Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาขยาต-กิตก์

อาขยาต-กิตก์

Description: อาขยาต-กิตก์

Search

Read the Text Version

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 1 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò แผนการสอนวิชาบาลีไวยากรณ เลม ๒ หนว ยที่ ๑ เร่ือง อาขยาต เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั ศัพทที่แสดงลักษณะอาการของนามนาม เชน ยืน เดิน น่ัง นอน เปนตน เรียกวา “อาขยาต” ในอาขยาตน้ันตองประกอบ วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ วาจก ปจจัย จดุ ประสงค ๑. เพือ่ ใหนักเรียนรแู ละเขา ใจถงึ กริ ิยาอาขยาต และนำไปใชไดอยางถกู ตอ ง ๒. เพ่ือใหนักเรียนรูและเขาใจเคร่ืองปรุงอาขยาต นำธาตุไปแจกดวย วิภตั ติไดอ ยา งถกู ตอ ง เนอ้ื หา ๑. อาขยาต ๒. สวนประกอบท่ีสำคัญของอาขยาต กิจกรรม ๑. ประเมนิ ผลกอ นเรียน ๒. ใหน กั เรียนทอ งวภิ ตั ติ ๓. ครูนำเขา สูบ ทเรยี นและอธบิ ายเน้ือหา ๔. บตั รคำ 1

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 2 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๕. ครสู รุปเนอื้ หาทั้งหมด ๖. ประเมินผลหลงั เรียน ๗. ใบงาน ๘. กิจกรรมเสนอแนะ - ใหน กั เรยี นคนควา ศพั ทอาขยาตในหนงั สอื บาลี โดยจัดเปนกลมุ ส่อื การสอน ๑. ตำราที่ใชประกอบการเรยี น-การสอน ๑.๑ หนังสอื พระไตรปฎก ๑.๒ หนังสือพจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบุญ สำนักเรยี นวดั ปากน้ำ ๑.๓ หนังสือพจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สอื พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโฺ ต) ๑.๕ หนงั สอื บาลไี วยากรณ นพิ นธ โดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนังสือปาลทิ เทศ ของ สำนกั เรียนวัดปากน้ำ ๑.๗ คมั ภีรอภธิ านปั ปทีปก า ๑.๘ หนังสือพจนานกุ รมธาตุ ภาษาบาลี ๒. อุปกรณที่ควรมีประจำหองเรยี น ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบอรด ๒.๒ เครื่องฉายขา มศีรษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพวิ เตอร - โปรเจคเตอร ๓. บตั รคำ ๔. ใบงาน 2

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 3 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò วธิ วี ัดผล-ประเมินผล ๑. สอบถามความเขา ใจ ๒. สังเกตพฤตกิ รรมการมีสวนรว มในกจิ กรรม ๓. สังเกตความกา วหนา ดานพฤตกิ รรมการเรียนรขู องผูเ รยี น ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลกอ นเรยี น-หลงั เรยี น 3

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 4 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อาขยาต นักเรียนไดศึกษาความรูทางดานบาลีไวยากรณ ในสวนของนามตนและนาม ปลาย ก็ถือไดวามีความเขาใจพื้นฐานทางดานไวยากรณมาในระดับหน่ึง ในสวนของ หนังสือเลมนี้ จะกลาวถึงกิริยาซึ่งเปนองคประกอบสำคัญอยางหน่ึงของประโยคใน ภาษาบาลี บทกิริยาดังกลาวจะแสดงลักษณะอาการของนามนามอันทำหนาที่เปน ประธานในประโยค ซ่งึ นกั ปราชญบญั ญัติเรียกวา “อาขยาต” ๑. ความหมายของอาขยาต คำวา “อาขยาต” ไดมนี ักวชิ าการหลายแขนงใหค วามหมายไวต า งๆ กนั ออกไป ดังตอไปน้ี อาขยฺ าต (นปุง.) ช่ือปกรณบาลีไวยากรณปกรณหน่ึง. กิริยํ อาขฺยาตีติ อาขยฺ าตํ (ปทํ สททฺ ชาต)ํ . กริ ยิ ํ อาจกิ ขฺ ตตี ิ อาขยฺ าต.ํ รปู ฯ ๒๔๐. อาขยฺ าตตี ิ อาขยฺ าต.ํ อภฯิ . อา บทหนา ขยฺ า ธาตใุ นความกลา ว ต ปจ. ซอ น กฺ เปน อาขฺยาต บาง. (พจนานกุ รม มคธ-ไทย โดย พนั ตรี ป. หลงสมบญุ สำนกั เรยี น วดั ปากนำ้ จดั พมิ พ ๒๕๔๐ หนา ๘๔) อาขยาต (-ขะหยาด) ว. กลาวแลว. น. ชื่อตำราไวยากรณบาลีและ สันสกฤตวาดวยกริ ยิ า. (ป., ส.). (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๙๑๔) ในหนังสือคูมือเลมน้ีจะใหความหมายของคำวา “อาขยาต” เชนเดียวกับ นักวิชาการทานอื่น ๆ คือ “ศัพทกลาวกิริยา คือ การกระทำของนามนาม เพื่อใหรูวา นามนามนั้นเปน อยา งไร เปน ตน วา ยืน เดิน นั่ง นอน ทำ กนิ ดืม่ พดู คดิ ” ดังภาษาไทยวา คนไปบาน คำวา “ไป” เปนกิริยา แสดงใหรูวา “คนไป” ตน ไมล ม คำวา “ลม ” เปน กริ ยิ าแสดงใหร วู า “ตน ไมล ม ” ดงั นเี้ ปน ตน จงึ จดั เปน กริ ยิ า 4

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 5 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ตวั อยา ง กิรยิ าอาขยาต ประธาน มคธ กริ ยิ า ประธาน ไทย คำขยาย คำขยาย อาขยาต กิริยา กิรยิ า ชโน กิริยา ติฏ ติ ชน ในสำนกั นโร สนฺติเก คน ยนื อยู ปรุ โิ ส คจฺฉติ บุรษุ ไปอยู สูบา น โคโณ คามํ โค ทำอยู กมฺมนฺตํ กโรติ กินอยู ซึ่งการงาน ตณิ านิ ขาทติ ซึง่ หญา ท. แตศัพทท่ีกลาวกิริยาหาไดช่ืออาขยาตเสมอไปไม เพราะยังมีศัพทที่แสดง กิริยาอีกแผนกหนึ่ง คือ กิริยากิตก การที่เราจะสังเกตใหทราบแนชัดได ตองอาศัย สังเกตดูเครื่องปรุงของศัพทน้ันๆ เพราะกิริยาศัพทท้ังหมด ยอมมีมูลเดิมมาจากธาตุ คอื ศพั ทอ นั เปน มลู รากเปน สำคญั เสมอกนั เมอ่ื จะใหเ ปน กริ ยิ าฝา ยใด กใ็ ชเ ครอ่ื งประกอบ ของฝายนั้นปรับปรุงเขา เครื่องปรุงเปนเหตุใหสังเกตรูไดวาเปนกิริยาแผนกไหน ตลอดถึงพวกนามศัพทก็ยังตองมีเครื่องปรุงประจำแผนกของตนๆ คือ ลิงค วจนะ วภิ ตั ติ เพอื่ เปน เคร่ืองหมายใหทราบไดวา เปน ศพั ทจำพวกนามศัพท ฉะน้ัน ศัพทที่จะไดช่ือวาอาขยาต ก็ตองประกอบพรอมดวยเครื่องปรุง สำหรับอาขยาต อันทานจัดไวเปนสวนๆ สำหรับทำหนาที่ของตนๆ ซึ่งจะขาดเสีย แมแตอยางใดอยางหนึ่งไมได ถาขาดเสีย ก็เทากับวาศัพทนั้นมีความเปนอาขยาตยัง ไมส มบูรณ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 5

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 6 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) วิเคราะหอาขยาต อาขยาต มาจาก อา บทหนา ขยฺ า ธาตใุ นความกลา ว ต ปจ จยั มวี เิ คราะหว า “(กิรยิ )ํ อาขยฺ าตีติ อาขฺยาตํ (สทฺทชาตํ)” (ยํ สทฺทชาตํ กริ ยิ ํ อาขฺยาติ อติ ิ ตํ สททฺ ชาตํ อาขยฺ าต)ํ แปลวา “ยํ สทฺทชาตํ - อ.สัททชาตใด อาขฺยาติ - ยอมกลาว กิริยํ - ซ่ึง กริ ิยา อติ ิ - เพราะเหตนุ ้นั ตํ สทฺทชาตํ - อ.สัททชาตนนั้ อาขยฺ าตํ - ช่อื วา อาขยาต อาขยาต แปลวา ศัพทกลาวกิรยิ า” ความสำคัญของอาขยาต เม่ือผศู ึกษาไดเรียนรูถึงนามศพั ท คือ คน สัตว ที่ ส่ิงของ พรอ มดวยลักษณะ และคำแทนชื่ออันเปนสวนวาดวยนามแลว ยังตองเรียนรูถึงความเคลื่อนไหวหรือ ความคงท่ีอันเปนเครื่องแสดงการกระทำของนาม ซึ่งไดแกกิริยาอีก เพราะเพียงแต นามศัพทห าเปน เครอ่ื งใหรถู ึงความเปน ไปของภาษามคธไดเพยี งพอไม มิฉะนนั้ กจ็ ะรู แตเพียงชื่อ ซึ่งหาใหสำเร็จประโยชนอยางแทจริงในการเขาใจภาษามคธไดพอแก ความประสงคไ ม ลำพงั นามศัพทเ ปน แตเ พยี งแสดงชอื่ ลักษณะ หรอื คำแทนชอ่ื เทา นั้น ถาไมมี กิริยาเปนเคร่ืองประกอบอีกตอหน่ึงแลว จะทราบไมไดเลยวา นามศัพททำอะไรบาง ฉะนนั้ อาขยาต จึงมีความสำคัญดงั น้ี ๑. เปนสว นแสดงออกถึงอากปั กิรยิ าของนามนาม ๒. เปนสวนสำคัญของกิริยา คอื ใชเปนกิรยิ าคุมพากย ๓. มีเครื่องปรุงเปนสวนเฉพาะ เม่ือประกอบแลวยอมเปนเครื่องหมาย สองเน้ือความใหช ัดเจนย่ิงข้นึ ๒. เครือ่ งปรุงของอาขยาต ศัพทกิริยาท่ีเปนแตเพียงกลาวออกมาเลยๆ โดยยังมิไดมีเครื่องปรุงอยางใด อยางหน่ึงเขาประกอบ ก็คงยังรูไมไดเลยวาเปนกิริยาแผนกไหน ฉะน้ัน ศัพทกิริยาที่ 6

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 7 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò จะไดน ามวา อาขยาตกเ็ ชน กนั กอ นทจ่ี ะสำเรจ็ รปู เปน อาขยาตได กต็ อ งอาศยั เครอ่ื งปรงุ สวนตางๆ ของอาขยาต ทำหนาที่รวมกันปรับปรุงประกอบใหเปนรูปขึ้น เหมือนเรือน ท่ีจะสำเร็จเปนรูปเรือนขึ้นได ตองอาศัยทัพพสัมภาระตางๆ ซ่ึงเปนเครื่องสำหรับทำ เรือน อันบุคคลนำมาผสมประกอบกนั ฉะน้ัน กริ ิยาอาขยาต จึงประกอบดวยเครอื่ งปรงุ ๘ ประการ คือ ๑. วภิ ตั ติ ๒. กาล ๓. บท ๔. วจนะ ๕. บุรษุ ๖. ธาตุ ๗. วาจก ๘. ปจ จยั เคร่ืองปรุงทั้ง ๘ น้ี แตละอยาง ๆ ยอมมีหนาท่ีท่ีจะตองทำตามสวน ไม สบั สนปนคละกัน สว นไหนมีหนาทอ่ี ยางไร จะไดกลา วในหนวยตอไป ๓. สว นประกอบทส่ี ำคญั ของอาขยาต ในเคร่อื งปรุงท้ัง ๘ นี้ บางอยา งก็มคี วามสำคญั มาก คอื ใหส ำเร็จกจิ ในหนา ท่ี ของตนไดโ ดยอสิ ระลำพังตน มิตองอาศยั เคร่อื งปรุงอยางอ่ืนประกอบ เครอื่ งปรงุ เหลา น้ี เฉพาะท่ีสำคัญมีอยู ๓ คือ วิภัตติ ธาตุ ปจจัย เครื่องปรุงทั้ง ๓ น้ี เปน หลกั เปน หวั หนา ของสว นอน่ื ๆ เพราะเปน ทอี่ าศยั ปรากฏของสว นตา งๆ บางอยางก็มคี วามสำคัญ นอย คือตองอาศัยเคร่ืองปรุงอยางอ่ืนเปนเคร่ืองปรากฏ รับหนาที่รองลงไปตามลำดับ ชนั้ เครอ่ื งปรุงเหลา นไี้ ดแก กาล บท วจนะ บรุ ษุ วาจก ทั้ง ๕ น้ี เวนวาจกอยา งเดียว อาศยั วิภัตตเิ ปน เคร่อื งปรากฏ จึงทำหนา ทข่ี องตนได จัดวามวี ภิ ัตติเปนแดนเกดิ ถาไม มีวิภัตตกิ ท็ ำหนา ทีไ่ มได เม่ือกลาวถึงวิภัตติ ก็เปนเหตุใหเก่ียวโยงถึงดวยธาตุ ที่สำคัญก็เพราะวา ธาตุเปนรากเหงาของศัพทกิริยาทั้งหมด อาขยาตทั้งหมดตองอาศัยธาตุเปนรากเหงา จึงนับวาเปนเหตุอันสำคัญยิ่ง ซ่ึงไดเกิดผลเปนอาขยาต เพราะถาขาดธาตุ เครื่อง ประกอบอน่ื ๆ กห็ าประโยชนอะไรมไิ ด โดยเหตทุ ่ไี มม ตี ัวตั้งสำหรบั จะปรุง ปจจัยเปนเครื่องอาศัยปรากฏของวาจก เมื่อปจจัยปรากฏ ก็เปนเครื่องชี้ให ทราบวาจกได จึงนบั เปน เครื่องปรุงที่สำคญั ยิ่งสวนหนงึ่ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 7

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 8 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบประเมนิ ผลตนเองกอ นเรยี น หนวยที่ ๑ จดุ ประสงค เพื่อประเมนิ ความรเู ดิมของนักเรียนเก่ียวกบั เรื่องอาขยาต คำสงั่ ใหนักเรียนอานคำถามแลววงกลมรอบขอคำตอบท่ีถูกตองท่ีสุด เพียงขอเดียว ๑. คำวา “อาขยาต” มีวเิ คราะหวาอยา งไร ? ก. อาขฺยาติ ตนฺติ อาขยฺ าตํ ข. กริ ยิ ํ อาขฺยาติ เตนาติ อาขฺยาตํ ค. กิริยํ อาขฺยาติ เอตถฺ าติ อาขยฺ าตํ ง. กริ ิยํ อาขยฺ าตีติ อาขฺยาตํ ๒. คำวา “อาขยาต” หมายถงึ อะไร ? ก. ศพั ทกลาวนาม ข. ศัพทกลาวจำนวน ค. ศัพทก ลาวกริ ิยา ง. ศพั ทกลา วคณุ นาม ๓. ขอใดระบุความสำคญั ของอาขยาตไดถกู ตอง ? ก. ทำใหเ น้ือความสละสลวย ข. เปน อุปการะในการแปล ค. ใชเ ปน กริ ยิ าคมุ พากย ง. ใชเปน กิริยาในระหวา ง ๔. ในประโยควา “ภกิ ขฺ ุ คามํ ปณฑฺ าย ปวิสต.ิ ” ศัพทใ ดเปน อาขยาต ? ก. ภกิ ขฺ ุ ข. คามํ ค. ปณฺฑาย ง. ปวิสติ ๕. คำใดเปนลักษณะของอาขยาต ? ก. บุรุษ ข. ทาน ค. ฟง ง. ดรุ า ย ๖. เครอ่ื งปรงุ อาขยาตมที ัง้ หมดกี่อยาง ? ก. ๖ อยาง ข. ๗ อยาง ค. ๘ อยา ง ง. ๙ อยา ง เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 8

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 9 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๗. ขอความวา “ประชาชนมีจิตเลอ่ื มใสเดินไปวัด” คำใดบงถงึ กริ ยิ า ? ก. ประชาชน ข. มจี ิตเล่อื มใส ค. เดนิ ไป ง. วดั ๘. ขอใดทบี่ งถงึ กริ ยิ าของนามไมครบ ? ก. ยืน เดนิ นัง่ ข. ทำ พูด คดิ ค. ฟง ถาม เขียน ง. นอน ดกึ เชา ตรู ๙. เครอื่ งปรงุ อาขยาตที่จะขาดไมไ ดเ ลย คอื อะไรบาง ? ก. วภิ ัตติ วาจก ปจ จยั ข. กาล ธาตุ ปจ จยั ค. บท วจนะ บุรษุ ง. วิภตั ติ ธาตุ ปจ จัย ๑๐. วิภตั ติอาขยาตบอกใหร ูอะไรบา ง ? ก. กาล บท วาจก ปจ จัย ข. กาล บท วจนะ บรุ ุษ ค. บท วจนะ บุรุษ ธาตุ ง. กาล ธาตุ วาจก ปจจยั เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 9

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 10 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรียน หนวยที่ ๑ จดุ ประสงค เพอื่ ประเมนิ ผลความกา วหนาของนักเรยี นเกยี่ วกบั เร่อื งอาขยาต คำสง่ั ใหนักเรียนอานคำถามแลววงกลมรอบขอคำตอบที่ถูกตองท่ีสุด เพียงขอเดียว ๑. คำวา “อาขยาต” หมายถงึ อะไร ? ก. ศพั ทก ลาวนาม ข. ศพั ทกลา วจำนวน ค. ศัพทก ลาวกิริยา ง. ศัพทก ลา วคุณนาม ๒. คำวา “อาขยาต” มีวิเคราะหวาอยา งไร ? ก. อาขยฺ าติ ตนตฺ ิ อาขฺยาตํ ข. กิริยํ อาขยฺ าติ เตนาติ อาขยฺ าตํ ค. กิรยิ ํ อาขฺยาติ เอตฺถาติ อาขฺยาตํ ง. กริ ิยํ อาขฺยาตตี ิ อาขยฺ าตํ ๓. คำใดเปนลักษณะของอาขยาต ? ก. บุรษุ ข. ทาน ค. ฟง ง. ดุราย ๔. ในประโยควา “ภกิ ฺขุ คามํ ปณฺฑาย ปวสิ ติ.” ศพั ทใดเปน อาขยาต ? ก. ภิกขฺ ุ ข. คามํ ค. ปณฺฑาย ง. ปวิสติ ๕. ขอ ใดระบคุ วามสำคญั ของอาขยาตไดถกู ตอง ? ก. ทำใหเ นอ้ื ความสละสลวย ข. เปน อปุ การะในการแปล ค. ใชเ ปน กิริยาคมุ พากย ง. ใชเ ปนกริ ิยาในระหวา ง ๖. เคร่ืองปรุงอาขยาตมที ง้ั หมดก่อี ยา ง ? ก. ๖ อยา ง ข. ๗ อยา ง ค. ๘ อยาง ง. ๙ อยาง เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 10

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 11 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ๗. วิภัตติอาขยาตบอกใหร อู ะไรบาง ? ก. กาล บท วาจก ปจ จยั ข. กาล บท วจนะ บรุ ุษ ค. บท วจนะ บรุ ุษ ธาตุ ง. กาล ธาตุ วาจก ปจ จยั ๘. ขอ ความวา “ประชาชนมจี ิตเลอ่ื มใสเดินไปวัด” คำใดบงถึงกริ ยิ า ? ก. ประชาชน ข. มีจติ เลอ่ื มใส ค. เดนิ ไป ง. วดั ๙. ขอใดทบ่ี งถงึ กิริยาของนามไมค รบ ? ก. ยืน เดิน นัง่ ข. ทำ พดู คิด ค. ฟง ถาม เขยี น ง. นอน ดกึ เชาตรู ๑๐. เครอื่ งปรงุ อาขยาตท่ีจะขาดไมไดเลย คอื อะไรบาง ? ก. วิภตั ติ วาจก ปจ จยั ข. กาล ธาตุ ปจ จัย ค. บท วจนะ บุรษุ ง. วภิ ัตติ ธาตุ ปจ จัย เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 11

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 12 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เฉลยแบบประเมนิ ผลตนเอง หนวยที่ ๑ ขอ กอนเรียน หลังเรยี น ๑. ง ค ๒. ค ง ๓. ค ค ๔. ง ง ๕. ค ค ๖. ค ค ๗. ค ข ๘. ง ค ๙. ง ง ๑๐. ข ง เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 12

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 13 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò แผนการสอนวิชาบาลีไวยากรณ หนว ยที่ ๒ เรอ่ื ง วิภตั ติ เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั วภิ ตั ตหิ มวด วตฺตมานา ปฺจมี สตตฺ มี ปโรกขฺ า หยิ ตฺตนี อชฺชตตฺ นี ภวสิ สฺ นตฺ ิ กาลาติปตตฺ ิ และการลงอาคมในวภิ ตั ติอาขยาต จุดประสงค ๑. เพื่อใหน ักเรยี นนำธาตไุ ปแจกดวยวภิ ัตตไิ ดอยา งถูกตอง ๒. เพ่ือใหนกั เรียนรแู ละเขา ใจการเปลี่ยนแปลงของวภิ ตั ตแิ ตล ะหมวด ๓. เพ่ือใหนักเรียนรูและเขาใจวิธีการลงอาคมในวิภัตติหมวดที่เก่ียวของ ไดถกู ตอง เน้อื หา ๑. วิภัตติหมวด วตฺตมานา ปฺจมี สตฺตมี ปโรกฺขา หิยตฺตนี อชฺชตฺตนี ภวิสฺสนตฺ ิ และ กาลาตปิ ตตฺ ิ ๒. อาคม กิจกรรม ๑. ประเมนิ ผลกอ นเรยี น ๒. ใหนักเรียนทองวิภตั ติ ๓. ครนู ำเขาสบู ทเรยี นและอธบิ ายเน้อื หา ๔. บัตรคำ 13

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 14 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๕. ครูสรปุ เน้ือหาทง้ั หมด ๖. ประเมนิ ผลหลังเรียน ๗. ใบงาน - ใหนักเรียนแจกธาตุดวยวิภัตติหมวด วตฺตมานา ปฺจมี สตฺตมี ปโรกฺขา หยิ ตฺตนี อชชฺ ตฺตนี ภวิสสฺ นตฺ ิ กาลาตปิ ตฺติ ๘. กจิ กรรมเสนอแนะ - ใหน กั เรียนทอ งแบบใหไ ด - ใหน กั เรียนหัดแยกธาตุอาขยาต สื่อการสอน ๑. ตำราทีใ่ ชป ระกอบการเรยี น-การสอน ๑.๑ หนังสอื พระไตรปฎก ๑.๒ หนงั สอื พจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบุญ สำนกั เรยี นวดั ปากนำ้ ๑.๓ หนงั สือพจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑.๔ หนงั สือพจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบับประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎ ก (ป.อ.ปยตุ ฺโต) ๑.๕ หนงั สือบาลีไวยากรณ นิพนธ โดย สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ ๑.๖ หนังสอื ปาลทิ เทศ ของสำนกั เรียนวดั ปากนำ้ ๑.๗ คัมภรี อภิธานปั ปทีปกา ๑.๘ หนงั สอื พจนานกุ รมธาตุ ภาษาบาลี ๒. อปุ กรณทค่ี วรมีประจำหองเรยี น ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรอื กระดานไวทบ อรด ๒.๒ เครอ่ื งฉายขา มศีรษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพวิ เตอร – โปรเจคเตอร ๓. บัตรคำ 14

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 15 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ๔. ใบงาน วธิ ีวดั ผล-ประเมินผล ๑. สอบถามความเขา ใจ ๒. สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสวนรว มในกจิ กรรม ๓. สงั เกตความกาวหนา ดา นพฤติกรรมการเรยี นรขู องผเู รียน ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมินผลกอนเรียน-หลงั เรยี น 15

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 16 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๑. ความหมายของวภิ ัตติ วภิ ติ ติ คือ การแจก หรือ จำแนก หมายความวา แจกมูลศัพทอ อกไปเปน สว น ๆ มี ๒ อยา ง คือ วภิ ตั ตินาม และวิภัตตอิ าขยาต วิภัตตินาม ทำหนาท่ีแจกนามศัพท เพ่ือเปนเคร่ืองหมายใหรู ลิงค วจนะ การนั ต และสำเนยี งอายตนิบาต คือคำเชื่อมนามศัพท ออกสำเนียงคำแปลตามหมวด ของวิภัตติ เชน คำวา ปรุ ิโส เปน นามนาม บอกใหร วู าเปน ปงุ ลิงค เอกวจนะ อ การันต ปฐมาวภิ ตั ติ มสี ำเนยี งอายตนบิ าตวา “อ.บุรษุ ” เปนตน วิภัตติอาขยาต ทำหนาท่ีแจกมูลศัพทฝายกิริยาออกเปนสวน ๆ เพ่ือเปน เครอื่ งหมายใหร ู กาล บท วจนะ และบรุ ษุ ซง่ึ แลว แตว ภิ ตั ตจิ ะระบถุ งึ เชน คำวา คจฉฺ ติ บอกใหรวู า เปน ปจจุบนั กาล แปลวา “ไปอย,ู ยอ มไป, จะไป” เปน ปรสั สบท เอกวจนะ ประถมบุรุษ เปนตน ๒. การแบง หมวดวภิ ัตติ วภิ ตั ตอิ าขยาตน้ี มีทง้ั หมด ๙๖ ตัว (หมวดละ ๑๒ ตัว) โดยแบง ออกเปน ๘ หมวด คอื ๑. วตตฺ มานา ๒. ปจฺ มี ๓. สตฺตมี ๔. ปโรกฺขา ๕. หิยตฺตนี ๖. อชฺชตฺตนี ๗. ภวสิ สฺ นตฺ ิ ๘. กาลาตปิ ตตฺ ิ ๓. ความหมายของช่ือวิภตั ติ การต้งั ชอื่ ของวภิ ัตตทิ ้งั ๘ หมวด ตงั้ แต วตตฺ มานา – กาลาติปตตฺ ิ ไว กเ็ พอ่ื จะใหท ราบถึงกาลวา วภิ ตั ตหิ มวดไหนบอกถึงอดตี กาล ปจจบุ ันกาล หรอื อนาคตกาล วตตฺ มานา กลาวถึงส่งิ ท่เี กิดขึ้นจำเพาะหนาในขณะนนั้ ปจฺ มี และสตตฺ มี กลา วถงึ กาลทแ่ี ฝงอยใู นระหวา ง หรอื เรยี กวา อนตุ กาล เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 16

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 17 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ปโรกฺขา กลา วถึงสิง่ ท่ลี ว งไปแลว อยางไมม กี ำหนด หยิ ตฺตนี กลา วถงึ สิง่ ที่ลว งไปแลว เมอ่ื วานน้ี อชฺชตฺตนี กลา วถึงส่งิ ทล่ี ว งไปแลวในวนั น้ี ภวสิ ฺสนฺติ กลา วถึงส่งิ ทย่ี งั ไมเกิดขน้ึ กาลาติปตฺติ กลาวถึงส่ิงท่ีลวงไปแลว นำมาพูดขึ้นใหม แตไมตรงกับความ เปนจริง ๔. วธิ ีสังเกตวภิ ัตติ การจะกำหนดรวู ภิ ตั ตทิ จ่ี ำแนกกริ ยิ าศพั ทต า ง ๆ ไว มวี ธิ สี งั เกตดงั ตอ ไปน้ี ๑. ดทู า ยปจ จยั ปจ จยั บางตวั ลงแลว ปรากฏเหน็ ชดั เจน จงึ เหน็ วภิ ตั ตอิ ยทู ท่ี าย ธาตุ เชน กนี าติ (กี + นา + ติ) ๒. ดทู า ยธาตุ ปจ จยั บางตวั ลงแลว ไมป รากฏรปู ใหเ หน็ จงึ เหน็ วภิ ตั ตอิ ยทู ท่ี าย ธาตุ เชน มรติ (มรฺ + อ + ต)ิ ๓. ดูทายอาคม วิภัตติอาขยาตบางหมวดลงอาคมท่ีทายธาตุและปจจัย จึง เห็นวิภัตติอยทู ่ที ายอาคม เชน อคมาสิ (อ + คมฺ + อ + ส + อ)ี เปน ตน ๕. วิภัตติ และการเปลยี่ นแปลง ๑. วตตฺ มานา ปรสสฺ ปทํ อตฺตโนปทํ ปุรสิ . เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. ติ. อนฺติ. เต. อนเฺ ต. ม. ส.ิ ถ. เส. วฺเห. อุ. ม.ิ ม. เอ. มฺเห. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 17

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 18 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ติ เม่ือประกอบกับ อสฺ ธาตุ ซ่ึงเปนไปในความมี, ความเปน แปลง เปน ตฺถิ เชน อตถฺ ิ แปลวา มอี ยู (อสฺ + อ + ต)ิ , นตถฺ ิ แปลวา ยอ มไมม ี (น + อสฺ + อ + ติ) กิรยิ า ๒ ตัวน้ีใชกับตวั ประธานท้งั ทเ่ี ปนเอกวจนะ และพหวุ จนะ อนตฺ ิ แปลงเปน เร ไดบ า ง เชน วจุ จฺ เร แปลวา อนั เขากลา วอยู (วจฺ + ย + อนตฺ )ิ ถ เมือ่ ประกอบกบั อสฺ ธาตแุ ปลงเปน ตถฺ เชน อตถฺ แปลวา ยอ มเปน มิ ม ทง้ั หมวดวตฺตมานา และหมวดปจฺ มี มดี ังนี้ - ถาสระท่ีสุดธาตุเปน อ ตองทีฆะเปน อา เชน ลภามิ แปลวา ยอมได (ลภฺ + อ + ม)ิ , ลภาม แปลวา ยอ มได (ลภฺ + อ + ม) - เม่ือประกอบกับ อสฺ ธาตุ แปลง มิ เปน มฺหิ เชน อมฺหิ แปลวา ยอ มเปน (อสฺ + อ + ม)ิ , แปลง ม เปน มหฺ เชน อมหฺ แปลวา ยอ มเปน (อสฺ + อ+ ม) - เมอื่ ประกอบหลงั ทา ธาตุ มอี ำนาจใหแ ปลง อา ท่ี ทา เปน น คิ คหติ แลวแปลงนิคคหิตเปน มฺ อีกครั้งหนึ่ง เชน ทมฺมิ แปลวา ยอมให (ทา + อ + ม)ิ , ทมมฺ แปลวา ยอ มให (ทา + อ + ม) เต ใชแทน ติ บาง เชน ชายเต แปลวา ยอ มเกดิ (ชนฺ = ชา + ย + เต) อนเฺ ต ใชแทน อนฺติ บาง เชน ปุจฺฉนเฺ ต แปลวา ยอ มถาม (ปจุ ฺฉ + อ + อนเฺ ต) เอ ใชแทน มิ บาง เชน อิจเฺ ฉ แปลวา ยอมปรารถนา (อิจฺฉ + อ + เอ) ๒. ปจฺ มี ปรสสฺ ปทํ อตตฺ โนปทํ ปุรสิ . เอก. พหุ. เอก. พหุ. ตํ. อนตฺ .ํ ป. ต.ุ อนฺตุ. สฺส.ุ วโฺ ห. ม. หิ. ถ. เอ. อามฺหเส. อ.ุ มิ. ม. เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 18

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 19 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ตุ เมอื่ ประกอบกบั อสฺ ธาตุ แปลงเปน ตถฺ ุ เชน อตถฺ ุ แปลวา จงมี (อสฺ + อ + ต)ุ หิ เมอื่ ลงแลว ลบเสยี บา งกไ็ ด เชน คจฉฺ แปลวา จงไป (คมฺ = คจฉฺ + อ + ห)ิ แตถ าคง หิ ไว ตอ งทฆี ะ อ เปน อา เชน คจฺฉาหิ มิ ม มนี ยั เหมอื นในหมวด วตฺตมานา ตํ ใชแ ทน ตุ บาง เชน ชยตํ แปลวา จงชนะ (ชิ + อ +ตํ) สฺสุ ใชแ ทน หิ บา ง เชน กรสสฺ ุ แปลวา จงทำ (กรฺ + อ + สฺส)ุ ๓. สตฺตมี ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ ปุริส. เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. เอยยฺ . เอยฺยุ. เอถ. เอร.ํ ม. เอยยฺ าสิ. เอยยฺ าถ. เอโถ. เอยฺยวฺโห. อุ. เอยฺยามิ. เอยยฺ าม. เอยยฺ ํ. เอยฺยามเฺ ห. เอยยฺ ลบ ยยฺ เสยี เหลอื ไวแ ต เอ บา ง เชน ภเช แปลวาพงึ คบ (ภชฺ+อ+เอยฺย) แปลงเปน อา บาง เชน กยิรา แปลวา พงึ ทำ (กรฺ + ยริ +เอยฺย) เอยฺยุํ แปลงเปน อิยา บา ง เชน สยิ า แปลวา พงึ เปน (อสฺ + อ + เอยฺย) แปลงกบั อสฺ ธาตุ เปน อสฺส บา ง แปลวา พึงเปน (อสสฺ + อ + เอยฺย) เอยฺยาสิ แปลงกับ อสฺ ธาตุ เปน อสสฺ ุ แปลวา พึงเปน (อสฺ + อ + เอยยฺ ุ) เอยฺยาถ ประกอบกับ อสฺ ธาตุ ลบตนธาตแุ ลว แปลงเปน อิยุ เชน สยิ ุ แปลวา เอยฺยามิ เอยยฺ าม พึงเปน (อสฺ + อ + เอยยฺ ุ) แปลงกบั อสฺ ธาตุ เปน อสสฺ แปลวา พงึ เปน (อสฺ + อ + เอยฺยาส)ิ แปลงกบั อสฺ ธาตุ เปน อสสฺ ถ แปลวา พึงเปน (อสฺ + อ + เอยยฺ าถ) แปลงกบั อสฺ ธาตุ เปน อสสฺ ํ แปลวา พงึ เปน (อสฺ + อ + เอยฺยาม)ิ แปลงเปน เอมุ เชน ชาเนมุ แปลวา พึงรู (า = ชา + นา + เอยยฺ าม) แปลงกบั อสฺ ธาตุ เปน อสสฺ าม แปลวา พึงรู (อสฺ + อ + เอยยฺ าม) เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 19

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 20 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เอถ ใชแทน เอยยฺ บาง เชน ลเภถ แปลวา พงึ ได (ลภฺ + อ + เอถ) เอยฺยํ ใชแทน เอยฺยามิ บาง เชน ปพฺพเชยฺย แปลวา พึงบวช (ป + วชฺ + อ + เอยฺยํ) ๔. ปโรกขฺ า ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ ปุริส. เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. อ. อ.ุ ตถฺ . เร. ม. เอ. ตถฺ . ตฺโถ. วฺโห. อ.ุ อํ. มฺห. อึ. มฺเห. ในหมวดนไ้ี มม กี ารเปล่ยี นแปลงอะไรเลย และมใี ชอ ยูแต อ กบั อุ เทาน้ัน คือ อาห อาหุ อาห (เอก.) แปลวา กลา วแลว (พรฺ ู = อาห + อ + อ) อาหุ (พหุ.) แปลวา กลา วแลว (พรฺ ู = อาห + อ + อ)ุ ๕. หยิ ตตฺ นี ปรสสฺ ปทํ อตตฺ โนปทํ ปุริส. เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. อา อู ตถฺ . ตฺถ.ุ  ม. โอ. ตถฺ . เส. วหฺ ํ. อุ. อํ. มฺห. อ.ึ มฺหเส. ในหมวดน้ลี ง อ อาคม หนาธาตุได แปลวา “ได. ..แลว ” อา โดยมากรสั สะเปน อ เชน อโวจ แปลวา ไดก ลา วแลว (อ + วจุ ฺ + อ + อา) โอ มัธยมบุรุษ ไมนิยมใช มักใช อา ปฐมบุรุษแทน เชน อวจ ในประโยควา ตวฺ ํ มยา สิตการณํ ปฏุ โ ฯเปฯ อวจ ฯ นอกนนั้ ไมมีการเปล่ียนแปลงอะไร เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 20

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 21 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò ๖. อชชฺ ตฺตนี ปรสฺสปทํ อตฺตโนปทํ ปุริส. เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. อี. อุ. อา. อู. ม. โอ. ตถฺ . เส. วฺห.ํ อ.ุ อ.ึ มฺหา. อํ. มเฺ ห. ในหมวดน้ีลง อ อาคม หนาธาตุ อิ อาคม ทายธาตุ และ ส อาคม ทา ยธาตไุ ด อี มักรัสสะเปน อิ เชน อกริ แปลวา ไดทำแลว (อ + กรฺ + อ + อี) ลง ส อาคม เชน อกาสิ แปลวา ไดทำแลว (อ + กรฺ + อ + ส + อ)ี แปลงเปน จฉฺ ิ เชน อกโฺ กจฉฺ ิ แปลวา ไดด าแลว (อ + กสุ ฺ + อ + อ)ี แปลงเปน ตถฺ เชน ปฺ ายติ ถฺ แปลวา ปรากฏแลว (ป + า + ย + อิ + อ)ี อุ คงรปู บาง เชน อกาสุ แปลวา ไดท ำแลว (อ + กรฺ + อ + ส + อุ) แปลงเปน อํสุ บา ง เชน อกํสุ แปลวา ไดท ำแลว (อ + กรฺ + อ + อ)ุ แปลงเปน อสึ ุ บา ง เชน อกรสึ ุ แปลวา ไดทำแลว (อ + กรฺ + อ + อุ) ลง ส อาคม เชน อาโรเจสุ แปลวา บอกแจง แลว (อา + รจุ ฺ + เณ + ส + อ)ุ โอ มัธยมบุรุษ ไมนิยมใช มักใช อี ปฐมบุรุษแทน เชน อกาสิ ในประโยควา ตฺวํ เอวมกาสิ ฯ อึ แปลงเปน ตถฺ ํ เชน อลตถฺ ํ แปลวา ไดไดแลว (อ + ลภฺ + อ + อ)ึ ๗. ภวสิ ฺสนฺติ ปรสสฺ ปทํ อตฺตโนปทํ ปรุ ิส. เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. สสฺ ติ. สฺสนฺต.ิ สสฺ เต. สฺสนฺเต. ม. สฺสสิ. สสฺ ถ. สฺสเส. สฺสวฺเห. อ.ุ สฺสามิ. สสฺ าม. สฺสํ. สสฺ ามเฺ ห. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 21

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 22 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ในหมวดนใ้ี หลง อิ อาคม หลังธาตุทุกตวั สฺสํ ใชแทน สฺสามิ บาง สสฺ ติ สฺสนฺต,ิ สสฺ สิ สฺสถ, สสฺ ามิ สสฺ าม ลบ สสฺ คงไวแ แต ต,ิ อนตฺ ,ิ ส,ิ ถ, -าม,ิ -าม ไดก บั ธาตบุ างตวั แลว ใหแ ปลง ท่ีสุดธาตุเปนอยางอื่น หรือแปลง สฺส กับ ท่ีสุดธาตุเปนอยางอื่น เชน กาหติ กาหนฺต,ิ กาหสิ กาหถ, กาหามิ กาหาม แปลวา จักกระทำ (แปลง กรฺ ธาตุ เปน กาห) โหหติ ิ โหหนิ ตฺ ,ิ โหหสิ ิ โหหถิ แปลวา จกั เปน (แปลง หุ ธาตุ เปน โหห)ิ วกขฺ ามิ วกขฺ าม แปลวา จกั กลา ว (แปลง วจฺ ธาตุ เปน วกขฺ ) วจฉฺ ามิ วจฉฺ าม แปลวา จกั อยู (แปลง วสฺ ธาตุ เปน วจฉฺ ) ลจฉฺ ามิ แปลวา จกั ได (แปลง ลภฺ ธาตุ เปน ลจฉฺ ) ๘. กาลาติปตฺติ ปรสสฺ ปทํ อตตฺ โนปทํ ปุริส. เอก. พห.ุ เอก. พหุ. ป. สฺสา. สสฺ สํ .ุ สฺสถ. สฺสสึ ุ. ม. สฺเส. สสฺ ถ. สสฺ เส. สสฺ วฺเห. อุ. สสฺ .ํ สสฺ ามหฺ า. สฺสํ. สฺสามฺหเส. ในหมวดนใี้ หลง อิ อาคม ทา ยธาตุทุกตวั และลง อ อาคม หนาธาตุได สสฺ า รัสสะ อา เปน อ เชน อสกขฺ ิสสฺ แปลวา จักไดอ าจแลว (อ + สกฺก + อ + อิ + สสฺ า) อภวสิ สฺ แปลวา จักไดเ ปนแลว (อ + ภู + อ + อิ + สฺสา) เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 22

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 23 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò อาคมในอาขยาต อาคม หมายถึง การลงอักษรตัวใหมเพ่ิมเขามา ในอาขยาตมีวิธีการลง อาคม โดยใชลงขางหนาธาตุบาง ลงระหวางธาตุบาง ลงขางหลังธาตุบาง อาคมบาง ตัวลงไดเฉพาะกับธาตุบางตัวบาง บางตัวลงไดเฉพาะกับวิภัตติบางหมวด และเมื่อลง แลวสวนใหญความหมายของธาตุยังคงเดิม แตอาคมบางตัวเม่ือลงแลวมีคำแปลใน ตวั เองดว ย ประเภทของอาคม อาคมท่ีใชใ นวิภัตติอาขยาตมี ๕ ตวั คือ อ, อ,ิ ส, ห และ อํ แตละตวั มีวิธใี ช ดังนี้ อ อาคม ใชล งขา งหนา ธาตุ ในเมอื่ กริ ยิ านน้ั ประกอบดว ยวภิ ตั ติ ๓ หมวด คอื หิยตั ตนี เชน อททฺ ส – ไดเ หน็ แลว (อ + ทิสฺ + อ + อา) อชั ชตั ตนี เชน อทสํ ุ – ไดใหแ ลว (อ + ทา + อ +อุ) กาลาติปตติ เชน อลภสิ สฺ – จักไดไดแ ลว (อ + ลภฺ + อ + อิ + สฺสา) อิ อาคม ใชลงหลังธาตุและปจจัย ในเม่ือกิริยาน้ันประกอบดวยวิภัตติ ๓ หมวด คือ อชั ชัตตนี เชน วสมิ หฺ า – อยแู ลว (วสฺ + อ + อิ + มฺหา) ภวสิ สันติ เชน สณุ สิ ฺสาม – จกั ฟง (สุ + ณา + อิ + สฺสาม) กาลาติปตติ เชน ลภสิ ฺสา – จกั ไดแ ลว (ลภฺ + อ + อิ + สฺสา) อนง่ึ ในหมวดอชั ชัตตนี และกาลาตปิ ต ติ บางคราวกล็ งทง้ั อ และ อิ อาคม พรอมกนั ตวั อยา งเชน อชั ชัตตนี = อกริตฺถ – ไดก ระทำแลว (อ + กรฺ + อ + อิ + ตถฺ ) กาลาตปิ ต ติ = อสกฺขสิ สฺ – จกั ไดอ าจแลว (อ + สกฺก + อ + อิ + สฺสา) ส อาคม ใชลงหลังธาตุ ในเมื่อกิริยาน้ันประกอบดวยวิภัตติหมวดอัชชัตตนี เทานั้น เชน ปตฏิ  าสิ – ยนื เฉพาะแลว (ปฏิ + า + อ + ส + อ)ี 23

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 24 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) วเทสิ – กลาวแลว (วทฺ + เอ + ส + อ)ี บางคราวก็ลงท้งั อ และ ส อาคม พรอ มกนั เชน อเหสุ – ไดเปนแลว (อ + หุ + อ + ส + อ)ุ อคมาสิ – ไดไ ปแลว (อ + คมฺ + อ + ส + อี) ห อาคม ใชลงไดเฉพาะา ธาตุ เชน ปติฏ หิ – ยนื อยแู ลว (ปฏิ + า + อ + ห + อ)ี อปุ ฏ เหยฺย – พึงบำรุง (อุป + า + อ + ห + เอยฺย) แมใ นกติ กก็ยงั คงติดไปดว ย เชน อปุ ฏหน,ํ ปตฏิ  หนฺโต เปนตน อํ อาคม ใชล งเฉพาะตน ธาตหุ มวด รุธฺ ธาตเุ ทา นัน้ แลวแปลงเปน พยัญชนะ ที่สดุ วรรค เชน รุนเฺ ธติ – ยอมก้นั (รุธฺ + เอ + ติ) 24

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 25 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมินผลตนเองกอ นเรยี น หนว ยที่ ๒ วตั ถุประสงค เพื่อประเมินความรูเดิมของนักเรียน เก่ียวกับวิภัตติ (วตฺตมานา คำส่งั ปฺจมี สตฺตมี ปโรกขฺ า หยิ ตฺตนี อชฺชตตฺ นี ภวสิ สฺ นฺติ กาลาติปตตฺ ิ) และอาคม ใหนักเรียนทำเคร่ืองหมายถูก ( ) หนาขอท่ีถูกตอง และ ทำเครอ่ื งหมายผิด ( ) หนาขอที่ผดิ ( ) ๑. ตโฺ ถ วโห เปน วิภัตตอิ ยูใ นหมวด หยิ ตตฺ นี ฝา ยอัตตโนบท ( ) ๒. อา หิยตฺตนี ปรสั สบท มักรสั สะเปน อ ( ) ๓. โอ หยิ ตฺตนแี ละอชชฺ ตฺตนี มีใชอ ยูทัว่ ไป ( ) ๔. อุ แปลงเปน อสึ ุ ได ( ) ๕. สฺสา กาลาตปิ ตตฺ ิ ปรสั สบท หา มรสั สะเปน อ ( ) ๖. กรฺ ธาตุ แปลงเปน กาห ได ในเมอื่ ประกอบกบั วิภตั ติหมวดภวสิ สฺ นตฺ ิ ( ) ๗. อึ มฺหา เปนวภิ ตั ติอยใู นหมวดหิยตฺตนี ฝา ยปรัสสบท ( ) ๘. สฺสสิ สสฺ ถ เปนวภิ ัตติอยูในหมวดกาลาตปิ ตฺติ ฝา ยอตั ตโนบท ( ) ๙. ปโรกฺขา มที ใี่ ชอยู ๒ วภิ ตั ตเิ ทาน้นั คือ อ อุ ปฐมบรุ ุษ ปรสั สบท ( ) ๑๐. อ อาคม เมอ่ื ลงในวภิ ัตติหมวดกาลาติปตฺติ แปลวา “จักได….แลว” ( ) ๑๑. อ อาคม ลงหนา ธาตุในวภิ ัตติหมวดหยิ ตตฺ นี อชฺชตตฺ นี และกาลาติปตฺติ ( ) ๑๒. อิ อาคม ลงทีห่ นา ธาตุ ในวภิ ตั ตหิ มวด หิยตตฺ นี ( ) ๑๓. ส อาคม ลงทา ยธาตแุ ละปจจยั ในวภิ ตั ติหมวดภวิสสฺ นฺตแิ ละกาลาตปิ ตฺติ ( ) ๑๔. ห อาคม ลงทา ยธาตทุ กุ ตวั ในวภิ ัตตหิ มวด อชชฺ ตตฺ นี ( ) ๑๕. อํ (นคิ คหติ ) อาคม ลงที่ตน ธาตุ ในหมวด รธุ ฺ ธาตุ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 25

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 26 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบประเมินผลตนเองหลังเรยี น หนว ยท่ี ๒ วตั ถปุ ระสงค เพ่อื ประเมินผลความกาวหนาของนกั เรียน เกีย่ วกับวิภัตติ (วตฺตมานา คำสัง่ ปจฺ มี สตตฺ มี ปโรกขฺ า หยิ ตตฺ นี อชชฺ ตตฺ นี ภวสิ สฺ นตฺ ิ กาลาตปิ ตตฺ )ิ และอาคม ใหนักเรียนทำเคร่ืองหมายถูก ( ) หนาขอที่ถูกตอง และ ทำเครือ่ งหมายผดิ ( ) หนาขอ ที่ผดิ ( ) ๑. ตโฺ ถ วโห เปน วภิ ัตติอยใู นหมวดอชชฺ ตตฺ นี ฝา ยปรสั สบท ( ) ๒. อี อชชฺ ตฺตนี ปรัสสบท มักรัสสะเปน อิ ( ) ๓. โอ หยิ ตฺตนีและอชฺชตฺตนี มที ี่ใชน อ ย มักใชปฐมบุรุษแทนโดยมาก ( ) ๔. อุ แปลงเปน อึ ได ( ) ๕. สสฺ า กาลาตปิ ตตฺ ิ ปรสั สบท รสั สะเปน อ ได ( ) ๖. กรฺ ธาตุ แปลงเปน กาห ไดในเมือ่ ประกอบกับวิภัตตหิ มวดกาลาตปิ ตฺติ ( ) ๗. อึ มหฺ า เปน วิภัตตอิ ยูในหมวดอชชฺ ตตฺ นี ฝายปรัสสบท ( ) ๘. สสฺ สิ สสฺ ถ เปนวิภัตติอยูใ นหมวดภวสิ สฺ นฺติ ฝายปรัสสบท ( ) ๙. ปโรกฺขา มที ใี่ ชอ ยู ๒ วภิ ตั ติเทานน้ั คือ อํ มฺห อุตตมบุรุษ ปรสั สบท ( ) ๑๐. อ อาคม เม่ือลงในวภิ ัตติหมวดกาลาติปตตฺ ิ แปลวา “ได… .แลว” ( ) ๑๑. อ อาคม ลงหนาธาตุ ในวิภตั ตหิ มวด ปโรกฺขา ( ) ๑๒. อิ อาคม ลงทายธาตุและปจจัยในวิภัตติหมวดอชฺชตฺตนี ภวิสฺสนฺติ และกาลาตปิ ตฺติ ( ) ๑๓. ส อาคม ลงทา ยธาตแุ ละปจ จัย ในวภิ ตั ติหมวด อชชฺ ตฺตนี ( ) ๑๔. ห อาคม ลงทาย า ธาตุ ในวิภตั ติทัว่ ไป ( ) ๑๕. อํ (นคิ คหิต) อาคม ลงทต่ี นธาตุ ในหมวด ทิวฺ ธาตุ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 26

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 27 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เฉลยแบบประเมินผล หนวยที่ ๒ ขอ กอนเรียน หลงั เรียน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 27

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 28 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) แผนการสอนวชิ าบาลีไวยากรณ หนว ยที่ ๓ เรือ่ ง กาล บท วจนะ บรุ ุษ เวลาทำการสอน ๓ คาบ สาระสำคญั ระยะเวลาของเหตุการณหรือเรื่องราวท่ีเกิดในปจจุบัน อดีต หรืออนาคต เรียกวา “กาล” กาลโดยยอมี ๓ โดยพิสดารมี ๘ บท ในอาขยาตมี ๒ คอื ปรสั สบท ๑ อตั ตโนบท ๑ วจนะ ในอาขยาตมี ๒ คือ เอกวจนะ ๑ พหวุ จนะ ๑ บุรษุ ในอาขยาตมี ๓ คอื ประถมบุรุษ ๑ มัธยมบรุ ุษ ๑ อุตตมบุรษุ ๑ จดุ ประสงค ๑. นักเรียนรูและเขาใจเรื่องกาลในอาขยาต และแบงวิภัตติลงในกาล ไดถ กู ตอง ๒. นกั เรียนรแู ละเขา ใจเร่อื งบทในอาขยาต ๓. นกั เรียนรูและเขาใจเรอ่ื งวจนะในอาขยาต ๔. นักเรียนรแู ละเขาใจเร่อื งบรุ ุษในอาขยาต เนื้อหา ๑. กาล ๒. บท ๓. วจนะ ๔. บรุ ษุ 28

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 29 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò กจิ กรรม ๑. ประเมินผลกอ นเรียน ๒. ใหน ักเรยี นทองกาล บท วจนะ และบรุ ุษ ๓. ครนู ำเขาสูบทเรียน และอธิบายเน้อื หา ๔. บตั รคำ ๕. ครูสรปุ เนือ้ หาท้งั หมด ๖. ประเมินผลหลังเรียน ๗. ใบงาน - ใหนักเรียนบอกกาล บท วจนะ และบุรุษ ของกิริยาอาขยาต เปน การบาน - ใหนักเรียนประกอบกิริยาอาขยาต ตามกาล บท วจนะ และ บรุ ษุ ท่กี ำหนดใหเปน การบา น - ใหนักเรียนขึ้นประธานใหกับกิริยาอาขยาตท่ีกำหนดใหเปน การบาน ๘. กิจกรรมเสนอแนะ ครูสอนควรใหนักเรียน - ทองแมแ บบได - ใหน กั เรยี นหดั แยกธาตอุ าขยาต พรอ มบอก กาล บท วจนะ บรุ ษุ และข้นึ ประธาน (สัง่ เปนการบานดว ย) สอ่ื การสอน ๑. ตำราท่ีใชประกอบการเรยี น-การสอน ๑.๑ หนงั สอื พระไตรปฎก ๑.๒ หนังสือพจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบุญ สำนกั เรยี นวัดปากนำ้ ๑.๓ หนังสือพจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ 29

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 30 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๑.๔ หนงั สือพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท โดย พระธรรมปฎ ก (ป.อ.ปยุตโฺ ต) ๑.๕ หนงั สอื คมู อื บาลไี วยากรณน พิ นธโ ดย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ๑.๖ หนงั สอื ปาลิทเทศ ของสำนกั เรยี นวดั ปากนำ้ ๑.๗ คัมภรี อภิธานัปปทปี ก า ๑.๘ หนงั สอื พจนานกุ รมธาตุ ภาษาบาลี ๒. อุปกรณท คี่ วรมีประจำหองเรียน ๒.๑ กระดานดำ-แปรงลบกระดาน-ชอลก หรือ กระดานไวทบอรด ๒.๒ เคร่ืองฉายขา มศรี ษะ (Over-head) ๒.๓ คอมพวิ เตอร – โปรเจคเตอร ๓. บัตรคำ ๔. ใบงาน วธิ ีวัดผล-ประเมนิ ผล ๑. สอบถามความเขาใจ ๒. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี วนรวมในกิจกรรม ๓. สงั เกตความกา วหนา ดา นพฤตกิ รรมการเรยี นรูของผเู รยี น ๔. ตรวจใบงาน ๕. ตรวจแบบประเมินผลกอนเรยี น-หลังเรียน 30

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 31 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๑. กาล เหตุการณหรือเรื่องราวที่ปรากฏอยูตามส่ือตางๆ ในสมัยปจจุบัน เชน วิทยุ โทรทัศน หนังสอื พมิ พ เปน ตน หรอื เหตุการณท ีเ่ กิดขนึ้ แลว ในอดีต ซง่ึ ไดถกู บันทกึ ไว ในส่ิงตางๆ เชน หลักศิลาจารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำราเรียน เอกสารทาง วิชาการ งานวิจัยตางๆ รวมทั้งเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เชน การพยากรณ อากาศ หรือการคาดคะเนภาวะเศรษฐกิจ เปนตน ลวนบงบอกถึงระยะเวลาหรือกาล เวลาของเหตุการณนั้นๆ วากำลังเกิดข้ึน เกิดข้ึนผานไปแลว หรือจะเกิดข้ึนในอนาคต การเกิดขึ้นของเหตุการณในชวงระยะเวลาตางๆ ดังกลาว นักปราชญทางดานภาษา บาลีบญั ญตั เิ รยี กวา “กาล” ๑.๑ ความหมายของกาล คำวา “กาล” น้ัน ไดมีนักวิชาการหลายแขนงใหความหมายไวแตกตางกัน ออกไป ดังตอไปนี้ คือ กาล กาฬ (ว.ิ ) ดำ. กาล (ปุ.) สภาพผูบั่นทอน คือ ยังชีวิตของสัตวใหส้ินไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผูทำชีวิต ของสัตวใหนอยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปปฺ  อปปฺ  กโรตตี ิ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, คร้ัง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขยาเณ, โณ. การทำ ว.ิ กรณํ กาโร, โสเอว กาโล. อภฯิ . รปู ฯ วิ กรณํ กาโล. แปลง ร เปน ล. ส. กาล. กาล (ปุ.) ความตาย วิ. กลยติ เตสํ เตสํ สตฺตานํ ชีวิตํ เขเปติ สมุจฺ เฉทนวเสน นาเสตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. อถวา, อตฺตภาวสฺส อนฺตํ กโรตตี ิ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ. ส. กาล. (พจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบุญ สำนักเรียน วัดปากน้ำ จดั พมิ พ ๒๕๔๐ หนา ๑๘๗) 31

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 32 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) กาล ๑, กาล-[กาน, กาละ-] น. เวลา, คราว, ครัง้ , หน. (ป., ส.). กาลกิรยิ า น. ความตาย. (ป.). กาลเทศะ น. เวลาและสถานท่;ี ความควรไมควร. (ส.). กาลโยค (โหร) น. การกำหนด วัน ยาม ฤกษ ราศี ดถิ ี ของแตล ะป เปน ธงชัย อธิบดี อบุ าทว โลกวนิ าศ. กาลสมุตถาน น. กองโรคท่ีเกิดข้ึนเพราะธาตุไมเปนตามปกติ. (แพทย) . กาล ๒ [กาน] (โบ) น. คำประพันธ. (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หนา ๙๑) กาล เวลา กาละ เวลา, คราว, คร้ัง, หน (พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท โดย พระธรรมปฎ ก ป.อ. ปยุตฺโต หนา ๑๕) ในหนังสือคูมือเลมนี้จะใหความหมายของคำวา “กาล” เชนเดียวกันกับ นักวิชาการทานอื่น ๆ คือ หมายความวา “เวลา” ตามพยัญชนะแปลวา “สภาพ ซ่ึงบ่ันทอนคือทำอายุของสัตวใหหมดสิ้นไป” ไดแก การกระทำใหลดนอยถอยลง ทกุ วัน ๆ กาลน้ีเปนของจำเปนสวนหนึ่งของกิริยาอาขยาต ถาขาดเสียแลว ยอมทำให ขัดของตอการที่จะทราบกำหนดระยะเวลาของการกระทำท่ีเกิดข้ึนวา การกระทำนั้น เกดิ ขึ้นในเวลาไหน เมื่อไร กำลังเกิดขน้ึ เปน ไปอยู ลวงแลว หรอื ยงั ไมมาถึง กาลยอมเปนเคร่ืองกำจัดระยะความเปนไปแหงเรื่องราวที่เกิดขึ้น ใหทราบ ไดแนชัดมีประโยชนที่จะแบงความเกิดขึ้นของเรื่องราวใหเปนตอนๆ ไมสับสนปน คละกนั เพ่อื จะไดท ราบเวลาอนั แนน อนของเร่อื งราวท่เี กิดขน้ึ น้ันๆ ๑.๒ ประเภทของกาล กาลแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ ๑. กาลโดยยอ ๒. กาลโดยพสิ ดาร 32

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 33 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò กาลโดยยอ มี ๓ คอื : กาลท่ีเกดิ ขน้ึ จำเพาะหนา : กาลที่เปนไปลวงแลว ๑. ปจจุบนั กาล : กาลทยี่ งั ไมม าถึง ๒. อดตี กาล ๓. อนาคตกาล กาลโดยพิสดาร มี ๘ คอื ปจจุบันกาล แบงออกเปน ๓ คอื :- ๑. ปจ จบุ นั แท ๒. ปจ จบุ นั ใกลอดตี ๓. ปจ จบุ ันใกลอนาคต อดตี กาล แบงออกเปน ๓ คือ :- ๑. ลว งแลวไมมกี ำหนด ๒. ลว งแลว วานน้ี ๓. ลว งแลว วันน้ี อนาคตกาล แบง ออกเปน ๒ คอื :- ๑. อนาคตของปจจุบนั ๒. อนาคตของอดีต ๑.๓ วธิ สี ังเกตกาล กาลที่กลาวมาแลวท้ังโดยยอและพิสดารน้ี ในเวลาพูดหรือเขียนหนังสือ ตอง หมายรดู วยวิภตั ติ ๘ หมวด ดงั น้ี ๑. วตั ตมานา บอกปจ จบุ ันกาล - ปจ จบุ นั แท แปลวา อยู หมายถงึ เรอื่ งราวหรอื การกระทำนนั้ ๆ กำลังเปน ไปอยู ยงั ไมเปลยี่ นแปลงเปนอยา งอื่น อทุ าหรณ เชน ภกิ ฺขุ ธมมฺ ํ เทเสติ ฯ ภิกษุ แสดงอยู ซงึ่ ธรรม ฯ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 33

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 34 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) - ปจ จบุ นั ใกลอ ดตี แปลวา ยอ ม หมายถงึ เรอื่ งราวหรอื การกระทำ นน้ั ๆ เพงิ่ จะแลว เสรจ็ ไปใหมๆ ใกลจ ะลว งไปแลว อทุ าหรณ เชน กโุ ต นุ ตวฺ ํ อาคจฺฉสิ ฯ ทาน ยอมมา แตทไ่ี หน หนอ ฯ - ปจ จบุ นั ใกลอ นาคต แปลวา จะ หมายถงึ เรอ่ื งราวหรอื การกระทำ นนั้ ๆ ดำเนินใกลเขา มาจวนจะถึง แตยังไมถงึ แททีเดียวอุทาหรณ เชน กึ กโรมิ ฯ (ขา) จะทำ ซึ่งอะไร ฯ ๒. ปญ จมี บอกความบงั คับ, ความหวัง และความออนวอน - บอกความบงั คบั แปลวา จง หมายถงึ การสงั่ การบญั ชา หรอื บงการใหท ำสงิ่ ใดสิ่งหนึง่ อทุ าหรณ เชน เอวํ วเทหิ ฯ (เจา) จงวา อยางนี้ ฯ - บอกความหวัง แปลวา เถิด หมายถึง ความต้ังใจหรือ ความตองการอยากจะใหเปนเชนนนั้ อทุ าหรณ เชน สพเฺ พ สตฺตา อเวรา โหนตฺ ุ ฯ สัตว ท. ท้งั ปวง เปน ผมู ีเวรหามิไดเถดิ ฯ - บอกความออนวอน แปลวา ขอ - จง หมายถึง การขอรอง หรอื วงิ วอนใหท ำส่ิงใดสง่ิ หน่งึ อุทาหรณ เชน ปพฺพาเชถ มํ ภนฺเต ฯ ขา แตทา นผูเจรญิ ขอ (ทา น ท.) จงยงั ขา พเจาใหบวช ฯ ๓. สตั ตมี บอกความยอมตาม, ความกำหนด และความรำพงึ - บอกความยอมตาม แปลวา ควร หมายถึง การเอออวยตาม หรอื ชี้ทางใหด ำเนิน อุทาหรณ เชน 34

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 35 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ภเชถ ปรุ ิสุตตฺ เม ฯ (ชน) ควรคบ ซง่ึ บรุ ุษสูงสุด ท. ฯ - บอกความกำหนด แปลวา พึง หมายถึง การคาดคะเน คือ คาดหวังวา ถาเปนอยา งน้ัน พึงทำอยางนี้ อุทาหรณ เชน ปุ ฺ เฺ จ ปุริโส กยริ า ฯ ถาวา บรุ ษุ พงึ ทำ ซ่งึ บญุ ไซร ฯ - บอกความรำพึง แปลวา พึง หมายถึง ความดำริตริตรอง นึกคิดในใจของตนเอง อทุ าหรณ เชน ยนนฺ นู าหํ ปพพฺ ชฺเชยฺยํ ฯ ไฉนหนอ (เรา) พึงบวช ฯ ๔. ปโรกขา บอกอดตี กาลไมม กี ำหนด แปลวา แลว หมายถงึ เรอ่ื งราว หรอื การกระทำนนั้ ๆ ลว งไปแลว โดยหากำหนดมไิ ดว า ไดล ว งไปแลว หรอื ทำเสรจ็ แลวเมอื่ ไร อุทาหรณ เชน เตนาห ภควา ฯ ดว ยเหตนุ ้ัน พระผมู ีพระภาค ตรสั แลว (อยา งน้)ี ฯ ๕. หิยัตตนี บอกอดีตกาลต้ังแตวานนี้ แปลวา แลว ถามี อ อยูหนา แปลวา ได – แลว หมายถึง เร่ืองราวหรือการกระทำน้ัน ๆ ลวงไป หรอื ทำเสรจ็ แลว ต้ังแตว านนี้ อุทาหรณ เชน ขโณ โว มา อปุ จฺจคา ฯ ขณะ อยา ไดเ ขาไปลวงแลว ซ่ึงทาน ท. ฯ ๖. อัชชัตตนี บอกอดีตกาลตั้งแตวันน้ี แปลวา แลว ถามี อ อยูหนา แปลวา ได – แลว หมายถึง เร่ืองราวหรือการกระทำนั้น ๆ ลวงไป หรอื ทำเสรจ็ แลวต้งั แตวนั น้ี อทุ าหรณ เชน 35

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 36 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) เถโร คามํ ปณ ฑฺ าย ปาวิสิ ฯ พระเถระ ไดเขา ไปแลว สบู าน เพือ่ ปณฑะ ฯ ๗. ภวิสสันติ บอกอนาคตกาลแหงปจจุบัน แปลวา จัก หมายถึง เร่ืองราวหรือการกระทำน้ัน ๆ อยูขางหนา แตก็จักมาถึงกลายเปน ปจจบุ นั อทุ าหรณ เชน ธมฺมํ สุณิสสฺ าม ฯ (ขา ) จักฟง ซ่ึงธรรม ฯ ๘. กาลาติปตติ บอกอนาคตกาลแหงอดีต แปลวา จัก – แลว ถามี อ อยูหนา แปลวา จักได – แลว หมายถึง กลาวถึงส่ิงลวงไปแลว นำมาสมมตขิ ึ้นใหม แตไมต รงกับความเปน จรงิ อทุ าหรณ เชน โส เจ ยานํ ลภิสฺสา, อคจฺฉสิ สฺ า ฯ ถา วา เขา จกั ไดแ ลว ซึง่ ยานไซร, (เขา) จักไดไปแลว ฯ ขอ สงั เกต วภิ ัตติ เฉพาะหมวดปญ จมีและสัตตมี ไมไ ดบงชดั วา เปน กาลอะไร แตท า นให สงเคราะหเ ขา ในปจจบุ ันกาลใกลอนาคต จงึ จัดเปนปจจบุ ันกาล วิภัตติหมวดสัตตมี มีคำแปลวา “พึง” อยู ๒ อยาง คือ บอกความกำหนด แปลวา พงึ , บอกความรำพงึ กแ็ ปลวา พงึ การจะรไู ดวา “พงึ ” บอกความกำหนด หรือ บอกความรำพึงนนั้ มีขอสงั เกตดังน้ี - ถาในประโยคใด มนี บิ าตบอกปรกิ ปั เชน เจ, สเจ, ยทิ (หากวา , ถาวา , ผิวา) กำกับอยดู ว ย ในประโยคน้ันบอกความกำหนด - ถาในประโยคใดไมมีนิบาตบอกปริกัปอยูดวย ในประโยคน้ันบอกความ รำพึง 36

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 37 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๒. บท ๒.๑ ความหมายของบท ไดม นี กั วชิ าการหลายแขนงใหค วามหมายของคำวา “บท” ไวแ ตกตา งกนั ออกไป ดังน้ี คอื ปท (นปุ.) ปทะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. อริเยหิ ปฏปิ ชชฺ ติ พฺพตฺตา คนตฺ พฺพตตฺ า ปทํ. ปท (นปุ.) มูล, เหตุ, มูลเคา, ตนเง่ือน. วิ. ปชฺชติ ผลเมเตนาติ ปทํ. ปทฺ คตยิ ํ, อ. ปท (นปุ.) ภาค, สวน, สวนเปนเคร่ืองถึง, ธรรมชาติเปนเคร่ืองถึง, เครื่องปองกัน, เคร่ืองรักษา, ความตานทาน, ขอ, ทอน, ตอน, รอย, เทา, ทาง, หนทาง, ฐานะ, สถานะ, คำ, ศพั ท, วัตถุ, พสั ด,ุ สิง่ , สงิ่ ของ, โอกาส, ขอความ. ปทฺ คติย,ํ อ. ปท (ปุ.) เทา, รอยเทา , ทาง, หน (ทาง), หนทาง. ว.ิ ปชชฺ เต เอเตนาตปิ โท. ปทฺ คตยิ ,ํ อ. หมากรกุ อ.ุ อฏ ปท หมากรกุ แถวละ ๘ ตา. ส. ปท. (พจนานุกรม มคธ-ไทย โดย พันตรี ป. หลงสมบุญ สำนักเรียน วัดปากน้ำ จดั พิมพ ๒๕๔๐ หนา ๔๔๓) บท, บท- [บด, บดทะ-] น. ขอความเรื่องหนึ่ง ๆ หรือตอนหนึ่ง ๆ เชน บทท่ี ๑ บทท่ี ๒; กำหนดคำประพันธท่ีลงความตอนหนึ่ง ๆ เชน โคลง ๔ สุภาพ ๔ บาท เปน ๑ บท; คำที่ตัวละครพูด เชน บอกบท; คำประพันธที่เขียนข้ึนสำหรับเลนละคร มีทั้งบทรองและบทเจรจา เชน บอกบท เขยี นบท; คราว, ตอน, ในคำเชน บทจะทำกท็ ำกนั ใหญ บทจะไปก็ไปเฉย ๆ บทจะตายก็ตายงายเหลือเกิน; (แบบ) เทา, รอยเทา , เชน จตุบท, ในบทกลอนใชประสมกับคำอ่นื ๆ หมายความวา เทา คอื บทบงกช บทบงสุ บทมาลย บทรชั บทศรี บทเรศ, (ดคู ำแปล ทค่ี ำนน้ั ๆ). (ป. ปท). ฯลฯ (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ) 37

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 38 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ๒.๒ ประเภทของบท ในวภิ ตั ติท้งั ๘ หมวดนน้ั แบง เปน ๒ บท คือ ๑. ปรสั สบท : บทเพอื่ ผอู ืน่ ๒. อัตตโนบท : บทเพอ่ื ตน ปรสั สบท หมายความวา ศัพทกริ ิยาท่ีประกอบดว ยวิภัตติในบทนี้ เปนกิรยิ า ของประธาน ท่สี ง ผลของการกระทำไปตกแกผ อู ืน่ คือ ผอู ื่นเปนผรู ับผลของการกระทำ ทีต่ ัวประธานกระทำขึน้ นน้ั อทุ าหรณ เชน ก. ประโยคกตั ตวุ าจก (ชโน) กาเยน กมมฺ  กโรติ ฯ (ชน) ยอมทำ ซึง่ การงาน ดว ยกาย ฯ ขอ ความนี้ ชโน (ชน) เปน ประธานและเปน ผทู ำในกริ ยิ า คอื กโรติ (ยอ มทำ) กมมฺ  (ซ่งึ การงาน) เปน กรรม คือ ถูกชนทำ ผลของการทำของชนน้ัน ไปตกอยแู กก าร งาน คือชนเปนผูทำการงาน หาตกอยแู กชนซึง่ เปน ผทู ำไม ฉะน้ัน ความทำของชนนัน้ จึงตกอยแู กก ารงานซึ่งเปนผอู ่ืนจากตน ข. ประโยคเหตุกตั ตวุ าจก สามิโก สูท โอทน ปาจาเปติ ฯ นาย ยงั พอ ครัว ใหหงุ อยู ซ่งึ ขาวสกุ ฯ ขอความน้ี สามิโก (นาย) เปนผูทำใน ปาจาเปติ (ใหหุง) ปาจาเปติ สงผล ไปยัง โอทน (ขาวสุก) เปนอันถือเอาความวา นายใหพอครัวหุงขาวสุกไดรับผลของ ปาจาเปติ คอื ถกู หงุ สวน สามิโก เปนแตผ กู อใหเ กิดผล ไมใชผถู ูกหุงโดยตรง ฉะนั้น ปรัสสบท โดยมากทานจึงบัญญัติไวเพื่อเปนเคร่ืองหมายใหรูกิริยาที่ เปน กัตตุวาจาก และ เหตกุ ัตตุวาจก 38

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 39 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò อัตตโนบท หมายความวา ศัพทกิริยาที่ประกอบดวยวิภัตติในบทนี้ เปน กริ ยิ าของประธานทส่ี ง ผลของการกระทำใหต กแกต นโดยตรง คอื ตนเองซง่ึ เปน ประธาน เปนผูรับผลของการกระทำดวยตนเอง อทุ าหรณ เชน ก. ประโยคกมั มวาจก สูเทน โอทโน ปจิยเต ฯ ขา วสุก อนั พอ ครัว หุงอยู ฯ ขอความน้ี โอทโน (ขาวสุก) เปนตัวประธาน ไดรับผลของ ปจิยเต (หุงอยู) โดยตรง สว น สูเทน เปน ผูท ำใหเ กิดผลคือหุง ผูถูกหุง คอื โอทโน จงึ ไดร บั ผลคอื ถูกหุง ดว ยตนเอง ข. ประโยคเหตุกมั มวาจก สามิเกน สูเทน โอทโน ปาจาปย เต ฯ ขาวสุก อันนายยงั พอครวั ใหหงุ อยู ฯ ขอ ความน้กี ็เชน เดยี วกนั โอทโน ซึ่งเปนตัวประธานไดรับผลคอื ถูกหุงดว ยตนเอง สว นภาววาจกไมต องกลา วถงึ เพราะเปน ธาตไุ มมกี รรม ๒.๓ ประโยชนของบท บทมีประโยชน คือ เปนเคร่ืองหมายบอกใหรูวาจก ดังท่ีกำหนดไวในสวนท่ี เปนไปโดยมาก ดงั นี้ :- กิริยาศัพทใด ประกอบดวยวิภัตติฝายปรัสสบท กิริยาศัพทนั้นเปนได ๒ วาจก คือ กตั ตุวาจก และเหตกุ ัตตวุ าจก กิริยาศัพทใด ประกอบดวยวิภัตติฝายอัตตโนบท กิริยาศัพทน้ันเปนได ๓ วาจก คือ กมั มวาจก ภาววาจก และเหตุกัมมวาจก 39

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 40 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) อนง่ึ หลกั เกณฑขางตนนี้ ถือเอาสว นทเี่ ปนไปโดยมาก แตจะนิยมแนนอนลง ไปทีเดียวไมได ถาจะใหแนนอนตองอาศัยปจจัยดวย ทั้งน้ี เพราะในบางกรณีไดมีขอ ยกเวนอยบู า ง ดงั น้ี - ในประโยคกัตตวุ าจก ใชว ภิ ัตตฝิ า ยอัตตโนบทก็มี เชน ปยโต ชายเต ภย ฯ ความกลวั ยอมเกิด จากของท่รี กั ฯ - ประโยคกัมมวาจก ใชวภิ ตั ติฝา ยปรัสสบทก็มี เชน สทโิ ส เม น วิชฺชติ ฯ คนเชน กับดวยเรา (อันใคร ๆ) ยอมหาไมไ ด ฯ ๓. วจนะ ๓.๑ ความหมายของวจนะ วจนะ แปลวา คำพูด, คำอันบุคคลกลาว หรือคำพูดอันเปนเครื่องแสดงให ทราบถึงจำนวนคน สงิ่ ของ วามีจำนวนมากนอ ยเพียงใด แตในท่ีน้ี วจนะอาขยาต หมายถึง คำพูดท่ีใชประกอบกิริยา เพื่อเปน เครอ่ื งแสดงใหรจู ำนวนของประธาน ๓.๒ ประเภทของวจนะ วจนะ แบง ออกเปน ๒ ประเภท คอื ๑. เอกวจนะ คำพดู ถึงของสิง่ เดยี ว ๒. พหวุ จนะ คำพดู ถึงของหลายสง่ิ วจนะทงั้ ๒ นี้ ตองหมายรดู วยวภิ ัตตทิ ง้ั ส้ิน ๓.๓ ความแตกตา งระหวางวจนะนามและวจนะอาขยาต วจนะนาม ใชสำหรับประกอบนาม เพ่ือเปน เคร่ืองแสดงหรือบอกจำนวนของ นามใหร วู า มากหรือนอ ย 40

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 41 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò วจนะอาขยาต ใชสำหรับประกอบกิริยา เพื่อเปนเคร่ืองแสดงใหรูวา กิริยา บทนี้ เปนกิรยิ าของบทประธานที่มจี ำนวนมากหรอื นอ ย ๓.๔ วธิ ีใชวจนะ วจนะอาขยาตน้ี มีหลกั การใช ดังนี้ :- ถาศัพทนามที่ทำหนาท่ีเปนบทประธานในประโยคเปนเอกวจนะ กิริยาศัพท ก็ตอ งประกอบดว ยวภิ ตั ตเิ ปนเอกวจนะตาม ใหม ีวจนะเปนอนั เดียวกนั เชน ภิกขฺ ุ ธมฺม เทเสติ ฯ ภิกษุ แสดงอยู ซึง่ ธรรม ฯ ถาศัพทนามที่ทำหนาที่เปนประธานในประโยคเปนพหุวจนะ กิริยาศัพทก็ ตองประกอบดว ยวิภตั ตเิ ปน พหุวจนะตาม ใหม วี จนะเปน อันเดียวกนั เชน ภกิ ขฺ ู นครํ ภกิ ฺขาย ปวิสนฺติ ฯ ภิกษุ ท. ยอมเขาไป สพู ระนคร เพ่อื ภกิ ษา ฯ ขอ สังเกต ถา ศพั ทน ามทที่ ำหนา ทเ่ี ปน บทประธานในประโยค เปน เอกวจนะหลาย ๆ บท ตง้ั แต ๒ บทขนึ้ ไป และมี จ ศพั ท ทแี่ ปลวา “ดว ย, และ” ควบอยู ตอ งประกอบกริ ิยาให เปนพหุวจนะเสมอ เพราะ จ ศพั ท เปน ศพั ททแ่ี สดงจำนวนรวม เชน เทสนาวสาเน อุปาสโก จ สา จ อติ ถฺ ี โสตาปตฺติผเล ปติฏหึสุ ฯ ในกาลเปนท่ีจบลงแหงเทศนา อุบาสกดวย หญิงนั้นดวย ดำรงอยูแลว ในโสดาปตตผิ ล ฯ นี้หมายความรวมท้ัง ๒ คน คือ อุบาสกและหญิงนั้น จึงตองใชกิริยาเปน พหวุ จนะ 41

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 42 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) สว นศพั ทน ามทท่ี ำหนา ทเ่ี ปน บทประธานในประโยค เปน เอกวจนะหลาย ๆ บท ตง้ั แต ๒ บทข้นึ ไป และมี วา ศัพท ท่ีแปลวา หรือ ควบอยดู ว ย คงประกอบกิรยิ าศัพท เปน เอกวจนะ เชน ภิกฺขุ ปเนว อทุ ฺทิสสฺ ราชา วา ราชโภคฺโว วา พรฺ าหมฺ โณ วา คหปตโิ ก วา ทูเตน จีวรเจตาปน ปหิเณยฺย ฯ พระราชา หรอื ราชอมาตย พราหมณ หรือ คฤหบดี พึงสง ซ่งึ ทรัพยสำหรับ จา ยจีวรไป ดวยทตู เจาะจง ภิกษุ ฯ นี้มิไดหมายความรวม แตหมายคนใดคนหนึ่ง ในคนท่ีกลาวถึงเหลาน้ัน จึงตอ งใชก ริ ยิ าเปนเอกวจนะ กิรยิ าศพั ทท่ตี ายตัว มกี ริ ยิ าศพั ทบ างตวั ทค่ี งรปู ตายตวั เปน เอกวจนะอยเู สมอ ไมม เี ปลย่ี นแปลง ถึง แมตัวประธานนั้นจะเปนพหุวจนะก็ตาม กิริยาศัพทนี้ไดแก อตฺถิ (มีอยู) และ นตฺถิ (ยอมไมม)ี ซง่ึ เปน พวก อสฺ ธาตปุ ระกอบดว ย ติ วิภตั ติ เอกวจนะ แปลง ติ เปน ตถฺ ิ จึงสำเร็จรูปเปน อตฺถิ สวน นตฺถิ น้ัน ตางกันแตเพียงเพ่ิม น ศัพทเขามาเพื่อเปน คำปฏิเสธเทาน้ัน ๒ กิริยาศัพทนี้ ใชไดสำหรับตัวประธาน ท้ังท่ีเปน เอกวจนะ และ พหวุ จนะ ท่ใี ชเ ปน พหวุ จนะ เชน เย สตตฺ า สฺ โิ น อตถฺ ิ ฯ สัตวทัง้ หลายเหลาใด เปน ผมู สี ัญญามอี ยู ฯ ปุตตฺ ามตถฺ ิ ฯ (ตัดบทเปน ปตุ ตฺ า - เม - อตฺถ)ิ บตุ รทงั้ หลาย ของเรา มอี ยู ฯ สงฺขารา สสสฺ ตา นตฺถิ ฯ สังขารทง้ั หลาย เปน สภาพเท่ยี ง ยอ มไมมี ฯ 42

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 43 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๔. บรุ ษุ ๔.๑ ความหมายของบรุ ษุ บุรุษ หมายถึง ผูชาย, เพศชาย คูกับสตรี ใชในลักษณะท่ีสุภาพ, คำบอก ผูพูด เรียกวา บุรุษที่ ๑, คำบอกผูท่ีพูดดวย เรียกวา บุรุษท่ี ๒, คำบอกผูที่พูดถึง เรยี กวา บุรษุ ท่ี ๓ (ความหมายของบรุ ษุ ในภาษาไทย) ปรุ ิสะ หมายถงึ บุรุษผชู าย สรปุ บรุ ษุ ในท่นี ีห้ มายถงึ เครื่องหมายสำหรบั แบงฝายบุคคลในวงสนทนา ๔.๒ ประเภทของบรุ ษุ ในวภิ ตั ตอิ าขยาต ทา นจัดบรุ ษุ ไวเปน ๓ คอื ๑. ปฐมบรุ ุษ หมายถึง บุคคลท่ีเราพดู ถึง ภาษาบาลีใช ต ศพั ท (เขา) และ นามนามทัว่ ไป ๒. มธั ยมบรุ ุษ หมายถึง บุคคลผูพดู กับเรา หรือผทู ่ีเราพูดดวย ภาษาบาลี ใช ตมุ ฺห ศพั ท (ทาน) ๓. อตุ ตมบรุ ษุ หมายถงึ ผพู ดู คอื ตวั เราเอง ภาษาบาลใี ช อมหฺ ศพั ท (เรา) (นีเ้ ปนความหมายของบุรุษในภาษาบาล)ี ๔.๓ ความแตกตางระหวา งบุรษุ นามกับบรุ ษุ อาขยาต บุรุษในนาม ใชเปนคำแทนชื่อของคน สัตว ท่ี สิ่งของ ซึ่งออกชื่อมาแลว ขางตน เพ่ือมิใหซ้ำซาก ซ่ึงมิไดจำกัดวิภัตติ โดยจะเปนวิภัตติใดวิภัตติหน่ึงก็ได ในวิภตั ตนิ ามทัง้ ๗ ดังตวั อยาง เชน เสฏ ตสฺสา คพภฺ ปรหิ ารํ อทาสิ ฯ เศรษฐี ไดใ หแ ลว ซึง่ เครือ่ งบริหารครรภ แกภรรยา นั้น ฯ ตสฺส เต อลาภา ฯ มิใชล าภท้งั หลาย ของทาน นนั้ ฯ อาจริโย หิ เอตสสฺ วฑุ ฒฺ ึ อาสสึ ติ ฯ เพราะวา อาจารย ยอมหวัง ซึ่งความเจริญ แกศ ษิ ย น่นั ฯ 43

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 44 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) สวนบุรุษในอาขยาต จำกัดใหใชไดเฉพาะแตที่เปนตัวประธานของ กิริยา คือเปนปฐมาวิภัตติเทาน้ัน วิภัตติอ่ืนหาใชไดไม นอกจากกิริยาบางตัวซึ่งเปน พวกภาววาจก ไมมีตวั ประธาน มแี ตต ัวกัตตาซ่ึงใชเ ปน ตติยาวภิ ตั ติเทา นัน้ ดังตัวอยาง เชน ประโยคกัตตวุ าจก :- ตฺวํ คจฺฉสิ ฯ อ.ทาน ยอ มไป ฯ ประโยคกมั มวาจก :- อิทํ กมมฺ ํ มยา กรยิ เต ฯ อ.กรรม น้ี อนั เรา ทำอยู ฯ ประโยคเหตุกัตตุวาจก :- อหํ มหนฺตํ สกกฺ ารํ กาเรสึ ฯ อ.เรา ยงั บุคคล ใหกระทำแลว ซ่ึงสักการะ อนั ใหญ ฯ ประโยคเหตุกมั มวาจก :- มยา สิสฺเสน สิปปฺ  สิกขฺ าปยเต ฯ อ.ศลิ ปะ อันเรา ยังศิษย ใหศึกษาอยู ฯ ๔.๔ วธิ ใี ชบ ุรษุ กิริยาศัพทท่ีประกอบดวยวิภัตติกับตัวประธาน นอกจากจะตองมีวจนะเสมอ กนั แลว ยังตองมีบุรุษตรงกันดวย คอื ถา นามนาม หรือปรุ ิสสพั พนามใด เปนประธาน ตองใชกิริยาประกอบวิภัตติใหถูกตองตามนามนาม หรือปุริสสัพพนามนั้น จะตางบุรุษ กันไมไ ด ตัวอยาง เชน ชโน ยาติ - ชนไป โส ยาติ - เขาไป 44

เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) ¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 45 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò ตฺวํ ยาสิ - เจาไป อหํ ยามิ - ขา ไป ๔.๕ วธิ ีสงั เกตบรุ ุษ อน่ึง ในเวลาพูดหรือเขียนหนังสือ แมจะไมออกช่ือปุริสสัพพนาม ใชแต วิภัตติกิริยาใหถูกตองตามบุรุษที่ตนประสงคจะออกชื่อก็เปนอันเขาใจกันไดเหมือนกัน เหมอื นคำวา เอหิ (เจา ) จงมา ถึงจะไมอ อกชอื่ ตฺวํ ก็รูไ ด เพราะ หิ วภิ ัตติ เปน ปญจมี เอกวจนะ มัธยมบุรุษ เมื่อเปนเชนนี้ก็สองความใหเห็นวาเปนกิริยาของ ตฺวํ ซ่ึงเปน มัธยมบุรุษ เอกวจนะ แมคำวา ปุ ฺ  กริสสฺ าม (ขา ท.) จกั ทำ ซึง่ บุญ ถึงจะไมอ อกชอ่ื มยํ กร็ ูไ ด โดยนยั ดงั กลา วแลว นัน้ วจนะแสดงความเคารพ ในการพูดหรือเขียนหนังสือท่ีแสดงความเคารพตอผูที่สูงกวาตน ซ่ึงเปน ผพู ดู ดว ย คือ ผนู อยพูดกับผใู หญ ปกตมิ กั นยิ มใชมัธยมบุรุษ พหุวจนะ ถึงแมว าผูพ ดู ดว ยจะเปนคนเดยี วกต็ าม ดังตวั อยา งประโยคบาลตี อไปนี้ ภิกษทุ ลู พระราชา ตํ ตมุ ฺหากํ วิชติ า นหี รถ ฯ ขอพระองค ท. จงนำเขาออกจากแวนแควน ของพระองค ท. ฯ พระราชาตรสั กับภกิ ษุ กเถถ ภนฺเต ฯ ทานผเู จรญิ ขอทา น ท. จงบอกเถดิ ฯ สว นวจนะของบรุ ษุ คอื ปฐมบรุ ษุ และอตุ ตมบรุ ษุ ไมม ที นี่ ยิ มใช ถา คนเดยี วก็ คงเปน เอกวจนะ ถา สองคนขึ้นไปก็คงเปนพหวุ จนะ ตามเดิม 45

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 46 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò แบบประเมนิ ผลตนเองกอ นเรยี น หนวยที่ ๓ วตั ถปุ ระสงค เพอื่ ประเมนิ ความรเู ดมิ ของนกั เรยี นเกย่ี วกบั เรอ่ื ง กาล บท วจนะ บรุ ษุ คำสัง่ ใหนักเรียนอานคำถาม แลววงกลมลอมรอบขอคำตอบท่ีถูกท่ีสุด เพียงขอเดยี ว ๑. ในอาขยาตแบงกาลโดยยอไวเทา ไร ? ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๖ ๒. คำวา “กาล” หมายถงึ อะไร ? ก. เวลา ข. สถานท่ี ค. ตาย ง. คำประพนั ธ ๓. ในอาขยาตแบง กาลโดยพิสดารไวเ ทา ไร ? ก. ๓ ข. ๖ ค. ๘ ง. ๙ ๔. วิภตั ติหมวดวัตตมานา บอกกาลอะไร ? ก. ปจ จบุ นั ข. อดตี ลวงแลววันน้ี ค. อนาคตของปจจบุ ัน ง. อนาคตของอดีต ๕. วภิ ัตตอิ าขยาตหมวดใด ไมบอกอดตี กาล ? ก. ปโรกขา ข. หยิ ตั ตนี ค. อชั ชัตตนี ง. กาลาติปตติ ๖. วภิ ตั ติหมวดภวสิ สนั ติ มีคำแปลประจำหมวดวาอะไร ? ก. จะ ข. แลว ค. จกั ง. จัก…แลว ๗. คำวา “ควร” เปน คำแปลของวิภตั ตอิ าขยาตหมวดใด ? ก. วัตตมานา ข. สัตตมี ค. อชั ชตั ตนี ง. ภวสิ สนั ติ เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 46

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 47 ÇÔªÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅ‹Á ò ๘. คำวา “จง, เถิด, ขอ…จง” จัดเปนกาลอะไร ? ก. ปจ จุบันใกลอนาคต ข. อดตี ลวงแลว วนั น้ี ค. อนาคตแหงปจจุบัน ง. อนาคตแหงอดตี ๙. วภิ ตั ตอิ าขยาตหมวดกาลาตปิ ต ติ ถามี อ อาคม อยูห นา แปลวาอะไร ? ก. ขอ…จง ข. ได… แลว ค. จัก…แลว ง. จกั ได…แลว ๑๐. วิภัตติอาขยาตหมวดสัตตมีบอกความกำหนด แปลวา “พึง” มีขอสังเกต อยางไร ? ก. ไมมนี บิ าตกำกับไว ข. มีนบิ าตคอื เจ, ยท,ิ สเจ อยูด ว ย ค. มีนบิ าตคอื อปเฺ ปว นาม อยดู วย ง. มีนบิ าตคือ ยนนฺ ูน อยดู ว ย ๑๑. วภิ ัตตฝิ า ยปรัสสบท เปน เคร่ืองหมายใหรูว าจกอะไร ? ก. กัตตุวาจก ข. กัมมวาจก ค. ภาววาจก ง. เหตกุ ัมมวาจก ๑๒. มิ ปญจมีวิภัตติ ข้นึ ประธานวา อะไร ? ก. ตฺวํ ข. ตมุ เฺ ห ค. อหํ ง. มยํ ๑๓. อุ อัชชตั ตนวี ภิ ัตติ ข้ึนประธานวา อะไร ? ก. โส ข. เต ค. ตวฺ ํ ง. ตมุ เฺ ห ๑๔. บรุ ษุ ในอาขยาต แบงเปน เทา ไร ? ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๕ ๑๕. สสฺ สิ ภวิสสนั ตวิ ิภตั ติ เปน บรุ ษุ และวจนะอะไร ? ก. ประถมบรุ ุษ เอกวจนะ ข. มัธยมบุรษุ เอกวจนะ ค. มธั ยมบุรษุ พหวุ จนะ ง. อุตตมบรุ ษุ เอกวจนะ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 47

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 48 ÇÔªÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅÁ‹ ò แบบประเมินผลตนเองหลงั เรียน หนว ยที่ ๓ จดุ ประสงค เพื่อประเมินผลความกาวหนาของนักเรียนเก่ียวกับเร่ือง กาล บท คำสงั่ วจนะ บรุ ษุ ใหนักเรียนอานคำถาม แลววงกลมลอมรอบขอคำตอบท่ีถูกที่สุด เพยี งขอ เดยี ว ๑. ในอาขยาตแบงกาลโดยยอไวเทา ไร ? ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๖ ๒. คำวา “กาล” หมายถึงอะไร ? ก. ตาย ข. คำประพนั ธ ค. เวลา ง. สถานที่ ๓. ในอาขยาตแบงกาลโดยพสิ ดารไวเทา ไร ? ก. ๒ ข. ๔ ค. ๖ ง. ๘ ๔. วิภตั ตหิ มวดวัตตมานา บอกกาลอะไร ? ก. อนาคตของปจจุบัน ข. อนาคตของอดีต ค. อดตี ลว งแลววันน้ี ง. ปจจบุ ัน ๕. วิภตั ติอาขยาตหมวดใด ไมบอกอดีตกาล ? ก. สัตตมี ข. ปโรกขา ค. หยิ ตั ตนี ง. อัชชตั ตนี ๖. วิภัตตหิ มวดภวิสสันติ มคี ำแปลประจำหมวดวา อะไร ? ก. จกั ข. แลว ค. จกั …แลว ง. จะ ๗. คำวา “ควร” เปนคำแปลของวิภัตตอิ าขยาตหมวดใด ? ก. สตั ตมี ข. อชั ชตั ตนี ค. ภวสิ สนั ติ ง. ปญจมี เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 48

¡ÒÃàÃÕ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 49 ÇªÔ ÒºÒÅäÕ ÇÂҡó àÅÁ‹ ò ๘. คำวา “จง, เถดิ , ขอ…จง” จัดเปนกาลอะไร ? ก. อดีตลว งแลววันนี้ ข. ปจจุบนั ใกลอนาคต ค. อนาคตแหง อดตี ง. อนาคตแหงปจจุบัน ๙. วภิ ตั ตอิ าขยาตหมวดกาลาติปต ติ ถามี อ อาคม อยูหนา แปลวา อะไร ? ก. ได…แลว ข. จักได…แลว ค. ขอ…จง ง. จัก…แลว ๑๐. วิภัตติอาขยาตหมวดสัตตมีบอกความกำหนด แปลวา “พึง” มีขอสังเกต อยา งไร ? ก. ไมมนี ิบาตกำกับไว ข. มนี ิบาตคือ อปฺเปว นาม อยดู วย ค. มีนบิ าตคอื เจ, ยทิ, สเจ อยูด ว ย ง. มีนิบาตคอื ยนนฺ นู อยดู ว ย ๑๑. วิภตั ติฝา ยปรสั สบท เปนเครอ่ื งหมายใหรวู าจกอะไร ? ก. เหตุกัมมวาจก ข. ภาววาจก ค. กมั มวาจก ง. กัตตวุ าจก ๑๒. มิ ปญ จมวี ิภัตติ ข้ึนประธานวา อะไร ? ก. อหํ ข. มยํ ค. ตวฺ ํ ง. ตุมเฺ ห ๑๓. อุ อชั ชตั ตนวี ภิ ตั ติ ขึ้นประธานวาอะไร ? ก. โส ข. ตฺวํ ค. เต ง. ตมุ ฺเห ๑๔. บรุ ษุ ในอาขยาต แบงเปน เทา ไร ? ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๖ ๑๕. สสฺ สิ ภวิสสันติวิภตั ติ เปน บรุ ษุ และวจนะอะไร ? ก. ประถมบรุ ษุ เอกวจนะ ข. มัธยมบรุ ุษ พหวุ จนะ ค. อตุ ตมบุรุษ เอกวจนะ ง. มัธยมบุรษุ เอกวจนะ เน้อื ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 49

¡ÒÃàÃÂÕ ¹ - ¡ÒÃÊ͹ 50 ÇªÔ ÒºÒÅÕäÇÂҡó àÅ‹Á ò เฉลยแบบประเมินผล หนวยที่ ๓ ขอ กอนเรียน หลงั เรยี น ๑. ก ก ๒. ก ค ๓. ค ง ๔. ก ง ๕. ง ก ๖. ค ก ๗. ข ก ๘. ก ข ๙. ง ข ๑๐. ข ค ๑๑. ก ง ๑๒. ค ก ๑๓. ข ค ๑๔. ข ก ๑๕. ข ง เนือ้ ใน ไวยากรณ (àÅÁ‹ 2) 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook