3) การดำ� เนนิ งานเพอื่ อนรุ ักษส์ ตั ว์ทะเลหายาก 3.1) จดั กจิ กรรมจัดเก็บขยะทะเลตกคา้ งในระบบนิเวศท่ีสำ� คญั แบบมีส่วนร่วม ในพ้นื ท่ี ชายฝัง่ ทะเล 3.2) ออกปฏิบัติงานคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั อยอู่ ยา่ งต่อเน่อื งในพ้ืนที่ 3.3) ส�ำรวจเตรียมการประกาศเขตคมุ้ ครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั 3.4) โครงการส�ำรวจประเมินสถานภาพสัตว์ทะเลหายากและติดตามสัตว์ทะเลหายาก ทเี่ ป็นสตั ว์สงวน และคมุ้ ครองบริเวณอา่ วขนอม อำ� เภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยวธิ ี Photo ID 3.5) โครงการตรวจสุขภาพสัตว์ทะเลหายากและใกล้สูญพันธุ์ ในถ่ินท่ีอยู่อาศัย โดยวิธี Photo ID ครอบคลุมพ้ืนท่อี �ำเภอทา่ ศาลา สชิ ล และขนอม จงั หวัดนครศรธี รรมราช 3.6) โครงการชว่ ยชีวิตสตั วท์ ะเลหายากและใกลส้ ูญพันธ์ุ เมอ่ื มีการแจ้งเหตุ 3.2.4 สถานการณ์ด้านป่าชายเลน ป่าชายหาด พรุ 1) สถานการณ์ด้านป่าชายเลน จงั หวดั นครศรธี รรมราช มพี นื้ ทปี่ า่ ชายเลนทงั้ หมด 149,748.78 ไร่ อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ท้ังหมด 108,212.26 ไร่ กระจายในพื้นท่ีเขตอ�ำเภอขนอม อ�ำเภอสิชล อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอปากพนงั และอ�ำเภอเมือง จากการส�ำรวจความ หลากหลายของสังคมพืชในป่าชายเลน ในบริเวณ ต�ำบลปากนคร ต�ำบลปากพูน ต�ำบลทา่ ไร่ และตำ� บล ท่าชัก อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ต�ำบลแหลม ตะลมุ พกุ ตำ� บลคลองนอ้ ย ตำ� บลปากพนงั ฝง่ั ตะวนั ตก และต�ำบลปากพนังฝั่งตะวันออก อ�ำเภอปากพนัง พบพันธไ์ุ มท้ ง้ั หมด จ�ำนวน 19 ชนิด ชนดิ พันธท์ุ พี่ บ มากทสี่ ดุ คือ โกงกางใบเลก็ รองลงมาคอื แสมทะเล สภาพพน้ื ทีป่ ่าชายเลน จงั หวดั นครศรธี รรมราช และถ่ัวขาว 2) สถานการณด์ ้านปา่ ชายหาด พรุ ปา่ ชายหาดเปน็ ปา่ ละเมาะหรอื ปา่ โปรง่ ไมผ่ ลดั ใบขนึ้ อยตู่ ามบรเิ วณชายหาดหรอื เนนิ ทราย รมิ ทะเล หรอื ชายฝง่ั เป็นป่าท่ีมีขนาดเล็กเกิดขนึ้ ดา้ นหลงั ของสนั ทรายตามแนวชายฝง่ั นำ�้ ทะเลท่วมไมถ่ งึ สภาพดนิ เปน็ ดนิ ทรายและมคี วามเคม็ สงู เปน็ ปา่ ทมี่ คี วามแตกตา่ งจากปา่ ทวั่ ๆ ไปอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เจน คอื ไมม่ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ สภาพโดยทั่วไปแห้งแล้ง ใบไม้ในป่าจะเป็นลักษณะหงิกงอ ซึ่งเป็นลักษณะของป่าชายหาดที่สมบูรณ์ ป่าชายหาด เป็นป่าท่ีได้รับอิทธิพลจากกระแสลม กระแสคลื่น รวมถึงไอเค็มจากทะเล แสงแดดร้อนจัด สภาพความช้ืนสุดขั้ว ทงั้ ชื้นจัด ช้นื น้อย และช้ืนปานกลาง ระบบนเิ วศจงึ ประกอบดว้ ยเนนิ ทรายหรือหาดทรายและมพี ืชประเภท ไมเ้ ถา หรือไม้เลื้อย ไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นท่ีมีล�ำต้นคดงอ และมีความสูงเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ เมื่ออยู่ห่างจากชายหาดออกไป ไม้ท่ีเป็นประเภทหญ้าหรือไม้เลื้อย ได้แก่ หญ้าลิงลม ผักบุ้งทะเล หญ้าทะเล เตย ซึ่งรากของไม้เหล่าน้ีจะช่วย หลักสูตแรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 141
ในการยึดเกาะพืน้ ทรายท�ำใหพ้ ้นื ทรายมีความแนน่ หนาแข็งแรงมากขนึ้ เพื่อทีจ่ ะให้รากของไมท้ ่ีใหญ่กวา่ เช่น ไม้พุม่ ไดเ้ กาะตอ่ ไป ประเภทของไมพ้ มุ่ ไดแ้ ก่ รกั ทะเล ปอทะเล เสมา ซงิ ซี่ หนามหนั กำ� จาย ขน้ึ เปน็ กลมุ่ ๆ ชว่ ยบงั ลมทะเล เปน็ ปราการใหแ้ กไ่ มช้ นิดท่ไี ม่สามารถทนเคม็ ได้ ประเภทของไมย้ ืนต้น เช่น กระทงิ หูกวาง โพทะเล ตีนเป็ดทะเล หยนี ำ�้ มะนาวผี ขอ่ ย แตล่ ำ� ตน้ ไมส่ งู มากนกั ใบมคี วามหงกิ งอตามกระแสลม เรอื นยอด อยตู่ ดิ กนั และมกั มหี นามแหลม บางพน้ื ทีอ่ าจมีไม้ยืนตน้ ขนาดใหญ่ เชน่ ยางหรอื ตะเคียน เปน็ ตน้ เนอ่ื งจากมขี อ้ จำ� กดั ในเรอ่ื ง ความเคม็ ของดิน ปริมาณธาตอุ าหารพืชในดนิ ท่ีมีอยู่ น้อย และสภาพดิน ท่ีเก็บความชื้นไว้ได้ไม่นาน พชื สว่ นใหญจ่ งึ เจรญิ เตบิ โตไดช้ า้ และจากไอเคม็ ทพี่ ดั เข้ามาจากทะเลและความรุนแรงของลมพายุท�ำให้ ไม้ใหญ่หักโค่นได้ง่าย นอกจากน้ีการขาดแคลนน้�ำ ในดินส่งผลต่อการสังเคราะห์แสงของพืช ปัญหาที่ มักเกิดข้ึนก็คือซากของใบสนทะเลท่ีมีการผุสลายช้า และปกคลุมดินค่อนข้างหนาเป็นการสกัดก้ันการสืบ ต่อพันธุ์ของไม้ชนิดอ่ืน ๆ อีกท้ังอาจก่อให้เกิด สภาพพืน้ ทีป่ ่าชายหาด จังหวัดนครศรธี รรมราช ไฟผิวดินข้ึนได้ 3.2.5 สถานการณ์ดา้ นการกดั เซาะชายฝั่ง 1) สถานภาพและสถานการณก์ ารกดั เซาะชายฝ่ัง จังหวัดนครศรธี รรมราช มคี วามยาวชายฝง่ั ยาวประมาณ 236.81 กิโลเมตร โดยสามารถ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ อ่าวบ้านดอน อ่าวขนอม-ท่าศาลา อ่าวปากพนัง และแหลมตะลุมพุก โดยมีอาณาเขต ครอบคลุมพนื้ ทีต่ �ำบลท้องเนยี น อำ� เภอขนอม ถงึ ตำ� บลหน้าสตน อำ� เภอหัวไทร รวมทั้งสน้ิ 25 ตำ� บล ประกอบด้วย ต�ำบลทอ้ งเนยี น และตำ� บลขนอม อำ� เภอขนอม ตำ� บลทงุ่ ใส ตำ� บลสิชล ต�ำบลทุง่ ปรังและตำ� บลเสาภา อ�ำเภอสชิ ล ตำ� บลกลาย ตำ� บลสระแกว้ ตำ� บลทา่ ขน้ึ และตำ� บลทา่ ศาลา อำ� เภอทา่ ศาลา ตำ� บลปากพนู ตำ� บลทา่ ชกั ตำ� บลปากนคร ต�ำบลท่าไร่ และต�ำบลบางจาก อ�ำเภอเมือง ต�ำบลคลองน้อย ต�ำบลปากพนังฝั่งตะวันตก ต�ำบลแหลมตะลุกพุก ตำ� บลปากพนงั ฝง่ั ตะวนั ออก ตำ� บลบางพระ ตำ� บลบา้ นเพงิ ตำ� บลทา่ พญา และตำ� บลขนาบนาก อำ� เภอปากพนงั และ ตำ� บลเกาะเพชร และต�ำบลหน้าสตน อ�ำเภอหวั ไทร จากข้อมูลการส�ำรวจโดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พื้นที่ชายฝั่งจังหวัด นครศรธี รรมราชระยะทางประมาณ 236.81 กโิ ลเมตร มพี นื้ ทช่ี ายฝง่ั ทปี่ ระสบปญั หาการกดั เซาะยาวประมาณ 61.48 กโิ ลเมตร 142 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
2) การด�ำเนนิ การปอ้ งกันและแกป้ ัญหาการกดั เซาะชายฝั่ง การด�ำเนินการแก้ไขแล้ว ซึ่งจากการส�ำรวจพบโครงสร้างป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัด เซาะชายฝง่ั ประกอบด้วย 2.1) เขือ่ นหินทง้ิ รมิ ชายฝั่ง 2.2) ก�ำแพงกนั คล่นื ประเภทตงั้ ตรง 2.3) กล่องกระชุหนิ 2.4) รอดกั ทรายแบบตวั ไอ 2.5) เข่ือนกันทรายและคล่ืนปากแม่นำ�้ 2.6) เข่อื นหนิ ป้องกันคล่ืนนอกชายฝ่งั 3) สาเหตขุ องการกดั เซาะชายฝงั่ 3.1) กระบวนการทาง ธรรมชาติ การกัดเซาะชายฝั่งมีสาเหตุจาก กระบวนการทางธรรมชาติ โดยเฉพาะในช่วงฤดู มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกระแสคลื่นลมแรง เม่ือกระทบชายฝั่งจะชะตะกอนทรายออกไปท�ำให้ เกิดภาวะขาดความสมดุลของตะกอนทรายชายหาด ผนวกกบั สภาวะโลกรอ้ นระดบั นำ�้ ทะเลสงู ขนึ้ สง่ ผลให้ ชายฝงั่ ทะเลประสบปญั หากดั เซาะชายฝง่ั 3.2) การพัฒนาพ้ืนที่ ชายฝง่ั ทะเลบ้านเราะ ต�ำบลท่าขึ้น อ�ำเภอท่าศาลา ชายฝั่งและพ้ืนท่ีริมทะเล การพัฒนาพ้ืนท่ีชายฝั่ง ทะเลในรูปแบบ ต่าง ๆ ได้แก่ การตั้งถ่ินฐานและ สิ่งก่อสร้าง การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ การสูบน�้ำทะเล มาใช้เพื่อการเพาะเลย้ี ง การวางทอ่ ระบายน�ำ้ ท้งิ และ การเปลี่ยนแปลงทางไหลของน้�ำ และหรือร่องน�้ำ การก่อสร้างรุกล�้ำล�ำน้�ำ เช่น การก่อสร้างสะพาน ก า ร ส ร ้ า ง ท ่ า เ ที ย บ เ รื อ แ ล ะ ถ น น เ ลี ย บ ช า ย ฝ ั ่ ง ล้วนกระตุ้นให้ชายฝั่งทะเลมีความเบาะบาง และเกิดการเปล่ียนแปลงได้ง่ายเม่ือเผชิญกับ ชายฝง่ั ทะเลบา้ นมะขามเทศ ต�ำบลบางพระ อ�ำเภอปากพนงั วิกฤติทางธรรมชาติ สภาพพน้ื ทท่ี ี่ถูกกดั เซาะชายฝ่ังจงั หวัดนครศรีธรรมราช 3.3) การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของภาครัฐ โดยเฉพาะในช่วงฤดูมรสุมตะวันออก เฉยี งเหนอื หลายพ้นื ท่ีประสบกบั ปญั หา ชายฝ่ังทะเลถูกกระแสคลืน่ ลมกัดเซาะ ไดม้ ีการแกไ้ ขปญั หาเพ่ือช่วยบรรเทา ความเดอื ดร้อนใหแ้ ก่ประชาชน ในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น กำ� แพงกนั คลน่ื หินทงิ้ และรอดักทราย เปน็ ตน้ โครงสร้าง ดังกล่าวไม่สามารถสลายพลังงานคลื่นได้กลับส่งผลกระทบให้ปัญหากัดเซาะชายฝั่งรุนแรงและขยายตัวเป็นวงกว้าง มากขนึ้ ถอื วา่ เปน็ การแกไ้ ขปัญหาทผี่ ิดพลาด หลักสูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 143
4. ทรัพยากรแร่ 4.1 ทรพั ยากรแร่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช นครศรธี รรมราชมีทรพั ยากรแรท่ ี่สำ� คัญทางเศรษฐกจิ หลายชนดิ ไดแ้ ก่ หินปนู โดโลไมต์ ยปิ ซัม ถา่ นหิน ดีบกุ ทงั สเตน พลวง แบไรต์ ดนิ ขาว บอลเคลย์ เฟลด์สปาร์ และทรายแกว้ มเี นอื้ ทรี่ วมกันประมาณ 499 ตารางกิโลเมตร คดิ เปน็ ร้อยละ 5 ของเนื้อที่จงั หวดั ทรัพยากรแร่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ ชอ่ื แร่ อ�ำเภอทพี่ บ 1 ดีบกุ สิชล ร่อนพบิ ลู ย์ นบพติ �ำ พรหมคีรี ลานสกา นาบอน พิปูน 2 โคโลไมต์ ขนอม สชิ ล นบพติ �ำ ทุ่งใหญ่ จฬุ าภรณ์ ชะอวด 3 ถ่านหนิ ท่งุ ใหญ่ 4 บอลเคลย์ ทงุ่ ใหญ่ ลานสกา ร่อนพิบลู ย์ ฉวาง 5 แบไรต์ ทา่ ศาลา นบพติ �ำ 6 พลวง ถ�้ำพรรณรา ชะอวด 7 เฟลค์สปาร์ ทา่ ศาลา นบพิต�ำ 8 ยิปซัม ฉวาง ถ�้ำพรรณรา ทุ่งใหญ่ 9 ทรายเพอื่ การกอ่ สร้าง ทา่ ศาลา สชิ ล ฉวาง ทุง่ ใหญ่ 10 ดินขาว ทงุ่ ใหญ่ ลานสกา รอ่ นพบิ ยู ์ ฉวาง 11 ทรายแก้ว สชิ ล 12 หนิ ปนู เพอ่ื อุตสาหกรรมซิเมนต์ ขนอม สิชล นบพติ ำ� ถ้ำ� พรรณรา ทงุ่ ใหญ่ บางขัน ทงุ่ สง รอ่ นพบิ ูลย์ 13 หินปนู เพื่ออตุ สาหกรรมกอ่ สร้าง ขนอม สชิ ล ทงุ่ สง รอ่ นพบิ ลู ย์ ลานสกา ถำ�้ พรรณรา จฬุ าภรณ์ พรหมครี ี 14 หนิ ปนู จ�ำแนกประเภทไม่ได้ ขนอม สิชล นบพติ ำ� ถ�ำ้ พรรณรา ทุง่ ใหญ่ บางขัน ทงุ่ สง ลานสกา จุฬาภรณ์ ชะอวด 15 หนิ ปูนเพ่อื อตุ สาหกรรมเคมี ทุ่งใหญ่ 16 หนิ ปูนเพอ่ื อตุ สาหกรรมอ่ืน ขนอม สชิ ล พรหมคีรี ลานสกา ร่อนพิบลู ย์ ทุ่งสง 144 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
แผนที่ทรพั ยากรแร่จงั หวัดนครศรธี รรมราช หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 145
4.2 การใชป้ ระโยนจ์ ากทรพั ยากรแรใ่ นจงั หวดั นครศรธี รรมราช ทรพั ยากรแรใ่ นจงั หวดั นครศรธี รรมราชสามารถจำ� แนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนไ์ ด้4กลมุ่ คอื 4.2.1 กลุ่มแร่เพ่ือการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ ใช้เป็น วัตถดุ บิ สำ� หรบั งานก่อสร้างสาธารณปู โภคพ้ืนฐานต่าง ๆ เช่น ถนน เข่ือนชลประทาน ฝายกั้นน�้ำ เปน็ ตน้ แรใ่ นกลุม่ น้ี ได้แก่ หนิ ปนู ยปิ ซัม และทรายก่อสร้าง ยิปซมั หินปูน 4.2.2 กลุ่มแร่เพ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ใช้เป็นวัตถุดิบข้ันพื้นฐานของ กระบวนการผลิตต่าง ๆ ส�ำหรับอตุ สาหกรรมต่อเนือ่ งหลายสาขา เช่น อตุ สาหกรรมอาหาร ยา อุตสาหกรรมกระดาษ อตุ สาหกรรมสี พลาสติก อตุ สาหกรรมหล่อโลหะ อตุ สาหกรรมเซรามกิ และแกว้ แร่ในกล่มุ น้ี ไดแ้ ก่ ดบี กุ ทงั สเตน พลวง แบไรต์ ดนิ ขาว บอลเคลย์ เฟลดส์ ปาร์ และทรายแก้ว ดบี กุ แบไรต์ 146 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศึกษา
4.2.3 กลุ่มแร่เพ่ือการเกษตร ใช้เป็นวัตถุดิบส�ำหรับผลิตปุ๋ย ปรับปรุงคุณภาพดิน แร่กลมุ่ นีค้ อื โดโลไมต์ 4.2.4 กลุ่มแร่พลังงาน ใช้เป็น เช้ือเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าและเป็นวัตถุดิบ เชอื้ เพลงิ ในอตุ สาหกรรมทใี่ ชพ้ ลงั งานความรอ้ นไมส่ งู นกั แรก่ ลุ่มน้ี คือ ถา่ นหิน 4.3 สถานการณ์ด้านทรัพยากรแร่ ในจงั หวัดนครศรธี รรมราช 4.3.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณ โดโลไมต์ ท่ีท�ำเหมืองแร่ อาจท�ำให้คุณภาพน�้ำในแหล่งน้�ำ ใกล้เคียง เส่อื มโทรม เพราะเกิดจากการชะลา้ งท่เี กิด จากการท�ำเหมืองแร่ลงสู่แหล่งน้�ำ เช่น แหล่งน�้ำ มีสารหนูเงิน สังกะสี ทองแดง ตะก่ัวปนเปื้อน อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ ผนู้ ำ� นำ้� ไปใชเ้ พอื่ บรโิ ภคและอปุ โภค 4.3.2 การเปิดหน้าเหมืองแร่ เป็นการพลิกหน้าดิน ท�ำให้ผิวดินบริเวณน้ันขาด ความอุดมสมบูรณ์ สกปรก พื้นที่ขรุขระ มีหลุมบ่อ มากมาย จงึ ถกู ปลอ่ ยทิ้งใชป้ ระโยชน์ไมเ่ ต็มที่ 4.3.3 ปัญหาการใช้แร่ธาตุ ถา่ นหิน บางประเภทเป็นจ�ำนวนมาก หรือการใช้แร่ไม่คุม้ คา่ ไมป่ ระหยดั อาจทำ� ใหข้ าดแคลนตลอดไป 4.3.4 การท�ำเหมืองในพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม ย่ิงท�ำให้เกิดความเสี่ยงจากดินโคลนถล่มหนัก มากยง่ิ ข้นึ เพราะการท�ำเหมืองแรม่ ีการทำ� ลายป่า และเปดิ หนา้ ดนิ มีการระเบดิ หนิ เพอ่ื เอาแร่ ซึ่งทำ� ลายความมนั่ คง ของธรณี เหมืองแรใ่ นจังหวัดนครศรีธรรมราช หลักสูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 147
5. ทรพั ยากรดิน 5.1 ทรัพยากรดินในจงั หวัดนครศรธี รรมราช นครศรีธรรมราชมีเน้ือท่ีประมาณ 6.21 ล้านไร่ ดินมีลักษณะหลากหลายแตกต่างกันไปตาม เขตพ้ืนท่ี โดยมกี ลุ่มชุดดินท่สี �ำคญั ดังนี้ 148 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา
5.1.1 กลมุ่ ดนิ เหนียวลกึ มากที่เกิดจากตะกอนนำ�้ กร่อย ลกั ษณะเดน่ กลมุ่ ดนิ เหนยี วลกึ มากทเ่ี กดิ จากตะกอนนำ้� กรอ่ ย อาจพบชนั้ ดนิ เลนของตะกอนนำ�้ ทะเลที่ ไม่มศี ักยภาพ กอ่ ใหเ้ กิดเปน็ ดินกรดกำ� มะถนั ภายในความลกึ 150 ซม. จากผวิ ดิน ปฏกิ ริ ยิ าดินเป็นกลางถงึ เปน็ ดา่ ง การระบายน�้ำเลว ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสงู สมบตั ขิ องดนิ เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากตะกอนผสมของตะกอนล�ำน้�ำและตะกอนน�้ำทะเล แล้วพัฒนา ในสภาพน�้ำกรอ่ ย พบในบริเวณที่ราบลุ่มหรือทีร่ าบเรยี บ บรเิ วณชายฝง่ั ทะเลหรือหา่ งจากทะเลไมม่ ากนัก มนี ้ำ� แช่ขัง ในช่วงฤดูฝน เปน็ ดนิ ลึกท่มี กี ารระบายน�้ำได้นอ้ ย มีเน้ือดินเป็นดินเหนียวหรอื ดินเหนยี วจัด หน้าดนิ อาจแตกระแหง เปน็ รอ่ งลกึ ในฤดแู ลง้ และมรี อยถไู ถลในดนิ ดนิ บนมสี ดี ำ� สว่ นดนิ ลา่ งมสี เี ทาหรอื นำ�้ ตาลออ่ น ทค่ี วามลกึ ประมาณ 1.0 - 1.5 เมตร จะพบชนั้ ตะกอนทะเลสีเขียวมะกอกและพบเปลือกหอยปน ปฏกิ ิริยาดนิ เปน็ กรดจดั ถึงด่าง ปานกลาง การใช้ประโยชน์ ใช้ท�ำนา หรือยกรอ่ งปลกู พชื ผักและผลไม้ ปัญหา โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้งแข็งและแตกระแหง ท�ำให้ไถพรวนยาก บางพื้นที่อาจพบ ชั้นดินเลน ทีม่ ีเกลอื สะสมอย่ใู นดนิ ลา่ ง และนำ�้ ท่วมขังในฤดูฝน ทำ� ความเสยี หายกับพืชที่ไมช่ อบน้ำ� 5.1.2 กลมุ่ ดนิ เปรย้ี วจดั ต้นื ท่เี กิดจากตะกอนน�้ำทะเล ลกั ษณะเด่น กลมุ่ ดนิ เปรย้ี วจดั ตนื้ ทเ่ี กดิ จากตะกอนนำ�้ ทะเลปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดรนุ แรงมากการระบายนำ�้ ได้นอ้ ย ความอดุ มสมบูรณ์ตำ�่ สมบัตขิ องดิน เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากตะกอนผสมของตะกอนล�ำน�้ำและตะกอนน้�ำทะเล แล้วพัฒนา ในสภาพน้�ำกร่อย พบในบริเวณท่ีราบลุ่มที่ห่างจากทะเลไม่มากนัก มีน�้ำแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นดินลึกที่มีการ ระบายน้�ำเลวหรือค่อนข้างเลว หน้าดินอาจแตกระแหงเปน็ รอ่ งลึกในช่วงฤดแู ล้ง เน้อื ดนิ เป็นพวกดนิ เหนยี ว ดินบน มีสีด�ำ หรือสีเทาแก่ ดินล่างมีสีเทามีจุดประสีน�้ำตาลปนเหลือง สีแดง ปะปนตลอดช้ันดิน และพบจุดประสีเหลือง ฟางขา้ วของสารจาโรไซต์ภายในระดับความลึกตืน้ กว่า 50 ซม. และเปน็ กรดรุนแรงมากถงึ เปน็ กรดจดั มาก การใชป้ ระโยชน์ ใชท้ ำ� นา หากไมม่ กี ารใชป้ นู เพอ่ื แกไ้ ขความเปน็ กรดของดนิ ขา้ วทปี่ ลกู มกั ไมค่ อ่ ยไดผ้ ลผลติ ปัญหา ดินเป็นกรดรุนแรงมากหรือเป็นดินเปรี้ยวจัดต้ืน ภายในความลึก 50 ซม.จากผิวดิน เกิดการตรึง ของธาตุอาหารและมีสารที่เป็นพิษต่อพืชที่ปลูกมีโครงสร้างดินแน่นทึบ ดินแห้งแข็งและแตกระแหง ทำ� ใหไ้ ถพรวนยาก คณุ ภาพน้�ำเป็นกรดรุนแรงมาก ขาดแคลนแหล่งนำ้� จดื และน้�ำท่วมขังในฤดฝู น ทำ� ความเสยี หาย กับพชื ทไ่ี มช่ อบน�ำ้ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 149
5.1.3 กลมุ่ ดนิ ทรายหนาปานกลางท่เี กดิ จากตะกอนล�ำน�ำ้ ลักษณะเด่น กลุ่มดินทรายหนาปานกลางที่เกิดจากตะกอนล�ำน�้ำ หรือตะกอนเนื้อหยาบทับอยู่บน ชน้ั ดนิ ทม่ี เี นอ้ื ดนิ เปน็ ดนิ รว่ นปนดนิ เหนยี วหรอื ดนิ รว่ นเหนยี วปนทรายแปง้ ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดเลก็ นอ้ ยถงึ เปน็ กลาง การระบายนำ้� ดอี ยบู่ นชนั้ ดนิ ที่มีการระบายน�้ำดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ� สมบัตขิ องดนิ เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล้ว ถกู เคลอื่ นยา้ ยมาทบั ถมของพวกวสั ดเุ นอื้ หยาบ หรอื จากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนลำ� นำ้� หรอื วตั ถนุ ำ�้ พาจากบรเิ วณ ที่สูง วางทับอยู่บนช้ันดินร่วนหยาบหรือร่วนละเอียด พบในบริเวณพื้นที่ดอน ท่ีมีสภาพพ้ืนที่ค่อนข้างราบเรียบถึง ลกู คลืน่ ลอดลาด เป็นดินลึก มกี ารระบายน้�ำดถี ึงดีปานกลาง เนอ้ื ดนิ ช่วง 50 - 100 ซม. เป็นดนิ ทรายหรือดินทราย ปนดนิ รว่ น ส่วนชั้นดนิ ถัดลงไปเป็นดนิ รว่ นปนทรายและดินรว่ นเหนยี วปนทราย สดี ินเปน็ สนี �ำ้ ตาลออ่ น หรือสเี หลือง ปนสีน้�ำตาล พบจุดประสีต่าง ๆ ในดินชั้นล่างดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต�่ำ ชั้นดินบน มีปฏิกิริยาดิน เป็นกรดจัดถงึ เปน็ กรดเลก็ น้อย ส่วนในดินลา่ งปฏิกริ ิยาดินเปน็ กรดเล็กนอ้ ยถึงเปน็ ดา่ งปานกลาง การใช้ประโยชน์ ใชป้ ลกู พืชไร่ตา่ ง ๆ เชน่ ปอแกว้ มันส�ำปะหลัง อ้อย ปอ ข้าวโพด ฝา้ ย ถั่ว ยาสบู บางแหง่ เปน็ ป่าเตง็ รัง ปัญหา ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต�่ำมาก เนื้อดินบนเป็นทรายจัด พืชที่ปลูกมีโอกาสเสี่ยงต่อ การขาดแคลนน�้ำได้ง่าย แต่ถ้ามีฝนตกมากดินช้ันบนจะแฉะและอาจเป็นอันตรายต่อพืชท่ีปลูกบางชนิด บริเวณที่มี ความลาดชนั สงู จะเกิดการชะลา้ งพังทลายได้ง่าย 5.1.4 กลมุ่ ดนิ ต้ืนถึงลูกรัง ลักษณะเดน่ กลุ่มดินตืน้ ถึงลูกรงั เศษหินหรือกอ้ นหิน ปฏิกริ ยิ าดินเปน็ กรดจดั การระบายน�ำ้ ของดนิ ดี ถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ สมบตั ขิ องดนิ เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทพี่ บในเขตฝนตกชกุ เชน่ ภาคใต้ ภาคตะวนั ออก เกดิ จากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนล�ำน้�ำหรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับท่ีหรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคล่ือนย้ายมาทับถม ของวัสดุ เนอื้ ละเอยี ดท่มี าจากพวกหนิ ตะกอน พบบริเวณพื้นทด่ี อน ที่มีสภาพพน้ื ทีเ่ ปน็ ลกู คลื่น จนถึงเนนิ เขา เป็นกลมุ่ ดนิ รว่ น หรอื ดินเหนียวที่มีลกู รงั เศษหิน หรอื กอ้ นกรวดปะปนมาก ภายในความลกึ 50 ซม. มีการระบายน�้ำดี กรวดส่วนใหญ่ เป็นพวกหินกลมมน หรอื เศษหินทมี่ เี หลก็ เคลอื บ สีดินเป็นสีนำ้� ตาลออ่ น สเี หลืองหรือสแี ดง ปฏิกิรยิ าดินเปน็ กรดจดั มากถงึ กรดปานกลาง การใช้ประโยชน์ ใช้ปลกู ยางพารา มะพรา้ วหรอื ไม้ผลบางชนดิ บางแหง่ เปน็ ทรี่ กร้างว่างเปลา่ หรือทุ่งหญ้า ธรรมชาติ 150 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา
ปญั หา เปน็ ดนิ ตนื้ ถงึ ชน้ั ลกู รงั เศษหนิ หรอื กอ้ นกรวดภายในความลกึ 50 ซม. จากผวิ ดนิ บางพน้ื ท่ี พบลูกรัง เศษหิน หรือก้อนกรวดกระจัดกระจายทั่วไปอยู่บริเวณผิวหน้าดิน มีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ บริเวณที่มี ความลาดชนั สงู จะมปี ญั หาเก่ียวกับการชะล้างพงั ทลายของหน้าดินได้งา่ ย 5.1.5 กลุ่มดินเหนียวลึกมากทเี่ กิดจากตะกอนล�ำน้�ำ ลกั ษณะเด่น กลมุ่ ดนิ เหนียวลกึ มากท่ีเกดิ จากตะกอนล�ำน�ำ้ ปฏิกริ ยิ าดนิ เปน็ กรดจัดมากถงึ เปน็ กรดจดั การระบายน�้ำเลวถึงค่อนข้างเลว ความอุดมสมบรู ณ์ตำ่� สมบตั ิของดิน เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทเ่ี กดิ จากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนลำ� นำ้� พบในบรเิ วณทร่ี าบตะกอนนำ�้ พา มีสภาพพื้นท่ีเป็นท่ีราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน�้ำแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นดินลึกท่ีมีการระบายน�้ำเลวหรือ คอ่ นขา้ งเลว เนอ้ื ดนิ เปน็ พวกดนิ เหนยี ว มเี นอ้ื ดนิ บนเปน็ ดนิ รว่ นเหนยี วหรอื ดนิ เหนยี ว สเี ทาแก่ ดนิ ลา่ ง เปน็ ดนิ เหนยี ว สีน้ำ� ตาลออ่ น หรอื สีเทามีจุดประสีน�้ำตาล สีเหลอื ง หรือสีแดงตลอดชนั้ ดิน บางแห่งมีศลิ าแลงออ่ นหรือกอ้ นสารเคมี สะสมพวกเหล็กแมงกานสี ปะปนอยู่ดว้ ยปฏกิ ริ ิยาดนิ เปน็ กรดจัดมากถึงกรดจดั การใช้ประโยชน์ ใช้ท�ำนา ในชว่ งฤดูแล้ง บริเวณทีม่ แี หลง่ น้�ำ ใชป้ ลกู พชื ไร่ พชื ผกั หรอื ยาสบู ปัญหา ความอุดมสมบูรณ์ต�่ำบางพ้ืนที่ดินเป็นกรดจัดมาก ขาดแคลนน�้ำและน�้ำท่วมขังในฤดูฝน ทำ� ความเสียหายกับพืชที่ไมช่ อบนำ�้ 5.1.6 กลุ่มดินต้นื ถงึ ชน้ั หินพื้น ลกั ษณะเดน่ กลุ่มดินต้ืนถึงชั้นหินพ้ืน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดถึงเป็นกลาง มีการระบายน�้ำดี ความอุดม สมบรู ณต์ ำ่� สมบตั ขิ องดนิ เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทเี่ กดิ จากการสลายตวั ผพุ งั อยกู่ บั ทห่ี รอื จากการสลายตวั ผพุ งั แลว้ ถกู เคลอื่ น ยา้ ยมา ในระยะทางไมไ่ กลนกั ของวสั ดเุ นอ้ื ละเอยี ดทม่ี าจากทงั้ หนิ ตะกอน หรอื หนิ อคั นี พบบรเิ วณพน้ื ทด่ี อน ทมี่ สี ภาพ พนื้ ที่เปน็ ลูกคลนื่ ลอนลาดจนถงึ เนนิ เขา เปน็ ดนิ ตื้น มกี ารระบายนำ้� ดี เนื้อดินเปน็ พวกดินเหนียวหรือดนิ รว่ นทีม่ ีเศษ หินปะปนมาก มักพบช้ันหนิ พื้นต้ืนกว่า 50 ซม. สีดนิ เปน็ สีน้ำ� ตาล สเี หลอื งหรอื สีแดง ดนิ มีปฏิกิริยาดิน เปน็ กรดจัด ถงึ เป็นกลาง การใช้ประโยชน์ เปน็ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ เตง็ รงั หรอื ปา่ ละเมาะ บางแหง่ ใชท้ ำ� ไรเ่ ลอื่ นลอย หรอื ปลกู ปา่ ทดแทน ปญั หา เป็นดนิ ต้ืน มเี ศษหนิ ปะปนอยูใ่ นเนือ้ ดนิ เป็นปรมิ าณมาก ความอุดมสมบรู ณ์ตำ�่ ในบรเิ วณ ที่มีความลาดชันสูงจะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดินอย่างรุนแรง บางพ้ืนท่ีมีเศษหินหรือหินพ้ืนที่ โผล่บริเวณหน้าดิน หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 151
5.1.7 กลมุ่ ดนิ รว่ นละเอยี ดลกึ ถงึ ลกึ มากเกดิ จากตะกอนลำ� นำ�้ หรอื วตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ เนอื้ หยาบ ลกั ษณะเดน่ กลุ่มดนิ รว่ นละเอยี ดลึกถงึ ลกึ มากทเี่ กิดจากตะกอนลำ� น้�ำหรอื วตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดินเนอื้ หยาบ ปฏกิ ิริยาดินกลางหรือเป็นด่างการระบายน�้ำดีถงึ ดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ตำ�่ ถงึ ปานกลาง สมบัตขิ องดิน เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทเี่ กดิ จากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนลำ� นำ�้ หรอื การสลายตวั ผพุ งั อยกู่ บั ท่ี หรอื การสลายตวั ผพุ งั แลว้ ถกู เคลอื่ นยา้ ยมาทบั ถมของวสั ดเุ นอื้ หยาบ พบบรเิ วณพน้ื ทดี่ อนทมี่ สี ภาพพนื้ ที่ เปน็ ลกู คลนื่ ลอนลาดจนถึงเนินเขา เป็นดินลึก มีการระบายน้�ำดีถึงดีปานกลางมีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ท่ีมีเน้ือดินบน เปน็ ดนิ รว่ นปนทราย หรอื ดนิ ร่วน สว่ นดินลา่ งเป็นดนิ ร่วนเหนียวปนทรายหรือดินร่วนเหนยี ว ดนิ มีสนี ำ�้ ตาล สีเหลือง หรือสแี ดง และอาจพบจุดประสตี า่ ง ๆ ในชั้นดนิ ล่าง ดินมคี วามอดุ มสมบรู ณ์ตามธรรมชาติค่อนข้างต่�ำถึงปานกลาง ดินช้ันบนส่วนใหญ่จะมีปฏิกิริยาเป็นกรดจัดถึงเป็นกลางส่วนดินล่างจะมีปฏิกิริยาดิน เป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่าง ปานกลาง การใช้ประโยชน์ ใช้ปลกู พืชไร่ต่าง ๆ เชน่ ออ้ ย ขา้ วโพด ถ่ัว สับปะรด และไม้ผลบางชนิด ปญั หา การมเี นอื้ ดนิ คอ่ นขา้ งเปน็ ทราย ซงึ่ ทำ� ใหด้ นิ อมุ้ นำ�้ ไดน้ อ้ ย พชื อาจขาดแคลนนำ้� ไดใ้ นชว่ งฝน ท้ิงชว่ งเปน็ ระยะเวลานาน ๆ ส�ำหรบั บริเวณท่มี ีความลาดชันสงู อาจมปี ัญหาเรอื่ งการชะล้าง พังทลายเกิดขนึ้ 5.1.8 กลุ่มดนิ เหนยี วลึกมากท่ีเกดิ จากตะกอนลำ� นำ�้ ลกั ษณะเดน่ กลุ่มดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนล�ำน้�ำ ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรือเป็นด่าง การระบายนำ้� เลว ความอุดมสมบรู ณ์ตำ�่ ถึงปานกลาง สมบตั ิของดนิ เป็นกลุ่มชุดดินท่ีเกิดจากวัตถุต้นก�ำเนิดดินพวกตะกอนล�ำน้�ำ พบในบริเวณที่ราบตะกอน นำ�้ พา มสี ภาพพนื้ ท่เี ป็นทีร่ าบเรยี บมีน�ำ้ แช่ขงั ในช่วงฤดูฝน เปน็ ดินลึกที่มีการระบายน้ำ� เลวหรอื ค่อนข้างเลว มเี นื้อดิน เปน็ พวกดนิ เหนยี วเนอื้ ดนิ บนเปน็ ดนิ รว่ นเหนยี วหรอื ดนิ เหนยี ว สเี ทาแก่ ดนิ ลา่ งเปน็ ดนิ เหนยี วสนี ำ้� ตาลออ่ น หรอื สเี ทา มีจดุ ประสีน้�ำตาล สเี หลืองหรือสีแดงตลอดชนั้ ดิน มกั พบกอ้ นสารเคมสี ะสมพวกเหล็กและแมงกานสี ปะปนอยู่ และ ในชนั้ ดนิ ลา่ งลกึ ๆ อาจพบกอ้ นปนู ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดจดั ถงึ เปน็ กรดเลก็ นอ้ ย แตถ่ า้ ดนิ มกี อ้ นปนู ปะปนจะมปี ฏกิ ริ ยิ า เปน็ กลางหรือด่างปานกลาง การใช้ประโยชน์ ใชท้ �ำนาในบริเวณท่มี แี หล่งน้ำ� ใช้ปลกู พืชไร่ พชื ผัก และยาสบู ในชว่ งฤดูแลง้ ข้าวทปี่ ลกู โดยมากใหผ้ ลผลติ ค่อนข้างสงู ปัญหา บางพ้ืนท่ีขาดแคลนน้�ำมีความอุดมสมบูรณ์ต�่ำและน�้ำท่วมขังในฤดูฝน ท�ำความเสียหาย กบั พืชทไี่ มช่ อบนำ�้ 152 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
5.1.9 กลมุ่ ดนิ เลนเค็มชายทะเล ลกั ษณะเด่น กลมุ่ ดนิ เลนเคม็ ชายทะเล มศี กั ยภาพกอ่ ใหเ้ กดิ เปน็ ดนิ กรดกำ� มะถนั ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กลาง ถึงเป็นด่าง การระบายน�้ำเลวมาก ความอดุ มสมบูรณป์ านกลางถึงสูง สมบัติของดิน เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทเี่ กดิ จากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนนำ�้ ทะเล พบในบรเิ วณทรี่ าบนำ�้ ทะเล ทว่ มถงึ และบรเิ วณชะวากทะเล เปน็ ดนิ ลกึ ทม่ี กี ารระบายนำ้� เลวมาก เปน็ ดนิ เลนเละ มเี นอ้ื ดนิ เปน็ พวกดนิ เหนยี วหรอื ดนิ รว่ นเหนยี วปนทรายแปง้ ดนิ บนมสี ดี ำ� ปนเทา มจี ดุ ประสนี ำ้� ตาลเลก็ นอ้ ย สว่ นดนิ ลา่ งเปน็ ดนิ เลนสเี ทาแกห่ รอื สเี ทา ปนเขยี ว และพบเศษรากพชื ปะปนในดนิ เปน็ จำ� นวนมาก เปน็ ดนิ ทมี่ สี ารประกอบกำ� มะถนั มาก ตามปกตเิ มอ่ื ดนิ เปยี ก คา่ ปฏกิ ริ ยิ าดนิ จะเปน็ กรดปานกลางถงึ เปน็ ดา่ งปานกลาง แตเ่ มอ่ื มกี ารระบายนำ้� ออกไปหรอื ทำ� ใหดนิ แหง้ สารประกอบ ก�ำมะถันจะแปรสภาพปลดปล่อยกรดก�ำมะถันออกมาท�ำให้ดินเป็นกรดจัดมาก ค่าปฏิกิริยาดินจะลดลงจนเป็นกรด รนุ แรงมาก กลุ่มชุดดนิ น้จี ดั เป็นดนิ เคม็ ที่มกี รดแฝงอยู่ การใช้ประโยชน์ พชื พรรณตามธรรมชาตเิ ดมิ เปน็ ปา่ ชายเลนขนึ้ ปกคลมุ แตใ่ นปจั จบุ นั มพี นื้ ที่ เปน็ จำ� นวนมาก ท่ดี ดั แปลงมาใช้ทำ� นาก้งุ เลย้ี งปลาหรือทำ� นาเกลือ การทำ� นากุ้งหรือเลีย้ งปลา ถ้าไม่มกี ารจดั การท่ีเหมาะสม ผลผลิต มักลดลงอยา่ งรวดเรว็ เนอ่ื งจากการเกดิ กรดและการเกดิ สารพษิ บางอย่าง เป็นต้น ปัญหา ดินเลนเค็มที่มีน้�ำทะเลท่วมถึงเป็นประจ�ำวัน มีศักยภาพก่อให้เกิดดินกรดก�ำมะถัน เกิดก๊าซพิษไข่เน่า และก๊าชมีเทนซ่ึงเป็นอันตรายต่อพืช มีความสามารถในการทรงตัวของต้นพืชต่�ำมาก ท�ำให้พืช ล้มง่าย เมือ่ ดินแหง้ จะแปรสภาพเป็นดนิ กรดก�ำมะถันและเคม็ และมีน�้ำทะเลทว่ มเป็นประจ�ำทกุ วนั 5.1.10 กลุ่มดินเปร้ยี วจัดลึกปานกลางและมีชั้นดินเลน ลกั ษะเด่น กลุ่มดินเปร้ียวจัดลึกปานกลางและมีช้ันดินเลน ท่ีมีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินเปร้ียวจัด หรือดินกรดก�ำมะถันภายในความลึก 150 ซม.จากผิวดิน ดินบนปฏิกิริยาเป็นกรดจัดมากและดินล่างมีปฏิกิริยาดิน เป็นกรดเล็กนอ้ ยถงึ เปน็ ดา่ ง การระบายน้ำ� เลวความอุดมสมบูรณต์ ำ�่ สมบัตขิ องดิน เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทเี่ กดิ จากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนผสมของตะกอนลำ� นำ้� และตะกอน น้�ำทะเล แล้วพัฒนาในสภาพน้�ำกร่อย พบในบริเวณท่ีลุ่มต�่ำชายฝั่งทะเล หรือบริเวณพ้ืนที่พรุ มีน�้ำแช่ขังนาน ในรอบปี เปน็ ดนิ ลกึ มกี ารระบายนำ�้ เลว มเี นอ้ื ดนิ เปน็ พวกดนิ เหนยี วหรอื ดนิ รว่ นละเอยี ด ดนิ บนมสี ดี ำ� หรอื สเี ทาปนดำ� ซง่ึ มปี รมิ าณอนิ ทรยี วตั ถสุ งู ดนิ ลา่ งมสี เี ทามจี ดุ ประสเี หลอื งและสนี ำ้� ตาลปะปนอยเู่ ลก็ นอ้ ย ดนิ ชว่ งลา่ งระหวา่ งความลกึ 50 - 100 ซม. มลี กั ษณะเปน็ ดินเลนสีเทาปนเขียวทีม่ สี ารประกอบก�ำมะถนั มาก ปฏกิ ิริยาดนิ เปน็ กรดรุนแรงมากถงึ เป็นกรดจัดมาก หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 153
การใช้ประโยชน์ ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นป่าเสม็ด มีวัชพืชต่าง ๆ เช่น กก กระจูด และหญา้ ชันกาศ เปน็ พืชพื้นล่างบางแหง่ ใช้ทำ� นา แต่ผลผลติ ตตำ่� ปญั หา ดินเป็นกรดจัดมากหรือเป็นดินเปร้ียวจัดปานกลาง ดินชั้นล่างเป็นดินเลนท่ีมีศักยภาพ ก่อเกิดเป็นดินกรดก�ำมะถันเกิดการตรึงของธาตุอาหารและมีสารท่ีเป็นพิษต่อพืชท่ีปลูก คุณภาพน�้ำเป็นกรดจัดมาก ขาดแคลนแหลง่ น�้ำจืดและน�้ำทว่ มขงั ในฤดฝู น ทำ� ความเสยี หายกบั พชื ทไ่ี มช่ อบนำ�้ 5.1.11 กลมุ่ ดนิ ตื้น ลักษณะเดน่ กลมุ่ ดนิ ตนื้ ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดจดั ถงึ เปน็ ดา่ งเลก็ นอ้ ย การระบายนำ�้ ยากถงึ คอ่ นขา้ งยาก ความอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� สมบตั ขิ องดนิ เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทเี่ กดิ จากวตั ถตุ น้ นกำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนนำ้� พา หรอื จากการสลาย ตัวผุพังอยู่กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล้ว ถูกเคลื่อนนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ วางทับอยู่บนชันหินผุ พบในบริเวณราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้�ำแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นดินตื้นที่มีการระบายน�้ำ ค่อนข้างยาก มีเนือ้ ดินบนเปน็ พวกดินร่วนปนทราย หรอื ดนิ รว่ น สว่ นดินชน้ั ลา่ งเปน็ ดินเหนียวหรือดนิ รว่ นปนดินเหนยี วทมี่ ีกรวด หรือลูกรังปะปนเป็นปริมาณมาก ภายในความลกึ 50 ซม. ดนิ มีสีน�้ำตาลออ่ นถงึ สเี ทา และพบจดุ ประพวกสนี �ำ้ ตาล สีเหลือง หรอื สแี ดงปะปนใต้ช้ันลกู รงั อาจพบชน้ั ดนิ เหนยี วทีม่ ีศลิ าเเลงออ่ นปะปน มีปฏกิ ิริยาดินเป็นกรดจดั มากถงึ กรดปานกลาง การใช้ประโยชน์ ใช้ท�ำนา บางแหง่ เปน็ ป่าละเมาะ หรือป่าเต็งรงั ปญั หา เปน็ ดนิ ตนื้ ถงึ กอ้ นกรวดหรอื ลกู รงั ภายในความลกึ 50 ซม.จากผวิ ดนิ มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� และมโี อกาสทจ่ี ะขาดนำ�้ ไดง้ า่ ยในชว่ งฤดเู พาะปลกู บางแหง่ มเี นอ้ื ทด่ี นิ บนคอ่ นขา้ งเปน็ ทราย บางพน้ื ทม่ี กี อ้ นหนิ หรอื ลกู รังท่ีหนา้ ดินมาก 5.1.12 กลมุ่ ดินรว่ น ลักษณะดิน กลมุ่ ดนิ รว่ นละเอยี ดลกึ ถงึ ลกึ มากทเี่ กดิ จากตะกอนลำ� นำ้� หรอื วตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ เนอื้ ทหี่ ยาบ ปฏิกิรยิ าดินเป็นกรดจัดการระบายน้�ำดถี งึ ดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ตำ่� สมบตั ขิ องดิน เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทพ่ี บในเขตฝนตกชกุ เชน่ ภาคใต้ ภาคตะวนั ออก เกดิ จากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนล�ำน�้ำหรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับท่ี หรือจากการสลายตัวผุพังแล้ว ถูกเคลื่อนย้ายมาทับถม ของวัสดุเน้ือหยาบท่ีมาจากพวกหินอัคนีหรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นท่ีดอนที่มีสภาพพื้นท่ีท่ีค่อนข้างราบเรียบถึง เป็นเนินเขา เป็นดินลึกมากมีการระบายน�้ำดีถึงดีปานกลาง มีเน้ือดินเป็นพวกดินร่วนละเอียดที่มีเน้ือดินบนเป็น ดนิ รว่ นปนทราย สว่ นดนิ ลา่ งเปน็ ดนิ รว่ นเหนยี วปนทราย สดี นิ เปน็ สนี ำ้� ตาล สเี หลอื งหรอื สแี ดง ดนิ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ ตามธรรมชาติต่�ำ ปฏกิ ิริยาดนิ เป็นกรดจดั มากถงึ กรดจัด 154 แหนลกัวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
การใช้ประโยชน์ ใช้ปลูกยางพารา มะพร้าว ไม้ผล และพืชไร่บางชนิด บางแห่งยังคงสภาพป่าธรรมชาติ ป่าละเมาะและไม้พ่มุ ปัญหา เน้ือดินค่อนข้างเป็นทรายและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต�่ำในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมีปัญหาเก่ยี วกบั ชะลา้ งพงั ทะลายของหนา้ ดิน 5.1.13 กลุ่มดินทรายหนาทเ่ี กดิ จากตะกอนล�ำนำ�้ หรอื ตะกอนเนอื้ หยาบ ลกั ษณะเดน่ กลุ่มดินทรายหนาที่เกิดจากตะกอนล�ำน�้ำหรือตะกอนเนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดินเป็นกรด เลก็ น้อยถงึ เปน็ กลาง การระบายนำ�้ คอ่ นข้างมาก ความอดุ มสมบูรณต์ ่ำ� สมบตั ขิ องดิน เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทเี่ กดิ จากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนลำ� นำ้� หรอื จากการสลายตวั ผพุ งั อยู่ กับท่ีของพวกวัสดุเนื้อหยาบพบบริเวณพ้ืนท่ีดอน มีสภาพพื้นท่ีเป็นลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเป็นเนินเขา เป็นดินลึก มกี ารระบายน้ำ� ดมี ากเกนิ ไป เนอื้ ดินเปน็ พวกดินทราย สีดนิ เปน็ สเี ทา หรือสีน้ำ� ตาลออ่ น และในดินล่างท่ีลึกมากกวา่ 150 ซม. อาจพบเนือ้ ดนิ เปน็ ดินรว่ นปนทรายหรือดนิ ร่วนเหนียวปนทราย บางบรเิ วณอาจพบจดุ ประสีตา่ ง ๆ ในดนิ ชนั้ ลา่ ง ดินมีความอดุ มสมบูรณ์ตามธรรมชาติต�่ำ ปฏกิ ริ ยิ าดินโดยมากจะเป็นกรดจดั ถึงเปน็ กลาง การใชป้ ระโยชน์ ใช้ปลูกลพืชไร่ หรือไม้ยืนต้นต่าง ๆ เช่น มันส�ำปะหลัง อ้อย สับปะรด ปอ มะพร้าว มะม่วงหมิ พานต์ บางแหง่ เป็นปา่ เต็งรังหรอื ทุง่ หญา้ ธรรมชาติ ปญั หา เน้ือดินเป็นทรายจัดและหนามาก พืชมีโอกาสขาดน้�ำได้ง่าย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ และโครงสร้างไมด่ ี บรเิ วณท่มี คี วามลาดชันสูงจะมปี ัญหาเก่ยี วกับการชะลา้ งพงั ทลายของหน้าดิน 5.1.14 กล่มุ ดินรว่ นลกึ ปานกลางถึงเศษหนิ ลกั ษณะเด่น กลุ่มดินร่วนลึกปานกลางถึงเศษหิน ก้อนหินหรือช้ันหินพื้น ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมาก การระบายน�ำ้ ดีความอดุ มสมบูรณต์ ำ่� สมบัติของดนิ เป็นกลุ่มชุดดินท่ีพบในเขตฝนตกชุก เช่น ภาคใต้ ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัว ผพุ งั อยกู่ บั ทหี่ รอื จากการสลายตวั ผพุ งั แลว้ ถกู เคลอ่ื นยา้ ยมาทบั ถมในระยะทางไมไ่ กลนกั ของวสั ดเุ นอื้ หยาบทม่ี าจาก พวกหินตะกอนหรือจากวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ พวกตะกอนล�ำนำ�้ พบบรเิ วณพ้นื ท่ีดอนมสี ภาพพื้นทเ่ี ป็นลูกคลื่นลอนลาด จนถงึ เนินเขาเป็นดนิ ลึกปานกลาง มกี ารระบายน�ำ้ ดี เนือ้ ดนิ ชว่ ง 50 ซม. ตอนบนเป็นดินรว่ นปนทรายหรอื ดนิ ร่วน เหนียวปนทรายในระดับความลึก ประมาณ 50 - 100 ซม. จะพบช้ันดินปนเศษหินหรือลูกรังปริมาณมาก สีดินเป็นสีน�้ำตาล สเี หลอื งหรอื สีแดง ปฏกิ ิรยิ าดินเปน็ กรดจดั มากถงึ กรดจดั หลักสูตแรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 155
การใช้ประโยชน์ สว่ นใหญใ่ ช้ปลูกยางพารา ไมผ้ ล สบั ปะรด กลว้ ยและแตงโม ปัญหา เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ อาจขาดแคลนน้�ำในระยะที่ฝนท้ิง ชว่ งนาน ในบริเวณท่ีมคี วามลาดชนั สูงจะมีปญั หาเรอ่ื งการชะลา้ งพังทลายของหนา้ ดิน 5.1.15 กลุม่ ดินเหนียวลกึ ปานกลางถงึ ช้ันหนิ พน้ื ลกั ษณะเดน่ กลุ่มดินเหนียวลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น ลูกรังหรือเศษหิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด การระบายนำ้� ดี ความอดุ มสมบูรณต์ ำ�่ สมบตั ิของดนิ เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทพี่ บในเขตฝนตกชกุ เชน่ ภาคใต้ ภาคตะวนั ออก เกดิ จากการสลายตวั ผพุ งั อยู่กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล้ว ถูกเคลื่อนย้ายยมาทับถมในระยะทางไม่ไกลนักของวัสดุเนื้อละเอียด ทม่ี าจากพวกหนิ ตะกอนหรอื หนิ แปร พบบรเิ วณพนื้ ทด่ี อน ทเ่ี ปน็ ลกู คลน่ื ลอนลาดถงึ เปน็ เนนิ เขา เปน็ ดนิ ลกึ ปานกลาง มีการระบายน้ำ� ดี เนื้อดินบนเป็นดนิ รว่ นหรอื ดนิ ร่วนปนดินเหนยี วทบั อยู่บนดนิ เหนียว สว่ นดนิ ลา่ ง ในระดบั ความลกึ ระหวา่ ง 50 - 100 ซม. เปน็ ดนิ เหนยี วปนลกู รงั หรอื ดนิ ปนเศษหนิ ผุ สดี นิ เปน็ สนี ำ�้ ตาลออ่ น สเี หลอื งหรอื สแี ดง ปฏกิ ริ ยิ า ดนิ เปน็ กรดจดั มากถงึ กรดจัด การใชป้ ระโยชน์ ใชป้ ลกู ลูกยางพารา ไมผ้ ล กาแฟ และพืชไรบ่ างชนดิ ปญั หา ดนิ ลกึ ปานกลางถงึ ชนั้ ลกู รงั กอ้ นกรวด เศษหนิ หรอื ชนั้ หนิ พน้ื ในชว่ งความลกึ 50 - 100 ซม. ดินมคี วามอดุ มสมบูรณ์ตำ�่ ในบริเวณพืน้ ทท่ี ี่มีความลาดชันสูง จะเกิดการชะล้างพงั ทลายของหน้าดนิ ไดง้ า่ ย 5.1.16 กลมุ่ ดินเหนยี วลกึ มากสดี �ำทม่ี ีรอยแตกระแหงกวา้ งและลกึ ลกั ษณะเดน่ กลุ่มดินเหนียวลึกมากสีด�ำที่มีรอยแตกระแหงกว้างและลึก ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึง เป็นด่าง การระบายน�้ำดถี งึ ดปี านกลางความอดุ มสมบรู ณป์ านกลางถึงสงู สมบตั ขิ องดิน เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากตะกอนล�ำน้�ำหรือเกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับท่ีหรือเกิดจาก การสลายตวั แลว้ ถกู เคลอื่ นยา้ ยมาทบั ถมของวตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ ทม่ี าจากหนิ ตน้ กำ� เนดิ พวกหนิ บะซอลต์ หรอื หนิ แอน ดีไซต์ พบบรเิ วณพ้นื ท่ีดอน ท่ีอย่ใู กลก้ บั เขาหินปนู หรอื หินภเู ขาไฟ มสี ภาพพ้ืนทรี่ าบเรยี บ หรอื คอ่ นขา้ งราบเรยี บเปน็ ดนิ ลกึ ท่มี กี ารระบายนำ้� ดปี านกลางถึงดี เนอ้ื ดินเป็นพวกดนิ เหนียวหรอื ดนิ เหนียวจัด หน้าดินแตกระแหงเป็นร่องลกึ ในฤดแู ล้ง และมีรอยถูไถลในดนิ สดี นิ เป็นสดี ำ� สีเทาเข้ม หรือสีน้�ำตาล อาจพบ จุดประสนี ำ�้ ตาลหรือสีแดงปนนำ้� ตาล ปริมาณเล็กน้อยในดินชั้นบน ส่วนช้ันดินล่างอาจพบชั้นปูนมาร์ล ปฏิกิริยาของดินส่วนใหญ่จะเป็นกลางถึงเป็นด่าง ปานกลาง 156 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
การใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่ใชป้ ลกู พชื ไรต่ า่ ง ๆ เชน่ ขา้ วโพด ขา้ วฟ่าง ถวั่ ต่าง ๆ ฝา้ ย และไมผ้ ลบางชนิด ปญั หา เนอ้ื ดนิ เหนยี วจดั การไถพรวนตอ้ งทำ� ในชว่ งทดี่ นิ มคี วามชน้ื พอเหมาะ มฉิ ะนน้ั จะทำ� ใหด้ นิ แนน่ ทึบ ในชว่ งฤดูแลง้ ดินมีการหดตวั ทำ� ให้ดินแตกระแหงเปน็ ร่องลึก สว่ นในฤดูฝนจะมีน้ำ� แชข่ งั ง่าย ท�ำให้พืชชะงัก การเจรญิ เตบิ โต 5.1.17 กลมุ่ ดินทม่ี วี ัสดุอนิ ทรียห์ นา ลักษณะเด่น กลมุ่ ดินที่มีวสั ดอุ ินทรยี ห์ นา 40-100 ซม. จากผวิ ดนิ ทบั อยบู่ นตะกอนน�ำ้ ทะเล ปฏิกิรยิ า ดนิ เป็นกรดจัดมาก การระบายนำ้� ยากมาก ความอุดมสมบูรณ์ต�ำ่ มีน้�ำท่วมขังนานเกอื บตลอดปี สมบัติของดนิ เปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ทพ่ี บบรเิ วณพน้ื ทลี่ มุ่ ตำ่� หรอื พนื้ ทพ่ี รุ มนี ำ้� แชข่ งั อยเู่ ปน็ เวลานานหรอื ตลอดปี การระบายนำ�้ ยากมาก มีเนื้อดินเป็นพวกดินอนิ ทรยี ์ทีส่ ลายตัวปานกลางหนา 40 - 100 ซม. บางแห่งเปน็ ชนั้ อนิ ทรีย์ วัตถุสลับกับพวกดินอนินทรีย์ สีดินเป็นสีด�ำหรือสีน�้ำตาลในชั้นดินอินทรีย์ ส่วนดินอนินทรีย์ที่เกิดเป็นสลับอยู่ มีสเี ปน็ สเี ทา ใต้อนิ ทรยี ์ลงไปเป็นดนิ เลนตะกอนน�้ำทะเล ทม่ี ักพบระหว่างความลกึ 50-100 ซม. มสี เี ทา หรือสเี ทา ปนเขียวและมีสารประกอบก�ำมะถัน (ไพไรต์) อยู่มาก มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่�ำ ปฏิกิริยาดินเป็นกรด จดั มาก การใช้ประโยชน์ ตามสภาพธรรมชาตพิ น้ื ทเ่ี หลา่ นี้ จะปกคลมุ ไปดว้ ยปา่ พรุ แตไ่ ดม้ กี ารหกั รา้ งถางพงเพอื่ นำ� มาใชป้ ลกู ขา้ ว แตไ่ มค่ อ่ ยไดผ้ ลเนอื่ งจากมปี ญั หามากในเรอ่ื งคณุ ภาพของดนิ ดงั นน้ั ในปจั จบุ นั จงึ ปลอ่ ยทง้ิ ใหว้ า่ งเปลา่ มหี ญ้าเสม็ด และไม้พุ่มเลก็ ๆ ขึน้ อยทู่ ั่ว ๆ ไป ปัญหา เป็นดินอินทรีย์ เนื้อดินเป็นเศษชิ้นส่วนของพืชสะสมหนาปานกลางและเป็นกรดจัดมาก มนี ำ้� ทว่ มขงั เกอื บตลอดทงั้ ปี เมอื่ แหง้ จะยบุ ตวั พชื ลม้ งา่ ย ตดิ ไฟงา่ ยและดบั ยาก และปฏกิ ริ ยิ าดนิ จะเปน็ กรดรนุ แรงมาก ท�ำให้ขาดธาตอุ าหารพชื อย่างรนุ แรง นอกจากนี้ยังเป็นพื้นท่ีท่ีมนี ้ำ� แชข่ ังอยู่ตลอดเวลา 5.1.18 พื้นทีล่ าดชนั เชิงซ้อน ลกั ษณะเด่น พ้ืนท่ีลาดชันเชิงซ้อน ที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นท่ีบริเวณนี้ยังไม่มี การศกึ ษา ส�ำรวจและจ�ำแนกดินเนอ่ื งจากสภาพพืน้ ท่ีมีความลาดชันสงู ซง่ึ ถือว่ายากตอ่ การจัดการดูแลรักษาสำ� หรบั การเกษตร สมบตั ขิ องดิน กลมุ่ ดนิ นปี้ ระกอบดว้ ยพนื้ ทภี่ เู ขาและเทอื กเขาซง่ึ มคี วามลาดชนั มากกวา่ รอ้ ยละ 35 ลกั ษณะ และสมบัติของดินท่ีพบไม่แน่นอนมีท้ังดินลึก และดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 157
แตกต่างกันไป แล้วแต่ชนิดของหิน ต้นก�ำเนิดในบริเวณน้ัน มักมีเศษหินก้อนหินหรือพ้ืนโผล่กระจัดกระจายทั่วไป ส่วนใหญย่ งั ปกคลุมดว้ ยปา่ ไมป้ ระเภทตา่ ง ๆ เชน่ ป่าเบญจพรรณ ป่าเตง็ รังหรือป่าดงดิบชน้ื หลายแหง่ มีการทำ� ไร่ เลื่อนลอยโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษ์ดินและน�้ำซึ่งเป็นผลท�ำให้เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน จนบางแห่งเหลือแตห่ นิ โผล่ การใช้ประโยชน์ กลุ่มดินน้ีไม่ควรน�ำมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เน่ืองจากมีปัญหาหลายประการ ท่ผี ลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศควรสงวนไว้ เป็นปา่ ตามธรรมชาตเิ พ่ือรักษาแหล่งตน้ น�้ำล�ำธาร ปัญหา มีความลาดชันสูงมาก ในพ้ืนท่ีท�ำการเกษตรจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดิน อยา่ งรุนแรงขาดแคลนน�ำ้ และบางพื้นท่ี อาจพบชัน้ หินพืน้ หรอื เศษหินกระจัดกระจายอย่บู ริเวณหน้าดนิ 5.2 การใชป้ ระโยชน์ทรัพยากรดนิ ในจงั หวดั นครศรีธรรมราช การใช้ประโยชน์ท่ีดินในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีความสอดคล้องกับลักษณะภูมิประเทศ คือ ตอนกลางของจังหวดั ซึ่งมเี ทือกเขาพาดผา่ น ลกั ษณะของการใช้พน้ื ท่จี งึ เปน็ เขตอุทยานแห่งชาตแิ ละปา่ สงวนตา่ ง ๆ สว่ นทรี่ ะดบั ความลาดชนั ตำ่� ลงมา การใชพ้ น้ื ทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ สวนผลไมแ้ ละยางพารา สลบั กบั พนื้ ทอ่ี ยอู่ าศยั ทม่ี ลี กั ษณะ แบบอยู่ร่วมกันในพื้นท่ีท�ำการเกษตร ตอนกลางของพื้นท่ีเป็นที่ต้ังของชุมชนที่เป็นชุมชนย่านธุรกิจของจังหวัด เช่น เขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช พืน้ ทน่ี าขา้ วซงึ่ ถอื ไดว้ ่าเปน็ พนื้ ทเี่ กษตรกรรมหลักภายในจังหวัด โดยมกี ารอยู่รว่ ม กบั พ้ืนท่ีกจิ กรรมการเกษตรอนื่ ๆ คือ ไรน่ าสวนผสม การปลูกพชื ไร่ ผกั ต่าง ๆ และที่ราบชายฝง่ั ทะเลทอดตัวขนาน กับอ่าวไทย ตั้งแต่อ�ำเภอสิชลจนถึงรอยต่อกับจังหวัดสงขลากับอ�ำเภอหัวไทร เป็นเขตของพื้นท่ีเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำ มที งั้ การเพาะเลยี้ งกงุ้ และปลา 158 แหนลกัวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
หลักสูตแรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 159
5.3 สถานการณท์ รัพยากรดินในจงั หวดั นครศรีธรรมราช 5.3.1 ปญั หาดนิ เปรย้ี วในเขตพนื้ ทป่ี า่ พรุ ตอนกลางของพนื้ ทล่ี มุ่ นำ�้ ปากพนงั มสี ภาพลมุ่ ตำ่� นำ้� ทว่ ม ขังตลอดปี คือ พรุควนเคร็ง และ พรุคลองฆ้อง ดินพรุมีสารประกอบไพไรท์ตกตะกอนอยู่ เมื่อระดับน�้ำลดลงจน ชั้นไพไรท์สัมผัสกับอากาศ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีท�ำให้ดินมีสภาพเป็นกรด และน�้ำเปร้ียว ส่งผลต่อระบบการผลิต ของเกษตรกร 5.3.2 ปัญหาดินเค็มและดินเปรี้ยวในพ้ืนที่นากุ้งร้าง ในเขตลุ่มน้�ำปากพนังในสภาพท่ีลุ่มนาร้าง และนากุ้งร้าง โครงสร้างดินแน่นทึบ การระบายน�้ำไม่ดี ดินเป็นดินเปรี้ยว และดินเค็มนากุ้งร้าง เป็นพ้ืนท่ีที่มี ความเคม็ ปรมิ าณธาตอุ าหารคอ่ นขา้ งตำ�่ และมอี นิ ทรยี ว์ ตั ถตุ ำ่� ลกั ษณะเนอื้ ดนิ คอ่ นขา้ งเหนยี วไมเ่ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู 5.3.3 ปัญหาดินถล่ม พื้นที่ท่ีเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อนตอนกลางของจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพื้นที่ท่ีมีความเส่ียงสูงต่อการเกิดดินถล่ม เพราะภูมิประเทศมีลักษณะลาดชันสูงถ้ามีฝนตกหนักต่อเน่ืองกัน หลายวนั กจ็ ะท�ำใหม้ โี อกาสเกดิ ดนิ ถล่มมากข้ึน พืน้ ทเ่ี สียงต่อการเกิดดนิ ถลม่ ปัญหาดินถล่ม ในจังหวดั นครศรธี รรมราช 160 แหนลกัวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา
หน่วยที่ 7 ประชากรกับการเมืองการปกครอง มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ดั มาตรฐาน ส 2.1 ตัวช้วี ัด ป.6/1 ปฏิบตั ติ ามกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ชวี ติ ประจ�ำวนั ของครอบครวั และชุมชน ม.3/1 อธบิ ายและปฏิบัติตนตามกฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และประเทศ มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจั จบุ ัน ยดึ มัน่ ศรทั ธาและธ�ำรงรกั ษาไว้ ซ่งึ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ตวั ชวี้ ัด ป.3/1 ระบุบทบาทหน้าท่ขี องสมาชกิ ของชุมชนในการมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย ป.5/1 อธิบายโครงสร้าง อ�ำนาจ หนา้ ท่แี ละความสำ� คญั ของการปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ป.5/2 ระบุบทบาทหนา้ ที่ และวธิ ีการเข้าดำ� รงตำ� แหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น ป.5/3 วเิ คราะหป์ ระโยชนท์ ชี่ ุมชน จะได้รับจากองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ป.6/1 อธิบายโครงสร้าง อ�ำนาจ หนา้ ทแี่ ละความสำ� คัญของการปกครองสว่ นท้องถิน่ ป.6/2 ระบบุ ทบาทหนา้ ที่ และวธิ ีการเขา้ ด�ำรงต�ำแหนง่ ของผู้บรหิ ารทอ้ งถน่ิ ป.6/3 วเิ คราะหป์ ระโยชนท์ ่ีชุมชน จะไดร้ ับจากองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น สาระสำ� คัญ ศึกษาประวัติบุคคลส�ำคัญ ๆ ลักษณะอุปนิสัยใจของคนจังหวัดนครศรีธรรมราช การเปล่ียนแปลงทาง ประชากรทุกระดับมักจะเก่ียวข้องกับการเปล่ียนแปลงทางการเมืองการปกครอง เพราะประชากรจะผูกพันกับ การเมอื งการปกครอง เมือ่ ประชากรมาอย่รู วมกันมากขึ้น ความต้องการปจั จยั พืน้ ฐานทั้งในเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ความปลอดภัยในชีวิตทรพั ยส์ นิ ตอ้ งการด้านปัจจัยตา่ ง ๆ ยอ่ มมีมากข้ึน การบรหิ ารจดั การ การเมืองการปกครอง ต้องตอบสนองความต้องการดา้ นต่าง ๆ ใหเ้ พยี งพอ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 161
สาระการเรียนรู้ 1. ความเปน็ มาของประชากรจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. อุปนิสัยของคนจงั หวดั นครศรีธรรมราช 3. บุคคลส�ำคญั จงั หวดั นครศรีธรรมราช 4. ประชากรจังหวัดนครศรธี รรมราช 4.1 ประชากร 1) จำ� นวนประชากร 2) เปรยี บเทียบประชากรระหวา่ งเพศ 3) อัตราการเพมิ่ ลดของประชากร 4) การเกิด – ตาย – การย้ายเข้า – การยา้ ยออกของประชากร 5) รายได้ของประชากร 6) การนบั ถือศาสนา 7) การประกอบอาชพี 4.2 การเมืองการปกครอง 4.2.1 การเมืองจงั หวัดนครศรธี รรมราช 1) การแบง่ เขตเลือกต้ัง 2) สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร 4.2.2 การปกครอง 1) การบรหิ ารราชการจงั หวดั นครศรธี รรมราช - โครงสรา้ ง อ�ำนาจและหนา้ ที่ 2) การบริหารงานองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด - โครงสร้าง และอำ� นาจหน้าที่ 3) การบรหิ ารงานในเทศบาล (เทศบาลนคร เทศบาลเมืองและเทศบาลต�ำบล) - โครงสรา้ ง อำ� นาจและหนา้ ท่ี - ประโยชนท์ ีป่ ระชาชนได้รับจากองค์การบรหิ ารปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (เทศบาลนคร เทศบาลเมอื งและเทศบาลต�ำบล) 4) การบรหิ ารงานภายในองค์การบรหิ ารส่วนต�ำบล (อบต.) - โครงสรา้ ง อ�ำนาจและหน้าที่ - ประโยชน์ที่ประชาชนได้รบั จากองคก์ ารบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) 162 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา
กิจกรรมการเรยี นการรู้ 1. ครูน�ำเข้าสู่บทเรียนด้วยการเล่าเรื่อง ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาจังหวัดนครศรีธรรมราช และ บคุ คลส�ำคัญ ๆ และสนทนากบั นกั เรียนถึงประวตั ิและบุคคลส�ำคญั ๆ ท่ีนักเรยี นรู้จัก และผลงานท่ปี รากฎตอ่ สังคม ชุมชน และทอ้ งถ่นิ 2. ครแู บ่งกล่มุ ใหน้ ักเรยี นสืบค้นข้อมูลบุคคลสำ� คัญ ๆ ภายในจงั หวดั จากห้องสมดุ และแหล่งเรียนร้อู ื่น ๆ เชน่ จากผปู้ กครอง หรอื ปยู่ า่ ตายาย 3. ใหน้ กั เรียนจดั ท�ำสมดุ เลม่ เลก็ หรอื บันทกึ ลงในสมุด เร่อื ง บคุ คลส�ำคญั ในจงั หวัด 4. ใหน้ กั เรยี น ศกึ ษา สนทนา อภปิ รายโครงสรา้ ง อำ� นาจหนา้ ท่ี และประโยชนท์ ชี่ มุ ชนไดร้ บั จากขององคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อบต. อบจ เทศบาล แล้วให้นกั เรียนท�ำเปน็ ผังความคิด 5. ใหน้ กั เรยี น คน้ ควา้ ศกึ ษา สอบถามจากผนู้ ำ� ชมุ ชน ผนู้ ำ� องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เกย่ี วกบั ผลประโยชน์ ทปี่ ระชาชนไดร้ บั จากองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ อบต. เทศบาล อบจ. 6. ใหน้ กั เรียนเปรยี บเทยี บหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ อบต. เทศบาล อบจ. กับ รัฐบาล 7. ครูแบ่งกลุ่มสนทนา อภิปราย บทบาทหน้าท่ีของตนเองเก่ียวกับการเลือกต้ังระดับท้องถิ่น จังหวัด และประเทศ การวดั ผลประเมินผล รายการ วธิ กี าร เครื่องมอื 1. สนทนา ศึกษาประวตั ิ และผลงานของ 1. น�ำการสนทนา 1. แบบสอบถาม บคุ คลสำ� คัญ ๆ ภายในจงั หวัด 2. การสอบถาม 2. แบบสงั เกตท�ำงาน นครศรธี รรมราช จากแหล่งเรยี นรูต้ า่ ง ๆ 3. การสังเกตการทำ� งาน 3. แบบตรวจช้ินงาน ผปู้ กครอง ปยู่ ่า ตายาย และใหบ้ ันทึก 4. การนำ� เสนอผลงาน (การศกึ ษา 4. แบบประเมินผลงาน ลงในสมุด / จัดทำ� สมุดเลม่ เล็ก คน้ ควา้ /รายงาน) 2. อภิปราย ศกึ ษา โครงสร้าง อ�ำนาจ 1. น�ำการสนทนา 1. แบบทดสอบ บทบาทหนา้ ที่ และประโยชน์ที่ชุมชน 2. การสอบถาม 2. แบบสอบถาม จะไดร้ บั จากองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ 3. การทดสอบ 3. แบบประเมนิ ผลงาน เทศบาล ต�ำบล อบต. และบนั ทึกลง 4. การประเมนิ ผลงาน (รายงานการ 4. แบบตรวจชิ้นงาน สมุดงาน ศกึ ษาค้นควา้ การสมั ภาษณ์ อภิปราย วเิ คราะห์ สรุป) 3. ศกึ ษา อภปิ ราย เปรยี บเทยี บ อำ� นาจ 1. การสอบถาม 1. แบบสอบถาม หนา้ ที่ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน 2. การทดสอบ 2. แบบทดสอบ กับรฐั บาล และประโยชน์ที่ชุมชนได้รบั 3. การนำ� เสนอผลงาน 3. ประเมินผลงาน จากองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 4. จดั ทำ� รายงาน สรุปชน้ิ งาน 4. แบบตรวจชนิ้ งาน 4. แบง่ กลมุ่ สนทนา อภิปราย บทบาท 1. น�ำการสนทนา 1. แบบสอบถาม หน้าทข่ี องตนเอง เกย่ี วกับการเลือกตง้ั 2. การสอบถาม 2. แบบทดสอบ ระดับทอ้ งถ่ิน จังหวัด และประเทศ 3. การมีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรม 3. แบบประเมินผลงาน 4. จดั ทำ� รายงาน สรุปช้นิ งาน 4. แบบตรวจช้ินงาน หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 163
หน่วยที่ 7 ประชากรกับการเมืองการปกครอง ประชากรนครศรธี รรมราช ศึกษาเกีย่ วกบั ประชากรจงั หวัดนครศรีธรรมราช การตงั้ รกรากถน่ิ ฐาน การยา้ ยที่อยู่อาศัย เชอ้ื ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม อตั ราการเกดิ และตายของประชากรจงั หวดั ตงั้ แตอ่ ดตี สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรจ์ งั หวดั นครศรธี รรมราช จนถึงปจั จบุ ัน สมยั ก่อนประวัติศาสตรใ์ นนครศรธี รรมราช ในทางโบราณคดสี มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ คอื ชว่ งเวลา ท่ีมนุษย์ยังไม่รู้จักบันทึกเร่ืองราวอันเป็นตัวอักษรให้มนุษย์ สมยั ปัจจุบนั สามารถอ่าน แปลความหมายออกมาได้ จากหลักฐานทางโบราณคดีปรากฏว่า จังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์สมัยก่อน ประวัติศาสตร์พ้ืนที่เป็นป่าเขามาก่อนที่จะเป็นพ้ืนท่ีราบ ชายฝง่ั ทะเล การต้งั ถิ่นฐานและชมุ ชนโบราณ พุทธศตวรรษท่ี 12 – 18 ร่องรอยชุมชนโบราณตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 มีปรากฏในท่ีราบเชิงเขา และที่ราบริมแม่น้�ำทางทิศตะวันออก ของเทอื กเขาหลวง ภมู ปิ ระเทศบรเิ วณนดี้ า้ นหนงึ่ ตดิ ทะเล ถดั ไป มแี นวสันทรายทอดยาวตามแนวทิศเหนือและทิศใต้ ส่วนทาง ตะวันตกเป็นแนวเทือกเขานครศรีธรรมราช เป็นแหล่งต้นน�้ำ ของคลองหลายสาย จากแนวเทือกเขาจดฝั่งทะเล ประมาณ 15 – 20 กิโลเมตร เป็นแผ่นดินที่อุดมด้วยปุ๋ยจากธรรมชาติ จากตะกอนทบั ถมของแมน่ ำ้� และลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พัดผา่ น จึงเหมาะแก่การทำ� นาเลี้ยงชุมชนขนาดใหญ่ 164 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศึกษา
ลักษณะชุมชนเมื่อแรกต้ังเป็นชุมชนการค้า ซ่ึงการติดต่อกับดินแดนโพ้นทะเลมีวัฒนธรรมและเทคโนโลยี กา้ วหนา้ กวา่ ยงั ผลใหเ้ กดิ ความเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรมอยา่ งชา้ ๆ จนชมุ ชนพฒั นาเตบิ โตเปน็ ศูนยก์ ลางการคา้ ทางทะเลบนคาบสมทุ รไทยในพทุ ธศตวรรษที่ 18 โดยเหตุท่ภี ูมปิ ระเทศเปน็ ป่าดิบทอ่ี ุดมสมบูรณ์ จึงมผี ลผลิตจากปา่ อย่มู าก เช่น ขีผ้ ง้ึ ไม้ฝา งาช้าง หนงั สัตว์ ซึ่งเป็นสินค้าออกชายฝั่งตะวันออกจึงเป็นแนวชายฝั่งที่นิยมตั้งถ่ินฐาน เพราะสะดวกในการติดต่อค้าขายกันกับ ดินแดนโพ้นทะเล เชน่ อนิ เดยี จนี เวียดนามและภาคกลางของประเทศไทย สังคมและชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพัฒนาการท่ียาวนาน ซึ่งจากหลักฐานทางโบราณคดีและ ประวตั ศิ าสตร์ พอจะสนั นษิ ฐานไดว้ า่ คนจังหวัดนครศรีธรรมราช ยุคก่อนประวตั ิศาสตรอ์ าศยั อยู่ในถำ�้ บรเิ วณปา่ เขา และบนเกาะต่าง ๆ รวมท้ังท่ีราบตามริมฝั่งน้�ำ ยังชีพโดยการล่าสัตว์ จับสัตว์น้�ำและหาของป่า รู้จักการท�ำภาชนะ เครื่องมือและเคร่อื งนงุ่ ห่ม มีความเชอ่ื ในเร่อื งสิ่งศักด์สิ ิทธ์ิ และเคารพภตู ผี การตงั้ ถนิ่ ฐานของชมุ ชนโบราณของจงั หวดั นครศรธี รรมราช ไดค้ น้ พบตามหลกั ฐานรอ่ ยรอย การตง้ั ถน่ิ ฐาน ของชมุ ชนโบราณสมยั ประวตั ศิ าสตรก์ อ่ นพทุ ธศตวรรษที่ 19 ตามหลกั ฐานวรรณคดแี ละวตั ถโุ บราณคดที ป่ี รากฏ ไดแ้ ก่ 1. ชมุ ชนโบราณบนหาดทรายแกว้ ปรากฏรอ่ งรอย การตงั้ ถน่ิ ฐาน ตามแนวลำ� นำ้� ใหญไ่ หลมาจากภเู ขาทางตะวนั ตก ผ่านสันทรายออกไปสู่ทะเลอ่าวไทยในหลายพื้นท่ี โดยเฉพาะ บรเิ วณแนวสันทรายหรอื ทเี่ รยี กวา่ หาดทรายแกว้ พบปรากฏ รอ่ งรอยตามนกั โบราณคดี 2. ชุมชนโบราณบ้านท่าเรือ ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช นักโบราณคดี สันนิษฐานว่า เป็นศูนย์กลางของตามพรลิงค์ในยุคแรก เนื่องจากเป็นจุดท่ี คลองทา่ เรอื ไหลออกทะเล ในอดตี นา่ จะเปน็ รอ่ งนำ�้ ลกึ ทเ่ี รอื เดนิ ทะเลสามารถแล่นเข้ามาจอดได้ และพบหลักฐานส�ำคัญ คือ เครอื่ งถว้ ยจนี สมยั ราชวงศถ์ งั อายรุ าวพทุ ธศตวรรษที่ 12 – 15 เครือ่ งถว้ ยจนี สมยั ราชวงศซ์ ้อง อายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี 18-19 เคร่ืองสังคโลกสมัยสุโขทัยและเงินตราต่างชาติจ�ำนวนมาก ในซากเรือบรรทุกสินค้าหลายล�ำที่จมอยู่บริเวณปากอ่าว และลำ� คลองแหง่ น้ี 3. ชุมชนโบราณเมืองพระเวียง ต�ำบลพระเวียง ตำ� บลในเมือง อ�ำเภอเมอื งนครศรีธรรมราช ลกั ษณะของเมือง เปน็ รปู สเ่ี หลีย่ มผนื ผา้ ขนาด 450 X 1,100 เมตร วางตามแนว ทิศ–ทิศใต้ มีคูเมือง และแนวก�ำแพงดินล้อมรอบอย่างละชั้น ภายในเมอื งมวี ดั โบราณหลายแหง่ เชน่ วดั สวนหลวงตะวนั ออก ปจั จบุ นั เปน็ ทต่ี ง้ั พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ วดั พระเวยี ง ปจั จบุ นั เป็นท่ีตั้งสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้านศรีธรรมราช (กรม ประชาสงเคราะห์) หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 165
4. ชุมชนเมอื งโบราณนครศรธี รรมราช ต้งั อย่ตู ำ� บลในเมือง อำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช ลกั ษณะเปน็ รปู สีเ่ หลีย่ มผนื ผา้ ขนาด 500 X 2,239 เมตร วางยาวตามแนวเหนอื ใตบ้ นแนวสนั ทรายขนาบดว้ ยท่รี าบลุม่ มีคูเมอื ง กำ� แพงเมอื งลอ้ มรอบ จากตำ� นานเมอื งนครศรีธรรมราช และ พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราชกล่าวถึงประวัติ การสร้าง เมืองบนหาดทรายแก้ว สถานที่ฝังพระทันตธาตุของสมเด็จ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ กบั การสรา้ งพระบรมธาตเุ จดยี ว์ า่ เมอื งนี้ สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 11 โดยพระเจ้าศรีธรรมโศกราช แต่ไม่มีปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ียืนยันได้ว่า นครศรธี รรมราชสรา้ งขน้ึ ได้ แตโ่ บราณสถานทเ่ี กา่ ทสี่ ดุ สามารถ ก�ำหนดอายุจากรูปศิลปกรรมได้ คือพระบรมธาตุเจดีย์ ท่ีวัดมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นเจดีย์ทรงกลมศิลปะลังกา แบบที่พบในเมืองโปโลนา ก�ำหนดอายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี 18 ลักษณะอปุ นิสยั ของคนจังหวดั นครศรธี รรมราช โดยท่ัวไปลกั ษณะอุปนิสัยของคนจงั หวดั นครศรธี รรมราช มีลกั ษณะคล้าย ๆ กบั คนภาคใต้ท่วั ไป ดงั น้ี 1. ชอบนับญาติ หมายถึง ความสัมพันธ์ในสายสกุลเดียวกัน หรือมีความเก่ียวข้องกัน บางครั้งเรียกว่า “เปน็ ดอง” กัน จึงมีการ “นับญาต/ิ ชุมญาต”ิ หรอื เรยี กว่า “สาวย่าน” กันถึงจะรกั กนั อย่างเหนียวแน่น เม่ือมงี าน หรอื กจิ กรรมใด ๆ สำ� คัญกจ็ ะกลบั มา “รวมญาติ” กันอย่างพรอ้ มเพรียง 2. รักพวกพ้อง แม้วา่ ไม่ได้เปน็ ญาตกิ ัน แต่หากเป็นคนจงั หวัดเดียวกัน พูดภาษาเดยี วกัน จะเกดิ การรวม กลุ่มกัน “ผูกเกลอ” โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อออกไปอยู่ต่างถิ่นก็จะปรากฏเห็นชัด คนนครศรีธรรมราช มักรวมกลุ่ม พบปะสังสรรค์เพ่ือรู้จักกัน เชื่อมความสามัคคีระหว่างกัน ท�ำกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ และมีโอกาสที่จะ “แหลงใต”้ กัน 3. รักภาค / ถิ่นฐาน ในภาพรวมเปน็ คนนครศรธี รรมราชทมี่ คี วามรสู้ ึกภาคนิยมสงู มีความหย่งิ และภูมิใจ ในทอ้ งถนิ่ ท่ีอยู่ รวมถึงการใชภ้ าษาใต้ด้วย แม้วา่ จะตกไปอยทู่ ้องถิ่นอืน่ ยังมีความภูมใิ จลึก ๆ ว่าเขาเกิดมาเปน็ คนใต้ นบั วา่ เปน็ เอกลกั ษณ์ศกั ดิ์ศรีประการหนึ่ง 4. รกั ตายาย คำ� วา่ ตายายในที่น้ี หมายถึง บรรพบุรุษ เนน้ การนับถือผีตายาย (เดมิ คงเนน้ สายสกุลแมเ่ ปน็ สำ� คญั ) แต่คำ� วา่ ตายายโดยทัว่ ไป หมายถึง บรรพบรุ ษุ ของทุกฝ่าย เปน็ พฤตกิ รรมทีเ่ ป็นแบบอยา่ งของความเคารพ กตัญญูกตเวทีส�ำนึกในบุญคุณบรรพบุรุษ สืบต่อมาช้านานจนเป็นวัฒนธรรม ท่ีเด่นชัด “งานสารทเดือนสิบ” ของจังหวัด เปน็ งานใหญ่และเปน็ วัน “ชมุ ญาต/ิ รวมญาต”ิ กนั อีกด้วย 5. ใจสู้ หมายถงึ การมใี จกล้านนั่ เอง กลา้ สู้ กล้าคดิ กล้าท�ำกลา้ ท่เี ผชญิ หนา้ กบั เหตกุ ารณ์หรืออปุ สรรค ทเ่ี กิดขนึ้ พร้อมที่จะออกหนา้ มลี ักษณะท่คี อ่ นขา้ งจะไมก่ ลัวใคร จึงกล้าทจ่ี ะตดั สนิ ใจเปน็ ลักษณะแห่งผูน้ ำ� ได้ 6. ใจใหญ่ คำ� วา่ “ใหญ่” หรอื บางทวี า่ ใจนักเลง แตม่ ใิ ชน่ ักเลงหัวไม้ เปน็ คนกลา้ ไดก้ ล้าเสยี ใจกวา้ งยอม เสียสละเพื่อช่อื เสียง แมต้ วั เองจะต้องเสียผลประโยชน์ไปบา้ ง เอาหน้าไวก้ ่อน 166 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
7. ไม่หวาน หมายถึง การพูด คนนครศรีธรรมราชพูดหยาบ ส�ำเนียงห้วนสั้น ไม่มีหางเสียง อาจมีส่วน อยบู่ า้ ง เพราะสภาพแวดลอ้ มทางภมู ศิ าสตรเ์ ปน็ ตวั กำ� หนด แตใ่ หด้ กู นั ทค่ี วามจรงิ ใจ ถา้ บอกวา่ ชว่ ยกช็ ว่ ยจรงิ ไมท่ งิ้ กนั ถ้าบอกวา่ รักกร็ กั จรงิ ไมห่ ลอกกัน 8. หัวหมอ เป็นมุมมองหน่ึงของคนต่างถ่ิน คงเป็นเพราะว่าคนนครศรีฯ มักไม่ยอมก้มหัวให้ใครง่าย ๆ ซึ่งความจริงลักษณะคนหวั หมอ คอื การทีม่ คี วามคดิ อ่านทันคน รมู้ าก จึงไมย่ อมสยบใหก้ ับความอยุติธรรมทัง้ ปวง อยา่ งง่ายน่ันเอง 9. ชอบความเป็นอิสระ เป็นลักษณะหน่ึงของคนนครศรีฯ อาจสืบลักษณะนิสัยมาจากโบราณท่ีคนใต้ ปกครองตนเองมาโดยตลอดสมัยประวัติศาสตร์ ดว้ ยเปน็ ดินแดนไกลศูนยก์ ลางการปกครอง จงึ สร้างสมคุณลักษณะ ต้องพ่ึงตนเอง ทำ� ให้หย่งิ และรักศักดศ์ิ รขี องมาตุภูมิ เกดิ ค่านยิ มช่วยเหลือตนเองมากกวา่ แบมือขอคนอ่ืน 10. รักศักดิศ์ รี พฤตกิ รรมนเ้ี กดิ จากลกั ษณะรวม ๆ เกดิ ขน้ึ ตามสภาวการณห์ ลายอย่าง จึงเกดิ ความภูมใิ จ จึงไมแ่ สดงพฤติกรรมใด ๆ ทีท่ �ำให้คนอ่นื ดูถกู ประณามท้องถิ่นของตน สงั เกตไดจ้ ากคนใตท้ ี่เปน็ ขอทานหรือโสเภณี นอ้ ยนิดโดยสถติ ิ 11. เชื่อเร่อื งกรรม ความเชือ่ ดังกล่าวคงสืบเนอื่ งมาจากศาสนาที่สบื ทอดมาถึงลูกหลาน อันเป็นเหตปุ ัจจัย ไม่ให้คนท�ำชั่วเพราะกลัวกรรมสนอง ศัพท์ภาษาถิ่นที่ว่า “ใช้ชาติ” จะเป็นค�ำตอบของความเชื่อของคนนครเป็น อย่างดี เปน็ วฒั นธรรมความเชอ่ื ทว่ี า่ ผลมาจากเหตุนัน่ เอง หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 167
บุคคลสำ� คญั ตามประวัตศิ าสตร์และตำ� นานจงั หวดั นครศรธี รรมราช มผี ลงานของผกู้ ระทำ� ความดี และเปน็ ประโยชนต์ ่อ การพฒั นาความเจรญิ ของบ้านเมอื ง ต้ังแต่อดตี จนถงึ ปัจจุบันสว่ นใหญ่เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ นักปกครอง นกั บรหิ าร นกั การเมอื ง ทมี่ คี วามเสยี สละ กลา้ หาญ ความอดทน เปน็ อนสุ รณใ์ หค้ นรนุ่ หลงั ไดจ้ ารกึ คณุ งามความดี เพอ่ื เปน็ แบบ อย่างสืบไป 1. พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เป็นปฐม กษัตริย์เป็นต้นราชวงศ์ปทุมวงศ์ แห่งอาณาจักร ตามพรลิงค์ เป็นผู้สร้างเมืองนครศรีธรรมราช จากชุมชนเดิมซึ่งมีชื่อเรียกว่า ตามพรลิงก์ บนหาด ทรายแก้ว ปัจจุบันอยู่บริเวณต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช เม่ือปลายพุทธ ศตวรรษที่ 17 จนกลายเปน็ นครรฐั หรอื เปน็ อาณาจกั ร ใหญ่ในคาบสมุทรไทยก่อนท่ีจะเข้ารวมอยู่ในราช อาณาจักรไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นพุทธ พระเจา้ ศรีธรรมาโศกราช ศตวรรษที่ 20 พระนามกษัตริย์พระองค์ปรากฏอยู่ ในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ท้องถ่นิ เชน่ ต�ำนานเมืองนครศรธี รรมราช และจารึกของแม่นางเมือง ตามตำ� นานไดก้ ลา่ วเลา่ ขานกนั วา่ พระเจา้ ศรธี รรมาโศกราชเปน็ ชาวอนิ เดยี ไมป่ รากฏวนั พระราชสมภพ และนามพระบิดาและพระมารดา แตม่ พี ระอนชุ า 2 พระองค์ พระเจ้าจนั ทรภาณุ และพระเจ้าพงษาสรุ ะ พระองค์มี ความเล่อื มใสในพระพุทธศาสนามากอ่ น เมอ่ื ได้มาสร้างบา้ นเมืองใหม่ขนึ้ ก็ไดน้ ำ� เอาพระพุทธศาสนาเขา้ มา นอกจาก นนั้ ยงั ไดน้ ำ� เอาลทั ธคิ วามเชอื่ ทางศาสนาพราหมณ์ เขา้ มาดว้ ย แตเ่ นอื่ งจากวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ างโลกมากกวา่ ทางธรรมจงึ ท�ำใหพ้ ธิ ีการของพราหมณซ์ ง่ึ เป็นทางโลกส่วนมาก เขา้ มาเกีย่ วข้องกับวิถีชีวิตของคนในดนิ แดนนีม้ าก จึงทำ� ให้ภาษา สันสกฤตซ่งึ เป็นภาษาที่ใชใ้ นศาสนาพราหมณ์กน็ ำ� มาใช้ด้วย พระเจ้าศรธี รรมาโศกราชได้สรา้ งเมอื งนครศรธี รรมราช ข้ึนราว ๆ พ.ศ. 1098 ในช้ันแรกคนทั่วไปไม่ได้เรียกว่า “นครศรีธรรมราช” แต่เรียกว่า “พลิง” ตามคัมภีร์บาลี และ “ตามพรลงิ ค์” ท่ปี รากฏในศิลาจารกึ เมอื งไชยาตงั้ แตอ่ ดีตมาจนถงึ ทกุ วันนี้ ผลงานและพระเกียรติคุณ พระเจา้ ศรธี รรมาโศกราชเปน็ ผสู้ รา้ งเมอื งนครศรธี รรมราชและสรา้ งสถปู เจดยี ท์ เ่ี รยี กวา่ “พระบรมธาต”ุ ทเ่ี ป็นปชู นยี สถานทส่ี ำ� คัญคู่บ้านคู่เมืองของไทย 168 แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศึกษา
2. พระเจ้าจนั ทรภาณุ พระเจา้ จนั ทรภาณุ ตามประวตั จิ ากหลกั ฐานตำ� นานเมอื งและตำ� นานพระธาตทุ ราบวา่ พระเจา้ จนั ทรภาณุ เป็นพระอนุชาของพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เม่ือพระเจ้านครศรีธรรมาโศกราชถึงแก่กรรม เมื่อศักราช 1200 ปี พญาจันทรภาณุ เป็นเจ้าเมืองมีพระนามว่า “พระเจ้าจันทรภาณุ” นบั เปน็ พระมหากษตั รยิ ท์ ยี่ งิ่ ใหญพ่ ระองคห์ นงึ่ ในราชวงคศ์ รธี รรมาโศกราช หรืออาณาจกั รตามพรลิงค์ เป็นกษตั ริยท์ ที่ รงเผยแผ่พระเดชานุภาพขจร ไปยังแคว้นไกลท่ีสุด คือ เกาะลังกา โดยการยกทัพไปตีถึง 2 ครั้ง ตามประวัติจากหลักฐานต�ำนานเมืองและต�ำนานพระธาตุทราบว่า พระเจา้ จนั ทรภาณุ ไดต้ งั้ อารามกอ่ พระเจดยี ์ ปลกู พระศรมี หาโพธริ ายทาง มาจนถงึ เมอื งนคร มขี อ้ ความปรากฏอยใู่ นศลิ าจารกึ ตอนหนง่ึ วา่ “พระเจา้ ผู้ปกครองเมืองนครตามพรลิงค์เป็นผู้อุปถัมภ์ตระกูลปทุมวงค์ พระหัตถ์ ของพระองค์มีฤทธ์ิมีอ�ำนาจ ด้วยอนุภาพแห่งบุญกุศล ซ่ึงพระองค์ได้ กระท�ำแก่มนษุ ยท์ ้งั ปวง ทรงเดชานุภาพดจุ พระอาทิตย์ พระจันทร์และ มเี กยี รตอิ นั เลอื่ งลอื ทรงพระนาม จนั ทรภาณศุ ริ ธิ รรมราช เมอ่ื กลยี คุ 4332 พระเจ้าจนั ทรภาณุ ผลงานและพระเกียรตคิ ุณ 1. ประกาศอิสรภาพจากอาณาจักรศรีวิชัยให้แก่นครศรีธรรมราช ตอนนั้นนครศรีธรรมราช เปน็ รฐั หนงึ่ ของศรวี ชิ ยั ในขณะทอ่ี าณาจกั รศรวี ชิ ยั ออ่ นแอ พระเจา้ จนั ทรภาณจุ งึ ประกาศเอกราชจากอาณาจกั รศรวี ชิ ยั ในราว พ.ศ. 1773 และอาณาจักรศรวี ิชยั ก็ถึงกาลอวสานในราวปี พ.ศ. 1838 2. ยกทพั ไปตลี งั กา 2 คร้ัง ดังน้ี ครง้ั ที่ 1 ยกไปตีลงั กาในราวปี พ.ศ. 1750 ในสมยั ของพระเจ้าปรักกรมพาหุ กษัตรยิ แ์ หง่ ลังกา ในการรบครง้ั นไ้ี ดร้ บั ชยั ชนะ เปน็ เหตใุ หแ้ สนยานภุ าพของพระองคแ์ ผไ่ ปตลอดแหลมมลายู และเกดิ มอี าณานคิ มของ ตามพรลิงค์อยู่ในลังกา และเป็นสาเหตุหน่ึงที่ลังกาต้องมอบพระพุทธสิหิงค์ให้ในโอกาสต่อมา และชาวลังกาเรียก พระนามของพระองค์ว่า “ชวากะ” ครั้งท่ี 2 ยกทัพไปตีลังกาครั้งนี้ อยู่ในระหว่าง พ.ศ. 1801 – พ.ศ. 1803 นักประวัติศาสตร์ บางทา่ นมคี วามเหน็ วา่ ในการรบครงั้ นพี้ ระองคม์ ไิ ดก้ รธี าทพั ไปโดยพระองคเ์ อง แตม่ อบหมายใหร้ าชโอรสพรอ้ มดว้ ย นายพลคนสำ� คญั ไปรบแทน การไปรบลังกาในครั้งหลังนี้พระเจ้าจันทรภาณุ ได้รับความช่วยเหลือจากทหารชาวทมิฬโจฬะ และพวกปาณฑย์ ซึ่งเป็นศัตรูกับชาวลังกามาแต่โบราณ และได้ยกพลขึ้นบกที่มหาติตถะ ทางฝ่ายนครศรีธรรมราช มีเจ้าชายวีรพาหุเป็นแม่ทัพ ในระยะแรกฝ่ายพระเจ้าจันทรภาณุมีชัยชนะในการรบ แต่ระยะหลังกองทัพของพวก ปาณฑย์เกิดกลับใจไปร่วมรบกับพวกลังกา ตีพวกทมิฬโจฬะแตกพ่าย ท�ำให้ทัพของพระเจ้าจันทรภาณุถูกล้อม นักประวัติศาสตร์บางท่านกล่าวว่า พระองค์ส้ินพระชนม์ในสนามรบ แต่บางท่านบอกว่า พระองค์เสด็จกลับมาได้ และอยู่ตอ่ มาอีกหลายปีจงึ สนิ้ พระชนม์ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 169
3. สร้างวัดวาอาราม อาจารย์มานิต วัลลิโภดม ได้สืบสาวเร่ืองราวเก่ียวกับเรื่องน้ีได้ความว่า ในระหวา่ ง พ.ศ. 1776 – 1823 นครศรธี รรมราชวา่ งจากสงครามมเี วลาวา่ ง จงึ ไดส้ รา้ งวดั ขน้ึ หลายวดั เชน่ วดั พระเดมิ วัดหว้าทยานหรอื วดั หวา้ อุทยาน และไดม้ กี ารปลกู ตน้ พระศรมี หาโพธิไวท้ ุกวัดด้วย 4. ตั้งลัทธิลังกาวงศ์ขึ้นท่ีนครศรีธรรมราช ในช่วงที่พระเจ้าจันทรภาณุได้ส่งทูตไปเมืองลังกา เพื่อขออัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ ก็ได้ส่งพระภิกษุชาวนครศรีธรรมราชไปศึกษาพระธรรมวินัยแบบหินยานของลังกา และตอนกลบั กไ็ ดเ้ ชญิ พระภกิ ษชุ าวลงั กาพรอ้ มชนชาวลงั กามาดว้ ย มาตงั้ คณะสงฆข์ น้ึ ใหมท่ น่ี ครศรธี รรมราช เรยี กวา่ “พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์” แทนพระพุทธศาสนาแบบมหายานตามอย่างศรีวิชัย ต่อมาลัทธิลังกาวงศ์ ก็แผไ่ ปสสู่ โุ ขทัย ตั้งเปน็ ปึกแผน่ อยา่ งมน่ั คงมาจนถงึ ปจั จุบนั นี้ 5. สรา้ งพระบรมธาตเุ จดยี ใ์ หเ้ ปน็ แบบทรงลงั กา ดว้ ยในระยะพระบรมธาตเุ ดมิ เปน็ แบบศรวี ชิ ยั และ ชำ� รดุ ทรดุ โทรมมาก พระภิกษุและชนชาวลังกาทมี่ าอยูท่ น่ี ครศรธี รรมราช รวมทั้งชาวนครฯ เองดว้ ย ลงความเหน็ กัน วา่ เหน็ ควรบูรณะซอ่ มแซมองคพ์ ระบรมธาตเุ สียใหม่ใหแ้ ข็งแรง โดยใหส้ ร้างใหมห่ มดท้งั องค์ตามแบบทรงลงั กา และ ให้คร่อมทับพระเจดีย์องค์เดิมไว้โดยสร้างเป็นพระสถูปทรงโอคว่�ำ พระเจดีย์องค์เดิมได้ค้นพบเม่ือคราวบูรณะ ปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุเจดีย์ในสมัยรัชกาลท่ี 5 และมีหลักฐานยืนยันว่าชนชาวลังกาได้มาอยู่ที่นครฯ จริงด้วย ในปี พ.ศ. 2475 ได้ขุดพบพระพุทธรูปลังกาท�ำด้วยหินสีเขียวคล้ายมรกต 1 องค์ ซึ่งพิสูจน์แล้วว่าเป็นฝีมือของ ชาวลงั การนุ่ เกา่ โดยขดุ พบทบ่ี รเิ วณพระพทุ ธบาทจำ� ลองในวดั พระมหาธาตฯุ ปจั จบุ นั พระพทุ ธรปู องคน์ ไี้ ดเ้ กบ็ รกั ษาไว้ ท่ีพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวดั นครศรธี รรมราช 3. เจา้ พระยานคร (พฒั น)์ เจ้าพระยานคร (พัฒน์) หรือเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) เป็นเจ้าเมืองอันดับท่ี 2 ของ นครศรธี รรมราชในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เจา้ พระยานครผนู้ เี้ ดมิ เปน็ หมอ่ มเจา้ ในกรมหมนื่ อนิ ทรพทิ กั ษ์ (รชั กาลท่ี 3) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซ่ึงในพงศาวดาร เรียกว่า พระอุปราช หรือ เจ้าพัฒน์ ในสมัยกรุงธนบุรีได้ท�ำราชการสนอง พระเดชพระคณุ พระเจา้ อยหู่ วั และประเทศชาติ เช่น ตามเสดจ็ ไปราชการทัพ ช น ะ ศึ ก มี ค ว า ม ช อ บ ห ล า ย ค รั้ ง ห ล า ย ห น จ น เ ป ็ น ท่ี โ ป ร ด ป ร า น ข อ ง สมเด็จพระเจ้าตากสินย่ิงนัก ถึงกับยกเจ้าหญิงปราง ชายาของพระองค์ ใหเ้ ปน็ ชายาของพระอปุ ราช ภายหลงั ทราบวา่ ทา่ นหญงิ นวลชายาเดมิ สน้ิ ชพี ลง เมื่อสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเถลิงถวัลยราชย์เป็น พระมหากษัตริย์ โปรดให้ถอดยศพระเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) ออกจาก ต�ำแหน่ง และให้กลับเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังพระอุปราช (พัฒน์) ขึ้นเป็นผู้ส�ำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช ท่านผูห้ ญงิ ปราง เมื่อปีมะโรง พ.ศ. 2329 พระอุปราช (พัฒน์) ได้รับราชการสนองพระเดช ภรรยาเจ้าพระยานคร (พัฒน)์ พระคณุ ดว้ ยดีตลอดมา จนกระทง่ั ถงึ รัชสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั พระอุปราช (พัฒน์) ได้เข้า เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท กราบบงั คมทลู พระกรณุ าลาออกจากราชการดว้ ยเหตทุ ชี่ รามาก เกรงวา่ จะทำ� ราชการสนอง 170 แหนลกัวสกตูารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศึกษา
พระเดชพระคณุ ไมด่ เี ทา่ ทค่ี วร พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ใหเ้ ลอื่ นยศขน้ึ เปน็ “เจา้ พระยาสธุ รรมมนตรศี รธี รรมาโศกราชวงศ์ เชษฐพงศฦ์ าไชย อนไุ ทยธบิ ดี อภยั พริ ยิ ปรากรมพาห”ุ มีต�ำแหน่งที่ปรึกษาราชการของผู้ส�ำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราชคนใหม่ เจ้าพระยานคร (พัฒน์) หรือ พระอปุ ราช (พัฒน)์ มีบุตรธิดาหลายคน ทส่ี �ำคญั ได้แก่ 1. เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1 คุณนวล ธิดาเจ้านคร (หนู) เป็นมารดา เป็นพระชนนี สมเดจ็ กรมพระราชวงั บวรมหาศักดพิ ลเสพ ในรัชกาลที่ 3 2. เจ้าจอมมารดานุ้ยเล็ก ในสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ในรัชกาลที่ 1 คุณนวล ธิดาเจา้ นคร (หน)ู เปน็ มารดา เปน็ เจ้าจอมมารดาของพระองค์เจ้าหญงิ ปัทมราช 3. เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ เจ้าพระยา นครศรีธรรมราช เจ้าหญิงปรางหรอื คุณหนูเลก็ ธดิ าเจ้านคร (หน)ู เปน็ มารดา 4. พระยาภกั ดีภูธร (ฉิม) รบั ราชการฝา่ ยพระราชวังบวร 5. ท่านผู้หญิงหนู ภรรยาเจ้าพระยาทพิ ากรวงศ์ (ขำ� ) 6. นายจา่ ยง (ขนั ) 7. พระราชภกั ดี (ร้าย) ยกกระบตั รเมอื งนครศรีธรรมราช 8. คณุ ใจ มหาดเลก็ 9. คณุ เรกิ มหาดเล็ก 10. คุณกนุ ผลงานและพระเกยี รตคิ ณุ เจา้ พระยานคร (พฒั น)์ หรอื พระอปุ ราช (พัฒน)์ ถงึ แกอ่ สัญกรรม เมือ่ พ.ศ. 2358 นบั เปน็ แบบอยา่ ง ขา้ ราชการท่ดี ผี ูห้ นึ่ง คอื เปน็ ผ้ทู ่ีไมย่ ดึ ถือในตวั บคุ คลจนเกนิ ไป แตย่ ึดถือในหลกั การและประโยชน์ของส่วนรวม คือ ประเทศชาตเิ ปน็ ทตี่ งั้ ไมว่ า่ เหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งจะเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร กย็ งั สามารถปฏบิ ตั ริ าชการงานเมอื งในหนา้ ที่ ด้วยดีเสมอมา มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่ และต่อผู้บังคับบัญชามาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นสมัยกรุงธนบุรีหรือ กรุงรัตนโกสินทร์ จะเห็นว่าเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าแผ่นดินมาท้ังสองสมัย นอกจากนั้นยังเป็นที่รู้จักกาล รู้จกั ประมาณตน ปราศจากความโลภ ความหลง เช่น เม่ืออายุมาก ไม่สามารถปฏิบัตริ าชการด้วยดีได้ กก็ ราบถวาย บงั คมทลู ลาออกเพอื่ เปดิ โอกาสใหผ้ อู้ น่ื ทม่ี คี วามสามารถกวา่ ทำ� หนา้ ทแี่ ทน คณุ ลกั ษณะเชน่ นจ้ี งึ ทำ� ใหเ้ จา้ พระยานคร (พัฒน์) มวี ิถชี ีวิตที่ด�ำเนินมาดว้ ยความราบรื่นตราบสนิ้ อายขุ ยั หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 171
4. เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) หรอื เจา้ พระยานครศรธี รรมราช (นอ้ ย) เป็นเจ้าเมืองล�ำดับที่ 3 ของเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ นับเป็นเจ้าเมืองท่ีมีชื่อเสียงโดดเด่นกว่าเจ้าเมืองใด ๆ ในสมัยเดียวกัน เพราะเป็นทั้งนักรบ นักปกครอง และเป็นผู้สันทัดในการช่างเป็นอย่าง ยอดเยยี่ ม รบั ราชการสนองพระเดชพระคณุ ชาตบิ า้ นเมอื งดว้ ยความอตุ สาหะ จงรกั ภกั ดซี อ่ื สตั ยต์ อ่ พระบรมราโชบายในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั แหง่ พระบรมราชจักรีวงศ์อย่างแนว่ แนม่ น่ั คงถึงสามรัชกาล คือ พระบาทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั และพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ตามลำ� ดบั นบั ไดว้ า่ เปน็ ขา้ ราชการ ช้ันผู้ใหญ่ที่ได้บ�ำเพ็ญกรณียกิจท่ีส�ำคัญแก่ชาติบ้านเมืองมายาวนาน ตั้งแต่ วัยฉกรรจ์จนกระท่ังถึงอสัญกรรม เกิดเมื่อวันจันทร์ท่ี 27 สิงหาคม 2319 ตามหลักฐานทางราชการกล่าวว่า เป็นบุตรพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์) เจา้ พระยานคร (น้อย) มารดาช่อื ปราง หรือ หนเู ล็ก เรมิ่ เขา้ รบั ราชการอย่างจรงิ จังในตน้ รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย คอื ใน พ.ศ. 2354 กลา่ วคอื เมอ่ื ถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกแลว้ เจา้ พระยา นคร (พฒั น)์ กไ็ ดเ้ ขา้ เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาทกราบบงั คมทลู พระกรณุ าขอพระราชทานถวายบงั คมลาออกจากราชการ วา่ มคี วามชรา หหู นกั จกั ษมุ ดื มวั และหลงลมื พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ เหลา้ นภาลยั จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ เล่ือนเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ขึ้นเป็นเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี และทรงตั้งพระบริรักษ์ภูเบศร์ (น้อย) ผู้ช่วยราชการ เมืองนครศรีธรรมราชเป็น “พระยาศรธี รรมาโศกราช” ว่าราชการเมืองนครศรธี รรมราช และได้เลอ่ื นเปน็ เจ้าพระยา นครศรธี รรมราช ในรัชกาลที่ 2 ภายหลังได้ปราบปรามกบฏเมอื งไทรบุรีครัง้ แรกใน พ.ศ. 2364 จนเปน็ ผลสำ� เร็จ และ ได้ปกครองเมืองนี้จนถงึ แก่อสญั กรรม ในวันท่ี 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2381 สิรริ วมอายุได้ 62 ปเี ศษ ผลงานและพระเกียรตคิ ุณ 1. ด้านการปกครอง การตีเมืองไทรบุรี เป็นเมืองที่มีปัญหาในการปกครองของไทยตลอดเวลา เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) ปกครองเมอื งนคร ตอ้ งใช้ความรู้ ความสามารถทงั้ ในด้านการสงคราม การทูต การปกครอง และการบริหารอย่างยิ่งยวด จึงสามารถรักษาเมืองไทรบุรีให้อยู่ภายในราชอาณาจักรไทยตลอดชีวิตของท่าน ท้ังนี้ เพราะปัญหาเมืองไทรบุรีเป็นปญั หาละเอียดออ่ น อยู่ในภาวะล่อแหลมต่ออันตราย คือ ภัยจากเจา้ เมอื งเดมิ ประการ หนง่ึ และภัยจากองั กฤษที่กำ� ลังแสวงหาเมืองขึน้ อีกประการหนงึ่ ภัยทั้งสองประการดังกลา่ วได้ท�ำให้เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ต้องยกกำ� ลังไปปราบถงึ 4 ครั้ง ครั้งท่ี 1 ปี พ.ศ. 2364 เมืองไทรบุรีแม้ว่าจะเป็นประเทศราชของไทยมาต้ังแต่คร้ังสมเด็จกรม พระราชวังบวรมหาสุรสงิ หนาถ โปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระยากลาโหมราชเสนา และพระยาจา่ แสนยากรเป็นแม่ทพั ไปตี เม่ือ พ.ศ. 2328 แตก่ ารยนิ ยอมของพระยาไทรบรุ ี (โมกรุ มั ซะ) ในคร้งั นั้นเปน็ ไปในลักษณะจ�ำยอม ดว้ ยเกรงฝ่ายไทย ซึ่งมแี สนยานภุ าพเหนอื กว่า แตต่ ่อมาเมอ่ื พระยาไทรบรุ ี (โมกรุ มั ซะ) ถึงแก่กรรมลง ตนกปู ะแงรันจงึ ได้รบั พระบรม ราชโองการแตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ เจา้ เมอื งไทรบรุ แี ทน โดยมชี อื่ วา่ “พระยารตั นสงครามรามภกั ดี ศรสี ลุ ตา่ นมหะหมดั รตั นราช 172 แหนลกัวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา
บดินทร์ สุรินทรวังษา พระยาไทรบุรี” แต่คนโดยท่ัวไปรู้จักกันในนาม “พระยาไทรบุรีปะแงรัน” พระยาไทรบุรี คนใหมน่ เ้ี รม่ิ หนั ไปฝกั ใฝพ่ ม่าอีก เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) ซงึ่ ขณะนั้นยงั เปน็ “พระยานคร (นอ้ ย)” มีฐานะเปน็ ผ้กู ำ� กบั เมอื งไทรบุรี ไดท้ ราบข่าวและเร่มิ สงสัยในพฤติกรรมของพระยาไทรบุรีปะแงรนั มาก จึงไดส้ บื ความเคลือ่ นไหวและได้ กราบบังคมทูลไปยังรัชกาลท่ี 2 ทรงทราบ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพิจารณาเห็นว่าพระยา ไทรบุรี (ปะแงรัน) มีความผิดมาก ปล่อยไว้ตอ่ ไปก็จะกลายเป็นไสศ้ ึก จึงโปรดให้มตี ราออกไปยงั พระยานคร (นอ้ ย) ใหย้ กกองทพั ไปตเี มอื งไทรบรุ โี ดย มใี จความตอนหนงึ่ วา่ “พระยาไทรบรุ เี อาใจเผอ่ื แผข่ า้ ศกึ เปน็ แนแ่ ลว้ หากละไวเ้ มอื ง ไทรบรุ เี ปน็ ไสศ้ กึ อกี จงึ ใหพ้ ระยานคร (นอ้ ย) ยกกองทพั หวั เมอื งปกั ษใ์ ตล้ งไปตเี มอื งไทรบรุ เี อาไวใ้ นอำ� นาจเสยี ใหส้ ทิ ธิ ขาด” การตีเมืองไทรบุรคี รง้ั นี้ พระยานคร (น้อย) ไดแ้ สดงวเิ ทโศบายการเมอื งทีฉ่ ลาดหลักแหลม แทนที่จะบุกเขา้ ตี อยา่ งผมู้ อี ำ� นาจบาทใหญ่ พระยานคร (นอ้ ย) กลบั มใี บบอกใหเ้ มอื งไทรบรุ จี ดั เตรยี มซอ้ื ขา้ วของไวเ้ ปน็ เสบยี ง แกก่ องทพั ไทยท่ีจะรับมือกับพม่าซึ่งจะมาตีปักษ์ใต้การทั้งนี้ก็เพื่อเป็นอุบายหรือข้ออ้างอันสมเหตุสมผล ที่เข้าตีเมืองไทรบุรี เพราะพระยานคร (นอ้ ย) ทราบดวี า่ พระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) จะตอ้ งปฏเิ สธหรอื บดิ พลวิ้ คำ� สงั่ ในใบบอกอยา่ งแนน่ อน คร้นั พระยาไทรบุรี (ปะแงรนั ) บดิ พล้ิวตามความคาดหมาย พระยานคร (น้อย) ก็นำ� ทหารจากเมืองนครศรธี รรมราช สงขลา และพทั ลงุ ประมาณ 7,000 คน ทงั้ ทพั บกและเรอื เขา้ ตเี มอื งไทรบรุ ี ใน พ.ศ. 2364 โดยไดเ้ สยี ทหารไป 700 คน ส่วนทหารแขกตายไปประมาณ 1,500 คน ส่วนพระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) ยกสมัครพรรคพวกหนีไปอาศัยอังกฤษ อยู่ท่ีเกาะปีนัง เป็นอันว่าเมืองไทรบุรีก็ตกอยู่ในอ�ำนาจของพระยานคร (น้อย) ในวันศุกร์ เดือนย่ี ข้ึน 10 ค่�ำ จ.ศ. 1184 ปีมะเมีย (พ.ศ. 2365) ต้ังแต่น้ันเป็นต้นมาท�ำให้เจ้าพระยานคร (น้อย) ก็มีฐานะทางการเมืองสูงข้ึน มีอ�ำนาจสิทธิขาดที่จะไปจดั การเร่อื งราวต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในเมืองไทรบรุ ไี ดอ้ ยา่ งเต็มที่ ทางราชธานไี ดว้ างใจในความรู้ ความสามารถของเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) เปน็ ล�ำดับ ครง้ั ที่ 2 ปี พ.ศ. 2365 การปราบกบฏในเมอื งไทรบรุ ใี น พ.ศ. 2365 สำ� เรจ็ ทำ� ให้พระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ เลอื่ นบรรดาศกั ดพ์ิ ระยานคร (นอ้ ย) ขน้ึ เปน็ “เจา้ พระยา” และ พระราชทานเมอื งไทรบรุ ใี หอ้ ยใู่ นสทิ ธขิ์ าดของเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ในฐานะผสู้ ำ� เรจ็ ราชการการปกครองดแู ลรกั ษา เมอื งไทรบรุ แี ละเมอื งเประ ตอ่ มา กเ็ กดิ กบฏขนึ้ ในเมอื งไทรบรุ อี กี โดยตนกมู หะหมดั ตนกโู ยโส และรายาปตั นาซนิ ดรา ญาติของพระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) ท่อี าศัยในเมืองไทรบุรนี �ำสมคั รพรรคพวก ประมาณ 2,000 คน คบคิดจะกอ่ กบฏ ในวันถือพระพิพัฒน์สัตยา แต่พระยานคร (น้อย) ทราบเหตุก่อนจึงสามารถตีกองทัพแขกกบฏแตกหนีไปได้ โดยงา่ ย เพราะพวกแขกไม่ทันรูต้ วั ครง้ั ท่ี 3 พ.ศ. 2374 การสงครามเพอ่ื ปราบปรามเมืองไทรบรุ ีสองคร้ังท่ีผ่านมา แมว้ ่าฝ่ายเมอื ง ไทรบรุ จี ะพา่ ยแพอ้ ยา่ งราบคาบไปกจ็ รงิ แตม่ ไิ ดห้ มายความวา่ บา้ นเมอื งจะสงบปราศจาก “คลนื่ ใตน้ ำ�้ ” ทางการเมอื ง ทง้ั นี้เพราะญาตวิ งศ์ของเจ้าพระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) ไดพ้ ยายามก่อกบฏอย่ตู ลอดเวลาทม่ี ีโอกาส เจ้าพระยาไทรบรุ ี (ปะแงรัน) ซึ่งหนีไปอยู่ที่เกาะปีนังพยายามติดต่อบริษัทอังกฤษท่ีเกาะปีนังให้สนับสนุนเพื่อก่อกบฏเมืองไทรบุรี หลายครงั้ ในครง้ั แรก ๆ บรษิ ทั กม็ ที า่ ทใี หก้ ารสนบั สนนุ หรอื รเู้ หน็ เปน็ ใจอยมู่ ากแตเ่ มอื่ เจา้ พระยานครศรธี รรมราช (นอ้ ย) ไดเ้ จรจากบั เฮนี่ เบอร์น่ี (Henry Burney) ตัวแทนบริษทั อังกฤษทีน่ ครศรธี รรมราช และมีการท�ำสนธสิ ญั ญาระหว่าง รฐั บาลไทยกับตัวแทนบรษิ ัทองั กฤษทีก่ รงุ เทพฯ เมอื วันท่ี 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2369 แล้ว ผู้ว่าการเกาะปนี งั กม็ คี ำ� ส่ัง ใหย้ า้ ยพระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) ออกจากเกาะปนี งั และไมใ่ หก้ ารชว่ ยเหลอื เหมอื นอยา่ งเคย พระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) หลักสูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 173
ก็หมดโอกาสใช้เกาะปีนังเป็นฐานปฏิบัติการกบฏอีก แต่ก็มาสนับสนุนหลานชาย ช่ือ ตนกูเด่น บุตรของตนกูรายา ซงึ่ เปน็ พช่ี ายของพระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) ใหก้ อ่ กบฏ ใน พ.ศ. 2374 ตนกเู ดน่ ไดน้ ำ� สมคั รพรรคพวก ประมาณ 3,000 คน ยกเขา้ ตีไทรบุรที างด้านโปรวนิ ซ์ เวลส์เลย์ พรอ้ มกับยกกองเรือปิดปากนำ้� ไทรบุรี พระยาอภัยธเิ บศร (แสง) เจา้ เมอื ง ไทรบรุ ี ซง่ึ เปน็ บตุ รเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) สไู้ มไ่ ดจ้ งึ พากนั หนมี าอยทู่ เี่ มอื งพทั ลงุ ตนกเู ดน่ จงึ ยดึ เมอื งไทรบรุ ไี ดง้ า่ ยดาย เมื่อเจ้าพระยานคร (น้อย) ทราบข่าวศึก พิจารณาเห็นว่าเหลือก�ำลังทัพเมืองนครศรีธรรมราชจะปราบได้ จึงขอให้ พระสรุ นิ ทรซ์ ง่ึ เปน็ ขา้ หลวงในกรมพระราชวงั บวร ฯ ซงึ่ ขณะนนั้ มาชว่ ยราชการเมอื งนครศรธี รรมราช ไปเกณฑก์ องทพั เมืองสงขลา และเมอื งแขกทง้ั 7 หวั เมือง (คอื เมอื งยะหร่งิ ยะหา สายบรุ ี หนองจกิ ปตั ตานี รามัน ระแงะ) ใหไ้ ปช่วย รบศกึ ไทรบรุ ีด้วย แตป่ รากฏวา่ พระยาสงขลา (เซ่ง) ไมใ่ ห้ความร่วมมือ เพราะมีเรือ่ งไม่ถกู กบั เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) เปน็ ทนุ เดิมมากอ่ น พระสรุ นิ ทร์จึงต้องไปเกณฑ์กองทัพหวั เมืองแขกทั้ง 7 เอง ปรากฏว่าหัวเมืองแขกทัง้ 7 ยกเว้น เมอื งยะหรง่ิ ไมย่ อมใหค้ วามรว่ มมอื ทัง้ ยงั กอ่ กบฏขึน้ อีก เป็นอันว่ากองทัพนครต้องไปตีเมอื งไทรบุรีโดยลำ� พงั ในเดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2374 การศึกคร้งั น้ที ัพเจ้าพระยานคร (นอ้ ย) ชนะพวกกบฏอยา่ งง่ายดาย สามารถตปี อ้ มไทรบรุ ีแตก และยกเข้าเมืองได้ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2374 ตนกูเด่นผู้เป็นกบฏนั้น หลักฐานตามจดหมายเหตุหลวงอุดมสมบัติ ระบุวา่ ฆา่ ตวั ตาย แต่ในหนงั สือ History of Malaya ของ Richard O. Winsted ระบวุ า่ ถกู ฆ่าตาย อย่างไรกต็ าม หลักฐานทั้งสองต่างก็ระบุตรงกันว่าหัวของตนกูเด่นกบฏ ถูกตัดส่งไปยังกรุงเทพฯ ส่วนพวกกบฏที่เหลือหนีออกไป ทางโปรวนิ ซ์ เวลส์เลย์ ภายหลงั เสรจ็ ศึกในคร้งั น้ี เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) ไดย้ กไปตหี ัวเมอื งแขกซง่ึ เป็นกบฏในระยะ เดียวกับกบฏไทรบุรี โดยได้แบ่งทัพเป็นสองทาง คือ ทางเรือยกไปปิดปากน�้ำปัตตานี ส่วนทางบกยกไปสมทบกับ กรุงเทพฯ และสงขลา แยกย้ายเข้าตหี วั เมอื งแขก ปรากฏวา่ สามารถปราบกบฏหัวเมอื งแขกได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว เชน่ กนั อนง่ึ ในการศกึ ไทรบรุ คี รงั้ นม้ี เี รอ่ื งเลา่ ในหมวู่ งศญ์ าตขิ องเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) สบื ตอ่ กนั มาวา่ เมอื่ เจา้ พระยานคร (น้อย) ทราบข่าวว่าพระยาอภัยธิเบศร์ (แสง) บุตรชายของตนซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าเมืองไทรบุรี และพระเสนานุชิต (นชุ ) บุตรชายอีกคนซึ่งดำ� รงต�ำแหน่งปลัดเมอื งไทรบุรถี อยหนพี วกกบฏตนกูเด่นไปถึงเมอื งพทั ลงุ โดยมไิ ด้แสดงฝมี ือ ให้สมเป็นเจ้าเมือง ก็มีความโกรธเป็นอันมาก ถึงกับสั่งให้ลงโทษบุตรทั้งสอง โดยการเฆี่ยนด้วยหวายคนละ 30 ที ทง้ั ๆ ทบี่ ตุ รทง้ั สองตอ้ งอาวธุ ฝา่ ยกบฏมาแลว้ ทง้ั นน้ี ยั วา่ เพอื่ มใิ หเ้ ปน็ เยย่ี งอยา่ งแกข่ า้ ทหารในกองทพั สบื ไป มขี อ้ นา่ สงั เกต ประการหน่ึงว่าการกบฏที่เกิดมาแล้วทั้งสองครั้งน้ัน ล้วนเกิดจากความพยายามของพระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) ในอนั ท่จี ะแสวงหาโอกาสเพอื่ กลบั คืนมาครองเมืองไทรบุรใี หไ้ ด้ โดยพยายามอย่างยิ่งทจี่ ะใหบ้ ริษทั อังกฤษชว่ ยเหลอื ให้ตนมาครองเมืองไทรบุรี ด้วยวิธีใดวิธีหน่ึงก็ได้ แต่เม่ืออังกฤษวางเฉย พระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) ก็มีจดหมายไป ทกั ทว้ งผวู้ า่ การเกาะปนี งั ทชี่ อ่ื ฟลู เลอรต์ นั มใี จความโดยสรปุ วา่ “ถา้ บรษิ ทั องั กฤษไมช่ ว่ ยเหลอื ตนแลว้ กจ็ ะขอไปตาม โชคชะตาของตนเอง แต่ไมส่ ามารถทจ่ี ะปฏบิ ัตติ ามสนธิสัญญาเบอรน์ ่ีได้ เพราะวา่ เมอื งไทรบรุ ไี มไ่ ด้เป็นของก�ำนลั ท่ี ตนได้รับมาจากไทย หรือได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าเมืองจากไทยแต่ประการใด เมืองไทรบุรีเป็นสมบัติของพระยา ไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) โดยผา่ นทางการสบื มรดกตกทอดมาจากปยู่ า่ ตาทวดตา่ งหาก ตนจะขอยอมตายเสยี ดกี วา่ จะปฏบิ ตั ิ ตามสนธิสัญญา” ความขอ้ น้จี ึงท�ำให้พิจารณาได้วา่ ศึกเมืองไทรบรุ ีเหน็ จะยุติได้ไมง่ า่ ยนัก เพราะฝา่ ยทแี่ พ้สงครามยัง ไม่ยอมรับความพ่ายแพ้ของตน และยังอ้างสิทธิเหนือแผ่นดินไทรบุรีตลอดมา แต่ฝ่ายไทยนั้นเห็นว่าเมืองไทรบุรีน้ัน เปน็ เมอื งขนึ้ ของไทย จะตอ้ งยอมรบั สทิ ธใิ นฐานะเมอื งขนึ้ ทกุ ประการ เมอ่ื เปน็ เชน่ นเี้ รอื่ งการยตุ กิ ารกบฏในเมอื งไทรบรุ ี คงเป็นได้ยาก และกเ็ ปน็ เชน่ นั้นจรงิ ๆ เพราะในเวลาต่อมาคอื ใน พ.ศ. 2381 กเ็ กดิ กบฏเมืองไทรบุรีขึน้ อกี 174 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา
ครัง้ ท่ี 4 พ.ศ. 2381 พระยาไทรบุรี (ปะแงรนั ) ยังไม่ละความพยายามทจ่ี ะเอาเมอื งไทรบุรีคืนมา ใหไ้ ด้ ดังนัน้ จงึ ไดเ้ ตรยี มการก่อกบฏครงั้ ใหมข่ ึน้ อีก โดยมตี นกูหมัดสอัด และตนกูอบั ดุลลาห์ ซึ่งเป็นโจรสลดั ในทะเล ฝั่งตะวันตกเป็นหัวหน้าสมทบกับหวันมาลี หัวหน้าแขกสลัดที่เกาะยาว (เขตจังหวัดพังงาในปัจจุบันน้ี) อีกแรงหน่ึง ฝา่ ยกบฏเขา้ ยดึ เมอื งไทรบรุ ที งั้ ทางบกและทางเรอื พระยาอภยั ธเิ บศร (แสง) เจา้ เมอื งไทรบรุ พี รอ้ มขา้ ราชการฝา่ ยไทย หนีมายังเมืองพัทลุงอีกคร้ัง พวกกบฏบุกตีเมืองไทรบุรีได้แล้วก็ยกทัพเรือมาตีได้เมืองตรัง อีกสายหนึ่งก็เข้าตีเมือง ปตั ตานแี ละสงขลา และหวั เมอื งแขกทง้ั เจด็ ขณะนน้ั เจา้ เมอื งสงขลา (เซง่ ) และเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ยงั อยใู่ นระหวา่ ง การพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระศรีสุลาไลย สมเด็จพระพันปีหลวง คร้ันเมื่อทราบข่าวกบฏ จึงรีบเดินทางกลับมาเกณฑ์คนท่ีเมืองนครศรีธรรมราชและพัทลุงจัดเป็นกองทัพ มอบหมายให้พระยาอภัยธิเบศร (แสง) พระยาวชิ ติ สรไกร (กลอ่ ม) พระเสนานชุ ติ (นชุ ) ซง่ึ เปน็ บตุ รเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ทงั้ สามคน คมุ กำ� ลงั ประมาณ 4,000 คน ยกไปตีกบฏเมอื งไทรบุรไี ดส้ �ำเร็จภายในเวลาอันรวดเรว็ สว่ นเจ้าพระยานคร (นอ้ ย) นั้นป่วยเปน็ โรคลม ไม่สามารถคุมทัพไปด้วยตนเองได้ ขณะเดียวกันทางกรุงเทพฯ ได้ส่งพระวิชิตณรงค์ (พัด) และพระราชวรินทร์ คมุ ทหารกรงุ เทพฯ ประมาณ 790 คน มาชว่ ยรกั ษาเมอื งสงขลาไวก้ อ่ น พวกกบฏแขกทล่ี อ้ มสงขลาอยแู่ ลว้ ไดท้ ราบวา่ กองทัพนครศรีธรรมราชตีไทรบุรีแตกแล้ว และก�ำลังบ่ายหน้ามาช่วยเมืองสงขลาพร้อมกับทัพกรุงเทพฯ จงึ เกิดความเกรงกลัว พากนั หนีกลับไปโดยทีย่ งั ไมไ่ ด้ตีเมอื งสงขลาเลย เป็นอันว่าทัพนครศรีธรรมราชสามารถปราบ ปรามไทรบุรไี ด้อยา่ งงา่ ยดายอีกครัง้ หนึง่ การศึกครั้งนเี้ ปน็ การศกึ ครง้ั สดุ ท้ายในชีวติ ของเจ้าพระยานคร (นอ้ ย) เพราะเม่อื เจ้าพระยานคร (น้อย) ทราบข่าวเกิดการกบฏไทรบรุ ขี นึ้ ก็ได้รบี กลบั มายังเมอื งนครศรีธรรมราชเพ่อื ตระเตรยี มทพั ไปตไี ทรบุรี แต่ได้เกิดเป็น โรคลมและถึงแก่อสัญกรรมเสียก่อน จึงเห็นได้ว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) เป็นนักรบผู้เข้มแข็ง และมีความสามารถ โดยแท้ สามารถน�ำไพร่พลไปสรู้ บในต่างแดนไดท้ ง้ั ทางบก ทางนำ้� และได้รับชัยชนะกลบั มาทกุ คร้งั 2. ด้านการทตู บทบาทของเจ้าพระยานคร (นอ้ ย) ว่าเป็นนกั การทูตคนส�ำคัญในยคุ น้ัน โดยเฉพาะ การทตู ระหวา่ งไทยกับอังกฤษในสมัยรชั กาลที่ 2-3 เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) มคี วามเฉลยี วฉลาด มีปฏภิ าณไหวพรบิ ในการเจรจาความเมอื งและผลแห่งการเป็นนักการทูตผู้มีปฏิภาณ ทำ� ให้เมอื งนครศรธี รรมราช มีอิทธิพลต่อหวั เมอื ง มลายู และเป็นท่ีนบั ถอื ยำ� เกรงแก่บรษิ ทั อังกฤษ ซึ่งกำ� ลังแผ่อิทธพิ ลการค้าและการเมืองมายงั ภาคพน้ื เอเซยี อาคเนย์ ดังน้ี 2.1 การเจรจากบั ครอเฟดิ พ.ศ. 2365 ภายหลงั ที่เจา้ พระยานคร (น้อย) ได้ยกทัพไปตเี มอื งไทรบุรี เม่ือ พ.ศ. 2364 ในฐานเอาใจ ออกห่างไทยไปตดิ ตอ่ พม่า และพระยาไทรบุรี (ปะแงรนั ) ไดห้ ลบหนีไปอาศยั องั กฤษอยู่ทเี่ กาะปนี งั เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) ไดต้ ดิ ตอ่ ขอตวั พระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) คนื แตผ่ วู้ า่ การเกาะปนี งั คอื นายฟลิ ปิ ป์ (Robert Philipps) ไดป้ ฏเิ สธ ทจี่ ะสง่ ตวั คนื ทำ� ใหเ้ จา้ พระยานคร (นอ้ ย) ขดั เคอื งมาก และบรษิ ทั องั กฤษกม็ ที า่ ทตี อ้ งการใหพ้ ระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) กลับไปครอบครองเมืองไทรบุรีอีก แต่ฝ่ายไทยต้องการเอาตัวมาแก้ข้อกล่าวหาท่ีกรุงเทพฯ จึงเป็นเหตุให้เกิด ความขดั แยง้ กนั เรอื่ ยมา ผูส้ �ำเรจ็ ราชการอังกฤษประจ�ำอินเดยี ทราบเหตุ จงึ ได้ส่งยอห์น ครอเฟิด (John Crawfurd) จากอินเดียมายังเกาะปนี ัง โดยให้เน้นเก่ยี วกบั เรอื่ งการคา้ มากกวา่ เรื่องเมอื งไทรบรุ แี ละเมืองเประ ครอเฟิดได้เขา้ มา เจรจากับรัฐบาลไทยที่กรุงเทพฯ เร่ิมเจรจาเป็นคร้ังแรกในวันท่ี 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 การเจรจาคร้ังน้ีแม้ หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 175
เจ้าพระยานคร (น้อย) ได้เข้าเจราจาด้วย แต่ก็เป็นที่เข้าใจกันว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) คงทราบดีว่า ครอเฟิด น่าจะเจรจาไม่ส�ำเร็จอย่างแน่นอน เพราะครอเฟิดมีท่าทีโอนอ่อนตามผู้ว่าการเกาะปีนังที่ต้องการให้พระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) กลับมาครองเมืองไทรบุรีดังเดิม ซ่ึงก็เป็นไปดังคาด เพราะในการเจรจาครั้งนี้ ครอเฟิดได้กล่าวหาว่า เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) กระทำ� การต่าง ๆ โดยล�ำพัง และพยายามเกลี้ยกลอ่ มให้ไทยยอมรบั พระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) กลบั ไปครองเมืองตามเดิม แตฝ่ ่ายไทยไมย่ นิ ยอม การเจรจาจึงล้มเหลว 2.2 การเจรจากับบริษทั อังกฤษทป่ี ีนงั พ.ศ. 2365 ภายหลงั ครอเฟดิ กลบั ไปใน พ.ศ. 2365 แลว้ เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) กไ็ ดร้ บั คำ� สงั่ จากราชธานี ให้พยายามติดต่อกับผู้ว่าการเกาะปีนังอีกหลายครั้ง เพ่ือให้ส่งตัวพระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) โดยให้เหตุผลว่าพระยา ไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) มีความผิดฐานกบฏตามกฎหมายไทย แตถ่ กู ปฏเิ สธกลบั มา ในระยะแรก ๆ เจา้ พระยานคร (น้อย) ต่อมาพระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) ซ่ึงอาศัยในเกาะปีนังได้สนับสนุนให้ลูกหลานและสมัครพรรคพวกลักลอบเข้ามา ก่อการร้ายประการต่าง ๆ รวมท้ังทำ� รา้ ยเจ้าหนา้ ท่ีไทยอยบู่ อ่ ย ๆ เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) จงึ ไดแ้ จ้งใหบ้ รษิ ทั องั กฤษท่ี เกาะปีนังทราบอีก แต่ฝ่ายอังกฤษก็เฉยเมยเช่นเคย ทั้งยังปฏิเสธว่ามิได้มีส่วนช่วยเหลือพวกกบฏแต่อย่างใด ท�ำให้ เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ไมพ่ อใจอยา่ งยง่ิ จงึ หาทางตอบโตเ้ ปน็ การทดแทนบา้ ง โดยการใหเ้ จา้ หนา้ ทไี่ ทยในเมอื งไทรบรุ ี คดิ ภาษีสินค้าขาออกทช่ี าวอังกฤษซื้อจากไทรบรุ ี บรษิ ทั อังกฤษในเกาะปนี งั ไดร้ ับความเดอื ดร้อน จึงได้มาขอใหไ้ ทย งดเกบ็ ภาษสี นิ คา้ ขาออกตอ่ เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ในฐานะผสู้ ำ� เรจ็ ราชการเมอื งไทรบรุ ี โดยอา้ งวา่ เมอื งพระยาไทรบรุ ี (โมกุรมั ซะ) อนุญาตให้องั กฤษเช่าเกาะปนี ังนน้ั ได้สัญญาว่าจะไม่เกบ็ ภาษีสนิ คา้ อาหารทีบ่ ริษัทอังกฤษซื้อไปบรโิ ภค ในเกาะปนี ัง เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) เห็นเป็นทขี องตน จึงตอบไปว่าเมอื งไทรบุรเี ปน็ เมืองข้นึ ของกรุงเทพฯ กรงุ เทพฯ ไม่เคยอนุญาตให้พระยาไทรบุรี (โมกุรัมซะ) ไปท�ำสัญญากับอังกฤษ บริษัทอังกฤษท�ำสัญญากับพระยาไทรบุรี (โมกุรัมซะ) โดยพลการ ตนจึงยอมทำ� ตามสัญญาไมไ่ ด้ เป็นอันวา่ องั กฤษตอ้ งยอมรบั ความเดอื ดรอ้ นอันเป็นผลกรรม จากการสนับสนนุ พระยาไทรบรุ ี (ปะแงรัน) โดยปรยิ าย การเจรจากับอังกฤษและเหตุการณ์อันเป็นผลจากการเจรจาคร้ังน้ี ท�ำให้ฝ่ายไทยได้รับ ประโยชนแ์ ละชว่ ยลดอทิ ธิพลขององั กฤษลงไปไดม้ าก นับว่าเจ้าพระยานคร (นอ้ ย) เป็นนักการทูตที่มีความสามารถ และฉลาดรูท้ ันผอู้ ืน่ มากที่สดุ 2.3 การเจรจากับเฮนรี่ เบอรน์ ่ี ท่นี ครศรธี รรมราช พ.ศ. 2368 บรษิ ัทอังกฤษทีเ่ กาะปนี ัง ไดพ้ ยายามติดต่อเจา้ พระยานคร (น้อย) หลายคร้งั แตเ่ จา้ พระยา นคร (นอ้ ย) ก็แกลง้ ท�ำเฉยเสีย ดว้ ยร้วู า่ องั กฤษมีจุดประสงค์จะใหพ้ ระยาไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) เขา้ มาครอบครองเมือง ไทรบรุ ี ซง่ึ เปน็ เรอ่ื งกจิ การภายในของไทยอกี เชน่ เคย เมอื่ ตดิ ตอ่ ไมไ่ ดผ้ ล ขา้ หลวงใหญข่ องบรษิ ทั องั กฤษประจำ� เบงกอล จึงได้แต่งตั้งนายเฮนรี่ เบอร์นี่ (Henry Burney) เป็นทูตเข้ามาเพื่อจะเจรจากับไทย เบอร์นี่เข้ามาถึงเกาะปีนัง ในเดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2367 ซ่ึงเป็นระยะเวลาเดยี วกบั ทีเ่ จา้ พระยานคร (นอ้ ย) กำ� ลงั ประชมุ ทัพทีเ่ มอื งตรงั และสตลู เพ่ือยกไปตีเประ และสลังงอ ฝ่ายบริษัทอังกฤษที่เกาะปีนังเห็นว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) จะขยายอ�ำนาจต่อไป ในดินแดนมลายู จึงหาทางยับย้ังโดยการส่งเรือรบปิดปากอ่าวเมืองตรังไว้ เป็นเหตุให้เจ้าพระยานคร (น้อย) ชะงักการส่งก�ำลังไปตีเมืองทั้งสอง เบอร์นี่จึงได้เข้ามายังเมืองนครศรีธรรมราชเพ่ือเจรจาปัญหาเมืองเประ สลังงอ และไทรบุรี รวมท้ังปัญหาการค้า ผลการเจรจาคร้ังนี้ได้เกิดมีสัญญาเบ้ืองต้น (Preliminary Treaty) ซ่ึงลงนาม 176 แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศึกษา
เมอ่ื วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2368 ทีเ่ มืองนครศรีธรรมราชไว้เปน็ แนวทางในการเจรจากับรฐั บาลไทยทก่ี รุงเทพฯ อกี ครั้งหนงึ่ สัญญาเบอื้ งตน้ นีม้ ใี จความโดยสรปุ ว่า ก. เจา้ พระยานคร (น้อย) จะไมส่ ง่ ทหารไปยังเประและสลังงออีก ส่วนอังกฤษกจ็ ะไมเ่ ขา้ ยดึ ครองหรอื แทรกแซงเมืองเประและสลังงอเช่นเดีวกัน ข. บริษัทอังกฤษจะไม่แทรกแซงการปกครองเมืองไทรบุรี ถ้าพระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) ไดก้ ลับมาครองเมืองไทรบุรี บรษิ ัทอังกฤษกจ็ ะบังคบั ใหส้ ง่ ดอกไม้เงินทองให้แก่ไทยปีละ 4,000 ดอลล่าร์ เจ้าพระยา นคร (น้อย) สัญญาว่าถ้าพระมหากษัตริย์ไทยยินยอมให้พระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) กลับมาครองเมืองไทรบุรีอีก เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) จะถอนเจา้ หนา้ ที่ไทยกลบั จากเมืองไทรบรุ ีทั้งหมด และไม่โจมตีไทรบุรีอกี ถา้ พิจารณาดตู ามเน้อื ความในสัญญาเบอ้ื งต้นแลว้ จะเห็นไดว้ า่ เจา้ พระยานคร (น้อย) ยอมอ่อนข้อให้แก่เบอร์น่ีมาก แต่ถ้าพิเคราะห์ให้ละเอียดแล้ว จะเห็นได้ว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) ก็มีเจตนาจะแก้ ปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างไทยกับบริษัทอังกฤษในเร่ืองไทรบุรี เประ และสลังงอ โดยวิธีการท่ีนุ่มนวลอย่างแท้จริง เพราะหากดงึ ดนั ทจี่ ะโจมตีเประและสลังงอดว้ ยเจตนาดงั้ เดิม ไทยก็จะตอ้ งกอ่ ศึกขน้ึ อีกด้านหนึ่งอย่างแนน่ อน และ ปัญหาเมอื งแขกที่คาราคาซงั มาโดยตลอดก็จะยุตไิ ด้โดยยาก ตรงกนั ขา้ มนบั วันแต่จะเพม่ิ พนู ขนึ้ ทุกขณะ 2.4 การเจรจากบั คณะทตู ของเบอรน์ ่ที ่ีกรุงเทพฯ พ.ศ. 2369 เม่ือเบอร์นี่เดินทางจากนครศรีธรรมราชกลับไปอินเดีย เพื่อขออนุมัติเจรจากับรัฐบาลไทย ทีก่ รุงเทพฯ แลว้ ก็ไดเ้ ดนิ ทางมายงั ปนี งั แลว้ ออกจากปนี ัง เมอื่ วันท่ี 24 กนั ยายน พ.ศ. 2368 มาแวะสงิ คโปร์ ตรงั กานู และมาถึงนครศรีธรรมราช เม่ือวันท่ี 28 ตุลาคม พ.ศ. 2368 ภายหลังท่ีพักอยู่ในเมืองนครศรีธรรมราช 8 วัน ก็เดินทางเข้ากรุงเทพฯ โดยมีบุตรชายเจ้าพระยานคร (น้อย) เป็นผู้น�ำทางไปถึงกรุงเทพฯ ในวันท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2368 สว่ นเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) นน้ั ไดเ้ ดนิ ทางโดยทางบกตามหลงั ไปและไปถงึ กรงุ เทพฯ เมอื่ วนั ท่ี 4 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2369 หลงั เบอรน์ ี่ประมาณสองเดือนเศษ การเจรจาทีก่ รุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยหู่ ัวได้ทรง แต่งตั้งข้าราชการส�ำคัญ ๆ หลายคนเป็นคณะเจรจา เช่น กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ เจ้าพระยาอภัยภูธร เจ้าพระยา มหาเสนา และเจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ) แต่ทีท่ รงไวว้ างพระราชหฤทัยมากท่สี ุดก็คอื เจา้ พระยานคร (น้อย) ดว้ ยเหตุ ที่ไดเ้ คยเจรจากบั เบอร์น่ีมากอ่ น เจ้าพระยานคร (น้อย) จงึ ต้องรบั ภาระการเจรจาอย่างหนกั ตอ้ งเปน็ ตวั กลางคอย ประสานความเข้าใจระหว่างพระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจ้าอยู่หัวกับฝ่ายเบอร์นี่ ต้องพยายามช้ีแจงใหฝ้ ่ายไทยมอง เหน็ ปัญหาเรือ่ งหัวเมืองมลายูท่ีตนเองประสบมา และต้องรบั ภาระรับผดิ ชอบอย่างละเอยี ดลออ ผลการเจรจาครง้ั นไ้ี ดล้ ลุ ว่ งไปดว้ ยดี มกี ารลงนามกนั เมอื่ วนั ที่ 20 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2369 เรยี กวา่ “สัญญาเบอร์น่ี” ข้อใหญ่ใจความของสัญญาพอสรปุ ได้ดังน้ี มาตรา 12 ไทยจะไม่ท�ำการขัดขวางการค้าขายในเมืองตรังกานูและกลันตัน พ่อค้าและ คนในบงั คบั ขององั กฤษสามารถไปมาคา้ ขายไดโ้ ดยสะดวกตอ่ ไปในเมอื งทง้ั สอง องั กฤษจะไมไ่ ปรบกวนโจมตี หรอื กอ่ ความไมส่ งบข้นึ ในเมอื งทง้ั สองแต่ประการใด มาตรา 13 ไทยให้สัญญาต่ออังกฤษว่า ไทยยังคงปกครองเมืองไทรบุรีต่อไป และจะให้ ความคุ้มครองแก่เมืองไทรบุรีและประชาชนชาวเมืองไทรบุรีตามความเหมาะสม ไทยสัญญาว่าเมืองเจ้าพระยานคร (น้อย) ออกมาแต่กรุงเทพฯ ก็จะปล่อยครอบครัว ทาสบ่าวคนของพระยาไทรบุรีคนเก่าให้กลับคืนไปตามชอบใจ หลักสูตแรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 177
อังกฤษขอสัญญาต่อไทยว่าไม่ต้องการเอาเมืองไทรบุรีและไม่ให้พระยาไทรบุรีคนเก่ากับบ่าวไพร่ของพระยาไทรบุรี คนเกา่ ไปรบกวน ทำ� อนั ตรายสง่ิ ใดสง่ิ หนงึ่ ณ เมอื งไทรบรุ ี และเมอื งอนื่ ๆ ซง่ึ ขน้ึ กบั เมอื งไทรบรุ ี เมอื งปนี งั เมอื งเประ เมอื งสลงั งอ เมอื งพมา่ ถา้ องั กฤษไมใ่ หพ้ ระยาไทรบรุ คี นเกา่ ไปอยเู่ มอื งอน่ื ตามสญั ญา ใหไ้ ทยเรยี กเอาภาษขี า้ วเปลอื ก ขา้ วสารที่เมอื งไทรบุรเี หมอื นแตก่ ่อน มาตรา 14 ไทยกับอังกฤษสัญญาต่อกันว่าใหพ้ ระยาเประครองเมืองเประ ใหพ้ ระยาเประ ถวายดอกไม้เงิน ณ กรงุ เทพฯ แตก่ ่อนก็ตามใจพระยาเประ อังกฤษไมห่ ้ามปราม เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) จะใชไ้ ทย แขก จีน หรอื คนฝา่ ยไหนลงไปเมอื งเประโดยดี 40 – 50 คน องั กฤษไมห่ ้ามไทย องั กฤษไม่ยกกองทพั ไปเบียดเบยี น รบกวนเมืองเประ อังกฤษไม่ใหเ้ มืองสลังงอมารบกวนเมืองเประ ไทยกไ็ ม่รบกวนเมืองเประ จะเห็นว่าสนธิสัญญาน้ี ท้ังฝ่ายอังกฤษและไทยต่างก็ประสบความส�ำเร็จด้วยกันทั้งสองฝ่าย กล่าวคือ ฝ่ายอังกฤษสามารถยับย้ังไม่ให้เจ้าพระยานคร (น้อย) ขยายอ�ำนาจของไทยลงไปทางหัวเมืองมลายู และ สามารถซอ้ื เสบียงอาหารจากเมอื งไทรบรุ ีไดโ้ ดยสะดวก ไมต่ ้องเสยี ภาษสี ินค้าขาออกเหมือนดังแตก่ อ่ น ส่วนทางฝ่าย ไทยก็สามารถเจรจาให้อังกฤษยอมรับว่าไทรบุรีเป็นเมืองข้ึนของไทย เป็นลายลักษณ์อักษรได้ส�ำเร็จ ทั้งสามารถยุติ ปญั หาขัดแยง้ ท่สี ำ� คัญระหวา่ งไทยกับบรษิ ัทอังกฤษทีเ่ กาะปนี ังลงได้ เบ้ืองหลังความส�ำเร็จของสนธิสัญญาน้ี ต้องนับเป็นความสามารถของเจ้าพระยานคร (น้อย) โดยแท้ เพราะเจ้าพระยานคร (น้อย) เป็นผู้รอบรู้เรื่องราวของปัญหาความยุ่งยากของหัวเมืองมลายูดีกว่าใครใน แผ่นดินไทยเวลานั้น ในระยะต้น ๆ ของการเจรจานน้ั กลา่ วกนั ว่าคณะผ้แู ทนไทยหลายคนไมค่ ่อยเข้าใจ และมีความ เหน็ ขัดแย้งกับเจ้าพระยานคร (น้อย) บอ่ ยครัง้ อีกทัง้ ยังมองเหน็ วา่ ไทยไม่ควรเสียเปรยี บอังกฤษ ตรงขา้ มควรจะได้ ขยายอาณาเขตลงไปในมลายูให้มากข้ึน โดยมิได้ค�ำนึงว่าการกระท�ำเช่นน้ันจะท�ำให้เกิดปัญหาการเมืองระหว่าง ประเทศตดิ ตามมา และคนทรี่ ับผิดชอบเร่ืองนีก้ ค็ งไม่พน้ ไปจากเจ้าพระยานคร (น้อย) อกี แตเ่ จ้าพระยานคร (น้อย) นนั้ สมั ผสั อยกู่ บั ปญั หาเหลา่ นมี้ านานปี ทำ� ใหม้ องเหน็ วา่ หนทางทขี่ จดั ปญั หาความขดั แยง้ ทางการเมอื งระหวา่ งประเทศนน้ั หาใชก่ ารนำ� กำ� ลงั เขา้ ทำ� สงครามกนั อยา่ งเดยี วไม่ หากแตต่ อ้ งใชว้ ธิ กี ารทตู เขา้ ไปแกไ้ ขปญั หาดว้ ย เมอ่ื การเจรจาสำ� เรจ็ ลงด้วยดี โดยท่ีไทยไม่เสียประโยชน์ในการท�ำสนธิสัญญา จึงนับได้ว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) มีความสามารถ ทางการทูตและวเิ ทโศบายทางการทูตเปน็ เลิศในยคุ นนั้ โดยแท้ 3. การต่อเรือ เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) มคี วามเชย่ี วชาญในการตอ่ เรือมาก คือได้ตอ่ เรอื กำ� ป่ันหลวงสำ� หรบั บรรทุก ช้างไปขายที่อินเดีย ท�ำให้ประเทศชาติมีรายได้มาก และท่ีส�ำคัญคือได้ต่อเรือรบขนาดย่อมไปจนถึงเรือขนาดใหญ่ ท่ตี ้องใช้กรรเชยี งสองช้ัน เรอื รบท่ตี อ่ กม็ ขี นาดใหญก่ วา่ ทเ่ี คยปรากฏมาก่อน เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) ไดต้ อ่ เรือรบและ เรอื ลาดตระเวนเหลา่ นที้ เ่ี มอื งตรงั และเมอื งสตลู เมอ่ื พ.ศ. 2352 – 2354 ครง้ั หนงึ่ อกี ครง้ั หนง่ึ ใน พ.ศ. 2364 – 2366 ได้ต่อเรือรบเป็นจ�ำนวนถึง 150 ล�ำ ท่ีบ้านดอน เจ้าพระยานคร (น้อย) มีกองทัพเรือขนาดใหญ่อยู่ท่ีเมืองตรัง ประกอบด้วยขบวนเรือทั้งหมด ประมาณ 300 ล�ำ ซึ่งเข้าใจว่าเป็นกองทัพเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหน่ึง ในราชอาณาจักรขณะนนั้ เพราะแม้ทางกรุงเทพฯ เองกเ็ พ่งิ จะมาตืน่ ตัวในการสร้างกองทพั เรือขน้ึ ในสมยั รชั กาลที่ 3 พ.ศ. 2371 เมือ่ ไทยเริ่มเปน็ ศัตรกู บั ญวน 178 แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา
เรอ่ื งความสามารถทางดา้ นการต่อเรือของเจ้าพระยานคร (นอ้ ย) นน้ั มีหลักฐานปรากฏยนื ยนั อยู่ อกี หลายแห่ง เช่น 1. คร้ังเจ้าพระยานคร (น้อย) เข้ามาเฝ้ากราบบังคมทูลและช่วยงานพระบรมศพพระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เม่ือ พ.ศ. 2371 ได้ต่อเรือพระท่ีน่ังที่บ้านดอน (จังหวัดสุราษฎร์ธานีปัจจุบัน) เข้าไปถวาย ช่ือเรอื พระทีน่ ่งั อมรแมนสวรรค์ ปากกว้าง 3 วา เป็นเรือกำ� ปน่ั ใบ ต่ออยา่ งประณตี ขัดทั้งข้างในข้างนอก พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้เป็นเรือพระที่น่ังรบ ในขณะนั้นไทยบาดหมางกับญวน ทรงไม่ไว้วาง พระราชหฤทัยกับญวน จึงโปรดฯ ให้เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) คดิ ตอ่ เรือรบตัวอย่างข้นึ อกี ล�ำหนงึ่ ให้ใช้ไดท้ งั้ ในลำ� คลอง และในทะเล เจา้ พระยานคร (น้อย) จึงได้ตอ่ เรอื ซึ่งมีหัวเป็นปากปลาและทา้ ยเปน็ กำ� ป่ันแปลง มพี ลแจวท้งั สองแคม มเี สาใบสำ� หรบั แล่นในทะเล ปากกวา้ ง 9 ศอก 1 คบื ยาว 11 วา ข้นึ ถวายเป็นตวั อยา่ ง พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจ้าอยู่หัวโปรดพระราชทานนามว่า “เรือมหาพิไชยฤกษ์” และทรงตรัสชมไว้ในคราวนั้นว่า “ ….. เห็นว่าบรรดา เจ้าเมืองปักษ์ใต้ฝ่ายตะวันตกไม่รู้การพินิจเหมือนเจ้าพระยานครคนน้ี จะท�ำการส่ิงใดก็หมดจดเกล้ียงเกลาเป็นช่าง และรูพ้ เิ คราะหก์ ารดแี ละชั่ว ….” 2. พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงใช้แบบเรือ “มหาพิไชยฤกษ์” ท่ีเจ้าพระยานคร (น้อย) สร้างไว้ มาเป็นแบบในการสร้างเรือรบข้ึนอีก 30 ล�ำ เพื่อเตรียมการรับมือสงครามกับญวน โดยทรงเกณฑ์ เสนาบดี เจ้าสวั เจา้ ภาษี และนายอากรช่วยกนั ออกเงินสรา้ ง ทง้ั น้ีไดพ้ ระราชทานเงนิ สมทบ ล�ำละ 30 ช่ัง เรือรบ ทส่ี ร้างขึน้ ตามแบบเรอื มหาพไิ ชยฤกษน์ ้ี ไดร้ ับพระราชทานนามตา่ ง ๆ กนั เชน่ เรอื ไชยเฉลิมกรงุ เรอื บ�ำรงุ ศาสนา เรืออาสาส้สู มร และเรือขจรแดนรบ เป็นตน้ 4. การพัฒนาเครือ่ งถม “เคร่ืองถม” เป็นหัตกรรมชั้นสูงท่ีชาวนครท�ำสืบทอดกันมาแต่คร้ังสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง บา้ งกว็ า่ เปน็ ฝมี อื การรงั สรรคข์ องชาวนครครงั้ โบราณ บา้ งกว็ า่ ไดร้ บั สบื ทอดความรจู้ ากชาวโปรตเุ กสทม่ี าตดิ ตอ่ คา้ ขาย แตไ่ มว่ ่าจะมกี �ำเนิดมาอยา่ งไร งานศิลปหัตถกรรมประเภทนกี้ ก็ ลายเป็นงานฝีมือเอกลกั ษณข์ องเมอื ง ลว่ งมาถึงสมยั เจ้าพระยานคร (น้อย) เป็นเจ้าเมืองก็ได้พัฒนางานนี้ข้ึนมาอีกระดับหน่ึง โดยกะเกณฑ์เอาเชลยชาวเมืองไทรบุรีท่ีมี ฝมี อื ชา่ งโลหะอย่กู ่อนแลว้ มาฝึกฝนท�ำเครื่องถมจนชำ� นาญ เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ให้การเอาใจใสด่ ูแลอย่างต่อเนือ่ ง ประกอบกับเป็นผู้มีความประณีตบรรจงในงานช่างเป็นทุนอยู่แล้ว ถมในสมัยเจ้าพระยานคร (น้อย) จึงโดดเด่น เปน็ พเิ ศษ งานถมชน้ิ ใดทส่ี วยงามเปน็ เลศิ กม็ กั นำ� ไปทลู เกลา้ ฯ ถวายทกุ ครงั้ ทเี่ ขา้ เฝา้ ฯ จนกลา่ วไดว้ า่ มจี ำ� นวนมากมาย ในราชสำ� นกั ในเรอื่ งการพฒั นาเครอ่ื งถมน้ี พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เคยมพี ระบรมราชโองการอนสุ รณ์ ถึงงานช่าง ดังกล่าวของเจ้าพระยานคร (น้อย) ซ่ึงทรงสนิทสนมด้วยเม่ือคร้ังยังทรงผนวชอยู่ว่า “เจ้าพระยา นครศรีธรรมราชผูเ้ ป็นบิดาพระยาอุทยั ธรรมราชน้นั เล่า ไดจ้ ดั แจงจดั ท�ำของดี ๆ มรี าคาและหาของประหลาดมาทลู เกล้าทูลกระหม่อมถวายให้เป็นเคร่ืองราชูปโภคใช้สอยเพิ่มพูนสิริราชสมบัติหลายสิ่งหลายประการ เม่ือเสร็จ พระราชด�ำเนินไปประทับที่ใด ๆ ในพระราชนิเวศน์มหาสถาน ก็ได้ทอดพระเนตรเห็นส่ิงของ ซึ่งเจ้าพระยา นครศรีธรรมราชได้จัดแจงทูลเกล้าฯ ถวายในที่นั้น ๆ โดยมาก จนถึงจะกล่าวว่าของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ซงึ่ ทลู เกล้าทูลกระหม่อมถวายไว้นัน้ มีอยู่ในท่เี สด็จประทับทุกแหง่ กว็ ่าได้” หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 179
5. ชีวิตครอบครวั ชีวิตครอบครัวเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) สมรสกบั ทา่ นผูห้ ญงิ อนิ ซ่งึ เป็นราชนิกลู ธิดาพระยาพินาศ อคั คี (ตระกลู ณ บางชา้ ง) พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจา้ อยูห่ วั ทรงเรยี กวา่ “พ่ีอนิ ” ท่านผ้หู ญงิ อินมบี ตุ รธดิ ากับ เจ้าพระยานคร (น้อย) 6 คน ในจ�ำนวนน้ีคือ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อยกลาง) ซ่ึงต่อมาได้ปกครองเมือง นครศรีธรรมราชสืบแทนบิดา ส่วนบุตรธิดาของเจ้าพระยานคร (น้อย) ท่ีเกิดจากภรรยาอื่นก็ยังมีอีกหลายคน เจ้าพระยานคร (น้อย) ได้ถึงแก่อสัญกรรมขณะเตรียมทัพไปปราบเมืองไทรบุรีครั้งสุดท้าย ด้วยโรคลม อาเจียน จนน้�ำลายเหนียว เสมหะปะทะหน้าอก ในวันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2381 โรคก�ำเริบขึ้นอย่างรวดเร็ว และถึงแกอ่ สญั กรรมในคนื นนั้ สริ ิรวมอายไุ ด้ 62 ปีเศษ 5. พระเจา้ ขัตตยิ ราชนคิ มสมมติมไหสวรรย์ (หนู ณ นคร) พระเจา้ ขตั ตยิ ราชนคิ ม สมมตมิ ไหสวรรย์ พระเจา้ นครศรธี รรมราช เดมิ ชอื่ หนู เกดิ พ.ศ. ใด และทใ่ี ดไมป่ รากฏชดั เมอื่ หนมุ่ มบี รรดาศกั ดเ์ิ ปน็ หลวง นายสทิ ธน์ิ ายเวรมหาดเลก็ ในสมเดจ็ เจ้าฟ้า อุทมุ พร ตอ่ มาไดร้ บั ตำ� แหนง่ เป็น ปลัดเมืองนครศรีธรรมราช เปน็ ทรี่ จู้ ักกนั ในนาม “พระปลดั หน”ู ในช่วงกอ่ น จะเสียกรุงครั้งที่สอง เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชถูกกล่าวโทษ จึงถูกเรียกตัว ไปในกรุงศรีอยุธยา พระปลัดหนูจึงรักษาการเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช และภายหลงั ที่สมเด็จพระเจา้ ตากสินสถาปนากรงุ ธนบรุ ีเปน็ ราชธานแี ล้ว 9 ปี กไ็ ดร้ ับการสถาปนาเปน็ “เจา้ ประเทศราช” ในพระนาม “พระเจา้ ขัตตยิ ราชนิคม สมมติมไหสวรรย์ “ จนกระท่ังถกู ถอด พระยศในสมยั รัชกาลท่ี 1 แหง่ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ บทบาทของพระปลดั หนแู หง่ พระเจ้าขัตติยราชนคิ มสมมติมไหสวรรย์ (หนู ณ นคร) เมืองนครศรีธรรมราชเร่ิมปรากฏชัดข้ึนเมื่อคร้ังท่ีกองทัพ พม่ารุกมาใกล้ กรุงศรีอยุธยา ในต้นปี พ.ศ. 2310 กล่าวคือสมเด็จพระท่ีนั่งสุริยามรินทร์ มีพระบรมราชโองการให้พระยา นครศรธี รรมราช (เดิม) เข้ามาทำ� การช่วยราชการอยใู่ นบริเวณหัวเมอื งช้ันใน ส่วนเมอื งนครศรีธรรมราชนัน้ โปรดให้ พระปลัดหนูรักษาราชการอยู่ แต่ในคราวกรุงแตก ปรากฏว่าพระยานครศรีธรรมราชหายสาบสูญไป กรมการเมือง และประชาขนชาวนครศรีธรรมราชพร้อมกันยกพระปลัดหนูข้ึนเป็นผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราช พระปลัดหนู ไดต้ ง้ั ตนเปน็ อสิ ระอยแู่ ควน้ หนงึ่ มอี าณาเขตตงั้ แตช่ มุ พรตลอดลงไปถงึ หวั เมอื งมลายบู างเมอื ง เรยี กวา่ “ชมุ ชนเจา้ นคร” ระหวา่ งนน้ั หวั เมอื งมลายบู างเมอื งกอ่ การกำ� เรบิ ขนึ้ เจา้ นคร (พระปลดั หน)ู ทำ� การปราบปราบจนสงบราบคาบ สามารถ รักษาอำ� นาจของไทยไว้ได้ ตอ่ มา พ.ศ. 2312 สมเดจ็ พระเจ้าตากสินไดเ้ สด็จยกกองทัพเรอื ไปปราบนครศรธี รรมราช เพ่ือรวมอาณาจักรไทย เจ้านครต้านไม่ไหวอพยพหนีไปอยู่เมืองตานี กองทัพกรุงธนบุรีตามจับได้ทั้งเจ้านคร และพรรคพวกกลับมาพร้อมกัน ลูกขุนปรึกษาให้ส�ำเร็จโทษเสีย แต่สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงพระราชด�ำริว่าคณะ ของเจา้ นครศรธี รรมราชไมม่ คี วามผดิ ฐานกบฏ และเมอื่ จบั มาแลว้ ทกุ คนกย็ อมสวามภิ กั ดไิ์ มม่ อี าการกระดา้ งกระเดอื่ ง จงึ พระราชทานอภยั โทษ โปรดใหเ้ ขา้ มารบั ราชการในกรงุ ตามความสามารถของแตล่ ะคน แตช่ อ่ื นนั้ ผคู้ นสมยั นนั้ กย็ งั คงเรยี กวา่ “เจา้ นคร” ดงั เดมิ สว่ นการปกครองหวั เมอื งนครศรธี รรมราชโปรดฯ ใหเ้ จา้ นราสรุ ยิ วงศ์ พระเจา้ หลานเธอ 180 แหนลกัวสกตูารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
เป็นเจ้าเมืองแทน เพราะเมืองนครตั้งเป็นรัฐมาก่อน และถ้าจะยกเมืองนครเป็นขัณฑสีมาให้มีฐานะสูงกว่าเมืองเอก เพ่ือสะดวกแก่การเพิ่มพูนก�ำลังทางภาคใต้ ก็ย่อมเหมาะสมกับนโยบายในเวลาน้ัน สมเด็จพระเจ้าตากสินจึง โปรดเกล้าฯ ให้ยกเมืองนครศรีธรรมราชเป็นประเทศราชปกครองเมืองปัตตานี ไทรบุรี ตรังกานู ตลอดถึงหัวเมือง ชายทะเลหนา้ นอกทง้ั หมดฝา่ ยเจา้ นครรบั ราชการสนองพระเดชพระคณุ อยู่ ณ กรงุ ธนบรุ ดี ว้ ยความอตุ สาหะ ซอ่ื สตั ย์ มัน่ คงตลอดมา ครั้นใน พ.ศ. 2319 เจ้านราสุริยวงศ์ฯ ทิวงคต สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงทรงพระกรุณาเลื่อนพระยศ เจา้ นครขน้ึ เปน็ “พระเจา้ ขตั ตยิ ราชนคิ ม สมมตมิ ไหสวรรย์ พระเจา้ นครศรธี รรมราช” ในวนั อาทติ ย์ เดอื น 11 ขน้ึ 3 คำ่� ครั้งน้ันโปรดให้พระเจ้าขัตติราชนิคมครองนครศรีธรรมราช และด�ำรงพระอิสริยยศเสมอพระเจ้าประเทศราช แต่ต่อมาใน พ.ศ. 2325 อันเป็นปีที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดให้ลดฐานะเสนาบดีจตุสดมภ์นครศรีธรรมราช ลงเปน็ เพยี งกรมการเมืองเอก และใหแ้ ยกเมืองสงขลา ปัตตานี ไทรบุรี ตรังกานู ข้ึนตรงต่อกรงุ เทพฯ และโปรดให้ ลดฐานะเมืองนครศรธี รรมราชจากประเทศราชลงเปน็ หัวเมอื งชั้นเอก ในปี พ.ศ. 2327 เปน็ ปีท่ีสามในรชั กาลที่ 1 พระเจา้ นครศรีธรรมราชถูกถอดพระยศปลดจากต�ำแหน่ง ใหม้ าประจำ� อยู่ ณ กรงุ เทพฯ จนตลอดพระชนมายุ เชอ้ื สายสกลุ ตา่ ง ๆ ทสี่ บื เชอ้ื สายจากธดิ าพระเจา้ นครศรธี รรมราช ได้แก่ บรู ณสิริ สจุ ริตกุล ภมู ริ ตั น์ อนิ ทรก�ำแหง อิศรศกั ด์ิ ณ อยุธยา กำ� ภู ณ อยุธยา เกศรา ณ อยธุ ยา อนชุ ศักดิ์ ณ อยธุ ยา นนั ทศิ ักดิ์ ณ อยุธยา พงษ์สิน นพวงศ์ ณ อยธุ ยา สปุ ระดษิ ฐ์ ณ อยธุ ยา ธรรมสโรช รุ่งไพโรจน์ พพิ ัฒนศิริ ณ นคร โกมารกลุ ณ นคร จาตรุ งคกุล ศรธี วชั ณ อยุธยา วัฒนวงศ์ ณ อยุธยา 6. พลเอก เจา้ พระยาบดนิ ทรเดชานชุ ิต (แยม้ ) พลเอก เจา้ พระยาบดินทรเดชานุชติ (แย้ม ณ นคร) เปน็ บุตร เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนู) อุปราชเมืองนครศรีธรรมราช และท่านนิ่ม เกดิ เมอ่ื วนั ท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2410 ปลายรชั กาลท่ี 4 ภายในจวนผวู้ า่ ราชการ เมืองนครศรีธรรมราช ท่านได้เริ่มเล่าเรียนหนังสือไทยหนังสือขอมในส�ำนัก ครคู งเมืองนครศรีธรรมราช เรียนวิชาเลขไทยในส�ำนกั ขุนกำ� จัดไพริน (เอ่ียม) ท่กี รงุ เทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2422 เมอ่ื อายไุ ด้ 12 ปี ไดท้ ำ� การมงคลตัดจกุ และบวชเป็นสามเณรที่วัดพระมหาธาตุเมืองนครศรีธรรมราช แล้วไปอยู่ วัดใหม่กาแก้ว ได้ศึกษาทางพระพุทธศาสนาในส�ำนักพระครูเทพมุนี (แก้ว) ผ้เู ปน็ อปุ ชั ฌาย์ และในสำ� นักพระครูกาแก้ว เจ้าอธกิ ารวัดใหม่นน้ั อุปสมบท พลเอก เจ้าพระยาบดนิ ทรเดชานชุ ิต (แย้ม) หนง่ึ พรรษา ปี พ.ศ. 2424 เมื่อสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ออกไปตรวจราชการเมือง นครศรีธรรมราช ได้ขอต่อบิดาพาเข้ามารับราชการอยู่กับท่าน ณ กรุงเทพฯ คร้ันต่อมาได้เข้ารับราชการอยู่กับ เจา้ พระยาสรุ วงษไ์ วยวฒั น์ (วร บนุ นาค) โดยเปน็ นกั เรยี นทหารเรอื ในเรอื รบหลวง (สรุ ยิ มณฑล) ซงึ่ ออกไปลาดตระเวน ตามหัวเมอื งชายทะเลตะวนั ตกคร้งั หน่งึ หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 181
ปี พ.ศ. 2431 ไดถ้ วายตัวเปน็ นกั เรยี นนายร้อยทหารบก (ปัจจุบันโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกลา้ ) ไดศ้ กึ ษาวชิ าทหารอยใู่ นโรงเรยี นนายรอ้ ยทวี่ งั สราญรมยแ์ หง่ น้ี จนสำ� เรจ็ การศกึ ษา โดยสอบไลไ่ ดว้ ชิ าชนั้ เอกท่ี 1 แลว้ เขา้ รับราชการแทนตำ� แหน่งจา่ นายสบิ ในกองนัน้ ปี พ.ศ. 2432 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานยศเป็นนายร้อยตรี มีต�ำแหน่งประจ�ำการใน โรงเรยี นนายรอ้ ยทหารบก ถงึ ปี พ.ศ. 2435 ไดร้ ับพระราชทานเลือ่ นยศทหารเปน็ นายร้อยเอก รบั ต�ำแหนง่ ทนี่ ายเวร คำ� สั่งกรมปลัดทหารบกใหญ่ กรมยุทธนาธิการ และใน พ.ศ. 2436 ไดเ้ ขา้ สังกดั กรมทหารบกราบที่ 4 ต�ำแหน่งปลดั กองในกองทหารพเิ ศษ ออกไปรกั ษาเขตแดนมณฑลอบุ ลราชธานี ตัง้ ค่ายอยู่ท่ลี ำ� น�้ำโขง ปี พ.ศ. 2440 ไดเ้ ลอื่ นบรรดาศกั ด์เิ ป็นหลวงรวบรดั สบั ตรพล ในต�ำแหน่งผชู้ ว่ ยปลดั ทัพบก และไดร้ บั พระราชทานเลื่อนยศขึ้นเปน็ นายพันตรี ปี พ.ศ. 2444 เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นพระสุรเดชรณชิต และในปีต่อมาได้เลื่อนยศข้ึนเป็นนายพันโท ในปีน้มี ีราชการที่ออกไปจดั การปราบปรามพวกเงย้ี วท่กี ่อการจราจลในมณฑลภาคพายพั และได้จัดต้งั กองทหารขนึ้ ในมณฑลนี้ ปี พ.ศ. 2446 ไดร้ บั พระราชทานเลอื่ นยศขนึ้ เปน็ นายพนั เอก ตำ� แหนง่ ปลดั ทพั บก และไดร้ บั พระราชทาน บรรดาศกั ด์เิ ป็นพระยาวรเดชศักดาวธุ ถึงปี พ.ศ. 2448 ได้รับพระราชทานเล่ือนยศขึน้ เปน็ นายพลตรี แล้วไปราชการ ดกู ารประลองยุทธ์ ณ ประเทศญี่ปนุ่ ปี พ.ศ. 2453 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปไต่สวนระงับเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนที่จังหวัดแพร่ อนั เนอ่ื งจากพวกจนี ฮอ่ ในจงั หวดั นน้ั รวบรวมกนั เพอ่ื จะไปชว่ ยพวกกบฏในประเทศจนี ไดป้ ฏบิ ตั ริ าชการเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ย ด้วยดี เป็นที่พอพระราชหฤทัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอันมาก คร้ันพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว ในปี พ.ศ. 2453 เดียวกันนั้น ได้ทรงพระกรุณาโปรด เกลา้ ฯ โปรดกระหม่อมให้ร้งั ตำ� แหน่งปลดั ทลู ฉลองรบั ราชการสนองพระเดชพระคุณตอ่ มา ปี พ.ศ. 2455 โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานเลื่อนยศขึน้ เปน็ นายพลโท ปี พ.ศ. 2456 ได้รบั พระราชทานบรรดาศกั ดเ์ิ ปน็ พระยาสีหราชเดโชชยั ปี พ.ศ. 2462 โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานยศเลื่อนขึ้นเป็นนายพลเอก ปี พ.ศ. 2464 ต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหมว่างลง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้ร้ัง ตำ� แหนง่ เสนาบดกี ระทรวงกลาโหม แลว้ เปน็ เสนาบดกี ระทรวงกลาโหมในปเี ดยี วกนั (ผบู้ ญั ชาการทหารบก ลำ� ดบั ที่ 7) ปี พ.ศ. 2465 ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานบรรดาศักด์ิเปน็ เจา้ พระยาบดนิ ทรเดชานุชติ มสี มญาจารกึ ในหริ ญั บฏั วา่ เจา้ พระยาบดนิ ทรเดชานชุ ติ อดศิ รมหาสวามภิ กั ดิ์ อดุ มศกั ดเ์ิ สนาบดี ศรธี รรมราชกลุ พงศ์ ดำ� รงราชวรฤทธ์ิ สัตยสถติ ยอ์ าชวาศยั พทุ ธาทไิ ตรยส์ รณธาดา อภยั พริ ิยปรากรมพาหุ ด�ำรงศกั ดินา 10000 พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) ได้รับราชการในต�ำแหน่งหน้าท่ีเสนาบดี กระทรวงกลาโหมตอ่ มา จนถงึ พ.ศ. 2469 ในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ ไดข้ อพระราชทาน กราบบังคมทูลลาออกจากต�ำแหน่ง เพราะป่วยและสูงอายุ งานในหน้าท่ีราชการพิเศษก็ได้กระท�ำสนอง พระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และประเทศชาตติ ลอดมา เช่น เป็นราชองครกั ษพ์ เิ ศษ เป็นองคมนตรี ในสมัยรัชกาลท่ี 7 เป็นนายทหารพิเศษในกรมทหารรักษาวัง และเป็นเลขาธิการ ส�ำหรับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ อันมศี กั ด์ิรามาธิบดสี มยั รชั กาลที่ 6 และรชั กาลท่ี 7 182 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศึกษา
พลเอก เจา้ พระยาบดนิ ทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) นบั เป็นบุคคลตัวอยา่ งท่มี ีแบบฉบบั ในการทำ� งาน ที่ดีเด่นผู้หน่ึง คือตลอดระยะเวลาของการท�ำงานอันยาวนานท้ังสามรัชกาลไม่เคยปรากฏว่ามีความด่างพร้อยหรือ บกพรอ่ งในหนา้ ทก่ี ารงานเลย เมอ่ื จะทำ� งานราชการแตล่ ะเรอ่ื งจะตอ้ งมแี ผนงานอยา่ งละเอยี ดลออ จนไดร้ บั คำ� ชมเชย จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเจ้านายช้ันผู้ใหญ่อยู่เสมอมา ดังเช่นเมื่อคราวเป็นหัวหน้าคณะนายทหาร ไปตรวจการ ณ มณฑลพายพั ไดถ้ วายรายงานเขา้ มายงั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั กระทง่ั พระองคท์ า่ น ไดม้ ีพระราชดำ� รัสว่า “พระยาสุรเดชผู้นี้นับวา่ เป็นชา้ งเผือกในหมู่ทหารคนหน่ึง แซ่เจ้าพระยานครจะไมส่ ูญ” ในด้านส่วนตัว พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) ท่านเป็นผู้ใหญ่ในวงศ์ตระกูล เป็นผู้เคร่งครัดในกฎระเบียบวินัยเยี่ยงวิสัยทหาร แต่ก็เป็นผู้ที่มีกิริยาวาจาท่ีนุ่มนวล เป็นประมุขแห่งบ้านมหาโยธิน อนั เปรยี บเสมอื นไมใ้ หญท่ ค่ี อยใหท้ พี่ กั พงิ แกบ่ รรดาญาตพิ นี่ อ้ งลกู หลานตราบจนสน้ิ อายขุ ยั เมอื่ วนั ท่ี1มนี าคมพ.ศ.2504 และที่สำ� คญั คอื ทา่ นเป็นผขู้ อพระราชทานนามสกุล “ณ นคร” อันเป็นตระกลู ใหญต่ ระกลู หนงึ่ ทสี่ ืบทอดต่อเน่อื งมา จนถงึ ในปัจจบุ นั น้ี 7. หม่นื ไกรพลขันธ์ (ตาขุนพล) ประวัติของหมน่ื ไกรพลขันธ์ หรอื ตาขนุ พลท่านเป็น 1 ใน 4 แม่ทัพคนส�ำคัญของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ประกอบด้วย หมื่นพันเสร็จ หมนื่ ระเหจ็ ดบั ภยั หมนื่ สนนั่ หวน่ั ไหว และหมนื่ ไกรพลขนั ธ์ โดยหมน่ื ไกรพลขนั ธ์ หรือ ตาขุนพล ได้รับการแต่งตั้งให้ดูแลบริเวณทางตะวันออกของวัง ซ่ึงท่านได้มีความเชี่ยวชาญในการใช้สรรพาวุธ แกล้วกล้าในพิไชยสงคราม เป็นหนึ่งในนักรบคู่พระทัยเสมอมา จนกระทั่งพระเจ้าศรีธรรมโศกได้ทรง อพยพโยกยา้ ยราษฎรพรอ้ มดว้ ยขา้ ทาสราชบรพิ ารฝา่ ยหนา้ ฝา่ ยใน ลงไปสรา้ ง เมืองแห่งใหม่ที่สันหาดทรายแก้ว โดยมีพระมหาธาตุเป็นศูนย์กลาง ของสนั ทราย ตาขนุ พลก็ไดท้ ลู ขอพระเจ้าศรีธรรมโศกราช วา่ จะขออย่ทู เี่ ดมิ เพอ่ื ระแวดระวงั ภยั ขา้ ศกึ ศตั รทู างทศิ ตะวนั ตก โดยมเี พอื่ นหมน่ื ทงั้ 3 คอยเปน็ หมน่ื ไกรพลขันธ์ (ตาขุนพล) แนวร่วมบนหบุ เขา แต่ละ่ ขุนพล ได้สร้างวดั ของตนข้ึนมา เพื่อเป็นศูนยก์ ลางของชุมชน ปวงไพรพ่ ลโยธาหาญรักษา คา่ ยตาขนุ พลได้ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ และกล้าหาญตลอดมาจนกระทั่งถึงแก่กรรม ลกู หลานไดเ้ อาศพของ ท่านฝงั ไว้แล้วปลูกต้นประด่ทู ับ ปจั จบุ ันต้นประดูอ่ ยู่ข้างกนั กับอนสุ าวรยี ข์ องท่าน เป็นประจักษ์พยานในการมตี ัวตน ของทา่ นตาขนุ พล ปัจจุบันหากเดินทางไปยัง อ.ลานสกา แถบ ต.ขุนทะเล ในละแวกน้ันจะเป็นอาณาเขตท่ีเช่ือกันว่า เป็นที่ประทับชั่วคราวของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ก่อนท่ีจะลงไปสร้างเมืองใหม่และพระบรมธาตุที่หาดทรายแก้ว โดยอนุสาวรีย์ของ “หมื่นไกรพลขันธ์” หรือ “ทวดตาขุนพล” ได้ต้ังอยู่ท่ีข้างล�ำคลองเสาธง ซ่ึงอีกฝั่งคลอง เป็นภูเขาวงั อันเชือ่ กนั วา่ เปน็ ทป่ี ระทบั หลบภยั ไข้ห่าของพระเจ้าศรธี รรมโศกราช หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 183
ส�ำหรับตาขุนพลน้ันมีความศักด์ิสิทธิ์ ในการขอไหว้ได้รับ ผู้ท่ีบูชามักจะนิยมแก้บนด้วยอาวุธจ�ำลอง มวย หนงั ตะลุง มโนราห์ หมากพลู เครื่องเซน่ ไหวต้ า่ ง ๆ ซึง่ เชื่อกนั วา่ เป็นสิง่ ที่ตาขนุ พลโปรด ในอดีตท่ตี ้นประดู่ยกั ษ์ แห่งน้ี จะปรากฏงบู องหลาขนาดใหญ่ ขนดกายอยู่ข้างต้นประดนู่ ้ีเสมอ ซง่ึ ชาวบ้านเชอ่ื กันวา่ คือ ตาขุนพลที่จำ� แลง กายมาในรา่ งของงขู นาดใหญ่ ลงจากภเู ขามาโปรดลกู หลาน และยงั เชอื่ กนั วา่ ทา่ นตาขนุ พล ยงั คงปกปกั รกั ษาลกู หลาน ชาวลานสกาขนุ นำ�้ โดยเสมอมา แมน้ กาลเวลาผา่ นไปเทา่ ไร แตค่ วามศรทั ธา นบั ถอื ในตาขนุ พล วรี บรุ ษุ รกั ษาเมอื งนคร ยงั คงมีอยู่มิเส่ือมคลายจากใจชาวเหนือสบื ไป 8. พงั พการ พังพการเป็นวีรบุรุษในสมัยอาณาจักรตามพรลิงค์ (ช่ือเดิม ของนครศรีธรรมราช) เป็นขุนพลแก้วของพระเจ้าจันทรภาณุท่ี 3 กษัตริย์ ผู้เข้มแข็งแห่งตามพรลิงค์ ตามต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช พังพการ ไม่ทราบวนั เกดิ ช่ือบดิ า มารดา ซง่ึ เปน็ ลูกชายคนเดยี วของชาวนา ของบ้าน นพเตียร ในวัยทารก พ่อแม่จะน�ำลูกน้อยไปท�ำนาด้วย โดยผูกเปลไว้ท่ี กงิ่ ตน้ หวา้ ซง่ึ งอกทค่ี นั นาของตน ขณะทท่ี ง้ั สองกำ� ลงั ดำ� นาอยนู่ นั้ กไ็ ดม้ งี บู องหลา (จงอาง) ใหญ่ตัวหน่ึงเล้ือยเข้าไป ท่ีเปลของเด็กน้อยโดยได้แผ่พังพานชูข้ึน เหนือเปล แล้วได้คาแก้วไว้ในเปลน้ันด้วย เสร็จแล้วก็ได้เล้ือยเข้าป่าหายไป ทางทิศตะวันตก พ่อแม่ของทารกน้อยและเพ่ือนชาวนาที่ก�ำลังด�ำนาอยู่ ณ ท่ีน่ันต่างก็พากันตกใจ และได้รีบว่ิงเข้ามาดูท่ีเปลของบุตรตนทันที จึงเห็นว่าทารกน้อยไม่ได้รับอันตรายแต่อย่างใด และยังนอนเล่นแก้วของ พญางูอยู่ดว้ ย ต่างก็รู้สึกยนิ ดีในบญุ บารมีของทารกนอ้ ยยง่ิ นัก จึงไดต้ ง้ั ชื่อวา่ “พังพการ” วัยเด็ก พังพการมีอายุมากข้ึนพอที่จะท�ำงานได้ ชาวนาพ่อแม่จึงใช้ให้น�ำวัวควายไปเลี้ยงในทุ่งนาใกล้ บา้ นเหมอื นกบั ลกู ชาวนาคนอนื่ ๆ ทว่ั ไป พงั พการจงึ มเี พอ่ื นฝงู ทเี่ ปน็ เดก็ เลยี้ งววั เลยี้ งควายดว้ ยกนั ตง้ั แตน่ น้ั มาทกุ ๆ วนั ไดป้ ลอ่ ยววั ควายออกหากนิ กนั ตามลำ� พงั แลว้ เดก็ ๆ กไ็ ดเ้ ลน่ กนั ตามประสาเดก็ ทกุ วนั ตามโอกาส แตท่ กุ ครงั้ ทเี่ ลน่ กนั ฝ่ายข้างเดก็ นอ้ ยพังพการมกั จะเปน็ ฝ่ายชนะอยู่เสมอ จึงได้รบั ยกย่องจากเด็กอื่น ๆ ให้เปน็ หัวหน้าของเด็กทงั้ หลาย ในละแวกบ้านน้ัน ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นการเล่นรบทัพจับศึก ซึ่งต่างคนก็ได้เอาไม้พาเข มาท�ำเป็นดาบหอก อาวุธคู่มือ แบ่งพวกกันตอ่ สูด้ ว้ ยหอกดาบไมพ้ าเข โดยมีพงั พการเป็นผคู้ วบคมุ และบงการอยู่อีกเชน่ เคย อยู่มาวันหน่งึ พงั พการ ได้ชวนเพอื่ น ๆ ไปวดิ ปลาและจับปลากนั ในหนองนำ�้ โดยชนั ชี (พนนั ) กันวา่ ทุกคนตอ้ งรบั ผดิ ชอบในหน้าท่กี ารจับ ปลาให้เคร่งครัด คือ ถ้าปลาหลุดออกไปทางทีผ่ ้ใู ดรับผดิ ชอบแลว้ ผนู้ ้นั กจ็ ะได้รบั โทษถงึ ถูกตดั ศรี ษะด้วยดาบไม้พาเข ของพงั พการผเู้ ปน็ หวั หนา้ ขณะนนั้ ไดม้ ปี ลาชอ่ นตวั ใหญห่ ลดุ ออกทางทเี่ ดก็ ผหู้ นง่ึ รบั ผดิ ชอบอยู่ เดก็ ผนู้ น้ั จงึ ถกู พงั พการ ตดั ศรี ษะดว้ ยดาบไมพ้ าเข ดว้ ยเหตอุ ยา่ งไรมทิ ราบได้ ดาบไมพ้ าเขอนั เปน็ ของเดก็ เลน่ จงึ ไดค้ มประดจุ ดาบเหลก็ จรงิ ๆ ขึ้นได้ ท�ำให้ศีรษะเด็กผู้น้ันขาดไปเหมือนกับถูกฟันด้วยดาบจริง ๆ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนท�ำให้พังพการตกใจมาก เพราะไม่คิดว่าเพือ่ นของตนจะมาตายกับการเลน่ เช่นนี้ 184 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
พอ่ แมข่ องเดก็ ทเี่ สยี ชวี ติ ไดฟ้ อ้ งรอ้ งเรอื่ งทเ่ี กดิ ขนึ้ ไปยงั กรมการเมอื ง เมอ่ื กรมการเมอื งไดอ้ อกไปไตส่ วน เรอื่ งราวแลว้ มากราบทลู ใหพ้ ระเจา้ จนั ทรภานทุ รงทราบเรอื่ งประหลาดน้ี ในทส่ี ดุ พระเจา้ จนั ทรภานจุ งึ ใหก้ รมการเมอื ง นำ� พงั พการมาใหพ้ ระองคท์ อดพระเนตรและรสู้ กึ พอพระทยั เพราะทรงเหน็ วา่ เปน็ ผทู้ ม่ี ลี กั ษณะดเี ลศิ ผหู้ นง่ึ ในแผน่ ดนิ จึงทรงรบั เอาไว้เปน็ ราชบตุ รบญุ ธรรม ในวัยหนุ่มพังพการได้ศึกษาศิลปวิทยา และเพลงอาวุธจากพระราชบิดาจนเก่งกล้า และเชี่ยวชาญ ยง่ิ ซำ�้ ยงั เปน็ ผทู้ มี่ พี ละกำ� ลงั เหนอื กวา่ คนทงั้ หลาย และยงั สามารถลอ่ งหนหายตวั ไดอ้ กี ดว้ ยเพราะฤทธอ์ิ ำ� นาจของแกว้ พญางขู องประจ�ำตัว ผลงาน ท�ำให้เมืองนครศรีธรรมราชพ้นจากอ�ำนาจของเมืองชวา พังพการเป็นบุคคลที่ชีวิตอยู่ในสมัยของ พระเจ้าจันทรภานุ ซึ่งครองเมืองนครศรีธรรมราช ประมาณ พ.ศ. 1820 เมืองนครศรีธรรมราชได้ตกเป็นเมืองข้ึน ของชวาซ่ึงยกทัพมาตีเมือง แม้ระยะแรกจะตีเมืองไม่แตก ในท่ีสุดพวกชวาก็ยกทัพเรือมาทอดสมออยู่ที่ปากน้�ำ และออกอุบายใช้ราชสารถึงเจา้ เมืองนคร ใหล้ งไปรับลูกสาวทีม่ าถวาย เมอื่ เจา้ เมอื งลงไป พวกชวากจ็ บั ตัวไว้ และได้ ส่งกลับเม่ือทางเมืองนครศรีธรรมราชยินยอมส่งส่วยไข่เป็ดแก่ชวา นครศรีธรรมราชตกเป็นเมืองขึ้นของชวา และส่งส่วยอยู่กี่ปีไม่มีหลักฐานแน่ชัด แต่ก็ได้พ้นจากอ�ำนาจของพวกชวาเพราะความแกล้วกล้าของพังพการน่ันเอง จากตำ� นานพระธาตเุ มอื งนครศรธี รรมราชกลา่ ววา่ พงั พการ สามารถฆา่ ชาวชวาลม้ ตาย วนั ละ 30-40 คน ทพั ของชวา จึงแตกพ่ายไป เมื่อทัพชวาแตกกลับไปแล้ว พระเจ้าจันทรภาณุได้บ�ำเหน็จรางวัลให้แก่พังพการโดยแบ่งเมืองให้ อกี ฝา่ ยหนงึ่ ซงึ่ เขา้ ใจวา่ นา่ จะเปน็ เมอื งพระเวยี ง และใหค้ รอบครองอกี กงึ่ หนงึ่ เรยี กวา่ “ไชยมนตร”ี หรอื ตำ� บลไชยมนตรี อ�ำเภอเมือง จงั หวดั นครศรีธรรมราช ในปัจจุบัน แม้วา่ เรื่องราวของพังพการจะอยูเ่ ฉพาะในตำ� นานกต็ าม แต่กเ็ ปน็ ที่ เชื่อแน่ว่าเรื่องราวของท่านผู้น้ีน่าจะเป็นเร่ืองจริงท่ีมีมูลแอบแฝง เมื่อเป็นเช่นน้ีชนรุ่นหลังควรระลึกถึงและยกย่อง บคุ คลผูน้ ีว้ า่ เป็นวีรบรุ ษุ ทา่ นหน่ึง หลักฐานเกี่ยวกับพังพการวีรบุรุษของอาณาจักรตามพรลิงค์ ยังคงมีปรากฏอยู่ทุกวันนี้ ในจังหวัด นครศรธี รรมราช คอื 1. โคกพงั พการ อยใู่ นตำ� บลนาสาร อำ� เภอพระพรหม 2. บ้านนพเตยี น อย่ใู นต�ำบลไชยมนตรี อ�ำเภอเมือง 3. เขามหาชัย อยู่ในต�ำบลท่างิ้ว อ�ำเภอเมอื ง 4. เรอื่ งราวของ “พังพการ” ยงั เป็นท่ีมาของสำ� นวนภาษาประจ�ำถน่ิ ส�ำนวนหนง่ึ อกี ดว้ ย คือทวี่ ่า “ตายดว้ ยดาบไม้พาเข” หรือ “ตายกับดาบไม้พาเข” ซ่งึ มีความหมายตรงกบั ส�ำนวนที่ว่า “ปลาใหญต่ ายน้�ำตื้น” หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 185
9. พระรตั นธชั มนุ ี (ม่วง ศิรริ ตั น)์ พระรัตนธชั มนุ ี มนี ามเดมิ วา่ “มว่ ง ศิริรตั น”์ เกดิ เมื่อวันท่ี 10 สิงหาคม พ.ศ. 2396 ทบี่ า้ นหมาก หมู่ที่ 5 ต.บา้ นเพิง อ.ปากพนงั จ.นครศรีธรรมราช เป็นบตุ รของนายแกว้ และนางทองค�ำ ศริ ริ ตั น์ มีพน่ี ้อง 7 คน เปน็ บตุ รคน สดุ ทอ้ ง เมอื่ อายไุ ด้ 7 ปี ได้ศกึ ษาเบอื้ งตน้ ในสำ� นกั อาจารยส์ ดี �ำ วดั หลมุ พอ อ.ปากพนัง อายุ 9 ปี ยา้ ยไปศกึ ษาในสำ� นักอาจารย์เพชร วัดแจง้ อ.ปากพนัง ได้ศึกษาเล่าเรียนมูลกัจจายน์ในส�ำนักนี้ อายุได้ 15 ปี ได้บรรพชาอยู่ท่ี วัดแจ้งนั้น เมื่ออายุได้ 17 ปี ได้ย้ายมาอยู่ท่ีวัดมเหยงคณ์ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ได้ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมจากพระครูการาม (จู) ในพ.ศ. 2416 ได้อุปสมบทเป็นภิกษุฝ่ายมหานิกาย โดยพระครูการาม (จู) เปน็ พระอปุ ัชฌาย์ มฉี ายาวา่ “รตั นธโช” เม่ืออุปสมบทแล้วได้จำ� พรรษาอย่ทู ี่ วดั มเหยงคณ์ 1 พรรษาตอ่ มาเมื่อพระครกู าราม (จู) ย้ายไปอย่ทู ว่ี ัดท่าโพธ์ิฯ จึงยา้ ยตามไปดว้ ยในปี พ.ศ 2427 เม่อื พระครูการาม (จู) มรณภาพก็ได้เปน็ เจ้าอาวาสวัดท่าโพธ์ิสืบแทน ต่อมาได้รับการแต่งต้ังจากพระบาทสมเด็จ พระรัตนธชั มนุ ี (ม่วง ศิรริ ตั น)์ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ใหเ้ ปน็ พระราชาคณะมรี าชทนิ นามวา่ “พระสริ ธิ รรมมนุ ”ี ปี พ.ศ. 2442 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็นเจ้าคณะมณฑลนครศรีธรรมราช และมณฑลปัตตานี เป็นผู้อ�ำนวยการการศึกษามณฑลนครศรีธรรมราชและมณฑลปัตตานี เพื่อให้จัดการพระศาสนาและการศึกษาใน 2 มณฑล ด้วยความรู้ ความสามารถ และความอตุ สาหะวริ ยิ ะพากเพยี รในการรบั ใช้บา้ นเมือง ในดา้ นการพระศาสนา และการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2453 จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ปน็ พระราชาคณะผใู้ หญม่ รี าชทนิ นามตามสญั ญาบตั ร วา่ “พระเทพกวศี รีสทุ ธิดิลกตรีปิฎกบัณฑิตยตคิ ณิศร บวรสังฆารามคามวาสี” สถติ ณ วัดท่าโพธ์ิ ต�ำบลกลางเมือง อ�ำเภอเมอื งนครศรีธรรมราช มีนติ ยภตั เดือนละ 26 บาท มีฐานานศุ ักดิ์ควรตง้ั ฐานานกุ รมได้ 4 รูป ตอ่ มาไดโ้ ปรดให้ เลอ่ื นสมณศักดเิ์ ป็น “พระธรรมโกศาจารย์ สนุ ทรญาณดิลก ตรปี ิฎกธรรมภษู ิตยติคณศิ ร บวรสังฆาราม คามวาส”ี มีนติ ยภัตเดือนละ 28 บาท มีฐานานศุ กั ดต์ิ ง้ั ฐานานกุ รมได้ 6 รปู ปี พ.ศ. 2466 โปรดให้เลือ่ นสมณศักดเิ์ ป็น “พระรัตนธชั มนุ ี ศรีธรรมราชสังฆนายก ตรปี ฎิ กคณุ าลังการ ศลี สมาจารวนิ ยสุนทร ยติคณิศร บวรสังฆรามคามวาส”ี สถติ ณ วดั ทา่ โพธ์ิ อำ� เภอเมือง จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีฐานศักด์ิตั้งฐานานุกรมได้ 6 รูป พระรัตนธัชมุนีได้ท�ำงานทางด้านการพระศาสนาและการศึกษาเพื่อบ้านเมือง ตลอดมา จนถงึ แกม่ รณภาพด้วยโรคชรา เม่ือวนั ท่ี 21 กนั ยายน พ.ศ. 2477 อายไุ ด้ 82 ปี 45 พรรษา ผลงาน/เกยี รตคิ ุณทไ่ี ดร้ บั 1. ด้านการศาสนา แก้ไข การปกครองสงฆ์ สามเณร ในนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลาใหม่ โดยก�ำหนดให้มี เจา้ คณะเมือง เจ้าคณะแขวง อธิการวัด และพระครู บังคับบัญชากนั ตามลำ� ดับช้ัน วิธีการแบบนเ้ี ป็นที่ยอมรับและ ได้รบั การยกยอ่ งมาก สามารถแก้ไขปญั หาในการปกครองคณะสงฆ์ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรียบร้อยได้ จนกระท่ังกรมหมืน่ วชริ ญาณวโรรสและกรมหมนื่ ดำ� รงราชานภุ าพ ทรงเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่ เปน็ แบบแผนทด่ี ี ควรใหผ้ อู้ ำ� นวยการการศกึ ษา รบั ไปจดั ให้ตลอดเหมือนกันทัว่ ทกุ มณฑล 186 แหนลกัวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
2. ด้านการศกึ ษา เป็นผู้ริเร่ิมจัดการศึกษาฝ่ายสามัญและวิสามัญข้ึนในมณฑลนครศรีธรรมราชและมณฑลปัตตานี ซง่ึ แตเ่ ดมิ มกั จะศกึ ษากนั ทวี่ ดั หรอื บา้ น เมอื่ ไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ปน็ ผอู้ ำ� นวยการศกึ ษาแผนใหม่ กเ็ รม่ิ จดั การตามพระราชประสงคท์ นั ที ดงั ปรากฏอยใู่ นรายงานการศกึ ษา ร.ศ.119 ลงวนั ที่ 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2443 จ�ำนวนโรงเรียนท่ีท่านได้จัดตั้งทั้งหมด 21 แห่ง เช่น โรงเรียนหลวงหลังแรกต้ังอยู่ที่วัดท่าโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีชื่อว่า “สุขุมาภิบาลวิทยา” ได้พระยาสุขุมนัยวินิต (ปั้น สุขุม) ข้าหลวงเทศาภิบาล เป็นผู้อุปถมั ภ์ (โรงเรยี นน้ตี ่อมาเปลี่ยนชอื่ เปน็ “เบญจมราชูทิศ”) โรงเรียนราษฎรผดงุ วิทยา ตงั้ อยู่ทว่ี ดั พระนครได้ พระครูกาชาติเป็นผู้อุดหนุน โรงเรียนวัฑฒนานุกูล อยู่ท่ีวัดหมาย อ�ำเภอท่าศาลา ได้นายเจริญ กรมการอ�ำเภอ เป็นผู้อุดหนุน โรงเรียนเกษตราภิสิจน์ ต้ังอยู่ที่วัดร่อนนอก อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ ได้ขุนเกษตรพาหนะเป็นผู้อุดหนุน โรงเรยี นนิตยาภริ มย์ ตั้งอยู่ท่วี ัดโคกหมอ้ อำ� เภอทุง่ สง ได้นายเทีย่ ง กรมการอ�ำเภอเป็นผู้อดุ หนนุ โรงเรยี นวทิ ยาคม นาคะวงศ์ ต้ังอยู่ทว่ี ัดวังม่วง อ�ำเภอฉวาง ไดน้ ายนาค กรมการอำ� เภอเป็นผูอ้ ุดหนุน ทา่ นเจา้ คณุ รัตนธชั มุนี นอกจาก จะเปน็ ผรู้ เิ รมิ่ จดั การศกึ ษาฝา่ ยสามญั ทวั่ ทง้ั ภาคใตด้ งั กลา่ ว พอสงั เขปแลว้ นน้ั ทา่ นยงั ไดพ้ ยายามจดั ตงั้ โรงเรยี นวสิ ามญั เชน่ ให้มกี ารสอนวชิ าช่างถมข้นึ ท่วี ดั ทา่ โพธิเ์ ป็นคร้ังแรก ในพระราชอาณาจกั ร เมอ่ื พ.ศ. 2456 ในระยะแรก ๆ ทา่ น ได้สละนิตยภัตส่วนตัวของท่านให้เป็นเงินเดือนครู และได้เพียรท�ำนุบ�ำรุงให้เจริญเป็นล�ำดับ โรงเรียนช่างถมนี้ ภายหลงั ทางราชการไดร้ ับช่วงเป็นโรงเรยี นหลวงประเภทวสิ ามญั 3. ดา้ นกวนี พิ นธ์ พระรัตนธชั มนุ ี มคี วามสามารถทางกวีนิพนธ์ดว้ ย ท้ังกลอนสด กลอนเพลงบอก และโคลงกลอน อื่น ๆ อีกมาก เช่น แต่งค�ำร้องรับเสด็จในสมัยรัชกาลท่ี 5 เพ่ือให้นักเรียนร้องรับเสด็จ เม่ือเสด็จถึงจังหวัด นครศรีธรรมราช แต่งโคลงรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเม่ือเสด็จประพาส จังหวัด นครศรธี รรมราช พ.ศ. 2441 แตง่ เพลงบอกเรอ่ื งศาลาโกหก 10. พระครพู ิศิษฐ์อรรถการ พระครพู ศิ ษิ ฐอ์ รรถการ พระครูพิศิษฐ์อรรถการ หรือ พ่อท่านคล้าย มีช่ือเดิมว่า (พอ่ ท่านคล้ายวาจาสทิ ธ์ิ) คล้าย สีนิล (ศรีนิล) เกิดเมื่อวันอังคาร เดือน 4 ปีชวด พ.ศ 2407 ทบี่ า้ นโคกกะทือ ต.ชา้ งกลาง อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช บิดาชื่อ นายอนิ ทร์ หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 187 มารดาชอ่ื นางเนยี่ ว มพี สี่ าวคนหนง่ึ ชอ่ื เพงิ ไดเ้ สยี ชวี ติ ตง้ั แตเ่ ยาวว์ ยั การศกึ ษา ท่านได้ศึกษาเล่าเรียนอักษร จากบิดาของท่าน อายุ 10 ขวบ ก็เรียนจบ เมือ่ อายุ 13 ปี ไดไ้ ปเรียนเลขกบั อาจารยข์ ้ำ� ไม่นานก็ช�ำนาญ เม่อื อายุ 20 ปี ก็ได้อุปสมบทท่ีวัดวังม่วง อ.ฉวาง พ่อท่านคล้ายเป็นพระเถระท่ีมี ความเคร่งครัดในสขิ าวินัย มคี ุณธรรม และบ�ำเพ็ญประโยชนอ์ ยา่ งใหญห่ ลวง จึงได้รับการยกย่องนับถือจากประชาชนท่ัวไปว่าเป็นเกจิอาจารย์ท่ีส�ำคัญ รูปหนึ่งของภาคใต้ในฐานะท่ีเป็นผู้มี “วาจาสิทธ์ิ” ต่อมา ในปี พ.ศ 2498 พ่อท่านคล้ายได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักด์ิเป็นพระครูช้ันพิเศษในนาม
สมณศักดิ์เดิมแต่ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังเรียกท่านว่า “พ่อท่านคล้าย” ในบั้นปลายชีวิตท่านอาพาธหลายครั้ง ครงั้ สดุ ทา้ ยทา่ นอาพาธหนกั ดว้ ยโรคหดื มอี าการหนกั มาก คณะศษิ ยานศุ ษิ ยไ์ ดน้ ำ� เขา้ รกั ษา ณ โรงพยาบาลพระมงกฏุ เกลา้ กรุงเทพฯ เมือ่ วนั ท่ี 21 พฤศจกิ ายน พ.ศ 2513 และวันท่ี 5 ธนั วาคม 2513 ท่านกถ็ งึ แกม่ รณภาพดว้ ยอาการอนั สงบ รวมอายุได้ 106 ปี สมณศกั ดิ์ ไดเ้ ปน็ พระครสู ญั ญาบตั รชน้ั ตรที พี่ ระครพู ศิ ษิ ฐอ์ รรถการในปี พ.ศ. 2498 ตอ่ มาไดร้ บั พระราชทานเลอ่ื น สมณศักด์เิ ปน็ พระครชู ัน้ พเิ ศษในนามสมณศักดิ์เดมิ แต่ประชาชนทว่ั ไปเรียกทา่ นตามช่ือเดิมว่า พ่อทา่ นคล้าย ได้รบั การยกย่องนับถอื จากประชาชนท่วั ไปว่าเป็นเกจอิ าจารยท์ ส่ี ำ� คญั รปู หนึง่ ของภาคใตใ้ นฐานะทเ่ี ปน็ ผมู้ ี “วาจาสทิ ธ์ิ” ต�ำแหนง่ ทางพระพทุ ธศาสนา 1. เจา้ อาวาสวดั สวนขัน ตำ� บลละอาย อ�ำเภอฉวาง ใน พ.ศ. 2445 จนมรณภาพ 2. เจ้าอาวาสวัดธาตุน้อย ใน พ.ศ. 2500 เน่ืองจากมีการสร้างถนนผ่านกลางวัดจันดีหรือ วัดทุ่งปอน ท�ำให้วัดถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน ประชาชนได้ประชุมตกลงสร้างวัดใหม่ในเน้ือที่ท่ีแยกออกไป เรียกว่า วดั พระธาตนุ อ้ ย และแตง่ ตงั้ ใหพ้ ระครพู ศิ ษิ ฐอ์ รรถการเปน็ เจา้ อาวาส เมอื่ ทา่ นมรณภาพไปแลว้ วดั นก้ี เ็ ปน็ ทป่ี ระดษิ ฐาน สรีระของทา่ นไวใ้ นโลงแก้ว ผลงานหรอื เกยี รตคิ ณุ 1. งานด้านศาสนา พระครพู ศิ ษิ ฐอ์ รรถการ เปน็ ผนู้ ำ� ในการสรา้ งวดั พระเจดยี ์ พระพทุ ธรปู และรว่ มกนั ในการปฏสิ งั ขรณ์ บูรณะศาสนสถานเป็นจ�ำนวนมาก เช่น สร้างวัด พ่อท่านคล้ายเห็นความส�ำคัญของปูชนียสถาน จึงได้สร้างวัด ขนึ้ หลายแหง่ ไดแ้ ก่ วดั มะปรางงาม ต�ำบลละอาย อำ� เภอฉวาง ใน พ.ศ. 2490 ตอ่ มา พ.ศ. 2500 ทายาทองึ่ คา่ ยทา่ ย ถวายท่ีดินใกลต้ ลาดนาบอน จึงสร้างวดั ข้ึนเรียกช่ือตามสมณศักดวิ์ า่ วดั พศิ ิษฐ์อรรถการาม และวัดทสี่ ำ� คัญทีส่ ุด คือ วัดพระธาตุน้อย หรือคนทั่วไปเรียกว่า วัดพ่อท่านคล้าย พระครูพิศิษฐ์อรรถการได้สร้างข้ึนใหม่ และสร้างเจดีย์ องค์ใหญ่ไว้เป็นอนุสรณ์ โดยยึดรูปแบบมาจากวัดพระมหาธาตุท้ังหมด การก่อสร้างส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2513 สร้าง พระเจดีย์ พ่อท่านคล้ายได้สร้างพระเจดีย์ไว้หลายองค์ ได้แก่ เจดีย์วัดสวนขัน เจดีย์บ้านควรสวรรค์ ต�ำบลนาแว อ�ำเภอฉวาง เจดีย์วัดยางค้อม อ�ำเภอพิปูน และท่ีจังหวัดสุราษฏร์ธานี ได้แก่ เจดีย์วัดสวนขันอ�ำเภอพระแสง และเจดยี ์หน้าถำ�้ ขม้นิ บนภเู ขาอ�ำเภอนาสาร 2. งานดา้ นพฒั นาทอ้ งถิน่ พ่อท่านคล้าย จัดได้ว่าเป็นนักพัฒนาท่ีย่ิงใหญ่ตลอดชีวิต ท�ำงานโดยไม่รู้จักเหน็ดเหน่ือย เพ่อื ประโยชนส์ ่วนรวม ได้เดินทางไปพฒั นาในที่ตา่ ง ๆ มากมาย สร้างถนน สะพานมากมาย ด้วยเมตตาบารมีและ ความเคารพศรทั ธาของศษิ ยแ์ ละประชาชน เชน่ สรา้ งถนนเขา้ วดั จนั ดี ถนนจากตำ� บลละอายไปพปิ นู ถนนจากวดั สวนขนั ไปยงั สถานรี ถไฟคลองจนั ดี ถนนจากตำ� บลละอายไปนาแว ถนนระหวา่ งหมบู่ า้ นในตำ� บลละอาย สะพานขา้ มคลองคดุ ดว้ น เข้าวัดสวนขัน สะพานข้ามแม่น�้ำตาปีจากตลาดทานพอไปนาแว สะพานข้ามคลองเสหลา หน้าวัดมะปรางงาม สะพานข้ามคลองจนั ดี 188 แหนลกัวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา
3. ด้านความมีเมตตาและวาจาสทิ ธิ์ ศิษย์ยานุศิษย์และประชาชนท่ีเคารพนับถือ ศรัทธาพ่อท่านคล้ายได้เช่ือถือถึงความศักด์ิสิทธ์ิของ วาจา พูดอย่างไรเป็นอย่างน้ัน พ่อท่านคล้ายจะพูดจากับทุกคนด้วยใบหน้ายิ้มแย้มและแจ่มใสอารมณ์เยือกเย็นอยู่ ตลอดเวลา ท่านมักจะให้พรกับทุกคน “ขอให้เป็นสุข เป็นสุข” ผู้ท่ีเคารพนับถือท่านต่างพากันกลัวค�ำต�ำหนิ เพราะผู้ที่ถูกต�ำหนิทุกรายล้วนแต่พบความวิบัติ คนส่วนมากจึงหวังที่จะได้รับค�ำอวยพร เพราะค�ำเหล่านั้น เป็นการพยากรณ์ท่ีแม่นย�ำทั้งในทางดีและทางเส่ือมเสีย คนท่ีไปนมัสการหวังท่ีจะได้วัตถุมงคล บ้างขอน�้ำมนต์ ชานหมาก แหวน ผ้ายันต์ เหรียญ รปู หล่อ รปู พมิ พ์ ซึ่งพอ่ ทา่ นคล้ายก็ได้มีเมตตาใหก้ บั ทุกคน ยิ่งชานหมากของทา่ น หากใครได้รับจากมือทา่ นเปน็ ตอ้ งหวงแหนอย่างท่สี ุด 11. พระรตั นธชั มุนี (แบน ฤทธิโชติ) พระรัตนธัชมุนี มีนามเดิมว่า “แบน ฤทธิโชติ” เกิดเมื่อ วันที่ 2 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2427 ตรงกับวันจันทร์ ข้นึ 9 ค�่ำ เดือน 7 ปีวอก ที่บ้านดอนทะเล หมู่ที่ 2 ต.ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช บิดาชื่อ หม่ืน ทิพยจักษุ (ขาว ฤทธิโชติ) มารดาชื่อ นางเปิด ฤทธิโชติ (ธรรมิกกุล) มพี น่ี อ้ งรว่ มบดิ ามารดาเดยี วกนั 3 คน ขวี ติ ประถมวยั ไดเ้ รยี นหนงั สอื วดั ตอ่ มาได้ อุปสมบทและศึกษาพระธรรมวินัยจนสอบไล่ได้นักธรรมช้ันตรี สอบไล่ได้ เปรยี ญธรรม 3 ประโยค และเปรยี ญธรรม 4 ประโยค จงึ หยุดสอบ และได้ บ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา พระรัตนรัชมุนีเป็นนักปกครองที่ดี คอยดแู ลเอาใจใสต่ อ่ ความเปน็ อยขู่ องภกิ ษสุ ามเณรและศษิ ยอ์ ยตู่ ลอด ใชห้ ลกั เมตตาธรรม พระรตั นธชั มุนีไดม้ รณภาพด้วยโรคชรา เมื่อวนั ที่ 10 กุมภาพันธ์ พระรตั นธัชมนุ ี (แบน ฤทธโิ ชต)ิ พ.ศ. 2521 ตลอดชีวิตของท่านเป็นเวลายาวนานถึง 95 ปี พรรษา 75 ท่านได้ทุ่มเทใหก้ ับพระพทุ ธศาสนาสร้างสรรค์ “อมตสมบตั ”ิ นบั ได้ว่าเปน็ พระเถระท่ีน่าเลื่อมใสศรทั ธาและนา่ บูชา ยกย่องเป็นอย่างยงิ่ ผลงานหรือเกียรตคิ ณุ ท่ไี ดร้ บั 1. เปน็ ผชู้ ่วยเจา้ อาวาสวัดราชาธวิ าสวรวิหาร กรุงเทพมหานคร 2. เปน็ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพชิ ยั ญาติการาม กรงุ เทพมหานคร 3. เป็นเจ้าอาวาสวัดมเหยงคณ์ อ.เมือง จ.นครศรธี รรมราช 4. เป็นเจา้ อาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวหิ าร อ.เมือง จ.นครศรธี รรมราช 5. รกั ษาการในหนา้ ทเ่ี จา้ คณะจังหวัดนครศรธี รรมราช 6. เปน็ เจ้าคณะจงั หวัดนครศรีธรรมราช 7. เปน็ รองเจ้าคณะธรรมยุต ภาค 7-8-9 8. เป็นเจา้ คณะจังหวัดนครศรีธรรมราช ภูเกต็ พังงา กระบ่ี 9. เปน็ รองคณะ ภาค 16-17-18 หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 189
12. พระรตั นธชั มุนี (แบน คณฐุ าภรโณ) พระรัตนธัชมุนี (แบน คณุฐาภรโณ) อดีตเจ้าอาวาส วัดพระมหาธาตุวรวิหาร อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) นามเดมิ แบน ฤทธิโชติ เกดิ เมื่อวนั ท่ี 2 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2427 ท่บี า้ นดอนทะเล ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช บิดาชื่อหม่ืนทิพย์จักษุ (ขาว ฤทธิโชติ) มารดาช่ือ นางเป็ด ฤทธิโชติ (ธรรมิกกุล) มีพ่ีน้องร่วมบิดา มารดาเดียวกัน 3 คน เมื่ออายุครบ 20 ปี ได้บรรพชาอุปสมบทที่นทีสีมา (สมี านำ้� ) ในคลองปากพนู หนา้ วดั ทา่ มว่ ง หมทู่ ่ี 2 บา้ นดอนทะเล ตำ� บลปากพนู ได้รบั ขนานนามว่า “คณุฐาภรโณ” การศึกษา ชั้นประถมศึกษา ได้เข้าศกึ ษาอกั ษรสมัยภาษาไทย เรยี นหนงั สอื วดั จนจบช้นั ประถมเทยี บเทา่ ประถมปที ่ี 4 พระรตั นธัชมนุ ี (แบน คณฐุ าภรโณ) ปี พ.ศ. 2448 เม่ืออปุ สมบทแล้ว ไดเ้ ขา้ ศึกษาพระธรรมวินยั ในสำ� นกั พระรัตนรชั มุนี (ม่วง) ทว่ี ดั ท่าโพธิ์ พ.ศ. 2459 เข้าศกึ ษาอบรมในสำ� นกั สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระวชริ ญาณวโรรส วัดบวรนเิ วศวิหาร กรงุ เทพฯ สอบไดน้ กั ธรรมช้นั ตรีในปีเดียวกัน และสอบได้เปรยี ญ 3 ประโยค ในส�ำนกั เรียนวดั ราชาธิวาสวหิ าร ใน พ.ศ. 2456 ต่อมาใน พ.ศ. 2458 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ในส�ำนักเรียนเดิม และพระรัตนธัชมุนี (ม่วง) ได้หยุดสอบ เพราะถอื คตโิ บราณที่ว่าไม่ให้เหนอื อาจารย์ คอื พระรัตนธัชมนุ ี (ม่วง) ซ่ึงได้เปรยี ญธรรม 4 ประโยค ปี พ.ศ. 2447 ได้ เข้าเรียนหนังสือไทยแผนกวิชาครู ตามหลักสูตรของมหามกุฎราชวิทยาลัย ในสำ� นกั พระรตั นธชั มนุ ี (มว่ ง) ทวี่ ดั ทา่ โพธิ์ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช สำ� เรจ็ วชิ าหนงั สอื ไทย ชน้ั ฝกึ หดั ครมู ลู จากสำ� นักวัดทา่ โพธิ์ ในปี พ.ศ. 2448 ปี พ.ศ. 2521 พระรัตนธัชมนุ ไี ดม้ รณภาพด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 10 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2521 ตลอดชีวติ ของทา่ นเป็นเวลายาวนานถงึ 95 ปี พรรษา 75 ทา่ นได้ทุ่มเทให้กับพระพุทธศาสนา ผลงานและเกียรตคิ ณุ ทไี่ ดร้ ับ 1. ดา้ นส่งเสริมพระพทุ ธศาสนา 1. ตำ� แหน่งพระปลดั ฐานานกุ รมของพระอริยกวี (เซง่ ) วดั ราชาธวิ าสวิหาร กรงุ เทพ ในปี 2454 2. เป็นพระครปู ระสาทพุทธรูปวิตร ฐานานุกรมของสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระวชริ ญาณ วโรรส วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2457 3. พระครปู ลดั ศลี วฒั น์ ฐานานกุ รมของพระธรรมโกศาจารย์ (พระรตั นธชั มนุ ี มว่ ง) เจา้ คณะมณฑล นครศรธี รรมราชและปัตตานี ใน พ.ศ. 2463 4. พระครปู ลดั ศรธี รรมวฒั น์ ฐานานกุ รมของพระรตั นธชั มนุ ี (มว่ ง) เจา้ คณะมณฑลนครศรธี รรมราช และปัตตานี ใน พ.ศ. 2466 5. พระครูเหมเจติยานรุ กั ษ์ ตำ� แหน่งรองเจ้าคณะจงั หวดั นครศรีธรรมราช ใน พ.ศ. 2468 6. พระศรีธรรมประสาธน์ มหาธาตุเจติยานุรักษ์ สังฆปาโมกข์ ต�ำแหน่งพระราชาคณะช้ันราช ในนามเดมิ และใน พ.ศ. 2499 เปน็ พระราชาคณะชัน้ เทพในนามเดมิ 190 แหนลักวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 508
Pages: