Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อุปทานของการผลิตกวางเชิงพาณิชย์และผลกระทบ (เอกรัฐ ชะอุ่มเอียด, 2562)

การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อุปทานของการผลิตกวางเชิงพาณิชย์และผลกระทบ (เอกรัฐ ชะอุ่มเอียด, 2562)

Published by RMUTL Knowledge Book Store, 2021-11-01 04:50:47

Description: การทำฟาร์มกวางกวางรูซ่าเชิงพาณิชย์ มีความเสี่ยงในการลงทุนทำฟาร์มอยู่ในระดับต่ำ และมีผลตอบแทนคุ้มค่าในการลงทุน สามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง ตั้งแต่ฟาร์มเลี้ยง และต่อยอดไปสู่ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ได้แก่ รีสอร์ต ร้านอาหาร ร้านกาแฟ และร้านขายสินค้าที่ระลึก

ดังนั้น เมื่อต้องการการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต หรือหาวิธีการลดต้นทุนในการผลิตต่อหน่วยลงให้ได้มากสุด เพื่อเพิ่มผลกำไรของฟาร์มให้มากยิ่งขึ้น นักวิจัยจึงดำเนินการในการพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อุปทานของการผลิตกวางเชิงพาณิชย์และผลกระทบ โดยมีภักดีฟาร์มร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก โดยมีวิธีการดำเนินการดังนี้

ศึกษาถึงโซ่อุปทานของอาหารและกระบวนการผลิตอาหารอาหารกวางเชิงพาณิชย์
พัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารกวาง (ทั้งหญ้าแห้ง และอาหารกวางผสมเสร็จ (Total Mixed Ration: TMR)
พัฒนาโปรแกรมและเครื่องให้อาหารกวางอัตโนมัติ
พัฒนาสื่อการเรียนรู้สำหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตอาหารกวางเชิงพาณิชย์แล้ว
ศึกษาผลกระทบของธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ต่อผู้ประกอบการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

Keywords: โซ่อุปทาน, กวาง, อาหารกวาง, การผลิตกวางเชิงพาณิชย์, supply chain, deer, deer feedstuff, commercial deer farming, การผลิตอาหารแห้ง, กระบวนการทางด้านวิศวกรรม, commercial deer farming business, produce dried feedstuff, engineering process, กวางรูซ่า, เครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์, หญ้าแพงโกล่า, อาหารผสมเสร็จ, Ruza deer, pelleting machine, Digitaria eriantha, total mixed ration (TMR), การพัฒนาระบบ, การจัดการงานฟาร์ม, การประชาสัมพันธ์, System Development, Farm Management, Public Relations, สื่อการเรียนรู้, แอนิเมชัน 3 มิติ, Instructional, Media 3D Animation, ธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์, ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย, Commercial Deer Farming, Stakeholder

Search

Read the Text Version

รายงานวิจัยฉบับสมบรู ณ์ การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสตั วใ์ นระบบโซอ่ ปุ ทาน ของการผลิตกวางเชิงพาณชิ ย์และผลกระทบ The Development of Feedstuff Formula and Production For Supply Chain of Commercial Deer Farming and Impacts เอกรัฐ ชะอมุ่ เอียด ผู้อานวยการแผนงานวจิ ยั สพุ รรัตน์ ทองฟัก หวั หน้าโครงการยอ่ ยท่ี 1 ศภุ ชยั ชุมนุมวฒั น์ หัวหน้าโครงการย่อยท่ี 2 อุษณยี ์ภรณ์ สร้อยเพช็ ร์ หวั หน้าโครงการย่อยท่ี 3 อารยา นุ่มน่มิ หวั หน้าโครงการยอ่ ยท่ี 4 ศิริภรณ์ บญุ ประกอบ หัวหน้าโครงการยอ่ ยที่ 5 รชั ดาภรณ์ แสนประสทิ ธ์ิ หัวหนา้ โครงการยอ่ ยที่ 6 ไดร้ ับทนุ อุดหนุนการวจิ ยั จากงบประมาณแผ่นดิน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา

สารบญั ณ บทสรปุ ผู้บรหิ าร หน้า บทคดั ย่อโครงการยอ่ ยท่ี 1 บทคัดย่อโครงการย่อยที่ 2 ก บทคัดยอ่ โครงการยอ่ ยที่ 3 ฉ บทคดั ย่อโครงการยอ่ ยที่ 4 ซ บทคดั ยอ่ โครงการย่อยที่ 5 ฌ บทคดั ยอ่ โครงการย่อยที่ 6 ฎ สารบัญ ฏ ฑ บทท่ี 1 บทนา ณ ความสาคัญและท่มี าของปญั หาที่ทาการวิจัย วตั ถปุ ระสงคห์ ลักของชุดโครงการ 1 เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์ 1 ทฤษฎี สมมตุ ิฐาน (ถามี) และกรอบแนวคดิ ของชุดโครงการวิจัย 4 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง 4 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ งโครงการยอ่ ยที่ 1 เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วขอ้ งโครงการยอ่ ยท่ี 2 6 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้องโครงการย่อยที่ 3 6 เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วข้องโครงการยอ่ ยที่ 4 28 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ งโครงการย่อยท่ี 5 54 เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ งโครงการย่อยที่ 6 82 99 บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินการวิจยั 101 การดาเนินงานโครงการยอ่ ยที่ 1 การดาเนินงานโครงการยอ่ ยท่ี 2 109 การดาเนินงานโครงการย่อยท่ี 3 109 การดาเนนิ งานโครงการยอ่ ยท่ี 4 111 การดาเนินงานโครงการยอ่ ยท่ี 5 134 การดาเนนิ งานโครงการยอ่ ยที่ 6 137 144 159

สารบญั (ต่อ) ด บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู หน้า ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู โครงการยอ่ ยที่ 1 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลโครงการยอ่ ยท่ี 2 164 164 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู โครงการยอ่ ยท่ี 3 190 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู โครงการยอ่ ยท่ี 4 222 233 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลโครงการย่อยท่ี 5 235 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลโครงการยอ่ ยท่ี 6 241 บทท่ี 5 สรุป อภปิ ลายผล และข้อเสนอแนะ 258 สรปุ อภิปลายผล และข้อเสนอแนะโครงการยอ่ ยที่ 1 258 261 สรุป อภปิ ลายผล และขอ้ เสนอแนะโครงการยอ่ ยที่ 2 263 สรปุ อภปิ ลายผล และขอ้ เสนอแนะโครงการยอ่ ยท่ี 3 264 สรปุ อภปิ ลายผล และขอ้ เสนอแนะโครงการย่อยท่ี 4 265 267 สรปุ อภปิ ลายผล และข้อเสนอแนะโครงการยอ่ ยท่ี 5 สรปุ อภปิ ลายผล และข้อเสนอแนะโครงการยอ่ ยที่ 6 274 บรรณานกุ รม 284 285 ภาคผนวก 288 ภาคผนวก ก การนาเสนอขอ้ เสนอแผนงานวจิ ยั ตอ่ ทป่ี รกึ ษาแผน งานวิจัย และผูป้ ระกอบการ 298 ภาคผนวก ข การติดตามรายงานความกา้ วหนา้ โครงการวจิ ยั 310 และการตดิ ตามการดาเนนิ งานโครงการยอ่ ย ภาคผนวก ค กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี ประวัตินกั วจิ ัย

ก บทสรปุ ผบู้ รหิ าร แผนงานวิจัย เรอ่ื ง : การพฒั นาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อปุ ทานของการผลิต โครงการย่อยที่ 1 โครงการย่อยที่ 2 กวางเชงิ พาณิชย์และผลกระทบ โครงการยอ่ ยที่ 3 โครงการยอ่ ยท่ี 4 : โซ่อุปทานการผลิตอาหารกวางเชิงพาณิชยใ์ นประเทศไทย โครงการยอ่ ยท่ี 5 โครงการย่อยท่ี 6 : กระประยุกต์ใช้กระบวนการทางดา้ นวิศวกรรมในการผลิตอาหารแหง้ ปลอดภยั คณะผู้วจิ ัย สาหรับธรุ กิจการผลติ กวางเชงิ พาณชิ ย์ ปที ่ีดาเนินการ แหลง่ ทุน : ศักยภาพการผลิตอาหารสตั วอ์ ย่างยัง่ ยืนตอ่ การเลีย้ งกวางเชิงพาณชิ ยใ์ นพ้ืนที่ จงั หวัดพิษณโุ ลก : การพัฒนาโปรแกรมให้อาหารกวางอัตโนมัติสาหรับระบบธรุ กิจกวางเชิงพาณิชย์ : การพัฒนาสอ่ื การเรียนร้รู ปู แบบการต์ นู แอนเิ มชั่น 3 ภาษา สาหรับการถ่ายทอด เทคโนโลยกี ระบวนการผลิตอาหารกวางเชิงพาณชิ ย์ : ผลกระทบของธุรกจิ การผลิตกวางเชิงพาณิชย์ตอ่ ผปู้ ระกอบการ และผ้มู ีส่วนได้ ส่วนเสีย กรณีศึกษา ภักดีฟารม์ อาเภอวงั ทอง จังหวดั พษิ ณโุ ลก : ดร.เอกรัฐ ชะอ่มุ เอียด ผอู้ านวยการแผนงานวจิ ยั ผศ.สุพรรตั น์ ทองฟกั หัวหนา้ โครงการยอ่ ยท่ี 1 นายศภุ ชัย ชมุ นมุ วฒั น์ หัวหน้าโครงการย่อยท่ี 2 ดร.อุษณีย์ภรณ์ สรอ้ ยเพช็ร์ หัวหนา้ โครงการย่อยท่ี 3 นางอารยา นุ่มน่ิม หัวหนา้ โครงการย่อยที่ 4 นางสาวศริ ภิ รณ์ บุญประกอบ หัวหนา้ โครงการยอ่ ยที่ 5 นางรัชดาภรณ์ แสนประสิทธิ์ หัวหน้าโครงการย่อยที่ 6 : 2562 : มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวิจัย เรอื่ ง การพฒั นาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อปุ ทานของการผลิตกวาง เชิงพาณิชย์และผลกระทบ มีวัตถุประสงค์หลัก 7 ข้อดังน้ี (1) รวบรวมข้อมูลโซ่อุปทานของอาหารและ กระบวนการผลติ อาหารอาหารกวางเชงิ พาณิชย์ (2) พัฒนากระบวนการผลิตอาหารหญา้ แหง้ ปลอดภยั สาหรับ กวางด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟและเทคโนโลยีพลาสมา (3) พัฒนาสูตรอาหารกวางผสมเสร็จ (Total Mixed Ration: TMR) อย่างน้อย 1 สูตร (4) พัฒนาโปรแกรมอัตโนมัติควบคุมการให้อาหารกวาง อย่างน้อย 1 โปรแกรม (5) สร้าง/พัฒนาเครื่องสับหญา้ แห้ง เคร่ืองอัดเม็ดอาหารกวางผสมเสร็จ และเครื่องให้อาหารกวาง สาหรับรองรับการทางานของโปรแกรมอัตโนมัติควบคุมการให้อาหารกวาง (6) พัฒนาส่ือการเรียนรู้ กระบวนการผลติ หญา้ แหง้ ปลอดภยั และอาหารอดั เม็ดในระบบการผลิตกวางเชงิ พาณิชย์ในรปู แบบการ์ตูนแอนิ เมชั่น 3 ภาษา (ไทย องั กฤษ จนี ) อย่างนอ้ ย 1 ชิ้น (7) ศกึ ษาผลกระทบของธุรกจิ การผลิตกวางเชิงพาณิชย์ต่อ ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี และผลกระทบและคุณค่าจากการใช้องค์ความรู้ในสว่ นของการพฒั นาสูตรและกระบวนการ

ข ผลิตอาหารกวางท่ีมีต่อผู้ประกอบการ โดยมีภักดีฟาร์มร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พษิ ณโุ ลก ในการพัฒนาสตู รและกระบวนการผลิตอาหารสัตวใ์ นระบบโซอ่ ุปทานของการผลติ กวางเชิงพาณิชย์ และผลกระทบ การวิจัยดังกล่าว จะได้ทาการศึกษาถึงโซ่อุปทานของอาหารและกระบวนการผลิตอาหาร อาหารกวางเชิงพาณิชย์ ทาการพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารกวาง (ทั้งหญ้าแห้ง และอาหารกวาง ผสมเสร็จ (Total Mixed Ration: TMR) ทาการพัฒนาโปรแกรมและเครื่องให้อาหารกวางอัตโนมัติ ทาการ พัฒนาส่ือการเรียนรู้สาหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตอาหารกวางเชิงพาณิชย์แล้ว รวมถึง ศกึ ษาผลกระทบของธรุ กิจการผลิตกวางเชงิ พาณิชยต์ ่อผปู้ ระกอบการ และผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี เพ่ือใหไ้ ด้มาซ่งึ 1) ข้อมูลโซ่อปุ ทานของอาหารและกระบวนการผลติ อาหารอาหารกวางเชงิ พาณชิ ย์ 2) สตู รอาหารกวางผสมเสรจ็ (Total Mixed Ration: TMR) และเคร่ืองอัดเม็ดอาหารกวางผสมเสร็จ 3) กระบวนการผลิตอาหารหญ้าแห้งปลอดภัยสาหรับกวางด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟและเทคโนโลยี พลาสมา ทสี่ ามารถยับยั้งการเจรญิ เติบโตของเช้อื รา และสร้างเครอื่ งสบั หญา้ ท่ีสามารถควบคมุ ขนาดของหญ้า อาหารสตั วล์ ดการสญู เสยี 4) โปรแกรมอัตโนมัติควบคุมการให้อาหารกวาง รวมถึงการพัฒนาเครื่องให้อาหารกวางสาหรับ รองรับการทางานของโปรแกรมอัตโนมัติควบคุมการให้อาหารกวาง 5) นวัตกรรมในรูปแบบที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งผลให้มีการนาองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจั ยไปใช้ ประโยชนอ์ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมมากข้ึนท้ังในระดับชาติ และในระดับสากล นอกจากนผ้ี ปู้ ระกอบการฟารม์ กวางยัง สามารถนาส่ือการเรียนรู้ชุดน้ี มาใช้สาหรับรองรับการท่องเท่ียวเชิงนิเวศให้กับนักท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและ ชาวตา่ งชาติในอนาคตไดอ้ ีกด้วย 6) ขอ้ มลู ของผลกระทบที่เกิดขึ้นของธุรกิจการผลิตกวางเชงิ พาณิชย์ต่อผู้ประกอบการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย รวมท้ังผลกระทบและคุณค่าจากการใช้องค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิต อาหารกวางท่มี ีตอ่ ผู้ประกอบการ โดยองค์ความรู้ดังกล่าว สามารถนามาใช้ประกอบกับการตัดสินใจและวางแผนการแก้ไขปัญหาท่ีจะ เกิดข้ึนในอนาคตของธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ ย่ิงไปกว่าน้ันองค์ความรู้ทั้งหมดยังสามารถนามาใช้ ประกอบเพ่ือสร้างเป็นต้นแบบของการบริหารจัดการระบบผลิตกวางเชิงพาณิชย์ในช่วงต้นน้า กลางน้า หรือ ปลายน้า และสามารถนาไปขยายผลหรือส่งต่อองค์ความรู้สู่ฟารม์ กวางอนื่ ๆ ภายในประเทศไทยได้ ส่งผลให้ เกิดการยกระดับคุณภาพ รวมถึงการควบคุมกระบวนการผลิตและต้นทุนการผลิตในธุรกิจการผลิตกวางเชิง พาณิชย์ตอ่ ไปในอนาคต กลยทุ ธ์ของชุดโครงการวจิ ยั 1. บรู ณาการเทคโนโลยีและองค์ความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ บรหิ ารธรุ กจิ สตั วศาสตร์ พืชศาสตร์ เกษตรกลวิธาน วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้เพ่ือแก้ปัญหา การ จัดการอาหารสาหรับกวาง ในระบบธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ ที่เพ่ิมประสิทธิภาพในส่วนของการผลิต อาหารกวางและระบบการให้อาหาร ทาให้สามารถควบคุมต้นทุนการผลิตและยกระดับคุณภาพกวางเชิง พาณิชย์ได้อย่างเปน็ รูปธรรม และเกิดผลสัมฤทธส์ิ งู สดุ

ค 2.สร้างความรว่ มมือกับสถานประกอบการในการทาวิจัย ทาใหเ้ กดิ การเรยี นรูร้ ่วมกันในการแก้ปัญหา และพฒั นางานทีส่ ามารถตอบสนองได้ตรงตามความตอ้ งการตามเป้าหมายท่ีวางไว้ 3. มีระบบให้ความช่วยเหลือนักวิจัยภายในชุดโครงการ จากที่ปรึกษาชุดโครงการ นักวิจัยรุ่นพ่ีท่ีมี ประสบการณ์ หรอื นกั วิจยั ท่านอนื่ ๆ ทีเ่ ป็นเครอื ขา่ ยผทู้ รงคุณวุฒขิ องคณะนักวิจยั ในโครงการนี้ แนวทางในการบริหารการดาเนนงิ าน 1. จัดประชุมคณะวิจัยในชุดโครงการ ฯ เพื่อช้ีแจง และทาความเข้าใจถงึ จุดมุ่งหมายของชุดโครงการ ฯ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั และร่วมกันพัฒนาข้อเสนอโครงการ (proposal) โดยในแผนงานนี้นอกจากจะ เชิญนักวิจัยรุ่นใหม่เข้าร่วมเป็นคณะวิจัยในชุดโครงการ ฯ แล้ว ยังมีเป้าหมายเพ่ือสนับสนุนและผลักดันให้ นักวิจัยลูกไก่ท้ัง 3 ท่าน (ดร. อุษณีย์ภรณ์ สร้อยเพร็ช ดร. อัษฎาวุธ สน่ันนาม และนางสาวเดือนแรม แพ่ง เก่ียว) ได้มีโอกาสการเป็นหัวหน้าโครงการวิจัยต่อไปในอนาคต ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของแม่ไก่ นกั วิจัย และนกั วจิ ัยรุน่ พที่ ่ีมีประสบการณ์ 2. สร้างกลุ่มพี่เลี้ยง และท่ีปรึกษาให้แก่นักวิจัยรุ่นใหม่เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบพ่ีสอนน้อง (Mentor system) โดยเม่อื ส้ินสดุ โครงการจะมีนกั วิจัยรุ่นใหม่ ทม่ี ีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ใน การทางานวิจัยเพิ่มข้ึน อย่างน้อย 19 คน ในด้านสังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ บริหารธุรกิจ สัตวศาสตร์ พืช ศาสตร์ เกษตรกลวิธาน วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้นักวิจัยรุ่นใหม่เกิดทักษะในการ ทางานวิจัย การทางานเป็นทมี การบูรณาการองค์ความรู้ และแนวคดิ เพือ่ ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิของงานวจิ ยั ร่วมกนั 3. ทางชุดโครงการ ฯ กาหนดให้มีการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในส่วนของกระบวนการ ศึกษาวิจัยในแต่ละกิจกรรมของโครงการ ฯ เพื่อให้เกิดการระดมความคิดจนเกิดองค์ความรู้ท่ีหลากหลายอัน นาไปส่งู านวจิ ัยแบบบรู ณาการ โดยมีการประชมุ นกั วิจยั เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มกอ่ นการลงพ้นื เพ่อื ระดมสมอง ซกั ซ้อมความเขา้ ใจ 4. ชุดโครงการ ฯ มีระบบติดตาม และให้ความช่วยเหลือนกั วิจัยรุ่นใหม่ จากนักวิจัยรนุ่ พท่ี ม่ี ี ประสบการณ์ หรือนักวิจัยท่านอ่ืน ๆ ท่ีเป็นเครือข่ายผู้ทรงคุณวุฒิของคณะนักวิจัยในโครงการน้ี โดยนักวิจัย รนุ่ ใหมส่ ามารถขอคาปรกึ ษา หรือคาแนะได้ ในกรณที เี่ กิดปัญหาเกี่ยวกับการทาวิจยั จากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ สรุปผลการวิจยั การพฒั นาสตู รและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซอ่ ุปทานของการผลิตกวางเชงิ พาณิชย์และ ผลกระทบ ผลท่ีได้จาการดาเนนิงานวิจัย (1) รวบรวมข้อมูลโซ่อุปทานของอาหารและกระบวนการผลิต อาหารอาหารกวางเชิงพาณิชย์ (2) พัฒนากระบวนการผลิตอาหารหญ้าแห้งปลอดภัยสาหรับกวางด้วย เทคโนโลยีไมโครเวฟและเทคโนโลยีพลาสมา (3) พัฒนาสูตรอาหารกวางผสมเสร็จ (Total Mixed Ration: TMR) อย่างน้อย 1 สูตร (4) พัฒนาโปรแกรมอตั โนมัติควบคุมการให้อาหารกวาง อย่างน้อย 1 โปรแกรม (5) สร้าง/พัฒนาเคร่ืองสับหญา้ แห้ง เคร่ืองอัดเม็ดอาหารกวางผสมเสร็จ และเคร่ืองให้อาหารกวางสาหรบั รองรบั การทางานของโปรแกรมอัตโนมัติควบคุมการให้อาหารกวาง (6) พัฒนาส่ือการเรียนรู้กระบวนการผลิตหญ้า แห้งปลอดภัยและอาหารอัดเมด็ ในระบบการผลิตกวางเชิงพาณิชยใ์ นรูปแบบการต์ ูนแอนเิ มชั่น 3 ภาษา (ไทย อังกฤษ จีน) อย่างน้อย 1 ชิ้น (7) ศึกษาผลกระทบของธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ง และผลกระทบและคุณค่าจากการใชอ้ งค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาสตู รและกระบวนการผลิตอาหารกวางที่ มตี อ่ ผู้ประกอบการ ผลการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ผ้ใู ช้ การใชป้ ระโยชน์ เกษตรกรผูเ้ พาะเลี้ยงกวาง -เขา้ รับบรกิ ารทางวชิ าการเก่ยี วกับเทคโนโลยแี ละการควบคมุ ผู้ประกอบการและผเู้ ลีย้ งกวางเชงิ คุณภาพ ในกระบวนการผลิตอาหารสัตร์ จากห้องปฏบิ ัตกิ าร พาณิชย์ เฉพาะทาง -ไดใ้ ชเ้ คร่ืองมอื ท่มี คี ุณภาพจากนกั วชิ าการ ของการจัดการ อาหารสัตว์ กระบวนการผลิตอาหารหญ้าแหง้ ปลอดภัยสาหรบั กวางดว้ ยเทคโนโลยที ท่ี ันสมยั - ลดปัญหาการสญู เสยี ท่เี กิดจากกระบวนการเตรยี มพชื อาหาร สตั ว์ - ได้ส่ือการเรียนรูก้ ระบวนการผลติ หญ้าแหง้ ปลอดภยั และ อาหารอัดเมด็ ในระบบการผลิตกวางเชงิ พาณิชย์ หนว่ ยงานภาครัฐ ได้แก่ กระทรวง - เป็นสอ่ื กลาง (intermediate user) ในการนาองค์ความรูด้ า้ น เกษตรและสหกรณ์ กรมปศสุ ตั ว์ และ การบรหิ ารจดั การระบบผลิตกวางเชิงพาณิชย์ในช่วงต้นนา้ กระทรวงพาณชิ ย์ กลางน้า หรือปลายน้า และสามารถนาไปขยายผลหรอื ส่งตอ่ องคค์ วามรู้ส่ฟู ารม์ กวางอน่ื ๆ ภายในประเทศไทยได้ ส่งผลให้ เกิดการยกระดับคณุ ภาพ รวมถงึ การควบคมุ กระบวนการผลิต และตน้ ทนุ การผลติ ในธุรกิจการผลิตกวางเชงิ พาณิชย์ - เปน็ ขอ้ มลู เพ่อื เพิ่มศกั ยภาพในการผลิตใหแ้ ก่ผ้ปู ระกอบการ ทาใหเ้ กิดการขยายกาลังการผลิต และความสามารถในการ แข่งขนั เพ่มิ ขนึ้ สง่ ผลใหร้ ะบบเศรษฐกิจในภาคอตุ สาหกรรม สามารถพัฒนาได้ - เปน็ แนวทางหรือขอ้ มูลเพอ่ื สนบั สนนุ การเกษตร และการ พฒั นาฟาร์มกวางเชงิ พาณชิ ย์ สง่ เสริมการส่งออก - สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้เกิดการเติบโต ความมัน่ คง และ ยัง่ ยนื ของผู้ผลิต บรษิ ทั หรอื ผปู้ ระกอบการในระดบั ท้องถิ่น หรือจังหวัด อันจะส่งผลให้เศรษฐกิจของขุมชนมีความม่ันคง และเสถยี รภาพมากยง่ิ ขนึ้ นกั วิจยั สถาบันการศึกษา และ - สามารถนาองค์ความรดู้ ้านการควบคุมคุณภาพและลด เครอื ข่ายการวจิ ยั ต่าง ๆ ความชนื้ ด้วยเทคโนโลยีไม่โครเวฟและพลาสมา กระบวนการ ผลติ อาหารสัตว์ การจดั การระบบสารสนเทศกวาเชงิ พาณิชย์ ไปตอ่ ยอดงานวิจยั หรือขยายผลดา้ นอืน่ ๆ ได้ - เกิดการแบง่ บันองค์ความรู้ และเครอื ขา่ ยการทางานวจิ ยั รว่ มกนั ทั้งในระหว่างสถาบนั การศกึ ษาด้วยกนั และความ รว่ มมอื กับภาคเอกชน

จ ผู้ใช้ การใชป้ ระโยชน์ - ไดอ้ งคค์ วามรูเ้ ทคโนโลยกี ระบวนการผลิตอาหารกวางเชงิ พาณิชย์ และสามารถนาไปใช้จัดการเรยี นการสอนแกน่ ักศกึ ษา ของสถาบัน

ฉ บทคัดยอ่ โครงการยอ่ ยที่ 1 การวิจัยคร้ังนี้ ใช้การวิจัยเชิงพรรณนา มุง่ เน้นศึกษาเกี่ยวกับโซ่อุปทานการผลิตอาหารกวาง เชิงพาณิชย์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษารูปแบบ ปัญหาอุปสรรค แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการ ด้านโลจิสตกิ ส์ของผู้มีส่วนได้เสียในโซ่อุปทาน เพ่ือการพฒั นาปรบั ปรุงการจัดการในห่วงโซอ่ ุปทานอาหารกวาง สาหรับธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชยใ์ นประเทศไทย ผลการวิจยั พบวา่ การเพาะเลี้ยงกวางเชิงพาณชิ ย์ของ ผู้ประกอบการ ใช้อาหารหลักได้แก่ พืชสด ประเภทหญ้า คิดเป็นค่าเฉลย่ี ร้อยละ 76.5 รองลงมา คือ พืชตาก แห้ง คิดเป็นค่าเฉล่ีย ร้อยละ 10.5 และอาหารสาเร็จรูป ได้แก่ อาหารข้น คิดเป็นค่าเฉล่ีย ร้อยละ 9.0 ตามลาดับ วธิ กี ารใหอ้ าหารประเภทหญ้า จะจัดกองไว้บนพนื้ ดนิ หรอื ในตะแกรงยกสงู ส่วนอาหารขน้ จะใส่ไว้ใน ภาชนะ จากการประเมินความมั่นคงด้านอาหาร พบว่า มีอาหารเพียงพอต่อการเพาะเล้ียงกวางเชิงพาณิชย์ ปัญหาส่วนใหญ่ในด้านอาหารเพาะเล้ียงกวาง ท่ีเกิดจากสภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ ต้นทุนค่าอาหารและ คา่ แรงงานสูง การขาดอุปกรณ์ เครื่องจักร และเงินทุน ส่วนอุปสรรคที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอก ได้แก่ ราคาอาหารสัตว์และค่าขนส่งสูงข้ึน ในส่วนกระบวนการจัดการปัญหาของผู้ประกอบการ จาแนกเป็น (P- Planning) การวางแผน พบว่า มีการวางแผนการจดั หาอาหารกวาง เพ่ือลดต้นทุน วางแผนการจัดหาเงินทุน สาหรับการจัดซ้ืออุปกรณ์ เครื่องจักร และท่ีดนิ สาหรับการขยายงาน (O-Organizing) การจัดโครงสร้างองคก์ ร เป็นแบบตามหน้าที่ และจัดหาแรงงานจากคนในท้องถน่ิ (D-Directing) การตดิ ต่อประสานงานภายในองค์กร เป็นไปอย่างใกล้ชิด มีเครือข่ายและพันธมิตรทางการค้า และ (C-Controlling) มีการควบคุมและติดตามผล การทางานอย่างสมา่ เสมอ จากการประเมินสภาพแวดลอ้ มทางธุรกจิ ของธุรกิจ นาผลมาวเิ คราะห์ SWOT วเิ คราะห์เชงิ กลยุทธ์ ดว้ ย TOWS Matrix ผลอยู่ในช่องกลยุทธ์ WO จดุ ออ่ นกับโอกาส คือ กลยุทธ์เชิงแกไ้ ข โดยท่ีโซอ่ ุปทานควร ใช้กลยุทธ์เชิงแกไ้ ข เปน็ การขจดั จุดอ่อนโดยใช้โอกาส กาหนดเป็นกลยุทธ์ในเชิงแก้ไข ได้แก่ 1)กลยุทธ์การลด ตน้ ทุน 2)กลยทุ ธก์ ารเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต และ 3)กลยทุ ธ์การประชาสมั พนั ธแ์ ละส่งเสริมการตลาด ดังน้ัน หว่ งโซ่อปุ ทานจึงควรกาหนดแนวทางในการจัดการด้านอาหารเพาะเล้ยี งกวางเชิงพาณิชย์ โดยผปู้ ระกอบการ ควรดาเนินการ ดังนี้ 1)ดาเนินการจดั ต้ังกลุ่มผู้เพาะเล้ยี งกวาง 2)ทาข้อตกลงดา้ นการผลิตพืชอาหาร 3)จัดซ้ือ อาหารข้น ในนามกลุ่มผู้เพาะเลี้ยงกวาง 4)วิจัยและพัฒนาสูตรอาหาร เคร่ืองมือและเคร่ืองจักร 5)ปรับปรุง สภาพดินและภูมปิ ระเทศ 6)จัดเตรียมแหล่งนา้ ใหเ้ พียงพอ และ7)ควรเสนอโครงการเขา้ สู่หนว่ ยงานภาครัฐ คาสาคัญ : โซ่อปุ ทาน กวาง อาหารกวาง การผลิตกวางเชงิ พาณชิ ย์

ช Abstract This research using descriptive research Focused on studying the commercial deer food supply chain in Thailand. The objectives of this study were to study patterns, problems, obstacles, and good practices in logistics management among supply chain stakeholders. To develop and improve management in the deer food supply chain For the commercial deer production business in Thailand, the research found that commercial deer cultivation of entrepreneurs The main food used was grass type with an average of 76.5%, followed by dried plants with an average of 10.5% and ready meals such as thick food, accounting for an average of 9.0%, respectively, grass type feeding method. Will be stacked on the ground or in a raised grid. The thick food is put in the container. The food security assessment showed that there was adequate food for commercial deer farms. Most of the problems in deer feed Caused by the internal environment such as high food and labor costs. The lack of equipment, machinery and funding, while the obstacles arising from the external environment are higher prices for feed and transportation. In terms of problem management processes of entrepreneurs, they were classified as (P-Planning). To reduce costs Plan for financing the procurement of equipment, machinery and land for expansion. (O-Organizing) the organization structure is functionally. And recruit labor from local people (D-Directing) The coordination within the organization is close. There is a network and trade partners and (C-Controlling) has to control and monitor the results regularly. The assessment of the business environment analyzed for SWOT analysis with TOWS Matrix. The results are in the WO strategy channel. Weaknesses and Opportunities are corrective strategies. Where supply chains should implement a modified strategy. This is to eliminate the weakness by using opportunities. Defined as a corrective strategy, namely 1) cost reduction strategy. 2) Production optimization strategies and 3) Public relations and marketing strategies. Therefore, the supply chain should establish guidelines for the management of commercial deer cultures. The operators should do the following: 1) Establish a group of deer cultivators. 2) Make a food crop production agreement. 3) Purchasing concentrated food In the name of the deer cultivator group 4) Research and develop food recipes Tools and machines 5) Improve soil and terrain conditions 6) Provide adequate water sources. And 7) the project should be submitted to government agencies Keywords: supply chain, deer, deer feedstuff, commercial deer farming

ซ โครงการย่อยที่ 2 งานวิจัยน้ีมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อ 1) พัฒนากระบวนการผลิตหญ้าแห้งทมี่ ีคุณภาพและปลอดภัย ตามมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร 2) พัฒนากระบวนการอบแหง้ แบบผสมผสานด้วยเทคโนโลยไี มโครเวฟกับลมร้อนที่ ลดระยะเวลาการอบแห้งได้ 3) พัฒนาเคร่ืองสับหญ้าที่ลดต้นทุนการผลิตหญ้า และ 4) การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีพลาสมาเพ่ือยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยสาหรับการผลิตหญ้าเพื่ออาหารสัตว์ ซ่ึงเป็นการ ประยุกต์ใช้กระบวนการทางด้านวิศวกรรมในการผลิตอาหารสัตว์ที่สามารถนาไปใช้งานได้จริง โดยมี ภักดี ฟาร์ม อาเภอวังทอง จังหวัดพษิ ณุโลก สถานประกอบการธรุ กิจเล้ยี งกวางเป็นพื้นท่ใี นการดาเนินงานวิจยั จาก ผลการดาเนินงานสามารถนาเทคโนโลยีไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพลาสมา รวมถงึ การพัฒนาเคร่ืองสับหญ้าน้ีเขา้ มาใช้งานภายในสถานประกอบการได้ ชว่ ยลดระยะเวลาและต้นทุนการ ผลติ หญ้าอาหารสตั วท์ ี่มคี วามปลอดภัยตามมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรแก่ผู้ประกอบการได้ คาสาคัญ: การผลติ กวางเชิงพาณชิ ย์ การผลิตอาหารแหง้ กระบวนการทางด้านวศิ วกรรม Abstract The purpose of this research was to 1 ) to developed a process for producing quality and safe hay according to agricultural commodity standard 2) to developed a drying process with microwave and hot air that reduced the drying time. 3) to developed a lawn mower that reduces hay production costs. And 4) application of plasma technology to improved quality and safety for hay production for feedstuff. The application of engineering processed to produce feedstuff that used for practical purposes. With Phakdee Farm, Wang Thong district, Phitsanulok province deer farming business as a research area. From the results, application of microwave with hot air and plasma technology including the development of mower able to be used within the deer farming business that reduced the time and cost of producing feedstuff and according to the agricultural commodity standard. Keywords: commercial deer farming business, produce dried feedstuff, engineering process

ฌ โครงการย่อยที่ 3 การดาเนินงานเพ่ือพัฒนาเคร่ืองอัดเม็ดอาหารกวางผสมเสร็จ และพัฒนาสูตรอาหารกวาง ผสมเสร็จ (TMR) ทาการเปรียบเทียบคณุ ภาพเน้ือและซากของกวางทไี่ ดร้ ับอาหารสูตรปกติและสูตรอาหารแต่ ละชนิดทีพ่ ฒั นาขนึ้ พรอ้ มทงั้ ศกึ ษาผลของสูตรอาหารกวางแตล่ ะชนิดต่อการเจริญเติบโต พบว่า การพฒั นาการ เล้ียงกวางในจังหวัดพิษณุโลกโดยใช้อาหารผสมเสร็จ (TMR) เปรียบเทียบกับการใช้อาหารข้นลูกโค โดยใช้ กวางทดลองเพศผู้สายพันธ์รุ ูซา่ จานวน 8 ตวั อายุเฉลี่ย 4 ปี น้าหนกั เร่ิมต้นเฉลย่ี 70.5 กิโลกรัม ใช้ระยะเวลา ในการทดลอง 30 วัน ผลการทดลองพบว่า กวางกลุ่มท่ีได้รับอาหารผสมเสร็จมีน้าหนักสุดท้ายเฉลี่ย 80.2 กิโลกรัม (p<0.05) และกลมุ่ ทีไ่ ด้รับอาหารขน้ ลูกโคมีนา้ หนกั สุดท้ายเฉล่ยี 71.4 กิโลกรมั ลักษณะทางกายภาพ ของกวางโดยการให้คะแนนร่างกายกวางพบวา่ กอ่ นการทดลองกวางมคี ะแนนร่างกายเฉลย่ี เทา่ กับ 2.5 ทั้งสอง กลุ่ม หลังการทดลองกวางกลุ่มท่ีไดร้ ับอาหารขน้ ลูกโคและกลุ่มที่ได้รับอาหารผสมเสร็จมีคะแนนรา่ งกายเฉลี่ย 3.5 การศึกษาความสูง น้าหนักสุดทาย และคุณคาทางอาหารของหญาแพงโกลาโดยใชมูลสัตว กากไบโอแกส และปุยยูเรีย โดยใชแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) แบงเปน 4 บล็อกคือ อายุของหญา 7, 14, 21 และ 35 วัน โดยมีส่ิงทดลอง 6 กลุมทดลอง คือ กลุมท่ี 1 ควบคมุ (ไมใส), กลมุ ที่ 2 มูลสกุ ร (1.5 กิโลกรมั ) กลมุ่ ท่ี 3 มูลโคนม (2.5 กโิ ลกรมั ) กลุมที่ 4 กากไบโอแกส (5 กิโลกรัม) กลุมท่ี 5 มลู กวาง (4 กิโลกรัม) และกลุมท่ี 6 ปยุ ยูเรีย (0.05 กิโลกรัม) พบวา ความสูงของหญาแพง โกลาทอ่ี ายุ 7, 14, 21 และ 35 วัน หญาแพงโกลาท่ี ไดรับมลู โคนมมีความสูงท่สี ุด รองลงมาคือกากไบโอแกส และต่าสุดคือกลุมควบคุม น้าหนกั สุดทายของหญาแพงโกลาที่ไดรับ มูลโคนมมคี าสูงท่ีสุด สวนกลุมควบคุมมี น้าหนักสดุ ทายต่าที่สดุ แตกตางกนั อยางมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) ผลการวิเคราะหคณุ คาทางโภชนะของ หญาแพงโกลา พบวา หญาที่ไดรับมูลสุกรมีคาโปรตีนสูงที่สุดคือ 10.24 เปอรเซ็นต และกลุ่มควบคุมมีคา โปรตีนต่าสุด คือ 7.65 เปอรเซ็นต แตกตางกันอยางมนี ัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) หญาแพงโกลาที่ไดรับปุยยู เรียมี คา NDF สูงทสี่ ุดคือ 66.30 เปอรเซ็นต และหญาท่ีไดรับมูลสุกรมีคา ADF ตา่ ท่ีสดุ คือ 34.62 เปอรเซน็ ต คาสาคญั : กวางรซู า่ เครอ่ื งอดั เมด็ อาหารสัตว์ หญา้ แพงโกล่า อาหารผสมเสร็จ

ญ Abstract The objective of this study was to develop deer raising in Phitsanulok province by using total mixed ration ( TMR) compared with the concentrated calves with dry pangola grass. This experiment was conducted using 8 male deer with an average age of 4 years and an average initial weight of 70.5 kilograms. The 30-day trial was used to plan the experiment to compare the growth and physical changes of 2 groups of deer. The experimental group consisted of 4 groups of calves fed with concentrate at 16 percent protein and the group receiving total mixed ration with the ratio of dry pangola grass to concentrated to 30: 70 in 4 groups. Receive 0. 3 percent of the amount of food per body weight per day The results showed that The group of deer fed the total mixed ration feed had an average weight of 80.2 kilograms (p <0.05) and the group fed calf feed had the average weight of 71.4 kilograms. The physical characteristics of deer by body condition score showed that Before the experiment, the deer had an average body score of 2.5 in both groups. After the experiment, the deer fed the calf feed and the mixed fed group had an average body score of 3.5. The aim of this study was to compare height, final weight and nutritional value of Digitaria eriantha using animal manure, biogas- sludge and urea fertilizer. The experiment was performed using a randomized complete block design ( RCBD) and was divided into 4 blocks ( ages of grass at 7, 14, 21 and 35 days) . There were 6 experimental groups: group 1 control (zero application), group 2 pig manure (1.5 kg), group 3 dairy cattle manure (2.5 kg), group 4 biogas-sludge (5 kg), group 5 deer manure (4 kg) and group 6 urea (0.05 kg). The results demonstrated that the height of D. eriantha at the ages of 7, 14, 21 and 35 days received the dairy cattle manure was highest followed by biogas- sludge and the lowest was the control group. The highest final weight of D. eriantha was the dairy cattle manure application significantly (p<0.05), while the control group was the lowest. For nutritional value analysis of D. eriantha found that the grass that received pig manure had highest protein value for 10.24 percent and the control group was lowest protein value for 7. 65 percent ( p<0. 05) and D. eriantha that received urea fertilizer was highest neutral detergent fiber (NDF) value for 66.30 percent and pig manure was lowest acid detergent fiber ( ADF) value for 34. 62 percent. Therefore, pig manure could be an alternative animal manure for increasing nutritive value of D. eriantha. Key words: Ruza deer, pelleting machine, Digitaria eriantha, total mixed ration (TMR)

ฎ โครงการย่อยท่ี 4 การวจิ ัยครัง้ น้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนาโปรแกรมอัตโนมัติควบคุมการใหอ้ าหารกวาง 2) สร้าง/พัฒนาเครือ่ งให้อาหารกวางสาหรับรองรับการทางานของโปรแกรมอัตโนมตั ิควบคมุ การใหอ้ าหารกวาง ผลการวิจัย พบวา่ การพฒั นาโปรแกรมเคร่อื งให้อาหารกวางอตั โนมตั ิ มีลักษณะการทางาน ประกอบดว้ ยดังนี้ 1) ตัวถังสาหรับใสอ่ าหารภายในถังมีแกนหมุน ช่องจ่ายอาหารมีล้ินเปิด/ปิดควบคุมโดยมอเตอร์ไฟฟ้าโดยจ่าย อาหารหรือปล่อยหญ้าได้น้าหนักตามท่ีกาหนดไว้และจะหยุดจ่ายเมื่อปล่อยอาหารได้ตามนา้ หนักท่ีกาหนดไว้ โดยอาหารที่ปล่อยลงมาจะลาเลียงไปตามรางลาเลียงรองรับอาหารกวางสามารถก้มกินอาหารได้ สายพาน ลาเลยี งทางานโดยเล่ือนไปเรื่อยตามอตั ราความเร็วของมอเตอรข์ ึ้นอยูก่ ับปริมาณอาหารท่ีปลอ่ ย 2) โปรแกรม/ ระบบการส่ังจา่ ยอาหารอตั โนมตั ิ สามารถต้ังเวลาลว่ งหน้าเพ่อื ส่ังจ่ายอาหารได้, มีไฟแสดงสถานะการทางาน ของเคร่ือง (on/off), สามารถสั่งจ่ายอาหารผ่านระบบเครือข่ายได้ (ระยะไกล), กาหนดปริมาณน้าหนักของ อาหารท่ีตอ้ งการจ่ายได้ การพัฒนาโปรแกรมการให้อาหารกวางอัตโนมตั ิมีความสะดวกในการใชง้ านและเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพการทางานของพนักงานในการใหอ้ าหารกวาง ทาใหป้ ระหยัดเวลา ประหยัดแรงงานของพนักงาน หรือผู้ปฏิบัติงานงานฟาร์มในการนาอาหารไปให้กวางในแต่ละครั้ง ลดปัญหาในการใช้แรงงานคน ประหยัดเวลา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการลดตน้ ทุนในการดาเนินธุรกิจงานฟาร์มอันส่งผลต่อการดาเนินธุรกิจงาน ฟาร์มเชิงพาณชิ ย์ในอนาคต คาสาคัญ : การพัฒนาระบบ, การจดั การงานฟาร์ม, การประชาสัมพนั ธ์

ฏ Abstract The objective of this research is to 1) develop an automatic program for controlling deer feeding, 2) creating / developing a deer feeder to support the automatic program of deer feeding control. The results of the research showed that the development of the deer feeders program had the working characteristics of the principle. 1) The body for feeding food inside the tank has a rotary axis. The feed dispenser has an electric motor controlled on / off valve by supplying food or releasing the grass to a predetermined weight and stops when the food has been released according to the set weight The food released down will be transported along the feeding trough, the deer can bend to feed. The conveyor works by moving the motor speed depending on the amount of food released. 2) Program / Automatic Food Delivery System Able to set the time in advance to order food, has a light indicator of the machine's working status ( on / off) , can order food through the network (remote), Set the weight of the food you want to pay. Developing an automatic deer feeding program offers ease of use and increases the productivity of the deer feeding staff. To save time Save the labor of farm workers or workers to bring food to deer each time. Reduce labor problems and save time as part of reducing the cost of running a farm business which affects the future commercial farm business. คาสาคัญ : System Development, Farm Management, Public Relations

ฐ โครงการย่อยท่ี 5 การวิจัยในคร้ังนี้ มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือ 1) พัฒนาส่อื การเรียนรู้ เร่ืองการเลี้ยงกวางเชิงพาณิชย์ ในรูปแบบการ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ ในรูปแบบ 3 ภาษา (ไทย อังกฤษ จีน) โดยได้รับผลการประเมินความพึง พอใจจากผู้รับการถ่ายทอดอย่างน้อยอยู่ในระดับดี และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการรับรู้ของผู้รับการ ถ่ายทอดองค์ความรูก้ ลุ่มควบคมุ และกลมุ่ ทดลอง ด้วยวิธีการสอนแบบบรรยายกับวิธีการสอนแบบใชส้ ื่อการต์ ูน แอนิเมชันเป็นหลัก กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย คือ คือเกษตรกรในชุมชน ตาบลวังนกแอ่น อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก และผู้ท่ีสนใจเรื่องการเล้ียงกวางเชิงพาณิชย์ จานวน 50 คน และผู้เช่ียวชาญที่ประเมิน คุณภาพของส่อื การต์ ูนแอนเิ มชัน ด้านเน้ือหา ด้านการออกแบบ และด้านภาษา จานวน 10 คน เครื่องมือทใ่ี ช้ ในการวิจัย คือ ส่ือการ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ แบบประเมินคุณภาพส่ือการ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ แบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธิ์ และแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ สถติ ทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ ไดแ้ กค่ า่ เฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพของส่ือการ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ เรื่องการเล้ียงกวางเชิงพาณิชย์ มี คณุ ภาพอยู่ในระดับมากที่สุด มีคะแนนเฉล่ียเท่ากบั 4.62 โดยผ่านการประเมนิ จากผู้เชีย่ วชาญ จานวน 10 คน โดยมีระดับความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีมีต่อสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ ในรูปแบบ 3 ภาษา (ไทย อังกฤษ จีน) อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด มีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 4.5 และ (2) ผลสัมฤทธิท์ างการ รบั ร้ขู องผู้รบั การถ่ายทอดองคค์ วามรู้เรื่องการเลี้ยงกวางเชิงพาณิชย์ ท่ีเรยี นโดยใชส้ ่ือการ์ตนู แอนิเมชนั สูงกว่า แบบทเี่ รียนโดยวิธีการบรรยายอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01 คาสาคญั : กวาง ส่อื การเรียนรู้ แอนิเมชัน 3 มติ ิ

ฑ Abstract The purposes of this research were to ( 1) develop a 3D cartoon animation as an instructional media for “ Commercial Deer Farming” in three languages ( Thai, English, Chinese); and (2) compare the achievement of the participants’ perception from two groups— control group and experimental group with two different teaching methodologies: lecture and watching cartoon animation. The participants of this research was 50 farmers and individuals who were interested in commercial deer farming in Wang Nok Aen, Wang Thong District, Phitsanulok and ten experts in the field of 3D cartoon animation assessing the quality, content, language, and design of the 3D cartoon animation. Research instruments consist of 3D cartoon animation, 3D cartoon animation quality evaluation form, achievement paper test, and satisfaction evaluation form. The data were analyzed using mean, standard deviation and t- test. The results revealed that the quality of 3D cartoon animation “ Commercial Deer Farming” was of high quality, =4.62, from the assessment of the ten experts. Furthermore, the farmer and individual participants’ satisfaction towards 3D cartoon animation in 3 languages (Thai, English, Chinese) was of high level, =4.5, and the achievement of participants’ perception from knowledge transfer of “Commercial Deer Farming” using 3D cartoon animation was higher than the lecture of the farm owner which was significantly different at the statistical level of .01. Keyword: Deer Instructional Media 3D Animation

ฒ โครงการย่อยท่ี 6 การวิจัยในครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลกระทบของธรุ กิจการผลิตกวางเชงิ พาณิชย์ ต่อผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียและ 2) ศึกษาผลกระทบและคุณค่าจากการใช้องค์ความรู้ในสว่ นของการพัฒนาสูตรและ กระบวนการผลิตอาหารกวางที่มีต่อผู้ประกอบการ นอกจากนี้ ยังได้ศึกษาพฤติกรรมการท่องเท่ียวและ ความพึง พอใจของนักท่อง เท่ียวต่อผู้ประ กอบการผลิตกวาง เชิงพาณิชย์เพื่อหาแนวท างการพัฒ นาแหล่ง ท่องเท่ียวให้มคี วามเป็นเอกลักษณ์และย่งั ยืน กลมุ่ ตัวอย่างในการศกึ ษาวจิ ัย ประกอบดว้ ย ผู้ประกอบการผลิต กวางเชิงพาณิชย์ ภักดีฟาร์ม จานวน 1 คน ชาวบ้านและกลุ่มผู้นาชุมชนบ้านซาตะเคียน หมู่ที่ 9 ตาบลวังนก แอ่น อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก จานวน 54 คน กลุ่มเกษตรกรผู้สนใจการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการ พัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารกวาง จานวน 50 คน และนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยว ณ ภักดี ฟาร์ม จานวน 97 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม วิเคราะหโ์ ดยสถติ อิ ย่างงา่ ย วเิ คราะหข์ ้อมูลแบบอปุ นยั และวเิ คราะหเ์ นอ้ื หา ผลการวจิ ัยพบวา่ 1. นักท่องเท่ียวมีความพงึ พอใจในการทอ่ งเท่ยี วตอ่ ผู้ประกอบการผลติ กวางเชิงพาณิชย์ ภกั ดี ฟาร์ม ตาบลวงั นกแอ่น อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณโุ ลก ในระดบั มาก มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.07 พิจารณาภาพรวม รายดา้ น พบว่า นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจดา้ นการใหบ้ รกิ ารมากท่สี ดุ มคี า่ เฉลี่ยเทา่ กบั 4.14 2. การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้ทราบผลกระทบของธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ และทราบแนวทางในการพัฒนาชุมชนโดยรอบ อันจะเป็นการพัฒนาความร่วมมอื ระหว่างผู้ประกอบการและ ชุมชนโดยรอบในการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วในชุมชน 3. การสัมภาษณ์กลุ่มเกษตรกรผู้สนใจในการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการพัฒนาสูตรและ กระบวนการผลิตอาหารกวาง ได้ทราบความคิดเห็นในการนาผลงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ชุมชน และตอ่ ยอด การพฒั นาเชิงพาณชิ ย์ 4. การสนทนากลุ่ม ได้แนวทางในการสร้างแหล่งเรียนรู้โดยให้มีการศึกษา สารวจและ รวบรวมข้อมลู เรื่องกวาง ประวัติความเปน็ มาและแหล่งทอ่ งเทีย่ วในชุมชนและนาขอ้ มูลที่ไดม้ าจดั รวบรวมและ นาเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสมผ่านสื่อต่าง ๆ รวมถึงจัดให้มีลานกจิ กรรมหรือสถานท่ีสาหรับสง่ เสริมการเรียนรู้ ของนักท่องเทีย่ ว สร้างกจิ กรรมและเสน้ ทางการท่องเท่ยี วที่มคี วามเช่อื มโยงกบั แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วอ่ืนในชุมชน คาสาคัญ : กวาง ธุรกจิ การผลติ กวางเชิงพาณชิ ย์ ผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี

ณ Abstract This research aims to study 1) impacts of commercial deer farming business on stakeholders, and 2) impacts and value in applying knowledge about formula development and deer diet production process on entrepreneurs. In addition, the research also studies tourism behavior and tourists’ satisfaction of commercial deer farmers in order to find an approach to develop the farm into a unique and sustainable tourist spot. Samples in this research consisted of 1 commercial deer farmer from Pakdee Deer Farm; 54 villagers and village leaders from Ban Sam Takhian, Moo 9, Wang Nok Aen subdistrict, Wang Thong district, Phitsanulok province; 50 farmers who were interested in the transfer of knowledge about deer diet formula development and production process; and 97 tourists who traveled to Pakdee Deer Farm. Tools used in the research were questionnaire, interview questions, and focus group discussion. Data were analyzed with simple statistics, inductive method and content analysis. Results of the research showed that: 1. Tourists showed high level of satisfaction at the average of 4.07 with commercial deer farming entrepreneur at Pakdee Deer Farm, Wang Nok Aen subdistrict, Wang Thong district, Phitsanulok province. Considered by aspect, it was found that tourists were most satisfied with service at the average of 4.14. 2. Interview of stakeholders provided impacts of commercial deer farming business and approaches in developing the surrounding communities, which would lead to cooperation between the entrepreneur and communities in developing communities’ tourist spots. 3. Interview of farmers who were interested in the transfer of knowledge about deer diet formula development and production process provided opinions in applying research results for communities and further commercial development. 4. The focus group discussion provided approaches in building the learning resources. Furthermore, there should be study, survey and collection of information about deer, history, and tourist spots in communities. Information gathered should be presented in suitable formats via several media channels. Moreover, there should be activity spaces or places to promote tourists’ learning, as well as activities and touring routes that connect with other tourist spots in the communities. Key word: deer, Commercial Deer Farming, Stakeholder

บทที่ 1 บทนำ ควำมสำคัญและทีม่ ำของปัญหำท่ีทำกำรวิจยั กวำงเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่เกษตรกรไทยเร่ิมให้ควำมสนใจ เนื่องจำกมีควำมเป็นไปได้ใน กำรเล้ียงเป็นเชิงการค้า เพราะสามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง การเลี้ยงกวางจึงได้รับการส่งเสริม และพัฒนาให้เป็นอาชีพสาหรับเกษตรกร (สานักพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ, 2554) การเลี้ยง กวางมีแนวโน้มท่ีเพิ่มมากข้ึน จึงเป็นสิ่งที่ดีท่จี ะทาให้การเล้ียงกวางในประเทศมีการตนื่ ตัวและมีการ พัฒนามากขึ้นกว่าที่ผ่านมา (สานักพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ, 2555) แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ ตอ้ งพิจารณาเปน็ อันดบั แรก ในการทาฟารม์ กวาง คอื การจัดการดา้ นอาหารสัตว์ ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้วใน การเลี้ยงสัตว์ ค่าอาหารสัตว์คือเงินท่ีต้องใช้ในการดาเนินงานถึงประมาณร้อยละ 60−70 ของเงินที่ ตอ้ งใช้ในการจัดการฟาร์มทั้งหมด ดงั น้ันหากต้องการเพิ่มผลกาไรของฟาร์มให้มากย่ิงข้ึน จึงต้องหา วิธีการเพ่ิมผลผลิตกวางต่อหน่วยให้มากยิ่งข้ึน แนวทางหน่ึงท่ีนิยมและถูกนามาใช้ก็คือ การเพ่ิม ประสิทธภิ าพการผลิต หรือหาวธิ ีการลดต้นทุนในการผลิตตอ่ หน่วยลงใหไ้ ด้มากสุด โดยหาวัตถุดิบทใ่ี ช้ ในการจัดการให้ไดใ้ นราคาถกู หรือทาท้งั 2 วธิ คี วบคกู่ นั ไป ปกติแล้วความต้องการอาหารของกวาง คือ กวางต้องการกินหญ้าสดประมาณ 8−10 กก./ ตัว/วัน ซ่งึ พื้นท่ี 1 ไร่ ควรจะผลิตหญ้าได้ประมาณ 4,000−5,000 กก. ท้ังนี้จึงต้องมีการให้น้าให้ปุ๋ย บารุงตามสมควรตลอดปี อย่างไรก็ตามหลักการคานวณพืชอาหารสาหรับกวางพบว่า หากลูกกวาง อายุตา่ กว่า 6 เดอื น จะมีความตอ้ งการพชื อาหาร 1.1 กก. วัตถุแหง้ /ตวั /วัน ในขณะทีก่ วางเพศผอู้ ายุ 18 เดือน ต้องการพืชอาหาร 1.5 กก. วตั ถุแห้ง/ตัว/วนั ส่วนกวางเพศผู้เต็มวัย ตอ้ งการพืชอาหารถึง 1.7 กก. วัตถแุ หง้ /ตวั /วัน และพบว่าในกวางเพศเมียจะมคี วามตอ้ งการพชื อาหารน้อยกว่าในกวางเพศ ผู้ โดยกวางเพศเมียเต็มวัย ต้องการพืชอาหาร 1.0 กก. วัตถุแห้ง/ตัว/วัน ส่วนแม่กวางเล้ียงลูกอ่อน ต้องการพืชอาหารเพ่มิ ขึ้นจากปกติเปน็ 1.4 กก. วัตถุแห้ง/ตัว/วัน จากความต้องการอาหารของกวาง ดังกล่าวขา้ งต้น จงึ ทาใหฟ้ าร์มท่ีผลิตกวางเชิงพาณิชย์ตอ้ งประสบกับปัญหาในส่วนของการขาดแคลน อาหารท่ีนามาใชเ้ ล้ียงกวาง โดยจะมีหญา้ สดใหก้ วางกนิ เพียง 4 เดอื น เท่านั้น จากนั้นอกี 8 เดอื น ตอ้ ง เล้ยี งกวางดว้ ยหญา้ แหง้ และอาหารเมด็ ท่ีมีขายตามท้องตลาด ซ่ึงจากการสงั เกตและประสบการณ์ใน การเลี้ยงกวางมากกว่า 15 ปี ทาให้เจ้าของฟาร์มพบว่าการเจริญเติบโตของกวางจะไม่ดีเท่าที่ควร ในช่วง 8 เดือน ท่ีเลี้ยงด้วยหญ้าแห้ง และอาหารเม็ด นอกจากนั้นในกรณีของหญ้าแห้งท่ีซื้อมาเก็บ รักษาไว้เป็นระยะเวลานาน จะมีการเจริญของเช้ือรา และเกิดปนเปื้อนจากเชื้อจุลินทรีย์ท่ีไม่พึง ประสงค์ ส่งผลต่อสขุ ภาพของกวางในฟาร์ม และอาจเป็นสาเหตทุ าใหก้ วางเกดิ การเจบ็ ป่วย ตามลาดับ ซงึ่ เป็นเหตใุ ห้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและค่ายาเพิ่มสงู ขน้ึ โดยภักดีฟาร์ม ซ่ึงเป็นหนึ่ง ในผปู้ ระกอบธรุ กิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ ขณะนก้ี ก็ าลงั ประสบกบั ปญั หาในสว่ นของการขาดแคลน อาหารท่ีนามาใชเ้ ลย้ี งกวางดงั กลา่ วขา้ งต้น

2 ภกั ดฟี าร์ม เป็นธุรกจิ ฟาร์มทเ่ี รม่ิ เลยี้ งกวาง ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2546 โดยมนี ายภักดี พานรุ ัตน์ เป็น เจ้าของฟาร์มต้ังอยู่ที่ 8/2 หมู่ 9 ตาบลวังนกแอ่น อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ธุรกิจฟาร์มกวาง เริ่มต้นด้วยนายภักดี พานุรัตน์ มีความสนใจและศึกษาข้อมูลการตลาด และเล็งเห็นว่ากวางเป็นสัตว์ เศรษฐกิจในอนาคต ตลาดมคี วามต้องการมากและสามารถเลี้ยงเชิงพาณิชย์โดยถูกกฎหมายได้ จึงเร่ิม จากนาเข้ากวางพันธ์ุ “รูซ่า” (Rusa Deer) จากประเทศออสเตรเลีย จานวน 17 ตัว และซ้ือท่ีดิน อาเภอเนนิ มะปราง จังหวัดพิษณุโลก จานวน 40 ไร่ ทาเปน็ ฟารม์ เลย้ี งเพอื่ จะขยายพันธ์ุ หลงั จากเลี้ยง ไปสักระยะ ได้แรงบันดาลใจว่าควรจะสร้างรายได้เพ่ิมจากฟาร์มกวาง ด้วยการเปิดรีสอร์ตให้ นกั ท่องเที่ยวไดส้ ัมผัสการเลี้ยงกวาง ตามด้วยเปิดร้านอาหาร และร้านกาแฟ โดยมีเมนูเน้ือกวางเป็น อาหารแนะนา นอกจากนั้นยังเปิดร้านขายสินคา้ ทร่ี ะลึกจากหนังกวาง และเขากวางด้วย โดยเรม่ิ แปร รปู เขากวาง หนังกวาง เม่ือปี 2554 เพราะอยากจะยกระดับอาชีพน้ีให้เกิดความยั่งยืน ซ่ึงเร่มิ จากนา เขากวางที่หลุดมาแปรรูปทาเครื่องประดบั แล้วแนะนาลูกค้าว่าสนิ ค้าเหล่าน้ีช่วยหยุดการล่ากวางป่า ธรรมชาติ เพราะมาจากฟาร์มท่ีเล้ียงถูกต้องตามกฎหมาย อีกท้ังใช้ทดแทนงาช้าง มีความหมายทาง มงคลเช่นกัน ทาให้ลูกค้าเกิดความสนใจ ตามดว้ ยทาเคร่ืองหนังกวาง เช่น กระเป๋า เสื้อ หรือรองเท้า เป็นต้น ขอ้ ดีของผลิตภณั ฑ์แปรรูปจากหนังกวาง คือ นุ่ม เหนียว และใส่สบาย ซ่ึงลูกคา้ ใหค้ วามนิยม อย่างยิ่ง ปัจจุบนั “ภกั ดีฟาร์ม” ถือเปน็ ฟาร์มเล้ียงกวางแหง่ เดียวใน จังหวดั พิษณโุ ลก และเป็นธุรกิจ กวางครบวงจรเพียงไมก่ แี่ ห่งของเมอื งไทย ทมี่ ตี ั้งแตฟ่ าร์มเลย้ี ง และตอ่ ยอดไปสธู่ รุ กิจเก่ียวเนื่อง ได้แก่ รสี อรต์ ร้านอาหาร ร้านกาแฟ และร้านขายสินคา้ ท่รี ะลกึ มูลค่าธุรกิจรวมกว่า 10 ล้านบาท มีจานวน เล้ียงกวางทงั้ หมด 140 ตัว โดย 120 ตัวเป็นพันธุ์รูซ่า เลี้ยงเพอื่ เพาะพันธ์ุ และไวต้ ัดเขากวางออ่ น กับ ขายเนื้อสด ส่วนท่ีเหลือเป็นพันธ์ุ “กวางดาว” เลี้ยงไว้เพ่ือความสวยงาม รองรับนักท่องเท่ียวท่ีพักรี สอร์ตกับมาร้านอาหาร ปัจจุบันภักดีฟาร์มมีกวางอยู่จานวน 100 ตัว คิดเป็นมูลค่าเฉล่ียตัวละ 35,000−40,000 บาท โดยปกติฟาร์มจะเลี้ยงกวางเพื่อจาหน่ายเขากวางอ่อน (กิโลกรัมละ 8,000−10,000 บาท) และเนื้อกวาง (กิโลกรัมละ 1,200−1,500 บาท โดยส่งไปแปรรูปท่ีโรงงาน อาเภอกาแพงแสน จงั หวดั นครปฐม) ดว้ ยเหตุนี้ทาง ภกั ดีฟาร์มจึงได้รว่ มมือกับมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก จัดทาชุดโครงการวิจัย การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ในระบบโซ่อุปทานของการ ผลิตกวางเชิงพาณิชย์และผลกระทบ โดยชุดโครงการวิจัยดังกล่าว จะได้ทาการศึกษาถึงโซ่อุปทาน ของอาหารและกระบวนการผลิตอาหารอาหารกวางเชิงพาณิชย์ ทาการพัฒนาสูตรและกระบวนการ ผลิตอาหารกวาง (ท้ังหญ้าแห้ง และอาหารกวางผสมเสร็จ (Total Mixed Ration: TMR) ทาการ พฒั นาโปรแกรมและเครื่องให้อาหารกวางอัตโนมัติ ทาการพัฒนาส่ือการเรียนรู้สาหรบั การถ่ายทอด เทคโนโลยกี ระบวนการผลิตอาหารกวางเชิงพาณิชย์แล้ว รวมถึงศึกษาผลกระทบของธุรกิจการผลิต กวางเชิงพาณชิ ยต์ อ่ ผปู้ ระกอบการ และผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี เพอ่ื ให้ได้มาซง่ึ 1) ข้อมลู โซอ่ ปุ ทานของอาหารและกระบวนการผลติ อาหารอาหารกวางเชงิ พาณิชย์

3 2) สูตรอาหารกวางผสมเสรจ็ (Total Mixed Ration: TMR) และเครอ่ื งอัดเม็ดอาหารกวาง ผสมเสรจ็ 3) กระบวนการผลิตอาหารหญ้าแหง้ ปลอดภัยสาหรบั กวางด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟและ เทคโนโลยพี ลาสมา ท่ีสามารถยบั ยง้ั การเจริญเติบโตของเช้อื รา และสรา้ งเครือ่ งสับหญ้าที่สามารถ ควบคมุ ขนาดของหญา้ อาหารสัตว์ลดการสูญเสีย 4) โปรแกรมอัตโนมตั คิ วบคุมการให้อาหารกวาง รวมถึงการพฒั นาเคร่อื งใหอ้ าหารกวาง สาหรับรองรบั การทางานของโปรแกรมอัตโนมัตคิ วบคมุ การให้อาหารกวาง 5) นวตั กรรมในรปู แบบทสี่ ่งเสรมิ การเรียนรู้ ส่งผลให้มีการนาองคค์ วามรู้ทีไ่ ด้จากการวิจัยไป ใชป้ ระโยชน์อย่างเป็นรปู ธรรมมากขน้ึ ท้งั ในระดบั ชาติ และในระดับสากล นอกจากนีผ้ ปู้ ระกอบการ ฟาร์มกวางยงั สามารถนาส่ือการเรยี นร้ชู ุดน้ี มาใช้สาหรับรองรับการท่องเที่ยวเชงิ นเิ วศให้กับ นักท่องเทย่ี วท้งั ชาวไทยและชาวตา่ งชาตใิ นอนาคตได้อกี ด้วย 6) ขอ้ มลู ของผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้นของธรุ กจิ การผลิตกวางเชงิ พาณชิ ย์ต่อผปู้ ระกอบการ และผู้ มสี ว่ นได้ส่วนเสีย รวมทง้ั ผลกระทบและคุณค่าจากการใช้องค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาสูตรและ กระบวนการผลติ อาหารกวางทีม่ ตี ่อผปู้ ระกอบการ โดยองคค์ วามรูด้ ังกลา่ วขา้ งต้น สามารถนามาใช้ประกอบกับการตัดสินใจและวางแผนการ แกไ้ ขปัญหาท่จี ะเกิดข้นึ ในอนาคตของธรุ กจิ การผลิตกวางเชิงพาณิชย์ ย่งิ ไปกวา่ นัน้ นน้ั องคค์ วามรู้ ทัง้ หมดจากชุดโครงการ ยังสามารถนามาใช้ประกอบเพ่อื สร้างเปน็ ต้นแบบของการบรหิ ารจัดการ ระบบผลิตกวางเชิงพาณิชยใ์ นช่วงต้นนา้ กลางน้า หรือปลายน้า และสามารถนาไปขยายผลหรือส่งต่อ องคค์ วามรู้สฟู่ ารม์ กวางอน่ื ๆ ภายในประเทศไทยได้ ส่งผลใหเ้ กดิ การยกระดบั คุณภาพ รวมถึงการ ควบคุมกระบวนการผลติ และต้นทุนการผลติ ในธรุ กจิ การผลิตกวางเชงิ พาณชิ ยต์ อ่ ไปในอนาคต ทง้ั นี้จากการสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตร/ลิขสิทธิ์ออนไลน์ กรมทรัพย์สินทางปญั ญา ยังไม่ปรากฏ สิทธบิ ัตร/ลิขสทิ ธ์ิ โดยตรงกบั ชุดโครงการ การพฒั นาสตู รและกระบวนการผลติ อาหารสตั วใ์ นระบบโซ่ อุปทานของการผลิตกวางเชิงพาณิชย์และผลกระทบท่ีได้ แจ้งจดทะเบียนในประเทศไทย (กรม ทรพั ย์สินทางปญั ญา, 25560) พบเพียงสิทธบิ ัตร/ลขิ สิทธ์ิใกลเ้ คยี ง เช่น ลขิ สิทธิเ์ ลขท่ี 304723 การ์ตูน แอนเิ มชัน่ 2 มติ ิ เรอ่ื ง บางระจนั ลิขสิทธิ์เลขที่ 304724 การ์ตูนแอนิเมชนั่ 3 มิติ เร่ือง องคลุ ิมาล เป็น ต้น (งานวิจัยและงานสรา้ งสรรคท์ จี่ ดทะเบียนทรพั ยส์ ินทางปัญญา, มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม) ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ในการขอยื่นจดลิขสิทธ์ิการ์ตูนแอนิเมช่ัน 3 ภาษา เรื่องการถ่ายทอด เทคโนโลยีกระบวนการผลิตอาหารกวางเชิงพาณิชย์ โดยยังไม่ปรากฏสิทธิบัตร หรือ อนุสิทธิบัตร กระบวนการผลิตอาหารหญ้าแห้งปลอดภัยสาหรับกวางด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟและเทคโนโลยี พลาสมา โปรแกรมอัตโนมัติควบคุมการให้อาหารกวาง และเคร่ืองให้อาหารกวางอัตโนมัติท่ีได้จด ทะเบียนในประเทศไทย (กรมทรัพย์สินทางปัญญา, 2560) ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ในการขอยนื่ จด อนุสิทธบิ ัตร

4 วัตถุประสงค์หลกั ของชุดโครงกำรวจิ ัย 1. รวบรวมข้อมูลโซ่อุปทานของอาหารและกระบวนการผลติ อาหารอาหารกวางเชิงพาณชิ ย์ 2. พัฒนากระบวนการผลิตอาหารหญ้าแห้งปลอดภัยสาหรับกวางด้วยเทคโนโลยีไมโครเวฟ และเทคโนโลยีพลาสมา 3. พัฒนาสูตรอาหารกวางผสมเสรจ็ (Total Mixed Ration: TMR) อยา่ งนอ้ ย 1 สูตร 4. พัฒนาโปรแกรมอัตโนมัติควบคุมการให้อาหารกวาง อยา่ งน้อย 1 โปรแกรม 5. สรา้ ง/พัฒนาเคร่ืองสับหญา้ แห้ง เคร่ืองอัดเม็ดอาหารกวางผสมเสร็จ และเคร่อื งให้อาหาร กวางสาหรบั รองรับการทางานของโปรแกรมอตั โนมตั คิ วบคุมการใหอ้ าหารกวาง 6. พัฒนาส่ือการเรียนรู้กระบวนการผลิตหญ้าแห้งปลอดภัยและอาหารอัดเม็ดในระบบการ ผลติ กวางเชิงพาณชิ ยใ์ นรูปแบบการ์ตนู แอนเิ มชน่ั 3 ภาษา (ไทย อังกฤษ จีน) อยา่ งนอ้ ย 1 ชิน้ 7. ศึกษาผลกระทบของธุรกิจการผลิตกวางเชิงพาณิชย์ต่อผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย และผลกระทบ และคุณค่าจากการใช้องค์ความรู้ในส่วนของการพฒั นาสูตรและกระบวนการผลิตอาหารกวางที่มีต่อ ผู้ประกอบการ เป้ำหมำยเชิงยุทธศำสตรข์ องชุดโครงกำรวิจัย ชุดโครงการมีเป้าหมายเสริมสร้างระบบการเพิ่มผลผลิต โดยมุ่งสู่การศึกษาปัจจัยการผลิต เพื่อพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรที่มมี ูลค่าสูง (การผลิตกวางเชิงพาณชิ ย์) ให้สามารถแขง่ ขนั ในระดับ โลกได้ ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ในประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 3 คือ การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็นการ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมการเกษตรระดับการผลิต โดยการ ร่วมมือระหว่างกลุ่มเกษตรกร กับสถาบันการศึกษา เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่ม มูลค่าสินค้าเกษตร มีการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตรและพัฒนาช่องทางการสื่อสารและ ระบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือสร้างสังคมการเรียนรู้ ตามแผนพัฒนาการเกษตรในช่วง แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ทฤษฎี สมมตุ ฐิ ำน (ถำ้ ม)ี และกรอบแนวคิดของชุดโครงกำรวจิ ยั ในปัจจุบันผเู้ ล้ียงกวางเชิงพาณิชยม์ ีจานวนเพ่ิมมากขึ้น เนื่องจาก พระราชบัญญตั ิสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่าปี 2535 อนุมัติให้การเพาะเล้ียงกวางม้าหรือกวางไทยในเชิงการค้าเป็นธุรกิจที่ถูก ต้องตามกฎหมายโดยต้องมีการขออนุญาตและจดทะเบียนฟาร์มกับกรมป่าไม้ นอกจากนี้กวางยัง ได้รบั การบรรจุเป็นสัตว์เศรษฐกิจทไี่ ด้รบั การส่งเสริมการ เลี้ยงมาต้งั แตแ่ ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 7 ปัจจุบันการเพาะเลี้ยงกวางจึงได้รับความสนใจอย่างมากจากเกษตรกร เนื่องจาก พิจารณาเห็นว่าธุรกิจน้ีน่าจะได้รับผลตอบแทนท่ีดีและคุ้มค่ากว่า ปศุสัตว์ประเภทอื่น ๆ ซ่ึงก็ทาให้

5 ธรุ กิจฟารม์ กวางขยายตัวอยา่ งรวดเร็ว ตลาดรองรับผลติ ภณั ฑก์ วางในประเทศขณะนี้มีเพียงตลาดเขา กวางอ่อน ซ่ึงจาหน่ายอยู่ตามร้านขายยาจีนโบราณ แหล่งที่พบมากคือ เยาวราช รูปแบบท่ีขายมีทั้ง เขาออ่ นชนิดที่สกดั เป็นตวั ยาแลว้ และเขากวางแหง้ ที่ยังไม่แปรสภาพ ราคาจาหน่ายประมาณ 20,000 - 30,000 บาท ซึง่ ปัจจบุ นั พง่ึ พงิ การนาเข้าจากจีน มูลค่า 5-7 ลา้ นบาทตอ่ ปี ดังนัน้ เมื่อมีการเลีย้ งกวาง อย่างเป็นลา่ เป็นสันในประเทศไทยก็จะลดการพ่ึงพิงนาเขา้ เขากวางอ่อนได้ นอกจากน้ีในระยะ 5 - 6 ปีต่อไปตลาดผลติ ภณั ฑ์กวางประเภทอน่ื ๆ ก็จะเกิดตามขึ้นมาด้วยโดยเฉพาะตลาดเนื้อกวาง ซ่งึ เปน็ ท่ี นยิ มบริโภคในตลาดต่างประเทศ ราคาจาหน่ายจะอยู่กิโลกรมั ละ 300 - 500 บาท อีกท้ังในส่วนต่างๆ ของกวาง มมี ลู คา่ สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ทุกส่วน ดงั น้ันการส่งเสริมหรือพัฒนาการเลี้ยงกวางเชงิ พาณิชย์ เปน็ การลงทุนที่ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยี ควบคู่กับการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพัฒนาปัจจัยการผลิตนั้นก็คือ พืชอาหารสัตว์ โดย มงุ่ เน้นให้มีคุณภาพและคงคุณค่าทางโภชนาการที่สตั ว์หรือกวางควรได้รับ คุณภาพอาหารสัตว์ท่ีต้อง อาศัยการจัดเก็บ การจัดการ การดูแลและรักษา เพ่ือลดความเส่ียงที่จะก่อให้เกิดโรค ส่งผลต่อสัตว์ และกวาง อีกท้ังส่งเสริมการจัดข้อมูลใหเ้ ป็นไปในรูปแบบของสื่อการเรียน เพ่ือให้บุคคลท่ัวไปเข้าถึง ข้อมลู และสามารถใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยไี ด้ เปิดโอกาสทางการตลาด

6 บทท่ี 2 เอกสำรและงำนวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง เอกสำรและงำนวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ งโครงกำรย่อยท่ี 1 การวจิ ยั ครง้ั น้ี การวจิ ัยและพัฒนา การตรวจเอกสารที่สาคัญ ในการดาเนินการวจิ ัย มปี ระเด็นสาคญั ดังน้ี แนวคดิ และทฤษฎี 1. กำรจดั กำรห่วงโซอ่ ปุ ทำน (Supply Chain Management) วทิ ยา สุหฤทดารง (2546) โซอ่ ุปทาน (Supply Chain) หรือ เครือขา่ ยโลจิสตกิ ส์ คอื การใช้ ระบบของหนว่ ยงาน คน เทคโนโลยี กจิ กรรม ขอ้ มูลข่าวสาร และทรัพยากร มาประยุกตเ์ ขา้ ดว้ ยกัน เพอื่ การเคลื่อนย้ายสนิ ค้าหรอื บริการ จากผู้จดั หาไปยงั ลูกค้า กิจกรรมของโซ่อุปทาน (Supply Chain) จะแปรสภาพทรพั ยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ และวสั ดุอื่นๆให้กลายเปน็ สนิ คา้ สาเร็จ แลว้ สง่ ไป จนถึงลูกคา้ คนสุดท้าย (ผู้บรโิ ภค หรือ End Customer) ในเชิงปรชั ญาของโซ่อปุ ทาน (Supply Chain) น้ัน วัสดุทีถ่ ูกใช้แล้ว อาจจะถูกนากลับมาใชใ้ หม่ที่จดุ ไหนของโซอ่ ปุ ทาน (Supply Chain) ก็ได้ ถา้ วสั ดุ นั้นเปน็ วัสดุที่นากลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ (Recyclable Materials) โซอ่ ุปทาน (Supply Chain) มคี วาม เกีย่ วข้องกบั โซ่คณุ ค่า (Value Chain) ดงั นนั้ จึงมผี ใู้ หค้ านิยายทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับโซอ่ ุปทานเป็นจานวนมาก โดย วทิ ยา สุหฤทดารง ไดร้ วบรวมความหมายของโซอ่ ุปทานซึง่ จะมีความหมายท่แี ตกต่างกนั ไป ดังนี้ Jone และ Riley (1985) ได้ให้ความหมายของโซอ่ ปุ ทานในแง่ของการกระจายสินค้าต้งั แต่ วัตถดุ ิบจากผ้จู ัดสง่ วัตถดุ บิ (Supplier) ไปยังผู้ผลิต (Manufacturer) เพ่ือดาเนินการผลติ สนิ ค้า และ กระจายไปยงั ผู้บริโภคต่อไป Steven (1989) กลา่ ววา่ โซ่อปุ ทานคอื อนกุ รมของกจิ กรรมตา่ งๆ ทเ่ี ช่อื มตอ่ กนั โดยเริ่มตั้งแต่ การวางแผน การประสานงาน การทางานร่วมกัน และการควบคุมวัตถดุ บิ และสนิ ค้าจากผู้จัดสง่ วัตถุดบิ ไปยังผู้บริโภค ซ่งึ จะเหน็ ได้ว่า Steven ใหค้ วามสาคญั ในการเชือ่ มโยงของกิจกรรมตา่ งๆ รวมถงึ การส่ือสารกนั ในอนุกรมกิจกรรมท้งั หมด Scott และ Westbrook (1991) ใหค้ วามสาคัญในแง่ขององคป์ ระกอบของกระบวนการผลิต และกระบวนการไหลของอปุ ทาน (Supply) ตง้ั แต่วัตถุดิบไปจนถงึ ผู้บรโิ ภค นอกจากนยี้ งั ตอ้ งให้ ความสาคญั กบั วัตถุดิบท่ขี ้ามผ่านองค์กรไปยังองคก์ รธรุ กิจอืน่ ๆอีก ซึ่งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเช่ือมโยงของ ธรุ กิจต่างๆเขา้ ดว้ ยกัน ซงึ่ อยใู่ นรูปแบบของพันธมติ ร (Alliance) Ellram (1991) แสดงให้เหน็ ว่า โว่อุปทานนน้ั อยู่ในรปู แบบของเครอื ขา่ ย (network) ใน องคก์ รต่างๆท่มี คี วามเชอ่ื มโยงและเก่ยี วขอ้ งกนั ในการจัดสง่ สินคา้ และบรกิ ารไปยงั ผ้บู ริโภค ซง่ึ เชอ่ื มโยงตง้ั แตว่ ตั ถุดิบไปยังการใช้งานจนหมดอายุ ซงึ่ Ellram เริ่มให้ความสาคัญในงานบริการเทา่ กบั การผลติ

7 Thomas และ Griffin (1996) กล่าวว่านอกจากการศึกษาการไหลของวัตถดุ บิ แล้ว การไหล ของข้อมลู ระหว่างคู่คา้ (Vendors) ผู้ผลิต และศนู ย์กระจายสนิ คา้ น้ัน กม็ คี วามสาคัญเชน่ กนั Copper และคณะ (1997) มมี ุมมองกลบั จากผู้ใหค้ านยิ ายอืน่ ๆ โดยให้ความสาคญั กบั ผู้บรโิ ภค สุดทา้ ยถงึ ความต้องการในผลิตภัณฑ์ บริการ และข้อมลู ทจี่ าเป็นต่อลกู ค้า เพอ่ื สง่ ผา่ นกลับมายงั ผูผ้ ลิต เพ่อื การประสานงานกบั ผจู้ ัดสง่ วัตถุดิบต่อไป Trienekens (1999) กลา่ วว่า โซ่อปุ ทานคอื เครอื ข่ายของกระบวนการที่เชือ่ มโยงกนั ตามลาดบั ความสาคัญกอ่ นหนา้ การไหลของผลิตภัณฑ์ ข้อมูล รวมถึงการเงนิ ซ่ึงสอดคล้อง กบั Handfield และ Nichols (1999) เช่นกนั The Council of Logistics Management (2002) ไดใ้ ห้ความหมายของการจดั การโซ่อปุ ทานไว้ ว่า เปน็ กระบวนการบรู ณาการ ประสานงาน และควบคุมการเคล่อื นย้ายสินค้าคงคลังทงั้ ของวัตถุดิบ และสินคา้ สาเร็จรปู และสารสนเทศที่เก่ียวข้องในกระบวนการจากผู้ขายวตั ถุดิบผ่านบรษิ ัทไปยงั ผู้บริโภคเพื่อให้เปน็ ไปตามความต้องการของผู้บริโภค จากแนวคิดและคานยิ ามดังกลา่ วขา้ งตน้ นน้ั วิทยา สหุ ฤทดารง ได้นาความหมายของโซ่ อุปทานโดยรวมแสดงในรูปของการดาเนนิ งานในโซอ่ ปุ ทานดงั ภาพตอ่ ไปน้ี ภำพที่ 1 องค์ประกอบโดยรวมของการบริหารโซอ่ ุปทาน ตามแนวคิด วทิ ยา สุหฤทดารง

8 จากภาพแสดงใหเ้ หน็ ไดว้ า่ การบริหารโซอ่ ปุ ทานน้ันจาเป็นต้องคานึงถึงความสอดคล้องกับระบบ การบรหิ ารอ่ืนๆเน่อื งจากโซ่อุปทานเป็นเครือข่ายทค่ี รอบคลมุ กจิ กรรมทั้งหมดทมี่ ีความเช่ือมโยงกนั ใน การดาเนินธรุ กจิ ท่ีอาศยั การส่ือสาร การประสานงาน เพือ่ ให้เกดิ ความคลอ่ งตัว (Agility) เพื่อการไหล ของวตั ถดุ บิ จากผจู้ ดั ส่งวัตถุดบิ สู่ผูผ้ ลิตและผู้บริโภคข้ันสดุ ท้ายตามลาดับ โดยมีต้นทุนที่เหมาะสม โดยท่วั ไปแลว้ จุดเริ่มตน้ ของโซม่ กั จะมาจากทรัพยากรธรรมชาติ ไมว่ ่าจะเปน็ ทรัพยากรทาง ชวี วทิ ยาหรอื นเิ วศวิทยา ผ่านกระบวนการแปรรปู โดยมนุษยผ์ า่ นกระบวนการสกดั และการผลิตที่ เก่ียวขอ้ ง เชน่ การกอ่ โครงร่าง, การประกอบ หรอื การรวมเขา้ ดว้ ยกัน ก่อนจะถกู ส่งไปยงั โกดงั หรอื คลังวัสดุ โดยทุกครัง้ ทีม่ กี ารเคลอ่ื นย้าย ปริมาณของสนิ คา้ กจ็ ะลดลงทกุ ๆคร้งั และไกลกว่าจดุ กาเนดิ ของมนั และท้ายทสี่ ุด ก็ถกู สง่ ไปถงึ มอื ผู้บรโิ ภค การแลกเปลี่ยนแตล่ ะครงั้ ในโซ่อปุ ทาน (Supply Chain) มกั จะเกิดขึน้ ระหว่างบรรษทั ต่อบรรษทั ท่ีต้องการเพิม่ ผลประกอบการ ภายใต้สภาวะที่พวกเขาสนใจ แตก่ อ็ าจจะมีความรู้นอ้ ยนิด/ไม่มเี ลย เกยี่ วกบั บริษทั อน่ื ๆในระบบ ปจั จุบนั นี้ ได้เกิดบริษทั จาพวกบรษิ ทั ลูก ทแี่ ยกออกมาเป็นเอกเทศจาก บรษิ ทั แม่มีจุดประสงค์ในการสรรหาทรัพยากรมาป้อนใหบ้ รษิ ัทแม่ (ท่มี า: http://th.wikipedia.org/wiki/หว่ งโซ่อุปทาน)

9 ภำพที่ 2 กระบวนการซัพพลายเชน วนั พชื สร้อยระยา้ และ วิทยา สุหฤทดารง (2545) ได้ศกึ ษาถงึ ลักษณะความไม่แนน่ อนของการ บริหารโซ่อุปทานท่ีเกิดข้นึ 4 ลักษณะ ดงั น้ี 1. ความไม่แนน่ อนของผู้ผลิตหรือผู้สง่ มอบ คือ ความไม่นอนท่เี กี่ยวกบั การจัดการขนสง่ วตั ถุดบิ หรอื หบี หอ่ ของบรรจภุ ัณฑเ์ พ่ือใช้ในกระบวนการผลติ ให้ทนั ตอ่ เวลาในปรมิ าณที่ถูกต้องทั้ง คุณภาพท่ีตรงตามการใช้งาน และความถูกต้องในดา้ นราคา 2. ความไมแ่ นน่ อนของความตอ้ งการ คอื ความไมแ่ น่นอนท่ีเก่ยี วกับความต้องการของลกู คา้ ซง่ึ เกดิ จากการจดั กลมุ่ รวมกนั ของความสามารถในการคาดเดาหรอื ทานายกับความหลากหลาย ทมี่ ใี นผลิตภณั ฑ์ขององค์กร 3. ความไมแ่ น่นอนในกระบวนการ คือ ความไมแ่ นน่ อนในระบบการผลติ เชน่ การไดม้ าถึงความ ถูกตอ้ งของความสามารถในการผลติ ผลิตภณั ฑ์ หรอื การได้มาซ่งึ ความถูกต้องของวตั ถดุ บิ ที่ใช้ อย่างเพยี งพอในกระบวนการผลติ 4. ความไม่แน่นอนในการวางแผนและควบคมุ คอื ความไมแ่ นน่ อนที่เกี่ยวขอ้ งกับโครงสรา้ งของ การวางแผนและโครงสร้างของการติดตอ่ สอื่ สารกัน เชน่ การวางแผนควบคุมระดับสนิ คา้ คง คลังและการติดต่อส่ือสารกับลกู ค้า

10 ความไมแ่ น่นอนที่เกดิ ขนึ้ ทง้ั 4 นี้จะสง่ ผลใหก้ ารดาเนินการจัดการโซอ่ ุปทานไม่ประสบ ความสาเรจ็ แต่ความไมแ่ นน่ อนท้ัง 4 ประการนี้ สามารถกาจัดไดถ้ า้ ในองคก์ รมีการไหลของข้อมลู ที่ดี และมีประสิทธภิ าพ โดยไดม้ ีการนาเสนอระบบการวางแผนทรัพยากรของกจิ การ (Enterprise Resource Planning) หรอื ERP มาชว่ ยในการวางแผนบรหิ ารจัดการทรัพยากรในองคก์ ร ซึ่งอาศยั ระบบสารสนเทศสนบั สนนุ การทางานที่มีการติดต่อส่อื สารแบบเชอื่ มโยงถงึ กันหมดทกุ กระบวนการ ทาให้ทุกหนว่ ยงานในองค์กรอยา่ งทวั่ ถงึ ทาใหเ้ กิดความราบรน่ื ในการดาเนินงานของโซ่อปุ ทานทั้งสาย ได้ ดวงพรรณ กริชชาญชัย (2549) กล่าวเกี่ยวกับการจัดการ การวิเคราะห์และการวัดสมรรถนะห่วง โซอ่ ปุ ทาน สรปุ ความไดว้ า่ การจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน หรือ SCM (Supply Chain Management) จะต้องนาหลกั การมาใช้และทาให้เกิดข้ึนในแต่ละองค์กรและระหว่างองค์กร ต้องมีความพรอ้ มทงั้ ใน ระดับนโยบายและการดาเนนิ การ โครงสร้างห่วงโซ่อุปทานจาตอ้ งใชป้ ัจจยั สนบั สนนุ หลายๆ อย่าง ประกอบกัน เชน่ ปัจจยั ทกั ษะดา้ นโลจิสติกส์ (Logistics skills) ทักษะด้านการสร้างพันธมิตรเชิงกล ยทุ ธ์ (Strategic alliance skills) ทกั ษะด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology skills) เป็นต้น การสนบั สนนุ หลักจะมาจากความร่วมมอื ระหวา่ งแผนกในองค์กรเดียวกนั หรอื ระหว่าง องค์กร การนาเทคโนโลยเี ข้ามาสนบั สนนุ การดาเนนิ การ รวมถงึ การบริหารจัดการการดาเนินงานใน แต่ละกิจกรรมของการดาเนินธุรกิจด้วย การเช่ือมโยงการทางานของธุรกิจต่างๆ เขา้ ดว้ ยกัน เป็นการ สะทอ้ นให้เหน็ ถึงปจั จัยสาคัญในการจัดการห่วงโซอ่ ปุ ทาน ซง่ึ ความร่วมมอื น้ันตอ้ งเกดิ ข้ึนทงั้ ภายใน และภายนอกองคก์ ร สามารถแสดงเปน็ ภาพความเชอ่ื มโยง ไดด้ ังน้ี กำรบรหิ ำรวสั ดุ กำรบรหิ ำรกำรผลติ กำรบรหิ ำรกระจำยสินค้ำ (Material Management) (Manufacturing Management) (Distribution Management) ภำพท่ี 3 หน้าทีห่ ลักโซอ่ ุปทานในองคก์ ร

กำรบรหิ ำรวสั ดุ กำรบรหิ ำรกำรผลติ 11 (Material Management) (Manufacturing Management) กำรบริหำรกระจำยสินคำ้ ผจู้ ดั หำวตั ถุดิบ โซอ่ ุปทำนภำยในองคก์ ร (Distribution Management) ลูกคำ้ ภำพท่ี 4 หน้าที่หลักโซอ่ ปุ ทานระหวา่ งองค์กร 2. โลจิสตกิ ส์ (Logistics) (กรีนโลจีสติกสไ์ ทย,2553) Michael E. Porter ได้ให้ทฤษฎเี กี่ยวกับการสร้างห่วงโซ่คณุ ค่า(Value Chain)ของบริษทั เพอื่ ท่จี ะเพ่มิ ขดี ความสามารถทางการแข่งขนั ว่าเราสามารถแบ่งกิจกรรมทกี่ ่อให้เกิด การเพ่มิ มูลคา่ ไดเ้ ป็นสองส่วนด้วยกนั คือกจิ กรรมหลกั (Primary Activities) และกิจกรรมสนบั สนุน (Support Activities) ดงั ท่ีเราจะเห็นได้ในภาพ ภำพท่ี 5 หว่ งโซค่ ณุ คา่

12 1.กจิ กรรมหลัก(Primary Activities: Line Functions) กิจกรรมหลักจะประกอบด้วยการก่อให้เกดิ มูลค่าเพิ่มของสินค้าตลอดกระบวนการ ไมว่ า่ จะเปน็ การรับเข้า การผลติ การจดั ส่งสนิ ค้า การตลาด และบรกิ ารหลงั การขาย 1.1 Inbound Logistics เปน็ กจิ กรรมที่มกี ารนาวตั ถดุ ิบหรอื ส่วนประกอบทจี่ ะใช้สาหรับการ ผลติ เขา้ มาเพอื่ ทาการเตรยี มความพร้อม ประกอบไปด้วยการรับเขา้ การจัดเกบ็ และการวางแผนการ ผลติ ยกตัวอยา่ งในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ Inbound Logistics คอื การรบั ช้ินสว่ นต่าง ๆ เข้ามาเพื่อ ประกอบใหเ้ ปน็ คอมพวิ เตอรข์ ั้นตอนตอ่ ไป 1.2 Operations เปน็ ขั้นตอนของการผลติ สนิ ค้าและรวมถึงทุกกระบวนการในการเปล่ยี น สภาพของวตั ถุดิบหรือส่วนประกอบดงั กล่าวเป็นสินคา้ หรอื Final Product ในทน่ี กี้ ค็ อื การประกอบ ชิน้ ส่วนตา่ ง ๆ เข้าเปน็ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ กจิ กรรมดงั กลา่ วยงั รวมไปถึง การบรรจุหบี หอ่ การควบคุม คุณภาพของสินคา้ ใหต้ รงตามมาตรฐานและการบารงุ รักษาเคร่ืองจกั รให้พรอ้ มใชง้ านอยา่ งสม่าเสมอ อกี ด้วย 1.3 Outbound Logistics คือการจัดเก็บและจัดส่งสินคา้ สู่ผู้ซื้อ สาหรับตวั อย่างนีก้ ค็ อื การ จดั เกบ็ เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีไดป้ ระกอบและผลิตแลว้ ในคลงั สินคา้ และการจดั สง่ สินค้าใหก้ บั ผู้แทน จาหน่าย 1.4 Marketing and Sales คือกระบวนการของการวิเคราะหค์ วามต้องการของลกู คา้ และ สนองความต้องการเพ่อื ใหบ้ รษิ ทั สามารถขายสินค้าได้ สรา้ งรายได้ให้กับบรษิ ทั 1.5 After- Sale Services ขน้ั ตอนหลงั การขายสินค้าแล้วบริษัทจะต้องมบี ริการหลงั การขาย เพ่ือสรา้ งความพงึ พอใจให้กบั ลูกคา้ และเปน็ โอกาสทดี่ ีในการสร้างการขายคร้งั ตอ่ ไป เช่นการ รบั ประกนั สนิ คา้ บรกิ ารตรวจสอบและซอ่ มแซม ศูนย์บริการเป็นตน้ 2.กจิ กรรมสนบั สนนุ (Support Activities) กิจกรรมสนับสนุนคอื กจิ กรรมทีจ่ ะช่วยให้กิจกรรมหลักดาเนินอย่างราบร่ืนประกอบด้วย 2.1 Firm infrastructure คอื กิจกรรมหลกั ๆ ทีบ่ รษิ ัทจาเปน็ ต้องมี เชน่ การบริหารการเงิน การวางแผนกลยทุ ธ์ โครงสร้างการบริหารจัดการ เป็นตน้ 2.2 Human Resources Management การคัดเลือกและพัฒนาบคุ ลากรในองค์กร รวมถึง การบริหารจดั การท้งั หมดเกย่ี วกับบุคลากรเช่นนโยบายการจ้างงานและการบริหารค่าตอบแทน 2.3 Technology Development ครอบคลมุ ถึงเทคโนโลยีที่จะสนบั สนนุ การดาเนนิ การของ กิจกรรมหลกั ท้ังหมด เช่นระบบการบรหิ ารจัดการคลังสนิ คา้ และสินคา้ คงคลงั 2.4 Procurement การจดั ซ้ือจัดหาวัตถดุ ิบและเคร่อื งจกั รสาหรบั การผลิต

13 เมื่อแตล่ ะบริษทั มี Value Chain ซึ่งก่อใหเ้ กดิ การสรา้ งมลู ค่าเพ่ิมและความสามารถทางการแข่งขัน เป็นของตัวเองแล้ว เราจะมามองภาพทก่ี ว้างกวา่ นนั้ ไปยงั คคู่ ้าและลูกค้าของเราดว้ ยซ่งึ จะได้แสดงตาม ภาพ ดังตอ่ ไปนี้ ภำพท่ี 6 หว่ งโซ่คณุ คา่ และหว่ งโซ่อปุ ทาน ภาพแสดงให้เหน็ ถึงกิจกรรมทเี่ กดิ ข้ึนตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตง้ั แต่ผู้ผลิตวตั ถุดิบ โรงงาน ผ้คู ้าส่ง ผู้คา้ ปลีก และผู้บริโภค ซ่ึงแตล่ ะบรษิ ทั ก็จะมี Value Chain เปน็ ของตัวเอง ประกอบเป็น Supply Chain ท้ังระบบทเี่ ช่อื มตอ่ กนั การไหลของวัตถุดบิ (Material Flow)จะเรมิ่ จากผูผ้ ลิตวัตถุดิบและ เปลี่ยนสภาพไปเรอ่ื ย ๆ จนเป็นสนิ ค้าสาเรจ็ รปู และส่งไปยงั ลกู คา้ ในขณะทเี่ งินหรอื ผลตอบแทนจาก การขายสินคา้ (Financial Flow)จะเคลือ่ นท่ีจากผู้ซ้อื ขัน้ สุดท้ายจนถึงผู้ผลิตวัตถดุ บิ ขั้นแรก ระหวา่ งนัน้ จะมีการไหลของขอ้ มลู (Information Flow) ทงั้ ไปและกลบั เช่นข้อมูลของสินคา้ ข้อมลู ความตอ้ งการ ของผบู้ รโิ ภค ตลอดหว่ งโซอ่ ปุ ทาน ตามท่ไี ดแ้ สดงใหเ้ หน็ เปน็ ลกู ศรด้านบนและด้านล่าง กิจกรรมโลจสิ ติกสเ์ ปน็ กิจกรรมที่เกดิ ขึ้นภายในหว่ งโซ่อปุ ทาน โดยแตล่ ะคนหรอื แต่ละบรษิ ทั ก็จะมี กิจกรรมโลจสิ ตกิ สเ์ ปน็ ของตนเอง ถ้าเรานารปู ภาพข้างตน้ มาพิจารณากจิ กรรมโลจสิ ติกสข์ องแต่ละ ส่วนก็จะแสดงไดด้ งั นี้

14 ภำพท่ี 7 กจิ กรรมโลจสิ ติกส์ของแตล่ ะสว่ นของโซ่อปุ ทาน เมอื่ มองกิจกรรมโลจสิ ติกสข์ องผู้ผลิต(Logistics of Manufacturer) ในกรอบไขป่ ลาเล็กดา้ นซ้าย เราจะเห็นวา่ การดาเนนิ กจิ กรรมโลจสิ ติกสเ์ ริม่ จากการรบั สว่ นประกอบหรือวตั ถดุ บิ จาก Suppliers เขา้ มาเพ่อื ทาการผลิตสินค้า จนถึงการสง่ สนิ คา้ ท่ีผลิตเรียบรอ้ ยแล้วสู่คลังกระจายสินค้า(Distribution Center) โลจสิ ติกส์ของผ้กู ระจายสนิ ค้า(Logistics of Distribution Center) ในกรอบเสน้ ไขป่ ลาใหญ่ เรม่ิ ตัง้ แต่การรบั สนิ คา้ จากโรงงาน การบริหารจัดการกระจายสินค้า และการส่งสินค้าไปยังผคู้ ้าสง่ ส่วนโลจสิ ตกิ ส์สาหรับผู้คา้ ปลีก(Logistics of Retailer) นับต้ังแตผ่ ู้คา้ สง่ ส่งของไปยังช้ันโชว์ของผคู้ ้า ปลกี จนกระทง่ั ผู้บรโิ ภคไปเลือกซือ้ มา จะเหน็ ได้วา่ ระบบโลจสิ ตกิ สเ์ ป็นเสมอื นภาพตดั สว่ นหนง่ึ ของโซ่ อุปทาน แลว้ แต่วา่ เราจะตัดเอาสว่ นไหนมาดู ดังนน้ั การทีจ่ ะปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารงาน ในขั้นตน้ จะตอ้ งดูทีภ่ าพโลจสิ ตกิ ส์ในแต่ละสว่ นก่อน แต่ถ้าตอ้ งการจะปรบั ปรุงประสิทธิภาพใหม้ าก ย่งิ ขึน้ ไปอกี จะต้องมองตลอดห่วงโซอ่ ุปทาน ตอ้ งบูรณาการทุกภาคสว่ นใหเ้ ขา้ มารว่ มมอื กัน ส่อื สารกัน ให้เข้าใจ และพรอ้ มใจกันปรบั ปรงุ จะทาให้สามารถลดต้นทนุ ได้อย่างถงึ ที่สุด ดังทม่ี ีตวั อย่างมาแล้ว ไม่ ว่าจะเป็นอตุ สาหกรรมรถยนต์ หรอื อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นตน้ 3. พนั ธุ์กวำงท่ีสำมำรถนำมำเลยี้ งเป็นสัตวเ์ ศรษฐกิจในประเทศไทย สานกั งานปศุสตั ว์เขต 9 , กรมปศสุ ัตว์ (2560) การทาฟาร์มกวางในประเทศไทย มีขอ้ จากัดในการ ห้ามเลี้ยงกวางปา่ เนือ่ งจากเป็นสัตวป์ ่าคมุ้ ครอง และไดม้ กี ารแกไ้ ขพระราชบัญญัติใหท้ าการเพาะเล้ียง

15 ในเชงิ การค้าได้ โดยต้องขออนญุ าตจากกรมป่าไม้ เพ่ือป้องกนั ควบคุมการลกั ลอบจับสตั ว์ปา่ เพอ่ื การ ซอื้ ขาย พนั ธกุ์ วางทีเ่ ล้ียงทวั่ ไป ได้แก่ กวำงปำ่ หรือ มถี ่ินกาเนิดในประเทศมาเลเซีย เกาะสุมาตรา อินเดยี จนี ไตห้ วนั กมั พชู า ลาว กวำงม้ำ และไทย เป็นกวางทมี่ ีขนาดใหญ่ สนี า้ ตาลเข้ม เนอ้ื ทรำย มถี น่ิ กาเนิดในเอเชยี พบได้ใน พม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม และไทย มขี นาดเล็ก-กลาง กลำงดำว เป็นกวางทีม่ ขี นาดเล็ก เลยี้ งอยู่ในประเทศไทยมานานกวา่ 50 ปี อปุ นสิ ยั ค่อนข้างเชือ่ ง กว่าพันธุอ์ นื่ ๆ กวำงรูซำ่ มีถิ่นกาเนิดในประเทศอนิ โดนีเซียและมาเลเซีย ขนาดกลาง สีขนเทาจนถงึ น้าตาลเหลือง กวำงซีกำ้ มีถน่ิ กาเนดิ ในประเทศญ่ปี นุ่ จนี เวียดนาม เปน็ กวางที่มขี นาดกลาง ขนสีเหลอื งอม นา้ ตาล นิยมเล้ียงเพือ่ ตดั เขากวางออ่ น กวำงฟอลโล มถี นิ่ กาเนิดในยโุ รป ลาตัวสีเทา-นา้ ตาล มจี ุดสีขาวหางยาว กวำงแดง มีถน่ิ กาเนดิ ในยุโรป ขนสนี า้ ตาลแดง มขี นาดใหญ่ ตำรำงที่ 1 ชนิดพันธกุ์ วางทสี่ ามารถเล้ียงเปน็ สัตว์เศรษฐกจิ ในประเทศไทย พันธกุ์ วำง ชอื่ สำมญั ชอื่ วทิ ยำศำสตร์ ประเภทสัตว์ กวางปา่ , กวางมา้ Sambar deer Cervus uniculor สัตวเ์ ศรษฐกิจ เนื้อทราย Hog deer Cervus porcinus สตั ว์เศรษฐกิจ กวางดาว Chital deer Axis axis สตั ว์เศรษฐกิจ กวางรซู ่า Rusa deer Cervus timorensis สตั ว์เศรษฐกิจ กวางซีก้า Sika deer Cervus nippon สัตวเ์ ศรษฐกิจ กวางแดง Red deer Cervus elaphus บญั ชีไซเตรส กวางฟอลโล Fallow deer Dama dama บญั ชีไซเตรส ทม่ี า : Grzimex (1984)

16 4. อำหำรกวำง อจั ฉรตั น์ สุวรรณภกั ดี (2560) กวางเปน็ สตั ว์เคย้ื วเอือ้ ง 4 กระเพาะ ประกอบดว้ ย กระเพาะรูเมน ผ้าขร้ี ิ้ว รังผ้ึง และกระเพาะแท้ กวางส่วนใหญไ่ มม่ ถี ุงน้าดี ยกเวน้ กวางมสั ศ์ กวางสามารถกินอาหารไดห้ ลายชนดิ ทงั้ อาหาหยาบและอาหารขน้ แต่ควรจะใหอ้ าหารหยาบใน การเล้ยี งกวางเพราะเปน็ อาหารท่กี วางชอบ และประหยัดต้นทุนในการเล้ียง พืชท่ีกวางชอบมาก 1-10 ชนิด ได้แก่ หญา้ นมหนอน โมกมัน ขา่ ตานูหม่อน หญ้าคา ต้ิวขาว ยา้ ไหวทาน ผักชีฝรงั่ และมนั เหมน็ นอกจากนี้ ใบไม่สด หญ้าสด ฟางแหง้ เปลือกข้าวโพด และมันสาปะหลงั ตากแห้ง กม็ กี าร นามาใชเ้ ลยี้ งกวางได้ตามความเหมาะสมของอาหารในชว่ งนัน้ ๆ ปริมาณอาหารทกี่ วางตอ้ งการต่อตวั ต่อวัน แตกตา่ งกันไปขน้ึ อยกู่ บั พนั ธแุ์ ละระยะในการ เจรญิ เตบิ โต มีงานวจิ ัยเก่ียวกบั ความตอ้ งการอาหารของกวางรูซา่ พบวา่ ความต้องการ กโิ ลกรมั /ตัว/วัน เพศผู้ ลูกกวาง 1.1 อายุ 18 เดือน 1.5 โตเตม็ วัย 1.7 เพศเมีย ลกู กวาง 1.1 โตเตม็ วัย 1.0 แมเ่ ลยี้ งลูก 1.7 การให้อาหารขน้ แกก่ วางสามารถใชอ้ าหารสูตรเดยี วกับโคเน้อื แตไ่ มค่ วรให้มากกวา่ ครงึ่ หน่งึ ของ อาหารกวางที่กนิ ในแต่ละวนั เพราะอาจมผี ลกับระบบย่อยอาหาร และจุลนิ ทรยี ์ท่ที าหนา้ ท่ียอ่ ยอาหาร ในกระเพาะกวางได้ การทาแปลงหญา้ จึงเป็นเร่ืองจาเป็นมากสาหรับการทาฟารม์ กวาง ช่วยให้กวางมอี าหารเพียงพอ และลดตน้ ทุนค่าอาหารขน้ หลกั การพจิ ารณาในการทาแปลงหญ้า คอื เลอื กบริเวณพืน้ ที่ทอ่ี ุดม สมบรู ณท์ ี่สดุ มีน้าเพยี งพอตลอดปี หากมีการปลกู พืชตระกลู ถว่ั ผสมทาให้เพมิ่ คุณค่าทางอาหารมาก ขึ้น มีการวางแผนปล่อยแทะเล็มหมนุ เวียในแตล่ ะแปลง หรอื ตัดสดใหก้ นิ อย่างเพียงพอในชว่ งหน้าแลง้ นา้ ทใี่ ช้ในการเลยี้ งกวาง ควรเป็นน้าทีส่ ะอาด อาจเป็นน้าประปาหรอื นา้ บาดาล ไม่ควรใหก้ วางมี การขาดน้าเปน็ ระยะเวลานาน

17 5. กำรวิเครำะห์สภำพแวดลอ้ มทีม่ ผี ลกระทบตอ่ กำรบรหิ ำรธรุ กจิ จากสภาพแวดล้อมท่ีกล่าวมาข้างต้น ผู้บริหารสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ด้วย แบบจาลองทางธุรกิจ เช่น การวิเคราะห์ SWOT และ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ด้วย TOWS Matrix 5.1 กำรวิเครำะห์ SWOT เป็นการวิเคราะหส์ ภาพการณ์ (Situation Analysis) 2 ดา้ น คือ สภาพการณ์ภายในและสภาพการณ์ภายนอก เพื่อประเมินค่าจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ผลจากการวิเคราะห์ SWOT นีจ้ ะใชเ้ ป็นแนวทางในการกาหนดวิสยั ทศั น์ การกาหนดกลยุทธ์ และเปน็ ข้อมลู ในการตัดสินใจดาเนินกจิ กรรมต่างๆ เพอ่ื ให้องค์กรเกดิ การ พฒั นาไปในทางท่ีเหมาะสม ตอ่ ไป (Kerin, Hartley and Rudelius, c2008) ภำพที่ 8 การวเิ คราะหจ์ ุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส และอปุ สรรค (SWOT Analysis) ทม่ี า : สุนีย์ วรรธนโกมล และธานินทร์ ศลิ ป์จารุ, 2552 S (Strengths) จุดแข็ง เป็นปัจจัยภายในท่ีสามารถควบคุมได้ตามศักยภาพของธุรกิจ ที่มี อยู่ จุดแข็งน้ีจะก่อให้เกิดผลดีต่อธุรกิจ ซึ่งส่งผลมาจากการบริหารงานภายในระหว่างผู้บริหารและ บคุ ลากร หรืออาจมาจากความได้เปรียบในด้านทรพั ยากรทางการบรหิ ารต่างๆ เชน่ มีสถานภาพทาง การเงินที่มั่นคง ท่ีต้ังอยู่ใกล้ทั้งแหล่งวัตถุดิบและแหล่งจัดจาหน่าย บุคลากรมีประสบการณ์และ ความสามารถสงู ฯลฯ W (Weaknesses) จุดอ่อน เป็นปัจจัยภายในที่เกิดจากปัญหาภายในธุรกิจ อันเนื่องมาจาก การบริหารงานที่ผดิ พลาด ข้อจากัดบางประการของศักยภาพทางธรุ กิจ ปัญหาเหล่าน้ีจะ ส่งผลร้ายถ้า

18 ไม่รีบดาเนินการแก้ไข เช่น ขาดสภาพคล่องทางการเงิน สินค้าที่ผลิตออกมามี คุณภาพ ไม่คงที่ ขาด การประสานงานที่ดีภายในองคก์ ร ฯลฯ O (Opportunities) โอกาส เป็นปัจจัยภายนอกท่ีธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิด หรือไม่เกิดข้ึนได้ แต่เป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันส่งผลดีให้กับธุรกิจโดยบังเอิญ เช่น กลุ่มลูกค้า เป้าหมายมีรายได้เพิ่มข้ึน นโยบายของรัฐให้การสนับสนุนสินค้าประเภทน้ี สินค้าของคู่แข่ง มีคุณภาพ ตา่ ฯลฯ T (Threats) อุปสรรค เป็นปัจจัยภายนอก ท่ีธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือไม่ เกิดข้ึนได้ และเป็นสภาวการณแ์ วดล้อมอันเลวรา้ ยที่ส่งผลกระทบให้ธุรกจิ เสียหาย เช่น รัฐบาลขน้ึ ภาษี ปัญหาสภาพเศรษฐกจิ ตกต่า วัตถดุ บิ มีราคาสงู ข้ึน เกดิ ภยั สงครามหรือภัย ธรรมชาติ ฯลฯ ในทกุ หัวข้อรายการท่ปี ระเมนิ อาจเปน็ ผลดีหรอื ผลรา้ ยกับธุรกิจกไ็ ด้ เช่นในเรอ่ื งของคุณภาพ สินคา้ ถา้ สินค้ามีคุณภาพดีถอื ได้ว่าเป็นจุดแข็งท่ีธรุ กิจนั้นต้องรกั ษาไว้ หรือหาหนทางพัฒนาให้ดขี ้ึน กว่าเดิม แต่ถา้ สนิ คา้ มีคณุ ภาพไม่สมา่ เสมอ ถอื เป็นจุดอ่อนอันส่งผลเสียตอ่ ธรุ กจิ กรณีเมือ่ วเิ คราะหพ์ บ แล้วว่า รายการใดเป็นจุดอ่อน ธุรกิจต้องมีมาตรการที่จะแก้ไขปัญหาหรือหาทางบรรเทาปัญหาน้ันๆ ใหไ้ ด้ (www.im2market.com, 2559) ซ่งึ มีนกั วิชาการให้อธบิ ายเกี่ยวกับการวิเคราะห์ SWOT ว่า เป็นหลักการสาคัญของการทาธุรกิจ เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ประเมินสถานการณ์ เพื่อช่วยให้ผู้บริหาร กาหนด จดุ แขง็ และจุดออ่ น จากสภาพแวดล้อมภายใน โอกาสและปัญหาอุปสรรค จากสภาพแวดล้อม ภายนอก ตลอดจนถึงผลกระทบท่ีมีต่อศักยภาพในการทางานขององคก์ ร คาว่า SWOT เป็นตัวย่อท่ีมี ความหมาย ดังน้ี S มาจาก คาว่า Strengths หมายถงึ จุดแข็ง หรือ ข้อได้เปรียบ เป็นปัจจัยภายในท่ีมผี ลดีต่อ การดาเนินงานขององค์กร ซ่ึงองค์กรจะต้องค้นหาความสามารถที่โดดเด่น เพื่อนามากาหนดเป็นกล ยุทธ์ ให้เหมาะสมกับลักษณะการบริหารงานขององค์กร เช่น องคก์ รภาครัฐนามากลยุทธเ์ พื่อให้การ ดาเนนิ งานบรรลุผลตามเป้าหมาย หรือตามแผนทีว่ างไว้ ส่วนองค์กรธรุ กิจ นาจุดแข็งมากาหนดเป็นกล ยทุ ธ์ เพอื่ ใหม้ คี วามสามารถโดดเด่นเหนอื คู่แข็งทางด้านการตลาด W มาจาก คาว่า Weaknesses หมายถึง จุดอ่อน หรือ ข้อเสียเปรียบ เป็นปัจจัยภายในท่ีมี ผลกระทบ หรือส่งผลเสียต่อการบริหารงานขององค์กร เช่น ขาดบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถ เฉพาะด้าน เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ขาดคุณภาพ หรือ ไม่ได้มาตรฐาน ทาให้องค์กรไม่สามารถนามาใช้ให้ เปน็ ประ-โยชน์ต่อการบริหารงาน O มาจาก คาว่า Opportunities หมายถึง โอกาส หรือปัจจัยภายนอก ที่เอ้ืออานวยให้การ ทางานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ ซ่ึงได้แก่ สภาพแวดล้อมที่นามาใช้ ให้เกิดประโยชน์แก่การ ดาเนินงาน

19 T มาจาก คาว่า Threats หมายถึง อุปสรรค หรือข้อจากัด ท่ีเป็นภัยคุกคาม ต่อการ ดาเนินงานขององค์กร เป็นปัจจัยภายนอก ที่ไม่สามารถแก้ไขเปล่ียนแปลงได้ นอกจากการควบคุม และวเิ คราะห์ เพื่อหาแนวทางปอ้ งกนั ใหไ้ ดร้ ับผลกระทบหรือมีความเสยี หายนอ้ ยลง 5.2 TOWS Matrix หลังจากท่ีมีการประเมินสภาพแวดล้อม โดยการวเิ คราะห์ให้เห็นถึงจุด แขง็ จุดอ่อน โอกาส และอปุ สรรค แลว้ ก็จะนาขอ้ มูลทัง้ หมดมาวิเคราะหใ์ นรูปแบบ ความสมั พนั ธ์แบบ แมตริกซ์โดยใช้ตารางที่ เรยี กว่า TOWS Matrix ซ่งึ ผลของการวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ในข้อมลู แต่ละคู่ ดงั กลา่ ว ทาให้เกิดยทุ ธศาสตรห์ รอื กลยุทธ์ ซึ่งสามารถ แบ่งออกได้เปน็ 4 ประเภท ภำพท่ี 9 การวเิ คราะห์เชิงกลยุทธ์ดว้ ย TOWS Matrix ทม่ี า : สนุ ีย์ วรรธนโกมล และธานินทร์ ศลิ ป์จาร,ุ 2552 กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) เป็นการใช้จุดแข็งบนโอกาสท่ีมีได้มาจากการนาข้อมูลการ ประเมินสภาพแวดล้อมท่ีเป็นจุดแข็งและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อท่ีจะนามากาหนดเป็น ยทุ ธศาสตร์หรอื กลยุทธ์ในเชงิ รกุ กลยทุ ธ์เชงิ ปอ้ งกัน (ST Strategy) เป็นการใช้จุดแข็งป้องกันอปุ สรรค ได้มาจากการนาขอ้ มูล การประเมินสภาพแวดล้อมที่เปน็ จุดแข็งและข้อจากัดมาพิจารณาร่วมกัน เพ่ือที่จะนามากาหนดเป็น ยทุ ธศาสตรห์ รือกลยทุ ธ์ในเชิงปอ้ งกนั กลยทุ ธ์เชงิ แกไ้ ข (WO Strategy) เป็นการขจัดจุดออ่ นโดยใช้โอกาส ได้มาจากการนาข้อมูล การประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพ่ือที่จะนามากาหนดเป็น ยุทธศาสตรห์ รือกลยทุ ธ์ ในเชิงแก้ไข

20 กลยทุ ธ์เชิงรับ (WT Strategy) เป็นการขจัดจุดอ่อนป้องกันอุปสรรค ได้มาจากการนา ข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมท่ีเป็น จุดอ่อนและข้อจากัดมาพิจารณาร่วมกัน เพ่ือที่จะนามา กาหนดเป็นยุทธศาสตรห์ รอื กลยุทธ์ในเชิงรับ 6. กำรจัดทำกำรสรุปผลกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อม 6.1 กำรสรุปผลกำรวิเครำะห์ปัจจัยภำยนอก (External Factor Analysis Summary :EFAS) หลังจากทาการตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายนอกเสร็จส้ินแล้ว ต้องนาข้อมูลมาสรุปใน แบบฟอร์มที่ เรียกว่า “ตารางสรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก” หรือเรียกส้ันๆ ว่า “ตาราง EFAS” โดยมีข้นั ตอน ดงั น้ี 1. คอลัมน์ 1 (ปจั จัยภายนอก) บันทึกรายละเอียดปัจจัยภายนอก ซึง่ เปน็ ปัจจยั ที่เป็นโอกาส และ ข้อจากดั ที่สาคัญและมผี ลกระทบตอ่ องค์การ 2. คอลัมน์2 (การถ่วงน้าหนัก) พิจารณาให้น้าหนักปัจจัยภายนอกแต่ละรายการว่ามี ความสาคัญและ มีผลกระทบต่อองค์การมากหรอื น้อยเพียงใด โดยกาหนดเป็นตัวเลขทศนยิ มซึ่งมีค่า ระหว่าง 1.00 (สาคัญมากท่ีสุด) ถึง 0.00 (ไม่สาคัญ) ซึ่งน้าหนักของแต่ละปัจจัยรวมกันต้องเท่ากับ 1.00 (การใหน้ ้าหนักเปน็ ดลุ ยพินจิ ของผบู้ ริหาร) 3. การใหค้ ะแนนแต่ละปัจจัย (factor) ในคอลัมน์ (3) นั้น คะแนนสูงสุดคือ 5 (ตอบสนองได้ ดมี ากทส่ี ุด) และ คะแนนตา่ สุดคือ 1 (ตอบสนองไดด้ นี อ้ ยท่สี ุด) 4. ในแต่ละปัจจยั ให้นาน้าหนักในคอลัมน(์ 2) คณู กับคะแนนในคอลัมน์(3) ซึง่ จะได้Weighted score ในคอลัมน์(4) 5. ใชค้ อลัมน์(5) ในกรณีท่ตี ้องการใหเ้ หตผุ ลกากับแต่ละปัจจยั นัน้ 6. รวมคะแนนถ่วงน้าหนัก หรือ Weighted score ในคอลัมน์(4) ท้ังหมด คะแนนที่ได้จะ บอกให้รู้ว่า องค์กรสามารถตอบสนองต่อ Strategic Factor ท่ีอยู่ในสภาวะแวดล้อมภายนอกได้ดี เพียงใด สรุปการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยภายนอกมีความน่าสนใจ มากน้อยเพียงใด ซ่ึงจะสะท้อนออกมาในรูปของผลรวมของคะแนนถ่วงน้าหนัก การประเมิน สภาพแวดลอ้ มภายนอกนั้นเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ ซ่ึงต้องอาศัยการวิเคราะห์ และประเมินสภาวะอตุ สาหกรรมและการแขง่ ขนั ประกอบดว้ ย

21 6.2 กำรสรุปผลกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยใน (มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบรุ ี , 2560) การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ าร เป็นวธิ ีการ ตรวจสอบและประเมินความสามารถขององค์การ เพื่อท่จี ะใช้เปน็ แนวทางในการกาหนดอนาคตของ องคก์ าร ตลอดจนสง่ เสริมความเขม้ แขง็ และลดความอ่อนแอของธุรกจิ 11.2.1 การวิเคราะหโ์ ดยใช้ทรพั ยากรเป็นฐาน (Resource-based approach) ทรัพยากร หมายถงึ สินทรพั ย์(asset) ความสามารถ (competency) กระบวนการ(process) ทักษะ หรือความรู้(skill or knowledge) ซ่ึงอยู่ภายใต้การควบคุมของบริษัท ทรัพยากรเหล่าน้ีหาก ชว่ ยให้ธุรกิจมีความได้เปรียบทางการแข่งขันถือไดว้ ่าเป็น จุดแข็ง ในทางตรงกันข้าม หากทรัพยากร เหล่าน้ีสามารถนามาใช้ ประโยชน์ทางการแข่งขันได้ด้อยกว่าคู่แข่งขัน ถือว่าเป็นจุดอ่อน บาร์นี (Barney, Jay B. and Hesterly, William B., 2005) ไดเ้ สนอตัวแบบแนวคดิ VRIO framework เป็น เครื่องมือวิเคราะห์องค์การในแนวทางของ Resource Based View โดยมีคาถามท่ีเก่ียวกับ ทรัพยากรหรอื ความสามารถในการค้นหาศกั ยภาพในการแข่งขันประกอบดว้ ย V = Value (คณุ คา่ ) ทรพั ยากรนั้น ทาใหไ้ ดเ้ ปรียบคูแ่ ขง่ ขนั หรือไม่ R = Rareness (ความหายาก) ทรพั ยากรนัน้ คู่แข่งอ่นื ๆ มหี รือไม่ I = Imitability (ความสามารถในการลอกเลียน)ทรัพยากรนนั้ หากผอู้ ่นื เลียนแบบแพงหรอื ไม่ O = Organization (องคก์ าร) ทรพั ยากรนั้น บรษิ ทั นามาใช้ประโยชนห์ รือไม่ -คุณค่า (Value) : บริษัทสามารถท่ีจะแสวงหาโอกาสหรือจัดการกับอุปสรรคภายนอกด้วย ทรัพยากร และความสามารถท่ีมอี ยูไ่ ด้หรือไม่ -ความหายาก (Rareness) : การควบคุมส่ิงทม่ี ีอย่อู ยา่ งจากัดของทรัพยากรและความสามารถ มี เพยี งพอหรอื ไม่ -การลอกเลียนแบบ (Imitability) : เป็นการยากหรือไม่ ท่ีจะมีการลอกเลียนแบบหรือบริษัท คู่แข่งที่จะลอกเลียนแบบหรือพัฒนาจะต้องเสียค่าใช้จ่ายที่สูง เพื่อจะได้ซ่ึงทรัพยากรและ ความสามารถน้นั -องค์การ(Organization) : มีความพร้อมและจัดองค์การ เพื่อท่ีจะแสวงหาทรัพยากรและ ความสามารถนั้นหรือไม่ ซ่ึงหากคาตอบต่อคาถามเหล่าน้ีคือ “ใช่” สาหรับทรัพยากรใดๆ ก็ตามในองค์การถือเป็น ความสามารถพเิ ศษหรือ จุดแข็ง ขององคก์ าร

22 กำรสรุปผลกำรวเิ ครำะหป์ จั จัยภำยใน (Internal Factor Analysis Summary : IFAS) การสรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน มีวิธีการเดียวกับการสรุปผลการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อม ภายนอก กล่าวคือ หลงั จากทาการตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในแล้ว ให้นาข้อมูล ปัจจัยท่ีเป็นจุดแข็งและจุดอ่อน มาสรุปในแบบฟอร์มที่เรียกว่า “ตารางสรุปผลการวิเคราะห์ปัจจัย ภายใน” หรอื เรียกสน้ั ๆ ว่า “ตาราง IFAS” โดยมขี ้ันตอน ดังนี้ 1. คอลัมน์1 (ปัจจัยภายใน) บันทึกรายละเอียดปัจจัยภายใน ซ่งึ เป็นปัจจัยที่เป็นจุดแข็งและ จุดอ่อนที่สาคญั และมผี ลกระทบต่อองคก์ าร 2. คอลัมน์2 (การถ่วงน้าหนัก) พิจารณาให้น้าหนักปัจจัยภายในแต่ละรายการ ว่ามี ความสาคัญและมีผลกระทบต่อองค์การมากหรือน้อยเพียงใด โดยกาหนดเป็นตัวเลขทศนิยมซ่ึงมีค่า ระหว่าง 1.00 (สาคัญมาก ที่สุด) ถึง 0.00 (ไม่สาคัญ) ซึ่งน้าหนักของแต่ละปัจจัยรวมกันต้องเท่ากับ 1.00 (การให้น้าหนักเป็นดุลยพินจิ ของผู้บริหาร) 3. การให้คะแนนแตล่ ะปัจจยั (factor) ในคอลัมน์ (3) น้ัน คะแนนสงู สุดคอื 5 (ตอบสนองได้ ดมี ากทส่ี ดุ ) และ คะแนนตา่ สุดคือ 1 (ตอบสนองได้ดีน้อยทีส่ ดุ ) 4. ในแต่ละปัจจัยให้น้าหนักในคอลัมน์ (2) คูณกับคะแนนในคอลมั น์ (3) ซึ่งจะได้Weighted score ในคอลัมน(์ 4) 5. ใชค้ อลัมน์(5) ในกรณที ่ตี ้องการใหเ้ หตผุ ลกากบั แตล่ ะปัจจัยน้ัน 6. รวมคะแนนถ่วงน้าหนัก หรือ Weighted score ในคอลัมน์(4) ทั้งหมด คะแนนท่ีได้จะ บอกให้รู้ว่า องค์กรสามารถตอบสนองต่อ Strategic Factor ท่ีอยู่ในสภาวะแวดล้อมภายนอกได้ดี เพียงใด

23 ภำพที่ 10 ภำพตวั อยำ่ งสรุปผลกำรวเิ ครำะห์ปัจจัยเชงิ กลยทุ ธ์ ท่ีมา : T.L. Wheelen and J.D. Hunger, Stategic Management and Business Policy,7th ed.(Upper Saddle River, N.J. : Prentice Hall,2000),p.109. 7. หลักกำรจดั กำร (Management) ฐาปนา ฉ่นิ ไพศาล (2559) ได้อธิบายความหมายของการจดั การ (Management) ไว้วา่ ใน การดาเนินงานของธุรกิจนั้นจาเป็นต้องอาศัยการจัดการซ่ึงเป็นท้ังศาสตร์และศิลป์ต้ังแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน หากขาดการจดั การแล้ว งานนัน้ ก็จะไมป่ ระสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีวางไว้ แม้ว่าจะมี ทรัพยากรทางการเงินต่าง ๆ ได้แก่ เครื่องจักรอุปกรณ์ เงินทุน วัตถุดิบ เป็นต้น การให้นิยาม ความหมายของการจัดการก็มีความแตกต่างกัน โดยนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของการ จดั การไว้ดังนี้

24 Mary Paker Follet ใหค้ วามหมายว่า การจดั การเปน็ ศิลปะในการทางานโดยอาศยั ผู้อนื่ Peter F. Ducker อธิบายวา่ การจดั การเป็นการทางานให้สาเรจ็ โดยอาศยั ผอู้ น่ื Bartol and Martin อธิบายว่า การจัดการเป็นกระบวนการในการดาเนินงานเพ่ือให้บรรลุ วัตถุประสงค์ โดยทาหน้าท่ีหลัก 4 ประการ คือ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การนา (Leading) และการควบคุม (Controlling) สมคิด บางโม (2558) ได้อธิบายเก่ียวกบั กระบวนการจัดการตามแนวความคดิ ปจั จุบนั ไวว้ ่า จากกระบวนการจัดการหลายแนวความคิด นักวิชาการทางการบริหารส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ได้ศึกษา และวิเคราะห์แนวความคิดทั้งหมดและสรุปว่า กระบวนการจัดการควรจะมีเพียง 4 ข้ันตอน คือ PODC ดงั นี้ Planning –การวางแผน Organizing –การจดั องคก์ ร (รวมทัง้ การจดั คนเข้าทางานด้วย) Directing –การอานวยการหรือการช้นี า Controlling –การควบคุมตดิ ตามผลการทางาน จากแนวคิดการจัดการ สามารถสรุปได้ว่า การจัดการ (Management) คือ การดาเนินการ ด้านการวางแผน การจดั องค์กร การอานวยการ และการตดิ ตามผล เพื่อให้สามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์ ทต่ี ้งั ไว้ โดยมีขน้ั ตอนหลัก 4 ขั้น ไดแ้ ก่ 1. การวางแผน (Planning) เป็นการกาหนดแนวทางการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า จากการ คาดการณเ์ หตุการณ์ท่จี ะเกดิ ข้ึนในอนาคต 2. การจัดองค์กร (Organizing) เป็นการกาหนดโครงสร้างของการทางานภายในองค์กร เพอื่ ให้ สามารถกาหนดหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของพนักงานในแต่ละคนได้ 3. การอานวยการ (Directing) เปน็ การสง่ั การและประสานงานของฝ่ายบรหิ ารสพู่ นกั งานเพอ่ื ให้ งานสามารถบรรลตุ ามวตั ถุประสงคท์ ีต่ ัง้ ไว้ 4. การติดตามผล (Controlling) เป็นการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อวัด ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการปฏิบตั ิงาน ให้เป็นไปตามแผนทว่ี างไว้

25 (อาไพ ไชยแก้ว, 2563) กระบวนการจัดการ (Management Process) คือกิจกรรม ภาระหน้าท่ีท่ีผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้นา ต้องนาไปปฏิบัติในการบริหารงานและบริหารคน นา ทรพั ยากรในการจัดการทป่ี ระกอบด้วยคน (Man) เงนิ (Money) เครื่องจักร (Machines) และวตั ถดุ ิบ (Materials) เป็นส่ิงนาเขา้ (Input) โดยผ่านหนา้ ท่ใี นการจดั การ (Process) ทีป่ ระกอบด้วยหน้าทก่ี าร วางแผน การจดั องคก์ าร การจัดการงานบุคคล การอานวยการ การกากับดูแลขององคก์ ารใหส้ ามารถ ทางานร่วมกันไปจนกระท่ังทาให้เกิด ผลลัพธ์ (Output) คือบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และ ผลสาเร็จของการดาเนินงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพเป็นทพ่ี ึงพอใจกับผทู้ ่ีเก่ยี วข้องแล้วจะส่งผลย้อนกลับ หลังจากได้ใช้ทรัพยากรแล้วว่าเป็นอย่างไร เพ่ือท่ีจะได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขต่อไป ซึ่งกระบวนการ จัดการประกอบด้วย 1. การวางแผน (Planning) การวางแผน หมายถึง การกาหนดสิ่งทจ่ี ะทาในอนาคตขององค์การ โดยให้ใครทาอะไรท่ีไหน เมอ่ื ไหร่ อย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไรบา้ ง ทาในลกั ษณะวตั ถุประสงค์ เป้าหมาย โครงการ แผนงาน แนว ทางการปฏิบัติงานทั้งในระยะส้ันหรือระยะยาว การวางแผนเป็นการป้องกันการผิดพลาดหรือ ขอ้ บกพร่องหากมีปญั หาในการดาเนินงานตามแผนที่วางไว้กจ็ ะมีการวางแผนใหม่เพื่อแก้ไขตอ่ ไป เช่น หากเปิดรา้ นขายก๋วยเต๋ียวต้องวางแผนจะขายท่ไี หน จะเอาใครมาช่วย และหาวัสดอุ ปุ กรณม์ าจากไหน เปน็ ต้น 2. การจัดองคก์ าร (Organizing) การจัดองค์การ หมายถึง การกาหนดภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ จัดเตรยี มรายละเอยี ดของ งาน ความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ และจัดทาเป็นโครงสร้างขององค์การ ตลอดทิศทางในการ ทางานโดยการติดต่อสอ่ื สารในองคก์ าร เพื่อใหบ้ รรลผุ ลสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่กาหนดไว้ เช่น เม่ือ เปิดร้านขายก๋วยเต๋ียวจะมีงานอะไรทาบ้าง อาจแบง่ เป็นฝ่ายบริการมีหน้าท่ี เสิร์ฟ ให้บรกิ ารแก่ลูกค้า ฝ่ายผลติ ฝ่ายเกบ็ เงนิ เปน็ ตน้ โดยแบง่ หนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบท่ีชดั เจน 3. การจดั การงานบคุ คล (Personnel management) การจัดการงานบุคคล การบริหารงานบุคคล การจัดคนเขา้ ทางานหรอื การบริหารทรัพยากร มนุษย์ มีความหมายเดียวกัน คือ การดาเนินกิจกรรมที่เก่ียวกับทรัพยากรมนุษย์ในองค์การให้มี เพียงพอในการปฏิบัติงานทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์การ กาหนดไว้อย่างมีประสิทธภิ าพ การจัดการงานบุคคล เริม่ ตัง้ แต่การวางแผนทรัพยากรมนษุ ย์ การรับ สมัครงานการคัดเลือก การบรรจุแต่งตงั้ เลื่อนตาแหน่ง โยกย้าย การฝึกอบรมและ การพัฒนา การ จา่ ยคา่ ตอบแทน การประเมินการปฏิบตั ิงาน และการพ้นจากงาน

26 4. การอานวยการ (Directing) การอานวยการ คือ การที่ผู้บริหารจะทาอย่างไร จึงจะทาให้พนักงานในองค์การได้ทุ่มเท กาลังกายและกาลังใจการทางานตามภาระหน้าที่ ทีร่ ับผิดชอบของตนอยา่ งเต็มที่ เพ่ือให้การทางาน เป็นไปตามแผนงาน และได้รับผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ดงั น้นั ผู้บริหาร ผจู้ ัดการ หรือผู้นา ตอ้ งใช้วิธกี ารอานวยการได้แก่วิธีการใช้ความเปน็ ผ้นู า การตดั สินใจ การจูงใจ การติดต่อส่ือสาร และ การส่ังงาน เป็นต้น 5. การกากบั ดูแล (Oversight) การกากับดูแล คือกระบวนการท่ีผบู้ รหิ ารต้องกากับดูแลให้ผลงานของผทู้ างาน ทุกจดุ ไปสู่ แผนงานหรอื เป้าหมายทว่ี างไวโ้ ดยใช้เทคนคิ การควบคุม การประเมินผลงาน การเปรียบเทยี บ หรือ การวัดผลเพ่ือติดตามดูแลกากับการทางานให้เข้าสู่มาตรฐานท่ีต้ังไว้ หากผลงานไม่เป็นไปตาม มาตรฐานต้องมกี ารปรับปรุงแก้ไขต่อไป ซ่ึงผู้จัดการหรือผู้บริหาร สามารถใช้กระบวนการจดั การ ดัง ภาพท่ี 11 ภำพที่ 11 กำรใชก้ ระบวนกำรจัดกำร ท่มี า : อาไพ ไชยแกว้ ดัดแปลงมาจาก ศริ วิ รรณ เสรรี ัตน์ และคนอ่นื ๆ (2539 หนา้ 4)

27 งำนวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ชยั ณรงค์ ศิรขิ ันธ์ (2546) จากผลการวิจัย เร่ือง การวเิ คราะห์ทางการเงินของการลงทุนทาฟารม์ กวางรูซา่ ในประเทศไทย มวี ัตถุประสงคห์ ลักของการศึกษาครั้งน้ี เพ่อื วเิ คราะหผ์ ลตอบแทนทาง การเงินจากการลงทนุ ทาฟารม์ กวางรูซ่าในประเทศไทย ขอ้ มูลท่ีใชใ้ นการศึกษาได้จากการสมั ภาษณ์ เกษตรกรผู้เล้ยี งกวาง จานวน 10 ราย ในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ผลการวเิ คราะห์ทาง การเงนิ ของการลงทุนทาฟารม์ กวางรซู า่ ในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาในการลงทนุ เล้ยี งกวาง 15 ปี และผลการวเิ คราะหท์ างการเงนิ ได้แบ่งเป็น 2 กรณี คอื ในกรณีไมม่ ีการกยู้ ืมเงนิ มาลงทนุ และกรณที ่ี มีการก้ยู ืมเงนิ มาลงทนุ โดยใชอ้ ัตราคดิ ลด 5 เปอร์เซ็นตต์ อ่ ปี พบวา่ ทัง้ 2 กรณี มคี วามเหมาะสมและ คมุ้ คา่ ตอ่ การลงทนุ เนอื่ งจากมูลค่าปัจจุบนั สุทธิมคี ่าเปน็ บวก อตั ราสว่ นผลประโยชน์ต่อค่าใชจ้ ่าย มากกวา่ 1 และอัตราผลตอบแทนการลงทุนมากกวา่ อตั ราดอกเบย้ี ท่เี กษตรกรกู้ยืมมา มากกว่า 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ และจากการวิเคราะห์ความออ่ นไหวของการลงทุนทาฟาร์มกวางรซู ่า โดยเปลี่ยนแปลง รายได้และรายจ่าย พบว่า การลงทุนทาฟาร์มกวางยังได้รบั ผลตอบแทนคุ้มค่าในการลงทนุ ซงึ่ แสดงให้ เห็นวา่ ความเสี่ยงในการลงทุนทาฟารม์ กวางรูซา่ อยู่ในระดับต่า รังสรรค์ แสงสขุ และคณะ (2558) จากผลการวิจยั เรื่อง การพัฒนาฟาร์มกวางต้นแบบใน ประเทศไทย เปน็ การวิจยั เชิงทดลองเพ่ือใหเ้ ป็นฟาร์มกวางตน้ แบบมาตรฐาน ซ่ึงมคี วามเหมาะสม สาหรับการเลีย้ งกวางในประเทศไทย มีวัตถปุ ระสงคห์ ลักในการเพิม่ ผลผลิตจากการทาฟารม์ กวาง เพ่มิ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการฟารม์ กวาง และลดการสญู เสยี ทรัพยากรภายในฟารม์ กวาง โดยการ สรา้ งคอกวางเล้ียงขนุ ตัดเขากวางออ่ น เปรียบเทยี บการเลี้ยงแบบเลี้ยงเดี่ยว เลย่ี งรวมฝูง 10 ตัว และ รวมฝงู 20 ตวั การคดิ ค้นรปู แบบโรงเรือนจัดการกวาง โดยใช้น้าหนกั เขากวางออ่ น ปริมาณฮอรโ์ มน IGF-I และ ปรมิ าณฮอรโ์ มน Testosterone เป็นตัวชีว้ ัด รวมถงึ การสร้างโปรแกรมฐานข้อมลู ทเ่ี ปน็ เครื่องมือช่วยในการบรหิ ารจดั การฟาร์มกวาง พบวา่ การบริหารจัดการตา่ ง ๆ เหลา่ นี้ ส่งผลกระทบ โดยตรงตอ่ การเล้ยี ง และการเพิ่มผลผลิตทไี่ ด้จากการทาฟารม์ กวางแตกต่างกัน ขึ้นกับจดุ ประสงค์ของ การเลย้ี งท่แี ตกต่างกัน เช่น การเลีย้ งเพ่อื ตอ้ งการเขากวางอ่อนท่มี ีปรมิ าณฮอร์โมนสูง การเล้ยี งเพ่อื ลด การบาดเจ็บของกวางเนอื่ งจากการต่อสู้หรอื ตกใจ การเลยี้ งเพ่อื การจดั การลงทุนไม่สูงแต่มี ประสิทธภิ าพทัง้ ในเรอ่ื งของอาหารและคน เป็นตน้ และจากการจดั การดงั กลา่ วทาให้ ฟารม์ กวาง มหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้รับการรับรองเป็นฟาร์มกวางมาตรฐานของประเทศไทย

28 เอกสำรและงำนวิจัยทเี่ ก่ียวข้องโครงกำรย่อยที่ 2 กรอบแนวคดิ ของโครงกำรวิจยั จากรูปแบบการเลยี้ งสัตวแ์ บบเดมิ หรือแบบครัวเรอื น ในปัจจุบันได้มกี ารปรบั เปลีย่ นมาเป็นการ เล้ียงสัตว์เชิงพาณิชย์มากข้ึน รวมถึงการจัดการด้านอาหารสัตว์ก็นิยมใช้อาหารสัตว์สาเร็จรูปสูงขึ้น เช่นกัน เน่ืองจากมีความสะดวกและให้ผลคุ้มค่า แต่การผลิตอาหารสาเร็จรูปจาเป็นต้องใช้วัตถุดิบ จานวนมาก และมีการผสมวติ ามิน เกลอื แรต่ ่างๆ เพ่ิมเข้ามา ซง่ึ ส่งผลให้ต้นทนุ ในการผลติ สูง อกี ท้งั ยัง ทาให้เกิดปัญหาสารตกค้างในเนื้อสัตว์เมื่อมีการใช้อาหารสาเร็จรูปในปริมาณมากและติดต่อกันเป็น ระยะเวลานาน อย่างไรก็ตามเพ่ือเป็นการลดปัญหาดังกล่าวจึงจาเป็นที่จะต้องปรับเปล่ียนอาหารสัตว์จาก อาหารสาเร็จรูปมาเปน็ อาหารที่ผลิตจากธรรมชาติ ซ่ึงในปัจจุบนั ได้มีกระบวนการผลิตพืชอาหารสตั ว์ (หญ้าแห้ง) ท่ีเปน็ วัตถุดิบจากธรรมชาติ มคี ณุ คา่ ทางโภชนะที่เพียงพอต่อการบริโภคของสัตว์ ลักษณะ กระบวนการผลิตหญ้าแห้งเป็นการตากแห้งดว้ ยแสงอาทิตย์และใชร้ ะยะเวลาในการตากอย่างน้อย 3 วัน หรือจนกว่าหญ้าจะมีความชื้นน้อยกว่าร้อยละ 15 โดยน้าหนกั เพ่ือลดความชื้นในหญ้ากอ่ นนามา เก็บรักษาเพ่ือใช้เป็นพืชอาหารสัตว์ ผู้วิจัยจึงทาการศึกษาและพัฒนากระบวนการผลิตหญ้าแห้งขึ้น โดยกระบวนการผลิตหญ้าแห้งประกอบด้วย 3 กระบวนการ ได้แก่ กระบวนการตัด กระบวนการ อบแห้ง และกระบวนการฆ่าเชอ้ื ด้วยเทคโนโลยพี ลาสมา ในปัจจุบันกระบวนการตัด (เคร่ืองสับ) ท่ีใช้ในภาคเกษตรกรรมเกีย่ วกับพืช มวี ัตถุประสงค์เพื่อ การเพ่ิมคุณภาพก่อนการเก็บรักษา การแปรสภาพผลผลิตทางเกษตรให้เหมาะสมกับลักษณะการใช้ งานและสนบั สนนุ ระบบการผลติ อย่างไรกต็ ามการพฒั นาเทคโนโลยขี องเคร่ืองสับนั้นยงั มีขอ้ จากดั ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ได้จากการลอกเลียนแบบของเดิม (Revered engineering) ทาให้ แรงจูงใจในการใช้เทคโนโลยีการผลิตท่ีสูงข้ึนมีน้อยเน่ืองจากมีต้นทุนสูง (เจษฎา, 2554) ซ่ึงเม่ือ พิจารณาส่วนประกอบพบวา่ เคร่ืองสับหญ้ามีสว่ นประกอบที่สาคญั 3 ส่วน ได้แก่ ลักษณะใบมีดทีใ่ ช้ใน การสับ ขนาดของมอเตอร์ที่ใช้ขับใบมีด และชุดลาเลียงวัตถุดิบ แสดงลักษณะของเครื่องสับดังรูปที่ 2.1 รูปที่ 2.1 ลักษณะเครือ่ งสับทวั่ ไป (แหลง่ ทีม่ า http://supyanepier.lnwshop.com, 19 กันยายน 2560.)

29 โดยเคร่ืองสับใช้เคร่ืองจักรต้นกาลังมากกว่าร้อยละ 90 เป็นมอเตอร์ไฟฟ้า ทาหน้าท่ีแปลง พลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลเพ่ือขับโหลด ด้วยวิธีการต่อเข้าด้วยกันโดยตรงโดย ใช้คัพปลิ้ง (Couplings) หรอื ส่งกาลังโดยทางอ้อมผ่านเกียร์ หรือใช้สายพานขับตอ่ อีกทอดหนึ่ง และ วิธที ่ีนิยมทากันมาก คือ ใช้สายพานขบั ระหว่างมอเตอร์กับโหลด ซึง่ สายพานสว่ นใหญ่มี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ สายพานแบน (Flat belt) และสายพานล่ิม (V - belt) การตั้งความตึงหรือหย่อนของสายพาน สามารถทาไดโ้ ดยการดงึ หรือปรับมอเตอร์ที่ตดิ ตง้ั บนรางหรือฐานที่เลอื่ นได้หากสายพานหยอ่ นเกนิ ไป จะทาให้สายพานกบั พเู่ ลย์เกดิ สลปิ (Slip) หากตั้งสายพานตึงเกินไปอาจจะทาใหเ้ กิดอันตรายตอ่ แบร่ิง สายพานเอง และเพลาของมอเตอร์ ขอ้ ดีของการส่งกาลงั ผ่านสายพาน คือ สามารถเลือกความเร็วรอบ ของโหลดไดโ้ ดยการเลือกขนาดของพู่เลย์ ตามอัตราส่วนเส้นผ่านศูนย์กลางของวงลอ้ โหลดพเู่ ลย์ตาม กับวงล้อมอเตอร์พู่เลย์ขับพู่เล่ย์เหล็กหล่อตามทฤษฎีถกู จากัดขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลางด้วยแรงเหวี่ยง หนีศูนยก์ ลางมคี ่าสูงสุดดังนี้ 180 มิลลิเมตร ที่ 3,000 รอบต่อนาที (มอเตอร์ 2 ข้ัว 50 เฮิรตซ)์ , 355 มิลลิเมตร ท่ี 1,500 รอบตอ่ นาที (มอเตอร์ 4 ข้ัว 50 เฮิรตซ์), 560 มิลลิเมตร ท่ี 1,000 รอบต่อนาที (มอเตอร์ 6 ข้ัว 50 เฮิรตซ์), 710 มิลลิเมตร ที่ 750 รอบต่อนาที (มอเตอร์ 8 ข้ัว 50 เฮิรตซ์) หาก ตอ้ งการพู่เลย์ที่ใหญ่กว่านต้ี ้องใช้วัสดเุ หล็กเหนียวแทนเหล็กหล่อ (พิรพงศ์, 2546) โดยส่วนประกอบ ท้ังหมดต้องทางานสัมพันธ์กันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แต่เน่ืองจากขนาดของหญ้าที่ได้จาก เคร่ืองสับในปัจจุบันอาจมีขนาดไม่ตรงตามความต้องการของเกษตรกรผู้เล้ียงกวาง ทาให้เกษตรกร ต้องสูญเสียค่าอาหารสัตว์เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเกิดของเสีย (หญ้าที่มีขนาดไม่เหมาะสม) ใน กระบวนการสับจานวนมาก ซ่ึงองค์ประกอบเบ้ืองต้นของเครื่องสับท่ีทาการพัฒนามีลกั ษณะดังรูปท่ี 2.2 ประกอบด้วยชุดควบคุมใบตัดซึ่งเช่ือมต่ออยู่กบั สายพาน ชุดควบคุมระยะการตัด ชุดใบตัด ช่อง ลาเลียงวัตถุดิบ และชุดควบคุมการทางาน ดังน้ัน การพัฒนาเครื่องสับหญ้าท่ีสามารถสับหญ้าที่มี ขนาดท่ีเหมาะสมจะสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตได้หรือลดของเสียในกระบวนการผลิตพืชอาหาร สัตวไ์ ด้ รูปท่ี 2.2 ระบบเครอื่ งสบั ที่สามารถควบคมุ ระยะสับ

30 อีกท้ังเมื่อพืชอาหารสัตว์ไม่เพียงต่อต่อความต้องการในช่วงฤดูแล้ง จึงจาเป็นท่ีจะต้องหา กระบวนการเพ่อื ใชผ้ ลติ หญา้ แหง้ ท่มี ีคุณภาพ และลดเวลาในการผลิตได้ ซ่ึงเทคโนโลยีการอบแหง้ ด้วย คลื่นไมโครเวฟ (Microwave Drying Technology) เป็นนวัตกรรมการสร้างความร้อนด้วยคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งคล่ืนไมโครเวฟจะเหน่ียวนาให้เกิดความร้อนในผลผลิตทาง การเกษตรหรอื พชื อาหารสัตว์ที่มีคุณสมบัตเิ ป็นไดอิเล็กตริกจึงสามารถดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและ แปลงเป็นพลงั งานความร้อนได้และไม่มผี ลกระทบจากการถา่ ยเท ความร้อนผา่ นตัวกลาง ดังน้ัน การ ประยุกต์คลืน่ ไมโครเวฟมาใชใ้ นกระบวนการอบแห้งสาหรบั ผลิตภณั ฑ์ทางการเกษตร จึงเป็นแนวทาง เพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการอบแห้ง และกระบวนการอบแห้งแบบผสมผสานด้วยเทคโนโลยี ไมโครเวฟกบั ลมร้อนสามารถช่วยลดเวลาในกระบวนการอบแห้งได้ เนอ่ื งจากเปน็ ระบบการใช้อากาศ ร้อนทม่ี ีประสทิ ธภิ าพสงู ระเหยน้าอิสระ (Free Water) ซึ่งสามารถช่วยเร่งอตั ราการแพร่ความชื้นจาก ภายในได้ดีจึงเหมาะสมต่อการลดความชื้นในช่วงคาบเวลาที่อัตราการอบแห้งคงที่ (Constant Rate Period) จนกระทั่งค่าความช้ืนลดลงจนถึงค่าความชื้นวิกฤติ จากนั้นจึงใช้คล่ืนไมโครเวฟในการ อบแห้งในช่วงคาบเวลาที่อตั ราการอบแหง้ ลดลง (Falling Rate Period) เพ่ือเหนี่ยวนาให้ความชื้นท่ี อยู่ภายใต้ชั้นของความแห้งเกิดความร้อนและกลายเป็นไออย่างรวดเร็ว โดยไอความช้ืนดังกล่าวจะ เคลื่อนที่ไปสูงผิวหน้าของเซลลโ์ ดยตรง กลไกการเปล่ียนแปลงมวลความชื้นนี้สามารถแสดงได้ในเส้น โค้งความสมั พันธ์ของระบบการอบแห้งด้วยลมร้อน และการเร่งอัตราการอบแห้ง (Booster Drying) ด้วยคลน่ื ไมโครเวฟ ดงั รูปที่ 2.3 รูปท่ี 2.3 เส้นโค้งความสมั พันธข์ องการอบแหง้ ระบบพลงั งานผสม (ผดุงศกั ดิ์, 2551) การใชค้ ลน่ื ไมโครเวฟในการอบแหง้ ในคาบเวลาดงั กลา่ วจะชว่ ยเร่งอตั ราการอบแห้งได้ดี ระบบ พลังงานผสมนี้มปี ระสิทธิภาพในการอบแห้งสูงและยงั ช่วยรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารอบแห้ง

31 ได้เป็นอยา่ งดี ซ่งึ ลักษณะการอบแห้งด้วยวิธีการผสมผสานระหวา่ งเทคโนโลยีไมโครเวฟกับลมร้อน มี สว่ นประกอบท่ีสาคญั คือ ชุดสร้างลมร้อน ชุดสร้างคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า และชุดควบคุม แสดงดงั รูปท่ี 2.4 และด้วยประสิทธภิ าพของทงั้ สองกลไกน้ีจงึ มีความเป็นไปไดท้ ี่จะนามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการ อบแห้งของพืชอาหารสัตว์เพื่อให้เกิดข้อได้เปรียบเมื่อเทียบกับการอบแห้งด้วยคล่ืนไมโครเวฟเพียง อย่างเดยี วท้ังด้านประสทิ ธภิ าพการอบแหง้ และต้นทนุ การดาเนินการ รูปที่ 2.4 ระบบอบแห้งด้วยวิธกี ารผสมผสานระหว่างเทคโนโลยไี มโครเวฟกับลมรอ้ น นอกจากกระบวนการท่ีได้กล่าวไปแล้วข้างต้น สาหรับการเล้ียงกวาง สิ่งสาคัญของการดูแล สุขภาพสัตว์และคุณภาพของผลิตภัณฑ์จากสตั ว์ คือการกาจดั และการลดความเส่ียงจากการปนเปื้อน จากเชื้อราในอาหารสตั ว์ (พชื อาหารสัตว์) ซึ่งปัจจุบันโรงงานอาหารสัตว์ได้ปรับตัวใหร้ องรับมาตรฐาน การควบคุมการผลิตเพ่ือให้ปลอดภัยต่อการบริโภคและป้องกันการสญู เสียระหว่างการผลิต โดยระบบ ที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันได้แก่ Good Manufacturing Process, GMP หรือ Hazard Analysis and Critical Control Points, HACCP ระบบที่รับรองความปลอดภัยของอาหารเหล่านี้ช่วยสร้างความ ม่นั ใจใหก้ บั เกษตรกรและผูป้ ระกอบการเลี้ยงสตั ว์ เทคโนโลยีพลาสมาจึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ประยุกต์การใช้พลังงานไฟฟ้าสาหรับการฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย เชือ้ รา หรอื เชือ้ ก่อโรคดังกล่าว (Perla K., et al., 2013.) เน่ืองจากพลาสมาประกอบด้วย อนุภาคที่มีทั้งประจุบวกและประจุลบ สามารถเกิดได้โดยการให้สนามไฟฟ้าแรงสูงทีข่ ั้วอิเล็กโทรดแก่ แก๊สที่เป็นกลาง (Filatova, I., et al., 2013) ดังรูปที่ 2.5 ทาให้อิเล็กตรอนหลุดออก เรียก กระบวนการน้ีว่ากระบวนการแตกตัวเป็นไอออน (Ionization) เกิดสภาวะ Glow Discharge ซ่ึงจะ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและมีปริมาณมากจนทาให้ก๊าซแตกตัวเป็นพลาสมาในที่สุด พลาสมาถูกนาไปใช้ ประโยชน์ในด้านต่างๆ มากมาย (Koichi T., 2010) อาทิ ในทางการแพทย์ถูกนาไปใช้การรักษาโรค ผิวหนัง และการรักษาบาดแผล เช่น การรักษาแผลเบาหวาน มะเร็งบางชนิด ในทางทันตกรรม พลาสมาถูกนาไปใช้ในการฆ่าเชื้อรากฟันเทียม นอกจากนี้ ในด้านอุตสาหกรรม พลาสมาถูกนาไปใช้ เพือ่ การถนอมอาหาร (Ogai, 2008) โดยการใชพ้ ลาสมาในการฆา่ เช้ือจุลนิ ทรยี ์บางชนิดอนั เป็นสาเหตุ