยควบคุมการผลิตกวางในส่วนของการเลี้ยงให้มี ความสมดุล และยังมีส่วนในเรื่องของการบริหารจัดการให้สะดวกข้ึน ลดต้นทุนในส่วนท่ีต้องเป็น ค่าใช้จ่ายในเรื่องของต้นทุนแรงงาน คณะผู้วิจัยจึงได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎีในการพัฒนาแบ่งออกเป็น ดงั น้ี 2.1 การออกแบบและทดลองเครอื่ งจกั ร 2.2 ศึกษาขอ้ มลู เกย่ี วกับมอเตอร์ 2.3 ศกึ ษาขอ้ มลู เกยี่ วกับเพลา 2.4 ระบบลาเลยี ง 2.5 การพัฒนาโปรแกรม 2.6 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง 2.1 กำรออกแบบและทดลองเคร่ืองจกั ร การออกแบบ หมายถึง การรู้จักวางแผนจัดต้ังข้ันตอน และรู้จักเลือกใช้วัสดุวิธีการเพ่ือทา ตามท่ตี ้องการน้นั โดยให้สอดคล้องกับลักษณะรูปแบบและคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิดตามความคิด สรา้ งสรรค์ และการสร้างสรรคส์ ่ิงใหมข่ ึน้ มา เช่น เราจะทาเกา้ อน้ี ั่งซกั ตวั จะต้องวางแผนไวเ้ ปน็ ขน้ั ตอน โดยต้องเริ่มเลือกวัสดุที่จะใช้ทาเก้าอ้ีนั้นจะใช้วัสดุอะไรท่ีเหมาะสม วิธีการต่อยึดน้ันควรใช้กาว ตะปู นอต หรอื ใช้ขอ้ ต่อแบบใด คานวณสดั สว่ นการใช้งานให้เหมาะสม ความแข็งแรงของเก้าอน้ี ั่งมากน้อย เพียงใด สสี ันควรใชส้ อี ะไรจึงจะสวยงาม และทนทานกับการใช้งาน เปน็ ตน้ การออกแบบ หมายถึง การปรับปรุงแบบ ผลงานหรือสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่แล้วให้เหมาะสมมี ความแปลกใหมข่ ้ึน เช่น เกา้ อ้ีเราทาขนึ้ มาใชซ้ ึง่ เมื่อใชไ้ ปนานๆก็เกิดความเบอ่ื หนา่ ยในรปู ทรง เราจะ สามารถจดั การปรับปรุงให้เป็น รูปแบบใหม่ให้สวยกวา่ เดิม ท้งั ความเหมาะสม ความสะดวกสบายใน การใช้งานยังคงเหมือนเดิม หรือดกี วา่ เดมิ การออกแบบ หมายถึง การรวบรวมหรือการจัดองค์ประกอบท้ังทเ่ี ปน็ 2 มติ ิ และ 3 มติ ิ เข้า ด้วยกันอย่างมีหลักเกณฑ์ การนาองคป์ ระกอบของการออกแบบมาจัดรวมกันน้ัน ผู้ออกแบบจะต้อง

83 คานึงถงึ ประโยชน์ใชส้ อยและความสวยงาม อนั เปน็ คุณลกั ษณะสาคัญของการออกแบบ เป็นศิลปของ มนษุ ย์เนอ่ื งจากเปน็ การสร้างค่านยิ มทางความงาม และสนองคุณประโยชน์ทางกายภาพให้แกม่ นษุ ย์ การออกแบบ หมายถงึ กระบวนการทส่ี นองความตอ้ งการในสิ่งใหม่ ๆ ของมนษุ ยซ์ ึง่ ส่วนใหญ่ เพือ่ ให้ชีวิต อยู่รอด และมคี วามสะดวกสบายมากข้นึ กระบวนกำรออกแบบเชงิ วิศวกรรม (ENGINEERING DESIGN PROCESS) กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นข้ันตอนที่นามาใช้ในดาเนินการเพ่ือแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการ ซึ่งกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมน้ีจะเร่ิมจากการระบุปัญหาท่ีพบแล้ว กาหนดเป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข จากนั้นจึงทาการค้นหาแนวคดิ ท่เี กี่ยวข้องและทาการวิเคราะห์เพื่อ เลือกวิธีการที่เหมาะสมสาหรับการแก้ไข เมื่อได้วิธีการท่ีเหมาะสมแล้วจึงทาการวางแผนและพัฒนา สิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ เม่ือสร้างช้ินงานหรือวิธีการเรียบร้อยแล้วจึงนาไปทดสอบ หากมี ขอ้ บกพร่องก็ใหท้ าการปรบั ปรุงแก้ไขเพ่ือใหส้ ง่ิ ของเครื่องใช้หรือวธิ ีการน้นั สามารถใช้แก้ไขปัญหาหรือ สนองความต้องการได้ ส่วนในตอนสดุ ท้ายจะดาเนินการประเมินผลว่าสิ่งของเครื่องใช้หรือวธิ ีการน้ัน จะสามารถใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้ตามที่กาหนดไว้หรือไม่ ดังนั้น กระบวนการ ออกแบบเชิงวศิ วกรรมจึงประกอบด้วย 6 ขน้ั ตอน ดงั น้ี ข้ันท่ี 1 ระบุปัญหำ (Problem Identification) เป็นข้ันตอนที่ผู้แก้ปัญหาทาความเข้าใจ ในส่ิงท่ีเป็นปัญหาในชีวิตประจาวนั ที่พบเจอ ซึ่งสามารถใช้ทกั ษะการตั้งคาถามด้วยหลัก 5W 1H เมื่อ เกิดสถานการณ์ปัญหาหรือความต้องการ ซึ่งคาถามจากหลัก 5W1H ประกอบด้วย Who What When Where Why How ขั้นท่ี 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับปัญหำ ( Related Information Search) ในขนั้ ตอนน้ีจะเป็นการรวบรวมขอ้ มูลทเ่ี ก่ียวข้องกับปัญหาหรอื ความต้องการ และแนวทาง การแกป้ ัญหาหรือสนองความตอ้ งการตามที่กาหนดไว้ในข้ันที่ 1 เพอื่ หาวิธกี ารที่หลากหลายสาหรบั ใช้ ในการแก้ปัญหาหรอื สนองความต้องการ โดยการค้นหาและรวบรวมข้อมูลจากแหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ เช่น สอบถามจากผู้รู้ สืบค้นหรือสารวจจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ซ่ึงการค้นหาแนวคิดท่ีเกีย่ วขอ้ งกับ ปัญหานี้จะเป็นการศึกษาองค์รู้จากท้ังวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ รวมท้ังศาสตร์อื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง จากนน้ั นาข้อมูลทรี่ วบรวมได้มาวิเคราะหแ์ ละสรุปเปน็ สารสนเทศและวธิ กี ารแก้ปัญหาหรอื สนองความ ตอ้ งการ โดยวิธีการแก้ปัญหาหรอื สนองความต้องการอาจมีได้มากกว่า 1 วิธี จากน้ันจึงพิจารณาและ เลือกวิธกี ารแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการท่ีเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับปญั หาหรือความต้องการ ในประเด็นต่าง ๆ เชน่ ข้อดี ข้อเสีย ความสอดคลอ้ งและการนาไปใช้ได้จริงของวิธีการแต่ละวิธี ดังนั้น วิธีการท่ีจะถูกพิจารณาคัดเลือกจะอยู่ภายใต้กรอบของปัญหาหรือความต้องการมาเป็นข้อมูล ประกอบการตดั สินใจเลือก

84 ข้ันท่ี 3 ออกแบบวิธีกำรแก้ปัญหำ (Solution Design) เป็นขั้นตอนของการออกแบบ ชน้ิ งานหรือวธิ ีการโดยการประยกุ ต์ใชข้ ้อมูลที่ได้จากการรวบรวมในขั้นท่ี 2 ซ่งึ ขั้นตอนนี้จะชว่ ยสอ่ื สาร แนวคิดของการแก้ปญั หาให้ผู้อื่นเขา้ ใจโดยผ่านวิธกี ารตา่ งๆ เช่น การร่างภาพ การอธิบาย เปน็ ต้น ข้ันที่ 4 วำงแผนและดำเนินกำรแก้ปัญหำ (Planning and Development) เป็นขั้นตอน ของการวางลาดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรือวิธีการ จากน้ันจึงลงมือสร้างหรือพัฒนาช้ินงาน หรอื วธิ กี าร เพือ่ ที่จะนาผลลพั ธ์ทีไ่ ดไ้ ปใชใ้ นการขนั้ ตอนตอ่ ไป ข้ันท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีกำรแก้ปัญหำหรือชิ้นงำน (Testing, Evaluation and Design Improvement) เป็นขั้นตอนของการตรวจสอบและประเมินชิ้นงาน วิธีการที่สร้างขึ้นว่า สามารถทางานหรือใช้ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้หรือไม่ มี ข้อบกพร่องอย่างไร และควรปรับปรุงแก้ไขช้ินงานหรือแบบจาลองวิธีการใน ส่วนใด ควรปรับปรุง แก้ไขอย่างไร แล้วจงึ ดาเนินการปรับปรุงแกไ้ ขในสว่ นนน้ั จนได้ชิ้นงานวิธีการทสี่ อดคลอ้ งตามรปู แบบท่ี ออกแบบไว้ ข้ันที่ 6 นำเสนอวิธีกำรแก้ปัญหำ ผลกำรแก้ปัญหำหรือชิ้นงำน (Presentation) เป็น ขนั้ ตอนของการคิดวธิ ีการนาเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับชิ้นงานหรือวิธีการท่ีสร้างขึ้นมาเพ่ือแก้ปัญหา หรอื สนองความต้องการ โดยท่ัวไปการออกแบบจะมหี ลายแนวทาง ดังนน้ั ขั้นตอนการตัดสนิ ใจในการออกแบบสาหรับ งานแตล่ ะงานวิศวกรนกั ออกแบบแตล่ ะคนจงึ แตกต่างกันไปตามลกั ษณะของงาน สภาพแวดลอ้ ม และ ทรัพยากรท่ีสามารถนามาใช้ได้ประกอบกับความชอบ พ้ืนความรู้ และประสบการณ์ของผู้ออกแบบ และที่สาคัญอย่างย่ิงกค็ ือตอ้ งสนองความต้องการเพื่อให้ได้ผลงานท่ีดีและสนองตามความต้องการของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย การตัดสินใจในการออกแบบจาเป็นต้องใช้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องเป็นพ้ืนฐาน กระบวนการสบื หาข้อมูลและการใชข้ ้อมูลเพื่อการวิเคราะห์และตดั สินใจในการออกแบบอย่างจรงิ จัง กระบวนการการตัดสินใจในการออกแบบตอ้ งมีการทบทวนอย่างเป็นข้ันเป็นตอนเพ่ือปรับปรุงแบบที่ ออกให้เหมาะสมที่สุด การทบทวนอาจจะเกิดเมื่อการออกแบบสินสุดหรือการผลิตเริ่มข้ึนหรือเมื่อ ดาเนินการผลติ แลว้ แต่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง จากทีก่ ลา่ วมาข้างต้นสามารถนามาสร้างเครื่องให้ อาหารอัตโนมตั จิ ะเป็นระบบทใ่ี ช้มอเตอรใ์ นการควบคมุ การจา่ ยอาหาร ระบบนี้อาหารจะไหลผา่ นสูต่ ัว จา่ ยอาหาร ซ่งึ จะมมี อเตอรท์ าหนา้ ที่ในการควบคุมการจา่ ยอาหารและมีระบบเบรกในการควบคมุ การ หยุดของตัวจ่ายอาหารเพ่ือให้สามารถควบคุมอาหารให้ออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปริมาณที่ ปลอ่ ยออกมาคานวณปรมิ าณนา้ หนกั ของอาหารทส่ี งั่ จา่ ย

85 2.2 ศกึ ษำข้อมูลเก่ยี วกับมอเตอร์ มอเตอร์ไฟฟำ้ มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้กันแพร่หลายในโรงงานต่าง ๆ เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ควบคุม เครื่องจักรกล ในงานอุตสาหกรรมมีมอเตอร์หลายชนิดหลายแบบ จึงต้องเลือกใช้มอเตอร์ให้มีความ เหมาะสมกับงานเพือ่ ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ มอเตอร์ไฟฟ้า (Motor) หมายถึง เคร่ืองกลไฟฟ้าชนิดหน่ึงที่เปล่ียนแปลงพลังงานไฟฟ้ามา เปน็ พลงั งานกล มีทัง้ แบบพลงั งานไฟฟา้ กระแสสลับและพลงั งานไฟฟ้ากระแสตรง มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ (Alternating Current Motor) แบ่งออกเปน็ 3 ชนดิ ได้แก่ 1. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 1 เฟส 2. มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับชนิด 2 เฟส 3. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 3 เฟส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นต้นกาลังขับเคลื่อนที่สาคัญเพราะมีคุณสมบัติในด้านการปรับ ความเรว็ ได้ตงั้ แต่ความเร็วตา่ สดุ จนถึงสงู สุดนิยมใช้กันมาในโรงงานอุตสาหกรรม หลกั การทางานของ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Motor Action) เมื่อเป็นแรงดันกระแสไฟฟ้าตรงเข้าไปในมอเตอร์ ส่วน หนึ่งจะแปลงถ่านผ่านคอมมิวเตเตอร์เข้าไปในขดลวดอาร์มาเจอร์สร้างสนามแม่เหล็ก ข้ึนและ กระแสไฟฟ้าอีกส่วนหน่ึงจะไหลเข้าไปในขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field coil) สร้างขั้วเหนือ-ใต้ข้ึนจะ เกดิ สนามแม่เหลก็ 2 สนาม ในขณะเดยี วกันตามคณุ สมบตั ิของเส้นแรงแม่เหลก็ จะไมต่ ัดกันทิศทางตรง ขา้ มจะหักล้างกันและทิศทางเดียวจะเสริมแรงกันทาให้เกิดแรงบิดในตัวอารม์ าเจอร์ซ่ึงวางแกนเพลา และแกนเพลาน้ีสวมอยู่กับตลับลูกปืนของมอเตอร์ทาใหอ้ าร์มาเจอร์นี้หมุนได้ขณะที่ตัวอาร์มาเจอร์ทา หนา้ ท่หี มุนได้นี้เรยี กว่า โรเตอร์ (Rotor) ซึง่ หมายความว่าตวั หมุนการท่ีอานาจเส้นแรงแม่เหล็กท้ังสอง มีปฏิกิริยาต่อกันทาให้ขดลวอาร์มาเจอร์หรือโรเตอร์หมุน ไปน้ันเป็นไปตามกฎซ้ายของเฟลมมิ่ง (Fleming left had rule) มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง แบ่งออกเปน็ 3 ชนิด ไดแ้ ก่ 1. มอเตอร์แบบอนุกรรม (Series Motor) คอื มอเตอร์ท่ตี ่อขดลวดสนามแม่เหลก็ อนุกรมกับ อารเ์ มเจอร์ของมอเตอรช์ นิดนว้ี ่าซรี ีสฟิลด์ (Series Field) มีคุณลกั ษณะท่ีดคี ือให้แรงบดิ สงู นิยมใชเ้ ป็น ต้นกาลงั ของรถไฟฟา้ รถยกของเครนไฟฟา้ ความเรว็ รอบของมอเตอรอ์ นกุ รมเมือ่ ไม่มีโหลดความเรว็ จะ สูงมากแต่ถ้ามีโหลดมาต่อความเร็วก็จะลดลงตามโหลด โหลดมากหรือทางานหนกั ความเร็วลดลง แต่ ขดลวดของมอเตอร์ไม่เป็นอันตราย จากคุณสมบัติน้ีจึงนิยมนามาใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านหลาย

86 อย่าง เช่น เคร่อื งดูดฝุ่น เครื่องผสมอาหาร มอเตอร์กระแสตรงแบบอนุกรมใช้งานหนักได้ดเี มื่อใช้งาน หนักกระแสจะมากความเร็วรอบจะลดลงเม่ือไม่มีโหลดมาต่อความเร็วจะสูงมากอาจเกิดอันตรายได้ ดังนัน้ เม่ือเร่ิมสตาร์ทมอเตอร์แบบอนุกรมจงึ ต้องมโี หลดมาต่ออยูเ่ สมอ 2. มอเตอร์แบบอนุขนาน (Shunt Motor) หรือเรียกว่า ชันท์มอเตอร์ มอเตอร์แบบขนานนี้ ขดลวดสนามแมเ่ หลก็ จะตอ่ (Field Coil) จะต่อขนานกับขดลวด ชุดอาเมเจอร์ มอเตอรแ์ บบขนานน้ีมี คณุ ลักษณะมีความเร็วคงท่ี แรงบิดเริ่มหมุนตา่ แต่ความเร็วรอบคงที่ชันท์มอเตอร์ส่วนมากเหมาะกับ งานพดั ลมเพราะพดั ลมต้องการความเรว็ คงทแี่ ละต้องการเปล่ียนความเรว็ ได้ง่าย 3. มอเตอร์ไฟฟ้าแบบผสม (Compound Motor) หรือเรียกว่าคอมปาวด์มอเตอร์ มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสมน้ีจะนาคุณลักษณะท่ีดีของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง แบบขนาน และแบบ อนุกรมมารวมกัน มอเตอร์แบบผสมมีคุณลักษณะพิเศษคือมีแรงบิดสูง (High Staring Torque) แต่ ความเรว็ รอบคงทต่ี งั้ แต่ยงั ไมม่ โี หลดจนกระทง่ั มีโหลดเตม็ ที่ 2.3 ศึกษำข้อมูลเกยี่ วกบั เพลำ เพลา (Shaft) คือ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับตดิ ตั้งอุปกรณ์ทางานหรือใช้ส่งกาลังจากจุดหนึ่งไปยัง จดุ อื่น ๆ ตัวอย่างเช่น พดั ลมระบายอากาศ (Ventilating fan) จะประกอบด้วย ใบพัดที่ติดต้ังอยู่บน เพลาและท่ีปลายเพลาท้ังสองด้านจะถูกรองรับไว้ด้วยรองลื่น (Bearing) ถ้าเป็นพัดลมชนิดที่ทิศ ทางการไหลของอากาศไหลตามแนวรัศมี (พัดลมของเคร่ืองปรับอากาศจะมีเสื้อ (Casing) หุ้มอยู่ ภายนอกอีกชั้นหน่งึ เพือ่ บงั คับให้ลมไหลได้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยท่ีปลายเพลาด้านใดด้านหนึง่ จะมี ล้อสายพาน (Pulley) ยดึ ติดอยู่เพ่ือรับการส่งกาลงั การหมนุ จากตน้ กาลงั ทอี่ าจจะเป็นมอเตอร์ฯ มาทา ให้พัดลมหมุนหรือติดตง้ั ต้นกาลังขบั ตรงท่ีปลายเพลาได้ การติดต้ังเพลา (Shaft) และการจัดรูปเพลา (Shaft) ให้ถูกต้องมีความสาคัญมากต่อการทางานของระบบสายพานลาเลียง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับการทาให้สายพานเดินได้ตรงแนว (Alignment) และถา้ ติดตั้งผิดไม่ได้ศูนย์จะทาให้สายพาน วง่ิ ไมเ่ รยี บหรอื กระตุก 1. การตดิ ต้งั เพลา (Shaft) ให้ถกู ตอ้ งมีหลกั ปฏบิ ัติดงั นี้

87 2. การติดตงั้ เฟือง (Sprocket) มีหลกั ปฏบิ ัติดังนี้ จัดรปู เพอ่ื ให้เฟอื ง (Sprocket) และสายพานมคี วามยืดหยุ่นอยู่เสมอสามารถขบ (Engage) และ่ งผ่านแรงระหว่างกนั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพขณะท่ีสายพานยดึ -หดเน่อื งจากการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิการตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ังนี้ - ถ้ามีเฟือง (Sprocket) มมี ากกวา่ 2 ตวั ใหย้ ดึ (Fix) เฟือง (Sprocket) ตวั กลาง (Center) ใหแ้ น่นทง้ั เพลาขับ (Drive Shaft) และเพลาตาม (Idle Shaft) นอกนัน้ ให้ปลอ่ ยเปน็ อสิ ระ เฟืองตัวกลางยึดแนน่ เฟอื งท่ีเหลือท้ังสองข้างปลอ่ ยอสิ ระ

88 การที่สายพานจะวิ่งตรงแนวต้องยึดเฟือง (Sprocket) ตัวกลางท่ีเพลาขับและเพลาตามให้ ตรงอยู่ในแนวเดียวกัน สายพานจะว่ิงตรงแนวและวิ่งไม่กระโดด (Skip) ต้องยึดเฟือง (Sprocket) ท่ี เพลาขับและเพลาตามโดยต้องเรียงฟนั ของเฟืองแตล่ ะเฟืองให้ตรงแนว Mark เช่นกัน เฟอื งแต่ละย่ีห้อ จะมจี ุดสังเกตตาแหนง่ Mark ฟันตา่ ง ๆ กันไป 2.4 ระบบลำเลียง (Conveyor System ) ระบบลาเลยี ง (Conveyor System ) คือ ระบบการขนส่งที่ประกอบด้วยเครื่องกลท่ีสามารถ เคลอ่ื นยา้ ยวสั ดุจากสถานท่หี น่ึงไปยังอกี ที่หนึ่งถกู ออกแบบมาสาหรับผลิตภัณฑ์หลากหลายชนิด เช่น อาหาร หรอื สินค้าทมี่ ีน้าหนักเบาอื่น ๆ สายพานประเภทน้ีสามารถใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ ท้ัง ระบบอตั โนมัติ เหมาะสาหรับ LINE ท่ีมีความยาว หรอื สาหรับการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการต่างๆ เพื่อลดต้นทุนการผลิต ระบบลาเลียงสินค้าเปรียบเสมือนระบบประสาทส่วนกลางสาหรับการ ดาเนนิ งาน ระบบสายพานลาเลยี ง (Belt Conveyor System) เปน็ ระบบสายพานลาเลยี งที่ใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรม ระบบสายลาเลียง (Belt Conveyor) คือ อุปกรณ์ลาเลียง (Conveyor) ท่ีใช้สายพาน (Belt) เป็นตัวนาพาวัสดุ ระบบสายพานลาเลียงทาหน้าที่เคล่ือนยา้ ยวัสดุจากจุดหนึง่ ไปยงั อีกจุดหน่ึง หลังจากวัสดุหรือช้ินงานผ่านกระบวนการตามขั้นตอนมา เมื่อมาถึงการขนย้ายหรือลาเลียงก็จะใช้

89 ระบบสายพานลาเลียง (Belt Conveyor System) ในการเคล่อื นยา้ ยวัสดุหรอื ช้ินงานระบบสายพาน ลาเลียงจึงเหมาะสาหรับโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภทท่ีใช้ระบบสายพานลาเลียงในกระบวนการ ผลติ ระบบสายพานลาเลยี ง (Belt Conveyor System) มี 4 ประเภท 1. ระบบสายพานลาเลียงแบบพลาสติก (Plastic Conveyor System) สาหรับลาเลียง ช้ินงานหรือวัสดุขึ้นในแนวลาดเอียงในไลน์การผลิตที่มีการลาเลียงต่างระดับ ระบบสายพานลาเลียง แบบพลาสติกสามารถลาเลียงผ่านน้าหรือลาเลียงช้ินงานท่ีเปียกได้และยังไม่เป็นสนิม ลักษณะการ ทางานของระบบสายพานลาเลยี งแบบพลาสติกจะลาเลยี งจากจุดหน่ึงไปอีกจดุ หนึ่งโดยการลาเลียงจะ มีลักษณะแนวลาดเอียงลาเลียงจากที่ต่าขึ้นสู่ท่ีสูง องศาลาดเอียงของระบบสายพานลาเลียงแบบ พลาสตกิ จะเร่มิ ต้งั แต่ 10 องศาและไม่เกนิ 45 องศา เหมาะสาหรับงานลาเลียงประเภทยาง, อาหาร, บรรจุภณั ฑ์หบี หอ่ 2. ระบบสายพานลาเลียงแบบผ้าใบ (Canvas Belt Conveyor System) สาหรับลาเลียง ชน้ิ งานหรอื วัสดุ ระบบสายลาเลียงแบบผา้ ใบสามารถทนความร้อนได้และมคี วามยดื หยุ่นคอ่ นขา้ งน้อย เมื่อรับแรงดงึ ลักษณะการทางานของระบบสายพานลาเลียงแบบผา้ ใบจะลาเลียงจากจดุ หน่ึงไปอกี จุด หน่ึง โดยสามารถขยับตัวระบบลาเลียงให้ตรงกับไลน์การผลิตได้ เหมาะสาหรับงานลาเลียงประเภท ยาง, อาหาร เป็นตน้ 3. ระบบสายพานลาเลียงแบบ PVC (Belt Conveyor System) สาหรับลาเลียงชิ้นงานหรือ วัสดุท่ีมีน้าหนักเบา ระบบสายพานลาเลียงแบบ PVC สามารถทนความร้อนไดแ้ ละราคาถูก ลักษณะ การทางานของระบบสายพานลาเลียงแบบ PVC จะลาเลียงจากจุดหน่ึงไปอีกจุดหน่ึงเหมาะสาหรับ งานลาเลียงในอตุ สาหกรรมสนิ ค้าทบี่ รรจหุ บี ห่อทม่ี นี า้ หนักเบาและตอ้ งการความสะอาด 4. ระบบสายพานลาเลียง Metal Detector Belt Conveyor System (เครอ่ื งตรวจโลหะ) มี ระบบสายพานลาเลียง 2 แบบ คอื 1) สายพานพลาสตกิ 2) แบบ PVC สาหรบั ลาเลยี งช้นิ งานหรือวสั ดุ

90 เข้าเครื่องตรวจหาโลหะหลังจากช้ินหรือวัสดุผ่านกระบวนการขั้นตอนต่าง ๆ มาแล้ว เม่ือมาถึง เครื่องตรวจหาโลหะในรูปแบบบรรจภุ ณั ฑห์ รือรปู แบบช้นิ งาน เชน่ ซองพลาสติก กล่องกระดาษ ขวด แก้ว ยาง เคร่ืองตรวจหาโลหะใช้พลังงานแม่เหล็ก โดยทาให้เกิดสนามแม่เหล็ก (Electro Magnetic Field) เม่ือมีโลหะ เช่น เหล็กปนอยูใ่ นแผ่นยาง เคร่ืองจะทาการแจ้งเตือนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ร้อง เตอื น ผลกั ออก หรือหยดุ เครือ่ ง การเลอื กสายพานลาเลียงควรเลือกใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน ชนิดของสายพานแบง่ ออกเป็น 4 ชนิด คือ 1. สายพานแบน (Flat Belts) มหี นา้ ตดั เป็นรูปส่เี หลี่ยมผนื ผา้ 2. สายพานลมิ่ (V-Blets) มีหนา้ ตดั เปน็ รูปสี่เหล่ียมคางหมู 3. สายพานกลม (Ropes) มหี นา้ ตัดเปน็ รูปวงกลม 4. สายพานไทมม์ ิ่ง (Timing Belt) มหี นา้ ตดั เป็นรอ่ งคล้ายฟนั เฟือง สายพานลาเลยี งมสี ่วนประกอบสาคญั 5 ส่วนหลกั ๆ ดงั นี้ 1. สายพาน (Belt) เป็นส่วนรองรับวัตถุขนถ่ายและทาให้วัตถุขนถ่ายท่ีอยู่บนสายพานนั้น เคล่ือนท่ตี ามสายพานได้วย 2. ลูกกล้ิง (Idlers) เป็นตัวรองรับสายพาน จะประกอบด้วย ปลอก ซีล ตลับลูกปืน โดย ทงั้ หมดจะถูกสวมอยู่บนเพลา (Shaft) เม่อื ลูกกล้ิงหมุนจะเกดิ แรงเสียดทาน แรงเสียดทานมีผลต่อแรง ดงึ สายพาน แรงดงึ สายพานก็จะส่งผลต่อแรงฉุดสายพานท่ีจะต้องใชข้ ับสายพานในระบบให้เคลอ่ื นท่ี

91 การออกแบบลกู กลง้ิ ต้องเลือกใช้ตลับลูกปืนให้เหมาะสมกบั ลักษณะการใช้งานด้วย จะทาให้เราใช้งาน ได้อย่างคุ้มคา่ และประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยดว้ ย 3. ลอ้ สายพาน (Pulleys) เปน็ ตวั รองรบั และขบั สายพานและควบคุมแรงดงึ ในสายพาน 4. ชุดขับ (Drive) เป็นตัวส่งกาลังขับให้กับล้อสายพานเพื่อขับสายพานกับวัตถุขนถ่ายให้ เคล่อื นที่

92 5. โครงสร้าง (Structure) เปน็ ตัวรองรบั และรักษาแนวของลกู กล้งิ และลอ้ สายพานและ รองรบั เครอื่ งขบั สายพาน สายพานทเี่ ลือกใช้ในงานวิจัยนค้ี ือสายพานลาเลยี งแบบชัน้ ผา้ ใบ

93 สายพานแบบชน้ั ผ้าใบ (Fabric Conveyor Belt) มสี ่วนประกอบ 4 สว่ นดว้ ยกันคอื 1. ผิวยางชน้ั บนและชั้นล่าง (Bottom covers) 2. ชน้ั ผา้ ใบรับแรง (Fabric) 3. ยางยดื ระหว่างชั้นผา้ ใบ (Skims Cushion Rubber) 4. ส่วนของผวิ ยางชน้ั บนและชัน้ ล่างที่อยชู่ ั้นนอกสุดของสายพาน (Top Covers) หนา้ ทข่ี องผิวสายพาน (Functions of Cover Rubber) 1. ป้องกนั ช้ันผา้ ใบไมใ่ หเ้ สียหาย (Protect Belt carcass) 2. ยืดอายุการใชง้ านของสายพาน (Extend belt’s Service Life) ชนดิ ของสายพานแบง่ ตามลกั ษณะการใชง้ าน ไดด้ ังนี้ 1. ประเภทใช้งานท่ัวไป (General Use Conveyor Belt) หรอื เรยี กกันว่า สายพานทนสกึ หรือทนการเสียดสีจะเลือกใช้สายพานแบบน้กี ารลาเลยี งตอ้ งไม่มีสารทเี่ ปน็ อันตรายต่อสายพาน เชน่ สารเคมี น้ามนั ความรอ้ นสงู โอโซน และอน่ื ๆ มาเกีย่ วขอ้ ง 2. ประเภทใช้งานแบบพเิ ศษ (Special Purposes conveyor Belt) มกี ารใชง้ านหลายแบบ เชน่ สามารถทนต่อสารเคมี นา้ มนั ทนความรอ้ นสูง แสงแดด โอโซน แรงกระแทก และอ่ืน ๆ

94 2.4 กำรพัฒนำโปรแกรม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: Computer programming) หรือเรียกให้สั้นลง วา่ การเขียนโปรแกรม (อังกฤษ: Programming) หรอื การเขียนโค้ด (Coding) เป็นขัน้ ตอนการเขียน ทดสอบ และดูแลซอร์สโค้ดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งซอร์สโค้ดนั้นจะเขียนด้วยภาษา โปรแกรม ขนั้ ตอนการเขยี นโปรแกรมตอ้ งการความรู้ในหลายด้านด้วยกนั เก่ยี วกบั โปรแกรมทต่ี อ้ งการ จะเขยี น และขัน้ ตอนวิธีที่จะใช้ ซ่ึงในวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์น้ัน การเขียนโปรแกรมถือเป็นเพียงข้นั หนึ่ง ในวงจรชีวติ ของการพฒั นาซอฟตแ์ วร์ การเขียนโปรแกรมจะได้มาซ่ึงซอร์สโค้ดของโปรแกรมนั้นๆ โดยปกติแล้วจะอยู่ในรูปแบบ ของ ข้อความธรรมดา ซึ่งไม่สามารถนาไปใช้งานได้ จะต้องผ่านการคอมไพล์ตัวซอร์สโค้ดน้ันให้เป็น ภาษาเครื่อง (Machine Language) เสียก่อนจึงจะไดเ้ ป็นโปรแกรมทพ่ี ร้อมใช้งาน การเขียนโปรแกรม ถอื ว่าเป็นการผสมผสานกันระหว่างศาสตร์ของ ศลิ ปะ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ วิศวกรรม เข้า ด้วยกนั ภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาจะมีลักษณะหรือรูปแบบการเขียนท่ีแตกต่างกัน การเลือกภาษา โปรแกรมหรือภาษาคอมพิวเตอร์เพ่ือนามาเขียนโปรแกรมน้ันขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เช่น นโยบายของบริษัท, ความเหมาะสมของโปรแกรมกับลักษณะงานท่ีจะถูกนาไปใช้, การเข้ากันได้กับ โปรแกรมอืน่ ๆ หรืออาจเปน็ ความถนัดของแตล่ ะคน ภาษาโปรแกรมทม่ี ีแนวโนม้ ในการนามาเขียนมัก เป็นภาษาท่ีมีคนทสี่ ามารถเขียนไดท้ ันที หรอื หากมีความจาเป็นทจ่ี ะต้องเลือกใชภ้ าษาอ่ืน เช่นตอ้ งการ เนน้ ประสิทธิภาพในการทางานของโปรแกรม กอ็ าจจาเป็นตอ้ งหานกั เขียนโปรแกรมข้ึนมาจานวนหน่ึง ซึ่งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในภาษาโปรแกรมทตี่ ้องการ และองมีคอมไพเลอร์ทร่ี องรับภาษาเหล่านนั้ ดว้ ย การพัฒนาโปรแกรมตามขั้นตอนการพฒั นาโปรแกรมท่เี ป็นมาตรฐานจะทาให้ได้โปรแกรมทีด่ ี ซงึ่ คุณสมบตั ขิ องโปรแกรมทดี่ ี มีดงั นี้ 1. ไดผ้ ลลพั ธถ์ ูกต้อง ตรงตามความต้องการ 2. สามารถตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมลู ได้ 3. มรี ูปแบบที่เขา้ ใจได้ง่าย 4. มกี ารออกแบบเพือ่ รองรับการปรับปรงุ แก้ไขในอนาคตได้ ข้ันตอนกำรพัฒนำโปรแกรม การเขียนโปรแกรมท่ีดนี นั้ จาเปน็ ตอ้ งอาศยั ข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรม 6 ขน้ั ตอน ได้แก่ การ วิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทา

95 เอกสารประกอบ ควรทาตามแตล่ ะข้ันตอนใหเ้ รียงตามลาดบั ไม่ข้ามขนั้ ตอนใดขั้นตอนหนึง่ หรอื ทาไม่ ครบขั้นตอน โดยมรี ายละเอียดแตล่ ะข้นั ตอน ดงั น้ี 1. การวเิ คราะหป์ ัญหา เป็นขนั้ ตอนแรกของการพฒั นาโปรแกรม เป็นการศึกษารายละเอยี ด พ้นื ฐานทจ่ี าเป็นตอ้ งใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ได้แก่ สิ่งทตี่ ้องการ รูปแบบของผลลพั ธ์ ข้อมูลนาเข้า ตัวแปรที่ใช้ และวธิ กี ารประมวลผล ดังน้ี 1.1 ส่ิงที่ต้องการ (Requirement) คือ การกาหนดวัตถุประสงค์ของงานที่ต้องการ ใหค้ อมพิวเตอร์ทางาน เช่น รวมคะแนนสอบคัดเลือก จดั ลาดับท่ีสอบได้ พมิ พร์ ายช่อื ผู้สอบได้ คานวณ ภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดาของพนักงาน การคานวณค่าคอมมิชชัน่ งานที่จะให้คอมพวิ เตอร์ทางานนั้น อาจจะมีหลายอย่าง จึงต้องเขียนรายละเอียดเป็นข้อๆ ไว้ เพราะในการเขียนโปรแกรมเพื่อส่ังให้ คอมพิวเตอร์ทางานนนั้ จะต้องทราบแน่ชดั ว่าทางานอะไรบ้าง มฉิ ะนั้นโปรแกรมท่ีเขยี นอาจทางานไม่ ถูกตอ้ งครบถ้วนตามที่กาหนด 1.2 รูปแบบของผลลัพธ์ (Output) คือ การกาหนดและออกแบบรูปแบบของ รายงานวา่ ผลลพั ธ์ท่ตี ้องการในการออกแบบรายงาน ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง เชน่ การออกเปน็ รายงาน แสดงรายละเอียด ประกอบด้วยหัวรายงาน รายละเอียดของข้อมูล หรือออกเป็นรายงานสรุป การ วางแผนเพ่ือที่จะออกเป็นรายงาน ช่วยทาให้เราทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้าไปในเครื่อง คอมพวิ เตอร์ จึงจะไดร้ ายงานที่มีรายละเอียดตามท่ีเราต้องการ 1.3 ข้อมูลนาเขา้ (Input) คือ ข้อมูลที่จะต้องนาเขา้ มาในคอมพิวเตอร์ เพื่อใชใ้ นการ ประมวลผลใหไ้ ดผ้ ลลัพธต์ ามทีเ่ ราตอ้ งการ 1.4 ตัวแปรที่ใช้ (Variable) คือ ช่ือท่ีต้ังขึ้น เพ่ือใช้เก็บข้อมูลที่มีการเปล่ียนแปลง ข้อมลู ที่เป็นค่าเริ่มต้น หรือข้อมูลที่ได้จากการประมวลผล เพราะขอ้ มูลท่ีจะนาเข้ามาประมวลผลด้วย คอมพิวเตอรม์ ิได้มชี ุดเดียวแต่มีหลายชุด เมอื่ ประมวลผลชดุ ที่หนง่ึ เสร็จแล้วก็จะนาเข้าข้อมูลชุดต่อไป มาประมวลผล เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งตัวแปรขึ้นมาเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล เมื่อพิจารณาจากข้อมูล นาเข้าแล้วให้พิจารณาจากสว่ น Output ด้วย เพราะจะต้องต้ังตัวแปรข้ึนมาเพื่อใช้เก็บข้อมูลตา่ งๆ ท่ี ได้จากการคานวณหรือประมวลผล หลักเกณฑ์ในการต้ังช่ือตัวแปรในแต่ละภาษาก็จะแตกต่างกัน ออกไป แลว้ แต่ว่าเราจะเขยี นโปรแกรมภาษาอะไร 1.5 วิธีการประมวลผล (Process) คือ ขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ ต้องการและการกาหนดเง่ือนไขต่างๆ ซึ่งผู้ท่ีจะเขยี นโปรแกรมจะต้องเข้าใจการทางานตั้งแต่การรับ ขอ้ มลู การประมวลผล จนกระทัง่ ขนั้ ตอนการแสดงผลตามที่กาหนดหรอื ออกแบบไว้

96 2. การออกแบบโปรแกรมเป็นข้ันตอนที่ 2 ของการพัฒนาโปรแกรมคือการนาปัญหาที่ วิเคราะห์ได้จากขั้นตอนที่1 มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนว่าจะต้องเขียนโปรแกรมเพ่ือแก้ปัญหา อย่างไรการวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนนี้เรียกว่าอัลกอริทึม (Algorithm) ซ่ึงอัลกอริทึมแบ่งออกเปน็ 2 รูปแบบคือ รหัสจาลอง (Pseudo-code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่ส่ือ ความหมายงา่ ยๆสามารถอ่านแล้วเขา้ ใจได้โดยทนั ทหี รอื ผังงาน (Flowchart) คอื การเขยี นอัลกอริทึม โดยใช้สัญลักษณ์รูปภาพเป็นตัวสื่อความหมายจากโจทย์ ที่ทาให้ผู้ออกแบบสามารถเขียนลาดับการ ทางานและขั้นตอนของการประมวลผลของโปรแกร มได้ โดยไม่ต้องกังวลกับรูปแบบคาสั่ง ภาษาคอมพิวเตอร์การจัดทาหรอื เขยี นโปรแกรม โดยไม่มกี ารวางแผนก่อนลว่ งหนา้ จะก่อให้เกดิ ความ ยงุ่ ยากในการแก้ไขโปรแกรม และก่อใหเ้ กดิ ความยุ่งยากแก่ผใู้ ชโ้ ปรแกรม เครอื่ งมือตา่ งๆ ทีช่ ว่ ยในการ ออกแบบโปรแกรม 3. การเขียนโปรแกรม เป็นการนาเอาผังงานซงึ่ ได้จากการออกแบบโปรแกรม มาเขยี นเป็น โปรแกรมส่ังให้คอมพิวเตอร์ทางานด้วยภาษาคอมพวิ เตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษาจาวา แลว้ แตว่ ่างานน้ัน เหมาะสมกับภาษาใด ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมีความสนใจต่อรูปแบบ กฎเกณฑ์การใช้ภาษานั้นๆ และควรมีคาอธิบายด้วยว่าโปรแกรมนี้ทาไรได้บ้าง เพ่ือให้โปรแกรมนั้นมีความกระจ่าง ชัดเจน และ งา่ ยต่อการตรวจสอบ 4. การทดสอบโปรแกรม เป็นการนาเอาโปรแกรมท่ีเขียนแล้วเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพ่ือ ตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์ของภาษา และผลการทางานของโปรแกรมนั้น ถ้าพบข้อผดิ พลาดกแ็ ก้ไข ใหถ้ ูกตอ้ ง ขอ้ ผดิ พลาดท่ีมักพบบ่อยๆ ในการส่ังใหโ้ ปรแกรมทางานมอี ยู่ 3 แบบคอื 4.1 ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ภาษา (Syntax Error) เกิดจากการเขียนชุดคาสั่งไม่ ถูกต้องตามไวยากรณข์ องภาษาคอมพิวเตอรน์ ัน้ ๆ 4.2 ข้อผิดพลาดระหว่างการประมวลผล (Runtime Error) เกิดขณะที่โปรแกรม กาลังประมวลผลหรือกาลังทางานอยู่ โดยอาจจะเป็นความผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ แลว้ ไม่สามารถประมวลผลได้ 4.3 ข้อผดิ พลาดทางวิธกี ารคดิ (Logical Error) เกดิ จากเขยี นคาส่ังในภาษาน้ันๆ ได้ ถกู ตอ้ งตามหลงั ไวยากรณ์ แต่เม่ือส่งั ให้โปรแกรมทางาน ผลลพั ธท์ ่ีไดอ้ าจจะเปน็ การคานวณผิดพลาด ไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ เป็นข้อที่แก้ไขได้ยากที่สุด จึงจาเป็นต้องมีการทดสอบหลายๆ ครั้ง เพ่ือพิจารณาว่าได้ผลลัพธ์ถูกต้องตามขั้นตอนการประมวลผลที่ออกแบบไว้ หรือเป็นไปตามความ ต้องการของผู้ใช้งานหรือไม่โปรแกรมท่ีเขียนถูกต้องตามรูปแบบและกฎเกณฑ์ของภาษา อาจจะให้ ผลลัพธ์ของการประมวลผลไม่ถูกต้อง ดังน้ัน ผู้เขียนโปรแกรมจาเป็นต้องทดสอบและตรวจสอบว่า

97 โปรแกรมประมวลผลถกู ต้องหรือไม่ วิธที ี่นยิ มใชค้ ือ สมมตขิ ้อมูลตัวแทน (Data Test) เพื่อตรวจสอบ เงือ่ นไขตา่ งๆ และวิธีการคานวณว่าโปรแกรมที่เขียนขน้ึ มานัน้ ถกู ต้องหรอื ไม่ 5. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม เป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาโปรแกรม และอาจจะ เร่ิมทาไปพร้อมกับการเขียนโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมท่ีต้องจัดทามีอยู่ 2 ประเภท คือ คู่มือผู้ใช้ (User’s Manual) และคู่มือนักเขียนโปรแกรม (Programmers Manual) โดยคู่มือผู้ใช้จะ ช่วยใหผ้ ู้ใช้โปรแกรมเช้าใจวตั ถุประสงค์และใชง้ านไดส้ ะดวกมากยง่ิ ขึ้น สว่ นคู่มือนักเขียนโปรแกรมจะ ชว่ ยในการปรับปรุง เปลย่ี นแปลงแก้ไขโปรแกรมในอนาคต 6. การบารุงรกั ษาโปรแกรมเม่ีอโปรแกรมผา่ นการตรวจสอบตามข้นั ตอนเรยี บร้อยแล้ว และ ถกู นามาให้ผใู้ ชไ้ ด้ใช้งาน ในช่วงแรกผู้ใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจทาให้เกิดปัญหาข้ึนมาบา้ ง ดงั นั้นจึง ต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทางาน การบารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นข้ันตอนที่ ผูเ้ ขียนโปรแกรมต้องคอยเฝา้ ดูและหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมในระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรมและ ปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดข้ึน หรือในการใช้งานโปรแกรมไปนานๆ ผู้ใช้อาจต้องการ เปลยี่ นแปลงการทางานของระบบงานเดิมเพอ่ื ใหเ้ หมาะกับเหตกุ ารณ์ นักเขยี นโปรแกรมกจ็ ะต้องคอย ปรบั ปรงุ แกไ้ ขโปรแกรมตามความตอ้ งการของผู้ใช้ท่ีเปล่ยี นแปลงไปนั่นเอง 2.5 เอกสำรทำงวชิ ำกำรและงำนวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง วิรัช หม้อตาหล้า (2552) พัฒนาเคร่ืองให้อาหารสุนัขอัตโนมัติโดยใช้ PLC ควบคุม พบว่า ปัจจุบันมนุษย์เล้ียงสุนัขกันมากข้ึน และสุนัขน้ันก็มีหลายสายพันธ์ุต่าง ๆ และแต่ละพันธ์ุมีนิสัยที่ แตกต่างกัน และมีหน้าที่ทีแ่ ตกต่างกนั เชน่ เลย้ี งเพื่อความสวยงาม เล้ียงเพอื่ เฝา้ บ้าน และยังเป็นสุนัข ตารวจได้อกี ดว้ ย และสุนขั ยงั เป็นเพ่ือนท่ีดีของมนุษยอ์ ีกด้วย แตใ่ นการเล้ียงดูสุนัขนั้นผู้เล้ียงไม่มีเวลา ในการดูแลสุนัขของตัวเอง เน่ืองจากต้องออกไปทางานนอกบ้านในตอนกลางวัน ผู้เลียงจึงมีเวลาใน การดูแลสุนัขน้อยมาก โดยเฉพาะการให้อาหารน้ันเป็นสิ่งที่ต้องทาทุกวัน คณะผู้จัดทาจึงได้คิดหา อุปกรณ์ท่ีชว่ ยให้ผู้เลี้ยงสนุ ัขสามารถให้อาหารสนุ ัขไดโ้ ดยอัตโนมตั โิ ดยทผี่ เู้ ลยี้ งไม่ตอ้ งเป็นหว่ ง เพอื่ เป็น การแบ่งเบาภาระในการให้อาหารสุนัขอีกประการหนึ่ง วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้าในการศึกษา เครื่องให้อาหารสุนขั อตั โนมัติ ได้เร่ิมจากการศึกษาเอกสาร และงานวิจยั ที่เกย่ี วข้อง เมอื่ ทาการศึกษา อย่างเขา้ ใจแลว้ จงึ ได้เสนองานค้นคว้าพเิ ศษ ให้อาจารย์ทีป่ รึกษาพิจารณาถึงความเหมาะสมในหวั ขอ้ ท่ี ได้ทาการศึกษาค้นคว้า และทาการศกึ ษาอุปกรณ์ต่าง ๆ ทจี่ ะนามาประกอบเป็นเครื่องให้อาหารสุนัข อัตโนมัติ แล้วทาโครงสร้างของเครื่องหลังจากนั้นนามาประกอบเข้าด้วยกันและทาการทดลอง ประสิทธิภาพของเคร่ืองที่ทาการประกอบเสร็จแล้ว ในการศึกษาค้นคว้าการพัฒนาเคร่ืองให้อาหาร สุนัขอัตโนมตั ิโดยการใช้ PLC ไปควบคุมการทาวานของเครื่อง เพ่ือแก้ปัญหาใหก้ ับผู้เลี้ยงสุนัขในการ ให้อาหาร ในเวลาท่ีผู้เลียงไม่สามารถที่จะให้อาหารได้ โดยวิธีการทางานของเครื่องให้อาหารสุนัข

98 สามารถเข้าใจง่ายในเรื่องของการทางานและวิธกี ารใช้งานของเครื่อง โดยที่ผู้เล้ียงทาการต้งั เวลาท่ีจะ ให้อาหาร โดยสามารถให้อาหารได้สูงสุด 6 ครั้งต่อ 1 วัน โดยสามารถเลือกอาหารได้ 3 ระดับ ตาม ขนาดสุนัขของผู้เล้ียง คือ สุนัขขนาดเล็ก สุนัขขนากดกลาง และสุนัขขนาดใหญ่ และยังสามารถ บนั ทกึ เสยี งเพ่ือเรียกสุนัขของผู้เลียงมากินอาหารได้โดยอัตโนมัตเิ มื่อเครือ่ งใหอ้ าหารสุนขั ทางาน โดยท่ี ผู้ศึก ษาไ ด้นาเทคโน โลยีทางไ ฟ ฟ้าและอุปก รณ์อิเล็ก ทร อนิก ส์มาประ ยุก ต์เข้าด้ ว ยกั นเพ่ือให้เกิ ด ประโยชนส์ งู สุด พงศ์ธร ยิ่งยอด (2556) การศึกษาระยะเวลาการให้อาหารกุ้งขาวแวนนาไมด้วยเครื่องให้อาหาร อตั โนมัติ โดยแบ่งออกเป็น 2 การทดลอง คือ การใหอ้ าหารโดยใชเ้ ครื่องให้อาหารอตั โนมัติตลอด 24 ช่ัวโมง และการให้อาหารโดยใช้ระหว่าง 7.00-22.00 น. (15 ช่ัวโมง) ซ่ึงจากผลการศึกษาพบว่า ถงึ แม้ว่าค่าคุณภาพนา้ ส่วนใหญ่ ผลผลิตกุ้งขาว และต้นทนุ ผลตอบแทนของการใหอ้ าหารโดยใช้เครอ่ื ง ใหอ้ าหารอัตโนมตั ิทัง้ 2 การทดลองมคี วามแตกต่างกันทางสถติ อิ ยา่ งไม่มนี ัยสาคัญ (P มากกว่า 0.05) แต่การให้อาหารโดยใช้เครื่องให้อาหารอัตโนมัติเป็นเวลา 24 ชั่วโมงมีความสะดวกและการจัดการ อาหารได้ง่ายกว่าการให้อาหารเปน็ เวลา 15 ช่วั โมง การใหอ้ าหารเปน็ เวลา 15 ชั่วโมงอาจจะเกิดความ ผดิ พลาดจากการตรวจสอบอาหารในยอและยากต่อการจดั การปรมิ าณอาหารในมือ้ ถัดไป อนันต์ แก่นจันทร (2557) ได้ทาการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพคร่ืองให้อาหารกุ้งอัตโนมัติ การเลี้ยงสัตว์น้าเพ่ือให้ได้ผลผลิตเพ่ิมมากขึ้นท้ังในด้านปริมาณและคุณภาพนั้น มีปัจจัยต่าง ๆ ท่ี เก่ียวข้องหลายประการด้วยกัน วิธีการหว่านอาหารและประสิทธิภาพการหว่านอาหารก็เป็นปัจจัย กาหนดอันหนง่ึ ดว้ ย โดยวิธีการหวา่ นอาหารในบอ่ เพาะเล้ยี งสัตว์น้าเพอ่ื ให้สัตวน์ ้าในบ่อมปี ระสิทธภิ าพ การกินอาหารสงู สุดน้ัน อาหารที่หว่านลงไปตอ้ งมีการกระจายตัวท่ีดไี ม่ไปกองรวมอยู่ที่ใดท่ีหนึ่งและ ต้องมีระยะทางการระหว่างไกลพอสมควร ในงานวิจัยน้ีได้ทาการปรับปรุงประสิทธิภาพเคร่ืองให้ อาหารเม็ดสาเร็จรูปให้มีประสิทธิภาพสามารถใช้งานได้ง่ายและทาการติดตั้งสะดวก โดยทาการ ทดสอบหว่านอาหารกุ้ง พบวา่ เครือ่ งหว่านที่ได้รับการปรับปรุงมปี ระสิทธภิ าพดีกว่างเมื่อเปรยี บเทยี บ กับการหวา่ นดว้ ยเคร่อื งหว่านแบบทมี่ ีขายทัว่ ไปในท้องตลาด

99 เอกสำรและงำนวิจยั ท่เี กย่ี วข้องโครงกำรย่อยท่ี 5 การวิจัยในครั้งน้ีเป็นการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ เร่ืองการเลี้ยงกวางเชิงพาณิชย์ในรูปแบบ การ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ ในรูปแบบ 3 ภาษา (ไทย อังกฤษ จีน) โดยได้รับผลการประเมินความพึง พอใจจากผู้รับการถ่ายทอดอย่างน้อยอยู่ในระดับดี และเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการรับรู้ของผู้รับ การถ่ายทอดองค์ความรู้เร่ืองการเล้ียงกวางเชิงพาณิชย์ โดยวิธีการสอนแบบบรรยายกับวิธีการสอน โดยใช้สื่อการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก สาหรับเกษตรกรในชุมชน ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณุโลก และผ้ทู ่สี นใจเร่อื งการเลีย้ งกวางเชิงพาณิชย์ มเี อกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้องดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความรู้ 1.1 ความหมายของความรู้ 1.2 ประเภทของความรู้ 1.3 การจัดการความรู้ 1.4 องคป์ ระกอบหลกั ของการจัดการความรู้ 1.5 การสร้างและการถ่ายโอนความรู้ 1.6 ความหมายขององค์ความรู้ 1.7 ประเภทขององค์ความรู้ 1.8 กระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ 2. แอนเิ มชนั 2.1 ความหมายของแอนิเมชัน 2.2 ประเภทของแอนเิ มชัน 2.3 ทฤษฎีการสรา้ งแอนิเมชัน 2.4 ทฤษฎกี ารออกแบบตัวละคร 2.5 ทฤษฎกี ารออกแบบเสยี ง 2.6 การผลิตแอนเิ มชนั 3. รปู แบบ/วธิ กี ารสอน 3.1 รูปแบบการสอนแบบบรรยาย 3.2 รูปแบบการสอนโดยใชส้ ือ่ 4. การทดสอบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 4.1 ความหมายของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 4.2 จุดมุ่งหมายของการใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 4.3 คุณสมบัตทิ ่ีจาเปน็ ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 4.4 ประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 5. ความพงึ พอใจผู้เรยี นทมี่ ีต่อวธิ ีการสอนโดยใชส้ อ่ื การต์ นู แอนิเมชันเปน็ หลกั 5.1 ความหมายของความพงึ พอใจ

100 5.2 การวัดความพึงพอใจ 6. งานวิจัยท่เี กยี่ วข้อง

101 เอกสำรและงำนวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ งโครงกำรย่อยท่ี 6 การวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพ่ือศึกษาผลกระทบของธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ ต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย และผลกระทบและคุณค่าจากการใช้องค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาสูตร และกระบวนการผลิตอาหารกวางท่ีมีต่อผู้ประกอบการ รวมไปถึงศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวและ ความพึงพอใจของนักท่องเท่ียวต่อผู้ประกอบการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ เพื่อหาแนวทางการพัฒนา แหล่งทอ่ งเท่ยี วใหม้ คี วามเป็นเอกลักษณแ์ ละยงั่ ยืน มเี อกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งดังต่อไปนี้ 2.1 ผลกระทบ 2.2 ธุรกิจการผลิตกวางเชงิ พาณิชย์ 2.3 ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี 2.1 ผลกระทบ ความหมายของคาวา่ ผลกระทบ มีนักวชิ าการได้ให้ความหมายไว้หลากหลายดงั ตอ่ ไปน้ี นิสาชล ทองแยม้ (2528) ไดน้ ิยามศพั ทข์ องผลกระทบ (Impact) ไว้ว่า ส่ิงต่าง ๆ ที่ เกิดข้ึนใหม่ ท้ังท่ีมนุษย์สร้างข้ึนหรือเกิดข้ึนเองโดยธรรมชาติ ทั้งกายภาพ (Physical) และนามธรรม (Abstracts) เมื่อเกดิ แล้วจะทาใหค้ ณุ ภาพชีวิตท้ังหลายท่ีอาศยั อยู่ในระยะนนั้ เปลย่ี นแปลงไปไมม่ ากก็ น้อย ประสิทธ์ิ คงยิ่งสิริ (2542) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับผลกระทบ (Impact) โดยทั่วไป หมายถึง ผลของการดาเนินกิจกรรมของมนุษย์ท่ีมีต่อการเปลยี่ นแปลงในสิ่งแวดล้อม โดยผลกระทบ ดังกล่าวอาจจาแนกออกตามประเภท ขนาด และระยะเวลา ได้ดังนี้ ประเภทของผลกระทบ ได้แก่ การสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสียงาน ที่ดินทากิน มูลค่าบ้านและทรัพย์สินลดลง ความเสีย บริการทางสังคม ความสูญเสียเกี่ยวกับวิถีดาเนินชีวิต ระดับของผลกระทบมตี ้ังแต่ระดับที่น้อยจนถึง มาก ระยะเวลาของผลกระทบมีทัง้ ระยะส้นั และระยะยาว อนันต์ เกตวุ งศ์ (2541) ได้ให้ความหมายของผลกระทบว่า ผลที่ตามมาจากผลงาน หรือผลผลิต หรือผลประโยชน์ในระดับประถม (Primary Effect) ของแผนหรือโครงการผลกระทบ อาจเป็นไปได้ท้ังทางบวกและทางลบ อาจเกิดข้ึนกับกลุ่มเป้าหมายที่มิใช่กลุ่มเป้าหมายท้ังในปัจจุบัน และอนาคต ยังให้ความหมายไว้อีกว่า เป็นผลของการเปลี่ยนอปลงระดับประเป็นผลท่ีเกิดข้ึนตาม วัตถุประสงค์ของแผนงานและโครงการ ซ่ึงผลอันนี้จะมีส่วนทาให้เกิดผลกระทบต่อไปอีกระดับหนึ่ง หรือหลายระดับได้เป็นกรณไี ปๆ อานวย วงษ์พานิช (2549) ได้สรุปความหมายของผลกระทบ คือ ผลที่เกิดจากการ กระทาเรือ่ งใดเร่ืองนึ่ง อาจะเป็นผลที่เกดิ ข้ึนทงั้ ในปจั จุบนั และอนาคตเปน็ ไปได้ทงั้ ทางบวกและทางลบ

102 อาจข้ึนขึ้นได้ทั้งกลุ่มเป้าหมายและมิใช่กลุ่มเป้าหมายหรือผลกระทบต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ท้ังทางตรง และทางอ้อม ดาย (Dye.1983) ได้ให้ความหมายของคาว่าผลกระทบว่า การแยกแยะปัญหาของ สังคมเพ่ือให้ทราบถคงองค์ประกอบอันเป็นธรรมชาติ และท่ีเป็นปัญหารวมถึงการสืบสาวหาสาเหตุ ของปัญหาต่าง ๆ เหล่านั้น ตลอดจนการเสนอวิธีแก้ไขปัญหาได้สรุปผลกระทบและแบ่งออกเป็น ประเภทดังตอ่ ไปนี้ 1.การแบ่งผลกระทบตามแง่มุมเนื้อหา แบ่งออกเป็น ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง การบริหาร สิ่งแวดล้อม และกายภาพ เชน่ ผลกระทบจากการดาเนนิ นโยบาย 2.การแบ่งผลกระทบตามแง่มุ่มของความจริงท่ีเกิดข้นึ (Reality) แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ ผลกระทบในเชิงภาวะวสิ ัย (Objective Impact) ได้แก่ ผลกระทบทเี่ กิดข้ึนโดยไม่ข้ึนอยูก่ ับความรู้ ศึกนึกคิดของคน และอีกประเภทหนึ่งคือ ผลกระทบเชิงอัตวิสัย (Subjective Impact) ได้แก่ ผลกระทบที่เกิดข้ีนใน ความรู้สึกนกึ คิดของคน 3.การแบ่งตามแง่มุมของทิศทางที่กระทบ (Direction Impact) แบ่งออกได้เป็น ผลกระทบโดยตรง (Direct Impact) และ ผลกระทบทางอ้อม (Indirect Impact) 4.แบ่งตามแง่มุมของคุณค่าของผลกระทบ แบ่งออกได้เป็น ผลกระทบในเชิงบวก (Positive Impact) หมายถึง ผลกระทบท่ีเป็นส่ิงท่ีพึ่งปรารถนา และผลกระทบเชิงลบ (Negative Impact) หมายถึง ผลกระทบทไ่ี มพ่ ึงปรารถนา ประเภทของผลกระทบ แบ่งได้เปน็ ประเภทต่าง ๆ ดงั นี้ 1.การแบ่งผลกระทบตามแง่มุมเนื้อหา แจแบ่งออกได้เป็น ผลกระทบทางด้าน เศรษฐกิจ ผลกระทบทางด้านสังคม ปละผลกระทบทางด้านส่ิงแวดล้อม รวมทั้งผลกระทบทาง กายภาพ 2.การแบ่งผลกระทบตามแง่มมุมของความเป็นจริงท่ีเกิดขึ้น (Reality) แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื 2.1 ผลกระทบเชิงภาวะวิสัย (Objective Impact) ได้แก่ ผลกระทบท่ี เก่ียวขอ้ งโดนไม่ขึน้ อยู่กับความรู้สึกนึกคิดของคน เช่น การดาเนนิ นโยบายคมุ กาเนิดจะทาให้สัดส่วน ของผูส้ ูงอายุเพ่ิมขึน้ ไมว่ ่าใครจะรับร้หู รอื ไม่ก็ตาม 2.2 ผลกระทบเชิงอัตวิสัย (Subjective Impact) ได้แก่ ผลกระทบใน ความรู้สึกนึกคิดของคน เช่น การดาเนินนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวก่อให้เกิดการขยายตัวของ โสเภณี ทาให้คนไทยจานวนมากรสู้ ึกอบั อายต่างชาติ 3.แบ่งตามแงม่ มุ ของทิศทางท่ีกระทบแบง่ ออกได้เป็น 2 ทางไดแ้ ก่ 3.1 ผลกระทบโดยตรง (Direct Impact)

103 3.2 ผลกระทบทางออ้ ม (Indirect Impact) 4.แบง่ ตามแงม่ ุมของคุณค่าของผลกระทบ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ทางไดแ้ ก่ 4.1 ผลกระทบในเชงิ บวก (Positive Impact) หมายถงึ ผลกระทบทเ่ี ป็นส่ิง ทีพ่ งึ่ ปรารถนา 4.2 ผลกระทบเชิงลบ (Negative Impact) หมายถึง ผลกระทบที่ไม่พึง ปรารถนา 5.การแบ่งผลกระทบตามเวลา แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื 5.1 ผลกระทบระยะสัน้ หมายถึง ผลกระทบทเี่ กิดข้ึนแลว้ ในปัจจุบัน 5.2 ผลกระทบระยะยาว หมายถงึ ผลกระทบทจี่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต 6.การแบ่งผลกระทบตามความรุนแรง แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภทไดแ้ ก่ 6.1 ผลกระทบทมี่ ีความรุนแรงและเกิดขนึ้ ในเขตวงกว้าง 6.2 ผลกระทบที่ไมร่ ุนแรงและเกดิ ขน้ึ ในวงแคบ ๆ จากคานิยามความหมายของนักวิชาการข้างต้น สรุปได้ วา่ ผลกระทบ หมายถงึ ผลท่เี กิดจาก การกระทาสง่ิ ใดสงิ่ หน่ึง หรอื เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนง่ึ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง อาจส่งผลกระทบท้ัง ด้านทด่ี แี ละด้านไม่ดีในชว่ งระยะเวลาทเ่ี กิดข้ึนและเวลาในอนคต 2.2 ธุรกิจการผลิตกวางเชงิ พาณิชย์ ความหมายของคาว่า การประกอบธุรกิจ ได้มีนักวิชาการ ได้ให้ความหมายหลากหลาย ดงั น้ี จินตนา บุญบงการ (2557) องค์การธุรกิจมีบทบาทและผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ มใน สภาพเดียวกันสภาวะแวดล้อมมีบทบาทและอิทธิพลต่อองค์กรธุรกิจในลักษณะต่าง ๆ กันหลาย รปู แบบ ซ่งึ ข้ึนอยู่กะบความตอ้ งการและระดบั ของสังคม ชนดิ และสภาพแวดล้อมนน้ั สภาพแวดล้อม ทางธรุ กิจสามารถแบง่ ออกเป็น 8 ประการ ได้แก่ 1.สภาพแวดล้อมทางสังคม องค์กรธุรกิจอยู่ในสังคม อยู่ท่ามกลางบุคลลต่างไ จะต้องมีความรับผิดชอบตอ่ สังคมจากผลกระทบของพนกั งานจากมลภาวะทีเ่ กิดจากการทางาน จาก คุณภาพของสนิ คา้ ท่อี าจกอ่ ให้เกดิ อันตรายซ่ึงขนึ้ อยู่กบั คุณภาพชีวิตของบุคลในสงั คมนัน้ 2.สภาพแวดล้อมทางกฎหมาย แต่ละประเทศต่างออกกฎหมายในรูปของ พระราชบญั ญัตแิ ละระเบยี บข้อบงั คับเพอื่ คงบคมุ และอานวยความสะดวกในการประกอบธุรกจิ ในด้าน ความผาสุกและความปลอดภัยของประชาชน เช่น พระราชบัญญัติโรงงาน พระราชบัญญัติควบคุม สารพิษและวัตถุระเบิด ในด้านความเป็นธรรมและป้องกันดารผูกขาด เช่น พระราชบัญญัติแรงงาน พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การคา้ กาไร เกนิ ควร

104 3.สภาวะแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจ สภาพทางเศรษฐกิจของประเทศในปจั จุบนั ไม่มน่ั คง เศรษฐกิจอยู่ในระยะถดถ้อย เงินตราไหลออกนอกประเทศ ค่าเงนิ บาทลอยตัวส่งผลกระทบต่อองค์กร ธุรกิจเป็นอย่างมาก ในภาวะเงินเฟ้า เงินฝืด เงินตึงตัวทาใหธ้ ุรกิจเกิดปัญหาเงนิ สดหมุนเวยี นไม่สมดุล ขาดความเช่ือถือ ในด้านการเงิน ค่าของเงินบาทลดลงส่งผลกระทบต่อการซ้ือขายสินค้ากับ ต่างประเทศทาให้ประเทศขาดดุลการค้า สถานการณข์ องธุรกจิ ต้องปรับตัวโดยลดเงินเดอื นพนกั งาน หรือให้ออกจากงาน ถ้าถึงข้ันร้ายแรงต้องปผิดกิจการ ส่งผลกระทบถึงประชาชนในรูปแบบของการ เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมจากร้อยละ 7 เป็น ร้อยละ 10 เพื่อรักษาสภาพสมดุลของงบประมาณค่าใช้จ่าย ประจาปขี องประเทศ 4.สภาวะแวดล้อมทางการเมือง การเมืองส่งผลกระทบต่อนโยบายการค้าประกอบ ธุรกจิ ของประเทศโดยเฉพาะประเทศซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแบบผสมผสานบอ่ ย ๆ เมื่อการเมอื ง ไม่ม่ันคง ทาใหต้ ่างชาติขาดความเชื่อถือ ส่งผลต่อธรุ กิจบ่อย เช่น สินคา้ บางอย่างตอ้ งเสยี ภาษเี พมิ่ ขึ้น ธรุ กจิ บางชนดิ ถูกควบคมุ โดยเพ่มิ หลักเกณฑ์มากข้ึน 5.สภาวะแวดล้อมทางเทคโนโลยี ปัจจุบันยคุ ก้าวหน้าของเทคโนโลยที ี่ส่งผลกระทบ ตอ่ ทิศทางและความกา้ วหน้าของธุรกิจ เช่น การนาเทคโนโลยี เครื่องมืออุปกรณ์ท่ีทันสมัยมาใช้แทน แรงงานของคน ส่งผลกระทบให้องค์กรต้องลดจานวนพนักงานลงและต้องเพิ่มประสทิ ธิภาพพนกั งาน ท่ีเหลือ ให้รู้จักใช้เคร่ืองมือเทคโนโลยีชนิดใหม่ มาตรการเหล่าน้ีจะส่งผลกระทบไปถึงสถานท่ี ห้อง ทางาน ลกั ษณะงาน ค่าจา้ งและสวสั ดิการตา่ ง ๆ 6.สภาวะแวดล้อมด้านลูกค้า ลูกค้าคือผู้มีพระคุณที่ผู้ผลิตหรือให้ผู้ให้บริการจะต้อง คอยรับใช้อยา่ งจริงใจ ติดตามรสนิยมการเปล่ียนแปลงเพ่อื รกั ษาปริมาณมาตรฐานและคุณภาพสินค้า คอยปรบั กลยุทธก์ ารตลาดและปอ้ งกันการแทรกแซงของคู่แขง่ 7.องค์การคแู่ ข่งขนั มีอยู่ทั่วไปทง้ั ในและต่างประเทศ การประกอบธรุ กิจชนิดใจ ที่มี โอกาสที่จะแสวงหากาไรได้มากและมีข้อจากัดหรือการเส่ียงภัยมากนักจะมีแนวโน้มของบริษัทคู่ แข่งขันเพิ่มมากขึ้น การมีค่แู ข่งขนั มาก มีท้งั ข้อดขี ้อเสยี ขอ้ ดที าให้บรษิ ทั มีความต่ืนตัวสนใจเทคโนโลยี และการบริการลูกค้าอยู่ตลอดเวลา ข้อเสีย ถ้าบริษัทคู่แข่งมีความก้าวหน้ามากกว่า แย่งลูกค้าไปได้ หมด อาจทาใหบ้ รษิ ัทเดมิ ต้องปิดกจิ การ 8.สมาคมธุรกิจต่าง ๆ การมีวิสัยทัศฯท่ีกว้างไกล และมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน รวมตัว กันเป็นสมาคมช่วยกันรักษาผลประโยชน์ท่ีถูกต้องของสมาชิกและการส่งเสริมทางด้านวิชาการ แลกเปล่ียนประสบการณ์จะส่งผลใหก้ ารประกอบธรุ กิจชนนิ นั้ มคี วามเจรญิ ก้าวหนา้ สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่อยู่รอบองค์กรธุรกิจ มิได้หยุดนิ่งอยู่กับท่ีแต่จะมีการเคลื่อนไหว เปลีย่ นแปลงอย่างตลอดเวลา ผลของการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ มอาจส่งผล กระทบต่อองคก์ ร

105 มากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่กรณี ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการจะต้องศึกษาวิเคราะห์ ติดตาม ปรับปรุง ธุรกจิ ให้สอดคลอ้ งกับการเปล่ยี นแปลงเพ่ือปรับตวั ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง ศวิ ฤทธ์ิ พงศกรรงั ศิลป์ (2555) ส่ิงแวดล้อมทางการตลาด หมายถงึ ส่ิงตา่ ง ๆ ที่มี อิทธิผลตอ่ การบริหารการตลาด มีทั้งส่ิงแวดลอ้ มภายในและสิ่งแวดล้อมภายนอก ซง่ึ เป็นปัจจยั ที่ธุรกิจ ไม่สามารถควบคุมได้ ปัจจัยดังกลา่ วมีผลกระทบต่อการกาหนดนโยบาย การวางแผน การกาหนดกล ยุทธ์ทางการตลาดของธุรกิจ ซึ่งธุรกิจจะต้องติดตามการเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ อยู่ ตลอดเวลาเพอ่ื ปรบั เปลี่ยนแนวทางการดาเนนิ งานให้เข้าสิ่งแวดล้อมทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป ส่ิงแวดลอ้ มทาง การตลาด แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คือ ส่ิงแวดล้อมภายนอกและส่ิงแวดลอ้ มภายใน 1.สิ่งแวดล้อมหรือปัจจุบันที่อยู่ในกิจการ และกิจการสามารถทาการออกแบบหรือ ควบคมุ ได้ ประกอบด้วย 1.1 สว่ นประสมทางการตลาด (Marketing Mix ) หรือ 4 P 1.1.1 ผลิตภัณฑ์ (Product) เป็นสิ่งที่ธุรกิจนาเสนอขายให้แก่ผุ้บริโภคหรือ ตลาด เพ่ือให้เกิดความสนใจและต้องการเป็นเจ้าของที่จะยนามาใช้หรือบริโภค เพ่ือสนองความ ตอ้ งการและความจาเป็นให้ไดร้ ับความพึงพอใจ ตัวผลิตภัณฑ์จะประกอบด้วย รูปแบบ ลกั ษณะ สีสัน ตราสัญลกั ษณ์ ชอื่ ยีห่ ้อ การใหบ้ รกิ าร และการรบั ประกัน ซงึ่ ธรุ กิจสามารถพฒั นาปรับปรุงไดอ้ ยเู่ สมอ 1.1.2 ราคา (Price) เป็นมูลค้าในการแลกเปลี่ยนซอื้ ขายผลติ ภณั ฑ์และเป้น สิง่ ที่ผู้บริโภคใช้พิจารณาประกอบการตัดสินใจ ดังนั้นการต้ังราคาจงึ ควรให้อยู่บนความเหมาะสมกับ ตัวผลิตภัณฑ์ ธุรกิจจึงต้องพิจารณาถึงการเพ่ิมขึ้นหรือลดลงของราคาผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นส่ิงท่ีสามารถ ควบคุมได้ 1.1.3. การจัดจาหน่าย (Place) เป้นโครงสร้างของช่องทางการจัดจาหนา่ ย (Channel of Distribution) ท่ปี ระกอบด้วยสถาบันและกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจะนาผลิตภณั ฑอ์ อกสูต่ ลาด เป้าหมาย ซึ่งถือว่าเป็นกิจกรรมที่ช่วยในการเคลื่อนย้ายกระจายตัวผลิตภัณฑ์อกจากผู้ผลิตไปสู่ผุ้ บริโภค ธรุ กจิ สามารถเลอื กสถานทห่ี รือช่องทางการจาหนว่ ยให้เหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมายได้ 1.1.4 การส่งเสริมการตลาด (Promotion) เป็นกิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยใน การจัดจาหน่สายผลิตภัณฑ์ และเป็นการแจ้งให้ผุ้บริโภคทราบว่ามีผลิตภัณฑ์อกจาหน่ายในตลาด นอกจากนี้การส่งเสริมการตลาดยังทาหน้าที่ศึกษาวิจัยกระบวนการติดต่อส่ือสารให้เข้าใจถึง ความสัมพันธร์ ะหว่างผู้ผลิตกับผุ้บริโภค เพ่ือนาไปใช้ในการชักชวนผุ้บริโภคให้ซ้ือผลิตภณั ฑ์ หรือเพ่ือ เตอื นความทรงจาใหแ้ กผ่ ูบ้ ริโภค โดยอาศยั เครอ่ื งมือตา่ ง ๆ ได้แก่ การโฆษณา การประชาสมั พันธ์ การ สง่ เสรมิ การขาย และการขายโดยใชพ้ นักงาน 2.ส่ิงแวดล้อมภายนอก (External Environment) เป็นปัจจัยภายนอกท่ีธุรกิจไม่ สามารถควบคมให้เป็นไปในทิศทางท่ีต้องการ ดังนั้นสภาพแวดล้อมภายนอกของธุรกิจจึงได้แก่

106 องค์ประกอบทั้งหมดทอ่ี ยู่ภายนอกธุรกิจซ่ึงผลกระทบต่อการดาเนินงานสว่ นใดส่วนหนึ่ง หรือทั้งหมด ของธุรกจิ เป็นพลังผลักดันจากภายนอกองคก์ รท่ีมีอทิ ธิพลตอ่ ความสามารถในการบรรลุเป้าหมายของ องค์กร ซ่ึงพลังเหล่าน้ีเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลาและก่อให้เกิดทั้งโอกาส(Opportunities) และ อุปสรรค(Threats) ตอ่ การดาเนินงานขององค์กร ประกอบดว้ ย 2.1 เศรษฐกิจ(Economic) หากสภาพเศรษฐกิจดีก็จะเอ้ือานวยต่อการ ประกอบธุรกิจให้ประสบความสาเร็จ ในทางตรงกันข้าม ถ้าสภาพเศรษฐกิจมีแนวโน้มถดถ้อยหรือ ตกตา่ การประกอบธรุ กจิ หยุดชะงกั ล้มเหลวหรืออาจจะตอ้ งยกเลกิ 2.2 เทคโนโลยี(Technology) การเปล่ียนแปลงและความก้าวหน้าจอง เทคโนโลยีมีความสาคัญต่อองค์กรธุรกิจมากโดยมีการนาปัจจัยทางเทคโนโลยีมาพิจารณาเพื่อสร้าง ความไดเ้ ปรยี บในการแข่งขนั 2.3 การเมืองและกฎหมาย (Political Law) ได้แก่ การเมือง ข้อบังคับ นโยบายของรัฐบาล แนวโน้มการออกกฎหมายและพระราชบญั ญตั ิต่าง ๆ ไดแ้ ก่กฎหมายภาษอี าการ พระราชบัญญัตคิ ่าแรงข้ันต่า พระราชบัญญัติการโฆษณา เป็นต้น ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผล กระทบโดยตรงต่อการดาเนินงานขององค์กร เช่น การเปล่ียนแปลงกฎหมายภาษีอาการ อาจทาให้ ต้นทุนสินค้าสูงขึ้น หรือการเปล่ียนแปลงนโยบายของรัฐบาลอาจเป็นผลดีต่อการส่งเสริมการลงทุน และการสง่ ออก 2.4 สงั คมและวฒั นธรรม (Social and Culture) ได้แก่ ทศั นะคติทางสังคม ค่านยิ ม บรรทัดฐาน ความเชื่อ การเปลย่ี นแปลงดา้ นประชากร เช่นการศึกษา และอตั ราการเกิด มีผล ต่อการขาย สินคา้ และกาไรของกิจการ ดงั นั้นผุ้บริหารจงั ควรตรวจสอบและให้ความสนใจแนวโนม้ ของ การเปลยี่ นแปลงทีอ่ าจจะเป้นโอกาสหรอื อปุ สรรคกไ็ ด้ 2.3 ผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย รตั ติกรณ์ จงวิศาล. (2561) ได้ให้ความหมายของคาว่าผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย หมายถึง ผทู้ ม่ี ีส่วนเกย่ี วชอ้ ง หรือเครอื ขา่ ยทีต่ ้องเกี่ยวข้องสัมพนั ธ์กัน อาจจะเปน็ บุคคลที่อย่ภู ายในองค์กร เช่น เจ้าของกิจการ ผู้ก่อต้ัง ผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาทุกระดับ พนักงาน หรืออาจะเป็นบุคคลที่อยู่ ภายนอกองคก์ าร เชน่ ลูกค้า ซัพพลายเออร์ หรือผจู้ ัดหาสินค้าหรอื วัตถดุ ิบอน่ื หรืออาจจะเปน็ บุคคล ในครอบครัว หรือบคุ คลในสังคมทม่ี คี วามเกีย่ วข้องกับพนักง่าน หรือเก่ียวข้องกบั องคก์ าร เชน่ เพอ่ื น ร่วมอาชีพของพนักงาน ผู้นาชุมชน หรอื หน่วยงานราชการทอี่ งค์การตอ้ งเกี่ยวข้อง เสนาะ ติเยาว์ (2546) ไดใ้ หค้ วามหมายของคาว่าผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Stakeholder) ไว้วา่ หมายถงึ ผ้ทู ม่ี ีความสัมพนั ธก์ ับองค์กรธรุ กจิ แบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ คือผมู้ สี ว่ นร่วมภายใน (Internal Stakeholder) ซึง่ ได้แก่ ผู้ถอื หุ้น พนักงาน ผู้บริหาร และกรรมการบริหารของบริษัท กับ ผู้มีส่วนร่วมภายนอก (External Stakeholder) ซ่ึงได้แก่ ลูกค้า ผู้ชาย รัฐบาลสหภาพแรงงาน คู่

107 แขง่ ขัน สถาบนั การเงิน รฐั บาลท้องถ่ิน และชุมชนโดยท่วั ไป ผูม้ ีส่วนร่วมต่างย่อมมีส่วนไดป้ ระโยชน์ และเสยี ประโยชนก์ บั องคก์ ารธรุ กจิ นนั้ ๆ จากความหมายท้ังหมด สรุป ได้ว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ ผู้ที่มีความสัมพันธ์ เก่ียวกับการประกอบธุรกิจ ซึ่งจะเกี่ยวข้องได้ท้ังภายนอก เช่น ชุมชน หน่วยราชการท้องถ่ิน และ ภายใน เช่น ผู้ตัวผู้ประกอบการเอง พนักงาน และยังเป็นผู้รับประโยชน์และอาจจะ เปน็ ผูเ้ สียผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมอกี ดว้ ย 2.4 งานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง กาญจนา สุคณั ธสิรกิ ุล (2553) ได้ทาการศกึ ษาผลกระทบของธุรกิจแหง่ นวัตกรรมที่ มีต่อผลการดาเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย ผลการวิจัย พบว่า ผปู้ ระกอบการธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม มีความคิดเห็นด้วยเก่ียวกับการมีธุรกิจแห่งนวัตกรรม โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ดา้ นภาวะผู้นา ด้านกระบวนการ ด้านการวางแผน ด้านคน และดา้ นสารสนเทศ และมีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับ การมผี ลการดาเนินงานโดยรวมและราย ดา้ นอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรแู้ ละพัฒนา และ อยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน คือด้านการเงิน ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมท่ีมี ประเภทกจิ การ รูปแบบธุรกิจ ทุนจดทะเบยี น เงินทุนปัจจุบนั และจานวนพนกั งานแตกต่างกันมคี วาม คิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีธุรกิจแห่งนวัตกรรมแตกต่างกัน และผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมท่ีมีประเภทกิจการ รูปแบบธุรกิจ ระยะเวลาในการประกอบการ ทุนจดทะเบียน เงินทุน ปัจจุบันและจานวนพนักงาน แตกต่างกนั มีความคิดเห็นด้วยเก่ยี วกับการมีผลการดาเนินงานแตกต่าง กัน และ การศึกษาผลกระทบพบวา 1) ธุรกิจแหงนวัตกรรม ดานภาวะผูนาและดานกระบวนการ มี ผลกระทบเชงิ บวกตอผลการดาเนินงานโดยรวม ดานลูกคา ดานกระบวนการภายใน และดานการเงิน 2) ธรุ กจิ แหงนวัตกรรม ดานคน มีผลกระทบเชิงบวกตอผลการดาเนนิ งานโดยรวม ดานลูกคาและดาน การเรียนรูและพัฒนา และ 3) ธุรกจิ แหงนวัตกรรม ดานการวางแผนมีผลกระทบเชิงลบ มีตอผลการ ดาเนินงานดานลูกคา และ 4) ธุรกิจแหงนวัตกรรม ดานสารสนเทศ มีผลกระทบเชิงบวกตอผลการ ดาเนนิ งาน ดานกระบวนการภายใน สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (2554) ได้ศกึ ษาเกี่ยวกบั การเพาะเล้ียง กวางเป็นการจัดการฟาร์มกวางให้มีคุณภาพ คัดเลือกพนั ธุ์กวางท่ีตรงตามวัตถุประสงค์ของผเู้ ลย้ี ง มี การจัดการโรงเรือนทีเ่ หมาะสมกบั การเล้ียง จดั เตรียมอาหารให้เพยี งพอต่อปรมิ าณกวาง ผลิตภัณฑ์ท่ี ได้จากกวางเช่น เนื้อ เขาและพันธ์ุกวาง สง่ิ สาคัญสาหรับการทาฟาร์มกวางนั้น คอื การเลี้ยงกวางแล้ว ได้ผลผลติ Kelly and Moore (1978) ได้ทาการศึกษากวางแดงเร่ืองอัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศ เมีย ซึ่งอัตราส่วนสามารถเพ่ิมขึ้นได้ถึง 3:100 ภายใต้สภาพกึ่งธรรมชาติท่ีมีทุ่งหญ้า ไม่ใช่การเล้ียง

108 แบบพ้ืนท่ีจากัดในสถานีวิจัย Inver may ประเทศนิวซีแลนด์ การออกแบบระบบกวางใหม่โดยใช้ เทคโนโลยีหรือนวตั กรรมใหม่ๆ จะชว่ ยให้นกั วิจัยกวางมสี ว่ นช่วยในการพัฒนาอตุ สาหกรรมกวาง เช่น การจัดการด้านโภชนาการและการเจริญเติบโต โดยมีการนามาใช้ในการเลี้ยงกวางแดงท่ีสถานีวิจัย Inver may ในประเทศนวิ ซีแลนด์ ชัยณรงค์ คันธพนิต และคณะ(2543) ได้ทาการศึกษาการทาฟาร์มกวางภายใต้ สภาวะแวดล้อมรอ้ นช้นื ของประเทศไทยโดยมุ่งขอ้ มูลด้านเทคโนโลยีการทาฟารม์ กวาง การปรับปรุง พันธุ์ การลงทนุ รายได้ ตลอดจนขอ้ มูลทางลึกของผลิตผลจากกวาง นันทวฒั น์ เตยี วศิริมงคล และไพบูลย์ ดาวสดใส (2559) ได้ศึกษาการพัฒนาตอ่ ยอด ธุรกิจองค์กรฟาร์มไก่ไข่ของบริษัท พลวิทยาฟาร์ม จากัด จากการศึกษา พบว่า ปัจจัยที่สาคัญในการ พัฒนาตอ่ ยอดธุรกิจ ไดแ้ ก่ การแปรรูปมลู ไก่ไข่สดเปน็ ปุย๋ อินทรีย์/สารปรับปรุงดนิ สามารถเพิม่ รายได้ และช่วยลดกล่ินเหม็นจากมูลไก่ไข่สด ลดแหลง่ แมลงวัน ซ่ึงเป็นไปตามหลักการการวิเคราะห์สออ่าร ผวู้ ิจัยได้ศึกษาความเป็นไปได้ในการวางแผนธุรกิจและดาเนนิ การลงทนุ โรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์/สาร ปรับปรุงดิน ภายใต้ผลิตภัณฑ์เบนซ์ตราดาว พบว่า มีการใช้เงินลงทุนรวมท้ังสิ้น 15,017,000 บาท จากการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ ในด้านการตลาด (กาหนดรายได้เป้าหมาย 2,100,000 บาทต่อ เดือน) ด้านการผลิต ด้านการจัดการ และด้านการเงิน พบว่า มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิของการลงทุนใน โครงการ 3 ปี เท่ากับ 13,183,033 บาท ซึ่งมีค่าเป็นบวก มีผลตอบแทนภายในโครงการของ มูลค่า ปัจจบุ นั เท่ากับร้อยละ 18.87 และมรี ะยะเวลาในการคืนทุน 1 ปี 3 เดือน 27 วัน สานิตย์ หนูนิล, วิโรจน์ เจษฎาลักษณ และจันทนา แสนสุข (2559) ศึกษาความ รับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ : ปัจจัยเชิงสาเหตุและผลลัพธ์ รายงานว่า ปัจจุบันองค์กรไม่ สามารถดาเนินธุรกิจเพื่อหวังเพียงแค่ผลการดาเนินงานทางด้านการเงิน แต่ยังต้องรับผิดชอบต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง ๆ อีกด้วย เน่ืองจากการดาเนินงานขององค์กรได้ส่งผลต่อสังคมและ สิ่งแวดลอ้ มทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนัน้ ความรับผิดชอบต่อสังคมจึงถือเป็นเครื่องมือทางด้านการ บริหารท่ีสาคญั ขององคก์ รในยุคปัจจุบัน บทความนจ้ี ึงต้องการทจี่ ะนาเสนอแนวคิดเกย่ี วกับปัจจัยเชิง สาเหตุท่ีส่งผลต่อความรับผดิ ชอบต่อสังคม ได้แก่ ภาวะผู้นา การเปล่ียนแปลง การมุ่งเน้นตลาด และ การสร้างความสัมพันธ์กบั ผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี พรอ้ มทั้งผลของความรับผิดชอบตอ่ สงั คมทม่ี ีต่อชื่อเสียง ขององค์กร ศึกษาโดยการทบทวนวรรณกรรมจากแหล่งต่าง ๆ อาทิ ตารา บทความวชิ าการ บทความ วิจัย เพ่ือเป็นประโยชน์สาหรับการนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ขององคก์ ร และเพือ่ ศกึ ษาเชงิ ประจักษใ์ นอนาคต

109 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ กำรวจิ ัย กำรดำเนนิ งำนโครงกำรย่อยท่ี 1 การวจิ ยั ครง้ั นี้ ใช้การวจิ ัยเชงิ พรรณนา มุ่งเนน้ ศกึ ษาเก่ยี วกบั โซ่อุปทานการผลิตอาหารกวาง เชงิ พาณิชยใ์ นประเทศไทย มวี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบ ปญั หาอุปสรรค แนวปฏิบตั ิท่ดี ีในการ จดั การด้านโลจิสติกสข์ องผู้มสี ว่ นได้เสียในโซอ่ ปุ ทาน ต้งั แต่ต้นน้า ถึง ปลายน้า ไดแ้ ก่ เกษตรกรผปู้ ลกู พชื สด ผผู้ ลติ อาหาร ผ้จู าหน่ายอาหาร และผปู้ ระกอบการฟารม์ เพาะเลย้ี งกวาง รวมทั้งสารวจอปุ สงค์ อุปทาน และประเมนิ ความมั่นคงด้านอาหารเพื่อการเพาะเลี้ยงกวางเชิงพาณิชย์ในประเทศไทย นา ข้อมูลทัง้ หมดมาสรปุ เพอ่ื ให้ขอ้ เสนอแนะแก่ผู้มสี ว่ นได้เสียและผเู้ กย่ี วข้อง สาหรับใชใ้ นการพฒั นา ปรบั ปรุงการจัดการในห่วงโซ่อุปทานอาหารกวาง สาหรบั ธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ในประเทศ ไทย มีรายละเอียดการดาเนินการวจิ ัย ดงั น้ี 1. กำรเลอื กกลมุ่ ตัวอยำ่ ง การวิจยั น้ี เลอื กกล่มุ ตวั อย่างโดยใชว้ ิธีส่มุ ตวั อย่างแบบเจาะจง โดยคดั เลอื กตัวอย่างจากผมู้ ีสว่ นได้ เสยี ในโซ่อุปทานการผลิตอาหารกวางเชิงพาณชิ ย์ในประเทศไทย ดังน้ี 1. เกษตรกรผู้ปลูกพชื สด จานวนรวม 10 ราย 2. ผูผ้ ลิตอาหารเลี้ยงกวาง จานวนรวม 2 ราย 3. ผจู้ าหนา่ ยอาหารเล้ยี งกวาง จานวนรวม 10 ราย 4. ผปู้ ระกอบการฟาร์มเพาะเลย้ี งกวาง จานวนรวม 8 ราย 2. กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การวจิ ัยนี้ เก็บรวบรวมขอ้ มลู จาก 2 แหล่ง ดังน้ี 1. ข้อมูลปฐมภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ ผมู้ สี ่วนได้เสยี ในโซ่อุปทานการผลิต อาหารกวางเชงิ พาณิชย์ในประเทศไทย ตัง้ แต่ตน้ น้า ถึง ปลายน้า ไดแ้ ก่ เกษตรกรผู้ปลูกพืช สด ผู้ผลิตอาหาร ผู้จาหนา่ ยอาหาร และผปู้ ระกอบการฟาร์มเพาะเลี้ยงกวาง เกีย่ วกบั รูปแบบ ปญั หาอุปสรรค แนวปฏบิ ัติทด่ี ีในการจดั การด้านโลจิสตกิ ส์ อุปสงค์ และอุปทานด้านอาหาร สาหรับการเพาะเลยี้ งกวางเชงิ พาณชิ ย์ 2. ขอ้ มลู ทตุ ิยภูมิ เกบ็ รวบรวมข้อมูลเผยแพร่ของหนว่ ยงานราชการและเอกชน ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โซ่ อปุ ทานและการจัดการโลจสิ ติกส์อาหารกวางทผ่ี ลิตเชงิ พาณิชย์ทง้ั ในและต่างประเทศ

110 3. เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในกำรวจิ ยั การวจิ ัยนี้ ใช้แบบสมั ภาษณเ์ ปน็ เคร่อื งมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบคุณภาพของ เคร่ืองมอื วัดความตรงเชิงเนอ้ื หา โดยผู้เช่ียวชาญ 4. กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล การวิจยั นี้ ใชก้ ารวเิ คราะหข์ อ้ มูล 2 ประเภท ดงั น้ี 1. การวเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ ปรมิ าณ ดาเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใชอ้ งค์ความรู้ทาง เศรษฐศาสตร์ ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู ด้านอปุ สงคแ์ ละอุปทานเกีย่ วกับปรมิ าณและราคาของอาหาร เพาะเลี้ยงกวางเชงิ พาณชิ ย์ในประเทศไทย โดยข้อมลู ดา้ นอปุ สงค์ ไดแ้ ก่ ความตอ้ งการซือ้ อาหารเพาะเลี้ยงกวางในตลาด และขอ้ มูลด้านอุปทาน ไดแ้ ก่ ความตอ้ งการจาหน่ายอาหาร เพาะเล้ยี งกวางในตลาด นามาเปรียบเทยี บและวัดความมั่นคงของอาหารสาหรบั การ เพาะเลย้ี งกวางเชิงพาณชิ ย์ในประเทศไทย 2. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเชงิ คุณภาพ ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์และสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรู้ โดยใชก้ าร ประชุมแบบมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งผูเ้ ช่ียวชาญ ผู้มีสว่ นไดเ้ สยี และนกั วิจัยเพือ่ ใหไ้ ด้ข้อมูลแผนภาพ ห่วงโซ่อปุ ทานการผลติ อาหารกวางเชิงพาณิชยใ์ นประเทศไทย ขอ้ มูลขั้นตอนและ กระบวนการ ปัญหาอปุ สรรคและแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ีในการจดั การกิจกรรมดา้ นโลจิสตกิ ส์ ของผมู้ ี สว่ นได้เสยี ในห่วงโซ่ และข้อมูลการวิเคราะห์สภาพธรุ กิจในภาพรวมของห่วงโซ่ โดยใช้ หลกั การ SWOT Analysis และ TOWS Matrix เพอื่ เสนอแนวทางในการพฒั นาปรับปรุงโซ่ อปุ ทานและการจดั การโลจสิ ติกส์ สาหรับการจดั การโซ่อปุ ทานอาหารกวาง สาหรับธรุ กจิ การ ผลติ กวางเชิงพาณิชยใ์ นประเทศไทย

111 กำรดำเนินงำนโครงกำรยอ่ ยที่ 2 ในการดาเนินการวิจัย เรื่อง การประยุกต์ใช้กระบวนการทางด้านวิศวกรรมในการผลิต อาหารแห้งปลอดภัยสาหรับธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ ได้แบ่งการดาเนินการวิจัยออกเป็น 3 กจิ กรรม ดงั น้ี กิจกรรมที่ 1 กำรพัฒนำเคร่ืองสับหญ้ำที่สำมำรถควบคุมขนำดของหญ้ำอำหำรสัตว์ท่ีมี ต้นทุนกำรผลิตต่ำ - ลงพ้ืนที่เพ่ือศกึ ษาลักษณะของหญา้ ท่มี ขี นาดทเี่ หมาะสมสาหรบั อาหารสตั ว์ (กวาง) - ออกแบบและพัฒนาเครื่องสบั หญา้ ท่สี ามารถควบคมุ ขนาดของหญ้าได้ - ทาการทดสอบประสิทธิภาพการทางานของเคร่ืองสับหญ้า พร้อมท้ังประเมิน ประสิทธิภาพของเครื่องสับด้านต้นทุนการผลิตหญ้า ค่าพลังงาน และเปอร์เซนต์ของเสีย เม่ือ เปรียบเทียบกับเคร่ืองสับตน้ แบบ กิจกรรมท่ี 2 กระบวนกำรอบแห้งลดควำมชื้นของหญ้ำอำหำรสัตว์ด้วยคล่ืนไมโครเวฟ รว่ มกับระบบลมรอ้ น - ศึกษาความเหมาะสมของอุณหภูมิและกาลังคล่ืนไมโครเวฟที่สามารถใช้ในการ อบแหง้ หญ้าอาหารสัตว์ - ออกแบบและสรา้ งตู้อบแหง้ ดว้ ยคลืน่ ไมโครเวฟรว่ มกบั ระบบลมรอ้ น - ในการอบแห้งลดความชื้นจะทาการวัดคา่ ความชื้นของหญ้า คุณภาพของหญ้าแห้ง (ร้อยละของปริมาณโปรตีนต่อน้าหนักแห้งและปริมาณเส้นใยเอดีเอฟ) และระยะเวลาท่ีใช้ในการ อบแหง้ รวมถึงปรมิ าณการใชพ้ ลงั งาน โดยแบ่งการอบแห้งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ 1. อบแห้งด้วยคล่ืนไมโครเวฟ 2. อบแหง้ ด้วยระบบลมรอ้ น และ 3. อบแหง้ ดว้ ยคลน่ื ไมโครเวฟร่วมกบั ระบบลมร้อน กิจกรรมที่ 3 กระบวนกำรผลิตหญ้ำเพื่ออำหำรสตั วโ์ ดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยพี ลำสมำเพื่อ ยกระดับคุณภำพและควำมปลอดภยั - ศกึ ษาความเป็นไปได้ในการฆา่ เช้อื ด้วยพลาสมา เพ่ือเป็นขอ้ มูลประกอบเบ้อื งตน้ - สุม่ ตรวจหญ้าอาหารสัตว์เพือ่ เกบ็ ตวั อยา่ งเชื้อกอ่ โรคกอ่ นการฆ่าเช้อื ด้วยพลาสมา - ออกแบบการทดลองโดยศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการใช้พลังงานไฟฟ้าแรงสูง (หน่วย kV) ในอากาศ กับการฆ่าเชื้อกับหญ้าอาหารสัตว์ ได้แก่ ระดับพลังงานไฟฟ้าท่ีเหมาะสม ระยะเวลา การปลอ่ ยพลังงานในฆ่าเชอ้ื - หลังจากการฆ่าเช้ือด้วยพลาสมา จะทาการสุ่มตัวอ่ย่างหญ้า เพ่ือตรวจสอบเชื้อก่อ โรค - จัดทากระบวนการฆ่าเชื้อทเี่ หมาะสมทสี่ ามารถฆ่าเชอ้ื ก่อโรคในสัตว์ (กวาง)

112 3.1 กำรพัฒนำเครอื่ งสับหญำ้ ทส่ี ำมำรถควบคมุ ขนำดของหญ้ำอำหำรสัตวท์ มี่ ตี น้ ทุนกำรผลิตต่ำ ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานในออกแบบสรา้ งเครื่องสับหญ้าที่สามารถควบคุมขนาดของหญ้า อาหารสัตว์ท่ีมีต้นทุนการผลิตต่า ซง่ึ สามารถแสดงลาดบั วธิ ีการดาเนินงานดังต่อไปนี้ 3.1.1 ลาดบั ขน้ั ตอนการจดั ทางานวจิ ยั 3.1.2 วิธกี ารออกแบบและวัสดุอุปกรณท์ ใี่ ช้ดาเนนิ การวจิ ัย 3.1.3 วิธกี ารทดลองและการบนั ทึกข้อมลู เครื่องสับหญ้าทีใ่ ช้ในสหกรณ์เล้ยี งกวางแบบครบวงจร ภัคดีฟาร์ม ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ. พิษณุโลก ใชม้ อเตอร์ไฟฟา้ เป็นต้นกาลัง ใชใ้ บมดี ตงั้ ในการตัดสับพบว่าขนาดของเศษวสั ดุมขี นาดใหญ่ และตัดหญ้าขนาดเล็กไม่ขาด ไม่เหมาะสมต่อการใช้ประโยชนด์ ังกล่าว จึงต้องทาออกแบบเครื่องสับ หญ้าทส่ี ามารถแก้ไขปญั หาข้างต้น และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย เชน่ การผสมคลุกเคล้าเพื่อ เปน็ อาหารสัตว์ การทานา้ หมักชีวภาพ เป็นต้น รูปท่ี 3.1 เครือ่ งสบั หญา้ ที่ใช้งานมายาวนาน ประสทิ ธิภาพการทางานตา่ ปัจจุบันเน่ืองจากในต่างประเทศ รวมถึงประเทศไทยนิยมปลูกพืชพลังงาน เป็นจานวนมาก และข้าวโพด หญ้าเนเปียร์ก็เป็นพืชท่ีให้พลังงานในลาดับต้นๆ เม่ือเทียบกับพืชชนิด อื่น ๆ และการ ปลูกพืชพลังงานเหล่าน้ันต้องใช้ พ้ืนทเ่ี ป็นบริเวณกว้างจงึ ส่งผลใหก้ ารเกบ็ เก่ียวหญา้ ต้องใช้เครือ่ งจักร ขนาดใหญ่และมีประสิทธิภาพ เพื่อลดระยะเวลาการเกบ็ เกี่ยวรวมถึงได้ปริมาณของผลผลติ ทม่ี ากเมื่อ เทียบกับการเก็บเกี่ยวในรูปแบบอื่นๆ เครื่องตัดหญ้าแบบ Double Chop ชนดิ นี้สามารถต่อพ่วงกับ เพลาอานวยกาลังของรถแทรกเตอร์ไดท้ ุกร่นุ เคร่ือง ชนดิ นี้เหมาะสาหรับตัดหญ้าลาต้นสูงพิเศษ เช่น หญา้ เนเปยี ร์ หรือพืชท่ีลักษณะเดียวกัน เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ไมเ่ หมาะในการนามาตดั หญา้ ในสวน หรือสนามหญ้าสามารถตดั หญ้าได้ รวดเรว็ ใชใ้ นการตดั หญา้ ปรมิ าณมากๆ เหมาะกบั ฟาร์มสัตว์ขนาด ใหญท่ ่มี จี านวนใช้แรงนอ้ ยกวา่ เครื่องตดั หญา้ แบบอ่ืน

113 รูปท่ี 3.2 เครอื่ งตดั หญ้าแบบ Double Chop (แหล่งทม่ี า https://fialhostore.com/forage-harvester-for-herb-fimaks-double-chop-1500, 15 กนั ยายน 2560.) 3.1.1 ลำดบั ขั้นตอนกำรจดั ทำงำนวจิ ยั การศึกษาเกี่ ยวกั บแนวทางการออกแบบและสร้างเครื่องสั บหญ้าโดยมีลาดับข้ันตอนการ ดาเนินงานวิจัยสามารถเขียนอธิบายเป็นผังงานโปรแกรม (Program Flowchart Standards Institute) ใน การสร้างผังงานเพื่อให้เป็นไปตามขั้นตอนการทางานอย่างเป็นระบบก่อนการเริ่มปฏิบัติงาน โดยจะแสดง การดาเนนิ งานไดด้ ังรูปที่ 3.3

114 เริ่มตน้ ศกึ ษาค้นคว้าขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ งกบั งานวิจยั สรปุ ผลและ วิเคราะหก์ ารศึกษา ออกแบบสร้างต้นแบบเคร่อื งสับ ทดสอบผล ไมผ่ ่าน ปรบั ปรุงแกไ้ ข ผา่ น เกบ็ ขอ้ มลู วิเคราะหข์ ้อมลู สรุปผลขอ้ มลู ถา่ ยทอดเทคโนโลยีใหก้ บั ผู้ประกอบการ รายงานฉบับสมบูรณ์ รูปท่ี 3.3 ขนั้ ตอนการสรา้ งเคร่ืองสับหญา้ ที่สามารถควบคมุ ขนาดของ หญา้ อาหารสัตว์ทีม่ ีตน้ ทนุ การผลติ ต่า

115 3.1.2 วธิ ีกำรออกแบบและวสั ดอุ ปุ กรณ์ทีใ่ ช้ดำเนนิ กำรวจิ ยั การออกแบบเฟอื งกาลังสง่ โดยสามารถออกแบบและคานวณความเร็วพติ ซ์ไดด้ ังสมการท่ี 3.1 V   dn   mNn (3.1) เม่ือ m = โมดลู มีหน่วยเป็น มิลิเมตร N = จานวนฟัน n = ความเร็วรอบ มหี น่วยเปน็ รอบต่อนาที (rpm) การคานวณแรงที่เฟอื งสามารถรับแรงสงู สดุ Fb ดังสมการที่ 3.2 Fb   bYm (3.2) Kf เมอื่ K f = กาหนดแรงกระทาทป่ี ลายฟนั ที่ 1.45 n = ความเรว็ รอบ มีหนว่ ยเป็น รอบตอ่ นาที (rpm) ต้นกาลังใชม้ อเตอร์เท่ากบั 2 แรงมา้ คานวณไดจ้ ากสมการที่ 3.3 (Persson, S., 1987) P   2   N  r 2  m (3.3)  60  เม่อื m = 4.5 กิโลกรัม, r = 0.12 เมตร และ N = 1,445 รอบตอ่ นาที P = 1,482 วัตต์ หรือ 1.482 กโิ ลวตั ต์ ดังน้ันจึงเลือกใช้มอเตอร์ขนาด 1.5 กิโลวัตต์ หรือ 2 แรงม้า การออกแบบและสร้าง จากการศึกษางานวิจัยเคร่ืองสับย่อยที่เกี่ยวข้อง พบว่าเคร่ือง ใช้ ใบมีดตั้งในการตัดสับพบว่าขนาดของเศษวัสดุมีขนาดใหญ่ และตัดหญ้าขนาดเล็กไม่ขาด และไม่ เหมาะสมใช้ในครวั เรือนจึงไดอ้ อกแบบเคร่ืองให้มขี นาดเล็ก ใช้งานงา่ ย โดยได้ ออกแบบตามหลกั การ วิศวกรรมใช้ทฤษฏีแรงเคน้ เฉือนสาหรบั ตัดวัสดุให้ขาดแยกออกจากกนั ด้วยคม มดี เคลอ่ื นท่ีในแนวรศั มี ซึ่งความเร็วรอบตัดท่ีเหมาะสมทาให้ตัดได้ขนาดเล็ กที่สุดและได้ออกแบบ อุปกรณ์ที่สาคัญ ประกอบด้วย โครงสร้างเครื่องและชิ้นส่วนประกอบดังรูปที่ 3.4 และ 3.5 และมีคุณลักษณะและ ชิ้นสว่ นเฉพาะของอปุ กรณ์เครื่องสับแสดงดงั ในตารางท่ี 3.1

116 ตำรำงท่ี 3.1 คณุ ลกั ษณะและช้ินส่วนเฉพาะของเคร่อื งสับเอนกประสงค์ อปุ กรณ์ รายละเอียด จานวน (ชน้ิ ) มอเตอรไ์ ฟฟ้า 1 แรงดนั 220 โวลต์ 50 Hz ขนาด 2 แรงมา้ 2,800 รอบตอ่ ชดุ กลไกลบั นาที 1 ใบมดี ชดุ กลไกลับใบมีดสามมารถเอียงตามมมุ คมของใบมดี เฟือง โครงเหลก็ ชดุ เฟืองปรบั ระดับความเร็วของการสับ 1 ขนาด 300 × 600 × 250 มลิ ลิเมตร ใช้เหล็กฉากขนาด 40 1 พลู เลย์ร่องวี เพลาเหลก็ × 40 หนา 3 มิลลเิ มตร 2 ขนาด 2 น้วิ และ 8 นว้ิ รอ่ งวี 1 แท่นรองตัด เพลากลมเหล็กกล้าขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 30 มิลลิเมตร ใบมีด 1 ยาว 250 มิลลิเมตร 4 ลกู ปนื ตกุ๊ ตา เหลก็ กลา้ ยาว 250 มลิ ลิเมตร หนา 4 มิลลเิ มตร สายพานวี 2 ลกู รีด เหล็กกลา้ มาตรฐาน JIS G4051- S45C/(AISI 1045) ยาว 2 240 มิลลเิ มตรใบมดี สเี่ หล่อื มผืนผ้า 150× 250 มลิ ลิเมตร ลบั 2 คมด้านยาว 2 ข้าง UCP 206 รู 30 มลิ ลิเมตร ชนดิ A ยาว 26 นว้ิ ลกู รีดวัสดุเข้าเครื่องสับ ขนาด ยาว 250 มิลลเิ มตร หนา 60 มลิ ลเิ มตร ผวิ ตวั รีดมลี กั ษณะขรุขระ จากปัญหาดังกล่าวจึงออกแบบกลไกสาหรับการลับใบมีดของเคร่ืองสับหญ้าสาหรับผลิต อาหารสตั ว์ โดยกลไกสามารถลับใบมีดในตวั โดยไมต่ ้องเปล่ียนใหม่หรือถอดประกอบ เคร่ืองสับหญ้า ใช้มอเตอร์ขนาด 2 แรงม้า เป็นตัวต้นกาลงั ในการขับเพลาเพ่อื ให้ใบมดี สับหญา้ สามารถปรับความเร็ว รอบลูกรีดได้หลายระดับตั้งแต่ 400 – 600 รอบต่อนาที เพ่ือให้เหมาะสมกับหญ้าชนิดต่างๆ อัตรากาลังการผลิตสูงสุดอยู่ที่ 420 – 680 กิโลกรัมต่อช่ัวโมง ข้ึนอยู่กับการปรับความเร็วรอบและ ชนิดของหญ้าท่ีป้อนเข้าไปโดยขนาดหญ้าที่สับต้ังแต่ 0.5 – 3 เซนติเมตร แต่หากนาไปใช้กับ เกษตรกร ต้องล็อคความเร็วรอบของลูกรีดท่ีเหมาะสมและงา่ ยต่อการใช้งาน คอื 2 ระดับ เคร่ืองสับ ทอ่ี อกแบบสามารถลบั ใบมีดในตวั โดยไมต่ อ้ งถอดใบมดี ออกจากเคร่ือง

117 รูปท่ี 3.4 ออกแบบโครงสร้างเครอื่ งสับหญา้ สามารถลบั ใบมดี ในตัวเคร่อื งได้ รูปท่ี 3.5 ตน้ แบบโครงสรา้ งเคร่อื งสับหญา้ สามารถลบั ใบมีดในตวั เคร่ืองได้

118 3.1.3 วธิ กี ำรทดลองและกำรบันทึกขอ้ มลู ข้นั ตอนการตรวจวดั และรวบรวมผลการทดลอง ทางคณะผจู้ ัดทาไดม้ ีการแบง่ รายละเอยี ด ตารางในการบนั ทกึ ผลการทดลองเป็นไปตามกรณี ได้แก่ 1) ทดสอบความเร็วรอบของลูกรีดสาหรับปอ้ นวสั ดุ (หญา้ เนเปยี ร)์ 2) ทดสอบความเรว็ รอบของลกู รดี สาหรบั ป้อนวัสดุ (ผักตบชวา) 3) ทดสอบความเรว็ รอบของลกู รดี สาหรับปอ้ นวัสดุ (หญา้ แพงโกลา่ แหง้ ) ตำรำงที่ 3.2 ทดสอบความเร็วรอบของลกู รดี สาหรับป้อนวสั ดุ (หญ้าเนเปียร)์ เวลาในการทดสอบ ความเร็วลกู รดี 400 รอบตอ่ นาที ความเร็วลูกรดี 600 รอบต่อนาที ปรมิ าณ (กิโลกรมั ) ปริมาณ (กิโลกรมั ) ตำรำงที่ 3.3 ทดสอบความเร็วรอบของลูกรีดสาหรับป้อนวสั ดุ (ผกั ตบชวา) เวลาในการทดสอบ ความเรว็ ลกู รีด 400 รอบต่อนาที ความเรว็ ลกู รีด 600 รอบต่อนาที ปริมาณ (กโิ ลกรัม) ปริมาณ (กโิ ลกรัม) ตำรำงท่ี 3.4 ทดสอบความเรว็ รอบของลกู รดี สาหรับป้อนวสั ดุ (หญ้าแพงโกลา่ แหง้ ) เวลาในการทดสอบ ความเร็วลกู รีด 400 รอบต่อนาที ความเรว็ ลกู รดี 600 รอบต่อนาที ปริมาณ (กโิ ลกรมั ) ปรมิ าณ (กโิ ลกรมั )

119 3.2 กระบวนกำรอบแหง้ ลดควำมชื้นของหญ้ำอำหำรสัตว์ด้วยคล่ืนไมโครเวฟร่วมกับระบบลมร้อน ในส่วนกระบวนการอบแห้งท่ีมีความชื้นของหญ้าน้อยกว่าร้อยละ 15 โดยน้าหนักตาม มาตรฐานสินค้าเกษตร ประยุกต์ใชค้ ลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบลมร้อน โดยแบ่งการศึกษาท้ังหมด 3 สว่ น ได้แก่ 1. การอบแห้งดว้ ยลมร้อนที่ชว่ งอณุ หภมู ิ 60 - 100 องศาเซลเซียส 2. การอบแหง้ ด้วยไมโครเวฟทีก่ าลงั คล่นื ไมโครเวฟ 300-800 วตั ต์ 3. การอบแหง้ ดว้ ยไมโครเวฟรว่ มกับลมรอ้ น ซึง่ มรี ายละเอียดการดาเนนิ งานวจิ ัยในแตล่ ะสว่ น ดงั น้ี 3.2.1 อุปกรณ์และเครือ่ งมือที่ใชใ้ นกำรทดลอง งานวจิ ัยนีด้ าเนินการออกแบบและสรา้ งเครื่องอบแห้งด้วยไมโครเวฟร่วมกับลมร้อนแบบ สายพานลาเลียงมรี ายละเอยี ดอปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือดังแสดงในตารางท่ี 3.5 ตำรำงที่ 3.5 วัสดุอปุ กรณ์ท่ีใช้สาหรับเครื่องอบแห้งด้วยไมโครเวฟร่วมกบั ลมร้อนแบบสายพาน ลาเลียง อุปกรณ์ คุณสมบัติ มอเตอรป์ รับรอบ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ ขนาด 220V, กาลงั ไฟฟา้ 150W, ความถี่ 50 Hz. พร้อมชุดปรับความเร็ว รอบ สายพานเทปล่อนทนอณุ หภูมิสงู สายพานตาข่ายใยแก้วทนความร้อน ซ่ึงทนความ รอ้ นตั้งแต่ -180 ถงึ +260 องศาเซลเซียส

อุปกรณ์ 120 เทอร์โมคปั เปิลชนดิ K คณุ สมบตั ิ ฮีตเตอร์ครีบ ขนาด 800 วตั ต์ เซนเซอร์วัดอุณหภูมิแบบ Thermocouple K- Type วัดอุณหภูมิได้ระหว่าง 0-400 องศา เซลเซียส สายเป็นโลหะเสริมความแข็งแรงและทน ตอ่ อณุ หภมู ิท่ีสงู ๆ ได้ แบบตัวยู (U-Shape) ขนาด 220 โวลต์ 800 วัตต์ ยาว 200 มิลลิเมตร ท่อขนาด 12 มิลลิเมตร น็อต ขน าดหั ว M18 ร ะ ย ะ ร ะ หว่ าง ขั้ว ไ ฟ ฟ้า 50 มิลลิเมตร แมกนตี รอนขนาด 800 วตั ต์ iรุ่น OM75P ทาหน้าที่เป็นตัวกาเนิดคลื่นไมโครเวฟหรือสร้าง พลังงานไมโครเวฟ ไมโครเวฟจะเคล่ือนที่ผ่านท่อ นาคล่ืนไปยังวัสดุท่ีนามาผ่านกระบวนการท่ีอยู่ ภายใน เคร่ืองวดั อณุ หภมู ิ (temperature) ร่นุ เครื่องวัดอุณหภูมิ (Temperature) คืออุปกรณ์ REX-C100 ตรวจวัดค่าขึ้นลงของอุณหภูมิโดยประมวลผล ออกมาเป็นตัวเลข เคร่ืองวัดอุณหภูมิ อาจเป็น 2 หลัก หรือมากกว่าด้านหน้าจอของเคร่ืองควบคุม อณุ หภูมิ มปี ุ่มกาหนดคา่ ตา่ งๆ มลั ติมิเตอร์ (Multimeter) รนุ่ Fluke 110 มัลติมิเตอร์แบบตัวเลข ใช้วัดปริมาณทางไฟฟ้า นอกจากนี้ยังสามารถวัดปริมาณกระแสสลับ วัด การขยายกระแสตรงของทรานซสิ เตอร์ วัดความ จุไฟฟ้า และตรวจสอบไดโอด บางชนิดมีคุณสมบัติ การวดั ทีห่ ลากหลาย

121 อุปกรณ์ คุณสมบตั ิ ตัวรบั รู้วัดนา้ หนกั (Load Cell Weight Sensor) ขนาด 3 กิโลกรัม ตัวรับรู้ที่สามารถแปลงค่าแรงกด หรือแรงดึง ให้ เปน็ สัญญาณทางไฟฟ้าได้ โดยการเปล่ียนแปลงค่า โมดลู ขยายสญั ญาณ (Module Dual) ร่นุ ความตา้ นทานตาม แรงกด หรอื แรงดงึ โหลดเซลล์ HX711 ถูกนาไปใช้ในอุตสาหกรรม หลากหลายประเภท ได้แก่ การช่ังน้าหนัก การทดสอบแรงกดของ สวติ ซ์ปมุ่ กดแบบเมทรกิ ซ์ 4x4 (Matrix ชิน้ งาน การทดสอบความแข็งแรงของชิ้นงาน Keypad 4x4) โมดูลขยายสัญญาณ รุ่น HX711 ขยายสัญญาณ จากตัวรับรู้วัดน้าหนัก สาหรับส่งให้ อาดูโน่เป็น สัญญาณแบบดิจิทัล 24 บิท เป็นบอร์ดภาคขยาย สัญญาณจากตัวรับรู้วัดน้าหนักมีชอ่ งอินพุตสาหรับ ตอ่ กับตัวรับรู้วัดน้าหนักไดโ้ ดยตรง ใช้ไฟเลี้ยง 2.6- 5.5 โวลต์ เป็นสวติ ซ์ปุ่มกดแบบเมทริกซ์ 4x4 ใช้ในการรับค่า คาสั่งท่ีกดไปประมวลผลในโปรแกรม เช่น ใช้รับ รหัสเปิดปิดประตู ใช้รับรหัสเข้าคาส่ังในโปรแกรม เปน็ ต้น โมดูลจอแสดงผลแบบสีขนาด 3.5 นิว้ (LCD จอแสดงผลแบบสีขนาด 3.5 น้ิว ความละเอียด 3.5\" TFT Module) 320x480 พิกเซล มชี ่องใส่ เอสดี การด์ อ่าน/เขยี น ข้อมูล เก็บรูปภาพ สาหรับโหลดขึ้นไปแสดงผล โมดูลตัวแปลงดิจิตอล ชนดิ K (Digital หน้าจอ ออกแบบมาสาหรับ อาดุยโน่ ยูโน่ Converter Module for K-Type) โดยเฉพาะ จงึ ใช้งานง่าย เพียงแค่เสียบลงในบอร์ด สาหรับอาดุยโน่ ยูโน่ ก็สามารถแสดงข้อความ รปู ภาพ แบบสีได้ตามท่ตี ้องการ เหมาะสาหรับในงานอุตสาหกรรม โดยมีความ เทีย่ งตรงในการวัดสงู มาก ทนทาน ไม่ชารุดง่าย ตัว วัดทามาจากโลหะ สามารถวดั อุณหภูมไิ ด้ 0-800 องศาเซลเซียส ในชุดมาพร้อมกับโมดลู MAX6675 สาหรับแปลงสัญญาณจากเทอร์โมคับเปิลให้เป็น ดจิ ิทัล เพอื่ ให้นาไปใช้งานกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์ ไดง้ ่าย

122 3.2.2 กำรออกแบบและสร้ำงเครือ่ งอบแห้งดว้ ยไมโครเวฟรว่ มกับลมร้อนแบบสำยพำนลำเลียง ในส่วนนแี้ บ่งการออกแบบและสรา้ งเปน็ 2 สว่ น ได้แก่ 1) โครงสรา้ งเครอ่ื งอบแห้งด้วยไมโครเวฟร่วมกบั ลมร้อนแบบสายพานลาเลียง 2) ระบบควบคุมการทางานนของเคร่ืองอบแห้งด้วยไมโครเวฟร่วมกับลมร้อนแบบ สายพานลาเลยี ง 1) โครงสรำ้ งเครอื่ งอบแห้งด้วยไมโครเวฟรว่ มกับลมรอ้ นแบบสำยพำนลำเลียง โครงสร้างเครื่องอบแห้งด้วยไมโครเวฟร่วมกับลมร้อนแบบสายพานลาเลียงประกอบด้วย 7 ส่วน ได้แก่ ชุดแมกนีตรอน ชุดสร้างความร้อน ห้องสร้างลมร้อน ห้องอบแห้ง สายพานลาเลียง ชุด สร้างแรงดนั สูงสาหรับไมโครเวฟ และตู้ควบคุมการทางานของเครื่องอบ แสดงขนาดและส่วนประกอบ ของต้นแบบเครอ่ื งอบแหง้ ด้วยไมโครเวฟร่วมกับลมรอ้ นแบบสายพานลาเลยี งดังรูปที่ 3.6 2) ระบบควบคมุ กำรทำงำนนของเครอื่ งอบแห้งด้วยไมโครเวฟรว่ มกับลมรอ้ นแบบ สำยพำนลำเลียง ในสว่ นนี้แสดงขัน้ ตอนการออกแบบระบบควบคุมเครอื่ งอบแหง้ ไมโครเวฟร่วมกบั ลมร้อนแบบ สายพานลาเลียงแสดงภาพรวมของระบบควบคุมเครือ่ งอบแห้งไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน ดังรูปที่ 3.7 และผังงานโปรแกรมควบคุมการทางานของเคร่ืองอบแหง้ ไมโครเวฟร่วมกับลมรอ้ น ดังรูปที่ 3.8 ซึ่งมี ขนั้ ตอนการทางาน ดงั นี้ ข้ันตอนที่ 1 ระบบรับข้อมูลจากคีย์แพดที่กาหนดอุณหภูมิที่ใช้ในการอบแห้งและความช้ืน สดุ ท้าย จากน้ันระบบรบั ค่าเซน็ เซอร์ ได้แก่ เซ็นเซอร์วัดอณุ หภูมิ รุ่น K-Type โดยมีตัวขยายสัญญาณ Digital Module for K-Type (MAX6675) เซ็นเซอร์น้าหนัก (Load Cell Sensor) โดยมีตัวขยาย สญั ญาณ Weight Sensor Module (HX711) ขั้นตอนท่ี 2 จากนั้นระบบประมวลผลตามเงื่อนไขการทางานของระบบด้วยหน่วย ประมวลผลของไมโครคอนโทรลเลอร์ ขั้นตอนท่ี 3 แสดงค่าอินพุตต่างๆ ได้แก่ อุณหภูมิภายในห้องอบ น้าหนักของวัสดุ ออกจอ TFT LCD ข้ันตอนที่ 4 การควบคุมการทางานของอุปกรณ์ ได้แก่ รีเลย์ใช้ในการควบคุมการ เปิด-ปิด การทางานของตัวสรา้ งความร้อน (Heater) และแมกนีตรอนในระบบตามเง่อื นไขท่ีกาหนดไว้

123 รปู ที่ 3.6 ขนาดและส่วนประกอบของตน้ แบบเครื่องอบแห้งด้วยไมโครเวฟรว่ มกับลมร้อน แบบสายพานลาเลยี ง

124 Input Microcontroller Output Keypad TFT LCD Display + Microwave Relay K-Type MAX6675 Heater ++ Arduino Mega 2560 Load Cell Sensor HX711 รูปที่ 3.7 ระบบควบคมุ เคร่ืองอบแห้งดว้ ยไมโครเวฟรว่ มกับลมร้อนแบบสายพานลาเลียง

125 รูปท่ี 3.8 ผงั งานโปรแกรมควบคุมการทางานของเครอื่ งอบแหง้ ไมโครเวฟรว่ มกบั ลมรอ้ น

126 3.2.3 กำรทดสอบเครื่องอบแห้งไมโครเวฟรว่ มกบั ลมร้อน ในโครงงานวิจัยน้ีทาการศึกษาการอบแห้งทั้ง 3 รูปแบบ ได้แก่ การอบแห้งด้วยไมโครเวฟ การอบแห้งด้วยลมร้อน และ การอบแห้งด้วยไมโครเวฟร่วมลมร้อน โดยทดสอบด้วยหญ้าแพงโกล่า (พืชอาหารสตั ว์) ที่นามา ห่นั เป็นท่อนขนาด 1-2 นิ้ว ใชส้ ายพานลาเลยี งความเร็ว 10 รอบต่อนาที และ ความเร็วลมร้อนที่ 0.5 ±0.1 ms-1 ซึ่งแสดงรายละเอียดดงั น้ี 1) การอบแห้งดว้ ยไมโครเวฟ ศึกษาปจั จัยทใ่ี ช้ในการทดลอง 2 ปัจจยั ได้แก่ ขนาดกาลงั ไฟฟา้ ทใี่ ช้สร้างคล่ืนไมโครเวฟ และ เวลาท่ีใช้ในการอบแห้ง - กาลังไฟฟ้าทส่ี รา้ งคล่นื ไมโครเวฟขนาด 300, 400, 500, 600, 700 และ 800 วตั ต์ - ระยะเวลาทใี่ ช้ในการอบแหง้ คือ 5, 10, 15, 20, 25 และ 30 นาที โดยทาการศกึ ษาทั้งหมด 36 กรณี และวดั ประสทิ ธิภาพการอบแหง้ ด้วยคา่ ความชื้นมาตรฐาน เปียก 2) การอบแห้งด้วยลมร้อน การอบแห้งด้วยลมร้อน โดยมีเงื่อนไขต่างจากการอบแห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟท่ีต้องใช้ กาลงั ไฟฟ้า 800 วัตตแ์ ละเวลาทใ่ี ช้ในการอบแห้ง โดยมเี ง่อื นไขการทดลองไดแ้ ก่ - กาลังไฟฟ้าท่ใี ชใ้ นการอบแห้งคือ 800 วัตต์ (คงท่ี) - การอบแห้งด้วยลมร้อนโดยใช้อุณหภมู ิลมร้อน 60, 70 และ 80 องศาเซลเซยี ส - ระยะเวลาที่ใช้ในการอบแห้ง คือ 5, 10, 15, 20, 25 และ 30 นาที โดยทาการศกึ ษาทั้งหมด 18 กรณี และวดั ประสิทธิภาพการอบแหง้ ดว้ ยค่าความชื้นมาตรฐาน เปียก 3) การอบแหง้ ด้วยไมโครเวฟร่วมกับลมรอ้ น การอบแห้งด้วยไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน มีเง่ือนไขต่างจากการอบแห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ และลมรอ้ นทตี่ อ้ งใชค้ ลน่ื ไมโครเวฟและลมร้อนในการทางานรว่ มกัน โดยมเี ง่ือนไขการทดลองได้แก่ - คลนื่ ไมโครเวฟขนาด 300, 400, 500, 600, 700 และ 800 วตั ต์ - การอบแหง้ ด้วยลมร้อนโดยใช้อุณหภมู ิลมร้อน 60, 70 และ 80 องศาเซลเซียส - ระยะเวลาท่ใี ช้ในการอบแหง้ คอื 5, 10, 15, 20, 25 และ 30 นาที โดยทาการศึกษาท้ังหมด 108 กรณี และวัดประสิทธิภาพการอบแห้งด้วยค่าความชื้น มาตรฐานเปียก จากน้ันนาข้อมูลมาหาค่าความช้ืนของหญ้าแพงโกล่า ด้วยค่าความช้ืนมาตรฐานเปียก (Wet Basis) โดยใช้สมการท่ี 3.4 (Nattapon et al., 2016)

MW  W  d 100 127 W (3.4) เมอื่ MW คอื ความชื้นมาตรฐานเปยี ก (%) W คอื นา้ หนักวสั ดุกอ่ นอบแหง้ (กรมั ) d คอื น้าหนกั วัสดหุ ลังอบแหง้ (กรมั ) 3.3 กระบวนกำรผลิตหญ้ำเพือ่ อำหำรสัตว์โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยพี ลำสมำเพ่อื ยกระดบั คณุ ภำพ และควำมปลอดภยั การศึกษา สรา้ งและทดสอบชุดพลาสมามวี ิธีการดาเนินการตามขั้นตอนการดาเนินงานวิจยั มี ดงั นี้ 1) ศกึ ษาทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกับการสรา้ งเคร่อื งกาเนิดพลาสมา คณะผู้จัดทาชุดสร้างพลาสมา ได้ดาเนินการศึกษาข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ และ งานวิจัยท่ีได้มีการเผยแพร่ โดยมีการกาหนดรูปแบบและคุณลักษณะเบื้องต้นของชุดต้นแบบสร้าง พลาสมาเพื่อใช้ศกึ ษาข้อมูลทางเทคนิคด้านไฟฟ้าและผลในการทดสอบกับเชื้อโรค เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ ชัดเจนในการนาไปสร้างชดุ พลาสมาในขนั้ ตอนสดุ ทา้ ย 2) ศึกษาทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการใช้พลาสมาในการทดสอบท่ีเกี่ยวข้องกับ แนวทางงานวิจัย คณะผู้จัดได้ศึกษางานวิจัยทางในประเทศและต่างประเทศ เพ่ือศึกษาแนวทาง กระบวนการ ทดสอบ และสว่ นเก่ียวขอ้ งอ่นื ๆ เพ่ือให้การทดสอบได้ข้อมูลทชี่ ัดเจน 3) ดาเนินการทดสอบเคร่ืองพลาสมาต้นแบบเพ่อื ศกึ ษาผลทางดา้ นไฟฟ้า และการทดสอบกับ เช้อื ที่สามารถพบไดใ้ นหญา้ เลี้ยงกวาง คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการสร้างชุดพลาสมาตามรูปท่ี 3.9 ซ่ึงสามารถสร้างพลาสมาจาก แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับป้อน 0-250 V ความถี่ประมาณ 50 Hz โดยมแี รงดันด้านออกประมาณ 20- 40 kV ความถ่ปี ระมาณ 5 kHz

128 รูปที่ 3.9 ชุดสร้าง Cold Plasma ตน้ แบบสาหรับใช้ทดลอง 4) ดาเนินการทดสอบเคร่ืองพลาสมาต้นแบบเพือ่ ศกึ ษาผลทางดา้ นไฟฟ้า และการทดสอบกับ เชอ้ื ท่ีสามารถพบไดใ้ นหญา้ เลยี้ งกวาง คณะทางานไดแ้ บ่งการทดสอบออกเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย - การทดสอบคุณลักษณะทางไฟฟ้า ประกอบด้วย แรงดัรไฟฟ้าด้านออก ความถ่ี ไฟฟ้าในขณะเกิดพลาสมา อุณหภมู ขิ องลาแสงพลาสมา และผลอื่นๆที่เกี่ยวข้องกบั การเกดิ พลาสมา ณ ห้องปฏบิ ัติการทางไฟฟา้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา พิษณุโลก - การทดสอบคุณลักษณะทางจุลชีววิทยา ประกอบด้วย ผลการใช้พลาสมาท่ีมีต่อ เชื้อโรค (E. coli และ Salmonella sp.) ณ ห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลา้ นนา พิษณโุ ลก 5) ดาเนินการสรปุ และรายงานผลการทดสอบเผยแพร่ คณะทางานจะมีการดาเนินการสรุปเป็นงานวิจัยเพ่ือเผยแพร่ในงานประชุมวิชาการหรือสาร สารทางวิชาการเพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนข้อมูลและนาผลท่ีได้มาปรับปรุงให้เครื่องท่ีจะสร้างชุด สมบูรณม์ ีสมรรถนะทีด่ มี ากขึ้น 6) ดาเนนิ การสร้างชดุ พลาสมาทีเ่ หมาะสม คณะทางานจะรวบรวมข้อมูลท้ังหมดที่ได้จากเคร่ืองต้นแบบเพ่ือนามาประกอบเครื่อง พลาสมาในขนั้ ตอนสดุ ทา้ ย 3.3.1 กำรทดลองและเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตามทีค่ ณะทางานได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน สามารถแบง่ การนาเสนอได้ดังน้ี 1) การทดสอบคณุ ลักษณะทางไฟฟ้า คณะทางานจะดาเนินการทดสอบโดยใช้แรงดันไฟฟ้าป้อนในช่วง 100 – 250 Volt ซึ่งเป็น แรงดันในระบบ 1 เฟส โดยจะดาเนินการปรับเพิ่มข้ึนทีละ 10 Volt ทาการวัดค่าพารามิเตอร์ทาง

129 ไฟฟ้าที่บริเวณพื้นผิวท่ีเกิดพลาสมา ด้วยแผ่นระนาบอะลูมิเนียมฟอล์ยรูปซ่ีแปรงผมระยะห่างซ่ี ประมาณ 2 มิลลิเมตร ผลที่ได้จากการศึกษาทาใหค้ วามสมั พันธ์ปริมาณการเกิดพลาสมา แรงดันไฟฟ้า ความถที่ สี่ ร้างพลาสมา และอณุ หภูมิทีบ่ รเิ วณพลาสมา ตำรำงท่ี 3.6 ผลการทดสอบขอ้ มูลทางไฟฟ้า ข้อมลู ทางไฟฟ้าด้านออก อุณหภมู ิบริเวณ การเกดิ พลาสมา แรงดัน ความถ่ี แรงดันไฟฟ้าค่ายอด แรงดนั ไฟฟ้าค่ายอด (kHz) จากการวัดดว้ ย จากการวดั ด้วยมเิ ตอร์ (C) ด้านเข้า Oscilloscope (V) (Vp) (V) คา่ ตา่ สดุ คา่ สูงสุด คา่ เฉลย่ี 2) การทดสอบคณุ ลักษณะทางจุลชีววทิ ยา เนอื่ งจากข้อจากัดในเร่อื งการปฏบิ ัติในห้องทดสอบทางคณะทางานไดท้ าการทดสอบเบ้อื งต้น พบว่าแนวทางการศึกษาจะแบ่งการศึกษาผลของพลาสมาท่ีมีต่อเชื้อโรคออกเป็นที่แรงดัน 4 ระดับ ไดแ้ ก่ 150, 175, 200, 225 และ 250 Volt ระยะหา่ งระหว่างแผน่ ระนาบกับแผน่ กระจกแตม้ เชือ้ โรค ทั้ง 2 ออกเป็น ระยะ 1, 2 และ 3 cm และชว่ งเวลาในการให้พลาสมาแบ่งออกเป็น 1, 2, 3, 4 และ 5 นาที จากน้นั จะทาการนาข้อมูลทไ่ี ด้วเิ คราะห์ และสรุปผลการทดลอง ตำรำงที่ 3.7 ผลการทดสอบข้อมลู ทางจุลชวี วิทยา Treatment จานวนเช้อื E. coli จานวนเชือ้ Salmonella No. log10 CFU/ml % การลดลงของเชื้อ log10 CFU/ml % การลดลงของเชื้อ

130 เนือ่ งจากขอ้ จากดั ในเร่ืองการปฏิบัตใิ นห้องทดสอบทางคณะทางานได้ทาการทดสอบเบือ้ งต้น พบว่าแนวทางการศึกษาจะแบ่งการศึกษาผลของพลาสมาที่มีต่อเช้ือโรคออกเป็นท่ีแรงดัน 4 ระดับ ไดแ้ ก่ 150, 175, 200, 225 และ 250 Volt ระยะหา่ งระหวา่ งแผ่นระนาบกับแผ่นกระจกแตม้ เชอ้ื โรค ทง้ั 2 ออกเป็น ระยะ 1, 2 และ 3 cm และช่วงเวลาในการให้พลาสมาแบ่งออกเป็น 1, 2, 3, 4 และ 5 นาที จากน้นั จะทาการนาข้อมลู ท่ีได้วเิ คราะห์ และสรปุ ผลการทดลอง 3.3.2 กำรเกบ็ ข้อมูล คณะทางานใช้สถานที่เพ่ือทาการทดสอบประกอบด้วย ห้องปฏิบัติการทางไฟฟ้า อาคาร วศิ วกรรมศาสตร์ และห้องปฏบิ ัติการทางจุลชีววิทยา อาคารวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา พิษณโุ ลก 3.3.3 เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ท่ีใช้ในกำรทดลอง เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการทดลองประกอบดว้ ยเครอื่ งมือดงั ต่อไปนี้ 1) เครื่องมอื วดั ทางไฟฟา้ - มัลตมิ ิเตอร์ มลั ติมิเตอร์ใช้งานร่วมกับหัวโพรบลดทอนสัญญาณเพื่อแสดงค่าเฉลี่ยแรงดันไฟฟา้ แบบ Root Mean Square รปู ท่ี 3.10 มัลตมิ ิเตอร์ - โพรบลดทอนสัญญาณไฟฟา้ อตั รา 1:1,000 เน่ืองจากแรงดนั ในการสร้างพลาสมาเป็นแรงดันในลักษณะแรงดันไฟสูง เพื่อทาให้ โมเลกลุ ของอากาศแตกตัวเป็นประจภุ ายใตส้ นามไฟฟ้าแรงดนั สูง จึงจาเป็นต้องลดทอนระดบั สัญญาณ ของแรงดันไฟฟ้าในขณะทาการตรวจวัดให้เป็นแรงดันต่าลงโดยไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง สัญญาณและเป็นการลดความอันตรายตอ่ เครือ่ งวัดและผทู้ ดลอง

131 รปู ท่ี 3.11 โพรบลดทอนสญั ญาณไฟฟา้ อัตรา 1:1,000 - เครอ่ื งวดั แบบแสดงรปู สญั ญาณ Oscilloscope การศกึ ษาไฟฟ้าแรงดันสูงโดยท่ัวไปจะแสดงค่าในรูปแบบของสัญญาณค่ายอด และ ความถี่ Oscilloscope สามารถแสดงคา่ ดงั กล่าวได้ ทางคณะทางานจึงเลอื กใช้ Oscilloscope ในการ ตรวจวดั และนาผลทไ่ี ดม้ าเปรยี บเทยี บกบั มัลตมิ เิ ตอรด์ ว้ ย รปู ที่ 3.12 Oscilloscope ของ Agilent - เคร่ืองมอื วดั ความร้อนแบบกล้องอนิ ฟาเรดถา่ ยภาพความรอ้ น ในการศกึ ษาพลาสมาครั้งนี้มุง่ เน้นไปท่ีการสร้างพลาสมาเย็น หรือ Cold Plasma ทางคณะดาเนินงานจงึ อาศัยการแสดงผลผ่านทางเครื่องมือวดั ความร้อนแบบกลอ้ งอนิ ฟาเรดถา่ ยภาพ ความร้อน