i ๒ฅ๖ it sssuaisinflui lau ๓ พระฆHใโพรวง ศใใใรย์(ทองดี น.ร.๙) เทพยเจ้ายูวเศษทั้งหลายไค้ช่วยอภิปาลปกปีกรักษาให้ปลอคภัยไร้ทุกฃฅลอค จิรกาล รับพระราชทานถวายวิภัซนาพระ;ธรรมเทศนาใน ปีญญาพลกถา เป็น ปศาทนยกถายฅิลงค้วยเวลา เอวํ ก็่มค้วยประการฉะน ฯ ขอถวายพระพร สุตมยิปีญญา จีนตามยิปีญญา ภาวนามยิปีญญา เป็นภัพททท่านใช้อยู่ ในภัมภรเนฅฅิวิภาวิน แฅในพระไฅรป็ฎก และอรรถกถา ท่านใช้ว่า สุฅมยา ปฌฺฌา จินฺฅามยา ปณฺฌา กาวนามยา ปฌุฌา ในเมืองไทยใซ!นรูปศมาสว่า สุตมยปีญญา จีนตามยปีญญา ภาวนามยปีญญา ในเทศนานแสคงไว้ เพอประเทืองปีญญาว่าภัพท่เหล่านมืการไซ!นรูปแบบอนอก มิใช่มืเฉพาะใน พระใครปิฎกเท่านั้น ฯ www.kalyanamitra.org
๒๔ 0ตดโจทนากถา เรื่อง เตือนตนไ^คราะเหมือน อตฺตนา โจทยตฺตาน ปฏิมํเสตมตุตนา ใส อตุตคุตฺโต สติมา สุฃํ ภิกฃ วิหาหิสิติ ฯ ข.ธ. ๒๕/ฅ๕ บคน็้พบพระราชทานถ'วายวิร'ชนาพระธรรมเทศนาใน อฅตโจทนากถา โคยอนุรูปแก่พระ:ราชกุศลทักขิณาบุปหานกิจ ทศมเค็่จบรมบพิฅรพระ: ราชสมภารพระ:องก่ ผู้ทรงพระคุณอันประ:เศริฐ ทรงพระกรูณาโปรคบำเพ็่ญ พระราชกุศล ๗ วัน พระราชทานศพ พรร!ธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัล fฅธมฺโม) อคคเจ้าอาาาศวัคอัมพวัน ในวันนํ้ นบเป็นพระมหากรูณาธิคุณอันหาทศุคมิไค้ เป็นเกิยรคิคุณแก่พระธรรมสิงหนุราจารย และเป็นเกรองน้อมนำเพมพูนกาาม จงรักภักคไปถงกณะสิษยานุสิษยฃองพระธรรมสิงหนุราจารยทุกหมู่เหล่า ททรงมพระมหากรูณาธิคุณพระราชทานพระบรมราชานุเกราะหศพเป็นเวลา พรรมหาโพธิวงศาจา7ย (ทองค) วัคราชโอรศาราม กรงเทพมหานกร แฝ็คง ในงานทำบุญสิ'ฅฅมวาร พระธรรมสิงหบุราจารย (จรล ฐคธมฺโม) ณ วัคอัมพาน อำ เภอพรหมบุรื่ อังหวัคสิงหบุร วันอันทรื่ท ๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๙ เวถา (5)0.00 น. www.kalyanamitra.org
i ๒๓๘ sssuaisinfiuiiau๓ พระบMไโพธิวง ศใใารย์(ทอง ดี น.ร.๙) ๗ วัน ทั้งนเพอปรร;กาศเกยรติกุณฃองพร:;เคซพระกุณให้ปรากฏไพศาล ยํ่งข็้นไป พรร;ธรรมสิงหบุราจารย หลวงพ่อจรัญ fฅธมฺโม ถือกำเนิคเมอวันทํ่ ๑๕ สิงหากม พ.ศ. ๒๕๗๑ ทํ่ฅำ บลม่วงหมู่ อำ เภอเมือง จังหวัคสิงห้บุร ประ;วัติซวิฅของพระ;เคซพระคุณนั้นท่านไค้เล่าไว้และ;มืยู้บันทึกและพิมพ่เป็น หลักฐานไว้ฅ่อเนั้องกัน โคยท่านเล่าว่า ในวัยเค็่ก คุณยายไค้มาขอท่านไปเลยงเพราะคุณยายอายุมากและอยู่ คามลำพัง ท่านจึงมืหน้าทรับใช้คุณยาย หุงหาอาหารให้[ล่บาฅรทุกเช้า ช่วย เก็่บผักผลไม!นศวนและหาบไปขายทคลาคทุกวัน ท่านเล่าว่า คุณยายเป็นยู้ท คำ รงคนอยู่ในทึลในธรรม มืศรัทธาในพระพุทธศาสนาหนักแน่น จึงtกให้ท่าน สวคมนฅทุกวัน ใหรักษาจึล ๕ไม่ฆ่าปลามาทำอาหาร ทุกป็คุณยายจะนิมนฅ พระมาเทศนมหาชาติทบ้าน ให้ลูกหลานมาร่วมกันพัง ท่านเล่าว่าสมัยเป็นเค็่ก นั้นท่านเกเรมาก หนเรยนม่อย ก่อเหตุม่อย จนถูกให้ออกจากโรงเรยน ค้อง บ้ายโรงเรยนม่อย ในทสุคคุณยายไค้ล่งไปเรยนคนครักับหลวงประติษ^พเราะ ทํ่กรุงเทพฯ คุณหลวงไค้พาท่านไปฝากเช้าเรัยนทโรงเรัยนนายร้อยคำรวจกับ จอมพล ป.พิบูลสงกราม แค่ท่านถูกร่นพรังแกจนทนไมไหวจึงลาออก กลับมา ทั้งวงคนครัไทยทสิงหบุรั เมออายุกรบบวช คุณแมไค้มาขอร้องให้บวชเพอทคแทนบุญคุณคาม ธรรมเนยม จึงไค้ยอมบวช เรองการบวชนั้มิไค้เป็นไปค้วยกวามศรัทธาเลึ๋อมใส ของท่าน เพราะท่านไม่ชอบพระ เกยถูกพระหลวงคารูปหนงล่งนักเลงมารุม ทำ ร้ายถืงอาการปางคาย หากแคมกนมาช่วยไว้ทัน ค้วยเหตุนั้ท่านจึงไม่กิคจะ บวชนาน เครัยมถืกถืง ๓ กรั้ง แค่มืเหตุค้องเลอนทุกกรั้ง ท่านเล่าว่าพอจะ ลาสิกขากรั้งไร ก็่จะมือาการง่วงเหงาหาวนอนผิคปกติ เลอนการลาสิกขาไป จนเจ้าอาวาสไม่ยอมถืกให้ ท่านจึงบุ่งไปทํ่วัคพระพุทธชินราช จังหวัคพิษณุโลก www.kalyanamitra.org
๒๓๙ อัฅตโ'ช!น!nm 1รอง โตือนฅนใด้ใครไะ! H ชอน เพอลารกขา แต่ระหว่างทางไค้พบกับโยมกนหนงซงจะไปวัคหนองโพ จังหวัค นกรสวรรก จึงขอคามโยมไปค้วย และไค้พบกับพระกรูนิวาสธรรมฃันธหรือ หลวงพ่อเคิม วัคหนองโพ จึงมอบคัวเป็นรษยหลวงพ่อเคิม ไคจึกษาวิซากช- สาสตรและวิชาอนๆจากหลวงพ่อเคิม และอยู่ในสมณเพศคลอคมา เรองการจึกษานั้ พระเคซพระคุณมกวามสนใจมาก ไค้จึกษาทางธรรมจนไค้ นักธรรมขั้นโท ซงถึอว่าสูงมากแล้วในสมัยนั้น จากนั้นก็่ใค้เดินทางไปสืกษากับ พระเถระยูใหญ่อกหลายท่าน เช่น พระวิสุทธิธรรมรังร (ท่านพ่อล ธมมธโร) วัคอโศการาม จังหวัคสมุทรปราการ พระอริยคุณาธาร (เรง ปุสุโส) จังหวัค ขอนแก่น หลวงพ่อจง วัคหน้าต่างนอก จังหวัคพระนกรศรือยุธยา หลวงพ่อสนั่น วัคเสาธงทอง จังหวัคลพมุรื หลวงพ่อจาค วัคบ้านสร้าง จังหวัคปราจึนมุรื พระมงกลเทพมุนิ (หลวงพ่อสค จนฺทสโร) วัคปากนั้า ภาษเจริญ ไคจึกษาค้าน วิมัสสนากรรมฐานกับพระธรรมธิรราซมหามุนิ (หลวงพ่อโขคก) วัคมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ ดิกษาวิซาพยากรถ!กับสมเค็่จพระกังฆราช (อยู่ ญาโณทยมหาเถระ) วัคสระเกศ กรุงเทพฯ ดิกษาวิซาวิทยาศาสฅรทางจิฅกับ พ.อ.ซม สุกนธรัฅ เป็นค้น ทำ ให้มกวามปรากเปรํ่อง รู้แจ้งเข้าใจทั้งเรองทางโลกและทางธรรม อย่างสมบูรณ ต่อมา ท่านไค้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัคอัมพวันแห่งนั้ชงเป็นวัค โบราณและทรุคโทรมมาก มพระเพ่ยง 1๓ รูป เมอเป็นเจ้าอาวาสแล้วจึงไค้ ใซ้วิซากวามรู้ทกังสมมาคามลำคับนั้นให้เป็นประโยซนิ โคยสอนกรรมฐานแก่ ญาติโยม ให้สวคมนฅ ให้เจริญสดิชฏฐาน ขออโหสิกรรม แผ่เมฅฅา ปฏิบัติเช่นนั้ จนมยูมศรัทธาเลอมใสมากขน จนกระทั่งมจำนวนล้นหลามจนค้องสร้างอาการ สถานทอาณาบริเวณมากยั๋งฃนคามลำคับอย่างทเป็นอยู่ในปิจจุบัน หลวงพ่อจรัล จัฅธมฺโม เป็นพระนักเทศนินักสอน กำ สอนของท่านจะเน้น เรองกฎแห่งกรรม การสวคพาทุงมหากาฯ อิติปิโสเกินอายุ ๑ จบ การปฏิบัติ www.kalyanamitra.org
i ๒๔อ l|> ธรรบส!ร!ทฝ็น!lau ๓ พระชHใโพธวงศใ!ไรย์(ทองดี น.ร.๙) กรรมฐานฅามแบบสฅิปีฏฐานสิ ทํ่ท่านสอนเน้นหนักในเรองเหล่านเพราะเป็น ประสบการณซองท่าน ท่านเล่าว่าในวัยเค็่ก เกยขโมยเงินคุณยาย เกยหักซา หักกอนก เกยรับจ้างนักเลงเหล้าก้มเต่าทั้งเป็นๆ ๗ หัว เกยขโมยปลาซองนัา เกยโกงต่าเรือข้ามฟาก เกยโกงก่ากวยเฅิ้ยว เกยนำอาหารทคุณยายให้นำไป ถวายพระมากินกับเพอนๆ แล้วไปโกหกยายว่าถวายพระแล้ว เมอคุณยายจับไก้ จึงถูกฅ แล้วสอนว่า \"ขโมยกินของพระ จะเป็นเปรต ปากเท่ารูเฃ็่ม\" เป็นก้น เมอวันทํ่ ๑^ ตุลากม ๒๕๒๑ ท่านกลับจากการประชุม เกิคธุนัติเหตุ รถซนอย่างแรง ท่านถูกกระจกกรูคหนังสิรษะจากก้านหน้าเปิคไปถึงห้ายทอย ไหล่หัก กอพับจนหมุนไก้เหมือนหักกอนก แต่ขณะนั้นก็่มืสฅิกำหนคฅลอคเวลา ขณะทเจ็่บปวดแสนสาหัสอยู่นั้น ท่านยังไคยนเสิยงว่า \"เคยวจร!ซํ้าๆ\" ท่าน นกถึงเต่าทท่านเกยก้ม มันตะกายหนจนหม้อดินแตก และขณะนั้นนั้าร้อนจาก หม้อนั้ารถยนฅก็่กระฉอกลวกหัวท่านอยู่ตลอคทางทนำล่งโรงพยาบาล ท่าน ระลกถึงกฎแห่งกรรม ยอมซคใข้ ขออโหรกรรมใหทั้งหมค ทั้งสติกำหนคพองยุบ หายใจทางสะคอ จังหวะนั้น บุรุษพยาบาลทเฃื่นเปลเฃ็่นผิคจังหวะ ล้อรถเข็่นเปล ตกร่อง เกิคแรงกระแทกอย่างแรง ทำ ให้กระดูกกอของท่านเลอนเข้าท รอคซวิต มาไก้อย่างน่าอัศจรรย่ แต่ก้องใล่เรืเอกกออยู่นาน อ้าปากฉันอาหารไมไก้ก้องใข้ หลอคกาแฟหยอดอาหาร ทำ ให้ท่านกิคถึงกำสอนของคุณยายทว่า \"ขโมยกิน ของพระ จะต้องเป็นเปรต ปากเท่ารูเฃ็่ม\" เรองราวเหล่านั้ท่านเล่าให้ลูกดิษย่พัง นำ มาแสดงเป็นบางล่วนเท่านั้น ท่าน เล่าท่านสอนม่อย เพึ๋อให้แนวคิดและให้เกรงกลัวบาปกรรมทั้ทำกนไว้ว่าต้อง มาถึงหัวแน่นอนให้สวดมนตเป็นนิจ อธิษฐานจิตเป็นประจำ เจริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระลังฆคุณแล้ว สวดพาพุงมหากาฯ ว่าอิติปีโสเกินอายุ ๑ จบ อโสหิกรรมแล้วแผ่เมตตา ทท่านแนะนำเช่นนั้ ท่านมุ่งให้ทุกกนสวดมนฅให้ เจริญกรรมฐาน เพอให้พงตนเองให้!ก้ ให้มืสฅิ หังกำสอนทั้ท่านสอนไว้ว่า www.kalyanamitra.org
๒๔0 •;e. อัทฅโ\"ฃไนไทท! โรอง โตือน 01 นได้ใกรใะ I H 0 อน \"ให้อ่านตวออก บอกตวไห้ จร{ได้ใช้ตวฟ้น จฟ้.ห้เห็่น ตวตาย จฟ้.ห้คลายทิฐ จฟ้,ห้ดำริชอบ มุ่งกอปรกุศล เ!เนผลอนนต 111นหลกฐานดำคญ เอาตาซงฃ็้นมาดู เอาตราชูฃ็้นมาชั่ง\" คังนเป็นต้น ซวิฅของพระเคซพระๆณหลวงพ่อจรล น่าสืกษาน่าเรยนรู้ และน่านำมา วิเกราะหเพํ่อเป็นแนวปฏิบัติตาม ผลงานของท่านมมากศุคพรรณนา ประโยซน่ ในอ่วนทเป็นปรหิตปฏิบัติ คือประโยซนททำนำให้เกิดผลเป็นตวุามกุฃ ตวาม เจริญก้าวหน้า กวามพัฒนาของหมู่คณะและร'งกมทุกหมู่เหล่านั้นมมากเหลือ กณานับ โดยเฉพารเทโดดเด่นก็่คือการพัฒนาคน การสร้างคนไห้เป็นคนโดย สมบูรณ ต้วยการให้มสติ เจริญกรรมฐาน ใหิรูจักกฎแท่งกรรม ให้เลิกทำชั่ว พูดชั่วคิดชั่ว หันมาทำแต่ทางสุจริต จนมลูกคิษยหลังไหลมาทํวัดอมพวนน ไม่ขาดสาย แม้จะแออัดบัดเยยดอย่างไรก็่ไม่กำนึงลืง ขอให้[ค!กลืซดหลวงพ่อ ขอให้!ค้พังกำสอน ขอให้ใต้ปฏิบัติธรรมตามกำสอนก็่เพ่ยงพอแล้ว ต้วยผลงานทปรากฏเป็นรูปธรรมชัดเจน มกวามตั้งใจ เลืยสละ ทุ่มเท และอุทิศตนเพอพระพุทธศาสนา มผลงานดำเร็่จยํ่งต้านการพัฒนาลังดมและ! คุณภาพซวิต พระเดขพระคุณจึงไคืรบการยกย่องสรรเสริญ ไคิรับประทานรางวัล \"เสาอโศกผู้นำคืลธรรม\" ไคิริบประทานโล่เกยรติคุณ \"๑00 ll ซาดกาล หม่อมงามจิดต บุรฉดร บุคคลดำคญฃองโลก\" ไคิริบปริญญาคุษฎบัณฑิต กิตติมลักติจากมหาวิทยาลัยอกหลายแห่ง นับเป็นเกยรติคุณอันเป็นแบบอย่าง ทน่าจดจำและน่าปฏิบัติตาม ท้ายทสุด พระเดชพระคุณไต้เข้าริกษาตัวทโรงพยาบาลคิริราช และ! ก่อนจะละลังขารไป ๒ วัน ท่านไต้บริจากปิจจัยจำนวน ล้านบาทให้แก่ โรงพยาบาลคิริราช เพอสมทบสร้าง \"อาคารนวมินทรบพิตร พรรษา\" อันเป็นกวามดำริก่อนทจะเข้าริกษาฅัวทโรงพยาบาล จากบันอก ๒ วัน www.kalyanamitra.org
£ ๒๔๒ sssuaisinfiui lau ๓ พระบพใโพริวงศใใไรย์(ทองดี น.ร.๙) ท่านก็่ละ;ร'งฃาร เมอวันท ๒<^ มกรากม พ.ศ. ]รท๕๕ เกลา 0๘.คา๗ น. สิริรวมซนมายุไค้ ๘๘ ป็ ๕ เสือนเศษ จากซวประ;วัติซองพร:;เคซพรร:กุณทแศคงมาน แสคงให้เห็่นก่าพร^เคซ- พระ;คุณไค้ปฏิบัติคนไปคามหลักกำสอนของพT:;พุทธเจ้า สือเบองค้นมซวิค ไปคามยถากรรมเหมอนกนทวไป แค่ต่อมาเมืออุปสมบทรำเริยนวิซาการทาง พระ;พุทธศาสนาแล้วก็่ใค้สติ เสือนคน พิจารณาคนไปคามกกามจริง เห็่นแล้ก กปุฏิบัติคปฏิบัติซอบพัฒนาคน เมือคนไครับผลไคริบอานิสงส์แล้กก็่นำมาแนร;นำ พราสอนกนอนให้คำ เนินคาม จนมืลูกติษยมากมาย มืซํ่อเส์ยงเร็เนทยอมรับ กำ เนินซวิคอย่างมืกกามสุขคามอัคภาพในฐานร:เป็นสนณร: ซวิคเซ่นนสมเค็่จ พระ;ลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงยกย่องแลร:ครัสสอนไกัก่าเนอหำไคขกิฅภ็่จ;;:ฎยู่เป็นสุข ลังพระ;บาลในธรรมบท ฃุททกนิกาย ทอัญเซิญมาเป็นนิกเขปบทเบี้องค้นกา อตฺตนา โจทยตฺตานํ เป็นอาทิ ซงมืใจกกามว่า \"จงเตอนตนด้วยตน จงพิจารณาตนด้วยตน ผู้นนมืสติ คุ้มครองตนได้แล้ว ย่อมอยู่เป็นสุข\" อันซวิคของมนุษย่หรือของลักเรานิ้เป็นร่งทอัศจรxyอยู่ ถ้าเราไค้กิคไค้ มุองคูจะ;เห็่นซัค ซงในพระ;พุทธศาสนาเองกี่สอนให้มองคูลักเอง ให้มองคูลักคน ทสมมติกันว่าเป็นเราเป็นเขา เป็นมือ เป็นเห้า เป็นนาย ก นาย ข เป็นกนนั้น กนนั้ นั่นสือเป็นลักหรือเป็นซ่กิคเป็นร่างกาย ชวิคร่างกายนแหล::ทน่าอัศจรรย น่าอศจรรยอย่างไร สือลัคกเขากี่มืร่างกายเหมือนกนเรา แต่ร่างกายล้ตวพัฒนา ไหสูงสุดไมใด้ พฒนาได้แต่เพิยงให้เจริญเติบโต เพิยงให้มืชวิตอยูไปวันหนั่งๆ แล้วกี่ตายจากไป แต่ชวิตร่างกายมนุษย่พัฒนาให้ยงไปกว่านั้นได้ สือพัฒนา จนกึงให้บรรลุมรรกผลนิพพานไค้ให้พ้นจากกิเลสไค้ แล:;เมื่อพัฒนากึงทแล้ก มนุษยสามารถหำอะไรต่อมิอะไรไค้มากมาย ยงในสมัยบัจจุบันมนุษยเราสามารถ ทำ อะไรต่างๆ ไค้เหนอกกามกาคหมาย นั่นเพราะมืการพัฒนา www.kalyanamitra.org
๒๔ฅ อัฒahninnm SSi 1รอง 1ตอนตนใด้ใflS'^ะIHชอน การํ1ห้มองดูตวเองกี่เพึ๋อจฟ้.ด้รูจกตวเอง จส์ได้รู้ว่าตวเองกำลงทำอ^ไร กำ ลงพูดอร{ไร กำ ลงคิดอรไร ชวิตทํผ่านไปๆได้กำไรหรือขาดทุน ได้กำไร คิอได้ทำสิงทดๆให้แก่ตนแลร{แก่สิงคม ขาดทุนคือได้ทำสิงทํเลวร้ายทำความ ^ . -I เคือ คน เกยจคร้านทํจร{ทำสิงทํคืงามอยู่ เมอมองตัวเองเซ่นนก็่จร:เห็่นตัวเองซัคเ'จน เมอเห็่นชัคเ'จนแล้ว กี่'จรไล้ เคือนฅนเอง ศอนตัวเอง พี'จารณาตัวเองว่ายังฃาเๆสิงโค ยังมิไล้ทำสิงไคอัน เป็นกวามคืงาม เ'พอ'จร;ไคืรบทำรบเพํ่มพูนให้มากยั๋งฃน หากตัวเองปรร;พฤฅิ กรร;ทำในทางฟ้.มถูกล้อง ไม่ชอบธรรม กี่จร;เสือนตัวเองสอนตัวเองให้เรกลร: เส์ย ไม่กรร;ทำต่อไป ป็กฝนให้มสฅินกถึงตัวเอง สร้างทพงให้แก่ตัวเอง กี่จร: พลิกพีนตัวเองให้กลับมาคไล้ นสือการพัฒนาซวิฅของคนอันเกิคจากเสือน คนเอง พีจารณาคนเองในทางทถูกล้อง เมํ่อแสคงโคยสรุปแล้ว คามพรร;บาลช้างล้นนม่งให้กนเราพัฒนาคนเอง พัฒนาให้เจริญฃนคฃนเรอยๆ ล้วยการทำความคปรร;การต่างๆ อันกวามคนัน เมอแยกแยร;เป็นรายลร;เอยคออกมาย่อมไล้เป็น ถก รร;ตับล้วยกันกอ ความคื รร{ด้บด้น ความดรร;ด้บกลาง แลร; ความดรร{ด้บสูง ความดรร!ด้บด้น เป็นกวามครร;ตับพ็้นฐานทกนทั่วไปเขากี่มกันอยู่ จร; เป็นกนไทย เป็นฝรั่ง เป็นใกรอยู่ทั่ไหนกี่คาม กี่มกวามครร;ตับนกัน มากบ้าง น้อยบ้าง แลร;กวามครร;ตับนพ่อแมกสอนไล้ แนร;นำไล้ ผู้หลักยูใหญ่ กรูบา- อาจารย่กี่สอนแนะนำกันไล้ ความดรร!ด้บนั้Iด้แก่ ความขยันหมั่นเพยร ความ อดทน ความปรร{หยัดมธยัสถ ความอุดสาหร{ตั้งใจทำมาหากิน รวมไปถึง ความจริงใจ ความซอสิตยสุจริต ความมึใจมั่นคง แลร{ถึกไปถึงความกตญฌู กดเวท ความรู้คุณคน รู้ตอบแทนคุณคน เหล่านเป็นกวามคระตับล้นททำกันไล้ www.kalyanamitra.org
i ๒๔๔ # sssuaisiimuiiau๓ พระฆHาโพรวง ศใใใรย์(ทอง ดี ป.ร.๙) โคยทัวไป เซ่น ในกรอบครัว ผู้เป็นพ่อเรนแปรักลูก เลยงคูลูก มกวามขยัน ทำ มาหากินมาเลยงคูกรอบกรัว ฟ้ามมกวามจริงใจซอยัฅยัต่อภรรยา ภรรยาม กวามจริงใจซือร'ฅยต่อฟ้าม อย่างนเป็นกวามคทังสิน แต่เป็นกวามครร;คับค้น ทไกรๆ เขาก็่มก็่เป็นคัน ความดรร;คับต้นเซ่นน เป็นเหตุให้คังคัวใต้ ทำ ไหชวิตอุดมสมบูรณ์ อยู่ดมสุข เป็นเหตุให้คนยกย่องสรรเสริญ ให้เกยรติ ว่าเป็นคนขยน เป็น คนซอคัตย่สุจริต เป็นคนกคัญฌู เป็นต้น แต่กนเรามิใซ่จร:พัฒนาคัวเองโหมกวามครร:คับค้นร:;คับพนฐาน อยู่คมฟ้ข ณพยงพอแล้ว แก่พัฒนาคัวเองใหมนกงอยู่ในคุณธรรม ใหม'งมกรสุข กินอํ่ม นอนอุ่น มยศคำ แหน่ง มเกยรฅิมซอเรยงณพยงพอแล้ว หากวรเป็นเซ่นนั้นไม่ หากวรหยุคอยู่แก่นั้นไม่ เพราร:กนเราฟ้ามารถพัฒนาคนให้ฟ้งฃ็้นไปกว่านั้นไค้ จึงกวรพัฒนาคนไห้สูงขนไปอก คือพัฒนาให้มกวามคในรร:คับกลางต่อไป ความดรร;คับกลาง คือกวามคืรร:คับทํ่เป็นบุญ การทำกวามคืรร:คับกลาง ทเป็นบุญนั้นก็่คือให้ทาน การรักษาคืล แลร:การเจริญฟ้มาธิภาวนา ถามว่าเมือทำบุญแล้วไต้อ^ไร ตอบว่าไต้ความสุขใจ ไต้ความสบายใจ ไ^ติอมเอิบใจ แลร;ผู้คนก็่ให้ความเคารพนบถือ บุญปรร:การแรกคือทานหรือการให้นั้น เป็นกวามคืททำคันอยู่เป็นปรร:จำ แต่การให้มิใซ่ว่าจร:เป็นบุญไปทุกอย่าง เพราร:การให้ทเป็นเพยงรร:คับคุณเท่านั้น ก็่มื เซ่น การทเราให้ทรัพย่ฟ้มบัฅิแก่ลูก ให้ข้าวให้นาแก่ลูก เมอลูกไค้เงินจาก เราแล้วยิมแย้มแจ่มใฟ้ ไค้ทานข้าวไค้คํ่มนั้าทเราให้แล้วมืกวามสุข วั๋งเล่น หัวเราร:เริงร่า เราผู้เป็นพ่อแมกพลอยมืกวามสุขไปค้วยเพราร:เห็่นลูกมกวามสุข การให้แก่ลูกเซ่นนั้เป็นคุณ เป็นกวามคืรร:คับปกติ ยังไมถงรร:คับเป็นบุญ เพราร: เป็นการให้ปกติใหคับกนใกลซิค ใหคับกนทเรารัก หรือให้เพฑร:มืกวามผูกพันคันอยู่ www.kalyanamitra.org
๒๔๕ 0ijm!inuifiai I รอง I m อิ น m u ใฅ้ใทรใะ I H 0 อ u การให้เซ่นนิ้แม้นกกาแม^ฅวอืนก็่ใ'^ต้เ■หมือนกัน เซ่นนกกป้'อนอาหารลูกกัน เป็นเหมือนกัน กาฟ้ห้แก่ลูกหลานทำให้เรา^ฃใจ^^บา หากแดเมอเขา เจริญเติบโตขน ลูกหลานเราเกิดเกเรขนมา เป็นลูกอกดญญขนมา ลูกหลาน เราไม่ดามใจ ไม่เชํ่อฟ้ง ทำ ความเสิยหายอย่างโน้นอย่างนํ้ ความสุขใจ ความ อํ่มเอิบใจเหมือนเมือดอนทํดนให้แก่เขานนจร^ค่อ^ๆ หมดไป กลายเป็น ความชอกชํ้าใจ เป็นความเส์ยใจเข้ามาแทนท บางคราวถงกับทำให้ลมหมอน นอนเร่อหรือกงกับดายจากไปเพราร^เรยใจเพ^ร^ป็ดูคหํวหิ ตรงกันข้าม หากให้กนอน ให้ต่อสาธารณร!ให้!ปแล้วเราไค้กวามปลาบปลม ไดป็ฅิยินคฅลอดไป ไปมืวันเสือมกลาย เซ่นบางกนสร้างโรงเรยน บางกนสร้าง พระพุทธรูป สร้างโบสก สร้างกุฏิ สร้างวิหาร สร้างศาลา นกอร่งทเป็น สาธารณประโยชน เมอยามเข้ามาในศาลาทกัวเองสร้างไวิกชนใจว่า บฟ้บ ศาลาของเรา นเป็นศาลาทเรามืส่วนร่วมสร้างค้วย บางกนไมไค้สร้างเอง แต่ มืกนนามสกุลเคยวกันสร้างไว้ พอมาเห็่นนามสกุลเข้ายังพลอยดใจชนใจเลย นแหละคือบุญและผลชองบุญ บุญนเลิ้ยงไปดลอด ไม่เปลยนแปลง ไม่กลาย เป็นอย่างอน บุญกลบเป็นบาปไปไมให้ เมือเป็นบุญก็่เป็นบุญไปดลอด ให้ อานิสงส์ให้ประโยซนทเป็นความสุขไปดกอด นคือบุญทเป็นรูปธรรม กวามคืทเป็นบุญทํ่สูงฃ็้นไปอกระดับหนง คือ บุญทเกิดจากการรักษาคืก กำ ว่าคืลในทน็้!มไค้หมายกงแก่มืคืล ไมไค้หมายกงแกรับคืล เพราะว่าเมอรับ ^ <4.J การรักษาคืลเท่านั้นจึงจะถือไค้ว่าเป็นการทำกวามกทเป็บบุญ คนเราเมือยง ไม่มืติลก็่ควรทเคืล เมํ่อทเคืลแล้วก็่ควรรักษาคืล หรือเมือมืคืลแล้วกี่ควร รักษาคืลให้ค คืลทกวรรักษาดามปกฅิก็่คือคืล & รักษาคืล ๕ ให้มนกง www.kalyanamitra.org
i ๒๔๖ sssuaisinflin lau ๓ พระนHาโพรวงศไใใรย(ท 00M ช.8.๙) ให้บริศุทธิ้บริบูรณ!ค้มากฃ้อเท่าไรก็่จร;ไ^บปรร:!ยซน!ค้Tบอานิสงส์แห่งสืล มากขนเท่านั้น กวามคทเป็นบุญทํ่สูงขนไปอกก็่กือภาๆนา ภาวนาม ๒ ร:;กับกือร2คับ สมถร; กับระคับ วิชสสนา ภาวนาระคับอบรมจิฅกือกาrtเกฝนจิฅ กวบคุม กวามกิค กวบคุมอารมโน!ห้หยุค ให้นํ่ง ให้สงบ ไมให้ฟ้งซ่าน ไมใหกคพล่านiป คามใจโคยไม่มการกวบคุมหรือควบคุมไมไค้ อย่างการนั่งฟิงเทคนค้วยใจท^^งบ อย่างนั้แหละเรืยกว่าสมถะ เรืยกอกอย่างหนงว่า t^มๆf สมาธิก็่คือความ ตุงใจไว้มั๋นคง จนสามารถบังคับใจให้หยุด ให้นั้ง ให้สงบได้ เมํ่อใจหยุคไค้ นํ่งไค้ ก็่จะเป็นสุขเหลือล้น คนทเป็นโรคปร:;สาท นอนไม่หคับ มความเครืยด ณพราะใจไม่สงบ ทำ ไมไม่สงบ เพราะใจบังไม่หยุด บังไมนง แม้นอนนั้งๆ อยู่แดใจบังไม่หยุดคิด ไม่หยุดห้งซ่าน เหมือนรถยนฅทจอคสนิทไม่เกลอนไหว แล้ว แค่เกรองยนฅยังฅิคอบู่ มนจึงยังสะเทือนเกลือนไหวอบู่ ยังไม่นั๋ง เพราะ เกรองยนฅยังฅิคอบู่จึงนั้งไมไค้ ใจก็่เซ่นเคยวกันล้าหยุคไค้นั๋งไค้ก็่สงบเย็่นและเป็นสุข แล้วจะค้องทำ อย่างไรใจจึงจะหยุคไค้นั๋งไค้ ฃ้อนั้ค้องป็ก อบู่ๆจะหยุคเองนงเองไมไค้ คังนั้น เขาจึงใช้กำว่า!!กสมาธิหรือtlกภาวนา การ!!กภาวนานแหละทเป็นควๆมคท เป็นบุญทสูงกว่าระคับทานและระคับทืล ส่วนกวามคระคับสูงชงสูงกว่าให้ทาน รักษาทืล และเจริญภาวนา ภ็่คือ การซ่วยเหลือคนอึ๋น การให้ทาน การรักษาลืล และการเจริญภาวนา โคยพ็้น ฐานปกติเป็นภารปฏิบัคิเพอประโยซนส่วนคน คนค้องภารบุญค้องการอานิลงส่ จึงทำจึงปฏิบัติ มิไคกคถึงกนอน จึงยังอยู่!นวงแกบ ซงกนเราส่วนหนงมืความ คระคับค้นสมบูรโน ขยันหมั่นเพยรสร้างเนั้อสร้างคัวไค้แล้วกี่หยุค ไมให้ทาน ไม่ รักษาทืล ไม่เจริญภาวนา แค่บางกนเมอมืฐานะแล้วก็่ทำบุญทากุศล ให้ทาน บ้าง รักษาทืลบ้าง เจริญภาวนาบ้าง ค้วยเห็่นว่าจักเป็นทางรักษาสมบัติของคน www.kalyanamitra.org
๒๔๗ # อัทฅhnuifiai -SA; isoo imoum นใด้ใคร'=1ะimDou \\J ไ^ค้ และ;'จ2เป็นบุญกุศลฅิคฅัวฅามฅนMนภพซาฅิฅ่อไป จี้งทำบุญต่างๆ แต่ก็่ ทำ เฉพาะ;ฅนเท่านั้น มิไค้ช่วยเหลือเกอกูลใคร ฉะนั้น การทำความคทเป็นบุญ จงเป็นความคระ:คับกลาง ต่วนการช่วยเหลือคนอํ่นเป็นการเออประ:โยซนแก่คนอนเป็นหลัก ซง เป็นร่งทํ่ทำไค้ยาก ค้องเป็นผู้มใ'จประ:เศริฐ เลืยสละ:ความสุขต่วนฅนในหลายๆ ค้าน ผู้ทำ ความดรร;ดบนั้1ด้จร;ต้องม!(ญญามวิลัยทศนมองเห็่นคนอึนทํเขา เดือดร้อน ทเขาลำบาก ทเขายงมทุกฃอปู ก็่ต้องการให้พ้นจากภาวะแช่นนน จงไต้เลัยสดร; แบ่งป็นทรัพยสิน แบ่งปีนความรู้ แบ่งปีนความคิด ไปช่วยเหดือ เกั้อกูดเขาเหด่านั้น เป็นนกลังคมสงเคราร;ห เป็นนกเลัยสดร; ต้วยนาใจ ทบริสุทธิจริง ไม่หวงผดตอบแทนใดๆ ทเป็นรูปธรรม อย่างเช่น พระ:พุทธ องคเมอตรัสรู้แล้วก็่ทรงเลืยสละ;พระ;วรกายเสค็่จออกลังสอนซาวโลกใหรู้ธรรม ตามพระ;องค พระ:อรหันฅทั้งหลายพระ;เถระ;ทั้งปวงยู้มปฏิปทาเช่นนั้นก็่ปฏิบัติ ตามพระ:ปฏิปทาซองพระ;พุทธเจ้า แม้เหต่ากษัตริย่ พ่อค้า คฤหบค สมัย พระ;พุทธเจ้าและในสมัยต่อมาจนถงปิจจุบัน'จำนวนไม่น้อยก็่ปฏิบัติตามเช่นนั้ การช่วยเหลือคนอนค้วยความเลืยสละ ค้วยนั้าใจลันประเสริฐเช่นนั้แหละท เป็นความคระคับสูง ความคระคับต่างๆเหต่านั้เป็นทางเลือกในการพัฒนาตน พระเคซพระคุณ พระธรรมสิงหบุราจารย่ ท่านคำเนินช่วิตค้วยการทำความคใน ๓ ระคับนั้มา โคยลำคับ จนครบล้วนสมบูรณ ทั้เห็่นเป็นรูปธรรมก็่กือการช่วยเหลือเกอกูล ยูอน การสงเคราะหัยูอนค้วยอาหาร ค้วยปิจจัยทรัพย่สินต่างๆ และค้วยการ แนะนำพรํ่าสอนอย่างไม่รู้จักเหน็่คเหนอย ไม่ย่อท้อ ทุ่มเท นแหละคือความค ระคับสูง เป็นความคืระคับอริยะ ซงพระอริยะสมัยโบราณมพระพุทธเจ้าเป็นค้น ทรงปฏิบัติมา ชงความคืทั้งปวงเหต่านั้เกิคไค้เป็นไปไคกเพราะพระเคซพระคุณ มิประสบการโน แล้วก็่เคือนคัวเอง พิจารณาคัวเองให้เลิกให้ละ แล้วก็่เลิก www.kalyanamitra.org
k ๒๔๘ sssuaisiiifiui lau ๓ พระนHาโพธิวง ศใใใรย์(ทอง สิ ช.ร.๙) ไค้ตฟ้.ด้ เมือเลิกไค้ละไค้แล้ว ก็่ซือว่าค้มกรองตัวเองไค้ทแล้ว อยู่เป็นสุขแล้ว แฅ่มิไค้หยุคอยู่แก่ตัวเอง ยังไค้เลิยสละทุ่มเทแนะนำร่งลอนยูอน ให้มืสฅิ ให้ สวคมนฅ ให้นำเพ็่ญกรรมฐาน เป็นค้น ชงถือว่าเป็นแบบอย่างทงคงามไค้ อันลิษย่ทั้งหลายของพระเคซพระคุณ'จะไค้ลิามืกแลร;ปฏิบัติคามกันก่อไป อัน อักเกิคประโยซนทั้งแก'คนและแก่อังกมไปคลอคกาลนาน อิมินา กตปุฌฺเฌน ขออำนา'จพระราชกุศลทักขิณานุปทานบุญกิริยาท พระบาทสมเค็่'จพระเค้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรคนำเพ็่ญกุศล ๗ วันพระราชทาน ศพ พระธรรมลิงหบุรา'จารย่ ('จรัล ฐคธมฺโม) อคคเค้าอาวาสวัคอัมพวัน ณ โอกาสน ขอ'จงอัาเร็่จอัมฤทธิผลิควิบากสมบัติอันเป็นทิพย่บังเกิคแก่พระธรรม- ลิงหบุรา'จารย่ ในอัมปรายภพคามคตินิยม สมตังพระราชปณิธานเ'จคนา ของสมเค็่'จบรมบพิครพระราชสมภารเค้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ คลอค จิรัฐฅิกาล รับพระราชทานแสคงพระธรรมเทศนาในอัคฅโจทนากถาสมควรแก่ เวลา ยุติลงค้วยประการฉะน ฯ ขอถวายพระพร www.kalyanamitra.org
i||| เร็ร็ร็ SSEs ciSa cS=r: •ปุริสาสัญญกถา เรื่อง บุรุษอาชาไนย ทุลฺลโภ ปุ?สาชฌฺโฌ น ใส สพฺพตฺต ชายติ s ยตฺถ ใส ชายติ รใร ตํ กุลํ ปุฃฒรติติ ฯ ฃุ.ธ. ๒๕/๒๔ <^^คน จักรบพรร:ราชทานถวายพระธรรมเทศนาใน ปริสาชญญกถา U ฉลองพระเคซพระคุณประคับพระปิญญาบารม ในการทพระบาทสมเค็่จ พระเจัาอยู่หัว ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ โปรคพระราชทานพระบรมราซูปถัมก บำ เพ็่ญพระราชคุศลเนองในโอกาสกรบ ร)ถก รอบพระนักษัตร วันประสูติ สมเค็่'จพระมหาสมณเจัา กรมพระยาวซิรญาณวโรรส สมเค็่'จพระอังฆราช พระองกท ๑0 ชงวัคบวรนิเวศวิหาร โคยมพระเคชพระคุณเจ้าประคุณสมเค็่จ พระวันรัต พร้อมค้วยกณะสงฆ กณะติษย รวมทังบุกกลและองกกรทเกยวข้อง ในเจ้าพระคุณสมเค็่จพระมหาสมณเจ้าพระองกนันไคจัคบำเพ็่ญฃน นับเป็น พระมหาโพธิๆงศาจารย (ทองค) วัคราชโอรสาราม กรงเทพมหานคร แสคงในพิธบำเพ็่ญกุศลเนํ่องในโอกาสครบ ๑๓ รอบพระนักษัตร วันประสูติ สมเค็่จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวขิรญาณวโรรส ณ พระคำหนักเพ็่ซร วัคบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานศร วันอังคาร ท ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา 0๙.๓0 น. www.kalyanamitra.org
i ๒๕๐ sssuaisinnui lau ๓ wsruHใโพรวงศใใารย์(ทองดี ช.ธ.๙) พรร;มหากรุณายํ่งใหญใพศาลทพร^ราชทานพระบรมราชูปถัมภการบำ เพ็่ญ พระราชกุศลในโอกาสอันส์าศัญน การ'จคบำเพญพระราชกุศลในโอกาสfiTบ (ร)ถท รอบพระนักษัตร วัน ประสูติสมเค็่จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณๆโรรส กรั้งน็้'นั้น เป็นการ เฉลิมพระเกยรติและประกาศพร^เกยรฅิกุณ เป็นการเฆยแผ่พร^อัจฉริยภาพ พระกรณยกิ'ไแเละผลงานอันเป็นกุณูปการยํ่งใหญ่ทํ่ทTงกร::'ตำไจ้ให้ขจรช'^าย กว้างไกลไปในหมู่ชนรุ่นหลังไค้รับรู้ และเป็นแบบอย่างให้หมู่ชนรุ่นปิจ'รุษันไค้ ยคถือปฏิบัติตาม ค้วยว่าเจ้าพระคุณสมเค็่จพร:;มหาสมณเจ้าพร^องทนั้น ทรงเป็นพระสงฆผูยั๋งใหญ่ค้วยภูมิรู้ภูมิธรรม ทรงมพระคุณูปการแก่ปร5เทศชาติ และพระพุทธศาสนามหาศาล เป็นแบบอย่างทสามารถยึดถือปฏิบัติตามไค้ อย่างภาคภูมิ ทรงเป็นบุคคลประวัติศาสตรฃองปรtเทศและชองพร:;ศาสนา ทรงเป็นอัครปูชนยบุคคล ทรงเป็นบุรุษรัตนั ทรงเป็นบุรุษอาชาไนยทหาไค้ยาก เสค็่จอุบัติชนในโลกก็่เป็นศรสง่าแห่งตระกูลวงก่แล:;หมู่กณ:; เสค็่จดำรงอยู่ ก็่เป็นหลักชัย เสค็่จจากไปก็่เป็นแบบอย่างให้กระ■ตำตามและอนุสรณถืง ทรงนำ ตระภูลวงค้และหมู่คณะให้ปลาบปล็้มป็ติ ไครบความแช่มซนสูฃใจเมึ๋อระถืกถืง พระคุณูปการ ทรงปฏิบัติพระองค้สอดคล้องกับพระพุทธวัจนะทตรัสสรรเสริญ บุคคลผู้เป็นบุรุษอาชาไนยไว้!นพระธรรมบท ขุททกนิกาย ดังทอัญเชิญมาเป็น นิกเฃปบทเบืองค้นว่า 'ทุฤลโภ ปุริสาชญโฌ เป็นอาทิ ชงแปลเป็นความไทย ไค้ว่า \"บุรุษอาชาไนยหาได้ยาก ท่านย่อมไม่เกิดในททั่วไป ท่าน เส์นนักปราซญ่ เกิดอยู่ในตระกูลใด ตระกูลนันย่อมไดร้บ ความสุข\" ตามพระบาลนั้ ทรงยกย่องสรทส?ญบุฅคลผู้เป็นอาชาไนยว่าหาไค้ยาก เกิศมไค้ยาก เหปีอนช้างอาชาไนยทเป็นช้างมงคล มิไค้หาไค้ง่าย มิไค้เกิคไค้ง่าย www.kalyanamitra.org
๒๕© If\". ชริสฬญญทm 1รองขุร'ษอไซไในย มิไศ้เกิฅในปีจจันศประเทศหรอในถั๋นทตํ่าฅ้อยทุTกันศาร หากแต่เกิดในฅระทูล ช้างมงคลในถํ่นทเหมาะควรอุคมศมบูรณเท่านั้น ศมเด็่จพระมหาศมณเจ้า พระองคนั้นก็่ทรงเป็นเช่นนั้น ทรงเป็นบุรุษอาชาไนยโดยแท้ มิใช่จะหาได้ง่าย นับเป็นโชควาศนาเป็นบุญบารมของประเทศไทยและพระพุทธศาศนา ทบุรุษ อาชาไนยเฉกเช่นศมเศ็่จพระมหาสมณเจ้าได้เสด็่จอุนัฅิขนแล้วศร้างศรรค คุณูปการมากมายมหาศาลแก'ประเทศและพระศาสนา ชงคนไทยและพระสงฆ ไทยไดรับอานิสงล้เจริญรุ่งเรืองในด้านต่างๆ มาดราบเท่าคุกกันนั้ เค็่จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวซิรญาณวโรรส เมอเสค็่จอุบัติ ก็่เสค็่จอุบัติในฃัฅติยวง ทรงเร็เนพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเค็่จพระ- จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลทํ่ <1 แห่งพระบรมราชจักรวง ทรงอยู่ในฐานะ พระกนิษฐภาคาในพระบาทสมเค็่จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท ๕ ทรง เป็นกู่พระบารมของรัชกาลท ๕ในการพัฒนาประเทศ ในการปกครองแผ่นติน ในการจัคการติกษาให้กนไทยและพระสงฆใค้ฉลาครู้ก้าวหันโลก ทรงปฏิบัติ พระองคเป็นแบบอย่าง สร้างสรรกผลงานโคคเค่น นำ กวามแช่มซนเบิกบานและ พระเกยรติกุณให้เกิคสุฃแก'พระราชสกุลและพระประยูรวงติ เมอเสค็่จออก ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ทรงคำรงอยูในอริยวงติ วงติแห่งพระสงฆ!นพระพุทธ- ศาสนาทสมเค็่จพระบรมศาสคาทรงตั้งไว้ ก็่ทรงปฏิบัติภารกิจตั้งส่วนทเป็น อัฅฅสมบัติและส่วนทเป็นปรหิฅปฏิบัติงคงามไพศาล เป็นประโยชนํมั่นกงและ ยั่งยน นำ กณะสงฆ!ทย่ให้ก้าวหน้าพัฒนาชนโคคเค่น เป็นทตั้งแห่งศรัทธา เป็นปูชนํยษุกกล เป็นเนอนาบญชองชาวโลกไค้อย่างสมพระเกยรติภูมิ มาคราบเท่าทุกวันน ซอว่าทรงนำกวามสุขกวามส์าเร็่จมาให้แก'ตระกูลวงติ สงฆ!ทยอกทางหนง ในฐานะททรงเป็นพระประนุชสงฆ ก็่ทรงมพระกุณูปการแก'พระ ประยูรวงติสมพระเกยรติ ทรงเป็นพระราชอุบัธยาจารย่ของพระมหากษัคริย่ www.kalyanamitra.org
i ๒๕๒ # sssuaisinHui lau ๓ พระขHใโพรวง ศใใารย์(ทอง ดี ช.ธ.๙) ๒ พระองกกือ พระบาทสมเค็่จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลทํ่ และ พระบาทสมเค็่จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท ๗ ทั้งยังทรงเป็น พระอุปิธยาจารยัซองสมเค็่จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้า และพระเจ้าลูกยาเธอ ในรัชกาลท ๕ อกหลายพระองก หับไค้ว่าทรงเป็นอักรปูชนยบุคกลชองสถาบัน พระมหากบัฅริยัอย่างถ่อง แท้ สมเค็่จพระมหาสมณเจ้าพระองกทั้น ทรงปฏิบัติพระองคหหักแน่นมั่นกง คำ รงอยู่ในฐานะบุรุษอาชาไนยอย่างสมพระเกยรติ ทรงประสิทธิ้ประสาธน่ กวามเจริญรุ่งเรืองให้แถ่ประเทศชาติและพระพุทธสาสนาเป็นอเนกประการ อย่างเซ่นในเรองของการสืกษา ทรงไคํรับกวามไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาท- สมเค็่จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท ๕ ให้ทรงรับภาระและคำเนินการเกยวกับการ สืกษาของราษฎรในประเทศ กล่าวกือเมอรัชกาลท ๕ ทรงมพระราชประสงก จะขยายการสืกษาส์าหรับราษฎรให้แพร่หลายไปล่หัวเมืองทั่วพระราชอาณา- จักร ไค้ทรงอาราธนาสมเค็่จพระมหาสมณเจ้าพระองกนั้น ให้ทรงรับภาระ อำ นวยการจักการสืภษาหัวเมือง เมอป็พุทธกักราช ๒ พระองก ก็่ไค้ทรงคำ เนินงานจัดการสืกษาหัวเมืองค้วยพระวิริยะอุกสาหะ ทำ ให้เกิกมื โรงเรืยนล่าหรับกุลบุกรฃ็้นในหัวเมืองต่างๆ ในทุกมณฑลทั่วประเทศสมกาม พระราชประสงค หับเป็นการวางพนฐานการสืกษาซั้นประถมล่กษาของไทยเป็น กรั้งแรก พระองกจึงทรงอยู่ในฐานะเป็น^ห้กำเนิกการประถมสืกษาชองชาติ โกยแห้ ในการนิ้พระองกค้องทรงทุ่มเทกำลังพระปรืชาสามารถและพระวิริยะ อุกสาหะอย่างมากมาย เพราะค้องทรงคำริจักการทุกอย่างค้วยพระองกํเอง เพอให้การสืกษาของชาติเจริญรุ่งเรืองกามพระราชประสงกํ อกทั้งทรงเห็่นว่า \"รากเหง้าของการกักษาฃองคนไทยก็่คือวดและพระพุทธศวนา\" จึงทรงให้ นํ้าหหักและทรงทุ่มเทเรั้องการกักษาไปทวัคและในเรั้องพระพุทธศาสนา เซ่น www.kalyanamitra.org
๒๕ฅ ฿ ชุริสใชัญญflfll 1ร0ง บรษอใชใในย ทรงพระคำริจัคหาและสรางหลักฟ้ฅรส์าหรับการเล่าสัยนของกุลบุฅ^^นหัๆฟ้อง ทั่วพระราชอาณาจักร ทรงชักนำประซาซนให้เห็่นประโยซนของการสืกษาและ! ช่วยกันสร้างโรงเรยนฃนในวัค เพอเป็นทเล่าเร้ยนซองบุฅรหลานซองพวกเซาเอง ทรงจัคป็กอบรมพระสงฆยู้มกวามรู้'ความสามารถให้เช้าใ'จ่!.นกาTสืก แล้ก ตั้งให้เป็นผู้อำนวยการจัคการสืกษาในหัวเมองปTะ!'จำมณฑลค่างๆ และ!ทTง เป็นผู้ทกอยช่วยเหลือแก!ฃปิญหาชัคช้องค่างๆทเกิคฃึน ณ ทนันๆให้ลุล่วงไป ด้วยพระปรซาสามารถอันลุชุมก้มภรภาพ เนองมา'จากพระคำริและการจัคการ ของพระองก้เป็นการแรกเรั๋มน็้เอง จึงไคํมโรงเริยนประถมลืกษาและมัธยมลืกษา เกิคขนทั่วพระราซอาณาจักร โคยเฉพาะโรงเริยนทตั้งอยูในวัคก้งทปรากฏอยู่ ในปิ'จ'จุบัน ในด้านการลืกษาซองกณะสงฆนั้น กล่าวได้ว่าพระองคทรงเป็นผูให้ กำ เนิคการลืกษาแบบใหม่ซองกณะสงฆ ทรงเปลืยนระบบค่างๆ เกยวกับการ ลืกษาฃองกณะสงฆ จากระบบโบราณซึงยากแก่การเล่าเริยน ด้องใช้เวลามาก และไม่แพร่หลายแก่พระสงฆ มาเป็นระบบการเล่าเริยนแบบใหม่ ซึงให้การเล่า เริยนง่ายฃ็้น ได้ผลรวคเร็่วซน และแพร่หลายออกไปล่พระภิกษุสามเณรหัว พระราซอาณาจักร พระองก้ทรงกำหนคการลืกษาทเริยกว่า \"นกธรรม\" ซน แบ่งเป็น ๓ ชั้น ลือมักธรรมชั้นฅริ มักธรรมชั้นโท และมักธรรมชั้นเอก ทรง พระนิพนธหลักสูฅรวิซาการค่างๆ ซนใหม่ลืาหรับให้พระภิกษุสามเณรไคํลืกษา ประจำชั้น ทรงนำหลักสูฅรและวิธการแบบใหม่ทพระองก้ทรงพระคำริขนมา ทคลองใซ!นลืามักเริยนซองวัคบวรนิเวศก่อน ทรงใช้คำราทพระองก้ทรงพระ นิพนธชั้นใหม่สอนพระนวกะวัคบวรนิเวศ และทรงใซึวิธการสอบแบบใหม่ลือ การสอบโคยการเซึยนแก่พระนวกะในล่ามักวัคบวรนิเวศก่อน เรํ่มด้นแค่ป็ พ.ศ.๒ เมอทรงคระหมักเห็่นว่าเป็นวิธการทคและให้ประโยซน!นการ ลืกษาเป็นอย่างยํ่ง จึงได้ทรงนำการลืกษาแบบใหม่ทํ่ทรงทคลองได้ผลประจักษ www.kalyanamitra.org
i ๒๕๔ sssuaisiimm lau ๓ พระบHไโพรวง ศใใไรย์(ทอง สื ช.ร.๙) แล้วนมาฅงเป็นแบบการสืกษาส์าหรบกณtสงฆ และการสืกษๆแบบใหม่น็้^ล้ เจริญสืบมาจนถึงปีจจุบัน ในฐานะองกพระประมุฃฃองกณะศงฆ ไค้ทรงวางรูปแบบการปกกรอง กณะศงฆใหม่ เพราะแก่ก่อนนั้น การปกกรองกณะลงฆฅกอยู่กับกระทรวง ธรรมการ และการดูแลพระลงฆแม้จะมเจ้ากณะใหญ่แก่ก็่มิไ^นแก่กัน คังม ลายพระหัฅถถึงพระยาวิลุทธลุริยกักคิ ผูรังตำแหน่งเลนาบคกระทรวงธรรมการ ในลมัยนั้น โกยทรงเลนอแนะว่า \"แค่ก่อนคณ:!แยกกันกรอง หรอบางสมัยมกังฆราช ณาริญอายพรรษา มอย่ก็่เปีนแค่เพยงกิฅฅิมกักฅิ กร:!ทรวงรรรมการจำต้องทำหน้าทกังฆราช ผถเปีนอย่างไรบ้าง มิอาจว่าพร:!ให้เรยบร้อยไต้ เพราะไมไต้เปีนพร:!ต้วยกัน ไมมิทวามรูไนว่ายพระทั่วกง ไม่รู้อัรยากัยชองพระแจ้งชัท เมอเปีนเช่นน จํง ไม่สามารถเพือจะระงับความเปียหายอันเกิศช็้นแล้ว แลเพอจะบำรุงไหศฃ็้น ไต้แค่ทำๆไปเท่ามัน ... ผลทํมิก็่คือความเปีอมทรามของพระสงฆอันค่อยเปีน ค่อยไปโศยลำอับ ในเวลานไต้อันเปีนอังฆราชขน น่าทกระทรวงธรรมการจะ ปลศเปปีองการพระสงฆทฅนไม่ถมัคถวายกันเปียให้เปีนเค็่คขาค จะเบาแรงเข้า แลการจะคืขน\" จากพระตำรัลแนะนำกังแลกงมา ปรากฏว่าอก \\ว เดือนก่อมา พระบาท- ลมเค็่จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็่ไค้ทรงมอบหมายกิจธุระทั้งปวงเกยวแก่ พระศาลนาแก่ลมเค็่จพระมหาลมณเจ้าพระองก่นั้น พระองคจงได้ชึ๋อวาทรง เป็นลมเด็่จพระสิงฆราชพระองคแรกทได้ทรงปกครองคณร;ลงฆโดยจริง แกร; ทรงทำให้พระได้ปกครองพระกันเองตามหรกพระธรรมวินย นบแต่ พ.ค. ๒๕๕ เป็นด้นมา เพราะก่อนแก่น แม้จะมลมเค็่จพระสิงฆราช ก็่มอยู่แก่เพยง เป็นกิฅฅิมกักกิ มิไค้ทรงทำหน้าททางการปกกรอง เพราะเจ้ากรมธรรมการ www.kalyanamitra.org
๒๕๕ ชุริสฬญญทท! fS^\\ โรองบุรุ^ษอาชใในย หรือเสนาบคกระทรวงธรรมการทำหน้าทร'งฆราช บัญชาการคณะสงฆต่าง พระเนฅรพระกรรณ การเปลยนแปลงครั้งนน้บว่ามความส์าคญในปรร!วติการปกครอง คณะสงฆของไทย เพราะเป็นการทำให้คณะสงฆพ้นจากการปกครองของ คฤห้สก และได้เป็นแบบแผนทยดถือเป็นธรรมเน้ยมปฏิบัติถืบมาในการ ปกครองคณะสงฆของไทยมาจวบจนทุกวนน จากการททรงไครับถวาย อำ นาจในการปกครองคณะสงฆเป็นสิทธิฃาคนั้น นับว่าเป็นประโยชนต่อการ คณะสงฆเป็นอย่างมาก พระองคโค้ทรงปรับปรุงแกใขการคณะสงฆในค้าน ต่างๆอย่างต่อเนั้องเป็นลำคับมา ในการนั้ มิไค้ทรงคำเนินการอย่างหักค้ามพร้า ค้วยเช่า แต่ทรงแกไชอย่างค่อยเป็นค่อยไป ค้วยวิธิการทละมุนละม่อมแต่ เค็่คชาค โคยยคพระธรรมวินัยเป็นหลัก อนุโลมคามจารืฅอันคํงาม และคำเนิน คามแบบแผนแห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ คังททรงแนะนำเจ้าคณะทั้งหลาย อยู่เสมอว่า \"การ^เายกณ::สงฆแปถกจากการป้ายบานเมือง การป้ายคณะสงฆ ป้ากัญทคมบริษัทไว้อยู่ การปกครองจะไค้บ้างเป้ยบ้างก็่ทำเนา การปกครอง ควรจัดให้เข้ารูปอย่างอาจารยปกครองป้ษย รูปใดเปีนอาจารย่อยู่โนห้องถํ่น ควรยกรูปนั้นเปีนเจ้าคณะ ทำ อะไรไมไดกเอาไว้เปีนกัวเชิด หาป้อนช่วยดกว่า แด่ถงเวถาควรให้ไข้อำนาจ ก็่ควรใข้ แด่ค้องให้เปีนไปในทางทถูกค้อง ก็่แถ้วกัน ใจฉันชอบ เวถาอ่อนกไห้อ่อนโยน อย่าอ่อนแอ เวถาจะแฃ็่งก็่โห้ แข็่งแรง อย่าแฃ็่งกระค้าง\" ในเรํ่องการปกครองนั้ ชอยกเรํ่องการเสค็่จไปครวจการคณะสงฆเป็น แบบอย่าง เรํ่องการตรวจการคณะสงฆนั้ แต่ก่อนหน้านั้นมิไค้มประเพณหรือ มธรรมเนยมปรากฏให้เห็่นว่าพระเถระยูใหญ่ระคับปกครองจะไปตรวจการ คณะสงฆเป็นงานหลัก พระองกแม้จะทรงมพระราชธุระมากมายในเมือง แต่ www.kalyanamitra.org
i ๒๕๖ sssmnsinfluiiau๓ พระบMใโพธิวง ศไใารช์(ทองดี บ.8.๙) ก็่ทรงพระวิริยะอฅสาหะเสค็่จไปตรวจการคณร;สงฆ!นหัวเมืองต่างๆ ในหลาย มณฑลเท่าทสภาพภูมิประเทศอำนวยให้เสค็่จไปไค้เป็นปรร;จำทุก!) เป็นการ เริมประเพณใหม่ทไม่เคยมืมาก่อนในคณะสงฆ เพึ๋อเป็นทิฏฐานุคติแก่ พระสิ'งฆาธิการทั้งหลาย ผูมืหน้าทริบผิดชอบในการคณะสงฆ กระทั่ง พระสุขภาพอนามัยไม่อำนวยให้เสค็่จไค้[คยสะดวก ในการเสค็่จฅรวจการ ** ci T o I o กณะสงฆนัน บางกรังค้องเสด็จโดยพระบาทจากตำบลส่ตำบล จากอำ เภอ ส่อำ เภอ แต่ก!มใค้ทรงแสดงให้เห็่นถึงกวามเหนอยยากโดยฐานททรงเป็น สุขมาลชาติ ฅรงกันข้ามกลับประทานพระโอวาทดักเดือนเจ้ากณะทั้งหลายให้ อดทนต่อกวามเหนอยยากในการปฏิบัติหน้าทั้ การเสด็่จตรวจการคณะสงฆทั่สมเด็่จพระมหาสมณเจ้าพระองคทั้น ทรงปฏิบัติ มืรูปแบบปฏิบัติทั่เห็่นได้ซดเจน เช่น เสด็่จตรวจวดทั้งหลายทั่อยู่ ในเน้นทางเสด็่จ ทอดพระเนตรความเป็นอยู่และความเป็นไปของพระสงฆว่า เสิอมหรือเจริญ ทรงประซมเจ้าคณะต่างๆ ในเมืองนั้น ทอดพระเนตรโบราณ สถานและโบราณวตถุทงทิเป็นวดและมืใช่วด ทอดพระเนตรสภาพบ้านเมือง ทอดพระเนตรตลาด และสถานทั่สำคญทางราซการ ทอดพระเนตรความ เป็นไปของประชุมซน โดยการเสด็่จบิณฑบาตไปตามชุมซนต่างๆ เสด็่จ เยยมเยยนข้าราซการและสถานทั่ราซการ เช่นศาลาว่าการเมือง โรงทหาร โรงตำรวจ โรงเรืยน เป็นต้น เรองการตรวจการกณะสงฆอย่างนั้ของเจ้าพระกณสมเค็่จพระมหา- สมณเจ้าพระองกนั้น กลายเป็นงานหลักส์าดัญ เป็นแบบอย่างของพระลังฆาธิการ ทุกระดับในสมัยปิจจุบัน เพราะการตรวจการกณะสงฆนั้น มืแนวตำ เนินการท ส์าดัญ ๒ ประการดือ \"มือะไรไปให้\" กับ \"ไปไต้อะไรมา\" กำ ว่า \"มือะไรไปให้\" หมายถึง เมอไปตรวจการหรือไปศรวจเยยมนั้น จำ ต้องมเป้'ๆหมายหลักท^ากัญ กือมุ่งไปเพอให้คำแนะนำ เพอให้แนวทาง www.kalyanamitra.org
๒๕๗ 0 ijsaitfftjojfim fj 1รอง บุ รุ ษอาชใในย ปฏิบัติทถูกทควร ให้กำลังใจในการปฏิบัติหน้าท เป็นค้น เป็นเหฅุใหวัคหรึอ สถานททไปตรวจการนั้นมกวามกร:!ติอรือร้น มความกร:!ฉับกระเฉงไหวตัว ไมนั้งเฉยปล่อยวางเหมือนก่อน และมืกำลังใจในการปฏิบัติหน้าท หากม วัฅธุสิงของทํ่ระลึกนำไปถวายหรือมอบให้เป็นทระลึกแม้เพยงเล็่กน้อย ก็่ทำ ให้ ชุ่มซํ่นใจ ไครบกำลังใจว่าไม่ถูกทอคทง การตรวจการเมอปฏิบัติในทำนองน ก็่จะทำให้เติมเฅ็่มในสิวนทฅ้องการและในส่วนทบกพร่องไค้ กำ ว่า \"ไปได้อร;ไรมา\" นั้นหมายลึง เมอไปตรวจการ จำ ค้องไมมกวาม ประสิงกว่าจะไครับการค้อนรับอย่างอบอุ่น ไครับการถวายวัตถุสิงของอันมก่า เป็นค้น เพราะการไค้สิงเหส่านั้นมามิใช่เป็นงานหลักของการไปตรวจการ แม้หากจะไค้ ก็่ไค้เพราะคุณกวามคทํ่ไปเยํ่ยมเยยนให้เห็่นหน้า มิใช่เพราะมา ตรวจการ ซงเบัาหมายการตรวจการนั้นก็่ศือ เมอไปแล้วย่อมไคร้ ไค้พบเห็่น การปฏิบัติงานของวัคของพระลังฆาธิการว่ามืๅคบกพร่องอย่างไร มืข้อมิค พลาคเมืยหายอย่างไร และพระสงฆประพฤติตัววางตนไม'ถูกค้องอย่างไร เป็นค้น เมอร้แล้วพบเห็่นแล้ว หากเป็นเรองทไมใหญ่โตนักพอทจะแนะนำ ตักเตือนไศก็่แนะนำตักเตือน ให้แกไขในติงทมิคพลาคบกพร่อง หากเป็นเรอง ใหญ่ เรองล่าตัญทจำเป็นค้องแกไขเป็นเรองเป็นราว ก็่นำ กลับมาพิเคราะห้ แก่ไข หรือนำเข้าล่ประชุมใหญ่เพอแก่ไขปรับปรุงเพํ่มเติมให้เต็่มสมบูรณ ล่าหรับปฏิบัติบันเป็นภาพรวม วัตถุประสิงกํการตรวจการแบบนั้เป็นเหคุให้ สิามารถแก[ขข้อผิตพลาตบกพร่องไค้ แนวทางการตรวจการ ๒ แบบ กอ ม้อะไรไม่ให้ กับ ไม่ได้อร;ไรมา นั้ สิมเค็่จพระมหาสิมณเจ้าพระองกํนั้นทรงปฏิบัติอย่างกรมถ้วน ตังนั้นการเสิค็่จ ไปตรวจการของพระองคจํงเป็นแบบอย่างไค้เป็นอย่างค และเพราะเป็นแบบ อย่างตังนั้ การปกกรองกณะสิงฆจึงไค้มรูปแบบและเป็นรูปแบบปฏิบัติตาม กันมา เป็นเหคุให้กณะสิงฆโทยเจริญรุ่งเรือง สิขสิงบ เการพบับลึอกันตาม www.kalyanamitra.org
i ๒๕๘ sssuaisinflui lau ๓ พระฆHาโพธิวง ศใาารย์(ทอง ดี ช.ร.๙) พระธรรมวินัย อันเป็นทฅั้งแห่งศรัทธาเลอมใสของกฤหัสถซน โคยไม่มกวาม วุ่นวายให้เกิคความกังวลไคๆ มาคราบเห่าทุกวันน การทั้งปวงทสมเค็่'จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไค้ ทรงริเรั๋ม พัฒนา และแกไขปรับปรุงเป็นลำคับมา'จนคลอคพระซนม่นั้น ไดยัง ผลเป็นคุณประโยขนัแก่ประเทศซาฅิ พระศาสนา และคณะสงฆเป็นอเนกอนันฅ พระ'จริยาวัครค่างๆ ของสมเค็่จพระมหาสมณเจ้าพระองกนั้น ย่อม แสคงไห้เห็่นว่าพระองค่ทรงพระปริขาสามารถเพยงไหน ทรงบำเพ็่ญประโยซนั อันเป็นคุณูปการแก่ประเทศขาฅิและพระศาสนาเพยงไร พระองค่ทรงคำรง พระซนมซพอยู่เพอกวามเ'จริญวัฒนาการของขาฅิและพระศาสนาโคยแห้ ทรง เป็นบุรุษอาขาไนยเฅ็่มรูปแบบ ทรงเป็นบูซนัยบุคคลทั้ควรเคารพบูซาของชาติ ไทย เป็นผู้ทอนุซนจะพึงเคารพบูซาและถือเป็นเนคติแบบอย่างไนการบำเพ็่ญ ประโยซนัแก่พระศาสนาและประเทศซาติถืบไป ทรงคำ เนินพระองกสอคคล้อง กับจริยาพระอริยสงฆอันเป็นอังฆรัคนะสนัยพุทธกาล คังททรงพระนิพนธใว[น นมการสิทธิคาถา ไจความว่า สทฺธมุมเสนา สุคตานุโค โย โลกสฺส ปาปูปกิเลสเซตา สนุโต สยํ สนฺตินิโยชโก จ สุวากฃาตธมุมํ วิทิตํ กโรติ สงฆํ วรมุตํ สิรสา นมามิ พุทธานุพุทฺธํ สมส์ลทิฎ^ ฯ ไจความว่า พรร;สงฆเจ้าองคใค เ!เนเสนาปรร;กาศพรร;สิทธรรม ดำ เนิน ตามพรร;ศาสดาผู้เสด็่จไปดแล้ว ผจญเสิยชงอุปกิเลสอันลามกของโลก เ!เน www.kalyanamitra.org
๒๕๙ ชุริสฬญfwm ■''-/Txy 1รอง บรษอใชใในย ผู้สงบเองด้วย ปรร;กอบผู้อนไว้ในความสงบด้วย ทำ พรร{ธรรมอนพรร;ศาสดา ตรสไว้'ดแล้วให้มผรัตาม ข้าพรร;พทธเจ้าขอถวายนมสการพรร{สงฆเจ้า ผ'ู้ปรร{เสริฐองIคSนน Lผู้ตรSสjรูu้ตามพรร;พุทธเจร้า Lผู้มIสI์ถแลร;ทิฐเสมอกนฉร{iน ฯ สมเค็่จพรร:มหาสมณเจ้า กรมพระ:ยาวซิรญาณวโรรส สมเค็่จพระ:รงฆฑซเจ้า พระ:องคนั้น แม้'จะ:ร้นพระ:ซนริ]ใปนานแล้ว นับไค้ ๑๓ รอบพระ:นักษัตรแฅ่วัน ประ;สูติ แต่พระ:ประ:วัติ ผลงาน ฅลอคถงพระ'จริยาวัตรต่างๆ ยัง'จต'จำ 'จารึกไว้ เป็นหลักฐานมั่นกง เป็นการสมกวรอย่างยํ่งทพระภิกษุสามเณร และกฤหัสกซน ผู้หวังกวามเ'จริญ'จะพึงติกษา กำ หนค'จคจำ และอนุวัตรปฏิบัติตามแบบอย่าง ททรงปฏิบัติและตำเนินการไวันนล้วนมกุณก่าหาไค้ยากยิง กวรทพระลังฆาธิการ ผู้เป็นผู้นำและเป็นผู้ปกกรอง'จะไค้นำไปเป็นรูปแบบส์าหรับตำ เนินการตาม หน้าท เพอให้เภิคกวามสงบสุซและกวามเ'จริญสถาพรของหมู่กณะ ถือไค้ว่า มบุญวาสนาทมรูปแบบให้เห็่น มผลประรทธเป็นเกรองรับรอง ไม่จำค้องคิคค้น หรึอแสวงหาแนวทางปฏิบัติแปลกใหม่เกินเลยไป อันอา'จต่งผลให้เติยเวลา และไร้ประรทธิภาพไค้ ล้ตำ เนินตามแบบอย่างทมอยูไปตามฐานานุรูปและตาม กวามเหมาะสมกับกาลเวลาไมไค้ ถือไค้ว่ามผลกำไรเป็นเถืองค้นแล้ว ค้วย ประการฉะน ในทสุตน ซออำนา'จพระราซกุศลทพระบาทสมเค็่'จพระเจ้าอยู่หัว ผู้ ทรงพระกุณอันประเสริฐ พระราซทานพระบรมราซูปกัมก บำ เพ็่ญให้เป็นไป เนองในโอกาสกรบ ๑๓ รอบพระนักษัตร วันประสูติ สมเค็่'จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวซิรญาณวโรรส สมเค็่'จพระลังฆราซพระองกท ๑0 ณ โอกาสน ไค้มผลลัมฤทธิอันใหญ่หลวง แค่สมเค็่'จพระมหาสมณเจ้าพระองกนั้น สมตาม พระราซปรารถนา'อุทิศทุกประการ และซออานุภาพแห่งพระพุทธกุณ พระธรรม- คุณ พระลังฆคุณ และอานุภาพแห่งพระบารมธรรมทยังสถิตอยู่ของสมเค็่'จ พระมหาสมณเจ้าพระองกนั้น ไค้อภิบาลรักษาปกบัองคุ้มกรองพระบาทสมเค็่'จ www.kalyanamitra.org
A ๒๖อ sssuaisinfiui lau ๓ พระฆMใโพรวง ศใใไรย์(ทอง ดี ช.ร.๙) พระเจ้าอยู'หัว สมเคื่'จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนาถ พระราชโอรสพระราซธิคา แลพระบรมวงสานวง ให้ทรงพระเกษมสวัสค เสค็่จสถิฅเบ็เนนาถะทพงแก' พสกนิกรชาวไทย คลอคจิรัฐฅิกาล รับพระราชทานถวายวิร'ชนาพระธรรมเทสนา ฉลองพระเคชพระคุณ ประคับพระปิญญาบารม ฅวรแก'สมัยไค้เวลา ขอยุคิลงแค่เพยงเท่าน ฯ ขอถวายพระพร ลุทฺธมตฺเถน คณฺเหยย ถท.ธมฌชล๊กมมนา ฉนฺทานุวตติยๆ มุฬฺห ยถาภูเฅน ปณฺฑิตํ ฯ ธรรมนฅิ. กนโลภ พึงผูกมักไจ้[ว!ค้ค้วยผลประโยซน คนกระค้าง พึงผูกมักไจไว[ค้ค้วยการนบไหว้ กนโง่ พึงผูกมักไจไว้[ค้ด้วยการกล้อยกาม บัณฑิต พึงผกมักไจไว้!ด้ด้วกวามจริง. www.kalyanamitra.org
J 'ร^!ร^ o อัฅดทมกคา เรื่อง การแกฝนฅน อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภนฺติ ฯ ขุ.ร. ๒๕/๒๒ ฅน จักรับพระ:ราชทานถวายวิร'ชนาพระธรรมเทศนาใน อตตทมกถา โคย บอนุรูปแก่พระ:ราชกุศลทักขิณานุปทานกิจ ทพระ:บาทสมเค็่จพระ:เจ้าอยู่หัว ผู้ทรงพระคุณอันประ:เสรฐ ทรงพระกรุณาโปรคเกล้าฯให้ นายอำพล เสนาณรงก่ องกมนคร เป็นผู้แทนพระองก่ มาบำเพ็่ญพระราชกุศล ๓) วัน พระราชทานศพ สมเด็่จพระพุทธโฆษๆจารย (วิระ ภททจารมหาเถระ) อคฅเจ้าอาวาส วัคสทัศนเทพวราราม อคฅกรรมการมหาเถรสมาคม ผู้บำ เพื่ญประโยชนแก่ บ้านเมืองและแก่พระศาสนายํ่งใหญใพศาลมาคามลำคับจนถึงมรณภาพ ห้วย ชนมายุ ๘๕ ป็ เมํ่อวันท ๑๑ เมษายน ๒๕๕๙ น นับเป็นพระมหา- กรุณาธิคุณอันหาทสุคมิไห้ เพราะเป็นการประกาศเกยรติคุณชองพระเคชพระคุณ เจ้าประคุณสมเค็่จฯให้ปรากฏไพศาลยงชนไป พระมหาโพธิวงศาจารย (ทองค) วัคราชโอรสาราม กรุงเทพมหานกร แสคง ในการบำเพ็่ญพระราชกุศถสื'คคมวาร ศพสมเคี่จ่พระพุทธใฆษาจารย (วัระ) ณ วัคฟ้ทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานกร วันจันทร ทํ่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. 1๓๕๕๘ เวอา ๑๐.00 น. www.kalyanamitra.org
£ ๒๖๒ ะ?; รรรบสาร1ทฝีน1 lau ๓ พระ นHใโพรวง ศใใใรย์(ทอง ฅี น.ร.๙) สมเด็่จพรร;พุทธโฆษาจารย ภัททจารมหาเถรร: ถือกำเนิดเมอ!!พุทธffกรไซ ๒<£๗๓ ทํ่บานป้าร'ไย ตำ บลเซาแร้ง อำ เภอเมือง จังหวัดราซบุร้ ไค้บรรพซา เมอป็ พ.ศ. ๒<£<๘๘ ทวัดเซาวังสะ;ดึง แล้วเข้ามาร'งกัดอยู่วัดโสดาประ:คิษฐาราม จังหวัดราซบุร้ จากนั้นไค้เข้ามาดึกษาอยู่ทวัดเทพธิดาราม จนกระ:ทั่งสอบไค้ เปรยญธรรม v? ประ:โยก เมํ่ออายุกรบอุปสมบทแล้วไค้อุปสมบททวัดเทพธิดาราม ในมื พ.ศ. ๒<£๙<£ และสอบไค้เปรยญธรรม ๙ ประโยก ใน!! พ.ศ. ๒๕o<£ ต่อมาในนิ พ.ศ. ๒๕0^๖ เจ้าประกุณสมเค็่จพระพุณาจารย (เสงยม จันทสิริ- มหาเถระ)ไค้ขอตัวให้มาอยู่ทวัดสุทัศนเทพวราราม เพํ่อให้มาสอนหนังถือและ ช่วยงานพระศาสนา เมอมาอยู่วัดสุทัศนเทพวรารามแล้ว ก็่ใครบการธุระในการสอนหนังถือ ประจำอำนักเริยน และงานพระศาสนาดามทไคริบมอบหมาย ในการประกอบ การกิจต่างๆนั้น ไค้แสดงกวามรู้กวามสามารถเนินทประจักษซัด กอปรค้วย กวามเนินผูมนกงหนักแน่นในกังวรวินัย อำ รวมระวัง ริกษาสมณวัดร เกร่งกริด ในระเบยบ ปฏินัฅิดามพระธรรมวินัย เนินไปดามประเพณ ต่อมาเมอเจริญ ค้วยสมณตักคิ้และไคริบมอบหมายให้ตำรงตำแหน่งริบผิดซอบงานกณะสงฆ สูงขนก็่สามารถปฏิบัติงานการกณะสงฆ[ค้อย่างเริยบร้อย เนินยู้ยํ่งค้วย วิริยะอุดสาหะพร้อมทั้งปริซาฉลาดรู้งานในหน้าททค้องริบผิดซอบมากมาย ไค้ บำ เพ็่ญประโยซน่ต่อการพระพุทธศาสนา ต่อพระอาราม และต่อพุทธบริษัทไว้ มากมาย จนไคริบมอบหมายให้ดำรงตำแหน่งทอำตัญๆหลายตำแหน่ง เช่น เนินเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวราราม พระอารามหลวงอำตัญซั้นเอกอุ วัดประจำ ริซกาลท ๘ เนินรองเจ้ากณะกาก <£ เนินเจ้ากณะกาก <£ เนินรองแม่กองธรรม- สนามหลวง เนินกรรมการมหาเถรสมากม ดามอำตับ นอกจากการะในทางการปกกรองกณะสงฆและการพัฒนาบูรณะ ปฏิกังซรณพระอารามดามหน้าทแล้ว เจ้าประคุณสมเค็่จฯ ยังให้กวามอำกัญ www.kalyanamitra.org
๒๖รท อทททบทfท 1รอง กไรฝิกฝนตน ในการสืกษาฃองพระภิกษุสามเณรทั้งในวัคและ:นอกวัค ไค้ส่งเสริมสนับสบุน ให้กำลังใ'ไเ รวมทั้งมอบทุนการสืกษาแก่ยู^กษาภาษาบาลอย่างต่อเนือง ทำ ให้ มยู้สอบไลไค้เป็นเปรยญ ๙=/ ประ:โยกในพระ:อารามหลวงแห่งน'จำนวนมาก เค้าประ:คุณสมเค็่'ไเพระ:พุทธโฆษา'จารย่ ภัทท'จาริมหาเถระ นับไค้ว่าเป็น พระมหาเถระแบบอย่างของผู้คำรงตำแหน่งผู้บริหารและปกกรองกณะ:สงฆ เป็นผูให้การสนับสนุนส่งเสริมพระภิกษุสามเณร ให้กำแนะนำลังสอนสาธุซน ทั่วไปคามหน้าทั้ เป็นทํ่ทั้งแห่งศรัทธาของกณะภิษย่ ปฏิบัติสมณกิ'จอันเป็น ธรรมเนืยมส่ากัญของสงฆกือการทำวัครสวคมนฅมิไค้ขาค หากไมมภิ'จส่ากัญ อนทั้ค้องออกไปนอกวัคในเวลาทำวัคร เค้าประคุณสมเค็่'จฯ 'จะลงไปทำวัคร สวคมนฅทพระอุโบสถประ'จำมิไค้ขาค โคยถึอว่าเป็นบุญกุศล เป็นการเติมเฅ็่ม วาสนาบารมแก่คน และเป็นตัวอย่างเป็นค้นแบบแก'พระภิกษุสามเณรในพระ อารามและผู้อํ่นทั่วไป ในการปฏิบัติคัววางคนคามปกตินั้น เค้าประคุณสมเค็่'จฯ เป็นผู้สงบ- เสงํ่ยม เจยมคน บุ่งห่มเริยบร้อยงคงาม ส่ารวมกาย ส่ารวมวาจา พูคน้อย มใจหนักแน่นมั่นกง มเมคคาธรรม เส่ยสละปล่อยวาง ปฏิบัติไปคามพระพุทธคำรัส ทั้พระพุทธองกํครัสสอนไว้อย่างคยง คือ ส'นุตกาโย ส'นุตวาโจ ส'นุตมโน สุสมาหิโต ว'นุตโลกๆมิโส ภิกฃ อุปส'นุโตติ วุๆจติ ฯ (ชุ.ธ. ๒๕/๓๕) \"ภิกษุผู้มกายสงบ มวาจาสงบ มึใจสงบ มึใจตั้งมั่นดแล้ว มอามิสในโลกอันคายแล้ว ท่านเริยกว่า เป็นผู้สงบระงบ\" ค้วยคุณสมบัติในส่วนทั่เป็นอัคคสมบัติและส่วนทเป็นปรหิคปฏิบัติ ท เค้าประคุณสมเค็่จฯไค้ปฏิบัติประจำ แสคงออกให้เห็่นเป็นทประจักษนั้น แสคงว่า เค้าประคุณสมเค็่จฯเป็นฒูกวามรู้กวามสามารถ มกวามฉลาค มกวามแกล้วกล้า www.kalyanamitra.org
i ๒๖๔ 0 sssuaisinnน!lau ๓ พระบHใโพรวง ศใ!ใรย์(ทองดี ช.ร.๙) เมอรู้ธรรมแล้วกี่ประพฤติปฏิบัติไปตามธรรมไม่บกพร่อง จึงมผลงานโคคเด่น และไคร้บผลอานิศงกี่มหาศาล นับไค้ว่าเร็เนล้งฆโลภณภิกษุ คือพระฒูงหม่กณร; ให้งคงาม ให้น่ายกย่องลรรเลริญในพระพุทธศาลนา คังทลมเกี่จพรร;ล้มมา- ร'มพุทธเจ้าทรงยกย่องไว่ใน ล้งฆโลภณลูคร จตุกภนิบาค อังคุคครนิกาย ว่า โย โหติ พฺยตฺโต จ วิสารโท จ พหุสฺสุโต ธมมธโร จ โหติ ธมมสฺส โหติ อนุธมมจาร ส ตาทิโส วุจฺจติ สงฆโสภโน ฯ (อง.,จดกุก. ๒©/๗) \"บุคคลไคเ!เนผู้ฉลาด แกล้วกล้า สดบตทJฟิงมาก เบ็่เนผู้ทรงธรรมไว้!ล้ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม บุคคลผู้ฟนนั้น ท่านเรยกว่า ผู้ยังหมูให้งดงาม\" แท้จริง จริยาวัครและผลงานของเจ้าประคุณลมเกี่จพรร;พุทธโฆษาจารย่ ทปรากฏเด่นขัค เห็่นเร็เนกวามเรยบเร้อย งคงาม และเป็นผลงานทเป็นประโยซน่ ทั้งแก่บ้านเมือง แก่พระศาลนา แก่พระอาราม แก่พระภิกษุลามเณร และแก่ ลาธุซนทั่วไป ย่อมแลคงให้เห็่นว่าเจ้าประคุณลมเค็่จฯ ไค้ปฏิบัติและจัคทำค้วย กวามฉลาคพิถพิถัน ค้วยกวามลามารถ และค้วยกวามเส์ยลละอย่างยอคยั๋ง แลคงให้เห็่นว่าท่านไคt)กฝนคนเองคืแล้วคามหล้กธรรมกำลอนในพระพุทธ- ศาลนาทไค้คืกษาเล่าเริยนมา ค้วยเหตุน' ท่านจึงไคริบกวามล่าเรี่จไคร้บกวาม เจริญก้าวหน้าอยู่ในพระธรรมวินัยมาโคยล่าคับจนกงมรณภาพ แลคงว่า ไคริบผลอานิลงกี่อันประเลริฐจาภภารทำงานทำหน้าทค้วยกวามริบผิคซอบ ซงถอว่าไค้ทั่พงอันนำให้เภิคกวามลุขกวามลงบและกวามมั่นกงอันหาไค้ยาก คังทลมเค็่จพระล้มมาล้มพุทธเจ้าไค้คริลแลคงไว้!นพระธรรมบท ชุททกนิกาย www.kalyanamitra.org
๒๖๕ # omnnufiai ^ ISOO กไรฮกฝนตน ทยกฃ็้นมาฟ้นนิกเฃปบทเบืองฅ้นว่า อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ ชงแปลเป็นความไทยไค้ว่า \"กี่บุคคลมตนอนtเกฝนดแล้ว ย่อมได้ทพงอนหาได้ยาก'' ตามพร:!บาลน ทรงแสคงให้เห็่นชัศเจนว่า บุคคลทจะไmพึงอันหาไห้ยาก ปร:!สบไห้ยากนั้นจำห้องtเกฝนตนเองห้วยค ทำ ตนเองให้เคยชินชำนาญอยู่ ในการทำงานในการปฏิบัติหน้าท โดยไม'ย่อห้อเหยาะแหย:! ทพงอันหาไห้ยาก อย่างสูงสุคก็่คืออรหัตผล อันเปีนความร้นกิเลสกองทกขทั้งมวล ทพงอันหา ไห้ยากรองลงมา คืออนาคามิผล สกิทาคามิผล และโสดาบัตติผล และทพึง อันเปีนทปรารถนาของคนทั่วไปคือ ลาภ ยส สรรเสริญ และสุข ก็่สามารถ ทำ ให้เกิดขนไห้ห้วยการปีกฝนตนอนรุปตามความปรารถนาห้องการ ฯ'น กล่าวโคยปริยาย เรองการ!]กฝนตนเพือให้ได้ทพงคือ ลาภ ยศ สรรเศริญ แลร;สุข นั้นกี่คือการทำงานการปฏิบติหน้าทด้วยด คือด้วยความ ถูกด้อง ด้วยความเริยบร้อยงฅงาม นั้นเอง ผู้ปรารถนาท'จะไคืรับทพงเซ่นนั้น 'จำค้องทำงาน มิใซ่แก่ปรารถนาค้องการแล้วกี่รอกอยทํ่พง หรือบนบานทพง ให้ฟ้าเร็่'จแก่คนโคยไม่ค้องทำอะไร หาเป็นเซ่นนั้นไม่ แฅ่ทํ่พงเซ่นนันย่อมเกิคแก่ กนทำงาน ถ้าหากทำงานค้วยกวามฉลาครอบรู้ ใช้กวามสามารถอย่างเต็่มท ย่อมไก้รับทพง เซ่นนั้นแน่นอน ในทางปฏิบติ ท่านแสดงวิ^ารทำงานของน้กทำงานไว้หลายปรร;การ คือแสดงองคืหรือล้กษณร;ทฟ้าคญของน้กทำงานท!ด้รบความฟ้าเร็่จไว้ ประการ คือ ความรู้ ความฉลาด ความสามารถ ความเคืยสละ องคืของ น้กทำงานนั้งฟ้ประการน ล้าtlกฝนแสวงหามาเติมเต็่มให้ตน กี่จะทำให้ตน ได้รับผลคือทพงอนหาได้ยากแน่นอน www.kalyanamitra.org
i ๒๖๖ i?: sssuaisinfluiiau๓ พระฆผาโพธิวงศใใใรย์(ทองดี ช.ร.๙) องกของนักทำงานประการฅ้นกือ ความรู้ นันไค้แก่ ผลจากการสืกษๆ เล่าเรยน ตรงนับกำพระว่า พาหุรจจร!ชงแปลว่า ความได้ยนไค้พงมาก กวามรู้น จัคเร็เนลำดับชัน ลือระดับประถมกํกษา ระดับมัธยมลืกษา ระดับอคมลืกษา หรือการมกวามรู้มประสบการณ มกวามเข้าใจในการจัดการทำต่างๆ โกยผ่าน การทำงานการปฏิบัติมาตามลำดับ โคยใม่ค้องผ่านการเล่าเรืยนจากโรงเรืยน กวามรู้นิ้ถือว่าเป็นเกรองมือเบองค้นของการทำงานทุกอย่าง ถ้าขาดกวามรู้ หรือกวามรู้บกพร่อง ก็่ใม่อาจทำงานโหดใค้ ผลนัมฤทธิก!ม'อาจสมบูรณตาม กาดหวังใค้ ผลงานย่อมขาดตกบกพร่องหรือใม่เป็นงานเป็นการอะใร ทกล่าว กนล่วนใหญ่ว่าทำงานไม่เป็นหรือทำงานไม่เข้าตา ก็่เพราร!ทำงานโคยขาด ความรู้เป็นปรร!การล่าคญ องกของนักทำงานประการทํสอง ความฉลาด นั้นก็่ลือ ความฉลาดรู้ ความเฉยบคม ความก้าวทน ความมืปฏิภาณไหวพริบ เป็นกวามรู้ทสูงกว่า กวามรูทเกิดจากการเล่าเรืยน จัดเป็นดัวปีญญาทแท้จริงอย่างหนง เป็นกวามรู้ ทํเป็นจิตวิญญาณล่วนลก ลืกษาเล่าเรืยนใมไค้ ต้องอาดัยประสบการณ อาดัย การtเกฝนอบรมต่อเมือง โดย ไข้ตาเป็นครู ใข้หูเป็นอาจารย อยู่ตลอดเวลา กวามฉลาดนั้นภาษาพระว่า โกล่ลลร! แปลว่า \"ความฉลาดรู้\" โดยตรง มื ๓ ประการลือ อายโกสิ'ลละ ความฉถาศPนความเจริญ ลือฉลาดรู้ว่า กวามเจริญลืออะไร เกิดฃ็้นไต้อย่างไร มืประโยขนัอย่างไร อปายโกสิลละ ความฉลาด^นความเ^อม ลือฉลาดรู้ว่ากวามเถือมลืออะไร เกิดขนไต้อย่างไร มืโทษอย่างไร และ อุปายโกสิลละ ความฉลาดรู[นอุบายในวิธทจะทำ ฉลาครู้ ในวิธิการอย่างละเอยค รอบกอบ ในการสร้างสรรกกวามเจริญและในการละ กวามเถือมทจะเกิดมื โดยนัยมื คนมืความรู้อาจไม่มความฉลาดก้โค้ หรือคนมืความฉลาด อาจไม่มืความรู้ก!ค้ www.kalyanamitra.org
๒๖๗ อัฒฬ!บกQ1 rlSS| I รอง ก1รฮทฝนตน V^y แต่ความฉลาดนั้นจัศเปีนองค^ากัญของนักทำงานอย่างหนง ถ้าทำงาน โดยอากัยความทู้ปีนกัวฅั้ง แต่ป เวากความฉลาด งานก็่มักดำเนินไปแบบ แฃ็่งกัว ไมโอนอ่อนผ่อนปรน มรูปแบบเปีนไปฅามหลักการอย่างเคยว มลท ฅามมาอาจกักป้นปีหาดํไมได้ หรึอก่อความเดือดร้อนวุ่นวายในภายหลัง องฅฃองนักทำงานปร2การทสาม ความสามารถ นั้นคือ ความมคุณ- สมบติเหมารแเก่การทำสิงใดสิงหนั้งได้ อยู่ในขนทเรยกได้ว่าม!เมือ มืความ เชยวชาญ มืความชำนาญในการทำ ตรงกับภาษาพรiว่า อลํ กาตุ๊ อลํ ส์วิธาตุ๊ ชงแปลว่า อาจทำอาจจดได้ คือทำไต้ จัตการไต้ ตรงกับกำว่า สิปป หรือ สิลปร! คือกวามสามารถแสคงกวามรู้ กวามฉลาคออกมาเป็นรูปธรรม ให้เห็่นผลปรร;จักษโต้ แลร:ผลนั้นส์าเรืจเรืยบร้อย งคงาม เป็นไปตามทต้องการ กนทมืกวามสามารถ ไต้แก่กนทมลักษณะ คิดงานออก บอกงานเมืน เข็่นงานได้ แก!ขงานถูก เรืยกกันว่าเป็นกน ม สมรรถนร! หรือ มืสมรรถภาพ ย่อมทำงานอย่างมกุณภาพและไต้คุณภาพ ไว่ไจไต้ ผลงานมลักคิศรื อวค องกของนักทำงานประการทส์ ความเสิยสลร! นั้นคือ ความมืจิดใจ ทุ่มเท ไม่ย่นปอท้อแท้ เอาจริงเอาจังกับงานททำ ริกงานททำ พากเพยรทำ ไย่ใจทำ และไดร่ตรองรอบคอบถงสิงทกำลงทำด้วยสติด้วยปีญญา คนททำงานด้วยความเดืยสล:^ จะทำงานโดยปีศงานเปีนกัวฅั้ง มุ่งมล ลัมฤทธิของงานเปีนหลัก จะ^ามารถอดทนอดกลั้นต่ออารมณต่างๆ ต่อ อุปสรรคต่างๆ ได้เปีนอย่างดื แม้หากจะมกวามรู้' จะมกวามฉลาด และจะมื กวามสามารถเพยงไร แต่ขาดความเสิยสละเสิยแล้ว เมอลงมือทำงาน ย่อม ขาดความต่อเนึ๋อง ไปไม่ถงเปีาหมายได้ หรือเมอถึงเม้าหมาย ไคืริบผลตาม ประสงก แต่ผลงานนั้นย่อมออกมาอกรูปแบบหนั้ง ย่อมเป็นผลประโยซนัเฉพาะ ตัวหรือพวกพ้องของตัวเป็นหลัก ไม่เป็นประใยซนัแก่ย่วนรวมแก่ลังกมโดยรวม www.kalyanamitra.org
i ๒๖๘ 0 sssuaisinfluiiau๓ พระฆ!ทโพธวง ศใใใรบ์(ทอง ดี ช.ร.๙) ผลงานทออกมาเป็นทปรร:จักษ ไม่ว่าจร;เป็นงานใหญ่งานเล็่ก ย่อมแสคง ให้เห็่นถึงคุณภาพของบุกคลผู้ทำหรือคณร;ผู้ทำว่ามกวามรู้ มกวามฉลาค ม กวามสามารถ แลร;มกวามเถึยสลร;แกไหน ผลงานนั้นเป็นทน่าพอใจเพยงไร และ;จร;สามารถคำรงกงอยู่ให้อนุรักษหวงแหนกันอย่างไร หากผู้ทำหรือกณร; ผู้ทำ ขาคองกลักษณร;ของนักทำงานถึปรร;การข้างค้นอย่างใคอย่างหนั้ง ย่อม ไคํรับกวามฅิคฃัค ไคํรับกวามลำบากเกินกวามจำเป็นบ้าง หรือทำงานอย่าง ลวกๆง่ายๆ โคยไม่พิถึพิกัน ไม่ค้องรับผิคขอบ ขอให้เสร็่จๆไป พอให้งาน ลำ เร็่จพอให้ผ่านไปไค้ ภายหลังจร;เถึยหายหรือชำรุคหักพังไปโคยง่ายอย่างไร ก็่ใม่คำนึงถึงบ้าง อย่างนึเรืยกไค้ว่าทำงานค้วยกวามนักง่าย แร็พูทำหรือคณร; ผู้ทำ จร;มความรู้ มความฉลาด แตใม่ทำตามความรู้ความฉลาด ไม่แสดง ความสามารถให้เต็่มสมบูรณ แลร;ขาดความเถึยสลร; ผลงานย่อมออกมา ไม่เต็่มสมบูรณ ขาดสิลปร; ขาคความเรืยบร้อย แลร;ขาดความมั่นคงแข็่งแรง ทควรเป็น ค้วยเหตุผลคังทไค้แสคงมานั้ ผูม้ ความรับผิศจอบในกาพำงานเมึ๋อ มองเห็่นศณขธงองคถักษณ:;ของนักทำงาน และมองเห็่นโทษของกาTชาค องคลักษณะของนักทำงานอย่างน และเมึ๋อมเป็'าหมายจะไค้ทพงอันหาไค้ยาก ไมวาจะเปีนผลปTะโยชนั ยfiลักคิ ตำ แหน่งหน้าท ตำ ยกย่องสรทcffญ หรอ ความสุขสงบในชวิตในครอบครัว จำ ค้องมองค้ลักษณะเหล่านครบถ้วน เมอ พิจารณาฅนมองฅนแล้วเห็่นว่ายังขาดข้อใฅ หรือข้อใดยังบกพร่องไม'สมบูรณ ก็่จำ ค้องเดิมให้เฅ็่มให้สมบูรณ ห้วยการปีกฝนให้มให้เปีนฃนเรอยๆ เพราะ ๆณสมบัดิเหล่านสามารถสร้างสรรค้ฃนไค้ สามารถทำให้ให้เกิดมเปีนเครอง ประอับในตนไค้_ นักทำงานทนับได้ว่าเป็นเลิศ ควรแก่การยกย่องซมเชย แลร;ควร แก่การกำหนดจดจำไว้เป็นแบบอย่างดำเนินดามนั้นก็่คือ ผู้ทํ่ปรร;กอบด้วย ความรู้ ความฉลาด ความสามารถ แลร;ความเลิยสลร; เหล่านั้เอง www.kalyanamitra.org
๒๖๙ g อัฒanufiai ISOO ก!รซกฝนตน สมเค็่จพรร;พุทธโฆษา'จารย ภัทท'จารมหาเถรร: นับไค้ว่าเป็นแบบอย่าง ของนักทำงานไค้ท่านหนง ปรร;กอบค้วยกวามรู้ กวามฉลาค กวามสามารก แลร; กวามเสิยสลร;กรบถ้วน จึงไครับอานิสงส์ส์ากัญทั้งในการปกกรองกณร;สงฆ เป็นเ'จ้าอาวาสพระ;อารามหลวงชั้นเอก'อุ เป็นกรรมการมหาเกรสมากม ไครับ พรร;มหากรุณาธิคุณให้มสมณกักคิเป็นสมเค็่'จพรร;ราซากณร; เป็นค้น อันผู้ ฉลาคเมอทราบขัคกังนแล้ว ย่อมนำแบบอย่างนิ้เป็นแนวทางปฏิบัฅิส์าหรับคน ปรร;ยุกตใซ1ห้เหมาร;สมกับภาวร;แท่งตน ทำ ฅ่อเนองไม่ฃาคคอน ก็่จร;ไ^บผล กือทพงอันหาไค้ยาก อันคนสามารกรับไค้คามกาวร;แห่งคน คามข้อปฏิบัติของ คน คามพรร;บาลทครัสไว้ กังมใจกวามกังรับพรร;ราชทานมา ค้วยปรร;การฉร;น อิมินา กตปุฌฺเฌน ขอ'อำนาจพรร;ราชกุศลทักขิณานุปทานบุญกิริยา ทพรร;บาทสมเค็่จพรร;เจ้าอยู่หัว ทรงพรร;กรุณาโปรคบำเพ็่ญกุศล ฟ กัน พรร;ราชทานศพ สมเค็่จพรร;พุทธโฆษาจารย่ กัททจาริมหาเกรร; อคคเจ้าอาวาส กัคสุทัศนเทพวราราม ณ โอกาสน ขอจงส์าเร็่จกัมฤทธิผลิควิบากสมบัติบังเกิค แก่เจ้าปรร;คุณสมเค็่จฯ ในอัมปรายภพคามกตินิยม สมกังพรร;ราชปณิธาน เจคนาชองสมเค็่จบรมบพิครพรร;ราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพรร;คุณอันปรร;เสริฐ คลอคจิรัฐติกาล รับพรร;ราชทานแสคงพรร;ธรรมเทศนาใน อัคคทมกกา สมกวร แก่เวลา ยุติลงค้วยปรร;การฉร;น ฯ ชอกวายพรร;พร www.kalyanamitra.org
นิทรโนปิ จ กาเมติ ทุพฺพ่โล เวรกํ กโร มนุทสตฺโถปิ วาทตฺถ ติวิรํ ทนลฤขณํ ฯ รทมนฅิ. ไร้ทรัพย์ แต่อยากไคัทุกอย่าง ๑ อ่อนแอ แต่ชอบสร้างสื'ฅรู ๑ รู'้ น้อย แต่ซอมติส์านวนโวหาร ๑ ลักษณรกนเลวม ๓ อย่างน็้. www.kalyanamitra.org
๒๗ ธมมิกราซกถา พื่อา พระราซาผู้ทรงฅั๊าอยูไนธรรม เอวเมว มนุสฺเสสุ โย โหติ เสฏฺ'^สมฺมโต โส เจปิ ธมม จรติ ปเคว อิตรา ปชา สพฺพํ รฏฺ^ สุขํ เสติ ราชา เจ โหติ รมฺมิโกติ ฯ องฺ.จตฺกฺก. ๒๑/๗อ q I คน็้ จักรบพระราชทานแศคงพระธรรมเทศนาใน ธ้รJมิกราชกถา ฉลอง U พระเฅซพระกุณประคับพระปิญญาบารม อนุโมทนาพระราชกุศลทักซิณา- นุปทานกิจ ทพระบาทศมเค็่จพระปรมินทรมหาภูมิพลอคุลยเคชบรมนาถบพิตร ทรงบำ เพ็่ญพระราชอุทิศ เนองในอภิลักชิตกาลกล้ายวันเฟ้ค็่จศวรรคตแห่ง พระบาทลมเค็่จพระปรมินทรมหา'รุฬ'าลงกรโนฯ พระจุล'จอมเกล้าเจัาอยู่คัว พระปิยมหาราชเ'จ้า โฅยทรงพระกรุณาโปรคเกล้าฯ ใหฅงการพระราชพิธ ทรงบำเพ็่ญพระราชกุศล อญเชิญพระโกศพระบรมลัฐพระบาทลมเค็่จพระ- จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่คัว พระโกศพระบรมอัฐลมเต็่จพระศรพัชรินทราบรมราชินนาถ พ!;มหาโพธิางflา'^า7ย (ทองค) วัคราชโอ!ศาราม กรุงเทพมหานคร แศคง ในการพร;ราซพิธทรงบำเพ็่ญพร;ราชกุคอวันปิยมหาราช ณ พร;ทนั่งอมรินทรวินิจฉัย ในพร;บรมมหาราชวัง วันทํ่ ๒๓ ฅุลาคม พ.ค. ๒๕๕๙ เวอา ๑๗.00 น. www.kalyanamitra.org
i ๒๗๒ r?: sssuaisinnui lau ๓ พระ ฆHาโพรวง ศใใไรย์(ทอง สื น.ร.๙) และพระโกศสมเค็่จพระ;ศรศวรินทราบรมราชเทว พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ฃึนประดิษฐานบนพระราชบัลลังกภายใต้นพปฎลมหาเศวตฉัฅร แวดล้อม ต้วยเกรืองขัฅฅิยราชูปโภค และอัญเชิญพระพุทธรูปประจำพร:;ชนมวารกู่ พระบรมอัฐประดิษฐานบนพระทนั่งบุษบกมาลา ณ พระทนั่งอมรินทรวินิจฉัย ตามกฅิวิลัยแห่งบัณฑิตผู้คำรงอยูในธรรมเนิยมของอารยชนอันส์ากัญ มั่นอยูในพระกกัญฌูกตเวทิตาธรรมต่อพระบัยบรรพชนเรนลำกับมา พระบาทสมเด็่จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราชเจ้าพระองกนั้น ทรงเป็นพระมหากบัตริยทอยู่ในกวามทรงจำ ของกนไทยทุกหมู่เหล่ามาแต่อคตถึงปิจจุบัน ทรงเป็นพระมหากษัตริยททรง คำ เนินพระองกและพระราชกรณยกิจตามคำสอนชององกสมเค็่จพรiลัมมา- ลัมพุทธเจ้าเฅ็่มรูปแบบ ตามพระบาลในจักกวัตดิสูตรทว่า ธมุมิโก ธมมราชา ธมมํเยว นิสฺสาย ธมมํ สฦกโรนฺโต เป็นอาทิ กวามว่า \"ทรงตงอยู่ในธรรม เป็นธรรมราชา ทรงอากัยธรรม รกการะธรรม ทำ ความเคารพธรรม นอบน้อมธรรม ... ทรงจัดแจงรกษา!(องกนคุ้มครองประกอบด้วยธรรม ในอนโตชนคนภายในในกษตริย ในอนุยนตะคืราชบริพาร ในพลกาย ในพราหมณคฤหบดิ ในชาวนิคมชนบท ในสมณพราหมณ ในเนั้อและนกทั้งหลาย\" ต้วยเหตุกังน ชาวประชาทั้งปวงจึงอยู่ร่มเย็่นเป็นสูฃทั่วหน้า อยู่ภายใต้ พระบารมชองพระมหากษัตริย การทั้งปวงนเป็นไปตามทั้สมเค็่จพระลัมมา- ลัมพุทธเจ้าตรัสไวิชงเป็นเงอนไชลำกัญ อันปรากฏในอุมมาหันตชาตก ชูททก- นิกาย ทไคอญเชิญมาเป็นนิกเขปบทเบองต้นว่า เอวเมว มนุสฺเสสุ โย โหติ เสฏ^สมุมโต เป็นอาทิ ชงถอคกวามเป็นภาษาไทยไต้ว่า www.kalyanamitra.org
๒๗ฅ 0 suunsitffim ใ^&V [รอง พระรใชไนู้ท รง ตง อยู่?นรร รน \"ในหมู่มนุษยก็่เหมือนกน ผู1ดได้รบสมมติแต่งตงให้ เป็นใหญ่ ถ้าผู้นั้นปรร;พฤติธรรม ปรร;ซาซนทเหลือก็่ ย่อมปรร;พฤติเป็นธรรมโดยแห้ ราษฎรย่อมอยู่เป็นสุข กนทั่วหน้า ถ้าพรร;ราซาตั้งอยู่ในธรรม\" พสกนิกรซาวไทยไค้อยู่เย็่นเป็นสุขกันทั่วหน้า เพราร:พรร:ราชาคือ พรร:บาทสมเค็่จพรร:ปิยมหาราชเค้าพรร:องกนั้นทรงปรร:พฤติธรรม ทรงตั้งอยู่ ในธรรม เรยกว่าทรงเป็น ธ้มมิกราซ คืงทรงเป็นทรักยงชองพสกนิกรชาวไทย ถ้วนหน้า ชาวปรร:ชาทั้งนั้นไค้เทิคทูนยกย่องพรร:องกัใว้ค้วยจิตใ'ไเทศรัทธา ท่วมท้น ถวายพระเกยรติว่าทรงเป็น พรร;ปียมหาราซ บ้าง เรยกชานพระองกว่า สมเค็่จพรร;พุทธเจ้าหลวง บ้าง พระราชคุณูปการชองสมเค็่'จพระปิยมหาราชพระองกนั้นมมากมาย ขอรับพระราชทานยกข้อกวามบางตอนทแท่นหินอ่อนค้านหน้าพระบรมรูป ทรงบ้ามาแสคง ข้อกวามนั้นมืว่า ภมัสด พระพๆธnาสนากาถล่วงแล้ว ๒<£๕(ร) พรรษา...พระๅลจอมเกล้ๆ- เจ้าอยู่หัว เสศ็่จดำรงราชสมบัติมาถึง ๔0 ปีเฅื่มบริบูรณ...พระองกกอรปศ้วย พระราชกฤษฎาภิป็หาร เป็นอัจฉริยภูมิบาลบรมบพิตร เสศ็่'ๆสถิตในล้จจธรรม อันมั่นคงมิหวั่นไหว ทรงอธิษฐานพระราชหฤทัยในทางทจะทำนุบำรุงพระราช- อาณาจักรให้สถิตสถาพร และให้เถิศความสาบัศศสโมสรเจริญPดำราญทั่วไป ในอเนกนิกรประชาชาติ เป็นเบองหน้าแห่งพระราชจรรยาทรงพระสขุมปรชา สามารถสอศดํองวินิจฉัยในคุณโทษแห่งประเพณเมือง ทรงเปลองโทษ นำ ประโยชน้มาบัญญัติโศยปฏิบัติพระองศทรงนำหน้าชกจูงประชาชนให้ดำเนิน ตามในทางทงามศ มืประโยชน้เป็นแก่นสาร พระองคทรงทำให้ความสุขดำราญ แห่งประชาราษฎรดำเร็่จไต้ ต้วยอาอัยดำเนินอยู่เมืองนิจในพระวิริยะและพระ ขันติคุณอันแรงกล้า ทรงอาจหาญในพระราชจรรยามิไต้ย่อห้อต่อความดำบาก www.kalyanamitra.org
i ๒๗๔ # sssuaisinnuiiau๓ พระนพใโพรวงศใใารย์(ทองดี ช.ธ.๙) ยากเข็่ญ มิไฅ้เห็่นทขัฅข้องอันใศเปีนข้อควรขยาด แม้ปรdยชนแถ^ความสุขใน อัวนพระองคก็่อาวจะสละแถกความสุขสำราญพร:!ราชทานไพร่ม้าข้าแผ่นดินได้ โดยทรงพระกรุณาปราณ พระองคคือบุพการของราษฎร เพราะเหตน แผ่นดิน ของพระองคจึงยงยํ่งด้วยความสถาพรรุ่งเรืองงาม มหาชนชาวสยามถื้งความ สุขเกษมล่วงลํ้าอดิฅสมัยทได้ปรากฏมา พระองคจงเปีนปียมหาราชทรักของ มหาชนทั่วไป' พระเกยรติคุณทั้งปวงในพรร;องกฅามท'ไเารกไว้นซงน่า'จคจำแลร:น่านำไป เป็นแบบอย่างในการคำ เนินซวิฅแก่มหาซนทั่วไปไค้โคยเฉพาร:พรร:เกยรติคุณ ภายในพรร:ราชหฤทัยก่วนส์าค'ญม <L ปรร:การ คือ ทรงมพระอุดมการถJ ทรงม พระวิอัยทัสน ทรงมพระปรืชา แลร: ทรงมพระวิรภาพ <i ปรร:การนทรงม กรบถ้วนฟ้มบูรณ พรร:เกยรติคุณทว่า ทรงมพรร;อุดมการณ นั้นคือ ทรงมพระอุดมคดิหรือ พระจินตนาการทถึอว่าเปีนมาดรฐานแห่งความดิ ความงาม และความจริง อันสูงล่ง ทจูงพระราชหฤทัยให้เพยรพยายามปฏิมัดิจัดทำให้บรรลผลอัมฤทริ้ ไม่ติดขัด การททรงบุ่งมั่นทั้งพรร:ราชหฤทัยแน่วแน่ปกกรองแผ่นคินไพร่ฟ้า ปรร:ชากรให้'สงบร่มเย็่น อยู่คืมสุช ไพร่ฟ้าหน้าใสกันถ้วนหน้า การททรงคำริ ทรงริเรํ่มปรับปรุงเปลยนแปลงการต่างๆค้วยพรร:ปริชา แลร:การททรงทุ่มเท ปฏิบัติพรร:ราชกรณยกิ'จทั้งมวลนั้น เป็นเกรองปงซว่าทรงมพรร:อุคมการณ เฅ็่มเป็ยม พระเกยรติคุณข้อพรร:อุคมการณนั้ สามารถเป็นเกรองปงชให้มองเห็่น ไค้ว่า กนทมอุคมการณประจำตัวคือกนทั้มกวามกิคย่อมไครับผลกัมฤทธิใน หน้าทั้การงานทุกอย่าง คนคิดเป็นปอมไม่อยู่นง ไม่ดูดาย ไม่ปล่อยวาง สามารถคิดเรองต่างๆ ไค้อย่างเป็นรูปธรรม คือสามารถกิคร่งท'จะทำ กิคถง วิธการทั่จะทำ กิคถึงค้นทน กิคถึงเวลา กิคถึงผลท'จะไครับ แล้วคำ เนินการไป www.kalyanamitra.org
๒๗๕ simnsitfnai เรอง พระราซาผู้ทรงmงอยู่ในรรรบ ฅามกวามกิคนั้นต่อเนองไปตามลำดับจนสำเรจผล กนกิคเป็นด้วยมธุคมการณ อยู่ในใจจ^ไมฅบดัน ไม่ย่อท้อ ไม่ปล่อยวางว่างเฉย ดังนั้นย่อมเป็นหลักประกันได้ว่าผู้มธุคมการณย่อมไม่อับจน ย่อมไม่ร้น หนทาง ย่อมไค้njกวามสำเร็่จสมปรารถนา ยํ่งถ้าเป็นธุคมการถรเป็นไปเพอลังกม เป็นไปเพอประเทศชาติด้วยแล้ว ยํ่งเป็นกวามสำเร็่จทยงใหญ่ ยั่งยืน และมผู้ ฉลาคคำเนินตามต่อเนั้อง พระเกยรติคุณทว่า ทรงมพระวิลัยท้ศน นั้นคือ ทรงมความามาพศิศ แถะคาดการเห็่นเหตุกๆรณต่างๆ ไค้อย่างถูกฅ้องแม่นยำ ทรงมองเห็่นการณไกถ ทรงไวต่อเหตุทเกิดขนรอบค้าน อย่างเซ่นในสมัยทเสค็่จเถลิงถวัลยราชสมบัติใหม่ๆ เป็นเวลาทลัทธิ จักรวรรดินิยมได้สยายป็กมากรอบกคุมประเทศด้อยพัฒนาทั้งหลาย ทรงเห็่นว่า จำ ด้องพัฒนาประเทศชาติใท้ฉลาคเข้มแข็่ง จ้าด้องเปลยนแปลงกวามเป็นไป ของพระราชอาณาจักร ถ้าประเทศชาติขาคการบริหารจัคการทคื ก็่จะด้องเสํย อำ นาจอธิปไตยตกเป็นอาณานิกมชองประเทศเหล่านั้นทเข้มแฃ็่งและฉลากกว่า และถูกกรอบงำทำลายวัฒนธรรมคลอคถงมรคกประเทศทบรรพบุรุษไข้ภูมิปิญญา สร้างสรรคืลังสมและสละเลือกเนั้อรักษาไว้นับไม่ถ้วน เพราะทรงมพระวิลัยทัศนั ทรงมพระญาณสมบัติกาคเห็่นเหตุอันไกลแจ้งซัก จึงได้ทรงเรั๋มจักการปกกรอง พระราชอาณาจักรด้วยการแก!ขเปลยนแปลงเพอใท้เจริญถ้าวหน้าทันสมัย มิได้ ทรงปล่อยปละให้เลืยประโยชนด้วยกวามประมาท จึงทรงสามารถรักษาอำนาจ อธิปไตยชองประเทศชาติไว้[ด้ พระเกยรติคุณข้อนั้เป็นเกรองยืนยันได้ว่า วิลัยทัศนนั้นสำดัญน้ก คน ทั้มวิลัยทัศน้ทั้ไกล มองเห็่นการถร!กล มองเหตุมองผล รู้จักเหตุรู้จักผล เห็่นการควรและไม่ควร คาฅการถร!ค้อย่างฉลาดรอบคอบ ย่อมสามารถ เอาตวรอดไค้ สามารถทำให้ตนและกนรอบข้าง ตลอกถึงหน้าทการงานทด้อง www.kalyanamitra.org
i ๒๗๖ sssuaisumui lau ๓ พระชMใโพธิวง ศไๆไรย์(ทอง ดี ช.ธ.๙) รับผิคชอบร'มฤทธิ้ผล เจริญก้าวหน้า นำ กวามผาสุกมาให้แก่ฅน แก่รงกม แลร: ปรร:เทศชาติไค้อย่างถาวร หากขาดวิสัยทศน้ ย่อมมองไมใกล ย่อมไปไมกง จร;จดทำงานอร;ไรก็่จร;ติดขัคบกพร่อง ก่อเวรก่อกรรมให้แก่ดนเองโดยไม่ คาดคิด กรรมนั้นก็่จร:ฅามติคไปศนองผลฅลอคกาล นำ กวามทุกซกายทุกขั!จ มาให้!ม่ฃาคสาย แม้จร:มอร:ไรไค้เพั๋มพูน แม้จร:เป็นอร:ไรไค้สูงรง ก็่ใม่อาจพ้น จากอำนาจเวรกรรมทํ่ก่อไว้ค้วยกวามปรร:มาทเป็นแน่แห้ พรร:เก่ยรติคุณข้อทว่า ทรงมพรร;ปรชา นั้นกือ ทรงมพร:!ปรชาญาณ ทรงมพร:!ปีญญาความฉลาดแหลมกม ทรงสามารถเริยนรู้เรองด่างๆ ไค้ โกยฉับพลัน ทรงสามารถแก้!ขเหตุการณร้ายทเกิคเนไห้กลายเป็นคุณไค้ พรร:ราชจรรยาแลร:พรร:ราชกรณยกิจทํ่ทรงปฏิบัติจักทำค้วยพรร:ปริชาล้วน เป็นไปอย่างมคุณด่าเป็นอักจรรย่ อย่างเซ่น การเสด็่จปรร;พาสต้น เพํ่อเชอมปรร:สานลดซ่องว่างรร:หว่าง ฐานันดรลักติ ทำ ไห้เกิดกวามอบอุ่นคุ้นเกย กวามจงรักภักค แลร:กวาม ปรองดองสมานฉันท!ห้กวามร่วมมือไนการพัฒนาปรร:เทศชาติดามพรร:ราช- ปรร:สงก แลร: การเสด็่จเยือนสร้างสัมพันธไมตริกบต่างปรร;เทศ ทั้งปรร;เทศ เพึ๋อนบ้านแลร;ปรร;เทศในทวิปยุโรป ล้วนเป็นเกราร:บ้องกันภัยไห้แก่ปรร:เทศ เป็นโล่เป็นปราการกานอำนาจเหล่าปรร:เทศจักรวรรดินิยมทั้งหลายไม่กล้า คูหมั๋นคูแกลน แลร:ไม่กล้ารังแกรุนแรงเหมือนปรร:เทศอํ่น แม้เรองการโอนอ่อน ผ่อนปรน ผ่อนลันผ่อนยาว โดยอ่อนไนกราวทกวรอ่อน แฃ็่งไนกราวทกวรแฃ็่ง ยอมเสิยไนกราวทค้องเวิยเพอรักษาล่วนไหญใว้ดามคำพังเพยทว่า \"เส์ยกำ ไว้กอบ\" ชงทรงดำเนินดามทางสายกลางไนพรร:พุทธศาสนา เป็นเหตุไห้รักษา เสริภาพแลร:อธิปไฅยชองบ้านเมืองไว้!ค้ พรร:เกิยรติคุณข้อนั้ซไห้มองเห็่นไค้ว่า ความมืปริชาสามารถนำความ ทำ เร็่จแลร;ความเจริญก้าวหน้ามาให้!ต้ทุกกรณ คนทั้มืปริชามืความฉลาดรู้ www.kalyanamitra.org
๒๗๗ # รบบิทรฬทท! 1รอง พระราชไผู้ทรงตั้งอยู่ในธรรน หลกรู้วชา รู้ภาษารู้พาท รู้วธรู้รรแบยบ รู้บาปบุญคุณโทษ รู้การควรไม่ควร ไม่ว่าจร;ทำการใดปอมไมตดขดล้มเหลว แม้จร;มปีญหาอุปสรรคขดข้อง ก็่ใข้ ปรชาปรร:จำตนแกโขให้รอดพ้นไปได้ ว่วนคนทไร้ปรซาไร้กวามสามารถ หรือมปรซาสามารถไม่มากนัก ย่อม ไม่อาจทจะ;กิคงานอร:ไรออกไค้ ไม่อาจจะ;เรั๋มค้นจัดทำอร;ไรไค้แน่นอน แม้จร; ทำ ไค้บ้างแฅ่ก็่นักจะ;ผิดพลาดบกพร่อง ไม่มกวามรับผิดซอบ ทำ ให้เกิดกวาม เกิยหาย ยู้ฃาดปรืซาหรือมปรืซาไม่มากนั้นย่อมไม่อาจนำพาหมู่กณะโดยทสุด แบ้ฅัวเองให้อยู่สุขดลอดรอด\"ผิงไค้ พระ;เกิยรติคุณทว่า ทรงม่พรร;ว่รภาพ นั้นกือ ทรงมความกล้า ทัง้กล้าหาญ แลร^กล้าไล้กล้าเ^ย ทรงปราfiจากความครั่นคร้าม ล้วยทรงมความเชอมั่น ในพระองคเองอย่างปีง จึงทรงสามารกดำริการด่างๆ ไค้ปลอดโปร่ง การทพระ;องก ทรงอาจหาญ ไม่ย่อท้อด่อฃ้อติดซัด ยากเท่ายากซักปานใดก็่ทรงกล้าหาญ เผชิญพากเพยรดำเนินการไปจนกื้งกวามส์าเร็่จ อย่างเช่นในเรองทรงปรับปรุง เปลยนแปลงระ;บบระ;เบยบด่างๆ จนเข้ารูปเข้ารอยสืบเนํ่องด่อมาจนกง!เจจนัน ทั้งในเรองการปกกรอง ในเรองการกมนากม เรองการเกษฅรการค้าขาย เป็นค้น ย่อมแสดงไค้ว่าทรงมพระ;วรภาพกวามกล้าเช่นนั้โม่เสือมกลาย ทเห็่น ไคซัดในเรองนั้ก็่คือการเลิกทาสชงถือว่าเป็นเรองใหญ่มาก ทรงมพระ;ราซดำริ ทจะ;เลิกทาสก็่ทรงอาซัยพระ;วรภาพและ;พระ;ปรืซา ทรงปรืกษากับทปรืกษา ราซการแผ่นดิน ข้อปรืกษานั้นมเนั้อกวามเป็นเบองค้นว่า \"ข้าพเจ้ามความปรารถนาว่า การ^งไรทเป็นการเจริญ มคุณแก'ราษฎร ควรจะไล้เป็นไปทละเล็่กละน้อยฅามกาลคามเวลา การร่งไรmป็นรรรมเนยม น้านเมืองมาแค่โบราณ แคไม่ล้เป็นยศิธรรม ก็่อยากจะเลิกถอนเมืย แค'จะ จู่โจมโหมหักเอาทเคยวทั้นไมไล้ จะล้องค่อยคัครอนไปทละเล็่กละน้อย พอไล้ เบาบางเข้าทุกท เมอเป็นอยู่อย่างน การก็่คงจะเป็นไปทละน้อยๆ เรยบร้อย ไปคามเวลาคามกาล..:' www.kalyanamitra.org
i ๒๗๘ $ sssuaisinflui lau ๓ พระนHไโพริวงศาใารย์(ทอง ดี น.ร.๙) ตามพระราชคำริเรองเลิกทาศนทรงคำเนินการเรอยมาเป็นเวลา ๓๑ ป็ จึงส์าเรื่'จ นับไค้ว่าทรงมพระวรภาพในพระราชหฤทัยเข้มแฃ็่งแล2แน่วแน่ซัคเ'จน เป็นแบบอย่างไค้เป็นอย่างคํ พระเกยรฅิกุณข้อนิเป็นเกรองชให้เห็่นว่า วรภาพหรือความกล้านั้น มความสำคญยิง เพราร;เป็นเหตุไห้เริมต้นดำเนินหน้าทการงานทุกอย่าง แม้ จร;มอุดมการณ มวิล้ยทัศน้ มปรชา แต่ขาดวรภาพ ไม่มความกล้า ก็่โม่อาจ ทำ อะไรให้สำเร็่จเป็นรูปธรรมข'นมาไต้ ตังนั้น ยู้ทปรารถนากวามสำเร็่จ กวาม เจริญก้าวหน้า จำ ค้องมกวามกล้าเป็นพนฐาน จำ ค้องกล้าตัคลินใจทจะทำ กล้าลงมือทำ กล้าไค้กล้าเลิย กล้าเร่ยง จิตใจค้องเข้มแข็่งมั่นกง มืชวัญคํ ไม่กรันกร้าม ไม่สะทกสะท้าน หากชาควรภาพชาตกวามกล้าหาญ จิตใจก็่จะ อ่อนแอ ไม่กล้าล้ เมือพบปิญหาอุปสรรกเข้า แม้จะไม่รุนแรงหนักหนานัก ก็่จะ ขวัญเสํย ถอคใจไม่ล้ ทอคทงหรือปล่อยวางงานททำ ก็่จะเกิคกวามล้มเหลว หรือเกิคกวามเลิยหายชนแก่งานนั้นๆ ค้วยเหตุนั้การปลุกวรภาพใท้เกิคมืขน ในจิตใจจึงเป็นเรองทสำตัญ สามารถเป็นพลังอำนวยผลให้บรรลุถงกวาม Z ฟ V|^ พระบาทสมเค็่จพระจ^จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระธยมหาราชเจ้าพระองก่นั้น ทรงเป็นธัมมิกราช ผู้ทรงตังอยู่ในธรรมโคยแท้ ทรงมพระอุดมการณ์ ทรงม พระวิล้ยทศน้ ทรงมืพระปรืขา และทรงมืพระวรภาพ อันเป็นธรรมภายในท ประเสริฐแจ้งประจักษ สามารถเป็นแบบอย่างและเป็นแนวปฏิบัติไค้อย่าง ถ่องแท้ ตามพระบาลิข้างค้น พระพุทธองก่ทรงยกพระราชาชนเป็นแกนนำตาม แนวเทศนา หากแต่ทรงหมายถึงยู[หญทเป็นผู้นำหมู่นำกณะนำประชารัฐและ ประเทศชาติทุกหมู่เหล่า ชงจะเรืยกว่าประธานาธิบค เรืยกว่านายกฬัมนตรื หรือ เรืยกชานอย่างอนก็่ตามท เมอทำหน้าทเป็นผู้นำหมู่นำกณะก็่อนุโลมเรืยกว่า เป็นราชาไค้ ผู้ทำ หน้าทเป็นผู้นำหม่^นำกณะไม่ว่าเล็่กว่าใหญ่ตั้งแต่กรอบกรัว จนถึงประเทศชาติบ้านเมือง หากตั้งอยู่ในธรรม ปฏิบัติไปตามธรรม โคยมื www.kalyanamitra.org
๒๗๙ e; Buunsitfnm 1ร0ง พระราชไบู้ท รง ตั้ ง อยู่ใน ธรรม อุคมการณ มวิร'ยทัศน มปรซา และมวรภาพ ย่อมทำให้คนเอง คนรอบข้าง คลอคถงทังคมและประเทศชาติอยู่เย็่นเป็นอุซ อยู่รอคปลอคภัย อยู่อย่างไมมเวร มภัยฅ่อภันไค้อย่างชัคเจน คามพระบาลข้างค้นทว่า ราษฎรย่อมอยู่เป็นสุขกัน ทั่วหน้า ถ้าพระราชาทั่งอยู่ในรรรม คังทพระบาทศมเค็่จพระพุทธเจ้าหลวง พระปิยมหาราชเจ้าทรงปฏิบัติพระองค้โห้เป็นแบบอย่าง และส่งผลไห้เกิคความ ผาสุกแก่ราษฎรถ้วนหน้า ทังรับพระราชทานแสคงมา ค้วยประการฉะนิ้ ไนทสุคแห่งพระธรรมเทศนา ขออำนาจพระราชกุศลทักขิณานุปทานกิจ ทศมเค็่จบรมบพิตรพระราชสมภารพระองค ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรง บำ เพ็่ญพระราชอุทิศแล้วน จงส่าเร็่จเป็นวิบากสมบัติปิฅติทานมัยกุศลแค่ พระบาทสมเค็่จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราชเจ้า สมเค็่จพระศรพัชรินทราบรมราขินนาถ และสมเค็่จพระ- ศรสวรินทราบรมราชเทวิ พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมคามพระราชประสงคและ พระราชอุทิศทุกประการ รับพระราชทานถวายวิทัชนาพระธรรมเทศนาไนธัมมิก- ราชกถา เป็นปสาทนยานุโมทนา สมควรแก'เวลา เอวํ ก็่มค้วยประการฉะนิ้ ฯ ขอถวายพระพร www.kalyanamitra.org
ส์ตํ จกฺขู ส์ตํ กท}ณา นายกสฺส สุโต สทา ตถาปิ อนุรพธิโร เอส์า นายกลฦขณํ ฯ ธรรมนติ. ผู้นำ ย่อมเป็นผู้มฅานับร้อย มหูนับร้อย จื้งไค้ทราบเรองราวอยู่ฅลอค ถึงกรรนั้น พึงทำเป็นกนตาบอดหูหนวกเถึยบ้าง (จรไค้ส์บาย) นั้เป็นลักษณรของข้นำ. www.kalyanamitra.org
.-X'Q, ปริหารกพลกถา เรื่อง พลังฃองผู้บริหาร ธโร จ พลวา สาธุ ยูถสฺส ปริหารโก หิโต ภวติ ฌาตนํ ตทสานํว วาส์โวติ ฯ ขุ.ซา. ๒๗/©๐๓๒ บัคน จักรบพระราซทานถวายพระธรรมเทศนาใน ปริหารกพลกถา ณ ในการทศมเค็่จพระบรมโอรสาธิราซฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรง พระราชทานให้การจัคงานบำเพ็่ญกุศลเนองในวาระกรบ ๑๒ รอบพระนักษัตร วันประสูติสมเค็่จพระร'งฆราชเจ้า กรมหลวงวซิรญาณวงส์ สมเค็่จพระรงฆราช พระองกท ๑๓ แห่งกรุงรัฅนโกสินทร และอคฅเจ้าอาวาสวัคบวรนิเวศวิหาร อยูในพระบรมราชูปนัมก นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณยํ่งฅ่อวัคบวรนิเวศ- วิหารและคฤหัสถชนผู้ศรัทธาในวัคบวรนิเวศวิหาร ซงมเจ้าประคุณสมเค็่จ พระวันรัฅเป็นประธาน รวมถื้งคณะญาติในราชสกุลนพวงส์ อันเป็นค้นตระกูลชอง พระมหาโพธิวงศาาารย (ทองฅ) วัคราชโอรฟ้าราม กรุงเทพมหานคร แฟ้คง ในงานบำเพี่ญกุศอกรบ ๑๒ รอบ พระนักษัฅร วันประฟ้ฅิ ฟ้มเค็่จพระวังฆราชเจ้า กรมหลวงวซิรญาณวงส์ ฟ้มเค็่จพระวังฆราชพระองกท ๑๓ ณ วัคบวรนิเวศวิหาร เชตพระนคร กรุงเทพมหานคร วันอังคาร ท ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา 0๙.๓0 น. www.kalyanamitra.org
i ๒๘๒ รฺ ธรรบส!ร!ทฝ็น! lau ๓ พระนMใโพริวงศาใใรย์(ทองดี น.ร.๙) เจ้าพระกุณสมเค็่'จพร^ร'งฆราซเจ้าพรร;องกนั้น ชงแสคงถื้งนํ้ๆพระราชหฤทัย ทกว้างฃวางแผ่ฃยายมาถึงพระอารามแล^พรรเบุรพาจารยเจ้าอาๆาสพร^อาราม ทเกยเสค็่จทรงผนวช ค้วยว่าเจ้าพระคุณสมเค็่จพระร'งฆราชเจ้าพร^องกนั้น ทรงเป็นสมเค็่จพระร'งฆราชทส์ากัญยํ่งพระองกหนงในร'งฆมณฑลไทย โคยทรง เป็นพระราชอุปิธยาจารย เป็นประธานในการอุปสมบทกรรม พระบาทสมเค็่จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอคุงํยเคช ในป็พุทธกักราช ]£ท^๙๙ แลทรงเป็นผู้ ถวายพระนามสมเค็่จพระราชโอรสพระราชธิคาทุกพระองค!นพร^บาทสมเค็่จ- พระเจ้าอยู่ทัวพระองกนั้น และทรงมพระคุณูปการใหญ่หลวงแก่การพร^ศาสนา แก่วัคบวรนิเวศวิหาร และแก่กังฆมณฑล จนเป็นทรู้เหื่นประจักษสิบมาถง ปิจจุบัน สมเค็่จพระกังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงกั ทรงถือกำเนิคในตระกูล นพวงกํ ประสูฅิเมอวันท ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒<1๑๕ เมอทรง พระเจริญวัยไค้บรรพชาเป็นสามเณรทวัคบวรนิเวศวิหารนั้[ค้ถืกษาเล่าเริยน พระปริยัติธรรมกับสมเด็่จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวซิรญาณวโรรส ชงเป็น พระอาจารยัปกกรอง ทรงเข้าแปลพระปริยัติธรรมทวัคพระศรรัฅนศาสคาราม ทรงแปลไค้เป็นเปรยญ ๕ ประโยกเมอยังเป็นสามเณร แลเมอทรงอุปสมบท แล้วไค้เข้าแปลอกกรังหนง ทรงแปลไคอก ๒ ประโยก เป็นเปรยญ ๓) ประโยก เมอทรงอุปสมบทแล้ว ทรงไค้รับกวามไว้วางพระหฤทัยจากสมเค็่จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเป็นอย่างมาก ทรงสนับสมุนให้ รับหน้าทส์ากัญโคยเฉพาะในค้านการถืกษากณะสงฆ เรั๋มค้นทรงไครับแต่งตั้ง ให้เป็นผู้อำนวยการถืกษามณฑลจันทบุร ต่อมาทรงไครับแต่งตั้งให้เป็นเจ้ากณะ- มณฑลจันทบุริ เป็นแม่กองธรรมสนามหลวง เป็นแม่กองบาลสนามหลวง เป็นประธานมหาเถรสมากม บัญชาการกณะสงฆแทนองกัพระเจ้าวรวงกัเธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒนั สมเค็่จพระกังฆราชเจ้า ชงทรงประชวร เป็นค้น ใน www.kalyanamitra.org
๒๘ฅ เ^ UsHisnwanm 1รอง พส์งฃอง ฆู้ บริ!ทร ส่วนของพระอารามนั้น ทรงปฏิบัติตามแบบทพระบาทศมเค็่จพระๆอมเกล้า- เจ้าอยู่หัวและศมเค็่จพระมหาศมณเจ้า กรมพระยาวซิรญาณวโรรส ทรง วางไว้เป็นส่วนใหญ่ และไค้ก่อสร้างถาวรวัตถุเพํ่มขนไว้มาก เซ่น ฅึกมถุษยนาก วีทยาทาน ตึกสภาการสืกษามหามถุฎราชวีทยาลัย ตึกกอยท่าปฑโมซ ตึกอุทิก นกวงส่ เป็นค้น พระคุณูปการและพระเกยรติประวัติของเจ้าพระกุณสมเค็่จพระลังฆราชเจ้า พระองก่นั้นมเป็นอเนกอนันฅ เป็นประโยชนแก่การพระกาสนาและลังฆมณฑล เป็นอย่างยํ่ง มิโซ่เฉพาะสร้างเสริมคุณภาพพระสงฆให้มประรทธิภาพใน ประเทกเท่านั้น ยังทรงสนับสถุนให้พระสงฆใทยไปตึกษาคูงานในต่างประเทก เซ่นทป็นังและประเทกกัมพูชา เป็นค้น เมอป็ พ.ก. ๒๕00 รัฐบาลสหภาพ- พม่าในขณ่ะนั้นไค้ถวายเฉลิมพระสมณกักติท อภิธชมหารัฏฐคุรุ ชงเป็น สมณกักคิ้สูงสุกของสหภาพพม่า แต่สมเค็่จพระลังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิร- ญาณวงตึค้วย พระเกยรติคุณและพระคุณูปการทสมเค็่จพระลังฆราชเจ้าพระองกันั้น ทรงปฏิบัติบำเพ็่ญให้เป็นประโยชนประจ้กษเป็นรูปธรรมเป็นอเนกประการนั้น แสคงถึงกวามเป็นยู้นำของพระองกว่าทรงพระปรชาสามารถ ทรงเข้าใจในเรอง การบริหารจัคการอย่างถ่องแห้[ม่ติคขัค ทรงสามารถจัคสามารถทำไค้อย่าง กส่องแกส่วว่องไว จงทรงไครับกวามไว้วางพระหฤทัยของพระมหาเถระผูใหญ่ ผู้บังกับบัญชา ทรงไครับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าทไปตามพระปริซาสามารถ อย่างเฅ็่มท จึงเกิคเป็นลัมฤทธิผลทงคงาม เริยบร้อย ถึบสานต่อเนั้องมา จนถึงปีจจุบัน อันผู้มปริชาสามารถบริหารหมู่กณะในฐานะเป็นผู้นำให้เกิดผลคเซ่นนั้ จัคว่าเป็นผ้มพลัง ตึอมกำลังมกวามสามารถ หากขาคพลังแล้วไฉนเลยจะ www.kalyanamitra.org
i ๒๘๔ 0 ธรรบส!ร!ทศน!lau ๓ พระบพ!โพรวงศไ!ไรย์(ทองM if.ร.๙) ปรชาสามารถคำเนินการจัคทำหรือบริหารกณร;ให้เจริญก้าวหใ!ทไค้ ข้อน็้เ!!นไป ตามวิถแห่งพรร;พุทธศาสนา ชงพรร;พุทธองกก็่ทรงรับรองแลร;สรรเสริญไว้ ตังปรากฏไนพรร;บาลขุททกนิกาย กปิซาคก ชงไค้ยกมาเ!!นนิกเฃปบทเทศนา เบองค้นว่า ธโร จ พลวา สาธุ เ!!นอาทิ อันยูรู!ค้แปลไว้ว่า \"อันนกปราชญผูมพลง มาปกครองหมู่คณร; ย่อมดแท้ เพราร;ว่าเฟ้นปรร;โยชนแก่พวกญาติพน้อง เหมือน ท้าววาสวร;ผู้เฟ้นปรร;โยชน้แก่เหล่าเทวดาชั้นดาวดงส์ ฉร;นั้น\" พรร:บาลชาคกนั้ เป็นเกรองยนยันว่า ในการปกทรองหมู่ทณ:!นั้น หากไค้ นักปราชญศึอผู้ฉลาศรู้แล:!มพลังมาปกศรองหมู่ทณ:! ย่อมเปีนการmเน'นอน ทำ ไห้เกิทปรdยชนัแก'พวกญาติชงก็่ทือหมู่ศณ:!ผูใกลชศ เหมึอนอย่างห้าว วาสวะชงก็่ทือพร:!อินทรหfอห้าวลักกเทวราชไค้ทำสงครามนับเหล่าอสูร แย่งชิงสวรรทชั้นลาวติงลันันจนไค้รบชัยชนะ ไค้ทรอบทรองสวรรทชั้นลาวติงล่ เบ็่ลเสร็่จ และนำพาเหล่าเทวลาบริวารอย่บนสวรรค้ชั้นนั้นอย่างเปีนสุข ติบมา เรองนั้เท่านับพระพุทธองททรงรับรองว่านักปราชญติอผู้ฉลาศและมพลัง ไค้ปกทรองหมู่ทณะใล ย่อมทำให้หมู่ทณะนั้นอย่เย็่นเปีนสุข มลันติสงบไค้ แน่นอน คำ ว่า พอัง ตามพรร;บาลนั้ก็่คือ พลร; ชงแปลโคยทั่วไปว่า กำ อัง อันว่า พลังนั้มือานุภาพหนุนนำไห้ผู้มยู้ปฏิบัติไคํรับกวามส์าเร็่จสมปรร;สงกในสิงท ปรารถนา ไม่ว่าจะไนเรองการบริหาร ไนเรํ่องการจัคการ ไนเรองการประกอบ กิจการ หรือไนเรองการคืกษาเล่าเรืยน สมเค็่จพระลัมมาลัมพุทธเจ้าไค้ตรัส ข้อธรรมทั่เป็นพลังไว้!นหลายพระสูตร เช่นตรัสว่า พลธรรมม ๕ ประการ คือ อัทธาพลร; พลังศรัทธา วิรยพละ พลังกวามเพยร สติพละ พลังสติ สมาธิพละ พลังสมาธิ ปีญญาพละ พลังปีญญา เป็นค้น www.kalyanamitra.org
๒๘๕ รุ Usmsnwanai 1รอง พลัง ของ ฆู้ บริ แไร แต่ในธทมกถานจักเฟคงพลร:หรอพลังทส์ากัญเบื้องฅ้นอัน'จร:นำไปส่ กวามส์าเร็่'จในการบริหารในการปรร:กอบกิ'จต่างๆ ในซวิฅของบุกกล กล่าวคือ ผู้ท'จร:ไค้ซอว่าเป็นผู้นำเป็นผู้บริหารหรือเป็นผูจัคการทคื จร:ไค้รับผลลำเร็่จในสิง ทปรารถนานั้น มพลังลำกัญท'จำค้องม 'จำค้องให้เกิคขนในฅนทํ่ลำกัญเบื้องค้น d ปรร:การ คือ พลังจิต ๑ พลังคิด ๑ พลังสร้างสรรค ๑ พลังปีญญๆ ๑ ชงพลังทั้งร่นั้จร:ขับเกลอนบุกกลให้ทำงาน ขับเกลอนงานให้ลำเร็่จ แลร:ขับเกลอน กวามลำเร็่จให้ก้าวหน้ายั๋งขนไป พลังปรร:การแรกคือ พลังจิต หมายถึง พลังใจ หรือ กำ ลังใจ ผูมพลังจิฅ ก็่คือผู้ทมจิฅใจทเข้มแฃ็่ง มั่นกง มกวามบุ่งมั่นสูง มกวามมั่นใจแลร:เชอมั่น ศรัทธาในสิงททำสูง จึงกล้าทจร:ลงมือทำ พลังจิตบื้ถึอว่าเป็นพนฐานเบื้องต้น ของการปรร:กอบกิจการต่างๆ เมอมืพลังจิตมั่นกงแล้ว กิจการต่างๆทั้จร:ทำ ก็่ชอว่าลำเร็่จไต้ล่วนหนงแล้ว หากขาคพลังจิตเป็นเบื้องต้น แม้จร:ลงมือทำ ก็่ล่อเต้าว่าจร:ล้มเหลวเป็นเบื้องต้นแล้ว กนเราแม้มืจร:พลังกายเข้มแฃ็่ง แต่พลังจิตอ่อนแอขาคกำลังใจ เมั่อ ปรร:กอบกิจการใคก็่มักจร:ย่อห้อ มือาการเบื้อหน่าย ทำ ให้พลังกายย่อหย่อนตาม การงานทปรร:กอบก็่จร:ไม่ลำเร็่จผล ล่วนผู้มืพลังกายบกพร่อง แต่มืพลังจิต อาจหาญไม่ย่อท้อ ก็่จร:บุ่งมั่นอุตศาหร:ทำกิจการอันเป็นหน้าทของตนจนสูค กวามสามารถ ในทสุดก็่จร:ถึงกวามลำเร็่จไค้รับผลตามปรารถนา พลังกาย แลร:พลังจิตสองอย่างนเป็น'อุปการร:แก่กัน ก้ามืบริบูรถงกรบทั้งสองอย่าง ก็่ จร:ล่งเสริมบุกกลนั้นให้เป็นผู้สามารถยงขน อันพลังจิตนั้นจำต้องtกฝนอบรม ล้าไมไค้แกฝนอร:ไรก็่ใม่มืหลักอะไรมา เป็นเกรองยคเหนยว ท้ายทสูคก็่มักจร:คำเนินไปในฟ้ายฅา การสร้างสมพลังจิต จำ ต้องอากัยการtlกการอบรมจิตให้เป็นไปในทางทขอบต้วยปีญญา รู้จักเลือก www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 512
Pages: