Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️สวดมนต์ฉบับหลวง ฉบับสมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว)

✍️สวดมนต์ฉบับหลวง ฉบับสมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว)

Description: ✍️สวดมนต์ฉบับหลวง ฉบับสมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว)

Search

Read the Text Version

สวดมนต์ฉบบั หลวง ของ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปุสสฺ เทว) ลขิ สิทธิ เปน็ ของ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย

คาถาสวดกอ่ นสตู รประจาวนั  ๑. นมการสทิ ธฺ ิคาถา ๒ ๗๘ ๒. สจฺจกิรยิ าคาถา ๘๐ ๓๙๒ ๓. มหาการณุ โิ กนาโถ ๒๕๙ ๘๙ ๔. ตริ ตนนมการคาถา ( โย สนนฺ สิ นิ โฺ น ) ๒๖๒ ๘๙ ๕. โคตมกเจตยิ ธมฺมปรยิ ายํ ( อภญิ ญฺ าย โข ) ๗๙ ๗๙ ๖. เขมาเขมสรณคมนปรทิ ปี กิ าคาถา ( พาหไุ เว ) ๘๕ ๗. ตริ ตนปฺปณามคาถา ( พทุ ธฺ ํ นเม ) ๓๙๔ ๔๐๖ ๘. ธมมฺ คารวาทิคาถา ( เย จ อตตี า สมพฺ ทุ ธฺ า ) ๔๐๗ ๔๐๗ ๙. ปพพฺ โตปมคาถา ( ยถาปิ เสลา วปิ ลุ า ) ๔๐๙ ๙๙ อรยิ ธนคาถา ( ยสสฺ สทธฺ า ตถาคเต ) ๒๗ ๒๘ ๑๐. พทุ ธฺ อทุ านคาถา ( ยทา หเว ) ๔๐๔ คาถาสวดตอ่ ท้ายสูตรประจาวัน  ๑. ปกฺขคณนาวธิ านคาถา ๒. อกโฺ กจฉฺ ิ มํ อวธิ มํ ๓. ตณหฺ า ทุตโิ ย ปรุ ิโส ๔. อญญฺ ถา สนฺตมตตฺ านํ ๕. วุตตฺ เญหฺ ตนตฺ ปิ าฐํ ๖. วหิ ารทานคาถา ( สตี ํ อณุ หฺ ํ ) ๗. รตนตตฺ ยปฺปภาวาภยิ าจนคาถา ( อรหํ เกา่ ) ๘. สุขาภิยาจนคาถา ( ยํ ยํ เทวมนสุ สฺ านํ ) ๙. รตนตฺตยปปฺ ภาวสทิ ธฺ คิ าถา ( อรหํ ใหม่ ) หมายเหตุ : หน้าสวดมนต์ ฉบับหลวง พมิ พ์ พ.ศ. ๒๕๓๕

หลกั สตู รสวดมนตป์ ระจาวนั วัดบวรนิเวศวหิ าร ๑. ติโรกฑุ ฑฺ กณฺฑสตุ ตฺ คาถา  ๒๖๐ นธิ ิกณฑฺ สตุ ตฺ คาถา ๒๘๐ อาทยิ สตุ ฺตคาถา ๑๐๗ ติลกขฺ ณาทคิ าถา ๒๘๓ ๑๐๔ ๑๕. อปณณฺ กสตุ ตฺ ํ ๒๖๒ ๒. ธมมฺ สงคฺ ณิ มี าตกิ าปาฐํ ๑๐๖ สุปพุ ฺพณฺหสตุ ตฺ ํ ๑๑๙ วปิ สฺสนาภมู ิปาฐํ ๑๑๘ ปฏฺฐานมาตกิ าปาฐํ ๘๐ สํวราสวํ รคาถา ๒๙๔ ภทเฺ ทกรตตฺ คาถา ๘๒ ๑๖. เมตตฺ านิสสํ สตุ ตฺ ํ ๓๗๐ ๘๔ อหริ าชสตุ ตฺ ํ ๒๘๕ ๓. กามสตุ ฺตคาถา ๘๔ จตุรปฺปมญฺญาปาฐํ คุหฏฐฺ กสตุ ตฺ คาถา ๓๕๑ ๑๗. อคคฺ ปฺปสาทสตุ ตฺ ํ ๑๖๖ ทฏุ ฐฺ ฏฐฺ กสตุ ตฺ คาถา ๓๕๒ ๑๘. สตปิ ฏฺฐานปาฐํ ๑๗๑ ๓๕๔ ๑๙. มหาสตปิ ฏฺฐานสตุ ตฺ ํ ๑๗๖ ๔. มงคฺ ลสตุ ตฺ ํ ๑๗๘ รตนสตุ ตฺ ํ ๖  ปฏฺฐาย – กายา ( ธาตุปพฺพํ ) ๑๘๖ กรณยี เมตตฺ สตุ ตฺ ํ ๘  กายา - ( นวสวี ถิกาปพฺพํ ) ๑๘๙ ขนธฺ ปรติ ตฺ คาถา ๑๓  เวทนา – จติ ตฺ า ๒๐๒ โมรปรติ ตฺ คาถา ๑๔  นวี รณ – โพชฌฺ งคฺ ๒๘๘ ฉฏฺฐํ วฏฏฺ กปรติ ตฺ ํ ๑๕  ทุกขฺ อริยสจจฺ ํ ๒๙๑ ๓๗  ทกุ ขฺ สมทุ ย – ทกุ ฺขนิโรธ ๒๙๗ ๕. ธชคคฺ สตุ ตฺ ํ ๑๗  มคคฺ – ปรโิ ยสาน ๒๖๐ อาฏานาฏิยปรติ ตฺ ํ ๒๐ ๒๐. อริยวสํ กิ สตุ ตฺ ํ ๓๐๐ องคฺ ลุ ิมาลปรติ ตฺ ํ ๒๒ ๒๑. จตปุ จจฺ ยปจจฺ เวกขฺ ณปาฐํ ๓๐๒ โพชฺฌงคฺ ปรติ ตฺ ํ ๒๓ ๒๒. อภณิ ฺหปปฺ จจฺ เวกขฺ ณปาฐํ ๓๑๕ ๒๖๖ อตุ ตุ ตฺ ยาทสิ เํ วคคาถา ๓๐๕ ๖. กายคตาสตภิ าวนาปาฐํ ๒๕๘ ๒๓. พลสตุ ตฺ ํ ๓๒๕ โมกขฺ ปุ ายคาถา ๕๑ ๒๔. ฉฬภิญญฺ าปาฐํ ๓๓๔ ๒๖๑ ๒๕. สาราณียธมมฺ สตุ ตฺ ํ ๓๓๗ ๗. ธมมฺ จกกฺ ปปฺ วตตฺ นสตุ ตฺ ํ ๖๗ ๒๖. อนตุ ตฺ ริยสตุ ตฺ ํ ๓๓๘ ภารสตุ ตฺ คาถา ๗๒ ๒๗. ภิกขฺ อุ ปริหานิยธมฺมสตุ ตํ ๓๔๔ ๕๗ ๒๘. มคคฺ วภิ งคฺ สตุ ตฺ ํ ๑๑๖ ๘. อนตตฺ ลกขฺ ณสตุ ตฺ ํ ๒๗๖ อฏฺฐงคฺ ิกมคคฺ คาถา ๓๔๘ ๙. อาทติ ตฺ ปริยายสตุ ตฺ ํ ๒๗๕ ๒๙. โลกธมมฺ สตุ ตฺ ํ ๑๐. มหาสมยสตุ ตฺ ํ ๒๗๓ ๓๐. โคตมสี ตุ ตฺ ํ ๑๑. พฺยากตาพฺยากตวตฺถทวฺ ยํ ๒๖๙ ๓๑. ทสธมฺมสตุ ตฺ ํ ๑๒. ปหานภาวนาสตุ ตฺ ํ ๒๗๙ ๓๒. ทสนาถกรณธมมฺ สตุ ตฺ ํ กรณยี ากรณียสตุ ตฺ ํ ๑๓. โอวาทปาฏิโมกขฺ าทปิ าฐํ ๑๔. ธมมฺ นยิ ามสตุ ตฺ ํ

คาแถลง ---------- หนังสอื สวดมนต์ฉบบั หลวงน้ี พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ได้ทรงอาราธนาสมเด็จพระสงั ฆราช ( ปุสฺสเทว ) แต่คร้ังยัง ทรงดารงสมณศกั ด์ิเปน็ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ใหจ้ ัดรวบรวมข้ึน แล้วโปรดให้พิมพ์เป็นส่วนทรงพระราชศรัทธาสร้างและได้พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้เอกชนพมิ พ์อีกหลายครั้ง ด้วยทรงมีพระราช- ปรารภดังปรากฏในคานาพมิ พค์ ร้ังท่ี ๑ ท่ี ๓ แลว้ . ปรากฏว่าไดม้ ี เอกชนตา่ งรายพิมพ์ขึ้นหลายคราว, ต่อมา มหามกฏุ ราชวิทยาลัยได้ รบั มาจาหน่าย และได้จัดพมิ พข์ ้นึ เองโดยตรง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ ใน การพิมพ์ศกนน้ั สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ ( ญาณวร ) วัดเทพศิรนิ - ทราวาส ได้ตรวจชาระและไดเ้ พิม่ เติมเข้าอีกบา้ ง โดยพระอนมุ ัติของ พระเจา้ วรวงศ์เธอ กรมหลวงชนิ วรสริ ิวัฒน์ สมเด็จพระสงั ฆราชเจา้ , ตอ่ มาก็ไดจ้ ัดพิมพข์ ึ้นตามคราว. ในการพมิ พ์คร้งั น้ี ได้เพิ่มเติมบทสวดตา่ ง ๆ เข้าอกี และได้ พิมพ์ระเบียบการสวดมนต์ในพระราชพธิ ีตา่ ง ๆ ทที่ างคณะสงฆไ์ ด้ กาหนดไว้ซึ่งใชอ้ ยใู่ นปัจจบุ นั นี้รวมไว้ด้วย, บทท่ีเพ่มิ ข้ึนใหม่ ได้บอก ไวท้ า้ ยชอื่ บทนน้ั ๆ ในสารบาญแล้ว. แผนกตารา มหามกฏุ ราชวิทยาลัย ๑๐ ตุลาคม ๒๔๙๖

คานา พิมพ์ครงั้ ที่ ๓ ---------- หนงั สือสวดมนตแ์ บบนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่- หัว ทรงพระราชศรทั ธาสรา้ งข้ึนด้วยพระราชประสงค์ จะให้เป็นแบบ ฉบบั สาหรับพระสงฆส์ ามเณรจะไดจ้ าทรงสาธยายเป็นกจิ วัตร ดว้ ย เมื่อครงั้ รัตนโกสินทร์ ศก ๙๙ เสด็จออกบาเพ็ญพระราชกศุ ลในการ พระศพ สมเด็จพระนางเจ้าสนุ นั ทากมุ ารีรตั น พระบรมราชเทวี แลสมเด็จพระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟา้ กรรณาภรณ์เพชรรัตน ท่ีหอธรรม สังเวช ไดท้ รงสดับพระสงฆ์สวดมหาสตปิ ัฏฐานสูตรพรกั พรอ้ มเรียบ ร้อยดี เป็นเหตุเฉลิมพระราชศรทั ธา จึงทรงอาราธนาสมเด็จพระ สังฆราช ซ่ึงสถิต ณ วดั ราชประดษิ ฐสถติ มหาสีมาราม แตค่ ร้ังยังเป็น สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ ไดจ้ ดั รวบรวมพระสตู รและพระปริตร ตา่ ง ๆ ให้พอเพียงสาเร็จประโยชน์ ในการท่พี ระสงฆส์ ามเณรจะเลา่ บน่ สาธยาย รวมเปน็ เล่มเรียกหนงั สอื สวดมนต์ พมิ พ์ท่โี รงพมิ พ์หลวง ในครง้ั นัน้ หมนื่ ฉบับ พระราชทานไวส้ าหรับพระอารามทวั่ กนั ไป ใน การพระราชกศุ ลงานพระเมรุสมเดจ็ พระนางเจ้าสนุ ันทากมุ ารีรตั น พระ บรมราชเทวี แลสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอเจา้ ฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรตั น ณ ทอ้ งสนามหลวงในศกน้ัน ตงั้ แตน่ น้ั มาหนงั สอื สวดมนตม์ ีแพรห่ ลาย มากกวา่ ก่อน ท้งั เป็นแบบฉบบั สาหรับตัดสนิ ปาฐะทีพ่ ระสงฆ์สวด คลาดเคล่ือนให้เป็นแบบเดยี วกัน เป็นการสะดวกแกผ่ จู้ ะจาทรงสาธยาย

ข นับว่าเปน็ เครือ่ งสาเรจ็ ประโยชนแ์ ก่พระสงฆใ์ นกจิ วตั รน้ี เป็นเหตุเฉลมิ พระราชศรทั ธาย่ิงขน้ึ จงึ ทรงอาราธนาสมเด็จพระสงั ฆราชใหต้ รวจตน้ ฉบับแลจัดพระสูตรเพิ่มเติมเขา้ อกี บ้างตามสมควร แลโปรดเกลา้ ฯ ให้ พิมพ์ทโี่ รงพมิ พห์ ลวง อกี วาระหน่ึง สามพันฉบบั พระราชทานเพิม่ เตมิ ไวส้ าหรบั พระอารามนั้น ๆ อกี ในการพระราชกศุ ลงานพระเมรุ สมเด็จพระเจ้าลกู เธอเจ้าฟ้าพาหุรดั มณีมยั สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ ตรีเพช็ รตุ มธารง สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอเจ้าฟ้าศิริราชกกธุ - ภณั ฑ์ แลพระอรรคชายาเธอพระองค์เจา้ เสาวภาคนารีรตั น ณ ท้อง สนามหลวง เมอ่ื รตั นโกสนิ ทรศก ๑๐๖ ตอ่ นน้ั มากไ็ ดพ้ ระราชทาน พระบรมราชานญุ าตให้แก่เอกชนผมู้ ีศรัทธา แลปรารถนาจะโดยเสด็จ ในพระราชกศุ ลนไ้ี ดพ้ มิ พ์ตามประสงค์หลายคร้ัง หนงั สอื นถี้ งึ จะมีมาก ขึ้นเพยี งไรแลว้ ก็ยังเปน็ ของตอ้ งการอยู่เสมอ ครั้งนที้ รงพระราช- ศรัทธาจะบารุงพระพทุ ธศาสนาแลการศกึ ษาในหวั เมอื ง ให้เจรญิ ตาม ในกรุง จึงทรงอาราธนาพระเจ้านอ้ งยาเธอกรมหมื่นวชริ ญาณวโรรส ใหเ้ ป็นผบู้ ัญชาการ จัดพระราชาคณะออกไปเป็นผูอ้ านวยการใน หัวเมืองมณฑลละรปู แลโปรดเกลา้ ฯ ให้พระเจา้ น้องยาเธอกรมหลวง ดารงราชานุภาพ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยเป็นผู้อดุ หนนุ ทวั่ ไป มี พระราชประสงค์จะทรงบารงุ การสวดมนต์ ซง่ึ เปน็ กจิ วตั รของพระสงฆ์ จงึ ทรงบรจิ าคพระราชทรพั ย์ใหเ้ จา้ หน้าท่ีจัดการพมิ พ์หนังสอื สวดมนต์ข้ึน ตามแบบเดมิ ๑,๕๐๐ ฉบับ เพอื่ พระราชทานเพิ่มเติมไว้สาหรับวัด ในกรุงแลหัวเมืองอกี คราวนี้ พระเจ้านอ้ งยาเธอกรมหมื่นวชริ ญาณ-

ค วโรรสทรงตรวจฉบับ พระเจา้ นอ้ งยาเธอกรมหลวงดารงราชานภุ าพ ทรงจดั การสรา้ ง สาเรจ็ บรบิ ูรณ์ในรัตนโกสินทรศก ๑๑๙ เดชะพระ ราชกุศลน้ี จงเปน็ อุปถัมภกปัจจัย อภิบาลพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอม- เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ใหท้ รงพระเจริญดว้ ยพระราชอิศรยิ ยศเดชานุภาพและ พระเกยี รตคิ ณุ บุญบารมี ทรงพระเกษมสขุ นริ ทกุ ขน์ ิรภยั ดารงราช มไหยศวรรย์สมบัติ ปกครองรัชสมี ามณฑลสกลสตั รกุ ษยั เทอญ.

คานา พมิ พ์ครั้งที่ ๑ ---------- ศุภมศั ดุ พระพุทธสาสนกาล เป็นอดตี ภาคล่วงแลว้ ๒๔๒๓ พรรษา ปตั ยบุ ันกาล มังกรสงั วจั ฉระ อุตราสาธมาศชณุ หปักษ เตรสี ดถิ ีศศิวารปริเฉทกาลกาหนด พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- จฬุ าลงกรณ์ บดนิ ทรเทพยมหามงกฎุ บรุ ษุ ยรตั นราชรววิ งษ์ วรุดม พงษบรพิ ตั รวรขัตตยิ ราชนกิ โรดม จาตุรนั ตบรมมหาจักรพรรดริ าช สังกาศ บรมธรรมกิ มหาราช บรมนารถบพิตร พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั เสด็จพระราชดาเนิน ไปประทบั ณ หอธรรมสงั เวช ทรง บาเพญ็ พระราชกุศลในการพระศพสมเด็จพระนางเจา้ สนุ ันทากุมารีรตั น พระบรมราชเทวี แลสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้ากรรณาภรณเ์ พชร รตั น์ โสภางคท์ ศั นิยลักษณ อรรควรราชกุมารี ได้ทรงสดับพระสงฆ์ สวดถวายมหาสตปิ ัฏฐานสตู ร พรกั พรอ้ มเรยี บร้อยดี ทรงกาหนด ความตามไป เปน็ ที่เฉลิมพระบรมราชศรัทธา ทรงพระราชดารจิ ะ ทรงสร้างหนงั สอื สวดมนต์ รวมพระสูตรแลพระปรติ รต่าง ๆ ลงพมิ พ์ ผกู เปน็ เล่มพระราชทานแด่พระสงฆ์ทั่วไปทกุ พระอาราม เพ่ือเป็นการ พระราชกุศล ในคราวพระเมรุ การพระศพสมเด็จพระนางเจ้าสนุ นั ทา กมุ ารีรตั น พระบรมราชเทวี แลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟา้ กรรณา- ภรณเ์ พชรรัตน์ โสภางคท์ ศั นิยลกั ษณ อรรควรราชกุมารี จึงทรงมี พระบรมราชโองการ ดารัสเผดียงอาราธนา สมเด็จพระพุทธโฆษา-

ง จาริยญาณอดุลยสนุ ทรนายก ตรีปฎิ กวิทยาคุณ วบิ ลุ ยคมั ภีรญาณสนุ ทร มหาอุดรคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสีอรัญญวาสี สถติ ย ณ วัด ราชประดษิ ฐ์ สถิตยมหาสีมาราม วรวิหารพระอารามหลวง ใหจ้ ัด รวบรวมพระสูตร แลพระปรติ รตา่ ง ๆ ที่ได้ตพี มิ พ์ไวแ้ ล้วบ้าง แลจัด เพม่ิ เติมขึน้ ใหมบ่ า้ ง ใหพ้ อเพียงสาเรจ็ ประโยชน์ ในการทีพ่ ระสงฆ์ สามเณรจะเล่าบน่ สาธยาย ท้ังคณะธรรมยุตกิ นกิ าย แลมหานิกาย ท่ัวไป ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า ฯ ให้พระเจ้าราชวงศเ์ ธอ กรมขนุ บดนิ ทรไพศาลโสภณเป็นแมก่ องลงพมิ พอ์ ักษรไทยแทนขอม ใช้ตาม มคธภาษา โปรดเกล้า ฯ ใหพ้ ระเจ้าน้องยาเธอ พระองคเ์ จา้ สวัสดิ- ประวตั ิ เป็นผูส้ อบทานตรวจตราให้ถูกถ้วนบรบิ รู ณ์ ได้ตีพิมพ์ ณ โรงพมิ พ์หลวง ในพระบรมมหาราชวงั ๑๐,๐๐๐ ฉบับ เสร็จ ณ วนั ที่ ๕ เดอื น ๓ แรม ๔ คา่ ปมี ะโรงโทศก ศักราช ๑๒๔๒ ทรงพระราช อุทศิ ส่วนพระราชกศุ ลน้ี พระราชทานแด่สมเด็จพระนางเจ้าสนุ นั ทา กุมารีรตั น พระบรมราชเทวี และสมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟ้ากรรณา- ภรณ์เพชรรตั น์ โสภางคท์ ศั นิยลักษณ อรรควรราชกมุ ารี จงสาเรจ็ เป็นการเก้ือกูล ใหเ้ กิดสขุ แลประโยชน์อิฐวบิ ลุ ยผล ในปรภพภายหนา้ เทอญ.

สารบาญ หน้า ก ”ฉ วธิ ีอ่าน ”ฐ นมสั การและบูชาพระเจดยี ์ ”ฑ คานมัสการเวลาเช้ากอ่ นทาวัตร คานมัสการเวลาค่าก่อนทาวตั ร ”๑ ”๒ จลุ ราชปรติ ร เจด็ ตานาน ”๓ สรชฺชํ นโม พุทธฺ ํ ”๔ นมการสทิ ฺธคิ าถา ”๕ สมฺพทุ ฺเธ ”๖ นโมการอฏฺฐกํ ”๘ เย สนฺตา ” ๑๒ มงคฺ ลสตุ ตฺ ํ ” ๑๔ รตนสตุ ตฺ ํ ” ๑๕ กรณียเมตฺตสตุ ตฺ ํ ” ๑๗ ขนธฺ ปรติ ตฺ คาถา ” ๒๐ โมรปริตฺตํ ” ๒๒ ธชคฺคปรติ ฺตํ ธชคคฺ สุตฺตํ ” ๒๓ อาฏานาฏยิ ปรติ ตฺ ํ องคฺ ุลิมาลปริตตฺ ปุพฺพกํ โพชฺฌงคฺ ปริตตฺ ํ

ยนฺทุนฺนมิ ิตตฺ ํ ทุกฺขปฺปตฺตา จ นทิ ฺทุกขฺ า ๒ มหาการุณิโก นาโถ รตนตตฺ ยปฺปภาวาภิยาจนคาถา หน้า ๒๔ สขุ าภิยาจนคาถา ” ๒๕ มงคลจักกวาฬใหญ่ ” ๒๗ ภวตุ สพพฺ มงฺคลํ นกฺขตตฺ ยกขฺ ภูตานํ ” ๒๘ ” ๒๙ มหาราชปรติ ร สบิ สองตานาน ” ๓๐ สรชฺชํ นโม พุทฺธํ สมพฺ ทุ ฺเธ ” ๓๒ นโมการอฏฺฐกํ เย สนฺตา มงฺคลสตุ ฺตํ ” ๓๓ รตนสุตฺตํ ” ๓๔ กรณยี เมตตฺ สุตตฺ ํ ขนฺธปรติ ฺตํ ฉทฺทนตฺ ปรติ ตฺ าปรํ ” ๓๕ โมรปรติ ฺตํ ” ๓๖ วฏฏฺ กปริตตฺ ํ ” ๓๗ ธชคคฺ ปริตตฺ ํ ธชคคฺ สตุ ฺตํ อาฏานาฏิยปริตฺตํ ” ๓๘ องคฺ ลุ ิมาลปริตฺตํ ” ๔๓ โพชฌฺ งคฺ ปรติ ตฺ ํ อภยปรติ ตฺ ํ ” ๔๔ ชยปรติ ฺตํ ” ๔๕ รตนตตฺ ยปปฺ ภาวาภยิ าจนคาถา สุขาภิยาจนคาถา ” ๔๖ มงคลจักกวาฬใหญ่ ” ๔๖ ปาฐนตฺ รนิทสฺสนํ คาแสดงบทแปลก ” ๔๘

ธมฺมจกฺกปฺปวตตฺ นสุตฺตํ ๓ มหาสมยสุตฺตํ อนตฺตลกฺขณสุตฺตํ หน้า ๕๑ อาทิตตฺ ปริยายสตุ ฺตํ ” ๕๗ พิมพฺ สิ ารสมาคเม ปจุ ฺฉาปฏญิ ฺญาคาถา ” ๖๗ บอกกาลที่จะสวด ๔ สูตร ” ๗๒ สจจฺ กริ ิยาคาถา ” ๗๕ ปพฺพโตปมคาถา อริยธนคาถา ” ๗๗ มหาการุณโิ ก นาโถ ธมมฺ สงคฺ ิณมี าติกาปาโฐ ” ๗๘ วปิ สสฺ นาภมู ิปาโฐ ” ๗๙ ปฏฐฺ านมาติกาปาโฐ ภทเฺ ทกรตตฺ คาถา ” ๘๐ พทุ ธฺ อทุ านคาถา ” ๘๒ ” ๘๔ ---------- ” ๘๕ วิธีสวดเจ็ดตานานอยา่ งธรรมยตุ ตกิ นิกาย ” ๘๖ วธิ ีสวดมนต์อยา่ งใหมใ่ นปัจจบุ ันน้ี ” ๘๗ เขมาเขมสรณคมนปริทปี ิกาคาถา ธมมฺ คารวาทคิ าถา ” ๘๙ อคฺคปฺปสาทสตุ ฺตคาถา ถวายพรพระ ” ๙๑ ถวายชยั มงคลในการมีพระฤกษ์ ” ๙๔ พุทฺธมงฺคลคาถา ” ๙๕

๔ อนุโมทนาวิธี หนา้ ๙๕ ” ๙๖ ยถา วารวิ หา ปรู า ” ๙๗ สพพฺ ตี โิ ย บอกกาลทจ่ี ะสวดอนโุ มทนาวิเสส ” ๙๘ มงคลจักกวาฬน้อย ” ๙๙ เกณิยานุโมทนาคาถา ” ๑๐๐ กาลทานสุตฺตคาถา วิหารทานคาถา ” ๑๐๐ เทวตาทิสสฺ ทกขฺ ิณานุโมทนาคาถา ” ๑๐๑ เทวตาภสิ มฺมนตฺ นคาถา ” ๑๐๔ ปริตฺตกรณปาโฐ ” ๑๐๖ นิธิกณฑฺ ํ ” ๑๐๖ สงคฺ หวตถฺ ุคาถา โภชนาทานานโุ มทนาคาถา ” ๑๐๗ อาทยิ สุตตฺ คาถา ” ๑๐๙ ติโรกุฑฑฺ กณฑฺ ํ ” ๑๑๐ สจฺจปานวธิ ยานรุ ูปคาถา วนโรปนสุตตฺ คาถา ” ๑๑๑ อฏิ ฺฐสุตฺตคาถา มนาปทายิสตุ ฺตคาถา บอกชื่ออนโุ มทนาวธิ ี ๒ อย่าง จตพุ ภาณวาร คาเร่ิมภาณวาร ” ๑๑๒ ” ๑๑๓ ปฐมภาณวาร ติสรณคมนปาโฐ ทสสิกขฺ าปทปาโฐ สามเณรปญหฺ ปาโฐ

ทวฺ ตฺตสึ าการปาโฐ ตงฺขณกิ ปปฺ จฺจเวกขฺ ณปาโฐ ๕ ทสธมฺมสุตฺตปาโฐ หนา้ ๑๑๔ มงฺคลสตุ ตฺ ปาโฐ รตนสุตฺตปาโฐ กรณียเมตฺตสุตฺตปาโฐ อหริ าชสตุ ตฺ ปาโฐ ” ๑๑๖ เมตฺตานสิ ํสสตุ ฺตปาโฐ ” ๑๑๗ เมตฺตานสิ ํสคาถาปาโฐ ” ๑๑๘ โมรปรติ ฺตปาโฐ ” ๑๑๙ จนทฺ ปรติ ตฺ ปาโฐ ” ๑๒๐ สรุ ิยปรติ ตฺ ปาโฐ ” ๑๒๑ ธชคฺคสุตตฺ ปาโฐ ” ๑๒๒ ” ๑๒๓ ทตุ ยิ ภาณวาร ” ๑๒๔ มหากสฺสปโพชฌฺ งฺคสตุ ฺตปาโฐ มหาโมคฺคลฺลานโพชฌฺ งฺคสตุ ฺตปาโฐ ” ๑๔๒ มหาจุนทฺ โพชฺฌงฺคสุตฺตปาโฐ ” ๑๒๖ ” ๑๒๘ ตติยภาณวาร คริ ิมานนทฺ สตุ ตฺ ปาโฐ ” ๑๓๐ อสิ คิ ลิ สิ ุตตฺ ปาโฐ ” ๑๓๖ จตตุ ถภาณวาร ” ๑๔๕ อาฏานาฏยิ สุตฺตสสฺ ปุพฺพภาโค ” ๑๕๒ อาฏานาฏิยสตุ ฺตสฺส ปจฺฉมิ ภาโค

๖ คาเรม่ิ มหาสติปัฏฐานสูตร หน้า ๑๖๕ มหาสตปิ ฏฐฺ านสุตตฺ ปาโฐ ” ๑๖๖ ” ๑๖๖ อทุ ฺเทโส ” ๑๗๖ กายานุปสสฺ นาสติปฏฺฐานํ ” ๑๗๗ เวทนานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ” ๑๗๘ จติ ฺตานปุ สฺสนาสติปฏฺฐานํ ” ๒๐๙ ธมฺมานปุ สฺสนาสติปฏฺฐานํ บอกแก้ปาฐะทเ่ี คลอ่ื นคลาด และบอกวธิ ีเปยยาล สวดยอ่ ” ๒๑๘ ” ๒๒๑ วัตร ” ๒๒๕ ” ๒๒๗ ทาวตั รพระ ” ๒๒๘ บอกวัตร บอกวัตร บอกศักราช ” ๒๒๙ บอกวัตร ” ๒๓๐ บอกนิกเขปคาถาแสดง ๒๗ นักษัตร ” ๒๓๑ สวดแจง ” ๒๓๒ พระวนิ ยั พระสตู ร พระอภิธรรม พระสังคณี พระวภิ งั ค์ พระธาตกุ ถา พระปคุ คลปัญญตั ติ พระกถาวตั ถุ

พระยมก พระมหาปฏั ฐาน ๗ ---------- หน้า ๒๓๓ คาถาสาหรบั พระราชพธิ ี ” ๒๓๕ คาถาสวดเมอ่ื จุดเทียนชัย คาถาสวดเมื่อดบั เทียนชยั ” ๒๓๗ คาถาสวดเม่อื จุดเทียนชัยพระราชพิธีพรณุ ศาสตร์ ” ๒๓๗ คาถาสวดพระราชพธิ ีพรณุ ศาสตร์ ” ๒๔๐ คาถาสวดขอฝน ” ๒๔๒ คาถาพชื มงคล ” ๒๔๕ ---------- ” ๒๔๖ ” ๒๔๙ สวดมนต์อยา่ งธรรมยุตตกิ นิกาย ” ๒๕๑ ” ๒๕๓ นมการปาโฐ สรณคมนปาโฐ คาํ สมาทานสิกขาบท ๕ ” ๒๕๗ คําสมาทานอโุ บสถ คําปจั จเวกขณองคอ์ ุโบสถ ” ๒๕๘ ทาํ วตั รเชา้ ” ๒๕๙ สํเวคปริกติ ฺตนปาโฐ ” ๒๖๐ ทาํ วตั รคํ่า ” ๒๖๑ สรณคมนานุสสฺ รณคาถา โมกขฺ ปุ ายคาถา โคตมกเจติยธมฺมปริยาโย อุตตุ ฺตยาทิสํเวคคาถา ติลกขฺ ณาทิคาถา ภารสตุ ฺตคาถา

สํวรคาถา ตริ ตนปฺปณามคาถา ๘ ปตตฺ ทิ านคาถา สีลทุ ฺเทสปาโฐ ตายนคาถา หนา้ ๒๖๒ กายคตาสติภาวนาปาโฐ ” ๒๖๔ วปิ สสฺ นานยปาโฐ ” ๒๖๕ โอวาทปาฏโิ มกขฺ าทปิ าโฐ ” ๒๖๖ กรณยี ากรณียสุตตฺ ปาโฐ ” ๒๖๘ ปหานภาวนาสุตฺตํ ” ๒๖๙ พฺยากตาพยฺ ากตวตฺถทุ ฺวยํ ” ๒๗๓ ธมฺมนยิ ามสุตตฺ ํ ” ๒๗๕ อปณณฺ กสุตฺตํ ” ๒๗๖ สุปพุ พฺ ณฺหสตุ ฺตํ ” ๒๗๙ สติปฏฺฐานปาโฐ ” ๒๘๐ อรยิ วํสิกสตุ ตฺ ํ ” ๒๘๓ จตปุ ปฺ จฺจยปจฺจเวกขณปาโฐ ” ๒๘๕ จตุรปฺปมญญฺ าปาโฐ ” ๒๘๘ จตุชฌฺ านปาโฐ ” ๒๙๑ อภิณหฺ ปจฺจเวกฺขณปาโฐ ” ๒๙๔ พลสตุ ฺตํ ” ๒๙๖ ฉฬภิญญฺ าปาโฐ ” ๒๙๗ ” ๓๐๐ ” ๓๐๒

๙ อนุตฺตรยิ สตุ ตฺ ํ หน้า ๓๐๕ ฉนิสฺสารณยิ ธาตุสตุ ตฺ ํ ” ๓๑๑ สาราณยี ธมมฺ สตุ ฺตํ ” ๓๑๕ สาวตฺถีนิทานอาทติ ตฺ ปริยายสตุ ฺตํ ” ๓๑๘ ลิจฺฉวีอปรหิ านิยธมมฺ สุตฺตํ ” ๓๒๓ ภกิ ขฺ อุ ปรหิ านิยธมฺมสุตฺตํ ” ๓๒๕ เมถนุ สงโฺ ยคสุตฺตํ ” ๓๒๘ มคฺควิภงคฺ สตุ ตฺ ํ ” ๓๓๔ อฏฐฺ งคฺ ิกมคคฺ คาถา ” ๓๓๗ โลกธมมฺ สตุ ฺตํ ” ๓๓๘ โคตมสี ุตตฺ ํ ” ๓๔๔ นวาฆาตวตถฺ ปุ ริทีปกปาโฐ นวาฆาตปฏวิ ินยปรทิ ปี กปาโฐ ” ๓๔๖ ทสนาถกรณธมมฺ สตุ ฺตํ ” ๓๔๘ กามสุตตฺ ํ ” ๓๕๑ คุหฏฐฺ กสุตตฺ ํ ” ๓๕๒ ทุฏฺฐฏฺฐกสุตตฺ ํ ” ๓๕๔ ปฐมํ มรณสฺสติสุตตฺ ํ ” ๓๕๖ ทตุ ยิ ํ มรณสสฺ ติสตุ ฺตํ ” ๓๖๐ ขนธฺ วภิ ชนปาโฐ ” ๓๖๔ รปู กมมฺ ฏฐฺ านารปู กมฺมฏฺฐานปาโฐ ” ๓๖๗

อคฺคปปฺ สาทสุตฺตํ ๑๐ อาราธนาศลี อาราธนาปรติ ร อาราธนาธรรม หน้า ๓๗๐ ปธานสุตตฺ ํ ” ๓๗๒ ปฐมํ สมฺมปปฺ ธานสตุ ฺตํ ” ๓๗๓ ทตุ ยิ ํ สมฺมปปฺ ธานสตุ ฺตํ ” ๓๗๔ อิทธฺ ปิ าทปาโฐ ” ๓๗๗ อินฺทฺรยิ สุตฺตํ ” ๓๗๘ โพชฺฌงฺคสตุ ฺตํ ” ๓๗๙ สปฺปรุ สิ ธมมฺ สุตฺตํ ” ๓๘๐ อริยธนสตุ ฺตํ ” ๓๘๓ ติรตนนมการคาถา ” ๓๘๔ นวรหคุณคาถา ” ๓๙๐ ปกขฺ คณนาวิธานคาถา ” ๓๙๒ ปตฺติทานคาถา ” ๓๙๓ ติโลกวชิ ยราชปตฺติทานคาถา ” ๓๙๔ ประกาศโบสถ์ ” ๓๙๕ อาราธนาธรรมอย่างพิสดาร ” ๓๙๖ รตนตฺตยปปฺ ภาวสทิ ธฺ ิคาถา ” ๓๙๗ คาถาท่ีสวดต่อจากยถา ..... สพฺพี......ทใี่ ช้ในราชการ ” ๓๙๙ ” ๔๐๔ ” ๔๐๕

ถวายอติเรก ( จิรนฺธรตุ ) ๑๑ คาถาพิเศษใชส้ วดตอ่ ท้ายสตู ร คาถาศราทธพรต หน้า ๔๐๖ วุตฺตเญฺหตนตฺ ิปาโฐ ” ๔๐๖ บอกศักราช ( เพมิ่ ใหม่ ) ” ๔๐๘ คาํ ถวายอตเิ รก ( เพม่ิ ใหม่ ) ” ๔๐๙ ระเบียบสําหรบั สงฆ์ปฏิบัตใิ นการพระราชพธิ ี ” ๔๑๑ ” ๔๑๖ และรัฐพธิ ี ( เพ่ิมใหม่ ) ---------- ” ๔๑๙

วธิ อี า่ นอกั ษรไทยเปน็ ภาษามคธ ---------- จะแสดงวธิ ีอ่านคาสวดมนตไ์ หวพ้ ระที่เขยี นดว้ ยอกั ษรไทย ให้ ผู้อ่านไดส้ าเหนียกสังเกตจาแล้ว จะได้อา่ นและลอกคัดเขียนตามวธิ ีชอบ อนั ถกู ต้องแก่คาสวดมนต์ไหวพ้ ระ ซง่ึ ตีพมิ พ์และเขียนด้วยอกั ษรไทยน้ี กแ็ ลคาในภาษามคธ เม่อื เขยี นดว้ ยอักษรไทยจะให้ถกู ถ้วน เปลือง ตวั อกั ษรมาก เพราะกระบวนอกั ษรไทยไม่มีอักษรซ้อน เปน็ แต่ เรยี งไปตามบรรทดั ครัน้ จะยกั ลักษณะให้สงั เกตในทีอ่ กั ษรซ้อน และจะย่นใหน้ ้อยตัวอกั ษร ก็จะเป็นความลาบากแกผ่ ู้อา่ น ผอู้ า่ น จะไมส่ าเหนียกตาม คดิ จะใหม้ ีฉบับมากลงพิมพ์ไว้ กจ็ ะหาให้สาเร็จ ประโยชน์ไม่ เมื่อจดั เรยี บเรยี งไปตามที่เคยอ่านเคยเขียน เป็นแต่ยกั เยอื้ งเครื่องหมายประดับเข้าบ้างเล็กน้อย พอควรแก่ภาษามคธ ผ้อู า่ น และผลู้ อกคดั สงั เกตง่าย ก็จะได้สาเหนยี กตาม ลงพิมพ์ไว้ก็จะได้ เปน็ คุณแก่ผไู้ มร่ ู้อักษรขอม อยากเลา่ คาสวดมนตไ์ หว้พระซ่งึ เปน็ ภาษามคธ จะไดอ้ า่ นตามหนังสือพมิ พเ์ ลา่ จาไวท้ อ่ งสาธยาย ตาม ปรารถนา. อกั ษรท่ใี ชใ้ นภาษามคธนั้น ๔๑ เปน็ สระ ๘ พยญั ชนะ ๓๓ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๘ น้ี สระ า ิ ี ุ ู เ โ   

วิธีอา่ นอักษรไทยเปน็ ภาษามคธ ข กขคฆง จฉชฌญ ฏฐฑฒณ ตถทธน ปผพภม ยลรวสหฬ ํ ๓๓ น้ี พยญั ชนะ. กํ กึ กไุ ขํ ขึ ขไุ ฯ ล ฯ ฬๆ ฬึ ฬๆุ นี้ อา่ นตามนิยม ในภาษามคธ กํ อ่านว่า กัง กึ อา่ นวา่ กงิ กไุ อ่านว่า กงุ ขํ อ่านวา่ ขัง ขึ อา่ นวา่ ขิง ขไุ อา่ นวา่ ขุง จนถึง หํ อ่านวา่ หัง หึ อ่านว่า หงิ หไุ อ่านวา่ หุง ฬๆ อา่ นว่า ฬงั ฬึ อ่านว่า ฬงิ ฬๆุ อา่ นวา่ ฬุง อันนที้ ่ีสังเกตอันหนงึ่ . อกั ษรสงั โยค อักษรสะกด และอักษรกลา้ ท้งั ปวง หมายด้วย กฺ คฺ จฺ ชฺ ฏฺ ฑฺ ฒฺ ตฺ ทฺ สฺ ญฺ ณฺ นฺ ลฺ ปฺ พฺ มฺ ยฺ เชน่ นบี้ อกว่าไม่มีสระไม่มีเสียงบา้ ง บอกว่าอักษรกลา้ บ้าง ตัวสะกด สงั โยคไมต่ ้องอา่ น เหมือนคาเหลา่ นี้ อกโฺ ก อาทิตย์ อกฺขรํ อกั ษร อคคฺ ิ ไฟ อคฺโฆ ราคา อจจฺ ิ เปลว อจโฺ ฉ หมี อชฺช วันนี้ อชฺฌาสโย อัธยาศัย อฏโฺ ฏ ป้อม อฏฺฐ แปด ฉุฑโฺ ฑ เขาทิ้งเสียแลว้ วฑฒฺ ิ กําไร อตตฺ า ตน อตโฺ ถ ประโยชน์ กททฺ โม เปือกตม สทฺธา ความเชอ่ื อสฺโส มา้ วิญญฺ ู ผู้ร้วู เิ ศษ รู้แจง้ มญฺโจ เตยี ง สญฺฉววิ โณ แผลมีผิวเกดิ แลว้ อญชฺ นํ ยาตา วญฺฌา หญงิ หมนั กณฺโณ หู กณฏฺ โก หนาม กณโฺ ฐ คอ กณฺโฑ กณั ฑ์ ปริจฺเฉโท เป็นที่กาหนด เปน็ เคร่ืองกาหนด สณุ ฺฒิ ขงิ อนนฺ ํ ข้าว อนฺโต ทสี่ ุด

วธิ ีอา่ นอักษรไทยเปน็ ภาษามคธ ค ปนฺโถ หนทาง นนฺทิ ความเพลิน สนฺธิ ท่ตี ่อ มลโฺ ล คนปลา้ สลลฺ ํ ลูกศร กปฺโป กลั ป อปฺโผฏนํ ตบมือ ทพฺพํ สิ่งของ อพฺภา หมอก อมฺมา มารดา จมฺปา เมือง- จาํ ปา สมผฺ ุตํ ท่ีถูกตอ้ ง อมฺโพ ต้นมะม่วง ถมโฺ ภ เสา อยฺย ข้าแต่เจา้ อยยฺ า แมเ่ จ้า อยฺยิกา ย่า ยาย อยโฺ ย พระผูเ้ ปน็ เจา้ อยฺยา พระผู้เปน็ เจา้ ทงั้ หลาย อุยยฺ านํ สวน อุยโฺ ยโค ความยกออก เอยฺยาสิ ทา่ นพงึ มา ปรสิ งเฺ กยฺย พงึ รงั เกียจ อสงฺเขยยฺ ํ อสงไขย เคยยฺ ํ ไคย โสเจยยฺ ํ ความเปน็ ผู้สะอาด อเชยโฺ ย อันผู้ใดผจญไม่ได้ วิญฺเญยฺยํ อนั บคุ คลพงึ ร้แู จ้ง เญยฺยํ อนั บุคคลพงึ รู้ วฏฺเฏยฺย พงึ ควร สาเฐยยฺ ํ ความเป็นผอู้ วด ฉฑฺเฑยยฺ พงึ ทิ้ง วฑเฺ ฒยฺย พงึ เจริญ วณเฺ ณยฺย พงึ พรรณนา ญาเตยฺยํ พงึ รู้ อตตฺ าธิปเตยยฺ ํ ความเปน็ ผู้มตี นเป็นอธิบดี เถยฺยจิตตฺ ํ จติ เคร่อื งเปน็ ขโมย เทยฺยธมฺโม ไทยธรรม สทฺธาเทยฺยํ ของทเ่ี ขาจะพงึ ให้ด้วยศรัทธา สาเธยฺย พงึ ใหส้ าํ เร็จ นามเธยยฺ ํ ช่ืออันบคุ คลพงึ ทรงไว้พงึ กลา่ ว เนยฺโย อนั บคุ คลพงึ นาไป เปยฺยํ ของควรดื่ม เปยยฺ วชฺชํ คาํ ควรด่มื โอลมเฺ พยยฺ พงึ ห้อยลง ภยิ โฺ ย ยิ่ง อภิภุยฺย ครอบงําแล้วจึง วมเฺ ภยยฺ เพดิ เพ้อ ติเตียน วเมยฺย พงึ คาย ยาเยยฺย พงึ ไป กเรยฺย พงึ ทา เลยฺยํ ของควรล้มิ เวยยฺ ากรณํ ไวยากรณ์ เสยฺยา ความนอน เสยโฺ ย ประเสริฐ สุยยฺ ติ เขาได้ยิน

วธิ ีอ่านอกั ษรไทยเปน็ ภาษามคธ ฆ เหยยฺ พงึ เปน็ สหยฺย พงึ ครอบงาํ ปเี ฬยยฺ พงึ บบี เบียดเบยี น กีเฬยยฺ พงึ เล่น อทุ าหรณเ์ หลา่ นพี้ อเป็นตวั อยา่ งในแม่ กก กง กด กน กบ กม เกย ทั้งปวง. คําทพ่ี ยญั ชนะ ๒ ลงในสระเดียวเป็นอักษรกลํ้า หมายดว้ ย รปู นี้ ไวเ้ บอื้ งลา่ งอกั ษรเบ้ืองตน้ เหมือนคําเหลา่ นี้ กฺย กฺยาหํ กโรมิ ขา้ พเจ้าจะทําอะไรได้ สกฺยปตุ ฺโต บุตรของศักยกษตั ริย์ วากฺยํ ถอ้ ยคํา พากย์ กฺร กฺริยา ความทํา กรฺ ิยาปทํ บทเป็น กริยาศพั ท์ กฺริยาจิตฺตํ กรยิ าจติ กุสลวิปากกฺรยิ า กุศลวิบาก- กริยา กฺล เกฺลโส ความเศร้าหมอง ปริกลฺ ิฏฐฺ า สมณพราหมณ์ ทง้ั หลายผ้เู ศรา้ หมองด้วย ขฺย อาขฺยาโต อันผู้นั้น ๆ กลา่ วแล้ว บอกแลว้ สงฺขยฺ า ความนับ เคร่ืองนบั คยฺ อคฺยาคารํ เรอื นไฟ โรงไฟ อโคฺยภาโส แสงเพลิง คลฺ สพฺพคลฺ า มคี รแุ ละลหลุ ว้ น มฺนา ม คณะและ น คณะ ตตรฺ ณ ทนี่ น้ั อมุตฺร ณ ทโ่ี นน้ กตุ ฺร ณ ที่ไหน ทฺย อาทยฺ กฺขรํ อักษรเบื้องต้น ทฺว ทวฺ ยํ หมวดสอง ทฺวชิ โิ วฺห มีล้ินสอง พฺย พฺยตฺโต ผู้ฉลาด ชัดเจน พฺยาธิ ป่วยไข้ มฺย กตฺตุกมฺยตา ความเปน็ ผู้ใคร่จะทาํ คุณคือ ความเปน็ ผ้ใู คร่จะทํา ญฺห อตฺถสญฺหติ ํ ประกอบพรอ้ มดว้ ย ประโยชนแ์ ลว้ อันประโยชนต์ ้ังอยู่กับแล้ว กฺว กวฺ จิ ณ ทหี่ นง่ึ กวฺ ิปจจฺ โย ปัจจัยคือ กวฺ ิ ขวฺ อถขฺวสสฺ อถโข ครงั้ นน้ั อสสฺ แก่ผู้นน้ั น ขวฺ าหํ น โข หาไม่แล อหํ เรา คฺร นโิ ครฺ โธ

วธิ ีอ่านอักษรไทยเปน็ ภาษามคธ ง ตน้ นิโครธ ตยฺ ตฺยาหํ เต กะเธอ เหลา่ น้นั อหํ เรา เอวํ อย่างน้ี วเทยฺยํ พงึ กล่าว ตฺว ตฺวํ ทา่ น กตวฺ า ทําแล้วจึง ฌตฺวา เผาแล้วจงึ ทฺร ภโทรฺ ผเู้ จริญ อินฺทฺริยํ อินทรีย์ นวฺ นนฺวายํ นนุ หาไม่ฤๅ อยํ ผนู้ ้ี อเนวฺ ติ ไปตาม อนุ เอติ พรฺ พฺรหาวนํ ป่าใหญ่ อพฺรวิ ไดก้ ลา่ วแล้ว หมฺ พรฺ หมฺ า พรหม พฺรหมฺ จรยิ ํ พรหมจรรย์ ณฺห อุณหฺ ํ ร้อน กโณฺห คนดํา ธรรมดํา นฺห นฺหานํ ความอาบนา้ํ เครือ่ งอาบนํ้า ที่เป็นท่ี อาบน้ํา นฺหาตโก นายกัลบก ช่างกัลบก ยหฺ วยฺหา ยานหาม วยุ ฺหเต อันนา้ํ นําไป อนั นาํ้ พัดไป ลฺห วลุ หฺ เต อันน้าํ นําไป ฬหฺ รฬุ หฺ ิ ความงอกขนึ้ พาฬฺหํ หนัก สฺน เสฺนโห ความรกั ผลมสฺนาติ ผลํ ซงึ่ ผล อสนฺ าติ ยอ่ มบรโิ ภค สฺย สฺยา จ เอา สิ เป็น อา ด้วย สฺยามา ชนสยามทัง้ หลาย มหฺ ตมุ ฺหํ แก่ท่านทัง้ หลาย อมฺหํ แก่เราทงั้ หลาย ตเุ มฺห ทา่ นทง้ั หลาย ซ่งึ ท่านท้งั หลาย ลฺย กลฺยาณํ กรรมงาม ทุพฺพลยฺ ํ ความเปน็ ผู้มีกาํ ลังอันโทษประทุษร้ายแลว้ วฺห อวฺหานํ คาํ ร้องเรยี ก ชิวหฺ า ลิ้น สฺต ภสตฺ า สบู อุทธฺ โสตฺ อรุณสางขน้ึ มาแล้ว สมฺ อายสฺมา ทา่ นผู้มีอายุ ยสมฺ า เพราะเหตุใด สฺว ทิสฺวา เหน็ แลว้ จงึ สวฺ ายํ โส ผู้นั้น อยํ ผนู้ ี้ เสฺว พร่งุ น.้ี ----------

วธิ ีอ่านอักษรไทยเปน็ ภาษามคธ จ คาํ เทยี บ สพพฺ ปาปสฺส อกรณํ กุสลสสฺ ปู สมปฺ ทา สัพพ์ ปาปสั ส์ อกรณํ กุสลสั ส์ ูปสัมป์ ทา สจิตฺตปรโิ ยทปนํ เอตํ พทุ ธฺ าน สาสน.ํ สจิต์ตปริโยทปนํ เอตํ พทุ ์ธาน สาสนํ. สีลํ สมาธิ ปญญฺ า จ วมิ ตุ ตฺ ิ จ อนุตฺตรา สีล สมาธิ ปญั ญ์ า จ วมิ ตุ ต์ ิ จ อนตุ ์ตรา อนุพทุ ธฺ า อิเม ธมฺมา โคตเมน ยสสสฺ ินา. อนุพุทธ์ า อิเม ธัม์มา โคตเมน ยสัสส์ ินา. หนฺททานิ ภิกฺขเว อามนตฺ ยามิ โว. หนั ์ททานิ ภกิ ์ขเว อามัน์ตยามิ โว. วยธมฺมา สงฺขารา อปปฺ มาเทน สมฺปาเทถาต.ิ วยธมั ์มา สังข์ ารา อัป์ปมาเทน สมั ์ปาเทถาติ. ----------

นมสั การและบชู าพระเจดยี ์ ---------- เมอื่ สาธุชนจะนมัสการและบชู าพระเจดียวัตถุ คอื พระสถปู และ พระพทุ ธรปู พึงระลึกพทุ ธคณุ ธรรมคุณสังฆคณุ เป็นอารมณ์ โดย สังเขปหรอื พิสดารกอ่ น ต้ังสกั การะและจดุ เทียนจุดธปู แล้ว ยนื หรือ นง่ั ยองยกอญั ชลวี ่า โย โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพทุ โฺ ธ สฺวากฺขาโต เยน ภควตา ธมโฺ ม สุปฏิปนโฺ น ยสฺส ภควโต สาวกสงโฺ ฆ ตมมฺ ยํ ภควนฺตํ สธมฺมํ สสงฆฺ ํ อเิ มหิ สกฺกาเรหิ ยถารหํ อาโรปิเตหิ อภปิ ชู ยาม. สาธุ โน ภนฺเต ภควา สุจิรปรินิพพฺ โุ ตปิ ปจฉฺ มิ าชนตานกุ มฺปมานสา อเิ ม สกฺกาเร ทุคคฺ ตปณณฺ าการภเู ต ปฏคิ ฺคณหฺ าตุ อมฺหากํ ทีฆรตตฺ ํ หติ าย สขุ าย. พระผู้มีพระภาค พระองค์ใดเปน็ พระอรหนั ต์ ตรัสรู้ชอบเองแลว้ ธรรมอนั พระผู้มี พระภาคพระองคใ์ ด กลา่ วดแี ลว้ สงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาค พระองค์ใด ปฏิบตั ิดีแลว้ ขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย บชู าโดยเคารพ ซงึ่ พระผู้มีพระภาคพระองค์นัน้ ทัง้ ธรรมท้ังสงฆ์ ดว้ ยสกั การะ เหลา่ น้ี ทขี่ ้าพเจ้ายกขึ้นไวต้ ามควรแล้ว ขอพระผูม้ พี ระภาคพระ องค์นัน้ ผปู้ รินิพพานนานแล้ว จงรับสักการะบรรณาการของ คนยากเหล่านี้ ของขา้ พเจ้าท้งั หลาย ดว้ ยพระหฤทยั อนเุ คราะห์ ประชุมชนภายหลงั เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข แกข่ า้ พเจ้า

นมสั การและบูชาพระเจดยี ์ ช ทัง้ หลายส้ินกาลนาน. ถา้ สมัครจะวา่ แตผ่ ู้เดียวก็พงึ วา่ ตมหํ ภควนตฺ ํ สธมฺมํ สสงฺฆํ อิเมหิ สกกฺ าเรหิ ยถารหํ อาโรปเิ ตหิ อภิปูชยามิ. สาธุ เม ภนเฺ ต ภควา สุจริ ปรนิ ิพฺพุโตปิ ปจฉฺ มิ าชนตานกุ มฺปมานสา อเิ ม สกกฺ าเร ทคุ ฺคตปณฺณาการภเู ต ปฏิคคฺ ณฺหาตุ มม ทีฆรตฺตํ หติ าย สขุ าย. ถ้าสักการะนอ้ ยดอกไม้ดอก ๑ เทยี นเลม่ ๑ พงึ เปลยี่ น ตามสกั การะวา่ อมิ ินา สกกฺ าเรน น้ันเทอญ. ก็แล การทาํ สกั การะบชู าพระเจดียสถานนี้ ก็ไม่มีนิยมว่าตาม แบบนน้ั แบบนี้ ผูย้ กสักการะขึน้ บชู าจะนึกในจิตฉันใด ๆ ตามเล่ือมใส แลว้ ทาํ สกั การะบชู า กเ็ ป็นการดีการชอบทง้ั สนิ้ เพราะฉะน้ัน เมอ่ื เรม่ิ จะระลึกวา่ ยมหํ ภควนตฺ ํ สรณํ คโต อรหนตฺ ํ สมฺมาสมฺพุทฺธํ อิมินา สกฺกาเรน ตํ ภควนตฺ ํ อภิปชู ยามิ ฉะน้ี บูชา ก็ควร ทุกประการ ความนึกทามนสิการถงึ พทุ ธคุณ หรอื ทง้ั ธรรมคุณ สังฆ- คุณ เป็นอารมณ์ใหเ้ กิดความเลื่อมใส ทาํ สักการะบชู านนั้ เป็นการดี การชอบ. อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา. พระผู้มีพระภาคซง่ึ เปน็ สรณะเป็นทพ่ี ่งึ ทน่ี บั ถือ ของเรา พระองคน์ ้ัน เป็นอรหันต์ ตรสั รู้ ชอบเองแลว้ เป็นอรหันต์ ผู้ไกล ผคู้ วร ละกเิ ลสขาดจากพระ สนั ดานกับทง้ั วาสนา เป็นผู้ไม่หลง มคี วามไม่หลงเป็นธรรมดา ท่านมีสันดานบริสุทธฉ์ ะน้ี ควรรับสักการะของสตั วโลก เปน็ สัมมา- สัมพุทธะ ตรสั รชู้ อบเองแล้ว คอื ตรสั รู้ของจรงิ คือทกุ ข์ เหตใุ ห้

นมัสการและบูชาพระเจดยี ์ ฌ เกดิ ทุกข์ ดบั ทุกข์ หนทางดับทุกข์ ๔ นแี้ จ้งประจักษ์โดยลําพัง พระองค์ ตรสั รู้ชอบไม่วปิ รติ ตรสั รู้ขึน้ ได้ในธรรมทงั้ หลายท่พี ระองค์ ไม่ได้ยินไม่ได้ฟังมาแลว้ แตใ่ นปางก่อน กต็ รสั รขู้ องจรงิ ทงั้ ๔ นัน้ ขน้ึ ไดโ้ ดยลาพังพระองค์ และถงึ ความเป็นผรู้ ้คู รบครันในของจริง ท้งั ๔ น้ัน ไมข่ ดั ขวาง และถงึ ความเป็นผมู้ ีอานาจแคลว่ คล่องชานาญ ในพระญาณทเี่ ปน็ กําลงั อาจยกบัญญตั ขิ ึ้นเทศนาสอนผู้อื่นให้ตรัสรู้ ไดด้ ว้ ย ตรสั รใู้ หส้ ําเร็จประโยชน์ทั้งพระองค์และผ้อู นื่ พระผู้มี พระภาคนั้น เป็น อรหํ สมมฺ าสมฺพุทโฺ ธ ผู้ควร ผู้ไกล ตรสั รชู้ อบ เองแล้ว อยา่ งน้ี พุทฺธํ ภควนตฺ ํ อภิวาเทมิ อรหนตฺ ํ สมฺมา- สมพฺ ทุ ธฺ ํ อิมนิ า ถูเปน ปญฺญายมานํ อิมาย ปฏมิ าย สนฺทสิ สฺ มานํ. ข้าพเจา้ อภวิ าท กราบไหว้ พระผมู้ ีพระภาคพทุ ธเจ้า ผูพ้ ระอรหันต์ ตรสั รูช้ อบเองแล้ว พระองค์นน้ั มพี ระสถูปและพระพทุ ธรปู น้ี เป็น พยาน. กราบลง บททา้ ยวา่ อรหนตฺ ํ สมฺมาสมพฺ ทุ ฺธํ อิมนิ า ถูเปน ปญญฺ ายมานํ อมิ าย ปฏิมาย สนทฺ ิสฺสมานํ น้นั นึกแต่ในใจ ต่อเขา้ ไม่ออกวาจา. สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม. ธรรมส่วนสภาพทดี่ ที ชี่ อบ พระผ้มู พี ระภาคเจา้ กล่าวดกี ล่าวชอบแลว้ แสดงทางดับกเิ ลสและ กองทุกข์ ให้ผปู้ ฏิบัตติ ามถึงความส้นิ ทุกข์ โดยชอบได.้ ธมมฺ ํ นมสสฺ ามิ สวฺ ากขฺ าตํ เตน ภควตา อรหตา สมฺมาสมพฺ ุทฺเธน อมิ ินา ถูเปน ปญฺญายมาเนน อมิ าย ปฏิมาย สนฺทสิ ฺสมาเนน.

คาํ นําบูชาและนาํ ทําวตั ร ญ ข้าพเจ้านมัสการ ธรรม ทพ่ี ระผมู้ ีพระภาค ผู้อรหันตสัมมาสัมพทุ ธ พระองคน์ ้นั กลา่ วดีกล่าวชอบแลว้ กราบลง บททา้ ย สวฺ ากขฺ าตํ เปน็ ต้นไปเป็นแตน่ กึ ในใจไมอ่ อกวาจา. สุปฏปิ นโฺ น ภควโต สาวกสงฺโฆ. หมู่สาวก ของพระผูม้ ี พระภาค ปฏบิ ตั ดิ ีดําเนินชอบแลว้ ได้ปญั ญาตรสั รอู้ รยิ สจั ๔ ทาํ กเิ ลส ในสันดานใหส้ ้ินไปตามกาํ ลังอริยมรรคทใ่ี ห้เกดิ ขึน้ แล้ว ในสนั ดาน ตน ความละกเิ ลสได้จริง เป็นการปฏิบัติชอบแท้. สงฺฆํ นมามิ สุปฏิปนฺนํ อุชุปฏปิ นนฺ ํ ญายปฏปิ นฺนํ สามีจิปฏิปนฺนํ เตน ภควตา อรหตา สมฺมาสมพฺ ทุ เฺ ธน สมมฺ าปฏปิ าทติ ํ อมิ นิ า ถูเปน ปญญฺ าย- มาเนน อิมาย ปฏิมาย สนทฺ ิสฺสมาเนน. ข้าพเจา้ นอบน้อมสงฆ์ ท่ีพระผมู้ พี ระภาค อรหันตสมั มาสมั พทุ ธ พระองคน์ ้นั สอนให้ปฏิบัตดิ ี ดําเนินชอบแลว้ . กราบลง บททา้ ยตงั้ แต่ สุปฏิปนฺนํ เป็นต้นไป เป็นแตน่ กึ ในใจไม่ออกวาจา. ถา้ เวลาเช้า นําเริม่ วา่ หนทฺ มยํ พุทฺธสสฺ ภควโต ปุพพฺ - ภาคนมการํ กโรม เส. ตัง้ นโมตามกาํ หนดแลว้ นําเรมิ่ ว่า หนทฺ มยํ พทุ ฺธาภถิ ตุ ึ กโรม เส. สวด โย โส ตถาคโต จนถงึ ตมหํ ภควนตฺ ํ สิรสา นมามิ. กราบลง นําเรมิ่ หนฺท มยํ ธมฺมาภิถตุ ึ กโรม เส. สวด โย โส สฺวากฺขาโต จนถงึ ตมหํ ธมมฺ ํ สริ สา นมามิ. กราบลง นําเร่ิม หนฺท มยํ สงฺฆาภถิ ุตึ กโรม เส. สวด โย โส สุปฏปิ นโฺ น

คาํ นําบูชาและนําทําวัตร ฏ จนถงึ ตมหํ สงฺฆํ สิรสา นมามิ. กราบลง แตน่ ้นั ไป ถ้าจะสวดแตค่ าถาประณามพระรัตนตรยั อีก เร่ิมนาวา่ หนฺท มย รตนตตฺ ยปฺปณามคาถาโย ภณาม เส. สวด พทุ โฺ ธ สสุ ุทฺโธ จนถึง มา โหนฺตุ เว ตสฺส ปภาวสิทธฺ ยิ า. ถา้ จะสวดทั้ง คาถาประณามพระรัตนตรัย กับ สํเวคปริกติ ฺตนปาฐ ดว้ ยไซร้ เร่มิ นาํ วา่ หนฺท มยํ รตนตตฺ ยปฺปณามคาถาโย เจว สเํ วคปริกติ ฺตน- ปาฐญฺจ ภณาม เส. สวด พุทฺโธ สสุ ทุ ฺโธ จนถึง อิมสฺส เกวลสฺส ทกุ ฺขกฺขนฺธสฺส อนฺตกริ ิยาย สํวตตฺ ตุ. ถา้ เปน็ เวลาเย็น เวลาค่ํา จะใครน่ มัสการดว้ ย พทุ ฺธานุสฺสติ ธมฺมานสุ ฺสติ สงฆฺ านุสฺสติ และ พุทฺธาภิคีติ ธมฺมาภิคีติ สงฺฆาภคิ ีติ ไซร้ พงึ เริ่มนาํ และสวดไปตามลําดับนี้ ยมมหฺ โข มยํ ภควนตฺ ํ สรณํ คตา อรหนฺตํ สมมฺ าสมฺพทุ ฺธํ ยํ ภควนฺตํ อุทฺทสิ ฺส ปพฺพชิตา ยสมฺ ึ ภควติ พฺรหฺมจรยิ ํ จราม ตมฺมยํ ภควนตฺ ํ สธมฺมํ สสงฆฺ ํ ยถารหํ อาโรปเิ ตหิ สกฺกาเรหิ อภิปชู ยติ ฺวา อภิวาทนํ กรมิ ฺหา. หนฺททานิ มยํ ตํ ภควนฺตํ วาจาย อภิคายิตุไ ปุพพฺ ภาคนมการญเฺ จว พทุ ธฺ านสุ สฺ ตินยญจฺ กโรม เส. สวด นโม ตามกาํ หนดครบแล้ว พุทฺธานสุ ฺสตินย ต่อไป ตํ โข ปน ภควนฺตํ เปน็ ต้น อติ ปิ ิ โส จนถึง ภควาติ. หยุดระลึกพระคณุ ตามในพุทธานุสสตินยะน้นั สงั เขป หรือพิสดาร จบแลว้ จงึ เริ่มนาํ พุทธาภิคตี ิ ต่อไป. หนฺท มยํ พุทฺธาภิคีตึ กโรม เส. สวด พทุ ธฺ วฺ ารหนตฺ วรตาทิคุณาภยิ ตุ ฺโต

คํานาํ บชู าและนําทําวตั ร ฐ จนถงึ มาเหสุไ ตสฺส เตชสา จบแลว้ กราบลงหมอบวา่ กาเยน จนถึง สวํ รติ ุไ ว พุทฺเธ. หนฺท มยํ ธมมฺ านสุ ฺสตินยํ กโรม เส. สวด สวฺ ากฺขาโต จนถงึ วญิ ญฺ ูหตี ิ. หยุดระลกึ ธรรมคุณในธัมมานสุ สตินยะนั้น สงั เขป หรอื พิสดาร จบแล้วจึงเริ่มนาํ ธมั มาภคิ ตี ิ ตอ่ ไป. หนฺท มยํ ธมมฺ าภิคตี ึ กโรม เส. สวด สฺวากขฺ าตตาทิคุณโยควเสน เสยฺโย จนถงึ มาเหสุไ ตสฺส เตชสา. จบแล้วกราบลงหมอบว่า กาเยน จนถงึ สํวรติ ไุ ว ธมฺเม. หนทฺ มยํ สงฺฆานุสฺสตินยํ กโรม เส. สวด สุปฏปิ นฺโน จนถงึ โลกสฺสาติ. หยุดระลึกสงั ฆคุณตามในสังฆานุสสตนิ ยะนัน้ สังเขป หรือพสิ ดาร จบแลว้ เร่ิมนาํ สงั ฆาภคิ ตี ิ ต่อไป. หนทฺ มยํ สงฺฆาภิคตี ึ กโรม เส. สวด สทฺธมมฺ โช สุปฏิปตตฺ คิ ณุ าทิยุตฺโต จนถึง มาเหสไุ ตสฺส เตชสา. จบแล้วกราบลงหมอบว่า กาเยน จนถึง สวํ ริตุไ ว สงเฺ ฆ. ---------- เวลาเช้าก่อนทาํ วตั ร ยมมหฺ โข มยํ ภควนฺตํ สรณํ คตา อทุ ทฺ สิ สฺ ปพพฺ ชติ า โย โน ภควา สตฺถา ยสสฺ จ มยํ ภควโต ธมฺมํ โรเจม ตสสฺ โข ปน ภควโต โลเกกุตฺตมสตฺถุภูตสฺส สพฺพทกุ ฺขูปสม- ปรินิพพฺ านาย ธมฺมํ เทสยโต, อยํ ธมฺมวินโย ยาวชชฺ ตนาปิ

คํานําบชู าและนาํ ทาํ วัตร ฑ ยถากถญฺจิ อานิยติ ปวตฺติยติ. ตาทเิ ส ธมฺเม ปสาทูปจาราย เตน ภควตา ปจฺฉมิ าชนตานุกมปฺ ๆ ปฏิจฺจ อตฺตโน อจฺจเยน ถปู ปติฏฺฐาปนํ อนุมตํ. ตํ โข ปน ภควโต อนุมตึ อุปาทาย อยํ ถโู ป ปตฏิ ฺฐาปโิ ต อยํ ปฏิมา ปติฏฺฐาปิตา, ยาวเทว ทสสฺ เนน ตํ ภควนฺตํ อนุสฺสริตวฺ า ปสาทสํเวคปฏิลาภาย เจว ตปปฺ จฺจยา สมฺมาปฏิปตตฺ ิปรปิ รู ณตถฺ าย จ. มยญฺจมหฺ อมิ ํ ฐานํ สมปฺ ตตฺ า อเิ ม ทณฺฑทปี ธปู ปุปฺผคนธฺ าทิสกฺกาเร อมิ สฺมึ สีหาสเน อาโรเปตฺวา ตสฺส ภควโต สจุ ิรปรินพิ พฺ ุตสสฺ าปิ สโต สกฺการํ กรติ วฺ า อภวิ าทนํ กรมิ ฺหา. หนทฺ ทานิ มยํ ตํ ภควนตฺ ํ วาจาย อภิถตุ ไุ ปพุ พฺ ภาคนมการํ กโรม เส. สวด นโม และนาํ แล้ว สวด โย โส เป็นตน้ ตามลําดบั ทว่ี า่ มาแลว้ นัน้ เทอญ. ---------- เวลาคา่ํ ก่อนทาํ วตั ร ยมมหฺ โข มยํ ภควนตฺ ํ สรณํ คตา อทุ ทฺ ิสฺส ปพฺพชิตา โย โน ภควา สตถฺ า ยสฺส จ มยํ ภควโต ธมมฺ ํ โรเจม อโหสิ โข โส ภควา มชฌฺ เิ มสุ ชนปเทสุ อริยเกสุ มนสุ ฺเสสุ อปุ ฺปนฺโน ขตตฺ โิ ย ชาติยา โคตโม โคตฺเตน สกฺยปุตฺโต สกยฺ กุลา ปพฺพชิโต สมฺมาปโยคมาคมฺม สมฺมาปธานมนฺวาย สมฺมามนส-ิ การมนฺวาย อรุ เุ วลายํ นชฺชา เนรญชฺ ราย ตีเร อสสฺ ตถฺ โพธริ ุกฺขมเู ล สพพฺ โส ตณหฺ านํ ขยา วิราคา นโิ รธา จาคา ปฏินิสสฺ คฺคา

คํานําบูชาและนําทําวตั ร ฒ สเทวเก โลเก สมารเก สพรฺ หมฺ เก สสฺสมณพฺราหฺมณิยา ปชาย สเทวมนุสสฺ าย อนุตฺตรํ สมมฺ าสมฺโพธึ อภิสมฺพุทโฺ ธ. โส สตฺเตสุ การญุ ญฺ ตํ ปฏิจจฺ กรณุ ายโก อนกุ มฺปโก หิเตสี อนกุ มฺปํ อุปาทาย อาสภณฺฐานํ ปฏญิ ญฺ าส,ิ ปริสาสุ สีหนาทํ นทิ, พรฺ หฺมจกฺกํ ปวตฺเตสิ. โส โลกจารกิ ํ จรมาโน ตนฺตทนุรปู ํ ธมฺมญฺจ เทเสนโฺ ต วนิ ยญจฺ ปญฺญเปนโฺ ต โลกจารกิ ํ จริตวฺ า ปรยิ ตฺติ- ปฏิปตฺติปฏิเวธสงฺขาตํ ตวิ ธิ ํ สทธฺ มมฺ ํ สมมฺ เทว โลเก ปวตฺตยติ วฺ า อปรภาเค กุสินารายํ อปุ วตฺตเน มลลฺ านํ สาลวเน ยมกสาลานมนตฺ เร อนปุ าทเิ สสาย นิพฺพานธาตุยา ปรินพิ ฺพโุ ต. ตโต ปฏฐฺ าย ยาวชฺชตนา ( เอตตฺ ก ) ทวิ สตุ ตฺ ร ( เอตฺตก ) มาสาธิก ( เอตฺตก ) สวํ จฺฉรุตตฺ รจต๑สุ ฺสตาธิกานิ เทฺว สํวจฺฉรสหสฺสานิ อติกฺกนฺตานิ. เอตตฺ กํ กาลํ โย เตน ภควตา เทสโิ ต ปญฺญตฺโต ธมโฺ ม จ วนิ โย จ, โส อมหฺ ากํ ปจฺฉมิ าชนตาภูตานํ สตฺถา หตุ วฺ า ยถากถญจฺ ิ ติฏฺฐติ. อปิจ โข ปน สนฺติ สตตฺ า โอฬาริกา โอฬาริเกน นเยน ปสาทติ าโร. เตสํ ปสาทาย เตน ภควตา ปจฉฺ ิมาชนตานุกมฺปํ ปฏิจฺจ อตฺตโน อจฺจเยน ถปู ปตฏิ ฺฐาปนํ อนมุ ตํ. ตํ โข ปน ภควโต อนุมตึ อุปาทาย อยํ ถูโป ปติฏฐฺ าปโิ ต อยํ ปฏิมา ปติฏฺฐาปิตา ยาวเทว ทสสฺ เนน ตํ ภควนฺตํ อนสุ ฺสริตฺวา ปสาทสํเวคปฏิลาภาย เจว ตปฺปจฺจยา สมฺมาปฏปิ ตฺตปิ รปิ ูรณตฺถาย จ มยญฺจมหฺ อิมํ ฐานํ สมปฺ ตตฺ า ๑. ปญจฺ

คาํ นําบูชาและนาํ ทําวตั ร ณ อเิ ม ทณฑฺ ทีปธูปปปุ ผฺ คนธฺ าทสิ กกฺ าเร อิมสฺมึ สีหาสเน อาโรเปตวฺ า ตสฺส ภควโต สจุ ิรปรนิ พิ ฺพตุ สสฺ าปิ สโต สกฺการํ กรติ ฺวา อภิวาทนํ กรมิ ฺหา. หนฺททานิ มยํ ตํ ภควนตฺ ํ วาจาย อภคิ ายิตุไ ปุพฺพภาค- นมการญฺเจว พทุ ฺธานุสสฺ ตินยญฺจ กโรม เส. สวด นโม และ ตํ โข ปน ภควนฺตํ เป็นตน้ ไป ตามลําดบั ทว่ี ่ามาแลว้ น้ัน เทอญ. ----------

จลุ ราชปริตร เจ็ดตานาน สรชชฺ สเสน สพนฺธไุ นรนิ ฺท, ปรติ ฺตานภุ าโว สทา รกขฺ ตตู ิ. ผรติ วฺ าน เมตตฺ สเมตฺตา ภทนตฺ า, อวกิ ขฺ ิตตฺ จิตตฺ า ปริตฺต ภณนฺตุ. สคฺเค กาเม จ รเู ป คิรสิ ขิ รตเฏ จนฺตลกิ ฺเข วมิ าเน, ทีเป รฏฺเฐ จ คาเม ตรวุ นคหเน เคหวตฺถุมหฺ ิ เขตฺเต, ภมุ มฺ า จายนฺตุ เทวา ชลถลวิสเม ยกขฺ คนฺธพพฺ นาคา, ติฏฐฺ นตฺ า สนฺตเิ ก ย มุนวิ รวจน สาธโว เม สุณนตฺ ุ. ธมมฺ สฺสวนกาโล อยมภฺ ทนตฺ า, ธมฺมสฺสวนกาโล อยมภฺ ทนฺตา, ธมฺมสฺสวนกาโล อยมภฺ ทนฺตา. ---------- นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสฺส. นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสฺส. นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สสฺ . พทุ ฺธ สรณ คจฺฉามิ. ธมมฺ สรณ คจฉฺ าม.ิ สงฺฆ สรณ คจฺฉามิ. ทตุ ยิ มฺปิ พทุ ธฺ สรณ คจฉฺ าม.ิ ทุตยิ มฺปิ ธมฺม สรณ คจฉฺ าม.ิ ทตุ ิยมฺปิ สงฺฆ สรณ คจฺฉามิ. ตตยิ มปฺ ิ

เจด็ ตานาน ๒ พุทฺธ สรณ คจฺฉาม.ิ ตติยมปฺ ิ ธมฺม สรณ คจฉฺ ามิ. ตตยิ มปฺ ิ สงฺฆ สรณ คจฺฉามิ. ---------- นมการสทิ ธฺ คิ าถา๑ โย จกฺขุมา โมหมลาปกฏฺโฐ สามว พุทโฺ ธ สคุ โต วมิ ุตฺโต มารสฺส ปาสา วนิ ิโมจยนฺโต ปาเปสิ เขม ชนต วิเนยยฺ . พทุ ฺธ วรนตฺ สริ สา นมามิ โลกสฺส นาถญฺจ วินายกญจฺ ตนเฺ ตชสา เต ชยสิทฺธิ โหตุ สพฺพนฺตรายา จ วินาสเมนตฺ ุ. ธมฺโม ธโช โย วิย ตสฺส สตฺถุ ทสฺเสสิ โลกสสฺ วิสุทฺธมิ คคฺ นยิ ฺยานโิ ก ธมฺมธรสสฺ ธารี สาตาวโห สนฺติกโร สุจณิ ฺโณ. ธมมฺ วรนฺต สิรสา นมามิ โมหปฺปทาล อุปสนฺตทาห ๑. พระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส.

นมการสทิ ธฺ คิ าถา ๓ ตนฺเตชสา เต ชยสทิ ฺธิ โหตุ สพฺพนฺตรายา จ วนิ าสเมนตฺ ุ. สทฺธมฺมเสนา สคุ ตานุโค โย โลกสฺส ปาปปู กิเลสเชตา สนโฺ ต สย สนฺตินโิ ยชโก จ สวฺ ากฺขาตธมฺม วทิ ิต กโรต.ิ สงฺฆ วรนตฺ สริ สา นมามิ พทุ ฺธานุพทุ ธฺ สมสีลทิฏฺฐึ ตนฺเตชสา เต ชยสทิ ฺธิ โหตุ สพพฺ นตฺ รายา จ วินาสเมนตฺ ุ. ๖ คาถา ---------- สมพฺ ทุ เฺ ธ อฏฐฺ วสี ญฺจ ทวฺ าทสญจฺ สหสฺสเก ปญฺจสตสหสฺสานิ นมามิ สิรสา อห เตส ธมฺมญจฺ สงฆฺ ญจฺ อาทเรน นมามิห นมการานภุ าเวน หนตฺ วฺ า สพฺเพ อุปทฺทเว อเนกา อนฺตรายาปิ วนิ สฺสนตฺ ุ อเสสโต. สมฺพทุ ฺเธ ปญฺจปญฺญาสญจฺ จตวุ ีสติสหสฺสเก ทสสตสหสสฺ านิ นมามิ สริ สา อห เตส ธมฺมญฺจ สงฺฆญจฺ อาทเรน นมามิห

เจด็ ตานาน ๔ นมการานุภาเวน หนตฺ ฺวา สพฺเพ อุปททฺ เว อเนกา อนฺตรายาปิ วินสฺสนฺตุ อเสสโต. สมพฺ ทุ ฺเธ นวตุ ตฺ รสเต อฏฺฐจตฺตาฬีสสหสสฺ เก วีสติสตสหสฺสานิ นมามิ สิรสา อห เตส ธมฺมญฺจ สงฆฺ ญจฺ อาทเรน นมามหิ นมการานุภาเวน หนฺตวฺ า สพเฺ พ อุปททฺ เว อเนกา อนฺตรายาปิ วินสฺสนตฺ ุ อเสสโต. ๗ คาถาก่งึ ---------------- นโมการอฏฐฺ ก๑ นโม อรหโต สมฺมา- สมฺพุทฺธสสฺ มเหสิโน นโม อตุ ฺตมธมมฺ สฺส สฺวากฺขาตสเฺ สว เตนิธ นโม มหาสงฺฆสสฺ าปิ วิสทุ ธฺ สลี ทฏิ ฺฐโิ น นโม โอมาตยฺ ารทฺธสสฺ รตนตฺตยสสฺ สาธกุ นโม โอมกาตีตสฺส ตสสฺ วตฺถตุ ฺตยสฺสปิ นโมการปปฺ ภาเวน วิคจฺฉนฺตุ อปุ ทฺทวา นโมการานภุ าเวน สุวตถฺ ิ โหตุ สพพฺ ทา นโมการสฺส เตเชน วธิ ิมหฺ ิ โหมิ เตชวา. นโมการอฏฺฐก ๔ คาถานี้ สวดในกาลสมัยทคี่ วร. ๑. พระราชนพิ นธข์ องพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว.

มงคฺ ลสตุ ตฺ ๕ เย สนฺตา สนฺตจติ ฺตา ติสรณสรณา เอตฺถ โลกนฺตเร วา, ภุมฺมาภมุ ฺมา จ เทวา คณุ คณคหณพยฺ าวฏา สพพฺ กาล, เอเต อายนตฺ ุ เทวา วรกนกมเย เมรุราเช วสนโฺ ต, สนโฺ ต สนฺโต สเหตไุ มนุ ิวรวจน โสตุมคคฺ สมคคฺ . สพเฺ พสุ จกฺกวาเฬสุ ยกฺขา เทวา จ พรฺ หมฺ ุโน ย อเมหฺ หิ กต ปุญญฺ สพพฺ สมฺปตตฺ ิสาธก สพเฺ พ ต อนุโมทิตวฺ า สมคฺคา สาสเน รตา ปมาทรหิตา โหนฺตุ อารกขฺ าสุ วิเสสโต สาสนสสฺ จ โลกสฺส วุฑฺฒี ภวตุ สพฺพทา สาสนมปฺ ิ จ โลกญฺจ เทวา รกฺขนตฺ ุ สพพฺ ทา สทธฺ ึ โหนฺตุ สขุ ี สพเฺ พ ปรวิ าเรหิ อตฺตโน อนีฆา สุมนา โหนตฺ ุ สห สพฺเพหิ ญาติภ.ิ ยญจฺ ทวฺ าทส วสฺสานิ จนิ ฺตยสึ ุ สเทวกา จริ สสฺ จนิ ตฺ ยนฺตาปิ เนว ชานสึ ุ มงคฺ ล จกฺกวาฬสหสฺเสสุ ทสสุ เยน ตตฺตก กาล โกลาหล ชาต ยาว พฺรหมฺ นิเวสนา ย โลกนาโถ เทเสสิ สพฺพปาปวินาสน ย สตุ วฺ า สพฺพทุกฺเขหิ มุจฺจนฺตาสงขฺ ิยา นรา เอวมาทคิ ณุ ูเปต มงคฺ ลนฺตมภฺ ณาม เห. ----------

เจด็ ตานาน ๖ มงคฺ ลสตุ ตฺ ๑ เอวมฺเม สตุ . เอก สมย ภควา, สาวตถฺ ยิ วหิ รติ, เชตวเน อนาถปณิ ฑฺ ิกสสฺ , อาราเม. อถโข อญฺญตรา เทวตา, อภกิ กฺ นฺตาย รตตฺ ยิ า อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปปฺ ํ เชตวน โอภาเสตวฺ า, เยน ภควา เตนุปสงกฺ มิ; อปุ สงกฺ มติ ฺวา ภควนฺต อภวิ าเทตวฺ า เอกมนตฺ อฏฺฐาสิ. เอกมนตฺ ฐติ า โข สา เทวตา ภควนตฺ คาถาย อชฺฌภาส.ิ พหู เทวา มนุสฺสา จ มงคฺ ลานิ อจนิ ฺตยุไ อากงขฺ มานา โสตฺถาน พรฺ หู ิ มงฺคลมตุ ฺตม. อเสวนา จ พาลาน ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา ปูชา จ ปูชนียาน เอตมมฺ งฺคลมุตตฺ ม. ปฏิรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา อตตฺ สมมฺ าปณิธิ จ เอตมมฺ งฺคลมตุ ฺตม. พาหุสจฺจญฺจ สปิ ปฺ ญจฺ วนิ โย จ สุสิกฺขิโต สุภาสติ า จ ยา วาจา เอตมฺมงคฺ ลมตุ ฺตม. มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ปุตฺตทารสฺส สงฺคโห อนากุลา จ กมฺมนตฺ า เอตมมฺ งฺคลมุตตฺ ม. ทานญจฺ ธมมฺ จริยา จ ญาตกานญฺจ สงคฺ โห อนวชฺชานิ กมฺมานิ เอตมฺมงฺคลมุตฺตม. อารตี วริ ตี ปาปา มชฺชปานา จ สญฺญโม ๑. ข.ุ ธ. ๒๕/๓.

มงฺคลสุตตฺ ๗ อปฺปมาโท จ ธมเฺ มสุ เอตมมฺ งคฺ ลมุตตฺ ม. คารโว จ นวิ าโต จ สนฺตฏุ ฺฐี จ กตญญฺ ุตา กาเลน ธมมฺ สฺสวน เอตมมฺ งฺคลมุตฺตม. ขนตฺ ี จ โสวจสฺสตา สมณานญจฺ ทสฺสน กาเลน ธมฺมสากจฺฉา เอตมมฺ งฺคลมุตตฺ ม. ตโป จ พรฺ หฺมจริยญจฺ อรยิ สจฺจาน ทสฺสน นพิ ฺพานสจฉฺ ิกริ ิยา จ เอตมมฺ งฺคลมตุ ตฺ ม. ผุฏฺฐสฺส โลกธมเฺ มหิ จติ ตฺ ยสฺส น กมฺปติ อโสก วิรช เขม เอตมมฺ งฺคลมตุ ตฺ ม. เอตาทสิ านิ กตวฺ าน สพพฺ ตถฺ มปราชติ า สพฺพตฺถ โสตฺถึ คจฉฺ นตฺ ิ ตนฺเตส มงฺคลมตุ ตฺ มนตฺ .ิ มงฺคลสตุ ฺต นิฏฐฺ ิต. ๑๒ คาถา ---------- ปณิธานโต ปฏฺฐาย, ตถาคตสฺส ทส ปารมโิ ย ทส อุปปารมโิ ย ทส ปรมตฺถปารมิโย, ปญจฺ มหาปริจจฺ าเค ติสโฺ ส จริยา ปจฺฉิมพภฺ เว คพฺภาวกฺกนฺตึ ชาตึ อภนิ กิ ฺขมน, ปธานจรยิ โพธิ- ปลฺลงฺเก มารวชิ ย สพพฺ ญญฺ ตุ ญาณปปฺ ฏิเวธ นว โลกุตตฺ รธมเฺ มติ, สพเฺ พปเิ ม พุทธฺ คเุ ณ อาวชชฺ ิตวฺ า เวสาลิยา ตีสุ ปาการนตฺ เรส,ุ

เจด็ ตานาน ๘ วิย. ตยิ ามรตฺตึ ปริตฺต กโรนโฺ ต อายสฺมา อานนฺทตเฺ ถโร การญุ ญฺ จติ ตฺ อุปฏฺฐเปตฺวา, โกฏิสตสหสฺเสสุ จกฺกวาเฬสุ เทวตา ยสฺสาณมฺปฏิคคฺ ณหฺ นฺติ ยญฺจ เวสาลยิ มปฺ ุเร โรคามนุสฺสทุพภฺ กิ ฺข- สมฺภูตนฺติวิธมฺภย ขิปปฺ มนฺตรธาเปสิ ปริตตฺ นฺตมฺภณาม เห. ---------- รตนสตุ ตฺ ๑ ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ ภุมมฺ านิ วา ยานิว อนตฺ ลิกฺเข สพเฺ พว ภูตา สมุ นา ภวนตฺ ุ อโถปิ สกกฺ จฺจ สุณนฺตุ ภาสติ ตสฺมา หิ ภตู า นิสาเมถ สพฺเพ เมตฺต กโรถ มานสุ ิยา ปชาย ทิวา จ รตโฺ ต จ หรนตฺ ิ เย พลึ ตสมฺ า หิ เน รกฺขถ อปปฺ มตตฺ า. ยงฺกญิ ฺจิ วติ ฺต อิธ วา หรุ วา สคเฺ คสุ วา ย รตน ปณตี น โน สม อตฺถิ ตถาคเตน อทิ มปฺ ิ พุทฺเธ รตน ปณตี ๑. ขุ. ธ. ๒๕/๕, ๓๖๗.

รตนสตุ ตฺ ๙ เอเตน สจฺเจน สุวตถฺ ิ โหตุ. ขย วริ าค อมต ปณีต ยทชฺฌคา สกฺยมนุ ี สมาหโิ ต น เตน ธมฺเมน สมตฺถิ กญิ ฺจิ อทิ มปฺ ิ ธมฺเม รตน ปณีต เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ. ยมฺพุทฺธเสฏฺโฐ ปริวณณฺ ยี สจุ ึ สมาธมิ านนตฺ ริกญฺญมาหุ สมาธนิ า เตน สโม น วิชชฺ ติ อิทมปฺ ิ ธมฺเม รตน ปณตี เอเตน สจฺเจน สวุ ตฺถิ โหตุ. เย ปุคฺคลา อฏฺฐ สต ปสตฺถา จตฺตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนฺติ เต ทกฺขิเณยยฺ า สุคตสฺส สาวกา เอเตสุ ทินนฺ านิ มหปฺผลานิ อทิ มฺปิ สงเฺ ฆ รตน ปณีต เอเตน สจฺเจน สุวตถฺ ิ โหตุ. เย สปุ ฺปยตุ ตฺ า มนสา ทเฬฺหน นิกฺกามิโน โคตมสาสนมหฺ ิ เต ปตตฺ ิปตตฺ า อมต วคิ ยหฺ

เจด็ ตานาน ๑๐ ลทธฺ า มุธา นิพพฺ ตุ ึ ภุญฺชมานา อิทมปฺ ิ สงฺเฆ รตน ปณตี เอเตน สจฺเจน สุวตถฺ ิ โหตุ. ยถนิ ฺทขีโล ปฐวึ สิโต สิยา จตุพภฺ ิ วาเตภิ อสมปฺ กมฺปโิ ย ตถูปม สปปฺ รุ ิส วทามิ โย อรยิ สจจฺ านิ อเวจฺจ ปสฺสติ อิทมปฺ ิ สงเฺ ฆ รตน ปณตี เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ. เย อรยิ สจฺจานิ วิภาวยนฺติ คมฺภีรปญเฺ ญน สเุ ทสิตานิ กญิ จฺ าปิ เต โหนตฺ ิ ภสุ ปปฺ มตฺตา น เต ภว อฏฺฐมมาทิยนฺติ อทิ มฺปิ สงฺเฆ รตน ปณีต เอเตน สจฺเจน สวุ ตฺถิ โหตุ. สหาวสสฺ ทสฺสนสมฺปทาย ตฺยสสฺ ุ ธมฺมา ชหิตา ภวนฺติ สกกฺ ายทฏิ ฺฐิ วิจิกจิ ฺฉติ ญฺจ สีลพฺพต วาปิ ยทตฺถิ กญิ จฺ ิ จตหู ปาเยหิ จ วิปปฺ มตุ โฺ ต

รตนสุตฺต ๑๑ ฉ จาภิฐานานิ อภพฺโพ กาตุไ อิทมปฺ ิ สงฺเฆ รตน ปณตี เอเตน สจฺเจน สวุ ตถฺ ิ โหตุ. กญิ ฺจาปิ โส กมมฺ กโรติ ปาปก กาเยน วาจายทุ เจตสา วา อภพฺโพ โส ตสฺส ปฏจิ ฺฉทาย อภพพฺ ตา ทิฏฺฐปทสฺส วุตตฺ า อทิ มฺปิ สงเฺ ฆ รตน ปณีต เอเตน สจฺเจน สวุ ตถฺ ิ โหตุ. วนปปฺ คมุ เฺ พ ยถา ผุสฺสติ คฺเค คมิ หฺ านมาเส ปฐมสฺมึ คิเมฺห ตถปู ม ธมมฺ วร อเทสยิ นพิ ฺพานคามึ ปรม หิตาย อิทมปฺ ิ พทุ ฺเธ รตน ปณตี เอเตน สจฺเจน สวุ ตถฺ ิ โหตุ. วโร วรญฺญู วรโท วราหโร อนุตฺตโร ธมมฺ วร อเทสยิ อิทมฺปิ พทุ ฺเธ รตน ปณตี เอเตน สจฺเจน สุวตถฺ ิ โหตุ. ขณี ปุราณ นว นตฺถิ สมฺภว

เจด็ ตานาน ๑๒ วริ ตฺตจติ ตฺ ายตเิ ก ภวสฺมึ เต ขณี พชี า อวริ ุฬหฺ ิฉนทฺ า นิพพฺ นตฺ ิ ธีรา ยถายมฺปทีโป อิทมฺปิ สงเฺ ฆ รตน ปณีต เอเตน สจฺเจน สวุ ตถฺ ิ โหตุ. ยานีธ ภตู านิ สมาคตานิ ภมุ มฺ านิ วา ยานวิ อนฺตลกิ ฺเข ตถาคต เทวมนุสฺสปูชิต พทุ ฺธ นมสสฺ าม สวุ ตฺถิ โหต.ุ ยานธี ภตู านิ สมาคตานิ ภมุ ฺมานิ วา ยานวิ อนฺตลกิ ฺเข ตถาคต เทวมนสุ ฺสปูชิต ธมฺม นมสฺสาม สวุ ตฺถิ โหต.ุ ยานีธ ภตู านิ สมาคตานิ ภมุ มฺ านิ วา ยานวิ อนฺตลกิ ฺเข ตถาคต เทวมนุสฺสปูชิต สงฺฆ นมสฺสาม สวุ ตฺถิ โหตุ. รตนสตุ ฺต นฏิ ฺฐติ . ๒๑ คาถากง่ึ ----------

กรณยี เมตฺตสตุ ตฺ ๑๓ ยสฺสานุภาวโต ยกฺขา เนว ทสฺเสนฺติ ภสึ น ยมหฺ ิ เจวานยุ ุญฺชนโฺ ต รตฺตนิ ทฺ วิ มตนทฺ ิโต สุข สุปติ สุตโฺ ต จ ปาปํ กญิ จฺ ิ น ปสฺสติ เอวมาทิคณุ เู ปต ปริตตฺ นฺตมฺภณาม เห. ---------- กรณยี เมตฺตสตุ ตฺ ๑ กรณยี มตฺถกุสเลน ยนตฺ สนตฺ ปท อภิสเมจจฺ สกโฺ ก อชุ ู จ สุหุชู จ สวุ โจ จสสฺ มุทุ อนติมานี สนฺตุสฺสโก จ สุภโร จ อปปฺ กจิ ฺโจ จ สลลฺ หุกวตุ ตฺ ิ สนตฺ นิ ทฺ ฺรโิ ย จ นปิ โก จ อปปฺ คพโฺ ภ กุเลสุ อนนุคทิ โฺ ธ น จ ขทุ ฺท สมาจเร กญิ ฺจิ เยน วญิ ญฺ ู ปเร อุปวเทยยฺ ไุ สขุ ิโน วา เขมโิ น โหนตฺ ุ สพเฺ พ สตฺตา ภวนฺตุ สขุ ติ ตตฺ า เย เกจิ ปาณภูตตฺถิ ตสา วา ถาวรา วา อนวเสสา ทีฆา วา เย มหนฺตา วา มชฌฺ มิ า รสฺสกา อนุกถลู า ทฏิ ฐฺ า วา เย จ อทฏิ ฺฐา เย จ ทูเร วสนฺติ อวทิ ูเร ภูตา วา สมฺภเวสี วา สพเฺ พ สตตฺ า ภวนตฺ ุ สุขิตตฺตา น ปโร ปร นิกพุ ฺเพถ นาติมญฺเญถ กตถฺ จิ น กญิ จฺ ิ พฺยาโรสนา ปฏีฆสญญฺ า นาญฺญมญฺญสสฺ ทกุ ฺขมจิ เฺ ฉยฺย มาตา ยถา นยิ ปุตฺต อายุสา เอกปุตตฺ มนุรกเฺ ข เอวมฺปิ สพฺพภูเตสุ มานสมภฺ าวเย อปริมาณ ๑. ขุ. ธ. ๒๕/๑๓.

เจด็ ตานาน ๑๔ เมตตฺ ญจฺ สพฺพโลกสฺมึ มานสมฺภาวเย อปรมิ าณ อุทฺธ อโธ จ ตริ ยิ ญฺจ อสมฺพาธ อเวร อสปตฺต ติฏฺฐญจฺ ร นิสนิ ฺโน วา สยาโน วา ยาวตสสฺ วิคตมทิ โฺ ธ เอต สตึ อธฏิ เฺ ฐยยฺ พฺรหฺมเมต วิหาร อิธมาหุ ทฏิ ฺฐญิ จฺ อนุปคมฺม สีลวา ทสฺสเนน สมปฺ นฺโน กาเมสุ วเิ นยฺย เคธ น หิ ชาตุ คพฺภเสยยฺ ปุนเรตีติ. กรณียเมตตฺ สตุ ตฺ นฏิ ฺฐิต. ๑๐ คาถา ---------- สพฺพาสวี สิ ชาตีน ทพิ ฺพมนฺตาคท วิย ยนฺนาเสติ วิส โฆร เสสญฺจาปิ ปรสิ สฺ ย อาณกเฺ ขตฺตมฺหิ สพฺพตถฺ สพพฺ ทา สพพฺ ปาณิน สพฺพโสปิ นวิ าเรติ ปรติ ฺตนตฺ มภฺ ณาม เห. ---------- ขนธฺ ปรติ ฺตคาถา๑ วริ ูปกฺเขหิ เม เมตตฺ เมตฺต เอราปเถหิ เม ฉพยฺ าปตุ เฺ ตหิ เม เมตฺต เมตตฺ กณฺหาโคตมเกหิ จ อปาทเกหิ เม เมตตฺ เมตตฺ ทิปาทเกหิ เม จตปุ ฺปเทหิ เม เมตฺต เมตตฺ พหปุ ฺปเทหิ เม มา ม อปาทโก หึสิ มา ม หสึ ิ ทปิ าทโก ๑. ข.ุ ชา. ทุก. ๒๗/๗๕.