Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน นครศรีธรรมราชศึกษา

เอกสารประกอบการเรียน นครศรีธรรมราชศึกษา

Published by dlit_sm037, 2021-11-17 08:37:02

Description: เอกสารประกอบการเรียน นครศรีธรรมราชศึกษา

Search

Read the Text Version

ศาสนาครสิ ต์ (Christianity) ศาสนาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนา เป็นศาสนาประเภท เอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสาร ในสารบบ (canonical gospel) และงานเขยี นพนั ธสัญญาใหมอ่ ่นื ๆ ผนู้ บั ถอื ศาสนาคริสตเ์ รียกว่าครสิ ต์ศาสนกิ ชนหรอื ครสิ ตชน พระเยซูเป็นชาวยิว คริสต์ศาสนาถือโดยสมมติว่าวันประสูติของพระองค์ คือวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1 (ซงึ่ ถอื เอาวนั ประสตู เิ ปน็ ปที ่ี 1 แหง่ ครสิ ตศ์ กั ราช ซงึ่ ตรงกบั พทุ ธศกั ราช 543) ครสิ ตศาสนาเกดิ ขน้ึ ประมาณ พ.ศ. 573 ในปาเลสไตน์ หรือประเทศอิสราเอลปัจจุบัน ผู้ให้ก�ำเนิดคือ พระเยซูคริสต์ เป็นบุตรของโจเซฟ ผู้มีอาชีพช่างไม้ เป็นเชื้อสายยวิ แหง่ นาซาเรธ และนางมาเรยี คริสตจักรในจังหวัดนครศรีธรรมราช คริสตจักรในจังหวัดนครศรีธรรมราช นิกายคาทอลิก ตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช และอำ� เภอรอ่ นพบิ ลู ย์ นกิ ายโปรเตสแตนต์ ตงั้ อยใู่ นอำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช อำ� เภอขนอม อำ� เภอเฉลมิ พระเกยี รติ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอช้างกลาง อ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอทุ่งสง อ�ำเภอทุ่งใหญ่ อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอบางขัน อ�ำเภอปากพนงั อ�ำเภอร่อนพบิ ลู ย์ อ�ำเภอลานสกา อำ� เภอสชิ ล และอำ� เภอหวั ไทร (ข้อมูล ปี 2559) โบสถ์คริสตจักรเบธเลเฮ็ม ศาสนาคริสต์เผยแพร่เข้ามาในนครศรีธรรมราชเม่ือกว่าร้อยปีล่วงมาแล้ว จากผู้ท่นี ับถือศรทั ธาเพียงไม่ก่คี น จนถงึ ปัจจุบัน มีศรสิ ตศ์ าสนกิ ชน ในนครศรีธรรมราชมากมาย จนโบสถห์ ลังเกา่ ท่ี สรา้ งหลงั เลก็ ๆ ไมเ่ พยี งพอในการประกอบศาสนพธิ จี นตอ้ งขยายมาเปน็ หลงั ใหญอ่ ยา่ งในปจั จบุ นั ครสิ ตจกั รเบธเลเฮม็ ตั้งอย่ทู ี่ 1307/51 ถนนราชด�ำเนนิ ต�ำบลคลงั อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทม่ี า: https://www.google.com/search?q คริสตจกั รเบธเลเฮม็ นครศรีธรรมราช หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 241

ความเชอื่ ทางศาสนาและพธิ กี รรมอื่น ๆ ศาลหลกั เมืองนครศรีธรรมราช ศาลหลกั เมืองนครศรธี รรมราช ต้งั อยใู่ นอ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดนครศรธี รรมราช สรา้ งขึน้ ในชว่ งราวปี 2530 ในยุคที่ นายเอนก สทิ ธปิ ระศาสน์ เปน็ ผู้ว่าราชการจงั หวัด ดว้ ยวตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ เป็นศูนยร์ วมจติ ใจของ “คนคอน” โดยมบี คุ คลสำ� คญั 2 คนทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสรา้ ง คอื พล.ต.ต.ขนุ พนั ธรกั ษ์ ราชเดช และ พล.ต.ท.สรรเพชญ ธรรมาธกิ ลุ อดีตผกู้ ำ� กบั การตำ� รวจภูธรจังหวดั นครศรีธรรมราช ทน่ี ีเ่ ปรียบเสมือนสิง่ ศักด์สิ ทิ ธค์ิ อยปกปอ้ งรักษาบา้ นเมอื งใหพ้ ้น จากภัยอันตรายต่าง ๆ โดยรับรู้ถึงความศักด์ิสิทธิ์ ของศาลหลักเมือง ผ่านองค์จตุคามรามเทพ เทวดารักษาเมือง ซง่ึ อย่บู นเสาสงู สุดของหลักเมือง มคี �ำบอกเล่าจากป่ยู า่ ตายายมาช้านานแลว้ วา่ ถา้ อยากท่ีจะเจรญิ กา้ วหนา้ ในหนา้ ที่ การงานกต็ อ้ งไปสกั การบูชาศาลหลกั เมอื ง ศาลเจ้า เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาวไทยเช้ือสายจีนที่ยังคงต้ังอยู่บนความเชื่อทางศาสนา และพิธีกรรม ความศรัทธานั้นยังคงพยายามรักษาให้คงอยู่ถึงปัจจุบัน โดยแสดงให้เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติตามธรรมเนียมจีน ผ่านพิธีกรรมต่าง ๆ ในช่วงเทศกาล เช่น เทศกาลวันตรุษจีน เป็นต้น ศาลเจ้าตั้งอยู่ในหลายอ�ำเภอของ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้แก่ 1. ศาลเจ้ากวนอู อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดนครศรีธรรมราช 2. ศาลเจา้ ถ่ามกุงหยา อ�ำเภอเมือง จงั หวัดนครศรีธรรมราช 3. ศาลพระเสอ้ื เมืองนครศรธี รรมราช 4. ศาลเจา้ นาจาซาไท้จอื้ อ�ำเภอปากพนงั จงั หวดั นครศรีธรรมราช 5. ศาลเจ้าฮกฮัว้ เกง็ หรอื ศาลแปะกง ตำ� บลนาบอน อ�ำเภอนาบอน จงั หวดั นครศรธี รรมราช 6. ศาลเจ้าพ่อมหาชัย ณ บรเิ วณเขามหาชัยและภเู ขาหลักไก่ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช 7. ศาลเจา้ ทวดทอง อำ� เภอเมอื ง จังหวัดนครศรธี รรมราช 8. ศาลเจา้ ทวดเหนอื อำ� เภอเมือง จังหวดั นครศรีธรรมราช 9. ศาลเจ้าเทพเจ้าพญาม้าขาว ต�ำบลปากพนู อำ� เภอเมอื ง จังหวดั นครศรธี รรมราช 10. ศาลเจ้าพระ 108-109 นอกไร่ ถนนสะพานยาว ตำ� บลโพธิเ์ สด็จ อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดนครศรีธรรมราช 11. ศาลเจา้ ฮกเกีย้ น อำ� เภอปากพนัง จงั หวดั นครศรีธรรมราช 12. ศาลเจา้ เตก็ กา่ จคี ุงเกาะ อ�ำเภอปากพนงั จังหวัดนครศรธี รรมราช 13. ศาลเจ้าพ่อตาปะขาว อำ� เภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช 14. ศาลเจ้าทวดโต๊ะด�ำนครศรีธรรมราช 15. ศาลเจา้ เเม่กวนอมิ จนั ดี ตำ� บลจนั ดี อำ� เภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช 16. ศาลเจ้าแม่กวนอิมทุ่งสง อำ� เภอทุ่งสง จงั หวดั นครศรีธรรมราช 242 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา

หน่วยท่ี 10 ประเพณี วัฒนธรรม มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วดั มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทยวฒั นธรรมภมู ปิ ัญญาไทยมคี วามรกั ความภูมิใจและธ�ำรง ความเป็นไทย ตัวชวี้ ัด ป. 2/2 ยกตัวอย่างวัฒนธรรมประเพณแี ละภูมปิ ัญญาไทยที่ภาคภูมใิ จและควรอนุรักษไ์ ว้ ป. 3/2 ยกตัวอย่างวัฒนธรรมประเพณีและภูมปิ ัญญาไทยที่ภาคภูมใิ จและควรอนุรกั ษไ์ ว้ ป. 3/3 เปรียบเทียบความเหมือนและความตา่ งทางวฒั นธรรมของชมุ ชนตนเองกบั ชุมชนอน่ื มาตรฐาน ส 2.1 รแู้ ละปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ทข่ี องการเปน็ พลเมอื งดมี คี า่ นยิ มทดี่ งี ามและธำ� รงรกั ษาประเพณี และวฒั นธรรมไทยด�ำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกนั ในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันตสิ ขุ ตวั ชวี้ ดั ป. 3/1 สรุปประโยชนแ์ ละปฏบิ ตั ติ นตามประเพณแี ละวฒั นธรรมในครอบครัวและทอ้ งถ่ิน ป. 4/4 อธบิ ายความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมของกลมุ่ คนในทอ้ งถน่ิ ป. 5/3 เหน็ คุณคา่ วฒั นธรรมไทยทม่ี ผี ลตอ่ การด�ำเนนิ ชวี ิตในสังคมไทย ป. 6/2 วเิ คราะห์การเปลยี่ นแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลา ธ�ำรงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม ม. 1/3 อภิปรายเก่ียวกับคณุ คา่ ทางวัฒนธรรมทเ่ี ป็นปจั จยั ในการสร้างความสัมพันธท์ ด่ี ีหรอื น�ำไปสู่ ความเขา้ ใจผดิ กนั ม. 2/4 อธิบายความคล้ายคลงึ และความแตกตา่ งของวฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ ในภมู ิภาคเอเชยี เพือ่ นำ� ไปสคู่ วามเขา้ ใจอันดรี ะหว่างกนั ม. 3/3 อนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรบั วัฒนธรรมสากลท่เี หมาะสม หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 243

สาระส�ำคญั ประเพณีเป็นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์และมีความส�ำคัญต่อสังคม เช่น การแตง่ กาย ภาษา ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คณุ ธรรม ความเช่ือ ฯลฯ อนั เป็นบอ่ เกิดของวฒั นธรรมของสังคม เช้ือชาติต่าง ๆ กลายเป็นประเพณีประจ�ำชาติและถ่ายทอดกันมาโดยล�ำดับ ประเพณีและวัฒนธรรมของท้องถิ่น จึงมีความจ�ำเป็นที่บุคคลในท้องถิ่นต้องเรียนรู้ สืบทอด ธ�ำรงรักษาไว้ และภาคภูมิใจต่อประเพณีและวัฒนธรรม ท้องถ่ินทีด่ ีงาม สาระการเรียนรู้ 1. ประเพณที อ้ งถ่นิ นครศรีธรรมราช 1.1 ประเพณีสารทเดอื นสิบ 1.2 ประเพณแี ห่ผ้าขนึ้ ธาตุ 1.3 ประเพณใี หท้ านไฟ 1.4 ประเพณกี วนข้าวยาคู 1.5 ประเพณีลากพระ 1.6 ประเพณอี าบน้ำ� คนแก่ 1.7 ประเพณตี กั บาตรธปู เทียน 1.8 ประเพณีสวดด้าน 1.9 ประเพณีแห่นางดาน 2. เอกลกั ษณ์ทางวัฒนธรรมจังหวดั นครศรีธรรมราช 2.1 เอกลกั ษณด์ า้ นภาษาและวรรณกรรม 2.2 เอกลกั ษณด์ า้ นหตั ถกรรม 2.3 เอกลักษณ์ด้านศิลปกรรม 2.4 เอกลักษณ์ดา้ นอาหารการกิน กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. สนทนาเก่ียวกับประเพณี วัฒนาธรรมท้องถิ่นนครศรีธรรมราช ท่ีรู้จักหรือประเพณี วัฒนธรรมอ่ืน ๆ ทเี่ คยรว่ ม 2. ศกึ ษาใบความรู้ ใบงาน ในรูป Power point หรอื เอกสาร 3. ร่วมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ สนทนา วเิ คราะห์ และอภิปราย เกี่ยวกับประเพณี วฒั นธรรม ตามทไี่ ดศ้ ึกษา จากใบความรู้ ใบงาน 4. ร่วมกนั สรุปผลจากกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามใบความรู้ ใบงาน 3. น�ำเสนอผลการเรยี นรเู้ ปน็ รายบุคคล/รายกล่มุ ในรูปผลงานหรอื ช้นิ งาน 244 แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

การวดั และประเมนิ ผล รายการ วธิ ีการ เคร่ืองมอื 1. การประเมนิ กอ่ นเรยี น ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบประเมนิ กอ่ นเรยี น 2. การประเมนิ ระหวา่ งการจดั กจิ กรรม 1) ตรวจใบงาน 1) ใบงาน การเรียนรู้ 2) สงั เกตพฤตกิ รรม 2) แบบสังเกตการทำ� งาน การทำ� งานรายบคุ คล/รายกลุ่ม รายบุคคล/รายกลุม่ 3) สงั เกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 3) แบบสงั เกตคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ 3. การประเมนิ หลังเรยี น 1. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน 1. แบบประเมนิ หลงั เรยี น 2. ตรวจผลงาน/ชิน้ งาน 2. แบบประเมินผลงาน/ชนิ้ งาน หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 245

หน่วยที่ 10 ประเพณี วัฒนธรรม ประเพณที ้องถิ่นนครศรธี รรมราช ประเพณีทเ่ี กีย่ วเนอื่ งกบั ความกตัญญกู ตเวที ความกตัญญูกตเวที คือ ความรู้บุญคุณท่านแล้วตอบแทนให้ปรากฏ เป็นรูปธรรมประคองให้โลกให้อยู่ได้ ด้วยความสงบสุข คนเรามีชีวิตอยู่ได้เพราะบิดามารดาและบรรพบุรุษ การระลึกถึงบุญคุณคือการตอบแทนบุญคุณ บรรพบรุ ุษ ความกตัญญูกตเวทีเปน็ สิง่ ที่มคี ณุ ค่า มคี วามสำ� คัญต่อครอบครวั และชุมชน เปน็ สง่ิ ทคี่ วรปลกู ฝงั ใหอ้ ยู่ใน จิตใจของลูกหลาน ด้วยการช่วยกันเสริมสร้างให้มีการท�ำกิจกรรมรวมญาติที่อยู่ห่างไกลให้ได้มาพบปะกัน ขนบธรรมเนยี มประเพณที ด่ี งี ามของคนไทยลว้ นแตม่ คี วามกตญั ญกู ตเวทเี ปน็ หลกั อนั สำ� คญั ประเพณที เี่ กยี่ วเนอ่ื งกบั ความกตัญญกู ตเวทีของทอ้ งถ่ินนครศรีธรรมราชท่สี �ำคัญ คอื ประเพณสี ารทเดือนสบิ และประเพณีอาบน�ำ้ คนแก่ ประเพณีสารทเดอื นสิบ สารทเดือนสิบ หรือท่ีชาวนครศรีธรรมราชเรียกกันว่าประเพณีท�ำบุญเดือนสิบ เป็นประเพณีท�ำบุญกลาง เดือนสิบ เพื่อน�ำเครื่องอุปโภคและเครื่องบริโภครวมท้ังขนมส�ำคัญห้าอย่างไปถวายพระ แล้วอุทิศส่วนกุศลแด่ บรรพบรุ ุษของตน ชาวเมืองน้ไี ม่ว่าจะไปอยไู่ กลเพียงใด เม่ือถงึ ช่วงทำ� บุญเดือนสิบ ก็จะกลับภมู ลิ �ำเนามาร่วมท�ำบญุ ดว้ ยความสำ� นึกกตัญญูท่ีฝงั แนน่ อยใู่ นจติ ใจมาแต่เยาวว์ ัย ประวตั ิความเป็นมา ประเพณีสารทเดือนสิบวิวัฒนาการมาจากประเพณีเปรตพลีของพราหมณ์ ซ่ึงลูกหลานจัดข้ึน เพื่อท�ำบุญ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กผ่ ทู้ ลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ ตอ่ มาพวกพราหมณจ์ ำ� นวนมากไดห้ นั มานบั ถอื พระพทุ ธศาสนาและยงั ถอื ปฏบิ ตั ิ ในประเพณดี งั กลา่ วอยู่ พระพทุ ธองคเ์ หน็ วา่ ประเพณนี มี้ คี ณุ คา่ เปน็ การแสดงออกซง่ึ ความกตญั ญกู ตเวทตี อ่ บรรพบรุ ษุ น�ำความสุขใจให้ผู้ปฏิบัติ จึงอนุญาตให้อุบาสกอุบาสิกาประกอบพิธีนี้ต่อไปได้ ประเพณีสารทเดือนสิบมีมาตั้งแต่ พุทธกาล คาดว่าเม่ือพระพุทธศาสนาเผยแผ่เขา้ มาในนครศรีธรรมราช จงึ รบั ประเพณีมาดว้ ย 246 แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

ความเชอ่ื ความเชอ่ื ของพทุ ธศาสนกิ ชนชาวนครศรีธรรมราชเช่อื ว่าบรรพบุรุษอนั ไดแ้ ก่ ปยู่ า่ ตายาย และญาติพี่นอ้ งท่ี ลว่ งลบั ไปแลว้ หากทำ� ความดไี วเ้ มอ่ื ครงั้ ทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ จะไดไ้ ปเกดิ ในสรวงสวรรค์ แตห่ ากทำ� ความชว่ั จะตกนรกกลาย เป็นเปรต ตอ้ งทนทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศยั ผลบญุ ท่ีลูกหลานอทุ ิศส่วนกุศลให้ ในแต่ละปมี ายังชพี ดังนั้น ในวนั แรม 1 ค�่ำเดือนสิบ คนบาปทั้งหลายที่เรียกว่าเปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์ เพ่ือมาขอส่วนบุญจากลูก หลานญาติพ่ีน้องและจะกลับไปนรกในวนั แรม 15 ค่ำ� เดือนสบิ โอกาสน้ีลูกหลานและผู้ท่ียังมีชีวิตอยู่จึงน�ำอาหารไปท�ำบุญท่ีวัด เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เปน็ การแสดงความกตัญญกู ตเวที ระยะเวลา ระยะเวลาของการประกอบพธิ ีประเพณีสารทเดือนสิบ มขี ึ้นในวันแรม 1 ค�ำ่ ถึงแรม 15 ค�่ำ เดือนสบิ แตว่ ัน ท่ชี าวนครศรธี รรมราชนยิ มทำ� บุญ คือ วนั แรม 13 ถึงวนั แรม 15 คำ่� พิธกี รรม การปฏบิ ัติพธิ ีกรรมการท�ำบญุ สารทเดือนสบิ มีสามขน้ั ตอน คอื 1. การจดั หมฺรับและการยกหมรฺ บั การจดั เตรียมส่ิงของท่ีใชจ้ ดั หฺมฺรับ เริ่มขน้ึ ในวนั แรม 13 คำ่� วันนี้เรียกกนั วา่ “วันจา่ ย” ตลาดต่าง ๆ จงึ คกึ คกั และคลาคลำ่� ไปดว้ ยฝงู ชนชาวบา้ นจะซอื้ อาหารแหง้ พชื ผกั ทเ่ี กบ็ ไวไ้ ดน้ าน ขา้ วของเครอ่ื งใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั และขนมที่เป็นสัญลักษณ์ของสารทเดือนสิบ จัดเตรียมไว้ส�ำหรับใส่หฺมฺรับ และส�ำหรับน�ำไปมอบให้ผู้ใหญ่ท่ีเคารพ นบั ถอื 1.1 การจัดหฺมรฺ บั การจดั หฺมรฺ ับมกั จะจดั เฉพาะครอบครัวหรอื จดั รวมกนั ในหมญู่ าติ และจัดเปน็ กล่มุ ภาชนะทใี่ ชจ้ ดั หมฺ รฺ บั นยิ มใชก้ ระบงุ หรอื เขง่ สานดว้ ยตอกไมไ้ ผ่ ขนาดเลก็ หรอื ใหญข่ น้ึ อยกู่ บั ความประสงคข์ องเจา้ ของหมฺ รฺ บั ปจั จบุ นั ใช้ภาชนะหลายชนดิ เช่น ถาด กระเชอ กาละมัง ถัง หรือภาชนะท่ปี ระดษิ ฐ์ข้ึนมาเป็นกรณีพเิ ศษ การจดั หฺมฺรับ คอื การบรรจุประดบั ดว้ ยส่ิงของ อาหาร ขนมเดอื นสิบ ลงภายในภาชนะท่เี ตรียมไว้ สำ� หรบั งานน้ีโดยเฉพาะ โดยจัดเป็นชนั้ ๆ ดังนี้ 1) ชน้ั ล่างสดุ จดั บรรจปุ ระเภทอาหารแห้ง ลงไวท้ ่ีก้นภาชนะ ได้แก่ ข้าวสาร แลว้ ใสพ่ ริก เกลอื หอม กระเทียม กะปิ น้�ำปลา น้ำ� ตาล มะขามเปียก รวมทง้ั บรรดาปลาเคม็ เนอ้ื เคม็ หมเู ค็ม ก้งุ แห้ง เคร่อื งปรุงอาหาร ทีจ่ ำ� เป็น 2) ชัน้ ที่สอง จัดบรรจุอาหารประเภทพืชผักที่เก็บไว้ไดน้ าน ใสข่ ึน้ มาจากช้ันแรก ได้แก่ มะพรา้ ว ขี้พร้า หวั มันทกุ ชนิด กลว้ ยแก่ ขา้ วโพด ออ้ ย ตะไคร้ ลูกเนยี ง สะตอ รวมทัง้ พืชผักอ่นื ท่มี ีในเวลาน้นั หลักสูตแรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 247

3) ช้ันท่ีสาม จัดบรรจุสิ่งของประเภทของใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ได้แก่ น�้ำมันพืช น้�ำมันมะพร้าว น�้ำมนั ก๊าด ไต้ ไม้ขดี ไฟ หม้อ กระทะ ถ้วยชาม เขม็ ดา้ ย หมาก พลู กานพลู การบรู พมิ เสน สเี สียด ปนู ยาเสน้ บุหร่ี ยาสามญั ประจ�ำบ้าน ธปู เทยี น 4) ชั้นบนสุด ใช้บรรจุและประดับประดาด้วยขนมอันเป็นเอกลักษณ์ของสารทเดือนสิบ เป็นสง่ิ ส�ำคญั ของหมฺ รฺ บั ไดแ้ ก่ ขนมพอง ขนมลา ขนมกง (ขนมไข่ปลา) ขนมบ้า ขนมดีซำ� ขนมเหล่าน้ีมคี วามหมาย ในการทำ� บญุ เดอื นสิบ ซึง่ จะขาดมไิ ดเ้ พ่ือใหบ้ รรพบรุ ุษและญาติท่ีลว่ งลบั ได้นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ การจัดหฺมรฺ ับ ขนมลา เปรียบเสมอื นเสอ้ื ผา้ แพรพรรณท่บี รรพบรุ ุษ จะใชเ้ ปน็ เครือ่ งนุ่งห่ม ขนมพอง เปรยี บเสมือนแพอันเป็นพาหนะใหบ้ รรพบรุ ุษใช้ ขนมกง (หรอื ขนมไขป่ ลา) เปรยี บเสมือนเครอ่ื งประดบั ให้ ข้ามห้วงมหรรณพ บรรพบุรุษได้ใชป้ ระดบั รา่ งกาย ขนมบา้ เปรียบเสมือนสะบ้า ส�ำหรับให้บรรพบุรษุ ขนมดีซ�ำ เปรียบเสมอื นเงนิ ตราเพอื่ ใหบ้ รรพบุรุษ ไวเ้ ลน่ สะบ้าวนั ตรุษสงกรานต์ ไดม้ ีไวใ้ ชส้ อย 248 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

1.2 การยกหมฺ ฺรบั วันแรม 14 ค�่ำ ชาวบ้านจะนำ� หมฺ ฺรบั ท่ีจดั เตรียมไว้ ไปทำ� บุญอุทิศสว่ นกศุ ลที่วดั โดยเลือกทีอ่ ย่ใู กล้ บ้านหรือวดั ทีบ่ รรพบรุ ุษนิยม วันนเี้ รียกวา่ “วนั ยกหฺมรฺ บั ” การยกหมฺ ฺรบั ไปวดั จะจดั เปน็ ขบวนหรอื ไม่มขี บวนแห่ก็ได้ โดยน�ำหมรฺ บั และภตั ตาหารไปถวายพระ 2. การฉลองหฺมรฺ บั และบงั สุกุล วนั แรม 15 คำ่� ซง่ึ เปน็ วนั สารทเรยี กวา่ “วนั หลองหมฺ รฺ บั ” มกี ารทำ� บญุ เลยี้ งพระและบงั สกุ ลุ การทำ� บญุ วันนี้เป็นการส่งบรรพบุรุษและญาติพ่ีน้องให้กลับไปยังเมืองนรก นับเป็นวันสำ� คัญย่ิงวันหนึ่ง ซึ่งเช่ือกันว่าหากไม่ได้ กระท�ำพิธีกรรมในวันนี้ บรรพบุรุษ ญาติพ่ีน้องท่ีล่วงลับไปแล้วจะไม่ได้รับส่วนกุศล ท�ำให้เกิดทุกขเวทนาด้วย ความอดยากลูกหลานที่ยังมชี วี ติ อยกู่ จ็ ะกลายเปน็ คนอกตญั ญูไป 3. การตง้ั เปรตและชงิ เปรต เสร็จจากการฉลองหฺมฺรับและถวายภัตตาหารแล้วก็นิยมน�ำขนมอีกส่วนหนึ่งน�ำไปวางไว้ตามบริเวณ ลานวัด โคนไม้ใหญ่ หรือก�ำแพงวัด เรียกว่า “ตั้งเปรต” เป็นการแผ่ส่วนกุศลให้เป็นสาธารณทานแก่ผู้ล่วงลับที่ ไมม่ ญี าตหิ รอื ญาติไมไ่ ด้มาทำ� บุญให้ บางวัดนยิ มสรา้ งรา้ นขึ้นเพอื่ สะดวกแก่ตงั้ เปรต เรียกวา่ “หลาเปรต” (ศาลาเปรต) เมือ่ ตง้ั ขนม ผลไม้ และเงนิ ทำ� บญุ เสรจ็ แลว้ กจ็ ะนำ� สายสญิ จนท์ ไ่ี ดบ้ งั สกุ ลุ มาผกู เพอื่ แผส่ ว่ นกศุ ลดว้ ย เมอื่ เสรจ็ พธิ สี งฆ์ กจ็ ะเกบ็ สายสญิ จน์ การชิงเปรตจะเรมิ่ หลังจากตง้ั เปรตเสรจ็ แลว้ ชว่ งน้เี ป็นช่วงท่ีเรียกว่า “ชงิ เปรต” ท้ังผ้ใู หญ่ละเด็กจะวิ่ง กนั เขา้ ไปแยง่ ขนมกันอย่างคกึ คกั เพราะความเชือ่ วา่ ของท่เี หลอื จากการเซน่ ไหว้จากบรรพบรุ ษุ ถา้ ใครไดไ้ ปกนิ จะได้ กศุ ลแรง เปน็ สริ มิ งคลแก่ตนเองและครอบครัว วัดบางแหง่ สรา้ งหลาเปรตไว้สูง โดยมีเสาเพยี งเสาเดยี ว เสานเ้ี กลาจนล่ืนชโลมดว้ ยน้�ำมัน เม่ือถงึ เวลา ชงิ เปรต เดก็ ๆ แยง่ กนั ปนี ขนึ้ ไป หลายคนตกลงมาเพราะเสาลนื่ และอาจถกู คนอน่ื ดงึ ขาพลดั ตกลงมา กวา่ จะมผี ชู้ นะ การปนี ไปถงึ หลาเปรต ก็ตอ้ งใช้ความพยายามอยา่ งมาก จงึ มีท้งั ความสนกุ สนาน และความต่นื เตน้ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 249

ประเพณีอาบนำ�้ คนแก่ คนแก่ ผู้อาวุโสของตระกูล คนในตระกูลจะเป็น ผกู้ ำ� หนดวา่ สมาชกิ คนไหนเปน็ คนแกข่ องตระกลู แตล่ ะตระกลู อาจจะมหี ลายคนแกห่ ลายคนกไ็ ด้ อาบน�้ำคนแก่เป็นวิธีการแสดงออกซ่ึงความเคารพ นับถือ แก่บิดามารดา ญาติคนแก่ของตระกูล รวมทั้ง ผ้มู ีพระคุณและบคุ คลท่ตี นเคารพนับถือ อาบนำ�้ คนแก่ ประวัติความเปน็ มา อาบน้�ำคนแก่เป็นประเพณีเก่ียวเนื่องมาจากประเพณีสงกรานต์ชาวนครศรีธรรมราชเชื่อกันว่า ในวนั ที่ 14 เมษายน เทวดาทเ่ี ฝา้ รักษาเมอื งท้ังหลายจะพากันขน้ึ ไปเมอื งสวรรคก์ ันหมด ทง้ั เมอื งจงึ ปราศจากเทวดา วนั นจี้ งึ เรยี กวา่ “วนั วา่ ง” คอื เปน็ วนั ทที่ กุ สง่ิ ทกุ อยา่ งวา่ ง ชาวบา้ นจะหยดุ ทำ� กจิ การทกุ อยา่ ง เกบ็ สง่ิ ของเครอ่ื งใชต้ า่ ง ๆ หมด ครกและสากตำ� ข้าวก็จะแซ่เอาไวส้ ามวนั ในวนั วา่ ง ชาวบ้านจะนำ� ภัตตาหารและเครือ่ งนมสั การตา่ ง ๆ ไปทำ� บญุ ทว่ี ัดใกลบ้ า้ น เสรจ็ แล้วจึงสักการะ และสรงน้�ำพระพุทธสิหิงค์ที่สนามหน้าเมือง และนิยมรองรับน้�ำจากการสรงน�้ำพระพุทธสิหิงค์ ท่ีวัดเพื่อน�ำไปไว้ใน งานมงคลท่บี า้ นของตนอกี ดว้ ย เมอ่ื สรงน้ำ� พระพุทธสิหิงคเ์ สร็จแลว้ ชาวนครศรธี รรมราชจะนำ� อาหาร เคร่ืองนงุ่ ห่ม เคร่อื งใชไ้ ปให้ญาติคนแกท่ ี่เคารพนบั ถอื แลว้ ขออาบนำ้� ใหท้ ่านดว้ ย เพอื่ ความเปน็ สิรมิ งคลแกต่ นเองและครอบครัว ระยะเวลา ประเพณอี าบนำ�้ คนแก่ อยใู่ นชว่ งระยะเวลาของวนั ท่ี 13 วนั ท่ี 14 และวนั ท่ี 15 เดอื นหา้ (เมษายน) ของทกุ ปี ซึ่งจะเลือกเอาวันไหนก็ได้ เวลาท�ำพิธีกรรมจะเป็นตอนเช้าหรือตอนบ่ายตามการนัดหมายของแต่ละครอบครัว แต่ละหมูบ่ ้าน โดยนดั หมายสถานที่ และวนั เวลาไว้ล่วงหนา้ เปน็ ประจ�ำทกุ ปี เพือ่ ให้ลกู หลานได้มีเวลาเตรียมการ สถานทป่ี ระกอบพิธี สถานท่ีอาบน้�ำคนแก่ อาจเป็นที่บ้านหรือวัดแห่งใดแห่งหนึ่งตามความเหมาะสม โดยอาจใช้บ้านเป็น สถานท่ีท�ำพิธีอาบน้�ำคนแก่ในกรณีท่ีเจ้าของบ้านเป็นคนในตระกูลใหญ่ที่มีลูกหลานมาก บางบ้านจัดรวมกลุ่มที่เป็น เครือญาติมาอาบน�้ำด้วยกัน แต่ในกรณีท่ีเป็นการท�ำพิธีอาบน�้ำคนแก่รวมกันท้ังหมู่บ้าน ลูกหลานจะน�ำคนแก่ของ ตระกูลมารวมกนั ทวี่ ดั เพือ่ จดั พิธีอาบน้�ำคนแก่พรอ้ มกนั จึงใชว้ ัดเป็นสถานที่ทำ� พิธี การเตรยี มการ 1. การเตรียมนำ�้ สำ� หรบั พธิ ี เตรียมโอง่ ใบใหญท่ ี่สามารถบรรจุน้�ำได้เพยี งพอกบั จ�ำนวนของสมาชิกท่ีมาร่วมพิธี ตกั น้ำ� สะอาดใส่โอ่ง แล้วจึงเอาน�้ำพระพุทธมนต์หรือจากน้�ำสรงพระพุทธสิหิงค์ ผสมลงไปในน�้ำสะอาดท่ีเตรียมไว้ เติมเคร่ืองหอมนานา ชนิด เช่น น้�ำอบไทย นำ้� ขมนิ้ ผกั สม้ ปอ่ ยเผาไฟ เพอ่ื ทำ� ให้ไดน้ ้ำ� ทีม่ ีกลิน่ หอมชนื่ ใจ 2. การเตรยี มเครื่องนงุ่ ห่มและเครอื่ งใช้ เคร่ืองนงุ่ ห่ม ไดแ้ ก่ เสื้อผู้หญงิ และผา้ ถงุ ส�ำหรับคนแกผ่ ู้หญิง กางเกงหรือผา้ ถงุ ชายส�ำหรบั คนแก่ผูช้ าย โดยลูกหลานจะเตรียมไว้ใหค้ นแก่ในตระกลู ไดม้ เี ส้อื ผ้าชดุ ใหม่ผลัดเปลีย่ นหลงั จากท�ำพธิ อี าบน้ำ� เสรจ็ แล้ว 250 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา

เครื่องใช้ท่ีชาวบ้านเตรียมไปให้กับคนแก่ที่ตนเคารพนับถือในพิธีอาบน้�ำ ได้แก่ ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว ผ้าซักอาบ (ผา้ ขาวม้า) นอกจากเครื่องนุ่งห่มและเคร่ืองใช้แล้ว ลูกหลานจะเตรียมเงินไปให้ญาติผู้ใหญ่และคนแก่ท่ีคนเคารพ นับถือเอาไวส้ �ำหรับท�ำบุญและใช้สอยตามตอ้ งการ 3. การเตรยี มทน่ี ่งั อาบน้�ำ ประเพณีอาบน�้ำคนแกท่ ปี่ ระกอบเปน็ พธิ ใี หญ่ นยิ มสรา้ งโรงเบญจา ซง่ึ ประดบั ประดาดว้ ยกาบกลว้ ยที่ แกะสลกั เปน็ ลวดลายอนั วจิ ติ ร จากนน้ั จะเชญิ คนแกท่ แ่ี กท่ สี่ ดุ ขน้ึ นง่ั บนแทน่ ในโรงเบญจาเพอื่ ประกอบพธิ อี าบนำ้� ซงึ่ เรยี กวา่ การข้นึ เบญจา พออาบน้�ำเสร็จ ก็ให้คนแก่ท่ีแก่รองลงมาขนึ้ นง่ั ตามล�ำดับ ปัจจุบันใช้เก้าอี้น่ังอาบโดยใช้ชนิดซ่ึงน่ังอาบได้คนเดียว หรือชนิดม้าน่ังยาวซึ่งนั่งได้หลายคนก็ได้ โดย นั่งเรียงกนั เป็นแถว พิธกี รรม 1. การขอขมา เมอ่ื เชิญใหค้ นแก่ทั้งหลายนัง่ ในโรงพิธีเรยี บร้อยแลว้ ลูกหลานและชาวบ้านท่มี าร่วมพิธี จะรวมกลมุ่ ยืน อยู่ดา้ นหน้าของบรรดาคนแก่ ผู้นำ� ในพิธนี ำ� ดอกไม้และจุดธปู เทียน พนมมือ แล้วกลา่ วขอขมา ทุกคนว่าตามดงั น้ี “กายกรรมสาม วจีกรรมส่ี มโนกรรมสาม หากข้าพเจ้าทั้งหลาย เกดิ ประมาทพลาดพลัง้ แก่ทา่ น ดว้ ย กายกด็ ี ดว้ ยวาจากด็ ี ด้วยใจก็ดี ตอ่ หนา้ กด็ ี ลับหลังกด็ ี เจตนาก็ดี ไมเ่ จตนาก็ดี ขอใหท้ ่านอโหสิกรรมใหแ้ กข่ า้ พเจา้ ดว้ ยเถดิ และขอไดโ้ ปรดอำ� นวยพรใหข้ า้ พเจ้าท้งั หลายมคี วามสขุ ความเจรญิ ตลอดไป และขอต้ังจติ อธฐิ านขอใหท้ ่าน เจรญิ ด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดไป” คำ� กลา่ วในการขอขมาคนแกเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความประพฤตไิ มด่ ขี องบคุ คลซงึ่ แสดงออกไดส้ ามทาง คอื ทาง กาย วาจา และใจ โดยทางกายหรือกายกรรม มสี ามประการคอื การลว่ งละเมิดทีเ่ ก่ยี วกับชวี ติ ทรพั ยส์ นิ และของรัก ของผูอ้ ื่น โดยทางวาจาหรอื วจีกรรม มสี ่ีประการคอื พดู โกหก พูดนินทาว่าร้าย พดู คำ� หยาบ และพดู เพอ้ เจอ้ โดยทาง ใจหรอื มโนกรรม มสี ามประการคอื ความอยากไดข้ องผอู้ นื่ ความพยาบาทคดิ รา้ ย และความคดิ ไมถ่ กู ตอ้ งตามทำ� นอง คลองธรรม 2. พิธกี ารอาบน้�ำ การอาบน้�ำเป็นการตักน้�ำมารดอาบให้คนแก่จนเปียกโชกท้ังตัว ปัจจุบันบางหมู่บ้านได้ปรับเปล่ียนวิธี การอาบน้ำ� มารดนำ้� ท่ีมือท้งั สองของคนแกแ่ ทน ดว้ ยเหตผุ ลคอื คนแกท่ ม่ี ลี กู หลานและผทู้ ี่เคารพนับถอื มาก พธิ กี าร อาบนำ้� ตอ้ งใช้เวลานานจงึ แลว้ เสรจ็ ทำ� ให้คนแก่ทม่ี อี ายุมาก เกิดอาการรสู้ กึ เย็นหนาวสะทา้ น อนั เป็นเหตใุ ห้เจ็บป่วย เปน็ ไข้ได้ ลกู หลานจะเขา้ แถวตกั น�้ำทีเ่ ตรยี มไว้ในโอง่ มารดทมี่ อื หรอื ท่ีตัวคนแก่ และมอบเครอื่ งนุง่ หม่ เคร่ืองใช้ ให้คนแก่ พร้อมกบั ขอพรคนแกก่ จ็ ะให้พรลูกหลานที่มาประกอบพิธแี ละอาบน้�ำไปตามลำ� ดบั จนครบทกุ คน เมอ่ื เสรจ็ พธิ ี ลกู หลานจะนำ� เสอื้ ผา้ ชดุ ใหมม่ าผลดั เปลยี่ นใหค้ นแก่ ทาแปง้ หวผี ม แตง่ ตวั ให้ เปน็ อนั เสรจ็ พธิ ีการอาบน้ำ� หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 251

ประเพณีทเ่ี ก่ียวเนื่องกบั ความสามคั คี ความสามัคคีกลมเกลียวและความพร้อมเพรียงกนั เป็นพ้นื ฐานที่ส�ำคัญยง่ิ ในการอยูร่ ว่ มกนั ประเทศชาตจิ ะ มน่ั คงได้ดว้ ยบคุ คลในสงั คมนน้ั ตอ้ งรักใคร่ปรองดองกนั สงเคราะหช์ ว่ ยเหลอื กัน ประพฤตติ นใหเ้ กดิ ประโยชนเ์ กือ้ กูล แก่กัน แก่หมู่คณะและชุมชนโดยส่วนรวม ประเพณีส�ำคัญของนครศรีธรรมราชที่เกี่ยวเนื่องกับความสามัคคี คือ ประเพณใี ห้ทานไฟ ประเพณีกวนข้าวยาคู และประเพณีลากพระ ประเพณใี ห้ทานไฟ การให้ทานไฟเป็นการท�ำบุญด้วยไฟ เพื่อให้ความอบอุ่นแก่พระภิกษุสงฆ์ในตอนเช้ามืดของวันที่ท่ีอากาศ หนาวเยน็ ใช้ลานวดั เป็นที่ก่อกองไฟและทำ� ขนมถวายพระ ประวตั คิ วามเปน็ มา นครศรธี รรมราชตง้ั อยตู่ ดิ ชายฝง่ั ทะเล ลกั ษณะภมู อิ ากาศเปน็ แบบรอ้ นชนื้ ในหนา้ หนาวกไ็ มห่ นาวจดั เพยี ง แต่คนรู้สึกว่าอากาศเย็นลงกว่าปกติ เนื่องจากไม่เคยชินกับอากาศท่ีหนาวเย็นลงตอนย่�ำรุ่งเช้ามืด จึงลุกข้ึนมา ก่อไฟผิงเพ่ือสร้างความอบอุ่น ประกอบกับชาวนครศรีธรรมราชยึดม่ันในพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนจึงพากัน ไปกอ่ กองไฟในวัดใกล้บา้ น แลว้ นมิ นตพ์ ระภกิ ษุสงฆม์ าผิงไฟรบั ความอบอุน่ ดว้ ย ต�ำนานการให้ทานไฟ กลา่ วถงึ ในขทุ ทกนกิ ายชาดก เรอื่ งความตระหนข่ี องโกลิยะเศรษฐี ซึง่ อาศัยอยบู่ ้าน ใหญ่สูงเจ็ดชั้นมฐี านะรำ�่ รวย วนั หน่งึ โกลยิ ะเศรษฐไี ปเทีย่ วท่ีกรงุ ราชคฤห์ เหน็ คนน่งั กนิ ขนมเบือ้ งท่ีแผงลอยขายขนม ก็อยากกินบ้าง แต่เสียดายเงินจึงไม่ยอมซ้ือกิน กลับมาถึงบ้านความอยากกินขนมมีมาก ท�ำให้จิตใจหดหู่ มีอาการ ซมึ เซาผดิ ปกติ ภรรยาสอบถามจงึ รเู้ รอ่ื งและรบั อาสาทำ� ขนมเบอ้ื งให้ แตโ่ กลยิ ะเศรษฐกี ย็ งั ขเ้ี หนยี ว ไมอ่ ยากใหล้ กู เมยี กินด้วย ภรรยาจึงให้สัญญาว่าตนจะไม่กินขนมเป็นอันขาด และจะขึ้นไปท�ำขนมเบ้ืองที่ช้ันเจ็ดไม่ให้ใครรู้เห็น ให้ได้ กนิ คนเดียว โกลิยะเศรษฐจี ึงตกลง ขณะท่ีสองสามีภรรยาก�ำลังท�ำขนมเบ้ือง พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เชตวันมหาวิหาร ทรงทราบด้วยญาณ จึงให้พระโมคคัลลานะไปแก้นิสัยของเศรษฐี พระโมคคัลลานะเหาะตรงไปยังประตูตึกช้ันที่เจ็ดของคฤหาสน์เศรษฐี แล้วยืนส�ำรวมท่ีตรงประตู เศรษฐีเข้าใจว่าจะมาขอขนมจึงแสดงอาการรังเกียจและออกวาจาไล่ พระโมคคัลลานะ พยายามทรมานเศรษฐีอยนู่ านจนยอมละนิสยั ตระหน่ี พระโมคคัลลานะได้แสดงธรรมเรอ่ื งประโยชนข์ องการให้ โกลิยะเศรษฐีและภรรยาเกิดเลื่อมใส ได้นิมนต์มา รับถวายอาหารท่บี ้านตน พระโมคคลั ลานะจึงแจ้งใหน้ ำ� ไปถวายพระพทุ ธเจ้าและพระสาวก 500 รปู ณ เชตะวันมหา วิหาร โกลยิ ะเศรษฐีและภรรยาจงึ นำ� เขา้ ของเครอื่ งปรุงไปท�ำขนมเบอ้ื งถวายพระพุทธองคแ์ ละพระสาวก แตป่ รุงสกั เท่าไรแป้งท่ีเตรียมมาเพียงเล็กน้อยก็ไม่หมด พระพุทธเจ้าจึงโปรดเทศนาสั่งสอน ทั้งสองคนเกิดความปีติอ่ิมเอิบใน การบรจิ าคทานเหน็ แจ้งบรรลธุ รรมชัน้ โสดาบนั 252 แหนลักวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา

ระยะเวลา การให้ทานไฟไม่มีก�ำหนดระยะเวลาที่แน่นอนตายตัว แล้วแต่ความสะดวกในการนัดหมาย แต่ส่วนใหญ่ จะปฏิบัติในช่วงเดือนยี่ ซ่ึงเป็นช่วงท่ีมีอากาศหนาวเย็นที่สุด ชาวบ้านจะนัดหมายไปพร้อมกันในเวลาย่�ำรุ่งหรือ ตอนเช้ามืด ซึ่งจะเปน็ วนั ไหนกไ็ ด้ ปัจจุบนั ทางหม่บู ้านกำ� หนดให้เอาเชา้ มดื ของวนั ปใี หม่ (คอื วนั ที่ 1 มกราคม) เปน็ วันไปวัดทำ� บุญใหท้ านไฟ และจดั ท�ำกจิ กรรมปใี หมต่ ่อเนื่องกันไป การเตรยี มการ 1. การเตรียมไฟ ชาวบา้ นจะจดั เตรียมไม้ฟืน ถา่ น และเตาไฟส�ำหรบั ก่อไฟให้ความร้อนความอบอุ่นแก่พระสงฆ์ 2. การเตรยี มเคร่ืองปรงุ ขนมที่เตรียมไปปรุงทวี่ ัด ในการใหท้ านไฟเปน็ ขนมอะไรก็ได้ แตส่ ว่ นใหญจ่ ะเปน็ ขนมท่ี สามารถทำ� เสรจ็ ในเวลาอนั รวดเรว็ ขนมสว่ นมากจะปรงุ โดยใช้ ไฟแรงและเปน็ ขนมพนื้ บา้ น เชน่ ขนมเบอื้ ง ขนมครก ขนมครก ข้าวเหนียว ข้าวเกรียบปากหม้อ ข้าวเหนียวกวนทอด กองไฟสำ� หรับการให้ทานไฟ กล้วยทอด ขนมจู่จุน ขนมกรุบ ขนมบ้า ขนมโค ขนมพิมพ์ ดังน้ัน การเตรียมเครื่องปรุงขนมจึงเตรียมตามชนิด ของขนมทตี่ ้องการทำ� พิธกี รรม การก่อไฟ ชาวบ้านมักใช้ไม้ฟืนหลายอันมาซ้อนกันเข้าเป็นเพิง ก่อไฟแล้วก็นิมนต์พระสงฆ์มาน่ังผิงไฟ เพือ่ ให้เกดิ ความอบอนุ่ ทง้ั พระสงฆแ์ ละคนทีอ่ ยใู่ กล้เคยี ง การท�ำขนมให้ทานไฟจะต้องปรุงข้ึนในวัด ชาวบ้านจะปรุงขนมแต่ละชนิดท่ีเตรียมมา โดยเฉพาะนิยมท�ำ ขนมเบอื้ ง ขนมครกและขนมโคเปน็ ขนมทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ จะขาดเสยี ไมไ่ ด้ แลว้ นำ� ขนมทป่ี รงุ ขนึ้ มารอ้ น ๆ ไปถวายพระสงฆ์ ขณะท่ีท�ำขนมกันไปพระสงฆ์ก็ฉันไปพร้อม ๆ กันและจะหยุดปรุงขนมก็ต่อเม่ือเคร่ืองปรุงที่เตรียมมาหมด เม่ือพระสงฆ์ฉนั จนอิ่มแลว้ ชาวบา้ นจงึ รบั ประทานกันอยา่ งสนกุ สนาน หลงั จากพระสงฆฉ์ นั เสร็จแลว้ กส็ วดใหศ้ ลี ใหพ้ รแก่ผู้ท่ีมาท�ำบุญเป็นอนั เสร็จพธิ ี หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 253

ประเพณีกวนข้าวยาคู ขา้ วยาโค (หรอื ขา้ วยาค)ู เปน็ ชอ่ื ทชี่ าวนครศรธี รรมราช เรยี กกนั ท่วั ไป ในพุทธประวตั เิ รียกวา่ “ขา้ วมธุปายาสยาคู” ซึ่ง เปน็ ขา้ วทน่ี างสชุ าดานำ� ไปถวายพระพุทธเจ้า ประวัตคิ วามเป็นมา ความเช่ือของชาวนครศรีธรรมราชมีความเช่ือที่เก่ียว เนื่องกับพุทธประวัติตอนนางสุชาดาถวายมธุปายาสยาคู ซ่ึงมี ใจความสรุปได้ดังน้ี ในตอนเชา้ นนั้ นางสชุ าดาบตุ รกี ระฎมุ พนี ายใหญแ่ หง่ การกวนขา้ วยาคู บา้ นเสนานคิ ม ณ ตำ� บลอรุ เุ วลา ปรารถนาจะบวงสรวงเทวดา จงึ หงุ ขา้ วมธปุ ายาสยาคคู อื ขา้ วสกุ หงุ ดว้ ยนำ้� นมโคลว้ น จัดลงในถาดทองค�ำน�ำไปที่โพธิพฤกษ์ เห็นพระมหาบุรุษน่ังอยู่ ส�ำคัญว่าเป็นเทวดาจึงน้อมข้าวมธุปายาสยาคู เข้าไปถวาย ในเวลานั้นบาตรของพระองค์เผอิญอันตรธานหายไป พระองค์จึงทรงรับข้าวมธุปายาสยาคูน้ันทั้งถาด นางจงึ ทลู ถวายท้งั ถาดแลว้ กลบั ไป พระมหาบุรษุ ทรงถือถาดข้าวมธปุ ายาสยาคู เสดจ็ ไปสทู่ ่าน้ำ� แห่งแมน่ ้ำ� เนรญั ชรา เม่ือสรงน�ำ้ แล้วจึงได้เสวยข้าวมธุปายาสยาคูจนหมดจึงทรงลอยถาดไป ความเช่อื พุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราชเช่ือกันว่า ข้าวยาคูน้ันเป็นอาหารทิพย์ช่วยให้สมองดีเกิดปัญญา แกผ่ ้บู รโิ ภค ทำ� ใหม้ ีอายยุ นื ยาวมผี วิ พรรณผ่องใสและมีพลานามัยสมบรู ณ์ และยังเปน็ โอสถขนานเอกท่สี ามารถขจัด โรครา้ ยได้ทุกชนิด ทงั้ ยงั บันดาลความส�ำเรจ็ ให้ผู้บรโิ ภคสมปรารถนาในสิ่งที่คิดไดอ้ ีกด้วย ด้วยความเช่ือนี้ ชาวนครศรีธรรมราชจึงถือปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงทุกวันน้ี เมื่อกวนข้าวยาคูเสร็จแล้ว จะแจกจา่ ยและนำ� ไปเปน็ ของฝากให้กับลูกหลานญาติมิตร เพือ่ ให้ได้รับประทานข้าวยาคกู นั อยา่ งท่ังถึงทกุ คน ระยะเวลา เดอื นสามเปน็ ระยะเวลาทข่ี า้ วในนาก�ำลงั ออกรวง เมลด็ ขา้ วยังไมแ่ ก่ ก�ำลังเปน็ น้ำ� นมขา้ วเหมาะส�ำหรบั น�ำ มากวนขา้ วยาคู ชาวบ้านจงึ นยิ มกวนขา้ วยาคูในวันข้ึน 13 และ 14 คำ่� เดอื นสาม โดยใชว้ ดั เป็นสถานทก่ี วนขา้ วยาคู เพราะวดั เป็นศนู ยร์ วมของประชาชน การเตรียมการ 1. เครอื่ งปรุง เครอ่ื งปรงุ มมี ากกวา่ หา้ สบิ ชนดิ มที งั้ พวกพชื พชื ผล และพชื สมนุ ไพร ผลไมท้ ม่ี อี ยใู่ นทอ้ งถนิ่ ตามฤดกู าล ซ่ึงจัดเครอื่ งปรุงเปน็ ประเภทไดด้ งั นี้ 1.1 น้�ำนมข้าว เป็นเครื่องปรุงท่ีส�ำคัญที่สุด ได้จากการเก็บเก่ียวที่ก�ำลังมีน้�ำนม ชาวบ้าน ใช้กะลา มะพร้าวรูดเอาแต่เมล็ดออกจากรวง น�ำเมล็ดข้าวไปต�ำให้แหลกแล้วน�ำมาคั้นเอาน้�ำนมข้าวซ่ึงใช้วิธีการเช่นเดียวกับ การคั้นกะทิ นำ� น้ำ� นมข้าวไปกรองใหส้ ะอาดเก็บเตรยี มไว้ 1.2 ประเภทผลไม้ เช่น ขนุน จำ� ปาดะ มังคดุ ละมดุ อินทผาลมั กล้วย เงาะ พุทรา มะละกอ ทุเรยี นสด มะตมู สาควู ลิ าดและผลไม้อนื่ ๆ ทีม่ ตี ามฤดกู าล ผลไม้เหลา่ น้ปี ลอกเปลือก แกะเมลด็ หัน่ ตม้ เตรียมไว้ 1.3 ประเภทพืชผัก ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวโพดอ่อน ข้าวฟ่าง ข้าวเม่า ข้าวตอก ฟักทอง ถั่วลิสงค่ัว เมลด็ ผักชี หอม กระเทียม ซง่ึ บางชนดิ เตรยี มด้วยการหน่ั ซอย หรตื ำ� ใหล้ ะเอยี ด 254 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

1.4 ประเภทพืชมีหัว ไดแ้ ก่ เผอื ก มนั เทศ มันหอม มันลา่ เป็นต้น ปอกเปลือกห่ันแล้วน�ำไปตม้ ในน้�ำ กะทิเตรียมไว้ 1.5 ประเภทน้�ำผ้ึงและนม ไดแ้ ก่ นำ�้ ผ้ึงรวง นำ้� ตาลทราย น้�ำตาลป๊บี นำ�้ ตาลกรวด นำ�้ ตาลขณั ฑสกร น้�ำออ้ ย นมสด นมขน้ นมผง น้ำ� ลำ� ไย นำ้� บัวบก เปน็ ต้น 1.6 ประเภทพืชสมุนไพร ไดแ้ ก่ พริกไทย ลกู กระวาน กานพลู ราแดง ราขาว ราต๊กั แตน ชะเอม ดปี ลี เชือก (ดปี ล)ี ลูกจนั ทน์ รกจนั ทน์ ดอกจันทน์ นำ� เคร่ืองเทศท้ังหมดค่วั ใหม้ กี ล่ินหอม แลว้ น�ำไปต�ำ ร่อนเอาแต่ส่วนท่ี ละเอยี ด สว่ นขงิ แห้ง หวั เปราะ หัวกะชาย หวั ขา่ อบเชย และโป้ยกก๊ั นำ� ไปต้มและกรองเอาแต่นำ�้ 1.7 ประเภทแป้ง ไดแ้ ก่ แปง้ ขา้ วเจา้ แป้งขา้ วเหนยี ว เวลาจะกวนจึงละลายผสมในน้ำ� นมข้าว 1.8 มะพร้าว น�ำไปขูดคน้ั เอาน�้ำกะทแิ ล้วเคีย่ วใหแ้ ตกมันจนกลายเป็นนำ้� มนั มะพร้าวเกบ็ พกั ไว้ 2. การเตรียมเครอ่ื งปรุง นำ� เครอ่ื งปรงุ ทงั้ หมดมาผสมเขา้ ดว้ ยกนั โดยแบง่ เครอ่ื งปรงุ ทกุ ชนดิ ออกเปน็ สว่ น ๆ เทา่ ๆ กนั ใสภ่ าชนะ โอ่งดนิ พักไว้ จำ� นวนโอ่งดินทใี่ ช้ใสเครื่องปรุงทงั้ หมด จะเทา่ กบั จ�ำนวนกระทะใบบวั ทีใ่ ชก้ วนข้าวยาคู 3. การเตรียมอปุ กรณเ์ ตาไฟ การกวนขา้ วยาคตู อ้ งใชค้ วามรอ้ นสงู ลกั ษณะของเตานยิ มขดุ ลงไปในพน้ื ดนิ ใหค้ วามรอ้ นระออุ ยภู่ ายใน ตลอดเวลา มีชอ่ งสำ� หรับใสฟ่ ืนเพอ่ื เป็นเช้อื เพลิงและมชี ่องระบายอากาศ ชาวบ้านเรียกวา่ รูพงั เหย เตาดนิ สามารถ เกบ็ ความรอ้ นไว้ได้มาก ลมไม่โกรก 4. การเตรยี มบคุ ลากรทส่ี �ำคัญ 4.1 พรหมจารี เพ่อื เปน็ สิรมิ งคลในการกวนข้าวยาคู ตอ้ งใหส้ าวพรหมจารีท่บี รสิ ทุ ธ์ิเปน็ ผเู้ ริม่ ตน้ กวน จนเสรจ็ พิธสี งฆ์ 4.2 นมิ นตพ์ ระสงฆส์ ำ� หรบั สวดชยั มงคลคาถา พรอ้ มทงั้ จดั หาเครอ่ื งใชใ้ นพธิ สี งฆ์ เชน่ ดา้ ยสายสญิ จน์ และอ่นื ๆ พิธกี รรม 1. ขั้นตอนการกวนข้าวยาคู ประกอบด้วยสิ่งตอ่ ไปนี้ สาวพรหมจารีน่งุ ขาวห่มขาว และตอ้ งรับสมาทานเบญจศลี ก่อนเขา้ พธิ กี วน ทั้งนเี้ พื่อความบรสิ ุทธิแ์ ละ ความเป็นมงคล โดยมดี า้ ยสายสิญจน์ โยงจากพระสงฆม์ าผูกไวท้ ีไ่ มพ้ าย (ไมก้ วน) ให้สาวพรหมจารีจับสายสิญจน์ไว้ พระสงฆ์เตรียมสวดชยั มงคลคาถา ซ่ึงชาวบ้านเรียกว่า สวดชยันโตเพื่อเปน็ มงคลพิธี 2. ขน้ั ตอนในการกวนข้าวยาคู 2.1 เรม่ิ พธิ กี วน สาวพรหมจารีจบั ไม้กวน มีการล่ันฆอ้ งชัยต้งั อีโหย้ (โห่สามลา) พระสงฆจ์ ะสวดชยัน โตตง้ั แต่เรมิ่ กวน เมอื่ สวดชยันโตจบแลว้ ถือวา่ เสร็จพธิ ีต่อไปใครจะกวนกไ็ ด้ 2.2 วิธีกวน การกวนข้าวยาคูต้องกวนอยู่ตลอดเวลา เพ่ือจะไม่ติดกระทะ เมื่อข้าวยาคูเริ่มเหนียว จะใช้น�้ำมันมะพร้าวที่เค่ียวไว้เติมลงในกระทะ ไม่ให้ข้าวยาคูติดไม้พาย ข้าวยาคูจะเปลี่ยนเป็นสีคล�้ำเม่ือกวนเสร็จ และมกี ลิ่นหอมเครอ่ื งเทศ 2.3 ระยะเวลา ใช้เวลาประมาณ แปดถึงเก้าชวั่ โมง สว่ นมากเริ่มกวนเวลา 19 นาฬิกา จนถงึ ประมาณ 03.00 นาฬิกา จึงแล้วเสรจ็ 2.4 ตกั จากกระทะใสถ่ าด เกลยี่ ขา้ วยาคใู หบ้ าง ๆ แลว้ ตดั เปน็ ชนิ้ นำ� ไปถวายพระในวดั แจกจา่ ยญาตมิ ติ ร ท่มี ารว่ มในพธิ ีใหท้ ่ัวทกุ คนที่เหลอื จดั ส่งไปยังวดั ต่าง ๆ และนำ� ไปฝากญาตมิ ติ ร หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 255

ประเพณีลากพระ ลากพระ (ชกั พระหรอื แหพ่ ระ) เปน็ ประเพณที ำ� บญุ ในวนั ออกพรรษา โดยอญั เชญิ พระพทุ ธรปู มาประดษิ ฐาน ในนมพระแล้วแห่ โดยการลากไปชมุ นมุ กนั ในบริเวณหม่บู ้านใน วนั แรม 1 ค�่ำเดือนสบิ เอด็ ประวัติความเป็นมา ในสมยั ทม่ี กี ารสรา้ งพระพทุ ธรปู ขน้ึ แลว้ พทุ ธศาสนกิ ชนไดอ้ ญั เชญิ พระพทุ ธรปู ซงึ่ สมมตุ แิ ทนองคพ์ ระพทุ ธเจา้ มาแห่แทน ซ่งึ เปรยี บเสมือนการรับเสด็จและถวายภตั ตาหารให้พระพุทธเจ้าดว้ ยตนเอง พระภิกษุจีนช่ืออี้จิง ได้จาริกแสวงบุญผ่านมายังอาณาจักรตามพรลิงค์ ได้พบเห็นชาวบ้านปฏิบัติประเพณี ลากพระจึงบนั ทึกจดหมายเหตไุ วว้ า่ “พระพทุ ธรปู ศกั ดส์ิ ทิ ธอ์ิ งคห์ นงึ่ มคี นแหแ่ หนนำ� มาจากวดั โดยประดษิ ฐานบนรถหรบื นแคร่ มพี ระสงฆแ์ ละ ฆราวาสหมู่ใหญ่ห้อมล้อมมา มีการตีกลองและบรรเลงดนตรีต่าง ๆ มีการถวายของหอมและดอกไม้และถือธงชนิด ต่าง ๆ ทีท่ อแสงในกลางแดด พระพทุ ธรูปเสดจ็ ไปสู่หมู่บา้ นดว้ ยวธิ ดี ังกล่าว” ความเชื่อ เมอ่ื ครงั้ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปจำ� พรรษา ณ สวรรคช์ นั้ ดาวดงึ สเ์ พอ่ื โปรดพระมารดา เมอื่ ครบพรรษาจงึ เสดจ็ กลับลงมายังโลกมนุษย์โดยจะกลับลงมาทางบันไดแก้วที่พระอินทร์นิมิตถวาย โดยจะเสด็จถึงนครสังกัสสะในเวลา เชา้ ตรู่ของวันแรม 1 คำ�่ เดือนสิบเอ็ด พุทธศาสนิกชนท่ีทราบก�ำหนดการเสด็จ ต่างปลื้มปีติยินดีพากันไปรับเสด็จกันอย่างเนืองแน่น พร้อมทั้ง เตรยี มภัตตาหารไปถวาย พระพุทธเจา้ ได้รับการอญั เชญิ ข้นึ ประทบั บนบุษบกท่ีเตรยี มไว้ แล้วแห่แหนไปยังที่ประทบั ทา่ มกลางฝงู คนลน้ หลาม ทำ� ใหผ้ คู้ นไมส่ ามารถเขา้ ไปถวายภตั ตาหารถงึ พระพทุ ธองคไ์ ดท้ ว่ั ทกุ คน มคี นทอ่ี ยรู่ อบนอก จำ� นวนมากทมี่ คี วามศรทั ธาแรงกลา้ จงึ ไดน้ ำ� ใบไมม้ าหอ่ ภตั ตาหาร แลว้ ยนื่ ตอ่ ตอ่ กนั เพอื่ ใหถ้ งึ บษุ บกทปี่ ระทบั อยู่ บาง คนกโ็ ยนบา้ งปาบา้ ง ดว้ ยแรงอธฐิ านของผมู้ จี ติ ศรทั ธาและอภนิ หิ ารของพระพทุ ธเจา้ ทำ� ใหภ้ ตั ตาหารเหลา่ นน้ั ไปตกใน บาตรของพระพุทธองคท์ ั้งสิ้น น่ีคือความเช่ือทตี่ กทอดมาครัง้ พทุ ธกาล ชาวนครศรธี รรมราชมคี วามเชอื่ อยอู่ กี ประมาณหนงึ่ วา่ อานสิ งสแ์ หง่ การลากพระทำ� ใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดกู าล ชาวนครศรธี รรมราชส่วนใหญ่มอี าชพี เกษตรกรรม ต้องการไรน่ าที่อดุ มสมบรู ณ์ ผลผลิตเพม่ิ พูน การท่ีฝนตกต้องตาม ฤดูกาลจึงเปน็ เรื่องส�ำคัญจนเกดิ คตคิ วามเช่อื วา่ “เมือ่ พระหลบหลัง ฝนจะตกหนกั ” จงึ มีสัญลกั ษณใ์ นการลากพระ เพราะเชอ่ื วา่ ใหน้ ำ้� และเชอ่ื กนั วา่ หากใครไดล้ ากพระทกุ ปี จะเปน็ ผทู้ ไี่ ดร้ บั บญุ กศุ ลเปน็ อยา่ งมาก และสง่ ผลใหป้ ระสบ ความส�ำเรจ็ ในชีวิต ระยะเวลา วันลากพระจะท�ำกนั ในวนั ออกพรรษา คือวนั แรม 1 คำ่� เดอื นสิบเอด็ ของทกุ ปี พทุ ธศาสนกิ ชนแต่ละวัดมัก จะตกลงนัดหมายลากพระไปยังจุดศูนย์รวม ณ ท่ีน้ัน มีการแข่งขันการตีโพน (หรือล่อปืด) การประกวดนมพระ กลางคนื มกี ารละเลน่ และมหรสพตา่ ง ๆ ในวนั รุ่งข้นึ วันแรม 2 คำ�่ เดือนสบิ เอ็ด จงึ จะพากนั ลากพระกลับวัด พธิ ีกรรม กอ่ นจะถงึ เวลาลากพระ พทุ ธศาสนกิ ชนละแวกวดั ตา่ ง ๆ จะเตรยี มการเพอ่ื ประกอบพธิ กี รรมกนั อยา่ งคกึ คกั กลา่ วคือ 256 แหนลักวสกูตารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

1. การแตง่ นมพระ นมพระหรือพนมพระ หมายถึง พาหนะที่ใช้บรรทุกพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร นิยมท�ำกันสองแบบ แบบหนงึ่ ใชล้ ากทางบกเรยี กวา่ “นมพระ” สว่ นอกี แบบหนง่ึ ใชล้ ากทางนำ้� เรยี กวา่ “เรอื พระ” ซง่ึ พทุ ธบรษิ ทั และพระสงฆ์ สรา้ งขึน้ การสรา้ งนมพระนนั้ นยิ มสรา้ งบนรา้ นม้า มไี ม้สเ่ี หล่ยี มขนาดใหญส่ องท่อนรองรับขา้ งล่าง ทางดา้ นทา้ ยท�ำ เปน็ รปู หางพญานาค นยิ มทำ� ลอ้ เลอ่ื นดว้ ยไมส้ ล่ี อ้ ไวใ้ นตวั พญานาคทงั้ สองขา้ ง สำ� หรบั ใหเ้ กดิ การเคลอื่ นไหว เวลาลาก หน้าล้อเอายางรถยนตป์ ะเพอ่ื จะช่วยใหก้ ารลากพระไมต่ ้องออกแรงมาก ด้านหน้าของพญานาคท้ังสองมีเชอื กขนาด ใหญพ่ อกำ� มือรอบยาวประมาณ 20-30 เมตร ผกู อยู่ข้างละเส้น เป็นเชือกส�ำหรบั ใชล้ ากพระ รา้ นม้าใช้ไม้ไผส่ านทำ� ฝาผนังมีลวดลายและระบายสงี ดงาม ขา้ งนมพระมโี พนสองลกู กลอง ฆอ้ ง หรือระฆังอย่างละหนึง่ ลูก ปจั จบุ ันบางวัด สร้างนมพระบนรถยนต์ใชเ้ คร่อื งยนตข์ บั เคลือ่ นเป็นการทนุ่ แรง ไม่ต้องใชค้ นมากในการลากพระ บุษบกเป็นสว่ นที่ส�ำคญั ทส่ี ุด เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางอ้มุ บาตรทเี่ รยี กว่า “พระลาก” นมพระจะตกแต่งสวยงามมากรอบ ๆ ประดับด้วยผ้าแพรสี ธงร้ิว และธงสามชายด้านละสามผืน มีธงราวธงยืนห้อยรยางตกแต่งด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย ใบและทางมะพร้าว กิ่งไม้และใบไม้ท่ีมีสีสันสวยงาม และยัง ประดบั ด้วยดอกไม้สด อบุ ะดอกไมส้ ด ห้อยระยา้ ตวั พญานาคตกแตง่ ประดบั ดว้ ยกระจกสตี า่ ง ๆ ดแู วววาวงดงาม มชี วี ติ ชวี า กลางลำ� ตวั สรา้ งเปน็ รา้ นสงู 1.50 เมตร สำ� หรับวางบุษบกวางประดิษฐานพระพุทธรปู ดา้ นหลงั นมพระส�ำหรบั วางเกา้ อี้ มา้ น่งั หรือธรรมาสน์ เป็นที่น่ังส�ำหรับหมพู่ ระสงฆ์ ด้านหน้าพระพุทธรูปเป็นที่วางบาตร ส�ำหรับรับต้มจากผู้ท่ีมาท�ำบุญ เมื่อต้มเต็มบาตร จึงถ่ายไปใส่ ภาชนะอื่นที่เตรยี มไว้ส่วนมากจะเตรยี มเข่งไวใ้ ส่ตม้ บางคนทำ� ตม้ ผูกเป็นพวงเป็นชอ่ สวยงาม โดยน�ำไปแขวนรอบ ๆ นมพระ ยอดนมเป็นส่วนยอดท่ีอยู่บนสุดของบุษบก มีรูปร่างเป็นพุ่มหรือพนม เป็นส่วนส�ำคัญที่จะตกแต่ง ประดษิ ฐ์อย่างบรรจงงดงาม และไดร้ บั การดเู ปน็ พิเศษ ความสง่าไดส้ ัดสว่ นของนมพระ ข้ึนอยู่กบั ยอดนมนั้นเอง 2. การหุ้มโพน โพนเปน็ เคร่อื งตี ในทอ้ งถ่นิ ลุม่ น้ำ� ปากพนังเรียกว่า “ปดื ” ใช้ประโคมพระลาก การหมุ้ โพนใช้เวลานาน นับเดอื น มีกรรมวิธีท่ซี ับซ้อนตอ้ งขดุ และขึงหนงั ใหต้ งึ เติมที่ บางวดั มพี ธิ ที างไสยศาสตร์ประกอบด้วย แตล่ ะวัดตอ้ งมี โพนสองใบ เสยี งทมุ้ และเสยี งแหลมอย่างละใบ เสียงโพนเป็นจังหวะใหค้ วามคกึ คักเราใจในขณะลากพระ 3. การคมุ พระ การคุมพระเป็นวิธีการท่ีพุทธบริษัทของวัดตีโพนเป็นการประโคมก่อนถึงวันลากพระ เพื่อเตือนให้ ชาวบ้านทั่วไปทราบและเกิดความกระตือรือร้นที่จะมาร่วมงานลากพระ โดยจะตีโพนเป็นระยะก่อนถึงวันลากพระ ประมาณหนง่ึ ถึงสองสปั ดาห์ การคมุ พระมักจะทำ� ตอนกลางคืน เสยี งโพนจะกงั วานชดั เจนไปไกล 4. การอญั เชิญพระลากข้นึ ประดษิ ฐานบนนมพระ พระลากเป็นชื่อพระพุทธรูปยืนปางต่าง ๆ แต่ที่นิยมใช้ในพิธีลากพระ คือ พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เมื่อถึงวันข้ึน 15 ค�่ำเดือนสิบเอ็ด พุทธบริษัทจะอัญเชิญพระลากออกจากวิหารหรืออุโบสถ ท�ำความสะอาดและ สรงน�้ำพระ ชโลมเคร่ืองหมอต่าง ๆ แล้วเปลี่ยนจีวรให้สวยงาม ในการน้ีมีพิธีสงฆ์สวดสมโภช มีการเทศนาในเร่ือง เก่ียวกบั การเสดจ็ ไปดาวดงึ สข์ องพระพทุ ธเจา้ จนกระท่งั เสด็จกลับมายงั โลกมนษุ ย์ หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศยี ึกนษราู้ 257

5. การตักบาตรหน้าลอ้ ตอนเชา้ ตร่ใู นวนั แรม 1 คำ่� เดือนสิบเอ็ด พทุ ธบริษัทจะน�ำภัตตาหารทเี่ ตรยี มไวม้ าตักบาตร ทางวัดจะ ตง้ั โต๊ะวางบาตรเรียงอยู่หน้าพระลาก การตัดบาตรหน้านมพระ เรียกว่า “ตักบาตรหน้าล้อ” แลว้ จึงอัญเชิญพระลาก ขน้ึ ประดษิ ฐานบนบษุ บกในนมพระ บางวดั จะทำ� พธิ ไี สยศาสตร์ เพอื่ ใหก้ ารลากพระเปน็ ไปดว้ ยความราบรนื่ ปลอดภยั แคล้วคลาดจากภยั อนั ตรายทง้ั ปวง หลงั จากพระสงฆฉ์ ันภตั ตาหารเช้าแลว้ พทุ ธบรษิ ทั จะนำ� ต้มซงึ่ เป็นขนมชนดิ หน่งึ ทที่ �ำด้วยข้าวเหนียว ห่อดว้ ยใบพอ้ แลว้ ต้มให้สกุ นำ� มาใสบ่ าตรและจดั แขวนต้มหนา้ พระ ยิง่ เวลาลว่ งผ่านไป ตม้ ย่ิงเพ่ิมจ�ำนวนมากข้ึน เม่อื นมพระถูกลากหน้าบ้านใคร ผู้คนก็จะน�ำต้มลงมาท�ำบุญตลอดเส้นทาง บางท้องถิ่นมีการแจกจ่ายให้ผู้คนท่ีออกมา ลากนมพระไดก้ ินต้มกันทว่ั ถงึ 6. การลากพระ 6.1 การลากพระบก การลากพระ คอื การลากนมพระซง่ึ ตอ้ งอาศัยคนลากจำ� นวนมาก เพราะสมยั โบราณใชล้ อ้ ไมเ้ ลอื่ นนมพระจงึ หนกั จงึ ตอ้ งมเี ชอื กลากเปน็ สอง สาย แบง่ เปน็ สายผหู้ ญงิ และสายผชู้ ายผลู้ ากจะลากนมพระผา่ น มาตามเส้นทาง เม่ือผ่านหน้าบ้านของใคร คนท่ีอยู่ในบ้านจะ มาชว่ ยกนั ลากพระไปจนไกลพอสมควรแลว้ จะมคี นจากบา้ นอน่ื มารบั ทอดตอ่ อยา่ งไมข่ าดสาย ครน้ั เมอื่ ลากเฮฮากนั ไปสายเชอื ก กเ็ บยี ดเสยี ดกนั เขา้ ไปเปน็ ทสี่ นกุ สนาน คนลากจะประสานเสยี ง รอ้ งบทลากพระเพ่อื เป็นการผอ่ นแรงไปในตวั เช่น บทร้องท่ใี ช้ ลากพระ และยังนยิ มกนั ในปจั จุบนั มเี น้อื ความ ดงั นี้ เรอื พระทางบก (สรอ้ ย) สร้อย : อสี าระพา เฮโล เฮโล สาวสาวไมม่ า ลากพระไมอ่ อก สาวสาวพงุ ใหญ ่ เกิดลกู ตามทาง (สรอ้ ย) (สรอ้ ย) แมพ่ ิมพไ์ ม่มา ลากพระไมไ่ ป แม่สร้อยไมม่ า ลากพระไมไ่ หว (สร้อย) ไอ้ไหรกลมกลม หนมโค หนมโค ไอ้ไหรยาวยาว กล้วยไลกล้วยไล (สรอ้ ย) (สร้อย) ไอ้ไหรกลมกลม หวั นมสาวสาว ไอ้ไหรยาวยาว สาวสาวชอบใจ ไอ้ไหรใหญ่ใหญ ่ ไขอ่ ุง้ ไข่อ้งุ (สร้อย) 258 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

ในวนั รงุ่ ขนึ้ เมอื่ ลากพระกลบั ถงึ วดั พทุ ธบรษิ ทั จะชว่ ยกนั ทำ� ความสะอาด เกบ็ พระลาก เกบ็ เขา้ ของเครอ่ื งใช้ ทงั้ หมดใหอ้ ยใู่ นสภาพเรยี บรอ้ ยเหมอื นเดมิ แลว้ จงึ แยกยา้ ยกนั กลบั บา้ นดว้ ยความสขุ จากการทำ� บญุ ในวนั ออกพรรษา 6.2 การลากพระนำ้� การลากพระน�้ำ คอื การลากเรอื พระก็ท�ำในลกั ษณะเดียวกนั แต่นิยมกันในพนื้ ท่ีซึ่งมี สภาพเปน็ ทีล่ มุ่ มีลำ� คลองมาก ได้แก่ อ�ำเภอปากพนัง อ�ำเภอหัวไทร อำ� เภอเชยี รใหญ่ อำ� เภอชะอวด อ�ำเภอฉวาง การเตรยี มการเชน่ เดียวกบั การลากพระบก แต่เปล่ียนจากนม พระบนลอ้ เลอ่ื นมาเปน็ นมพระบนเรือเรียกวา่ “เรือพระ” โดย การนำ� เรือสองหรอื สามมายดึ โยงกันอยา่ งแข็งแรง จนเรือแยก จากกนั ไมไ่ ด้ทำ� เป็นเรอื พระ เรียกว่า “การคาดเรือพระ” แลว้ สรา้ งนมพระบนเรอื อญั เชญิ พระลากไปประดษิ ฐานในเรอื พระ ส่วนการลากเรือพระ ใช้เรือพายเรือแจวหลายล�ำช่วยกันลาก เรือพระ บทร้องที่ใชล้ ากพระและพธิ ีกรรมตา่ ง ๆ ก็ปฏบิ ัตเิ ชน่ เรือพระทางน�้ำ เดียวกัน ปจั จบุ นั สภาพชวี ติ และสงั คมเปลยี่ นแปลงไป เสน้ ทางคมนาคมทางนำ�้ มกี ารใชน้ อ้ ยไมเ่ หมอื นสมยั กอ่ น พาหนะ ทางเรอื ลดน้อยลง จงึ ไม่ค่อยมกี ิจกรรมประเพณลี ากพระน�ำ้ กิจกรรมดังกล่าวลดนอ้ ยลงทกุ ปี ยังคงมีเฉพาะที่ อำ� เภอปากพนงั ทใี่ หค้ วามสำ� คญั กบั การลากพระทางนำ�้ ประเพณลี ากพระทป่ี ากพนงั มชี อ่ื เสยี งเลอื่ งลอื ทำ� ใหผ้ คู้ นทวั่ ทุกสารทศิ หลงั่ ไหลมาร่วมลากพระอย่างล้นหลามทุกปี ประเพณีทเ่ี กีย่ วเน่ืองกับความศรัทธา ความศรัทธา คือ ความเชื่อถอื เลอ่ื มใส พุทธศาสนิกชนชาวนครศรธี รรมราช ลว้ นแตม่ ีความเลื่อมใสและเชือ่ ม่ันในพระรัตนตรัย ด้วยเหตุดังกล่าวท�ำให้ชาวนครศรีธรรมราชแสดงออกถึงความศรัทธาในรูปแบบของความพฤติ ปฏิบัติตามประเพณี โดยการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาในวันส�ำคัญต่าง ๆ คือ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ประเพณีตกั บาตรธปู เทยี น และประเพณสี วดด้าน ประเพณีแห่ผา้ ขน้ึ ธาตุ แห่ผ้าข้ึนธาตุ หมายถึง การแห่ผ้าผืนยาวไปบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการน�ำผ้าขึ้นห่มล้อมรอบองค์ พระบรมธาตุเจดยี ์ ณ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร เป็นประเพณที ่ชี าวนครศรธี รรมราช และพทุ ธศาสนิกชนที่อยูใ่ น จังหวัดต่าง ๆ ยึดถือปฏบิ ัติสืบทอดกนั มาเป็นเวลายาวนาน ประวัตคิ วามเป็นมา ในสมัยที่พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชเป็นกษัตริย์ครอง ตามพรลงิ ค์ (นครศรธี รรมราช) อยนู่ นั้ ไดม้ กี ารบรู ณปฏสิ งั ขรณ์ พระบรมธาตุเจดยี ค์ รง้ั ใหญ่และเสรจ็ ในปี พ.ศ. 1773 ขณะที่ เตรียมสมโภชพระบรมธาตุอยนู่ ้นั ชาวปากพนงั มากราบทูลว่า คล่ืนได้ซัดเอาผ้าแถบยาวผืนหน่ึง ซ่ึงมีภาพเขียนเรื่อง การแห่ผ้าขึ้นธาตุ หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 259

พุทธประวัติมาข้ึนท่ีชายหาดปากพนัง ชาวปากพนังเก็บผ้านั้นถวายพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช พระองค์รับส่ังให้ ซักผา้ นน้ั จนสะอาด เห็นภาพวาดพุทธประวตั ิ เรยี กกันวา่ “ผา้ พระบฏ” จึงรบั ส่ังใหป้ ระกาศหาเจ้าของ ไดค้ วามวา่ ชาวพทุ ธจากเมอื งหงสากลมุ่ หนง่ึ จะนำ� ผา้ พระบฏไปบชู าพระพทุ ธบาททล่ี งั กา แตถ่ กู พายพุ ดั มาขนึ้ ทช่ี ายฝงั ปากพนงั เหลือผู้รอดชวี ิตสิบคน พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชทรงความเหน็ ว่า ควรนำ� ผา้ พระบฏไปห่มพระบรมธาตเุ จดีย์ เนอ่ื งใน โอกาสสมโภชพระบรมธาตุ แม้จะไม่ใช่พระพทุ ธบาททีต่ ง้ั ใจ แต่ก็เปน็ พระบรมสารรี ิกธาตุซ่ึงเจา้ ของผ้าพระบฏกย็ นิ ดี การแห่ผ้าข้ึนธาตุจึงมีข้ึนต้ังแต่ปีน้ันและด�ำเนินการสืบต่อมา จนกลายเป็นประเพณีส�ำคัญของชาวนครศรีธรรมราช ในปัจจบุ ัน ความเชื่อ นครศรธี รรมราชรบั พระพทุ ธศาสนาจากอนิ เดยี และลงั กา จงึ รบั ความเชอื่ ของชาวอนิ เดยี และลงั กาเขา้ มาดว้ ย ชาวพุทธในอินเดยี เชื่อวา่ การท�ำบญุ และการกราบไหวบ้ ชู าที่ใหไ้ ดก้ ศุ ลจริง จะต้องปฏิบตั ิต่อพระพักตรแ์ ละให้ใกล้ชิด กับพระพุทธเจ้าให้มากท่ีสุด แม้เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว แต่ก็มีสัญลักษณ์ของพระพุทธองค์อยู่ ได้แก่ พระธาตเุ จดยี ์ พระพทุ ธรปู เปน็ ตน้ การกราบไหวบ้ ชู าสงิ่ เหลา่ นเี้ ทา่ กบั เปน็ การกราบไหวบ้ ชู าตอ่ พระพกั ตรพ์ ระพทุ ธเจา้ โดยตรงเช่นกัน ด้วยเหตุน้ีจึงเชื่อกันมาว่า การน�ำผ้าไปบูชาพระบรมธาตุเจดีย์ด้วยการโอบล้อมองค์บรมธาตุเจดีย์ ถือเป็นการบูชาท่ีใกล้ชิดกับพระพุทธองค์ พุทธศาสนิกชนในนครศรีธรรมราชจากทุกสารทิศจึงมุ่งหมายมาสักการะ เมอื่ ถงึ วันดงั กล่าว ระยะเวลา แตเ่ ดิมการแหผ่ า้ ขึ้นธาตุนิยมจดั ปลี ะสองคร้งั ในวันขน้ึ 15 ค�ำ่ เดอื นสาม (วันมาฆบชู า) และวนั ขึน้ 15 คำ่� เดอื นหก (วันวิสาขบูชา) โดยน�ำผา้ ไปหอ่ องคพ์ ระบรมธาตเุ จดีย์ ณ วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร ปจั จบุ นั นยิ มท�ำกนั ในวันขึน้ 15 ค่�ำ เดอื นสาม (วนั มาฆบชู า) มากกวา่ พธิ กี รรม 1. การเตรียมผา้ พระบฏ ผ้าท่ีน�ำข้นึ หอ่ พระธาตุ มกั นยิ มใช้สีขาว เหลือง และแดง พุทธศาสนกิ ชนคนใดตอ้ งการห่อผ้าพระธาตุ จะตระเตรยี มผา้ ขนาดความยาวตามความศรทั ธาของตน เมอ่ื ไปถงึ วดั กน็ ำ� ผา้ มาผกู ตอ่ กนั เปน็ ขนาดยาวทส่ี ามารถหอ่ พระธาตรุ อบองค์ได้ หากใครต้องการทำ� บญุ ร่วมดว้ ยกจ็ ะบริจาคเงินสมทบในขบวนผา้ พระบฏนีก้ ็ได้ บางคนประดิษฐต์ กแตง่ ชายขอบผา้ ประดับดว้ ยรบิ บ้นิ พหู่ ้อยแพรพรรณ ลวดลายดอกไม้สวยงาม แต่ ผ้าห่อพระบรมธาตุเจดีย์ผืนพิเศษ จะเขียนภาพพระพุทธประวัติทั้งผืนยาวโดยช่างผู้ช�ำนาญเขียนภาพ แสดงให้เห็น ความถงึ ความตง้ั ใจ ความมานะพยายามในการทำ� ผา้ พระบฏขนึ้ เพอื่ เปน็ พทุ ธบชู าองคพ์ ระบรมธาตเุ จดยี ์ แตใ่ นปจั จบุ นั ผา้ พระบฏซง่ึ มที ั้งสขี าว เหลือง แดง สว่ นใหญเ่ ป็นผา้ ผืนยาวเรียบ ๆ ธรรมดา 2. การจัดขบวนแหผ่ ้าข้ึนธาตุ สมยั โบราณเมอ่ื ถงึ วนั แหผ่ า้ ขน้ึ ธาตุ เรม่ิ ดว้ ยการจดั อาหารคาวหวาน เครอ่ื งอปุ โภคและบรโิ ภคทจี่ ำ� เปน็ ไปถวายพระสงฆใ์ นวดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร โดยการหาบคอนกนั ไปเปน็ ขบวนแหท่ สี่ วยงาม พรอ้ มนำ� ผา้ พระบฏ และผา้ สีเหลอื งหรอื แดงหรอื ขาวไปวัด 260 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศึกษา

สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือคร้ังเสด็จพระราชด�ำเนินมายังนครศรีธรรมราช ได้จัดแห่ผ้าข้ึนธาตใุ นวันมาฆบชู าและจดั ให้มกี ารเวียนเทยี นรอบองคพ์ ระบรมธาตุเจดยี ์ ชาวบ้านได้นำ� ผ้าทเี่ ตรียมมา แหห่ ่มพระบรมธาตเุ จดียด์ ้วย สมยั ปจั จบุ นั มกี ารเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ บา้ ง กต็ รงทไ่ี ดย้ กเลกิ นำ� ภตั ตาหาร เครอ่ื งอปุ โภคและบรโิ ภค ท่ีนำ� ไปท�ำบญุ ถวายพระ การประดบั ตกแต่งผ้าพระบฏ กล็ ดหรอื ตัดไป ยังมกี เ็ ฉพาะแต่ผา้ พระบฏของบางหน่วยงาน เช่น สถาบนั ราชภัฏนครศรีธรรมราช และวิทยาลัยศลิ ปหตั ถกรรมนครศรธี รรมราช เป็นต้น แตเ่ ดมิ การแหผ่ า้ ขน้ึ ธาตจุ ะนดั หมายโดยพรอ้ มเพรยี งกนั เปน็ ขบวนใหญ่ แตใ่ นปจั จบุ นั การเดนิ ทางสะดวก ขน้ึ ผคู้ นทศ่ี รทั ธากม็ าจากหลายทศิ ทาง ตา่ งคนตา่ งคณะตา่ งจงึ เตรยี มผา้ มาหอ่ พระธาตุ ใครจะตงั้ ขบวนแหผ่ า้ ขน้ึ ธาตุ ในเวลาใดก็สดุ แต่ความสะดวก ขบวนแหผ่ า้ ขนึ้ ธาตุจึงมตี ลอดทั้งวันไม่ขาดสาย เดมิ ขบวนแหผ่ า้ ขนึ้ ธาตทุ กุ ขบวน นยิ มใชด้ นตรพี นื้ บา้ นนำ� หนา้ ขบวน ไดแ้ ก่ ดนตรหี นงั ตะลงุ ดนตรโี นรา แต่ในปจั จุบนั เปลี่ยนมาเป็นกลองยาวบรรเลงจงั หวะท่คี รึกครืน้ เพอื่ ชว่ ยใหเ้ กิดความเพลิดเพลิน ขบวนแห่ผ้าขนึ้ ธาตุ จะเดนิ เปน็ แถวเรยี งเปน็ รวิ้ ยาวไปตามความยาวของผนื ผา้ ทกุ คนชู (เทดิ ) ผา้ พระบฏไวเ้ หนอื ศรี ษะ ทงั้ นเี้ พราะเชอื่ กนั ว่าผา้ พระบฏเครอ่ื งสกั การะพระพุทธเจา้ จึงควรถือไว้ในระดบั สงู กว่าศีรษะ 3. การถวายผา้ พระบฏ เมอ่ื ขบวนแหผ่ า้ ขนึ้ ธาตถุ งึ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ ารแลว้ จะทำ� พธิ ถี วายผา้ พระบฏโดยมหี วั คณะกลา่ วนำ� ด้วยภาษาบาลแี ลว้ ตามด้วยคำ� แปลซ่งึ ใจความวา่ “ขา้ แตพ่ ระผู้เจริญ ขา้ พเจา้ ทงั้ หลายขอน้อมถวายผา้ ห่มพระธาตุน้ี แก่พระพุทธเจ้า เพื่อเป็นพุทธบูชา ข้าพเจ้าท้ังหลายขอกราบไหว้ซึ่งเจดีย์ทั้งหลายในสถานท่ีนี้ ขออานิสงส์แห่งบุญ กุศล ของข้าพเจา้ ท้งั หลายจงมีแก่ขา้ พเจ้า และญาตมิ ิตรทั้งหลายเพอื่ ความสุขความเจริญตลอดกาลนานเทอญ” 4. การน�ำผ้าข้ึนห่อพระธาตุ หลังจากทุกคนกล่าวค�ำถวายผ้าพระบฏเรียบร้อยแล้ว จะแห่ทักษิณาวัตรรอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์ สามรอบแล้ว น�ำผา้ เข้าสูว่ ิหารพระทรงมา้ (พระวหิ ารมหาภเิ นษกรมณ์) เมือ่ ถึงตอนน้ีผู้ทีร่ ่วมในขบวนแห่จะสง่ ผแู้ ทน เพยี งสามหรอื สคี่ นสมทบกบั เจา้ หนา้ ทขี่ องวดั นำ� ผา้ พระบฏขนึ้ โอบลอ้ มพระบรมธาตเุ จดยี ์ การทไี่ มส่ ามารถขนึ้ ไปรอบ กำ� แพงแก้วได้หมดทั้งขบวน ก็เพราะดา้ นในก�ำแพงแก้วคับแคบและเขตหวงหา้ ม และเช่ือว่าทฐ่ี านพระบรมธาตเุ จดยี ์ มพี ระบรมสารรี ิกธาตุประดษิ ฐานอยู่ หากขึน้ ไปเดินบนลานก�ำแพงแก้วกเ็ ป็นการไม่เคารพพระพทุ ธองค์ หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 261

ประเพณีตกั บาตรธูปเทียน การตักบาตรธูปเทียนเป็นการท�ำบุญด้วยธูปเทียน และดอกไม้เนื่องในเทศกาลเข้าพรรษา เพ่ือจะให้พระสงฆ์ ที่จ�ำพรรษาได้น�ำธูปเทียนใช้บูชาพระรัตนตรัยตลอดพรรษา สามเดือน ชาวนครศรีธรรมราชจึงน�ำธูปเทียนและไม้ขีดไฟ ไปถวายพระสงฆใ์ นวันดงั กล่าว ประวตั คิ วามเป็นมา ประเพณีตักบาตรธูปเทียน เกิดจากพุทธศาสนิกชน การตกั บาตรธูปเทียน นำ� ธปู เทยี นดอกไม้ ไปนมสั การและจดุ ไฟเพอื่ บชู าพระบรมสารรี กิ ธาตุ ณ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ ารเนอ่ื งในเทศกาล วันเข้าพรรษา ได้พบเห็นพระสงฆ์มากมายคับคั่งมาชุมนุมมนัสการพระบรมสารีริกธาตุเช่นกัน เห็นผ้าเหลืองเติมไป ทั้งวัด จึงเกิดความศรัทธาเลื่อมใส ผู้คนพากันแบ่งธูปเทียนและดอกไม้ของตน ถวายให้พระสงฆ์ใช้เป็นเคร่ืองบูชา นมสั การดว้ ย ความศรัทธาน้คี อ่ ย ๆ ฝงั แน่นและขยายกวา้ งขว้างออกไป ในวันเขา้ พรรษา พทุ ธศาสนกิ ชนจงึ พรอ้ มใจ กนั ในวันเข้าพรรษา รว่ มกันตกั บาตรธูปเทยี นสบื มา จนเป็นประเพณตี ักบาตรธูปเทยี นถึงปัจจุบัน ระยะเวลา การตักบาตรธปู เทยี นมีปีละครั้ง คอื ในวนั แรกเริ่มเขา้ พรรษา (แรม 1 ค่ำ� เดือนแปด) เวลาประมาณ 16 นาฬกิ า โดยใชล้ านในวัดเปน็ สถานท่ถี วายธปู เทียน การเตรียมการ ชาวนครศรธี รรมราชนิยมจดั เตรียมสงิ่ ของเพ่อื นำ� ไปตกั บาตรธปู เทียน ดงั นี้ 1. ธปู เทยี น นยิ มมดั ธปู และเทยี นไวด้ ว้ ยกนั เพอื่ สะดวกในการตกั บาตรจงึ เตรยี มธปู สามดอก เทยี นหนงึ่ เลม่ จัดตามจ�ำนวนท่ีใช้ไว้บูชาพระตามปกติ แต่คนส่วนใหญ่จะตักบาตรด้วยธูปและเทียนมัดใหญ่ เพื่อประสงค์ให้ พระสงฆ์มีธปู เทยี นไดใ้ ช้ตลอดพรรษา 2. ไมข้ ดี ไฟ เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ ทข่ี าดเสยี ไมไ่ ด้ ใชจ้ ดุ ธปู และเทยี น ดงั นน้ั การตกั บาตรธปู เทยี น จงึ มไี มข้ ดี ไฟเปน็ ของเสริม เพื่อให้พระสงฆ์มีอุปกรณ์ครบ ไม้ขีดไฟมีทั้งกล่องขนาดเล็กและใหญ่ บางคนใช้ไม้ขีดไฟเป็นห่อในการ ตักบาตร 3. ดอกไม้ เพื่อใหพ้ ระสงฆ์ใช้บชู าพระรตั นตรัย จงึ เตรยี มดอกไมส้ ดชนดิ ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะที่ขาดไมไ่ ด้ คือ ดอกบัว ปัจจุบันมีดอกไม้ประดิษฐ์ที่สีสันสดใส สวยงามและรูปลักษณ์เหมือนกับดอกไม้สด บางคนจึงตักบาตรด้วย ดอกไม้ประดิษฐ์ จะไดไ้ มเ่ ห่ียวเฉาตลอดพรรษา พธิ กี รรม เน่ืองจากวันประกอบพิธีตักบาตรธูปเทียน เป็นวันเข้าพรรษาของพระสงฆ์ ทุกวัดท่ีพระสงฆ์จ�ำพรรษา เรมิ่ พธิ เี ขา้ พรรษามาตง้ั แตต่ อนเชา้ มพี ทุ ธศาสนกิ ชนไปวดั ทำ� บญุ เขา้ พรรษากนั จำ� นวนมาก หลงั จากไหวพ้ ระฟงั เทศน์ ฟงั ธรรม และถวายภตั ตาหารแด่พระสงฆแ์ ลว้ จงึ ไปเริ่มพธิ ตี ักบาตรธปู เทียนในตอนบา่ ย พธิ ตี กั บาตรธูปเทียนเริ่มประมาณ 16 นาฬกิ า พระภกิ ษุสงฆต์ า่ งมาพรอ้ มเพรียงกนั ยืนเรียงแถว โดยมียา่ ม คล้องแขนกันทุกรูป เพ่ือเตรียมบิณฑบาตธูปเทียน พุทธศาสนิกชนจะน�ำ ธูปเทียน ไม้ขีดไฟ และดอกไม้มาใส่ย่าม ถวายพระสงฆ์ 262 แหนลกัวสกตูารรนจคัดรกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

สมัยก่อนในวดั พระมหาธาตุวรมหาวหิ าร หลังจากตักบาตรธูปเทียนเสรจ็ แลว้ พุทธศาสนกิ ชนจะนิยมไปจุด เปรยี งเพ่ือพทุ ธบชู า ตามหนา้ พระพุทธรปู และฐานเจดยี ท์ ุกฐานในวัด โดยใชว้ ิธงี า่ ย ๆ ด้วยการเอาดว้ ยดิบใส่ภาชนะ เลก็ ๆ หรอื ใสเ่ ปลือกหอย หยอดน้�ำมนั มะพร้าวลงในภาชนะ แลว้ จุดไฟที่ดา้ ย แสงจะสวา่ งวับแวมไปทว่ั ทุกวิหารและ ฐานเจดยี ์ ปัจจุบันจดุ เปรยี งได้ยกเลกิ ไป ไดห้ นั มาจุดเทยี นไขแทน ปัจจุบันการตักบาตรธูปเทียน ปฏิบัติกันแพร่หลายในนครศรีธรรมราช ชาวบ้านจะเตรียมธูปเทียนไว้ใน เทศกาลเข้าพรรษา แมไ้ มใ่ ชว่ ันประเพณตี กั บาตรธูปเทียน หากพบเห็นพระสงฆ์เดินผา่ นมากจ็ ะถวายธูปเทียนกันอยู่ โดยทัว่ ไป ประเพณีสวดด้าน การสวดหนงั สอื มคี วามหมายถงึ การอา่ นหนงั สอื รอ้ ยกรองโดยใชส้ ำ� เนยี งภาษาพนื้ เมอื ง อา่ นออกเสยี งเปน็ ทำ� นองตามบทร้อยกรอง ดา้ น หมายถงึ ดา้ นตา่ ง ๆ รอบของพระวหิ ารคด หรอื พระระเบยี งรอบพระบรมธาตเุ จดยี ซ์ ่ึงมสี ่ดี ้าน พระด้าน หมายถึง พระพุทธรูปท่ีประดิษฐานอยู่ใน วหิ ารคดทงั้ สดี่ า้ น มจี ำ� นวนทง้ั หมด 173 องค์ พระพทุ ธรปู เหลา่ น้ีเรียกวา่ พระดา้ น สวดดา้ นหมายถงึ การสวดหนงั สอื ทรี่ ะเบยี งดา้ นตา่ งๆ ท้ังในวิหารคดและวิหารทับเกษตรในส่วนที่ประดิษฐาน การสวดด้าน ธรรมาสน์ส�ำหรับพระภิกษุสงฆ์น่ังเทศนาในวันธรรมสวนะ แต่ตามลักษณะนิสัยของชาวนครศรีธรรมราชชอบพูดค�ำสั้น ๆ จึงตัดค�ำออกเหลือเพียงสวดด้าน สวดด้านจึงเป็น ประเพณีการอา่ นหนังสอื ร้อยกรองประเภทนิทานนิยายในวาระหน่ึงของชาวนครศรธี รรมราช ประวตั ิความเป็นมา ในวนั ธรรมสวนะ พุทธศาสนิกชนจะมาท�ำบญุ ฟงั ธรรมกัน ณ วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร ซงึ่ ถอื กันว่าเปน็ ศนู ยก์ ลางของพทุ ธศาสนามาแตโ่ บราณ จงึ มชี าวบา้ นมาทำ� บญุ กนั มากเปน็ พเิ ศษ สถานทท่ี จี่ ดั ใหม้ ภี กิ ษสุ งฆม์ าเทศนา คือในวิหารคดหรอื พระระเบยี ง ชาวนครศรีธรรมราช เรียกวา่ “ด้าน” การเทศนข์ องพระภิกษุสงฆจ์ ะมดี ้านละหนึ่ง ธรรมาสน์เป็นอยา่ งน้อย การไปฟงั เทศนฟ์ งั ธรรม ชาวบา้ นจะต้องเตรียมตัวไปน่ังรอทพ่ี ระระเบียงกอ่ นทพ่ี ระสงฆ์จะไปถึง ในขณะท่ี นัง่ รอ บางคนก็พูดคุยสนทนาเร่อื งราวต่าง ๆ บางคนกเ็ รื่องราวมาบอกเลา่ สู่กนั ฟัง บางคนน่งั อยเู่ ฉย ๆ ทำ� ให้น่าเบ่ือ ในที่สุดจึงเกิดความคิดเห็นพ้องกันว่าควรจะหาหนังสือมาสวดจนกว่าพระจะมาเทศน์ เพื่อจะได้ฟังกัน ได้ทั้งความ เพลดิ เพลินและความรู้เปน็ คตสิ อนใจ จงึ เกิดประเพณีสวดดา้ นขนึ้ ระยะเวลา การสวดด้าน จะมีเฉพาะในวันพระหรือวันธรรมสวนะ (ข้ึนหรือแรม 8 ค่�ำ และข้ึนหรือแรม 15 ค่�ำ) เวลาก่อนเพล ก่อนพระสงฆ์จะขึ้นธรรมาสน์แสดงธรรมเทศนาให้พุทธศาสนิกชนฟังที่พระระเบียงทั้งส่ีด้าน ในวัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 263

การเตรียมการ 1. ลักษณะของผูส้ วดด้าน ผสู้ วดดา้ นจะตอ้ งเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามสามารถในการอา่ นออกเสยี งอยา่ งยง่ิ ใชท้ ำ� นองและสำ� เนยี งภาษาถน่ิ ใต้ โดยจะต้องรู้จักเน้นเสียงเอ้ือนและเล่นลูกคอ เล่นท่าทางประกอบในตอนท่ีจ�ำเป็น ใช้สีหน้าโยกตัวประกอบท่าทาง และต้องกิรยิ าอืน่ ๆ ตามท่ผี ู้สวดสามารถทำ� ได้ ผสู้ วดมกั จะมาจากบคุ คลทมี่ อี าชพี ตา่ ง ๆ หรอื บคุ คลทเี่ คยเปน็ ชาววดั ตา่ ง ๆ เคยอา่ นทำ� นองทฝ่ี กึ ฝนมา จากวัด เช่น นักเทศนเ์ กา่ นักแหล่ หมอท�ำขวัญนาค นักสวดมาลยั นายหนงั ตะลงุ โนราเกา่ เพลงบอก เปน็ ต้น คนสวดทสี่ วดไดไ้ พเราะผูฟ้ งั จะชน่ื ชมตดิ อกตดิ ใจมาก ถึงขนาดคนเฒา่ คนแกท่ ่ีไม่รหู้ นงั สอื อ่านไม่ออก เมอ่ื ฟงั สวดดา้ นแลว้ สามารถจำ� บทกลอนในหนงั สอื เลม่ ทฟ่ี งั นนั้ ไดท้ กุ บททกุ ตอนแทบตลอด ทงั้ เลม่ และจำ� ไดห้ ลาย ๆ เลม่ ดงั นัน้ คนสวดดา้ นเมอ่ื สวดเสรจ็ แลว้ มักจะไดร้ ับเงนิ รางวลั และไดร้ บั การเลี้ยงดทู ุกครง้ั ไป การสวดดา้ นจะสวดทงั้ สดี่ า้ นของพระระเบยี ง ดงั นนั้ คนสวดดา้ นจะตอ้ งพยายามแสดงความสามารถใน การสวดมาก เพราะหากสวดไมเ่ ป็นท่นี า่ พอใจของผฟู้ งั จะทำ� ใหค้ นเบอ่ื หนา่ ย ดังนนั้ คนสวดแตล่ ะคนจงึ ตอ้ งแสดง ความสามารถในเชงิ สวดใหป้ รากฏดว้ ย 2. ลกั ษณะหนงั สอื ที่ใชส้ วดดา้ น หนงั สอื ทเี่ ปน็ ทน่ี ยิ มของคนฟงั สว่ นใหญ่ มกั เปน็ หนงั สอื นทิ านชาดกทเี่ ขยี นเปน็ รอ้ ยกรอง หนงั สอื นทิ าน พืน้ เมอื งเรอ่ื งตา่ ง ๆ ท่ีกวพี ้นื เมอื งแต่งขึน้ เร่อื งท่เี ปน็ ที่นยิ ม ได้แก่ สบุ ิน วันคาร ทนิ วง สเ่ี สา กระต่ายทอง พระรถเสน ของนายเรืองนาใน และเสือโคของพระนี สมยั กอ่ นหนงั สอื นทิ านชาดกและนทิ านพนื้ บา้ นทใี่ ชส้ วดดา้ นจะเขยี นขน้ึ เรยี กวา่ “หนงั สอื บดุ ” สมยั ตอ่ มา ไม่ได้สวดหนังสือบุด แต่กลับนิยมหนังสือซึ่งพิมพ์โดยโรงพิมพ์ราชเจริญวัดเกาะ โดยคนสวดจะเช่ามาจากบ้าน นายปลอด ซึ่งอยู่หนังวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารในราคาเช่าส่ีเล่ม ห้าสตางค์ เร่ืองท่ีนิยมสวด ได้แก่ รามเกียรต์ิ พระอภัยมณี สุวรรณศลิ ป์ และสงั ขท์ อง หนังสือเรื่องสุบิน แต่งโดยกวีชาวนครศรีธรรมราช ซ่ึงเป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมสูงของผู้ฟัง การสวดด้าน และใช้เปน็ หนังสือเรียนในนครศรธี รรมราชในสมยั กอ่ น สาระในหนังสอื เช่น 264 แหนลักวสกูตารรนจคัดรกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

บทไหว้ครู “ข้าขอถวายบังคม ยอกรประนมขึ้นหรือเศยี ร ต่างดอกประทุมเทียน บริสทุ ธบิ ูชา วรบาทพุทธกงจกั ร และลายลักษณท์ ้งั ซา้ ยขวา ประเสรฐิ งามโลกา ยงิ่ กวา่ เขียนดว้ ยน้�ำทอง วรบาทพระชนิ สหี ์ สร้างบารมีมากกา่ ยกอง หวังจะโปรดสัตวท์ ้งั ผอง ให้จากโทษและโพยภยั ขอนบพระปฎิ กสจั ธรรม อันลึกลำ�้ พ้นอุปมัย พระสตู รพระวนิ ยั พระปรมัตถม์ ากเหลือตรา” ตวั อย่างเร่มิ ตน้ เรอ่ื ง ปางโพน้ โพธิสตั ว์ องค์หนงึ่ สันทัด ธนศู รศรี กล้าหาญชาญณรงค์ ทรงอทิ ธิฤทธ ี ครองเมืองสารวัตถี เปน็ เอกกรงุ ไกร มีบาทบรจิ า รปู โฉมโสภา สบิ ห้าปใี หม ่ ผิวเน้อื เหลอื งขม้ิน กลิ่นหอมเอาใจ เกษาประไพ ไรเกษตลากนั พระพักตร์ผงึ่ ผาด งามจริงยิง่ วาด คิว้ ค้อมเกาทณั ฑ ์ เนตรคือตาทราย พรายแสงเหมอื งมัน ระใบพระกรรณ ปานกลีบอบุ ล พธิ ีกรรม พิธีกรรมเร่ิมข้ึนเม่ือพุทธศาสนิกชนน�ำปิ่นโตบรรจุอาหารคาวหวานและดอกไม้ธูปเทียนมานั่งรอเพื่อถวาย พระสงฆ์และฟงั เทศน์ ขณะน่ังรอ คนสวดด้านจะนำ� หนังสอื รอ้ ยกรอง นทิ านชาดกที่เตรียมมาสวดด้านให้ผู้ฟังไดฟ้ ัง และจะหยุดสวดดา้ นเม่อื พระสงฆ์เข้ามาในพระระเบยี ง ผ้สู วดดา้ นและผฟู้ งั จึงร่วมกันทำ� บญุ ในวนั ธรรมสวนะ ประเพณสี วดดา้ นปจั จบุ นั ไดส้ ญู หายไปตามความเจรญิ ในยคุ โลกาภวิ ตั น์ แตก่ ย็ งั คงมกี ารเทศนาของพระสงฆอ์ ยู่ แตม่ ักจะแบง่ การเทศนอ์ อกเป็นวัดละดา้ น ต่อมาพระที่มาเทศน์นอ้ ยลงเรือ่ ย ๆ ในปัจจุบันจะมีพระเทศน์ในพระดา้ น อยู่เพียงธรรมาสน์เดยี ว หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 265

ประเพณแี ห่นางดาน ประเพณีแห่นางดาน เป็นพิธีพราหมณ์แห่งเมืองคอน หรือ พิธีตรียัมปวาย ตามความเช่ือลัทธิพราหมณ์ จะประกอบ ดว้ ยพธิ ี “ตรยี ัมปวาย-โลช้ ิงชา้ ”เพ่อื ต้อนรับพระอิศวร ท่ีเสด็จมา เยี่ยมโลกมนุษย์ ซ่ึงพิธีตรียัมปวายเกิดขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนตน้ ประกอบพิธกี รรมกันในเดอื นอ้าย แต่ในปี พ.ศ. 2544 เทศบาลนครนครศรธี รรมราชรว่ มกบั สำ� นกั งานการทอ่ งเทย่ี ว แหง่ ประเทศไทย สำ� นกั งานภาคใต้ เขต 2 จงั หวดั นครศรธี รรมราช เห็นว่าประเพณีแห่นางดาน เป็นประเพณีเก่าแก่ท่ีควรศึกษา จึงได้ฟื้นฟูพิธี “แห่นางดาน” ขึ้นมาใหม่ โดยผนวกประเพณี หลกั ๆ คือ ประเพณีสงกรานต์ ในคราวเดียวกนั ระยะเวลา ประเพณีแห่นางดาน จดั ข้ึนในวันท่ี 14 เมษายน พิธกี รรม พิธีกรรมเก่ียวกับประเพณีแห่นางดาน ประกอบด้วย การแห่นางกระดาน ขบวนแห่กระดาน 3 แผ่น จากสนามหน้าเมืองไปตามถนน ราชดำ� เนนิ ส่หู อพระอิศวร กระดานแผน่ ที่ 1 สลักเปน็ รปู พระอาทิตย์ และพระจันทร์ ซง่ึ เป็นสญั ลกั ษณ์ของกลางวัน และกลางคืน กระดานแผน่ ท่ี 2 เปน็ รูปพระแม่คงคา ซงึ่ เปน็ สัญลกั ษณ์ของความฉ่ำ� เยน็ และอุดมสมบูรณ์ กระดาน แผน่ ที่ 3 เปน็ รูปพระแมธ่ รณี ซง่ึ หมายถงึ ผืนแผ่นดินอันมงั่ ค่ัง เม่ือขบวนแห่ถงึ หอพระอิศวรจะมีการรำ� บวงสรวง เอกลกั ษณท์ างวัฒนธรรมนครศรธี รรมราช นครศรธี รรมราชเคยเปน็ อาณาจกั รศรวี ชิ ยั และอาณาจกั รตามพอนลงิ คม์ ากอ่ นมอี ายปุ ระมาณ 1,500 ปกี อ่ น สโุ ขทยั ดงั นน้ั นครศรธี รรมราชจงึ ไดส้ งั่ สมอารยธรรมทสี่ ามารถเผยแพรไ่ ปสอู่ าณาจกั รนอ้ ยใหญแ่ ละหวั เมอื งขา้ งเคยี ง มากมาย ในสมัยสุโขทยั อยุธยา ธนบุรี และกรุงเทพฯ นครศรีธรรมราชเป็นตวั แทนของราชธานที ั้ง 4 ในการปกครอง ภาคใต้ตลอดมา จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมุงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และส้ินสุดการปกครองแบบ เทศาภิบาลลงใน พ.ศ. 2476 หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยแล้ว 1 ปี ประกอบกับ นครศรีธรรมราชตั้งอยู่ระหว่างกลางของประเทศอู่อารยธรรมตะวันออกทั้งสอง คือ จีนกับอินเดีย และประเทศ ท้ังสองได้ผ่านนครศรีธรรมราชโดยการเดินทางไปมาค้าขายและสืบทอดศาสนาพุทธท้ังทางบกและทางเรืออยู่เสมอ ด้วยลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจึงท�ำให้นครศรีธรรมราชสร้างสมอารยธรรมเอเชีย มาเป็นรูปแบบของตนเองอย่างหลากหลาย จนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง เอกลักษณ์วัฒนธรรมของชาว นครศรีธรรมราช ดังตวั อย่างทจี่ ะยกมาน�ำเสนอ ดงั น้ี 266 แหนลกัวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

เอกลักษณ์ดา้ นภาษาและวรรณกรรม ดา้ นภาษา ภาษาถ่ินของนครศรีธรรมราช การพูดเอาความมากกว่าความไพเราะ ซึ่งในแต่ละอ�ำเภอจะมีความแปลก แตกตา่ งกนั ออกไปตามสภาพท้องถิน่ คอื กลมุ่ ชาวนอกเขา คำ� นถ้ี กู เรยี กโดยชาวเมอื งนครศรธี รรมราชแถบชายทะเลทเ่ี รยี กพวกหลงั เขาในขณะทด่ี วง อาทติ ยต์ ก ซง่ึ ดเู หมอื นว่าเปน็ เขตลลี้ ับและมีวฒั นธรรมเฉพาะของตนเอง บริเวณนใี้ นสมยั กอ่ นคือ ฉวาง แต่ปัจจบุ นั คอื บรเิ วณอำ� เภอชา้ งกลาง อำ� เภอฉลาง อำ� เภอพปิ นู อำ� เภอนาบอน และอำ� เภอถำ้� พรรณรา ลกั ษณะคำ� พดู จะเสยี งดงั เน้นความรคู้ วามเข้าใจ ไมค่ อ่ ยมีมรรยาทในการพูดหรอื เป็นรูปแบบกระบวนตามแบบแผน แตใ่ นสมันสมยั พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประมาณ พ.ศ. 2442 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ต้ังโรงเรียนวัดวังม่วง อ�ำเภอฉวาง เป็นสถานทีจ่ ัดการเรยี นการสอนภาษาไทยภาคกลาง มรรยาทการพดู จาเปน็ ระบบเขา้ สู่มาตรฐานภาคกลาง กลุ่มชาวท่งุ บรเิ วณน้ีจะเปน็ กล่มุ อำ� เภอท่ีมีอาชีพท�ำนามาตั้งแต่โบราณกาล เชน่ หวั ไทร เชยี รใหญ่ ชะอวด ปากพนงั กลมุ่ คนแถบนมี้ อี าชพี หลกั คอื การทำ� นาจงึ มคี วามสมั พนั ธก์ บั ทอ้ งนาและวดั มากทสี่ ดุ เพราะวดั เปน็ ศนู ยก์ ลาง ของชุมชน กลมุ่ ชายทะเล บรเิ วณนป้ี ระกอบดว้ ย ทา่ ศาลา สชิ ล ขนอม วฒั นธรรมภาษาของกลมุ่ นี้ จะพฒั นาจากกลมุ่ ชน ทีม่ ีความเช่อื ด้งั เดิม พอ่ ค้าวานชิ และชมุ ชนอนิ เดีย ระบบเสียงและระบบคำ� ภาษาถิ่นนครศรีธรรมราช ระบบเสียงของภาษาถิ่นนครศรีธรรมราช ประกอบด้วยเสยี งพยัญชนะ เสยี งสระและเสยี งวรรณยุกต์ เสียงพยัญชนะ มี 22 หน่วยเสียง คือ ป พ บ ต ท ด จ ช ก ค อ ม น ญ ง ล ร ฟ ส ฮ ว ย เสยี งพยญั ชนะควบคล้�ำ มี 13 เสยี ง คือ ปล ปร พล พร ตร กล กร กว คล ครคว ( ตามแบบภาษา ไทยมาตรฐาน ) และ มล มร ท่ีมีเฉพาะในภาษาถิน่ นครศรีธรรมราช เชน่ มลนื่ เมลอื ง เมลอื ก เมลิน เมร่อ มราญ เป็นต้น นอกจากนนั้ ยงั มี เสียงพยัญชนะตน้ ลักษณะพิเศษ ที่มที ง้ั อกั ษรน�ำ และอกั ษรควบอยู่ในพยญั ชนะต้น เดยี วกัน คือ ห น�ำ ม ควบ ร เชน่ คำ� วา่ หมรบั หมรง โหมระ หมรอดแหมรด เปน็ ตน้ เสียงพยัญชนะทา้ ยมี 9 หนว่ ยเสยี ง คือ บ ด ก อ ม น ง ว ย เสยี งสระเดยี่ ว มี 18 หน่วยเสียง คือ อิ อี เอะ เอ แอะ แอ อึ อื เออะ เออ อะ อา อุ อู โอะ โอ เอาะ ออ เสยี งสระประสม มี 6 หน่วยเสียง คอื เอยี ะ เอยี เออื ะ เอือ อัวะ อัว เสียงวรรณยุกต์ มี 7 หน่วยเสยี ง (มากกว่าภาษาไทยมาตรฐาน ซงึ่ มเี พียง 5 หน่วยเสยี ง) ระบบคำ� ของภาษาถิน่ นครศรธี รรมราช มีลกั ษณะต่าง ๆ ดงั นี้ การใชค้ ำ� มที ง้ั คำ� พยางคเ์ ดยี ว และหลายพยางค์ ถา้ เปน็ คำ� หลายพยางคใ์ นภาษาไทยมาตรฐาน สว่ นใหญ่ จะตดั ให้เหลือเพยี งพยางค์เดียว เช่น มะพรา้ ว เป็น พรา้ ว, ตลาด เป็น หลาด, ขนม เป็น หนม, ถนน เปน็ หนน, สะเอว เปน็ เอว, ตะกร้า เปน็ กรา้ เปน็ ตน้ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 267

การแบ่งชนิดค�ำตามหลักไวยากรณ์ เป็นแบบเดียวกันกับการแบ่งค�ำตามหน้าท่ีในภาษาไทยมาตรฐาน คำ� ท่ีใช้มีทัง้ ค�ำทเี่ หมือนกับภาษาไทยมาตรฐานและคำ� ทีแ่ ตกต่างเปน็ คำ� ศพั ท์เฉพาะท้องถิน่ ดังน้ี คำ� นามทว่ั ไป เชน่ ยาหนดั (สบั ปะรด) รถถบี (จกั รยาน) เหลก็ ขดู (กระตา่ ยขดู มะพรา้ ว) สายเอว (เขม็ ขดั ) หัวครกยาร่วง (มะมว่ งหิมพานต์) ลอกอ (มะละกอ) พรก (กะลา) นากา (นาฬกิ า) ผ้าพว่ ย (ผา้ หม่ นอน) จอกน�้ำ (แก้ว น้ำ� ) เปน็ ตน้ ค�ำลักษณนาม มักใชค้ ำ� วา่ หนวย ลกู เรยี กสงิ่ ท่ีมลี ักษณะแบบกลม เชน่ พรา้ ว 5 หนวย (มะพรา้ ว 5 ผล) ไข่ไก่ 3 หนว่ ย ไข่ไก่ 3 ลกู (ไข่ไก่ 3 ฟอง) จาน 2 หนว่ ย (จาน 2 ใบ) เปน็ ต้น และมักเรียกสิง่ ของทัว่ ไปว่า อนั เช่น ไม้ 3 อัน เปน็ ตน้ นอกจากนนั้ มคี ำ� ลกั ษณนามเฉพาะ เชน่ สมดุ หนังสอื เรียกเปน็ แหล้ม, หัว ช้อน เรยี กเปน็ หาง ปากกา ดนิ สอ เรียกเปน็ แหล้ม เป็นตน้ ค�ำลำ� ดับญาติ โดยทัว่ ไปใช้เหมอื นภาษาไทยมาตรฐานแต่ท่แี ตกต่างไป เช่น พ่อเฒา่ (ตา) แมเ่ ฒ่า (ยาย) บาว (พี่ชาย) สาว (พี่สาว) หลวง (ผู้สงู วัยกว่าทบ่ี วชเปน็ พระแลว้ ) เณร (ผ้อู อ่ นวัยกวา่ ท่ีเป็นพระแลว้ ) นอกจากน้นั จะ เรยี กคนท่ัวไปตามลำ� ดบั อายุ เชน่ แก่กว่า เรียก “พ”่ี อ่อนกว่า เรยี ก “น้อง” ออ่ นกวา่ พ่อ เรียก “น้า” แก่กวา่ พ่อแม่ เรียก “ลงุ – ปา้ ” อายุคราวปู่ย่า เรยี ก “ตายาย” เป็นต้น ไม่นยิ มทจ่ี ะเรียกใครวา่ “คณุ ” ซึง่ แสดงให้เห็นถงึ การถือ ลักษณะความสัมพันธแ์ บบเครอื ญาติ เป็นส�ำคัญ ค�ำบุรษุ สรรพนาม โดยทวั่ ไปใช้เหมือนภาษาไทยมาตรฐานแตท่ มี่ แี ตกต่าง ตรงระดับเสยี ง เชน่ ฉัน–ฉาน, ก–ู ก้,ู เรา-เรา้ , หนู–น้ยุ , มึง–หมึง, สู–สู้,คณุ –เตน้ิ , แก–แก,้ มนั –หมั้น คำ� กรยิ า ใชเ้ หมอื นภาษาไทยมาตรฐานเป็นสว่ นใหญ่ มีความแตกตา่ งกนั ออกไปบ้าง เช่น พดู –แหลง, ขี-่ ขับ, ไกว แกวง่ -เว, รอ-ทา่ ครา่ ว, เจอ-ทะ จวน, แอบ ซอ่ น-หยบ, จัด แต่ง-ดับ เป็นต้น ค�ำปฏิเสธ มีเพียงไมก่ ค่ี �ำ เช่น ใช…่ .หมา้ ย….หมาหม้าย ดังตวั อย่างในประโยค กไู มไ่ ด้ทำ� -กูใชท่ ำ� , ไม่มี เงนิ -หม้ายตังค,์ หมาหม้ายตางค์ เป็นต้น ค�ำวเิ ศษ เปน็ ค�ำท่ีขยายคำ� อ่ืนในภาษาถิน่ น้ี มีลักษณะพิเศษคอื มีค�ำวเิ ศษณ์ ขยายค�ำไดล้ ะเอยี ดหลาย ระดบั เป็นขัน้ กวา่ ถึงทส่ี ดุ เช่น คำ� แสดงวา่ เล็ก นอ้ ย เชน่ หดิ หดี ฉดิ แยดแตด็ น้ยุ แลก็ ค�ำแสดงว่าใหญโ่ ต เชน่ ใหญ่ ใหญ่โต เตบิ ไอ้เตบิ เฒ่า ไอเ้ ฒ่า เฒา่ ถ�ำเฒา่ ถ�ำมัง คำ� แสดงว่ามาก เช่น มาก จงั หู จงั หนั จังเสีย ลุย คะลยุ คะลักคะลุย เออ้าน เอหนัด หนัดเหนียน หนัดแหน่น หนดั เหนยี นใน ขู โข โขลยุ ขลู ุย คำ� แสดงคำ� ถาม มคี วามแตกตา่ งจากภาษาไทยมาตรฐาน เช่น ไตร ไซ๋-ท�ำไม, ปรอื ปร๋อื -ท�ำไม อย่างไร, ไหร-อะไร ตวั อย่าง มาท�ำไม - มาไตร มาไซ๋ มาอย่างไร - มาปรือ๋ มาท�ำไมอีก - มาไซ๋หลาว เป็นต้น 268 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา

คำ� ลงท้ายประโยค มเี พียงไม่ก่ีค�ำแต่การใช้ตอ้ งคำ� นึงถงึ วยั ของผู้ฟังดว้ ยบางค�ำไม่สามารถใชก้ ับผ้สู งู วัย หรือมคี ุณวฒุ สิ ูงกวา่ เชน่ ล่ะ เถอะ -เหวอ เหวอ่ ตวั อยา่ ง ไปละ ไปกันเถอะ – ไปเหวอ แน่ะ -โหร ตวั อย่าง ไปตลาดแน่ะ – ไปหลาดโหร เถอะ ส ิ -ต๊ะตา้ ตวั อยา่ ง มาเถอะ-มาต้า, กนิ สิ – กนิ ต๊ะ นะ -หน้ั ฮนั ตัวอยา่ ง ฉนั เบ่ือแล้วนะ่ – ฉนั เออื นแลว้ ฮัน ค�ำประสม ค�ำซ้�ำ ค�ำซ้อน ในภาษาไทยถ่ินนี้มีการสร้างค�ำ โดยยึดหลักพยายามให้เป็นรูปธรรมและ บอกลักษณะมากที่สดุ เช่น กระตา่ ย – เหลก็ ขดู , ผา้ ซ่ิน – ผ้าถงุ , รถเข็น - รถรนุ เปน็ ตน้ นอกจากนยี้ งั นยิ มขึน้ ตน้ ค�ำประสม ลูก หวั สม้ ขี้ แม่ เช่น ลกู กรูด - มะกรูด ลกู ตอ - สะตอ หวั เทียม - กระเทยี ม หัวบอน - เผือก ส้มนาว - มะนาว ส้มมว่ ง,ลูกม่วง - มะม่วง ขีห้ ยะ - ขยะ ขกี้ รา - น�้ำคร�ำ แมห่ นอง - ปลาตัวใหญ ๋ แมเ่ สอ้ื - เสอ้ื นอก การซำ้� ค�ำ มี 2 ลักษณะ คือ ลกั ษณะหนง่ึ เปน็ คำ� ซำ�้ ทแ่ี ยกจากกนั ไมไ่ ด้ เชน่ ลอ็ กลอ็ ก– รบี เรง่ , หลาวหลาว – ซมุ่ ซา่ ม,ชอ็ มชอ็ ม – คมุ้ ดี คมุ้ รา้ ยไมเ่ ตม็ เตง้ เปน็ ตน้ และอกี ลกั ษณะหนง่ึ เปน็ คำ� อสิ ระพยางคเ์ ดยี ว แตม่ าพดู ซำ�้ กนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความหมายในทางมากขน้ึ นอ้ ยลง โดยประมาณ หรอื แต่ละ เปน็ ตน้ ตกั ขา้ วชาม ๆ เตบิ - ตกั ข้าวแต่ละจานมากเกนิ ไป หญ้าสงู เทยี ม ๆ เอว - หญ้าสูงประมาณเอว เรยี นหนี้ลกู ๆ เทา่ หดิ - ทเุ รียนน้แี ต่ละผลเลก็ นิดเดยี ว เป็นตน้ ค�ำซอ้ น มที ัง้ คำ� ซอ้ น 2 คำ� และ 4 ค�ำ ท�ำให้เกิดความหมายในทางแคบลงหรอื กว้างข้ึน เชน่ คำ� ซ้อน 2 ค�ำ ตัวอยา่ ง หนักแน่น แก่เฒา่ เฒ่าถกึ เปน็ ตน้ คำ� ซอ้ น 4 ค�ำ ตัวอยา่ ง อาบน�ำ้ อาบหนอง ทาแป้งทาปนู ต่�ำเต้ียเร่ียดิน เปน็ ต้น คำ� ยมื ในภาษาไทยถนิ่ นครศรีธรรมราชมคี ำ� ยืมจากภาษาอื่น ๆ เชน่ เดยี วกบั ภาษาไทยมาตรฐาน คอื มีทั้งภาษาบาลี สนั สกฤต เขมร มลายู และภาษาจากประเทศแถบตะวันตก เช่น คำ� ยมื จากภาษาบาลี พบมากทง้ั ในภาษาพดู และในวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนา ในภาษาพูด จะมคี ำ� ทเี่ ปลยี่ นเสียง และกลายความหมายต่างไปจากภาษาเดิมมากบา้ งนอ้ ยบา้ ง เช่น สัพเพ แผลงเปน็ เพ เพน้ิ เพนิ้ แปลวา่ ทั้งปวง ทั้งหมด อกโขภณิ ี แผลงเปน็ โข ขูขูลุย ขูตาย ขูตาย แปลว่า มากมาย เทวดา แผลงเปน็ เทวดา เทยี มดา แปลว่า เทวดา พจิ ารณา แผลงเปน็ พดิ หนา กินนร แผลงเป็น ข้ีหนอน เป็นต้น หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 269

คำ� ยมื จากภาษาสนั สฤต เขา้ สนู่ ครศรธี รรมราชพรอ้ มกบั ศาสนาพราหมณ์ และพทุ ธศาสนานกิ ายมหายาน โดยรับเฉพาะศัพท์แล้วเปล่ียนแปลงเสียง รูปศัพท์ไปตามธรรมชาติของภาษาถ่ินนครศรีธรรมราช บางค�ำห่างไกล จากคำ� เดมิ มาก ความหมายก็แตกตา่ ง แตย่ งั มีเคา้ เดมิ อยเู่ ช่น ศฺมฺศาน (สุสาน) แผลงเปน็ สามสร้าง แปลวา่ ทีเ่ ผาศพทีจ่ ัดทำ� ชัว่ คราว ตามฺร แผลงเป็น ดาม ใชใ้ นค�ำว่า หวนั ต้งั ดาม แปลว่า ชว่ งเวลาพระอาทิตยเ์ ร่มิ ทอแสง, กอ่ นตะวนั ขึ้น ศาลา ตัดเสยี งพยางค์หนา้ และเพีย้ นเสยี งเป็น หลา ค�ำยืมจากภาษาเขมร ส่วนมากเป็นภาษาเขมรทพ่ี ูดกันปากต่อปากสบื ตอ่ กันมาคนรุ่นหลังมาดดั แปลง หรือเรยี กตามความถนัด จึงมีการตดั พยางคเ์ สยี งบ้าง ลากเข้าหาภาษาไทยเสียบ้าง เพย้ี นไปบ้าง ฉะนัน้ คำ� เขมรที่ใช้ ภาษาถิน่ นครศรธี รรมราช จงึ แตกต่างกนั ไปทง้ั เสียง รูปค�ำและความหมาย เช่น แหมฺ หมายถงึ สะเก็ดแผล ใกลค้ ำ� เขมร กรมร แปลวา่ สะเก็ดแผลหรอื สิง่ หลดุ ลอ่ น กะเทาะ ออกมาอย่างเปลอื กไหม้ ตดุ หมายถึง หูด ใกลค้ ำ� เขมร คอื ตากตดุ แปลวา่ หดู ข้ึเตรย หมายถึง หญา้ เจา้ ชู้ ใกล้ค�ำภาษาเขมร คือ กนเตรีย แปลว่า หญา้ เจา้ ชู้ แคว็ด หมายถึง คด เอยี งไปข้างหนึ่ง ใกล้คำ� เขมร คอื เวยี จ แปลวา่ เบยี้ วโกง ดาย หมายถงึ เสยี ดาย ใกลค้ ำ� เขมร คอื สดาย แปลวา่ เสยี ดาย ใชใ้ นคำ� ภาษาถน่ิ ใตว้ า่ ดายของ พุก หมายถึง ผุ ใกลค้ ำ� เขมร คือ พุ แปลว่า ผุ เปน็ ตน้ ค�ำยืมจากภาษามลายู เน่ืองจากมีการติดต่อกับทางใต้ได้สะดวก จึงท�ำให้มีค�ำท่ีมาจากภาษามลายู ใช้ในชีวิตประจำ� วันเปน็ จำ� นวนมาก เช่น ลาไล หมายถงึ ช้า เผอเรอ พรก หมายถึง กะลา คง หมายถึง ข้าวโพด หมาถัง้ (ตห้ี มา) หมายถงึ ถงั ตักน�้ำ มายา หมายถึง ปยุ๋ หลุด หมายถึง ข้ีโคลน เป็นตน้ คำ� ยมื จากภาษาจนี นครศรธี รรมราชเคยเปน็ เมอื งทา่ และศนู ยก์ ลางคา้ ขายมชี าวจนี เดนิ ทางมาคา้ ขาย ทำ� ใหม้ ภี าษาจนี ปะปนอยูบ่ ้าง โกบ ี้ หมายถึง กาแฟ โส้ย หมายถงึ ซวย องั เลา่ หมายถึง เตาไฟ ฉา้ ย หมายถงึ บอกใบ้ จะโกย หมายถึง อวิ่ จากว้ ย (ปาท่องโก๋) ก็องถ่งึ หมายถึง ขนมตบุ๊ ต๊บั เป็นตน้ 270 แหนลักวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

คำ� ยืมจากภาษาตะวนั ตก นครศรธี รรมราชเคยเปน็ เมืองทา่ มีการติดต่อคา้ ขายกบั ประเทศแถบตะวัน ตกดว้ ย จึงท�ำให้มีภาษาปะปนอย่บู า้ ง เชน่ ยาแหรด็ มาจาก ซกิ าแรต หมายถึง บหุ ร่ี แบแร็ต มาจาก คอมแบท็ หมายถงึ รองเทา้ หลูด มาจาก รจู หมายถึง สีแดงทาปาก มุตโต มาจาก มอตโต หมายถงึ กลอนสด เปน็ ตน้ การแบ่งค�ำโดยใช้ความหมาย ภาษาถนิ่ นครศรธี รรมราชมคี ำ� ทใี่ ชเ้ หมอื นและแตกตา่ งจากภาษาไทยมาตรฐาน เฉพาะทแ่ี ตกตา่ งทงั้ รปู เสยี ง และความหมายโดย เชน่ คำ� บอกเวลา มคี ำ� บอกเวลามากและหลากหลาย แตล่ ะคำ� มคี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งใกลช้ ดิ กบั สภาพแวดลอ้ ม วิถีวฒั นธรรม ประเพณแี ละสภาพทางภมู ิศาสตร์ เชน่ หวนั มุง้ ม้งิ หมายถึง ตอนโพลเ้ พล้ ตอ่ โพรก ต่อเชา้ หมายถึง พรงุ่ นี้ หวันชา้ ย หมายถงึ ตอนบา่ ย หยามนา หมายถึง ฤดูที่ชาวนาเริ่มท�ำงานตั้งแต่ไถนาจนเก็บเกี่ยวประมาณเดือนพฤษภาคม– พฤศจิกายน วนั ชงิ เปรต หมายถงึ วนั ทมี่ ีการทำ� บุญส่งเปรต ตรงกับวนั แรม 14 ค่ำ� เดอื น 10 ของทกุ ปี ค�ำเกี่ยวกบั อาหารการกนิ ภาษาไทยถน่ิ มชี ื่ออาหารทีแ่ ตกต่างจากถนิ่ อ่นื เช่น หนุมจจู้ นุ หมายถึง ขนมฝักบัว แกงส้ม หมายถึง แกงเหลือง แกงสมรม หมายถงึ แกงผักรวม แกงพุงปลา หมายถึง แกงไตปลา ค�ำเกย่ี วกับพชื และสตั ว์ ค�ำที่แตกตา่ ง เชน่ แตงจีน หมายถึง แตงโม ยา่ หนดั หมายถงึ สับปะรด หวั ครก ยารว่ ง หมายถงึ มะมว่ งหิมพานต์ มสู งั หมายถงึ ชะมด วาด เวยี ด หมายถึง จกั จนั่ หรง้ิ แหร ้ หมายถึง เรไร คำ� เกี่ยวกบั โรคภยั ไขเ้ จ็บ บางสว่ นทแี่ ตกต่าง เช่น สางคราง หมายถงึ เช้ือราทขี่ าหนบี ชันตุ ชนั โต หมายถึง แผลเปอ่ื ยเรอ้ื รังจนแขง็ ไขอ่ ุ้ง ไข่ลงฝัก หมายถงึ ไส้เลือ่ น หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 271

ค�ำเกย่ี วกบั เครือ่ งมือเครอ่ื งใช้ บางสว่ นทีใ่ ชแ้ ตกตา่ งจากภาษาไทยมาตรฐาน เชน่ สกี้ หมายถึง ป้งุ ก้ี โคม หมายถึง กะละมัง จอก พลอ้ หมายถงึ แกว้ น�้ำ ผ้าซักอาบ หมายถึง ผา้ ขาวมา้ รถรนุ หมายถงึ รถเขน็ การเรียงค�ำและประโยค การเรียงค�ำส่วนใหญ่เหมือนกับภาษาไทยมาตรฐานแต่มีบางค�ำที่เรียงสลับท่ีกัน เชน่ หลวงพ่อ-พ่อหลวง หลวงตา-ตาหลวง เลอื ดออก-ออกเลอื ด ส่วนการเรียงค�ำในประโยคมีลักษณะการเรียงค�ำของภาษาไทยโบราณหลงเหลืออยู่คือ การเรียงค�ำโดยมี ค�ำนับจำ� นวนนำ� หนา้ นาม และคำ� นามมีลกั ษณนามน�ำหนา้ เชน่ คำ� นับจ�ำนวน + ลักษณนาม + นาม เช่น สองบาททอง หมายถึง ทองสองบาท สิบล�ำเรือ หมายถึง เรอื สบิ ล�ำ สามคันรถ หมายถึง รถสามคัน สองตัวหมู หมายถึง หมูสองตัว เงินร้อยหนึ่ง หมายถงึ เงินหนึ่งร้อย ส�ำหรบั รปู ประโยคมีลักษณะเหมือนภาษาไทยมาตรฐาน คอื เรยี งคำ� แบบประธาน + กริยา + กรรม และ สามารถตัด หรือยา้ ยคำ� ทำ� ให้ได้ประโยคหลาย ๆ แบบ เชน่ ฉานกินขา้ วแหลว่ กนิ ขา้ วแหลว่ ฉาน ข้าวกนิ แหลว่ ฉาน เดนิ เรว็ ๆ ตะ๊ เรว็ ๆ ต๊ะเดนิ ฝนอตี อ็ กหลา่ วอติ ๊อกหล่าวฝน ส�ำนวนโวหารที่เป็นเอกลักษณะของคนนครศรีธรรมราชได้ชื่อว่าเป็นที่นิยมใช้กับคล้องจอง ค�ำผวน และ สำ� นวนโวหารกนั จนตดิ ปาก และสำ� นวนโวหารเหลา่ น้ัน เปน็ เครอ่ื งแสดงเอกลกั ษณท์ างวัฒนธรรมไดเ้ ปน็ อย่างดี เช่น เขา้ โหม้ง หมายถึง มนี สิ ยั เขา้ กนั ไดด้ เี ปน็ ไปในทำ� นองเดยี วกนั (มาจากการแสดง หนังตะลุงทใ่ี ชโ้ หม่งเป็นดนตรีให้จังหวะ) นอนเหมือนโนราโรงแพ้ หมายถงึ นอนหมดอาลัยและหมดเรยี่ วแรง (มาจากการแข่งโนรา ใครแพก้ ็ผดิ หวงั นอนหมดอาลัย) อยากเหมือนเปรตเดือนสิบ หมายถึง อยากกนิ ทุกอยา่ ง เออื ดเหมอื นสอบเกลอื หมายถงึ เหนียวเหนอะหนะ ไอ้ยอดทองบา้ นาย หมายถึง ประจบสอพลอ (ไอ้ยอดทองเป็นตัวตลกหนงั ตะลุง ทมี่ ีลกั ษณะนสิ ัยประจบสอพลอ) 272 แหนลักวสกูตารรนจคัดรกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศึกษา

ด้านวรรณกรรม เมอื งนครศรธี รรมราชไดช้ อื่ วา่ เปน็ เมอื งนกั ปราชญร์ าชกวมี าตงั้ แตค่ รงั้ โบราณ ทกุ ยคุ ทกุ สมยั นกั ปราชญแ์ ละ กวีเมืองนครได้สร้างสรรค์ผลงานให้เป็นท่ีปรากฏต่อการรับรู้และการยอมรับของผู้คนอย่างแพร่หลายกว้างขวางโดย ตลอดมา มีหลกั ฐานร่องรอยที่ยนื ยันคำ� กล่าวข้างต้น เชน่ เมอื่ พอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราชทรงจดั การศกึ ษาแกอ่ าณาประชาราษฎรน์ นั้ ทรงบนั ทกึ บทบาทของนกั ปราชญ์ จากเมอื งนครศรีธรรมราช ไว้ในหลักศลิ าจารกึ หลักที่ 1 ว่า “...สังฆราชปราชญเ์ รยี นจบปิฎกตรัย หลวกกวา่ ปคู่ รใู นเมอื งนี้ ทกุ คนลกุ แต่เมอื งศรีธรรมราชมา...” เมือ่ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชพระมหากษัตริย์นักปราชญ์ จ�ำต้องลงโทษเนรเทศ “ศรีปราชญ”์ กวแี หง่ ราชส�ำนักที่ทรงโปรด ให้ออกจากกรุงศรีอยุธยาเป็นการชั่วคราวตามกฎมณเทียรบาลนั้น พระองค์ทรงเลือกเมือง นครศรธี รรมราชใหเ้ ปน็ ทพี่ ำ� นกั ของศรปี ราชญเ์ พราะตอ้ งการสง่ คนทท่ี รงโปรดใหม้ าอยใู่ นบา้ นเมอื งทเี่ จรญิ รงุ่ เรอื งทาง ด้านกวี เมอ่ื สนุ ทรภู่ เขยี นเพลงยาวถวายโอวาท กใ็ ชเ้ มอื งนครฯ เปน็ หลกั ฐานอา้ งองิ รบั รองความเดน่ ดงั ของตวั เองวา่ “อยา่ งหม่อมฉนั อนั ที่ดีแลชว่ั ถงึ ลับตวั แตช่ อื่ เขาลอื ฉาว เป็นอาลกั ษณ์นกั เลงท�ำเพลงยาว เขมรลาวลอื เลือ่ งถงึ เมอื งละคร” ทั้งนีว้ รรณกรรมเมืองนครศรธี รรมราชนนั้ มีทงั้ “วรรณกรรมมุขปาฐะ” และ “วรรณกรรมลายลกั ษณ์” “วรรณกรรมมุขปาฐะ” คือ วรรณกรรมท่ีถ่ายทอดสืบต่อกันมาโดยการจดจ�ำและร้องต่อกันมาด้วยปาก ต่อปาก เช่น เพลงร้องเรือ (เพลงกล่อมเด็กภาคใต้) บทร้องเล่นของเด็ก บทขับเพลงบอก โนรา หนังตะลุง จนถึง บทสวดในพธิ ีกรรมต่าง ๆ เป็นตน้ “วรรณกรรมลายลกั ษณ”์ คอื วรรณกรรมทม่ี กี ารบนั ทกึ ไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรในสมดุ ขอ่ ย สมดุ ไทย ใบลาน และ หนังสอื บุด จนถึงรูปแบบหนงั สือและสื่ออ่นื ๆ ในปจั จุบัน ซ่งึ มวี รรณกรรมท่ีเปน็ บทร้อยกรอง นทิ าน ต�ำนาน ตำ� ราตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ดงั นน้ั หากจะสบื สาวเดนิ ยอ้ นรอยไปตงั้ แตช่ ว่ งกอ่ นปี 2500 จนถงึ ชว่ งกรงุ ธนบรุ แี ละกรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ ก็จะพบว่ามีนักเขียนหรือกวีเมืองนครจ�ำนวนมากได้สร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมไว้ ท้ังโดยรูปแบบของฉันทลักษณ์ พน้ื บา้ นภาคใตแ้ ละฉนั ทลกั ษณอ์ ยา่ งทเี่ ปน็ ทน่ี ยิ มในราชธานี ตวั อยา่ งกวเี มอื งนครในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ทมี่ ชี อ่ื เสยี งเปน็ ทยี่ อมรบั เช่น ภกิ ษอุ นิ ทร์ พระยาตรงั พระครูวนิ ัยธร นายเรือง นาใน หมืน่ สนทิ พระสมหุ ์หนู ชปู ราชญ์ พระรัตนธชั มุนี (ม่วง รตนธโช) สขุ ปราชญ์ พระปลดั เลยี่ ม อาสโย และขุนอาเทศคดี เป็นต้น ภกิ ษอุ ินทร์ เปน็ กวชี าวนครศรธี รรมราชทม่ี ชี อื่ เสยี งและมชี วี ติ อยใู่ นชว่ งสมยั สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี ถนดั เขยี นประเภท ฉนั ท์ โดยใชธ้ รรมะเป็นเนอื้ หา ผลงานของภกิ ษุอินทร์ที่รจู้ กั กันดคี อื เร่ือง “กฤษณาสอนน้องคำ� ฉันท”์ หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ดัรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 273

พระยาตรงั หรอื พระยาตรงั ภมู าภบิ าล (ชื่อเดมิ “ศรจี นั ทร”์ ) เป็นบตุ รของ ออกพระศรรี าชสงครามรามภักดี (เยาว)์ ปลดั เมอื งนครศรธี รรมราชและมารดาแจม่ ผเู้ ปน็ ธดิ าพระยานคร (พดั ) เรม่ิ เรยี นหนงั สอื ขอม หนงั สอื ไทยทวี่ ดั ทา่ มอญ (วัดศรีทวี ตำ� บลทา่ วัง อ�ำเภอเมอื งนครฯ) ไดร้ ับการโปรดเกล้าฯให้เปน็ เจ้าเมอื งตรัง ในสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย พระยาตรังถนดั เขียนโคลง โดยใช้จนิ ตนาการและโวหารคมกลา้ มาประพันธ์ ผลงานทีส่ ำ� รวจได้เชน่ นริ าศ ตามเสดจ็ ล�ำน้ำ� นอ้ ย นิราศถลาง โคลงด้ันเฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลยั โคลงกระทู้ เบด็ เตล็ด เปน็ ต้น พระครูวนิ ยั ธร เป็นกวีท่ีมีชีวิตอยู่รุ่นราวคราวเดียวกับพระยาตรัง จ�ำพรรษาอยู่วัดชายนา (ต�ำบลนา อ�ำเภอเมือง นครศรธี รรมราช) พระครวู นิ ยั ธรถนดั เขยี นกาพย์ โดยใชธ้ รรมะและนทิ านชาดกเปน็ เนอื้ หา ผลงานทค่ี น้ พบและถอื วา่ เป็นผลงานช้นิ เอกของพระครวู ินัยธรคอื เรือ่ ง “สุบนิ สำ� นวนเก่า” ซึง่ แตง่ ด้วยคำ� กาพย์ ท้ังกาพยย์ านี 11 กาพยฉ์ บงั 16 ราบหรอื สรุ างคนางค์ 28 นายเรือง นาใน เกดิ ทบี่ า้ นนาใน (ตำ� บลชา้ งซา้ ย อำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช) คาดวา่ มอี ายอุ ยใู่ นชว่ งสมยั รชั กาลที่ 1-3 แหง่ กรุงรัตนโกสินทร์ เป็นผู้มีความสามารถในการเขียนกาพย์และกลอนแปดบท โดยเฉพาะกลอนแปดบทซ่ึงเป็น ฉันทลกั ษณ์กลอนพน้ื บ้านภาคใตน้ น้ั เป็นท่ียอมรบั กันโดยทว่ั ไป จนไดส้ มญานามวา่ “นายเรือง นาใน เจา้ แหง่ กลอน แปดบท” ทเี ดยี ว นายเรอื ง นาในแตง่ วรรณกรรมโบราณและนทิ านพนื้ บา้ นไวห้ ลายเรอื่ ง เชน่ เรอื่ ง พระรถเสน โคบตุ ร จำ� ปสี ต่ี น้ เปน็ ตน้ หม่ืนสนทิ เป็นกวีเมืองนครท่ีมีชีวิตอยู่ในช่วงปลายรัชกาลที่ 3 ถึงต้นรัชกาลที่ 5 เป็นผู้มีความรอบรู้ทางด้านหนังสือ อยา่ งดี จงึ ไดเ้ ปน็ ทำ� งานเปน็ เลขานกุ ารของเจา้ พระยาสธุ รรมมนตรี (พรอ้ ม ณ นคร) ถนดั เขยี นกลอน เพลงยาวสอื่ สาร โต้ตอบ เปน็ ท่รี ู้จกั มีชอื่ เสยี งในสมยั นั้นมาก เคยเขียนกลอนโตต้ อบกบั นายมีซงึ่ เปน็ นกั กลอนทางกรุงเทพฯ มีผู้จดจ�ำ บอกเล่ากันตอ่ มา พระสมหุ ห์ นู เป็นกวีชาวนครศรีธรรมราชที่มีชีวิตอยู่ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 7 เดิมเป็นชาวอ�ำเภอปากพนัง บ้านอยู่ข้างวัดเสาธงทอง ต�ำบลปากพนังฝั่งตะวันออก ต่อมาได้บวชเรียนและมาจ�ำพรรษาท่ีวัดในตัวเมือง นครศรธี รรมราช พระสมหุ ห์ นมู คี วามถนดั ในการเขยี นฉนั ทแ์ ละโคลง โดยใชศ้ พั ทส์ งู เนน้ การใชพ้ ทุ ธธรรมและวรรณคดี เปน็ เนื้อหาในการแตง่ ผลงานทพ่ี บคอื เรอื่ ง “เพชรมงกฎุ คำ� ฉันท์” “โสฬสนมิ ิต” และเรื่อง “อุเทนคำ� ฉนั ท์” ชูปราชญ์ เปน็ กวีทม่ี ชี วี ติ อยูใ่ นช่วงเดยี วกับพระยาตรงั (ศรจี ันทร์) ชื่อเดมิ คอื “นายช”ู แต่เมือ่ มีความสามารถทางกวี เปน็ ทปี่ รากฏและยอมรบั คนทวั่ ไปจงึ เรียนว่า “ชูปราชญ”์ โดยเตมิ ค�ำว่า ”ปราชญ”์ เป็นสรอ้ ยให้ ภูมลิ �ำเนาเดิมอยู่ ทอี่ ำ� เภอฉวาง เปน็ ผู้มคี วามสามารถในการเล่นเพลงบอก เพลงนา เพลงเรือ โคลงกลอน และรบั จ้างเขียนเพลงยาวให้ แก่หนุ่มสาวในสมัยนัน้ เปน็ ที่ขนึ้ ชอื่ ลือชามาก 274 แหนลักวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

พระรตั นธัชมนุ ี (มว่ ง รตนธโช) เดิมชื่อม่วง เกิดในสกุล ศิริรัตน์ ที่ต�ำบลบ้านเพิง อ�ำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันท่ี 10 สงิ หาคม 2396 เปน็ สหชาตใิ นพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดบ้ วชเรยี นและตอ่ มาไดร้ บั การแตง่ ตง้ั เปน็ เจ้าอาวาสวัดท่าโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวดั นครศรีธรรมราช นอกจากนัน้ ได้รบั พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ปน็ ผ้อู �ำนวย การศกึ ษาเปน็ เจา้ คณะมณฑลนครศรธี รรมราชและปตั ตานี ทำ� หนา้ ทจี่ ดั การคณะสงฆ์ การศกึ ษาและการพระศาสนา โดยจดั ต้งั โรงเรยี นเพอ่ื จดั การศึกษาแผนใหม่ทว่ั ภาคใต้ถึง 21 โรงเรยี น ทางด้านกาพยก์ ลอน ท่านกม็ คี วามสามารถหาผู้เสมอเหมือนได้ยาก จนท�ำใหท้ า่ นเปน็ ศนู ย์รวมของกวแี ละ ศิลปินพื้นบ้านในสมัยนั้นท่านเจ้าคุณม่วงมีความถนัดกลอนพื้นบ้าน โดยเฉพาะกลอนเพลงบอกเป็นพิเศษ จน ฉนั ทลกั ษณข์ องเพลงบอกของทา่ นไดก้ ลายเปน็ ตน้ แบบของกลอนเพลงบอกในสมยั ตอ่ มา กลอนเพลงบอกเรอ่ื ง “ศาลา โกหกหรือสจั จศาลา” ทที่ ักท้วงการเรยี กชอ่ื ศาลาโดหก (ประดู่หก) ซงึ่ ตัง้ อยู่ทีส่ นามหนา้ เมอื งจนเพ้ียนไปเปน็ ศาลา โกหก เป็นกลอนเพลงบอกทมี่ ีการกลา่ วถงึ และนำ� มาแสดงใหเ้ หน็ ถึงความเป็นปราชญข์ องทา่ นอยา่ งชัดแจ้ง สขุ ปราชญ์ ชอ่ื จริงคอื นายสุข สุขรินทร์ ครน้ั เมอ่ื มีความสามารถทางกวีคนทวั่ ไปจึงเติมค�ำว่า “ปราชญ”์ ให้เปน็ สร้อย ของช่ือและเรียกต่อ ๆ กันมาว่า “สุขปราชญ์” สุขปราชญ์เกิดแถวบ้านมะขามชุม (ต�ำบลท่าวัง อ�ำเภอเมือง นครศรีธรรมราช) เป็นผ้มู ีความสามารถทางการเลน่ เพลงบอก กลอนแปดบท แต่งกลอนโนรา บทท�ำขวัญนาค และ กลอนหนงั ตะลงุ ทม่ี ชี อ่ื เสียงมาก กลา่ วกนั วา่ สขุ ปราชญเ์ ปน็ กวีทีเ่ ก่งกลา้ ฝีปากคมคายไมเ่ กรงกลัวกวใี ด ๆ และมักจะ หาโอกาสไปเลน่ บทกลอนถวายพระรตั นธชั มุนี (ม่วง) ทีว่ ดั ทา่ โพธิ์อยเู่ สมอ พระปลดั เลย่ี ม อาสโย เดมิ ชอื่ เลี่ยม นาครภัฏ เกิดทต่ี ำ� บลมะม่วงสองต้น อำ� เภอเมืองนครศรีธรรมราช เมือ่ ปี พ.ศ. 2429 ตอ่ มาได้ บวชเปน็ พระภกิ ษแุ ละไดเ้ ปน็ เจา้ อาวาสวดั พระเพรง วดั จงั หนู และวดั พระศรอี ารยิ ์ (วดั ไมห้ ลา) เปน็ ลำ� ดบั และสดุ ทา้ ย มาจ�ำพรรษาท่ีวัดเพชรจริก อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จนถึงแก่มรณภาพเมื่อปี 2513 พระปลัดเลี่ยมถนัดเขียน กลอนและกาพยม์ าก โดยใชว้ ถิ ชี วี ติ จรงิ มาผกู รอ้ ยเปน็ เรอ่ื งราว เชน่ เรอ่ื ง “โขนเสอ้ื เมอื ง” “ลเิ กในวงั ” “หาดทรายแกว้ ” “ทิดปาน” “นริ าศถกู วาตภยั ” และเร่ือง “คชานสุ รณ”์ หรอื “พลายจ�ำเรญิ ” ซง่ึ ถือวา่ เป็นเรือ่ งท่รี ูจ้ กั แพรห่ ลายท่ีสดุ ขนุ อาเทศคดี เดมิ ชื่อ กลอน มลั ลกิ ะมาส เกิดที่บ้านทา่ ชี ต�ำบลในเมอื ง อำ� เภอเมืองนครศรีธรรมราช เมอ่ื ปี พ.ศ. 2431 รับราชการสงั กดั กรมอัยการ กระทรวงมหาดไทย จนได้รบั บรรดาศกั ด์เิ ป็น ขุนอาเทศคดี เปน็ ผมู้ ีความรอบร้เู กีย่ วกบั คติชนวิทยา ภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่นอย่างดีย่ิง ส�ำหรับความสามารถด้านกวีน้ัน ถนัดเขียนโคลง โดยใช้หลัก ธรรมะมาผูกร้อยเป็นเรอ่ื งราว นอกจากนั้นยังปรากฏช่ือศิลปินเพลงบอก โนรา หนังตะลุงอีกจ�ำนวนมากมาย ที่ต่างได้สร้างสรรค์ผลงาน เชิงวรรณศิลป์เผยแพร่ ท่ามกลางบรรยากาศความเป็น “เมืองนักกลอน” ของนครศรีธรรมราชให้เป็นที่ปรากฏ เดน่ ชดั มาโดยตลอด เปน็ ตน้ วา่ “เพลงบอกปานบอด” (ปาน ชชี า้ ง) แหง่ ตำ� บลเขาพงั ไกร อำ� เภอหวั ไทร “เพลงบอก เนตร ชลารัตน”์ แหง่ ตำ� บลอินคีรี อำ� เภอพรหมครี ี หนังหนูจันทร์ ธานนิ ทรพ์ งศ์ แห่งต�ำบลไทยบรุ ี อำ� เภอท่าศาลา หนังจนั ทรแ์ กว้ บญุ ขวญั แหง่ อ�ำเภอหวั ไทร หนังเรอ้ื ย-หนังรา่ น คำ� หวาน แหง่ อำ� เภอทา่ ศาลา เหล่านี้เป็นต้น หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 275

จนถึงในยุคหลังต่อมาก็ยังมีศิลปินเพลงบอก โนรา หนังตะลุงอีกจ�ำนวนมากท่ีได้ใช้ความสามารถทางด้าน ศิลปะการแสดงและถ่ายทอดสร้างสรรค์วรรณกรรมเป็นที่ปรากฏยอมรับโดยทั่วไป เช่น หนังประวิง ป.ชีช้าง หนังประท่นิ บัวทอง หนังล้อม สระกำ� หนังประยรู ใหญ่ บนั เทิงศิลป์ หนงั ปล้อง อ้ายลูกหมี หนงั ทวีศิลป์ บางตะพง หนงั ปรีชา สงวนศลิ ป์ หนังจำ� เนียร ค�ำหวาน หนังเคลา้ นอ้ ย โรจนเมธากลุ เพลงบอกสร้อย ดำ� แจ่ม เพลงบอกสมใจ ศรอี ู่ทอง เป็นตน้ ทางด้านนักคิดนักเขียนนักกลอนในยุคหลังต่อมา มีนักคิดนักเขียนนักกลอนเมืองนครศรีธรรมราชท่ีได้ สรา้ งสรรคผ์ ลงานวรรณกรรมเปน็ ทป่ี รากฏและยอมรบั โดยทว่ั ไปจำ� นวนมากมาย เชน่ องั คาร กลั ยาณพงศ์ เออ้ื ม อบุ ล พันธ์ุ ตรึก พฤกษะศรี อรรถกร ถาวรมาศ เสารว์ นั จะนู ภิญโญ ศรีจ�ำลอง จ�ำรญู วิชยั ณรงค์ เรวัตร พนั ธ์ุพิทยแ์ พทย์ คมสัน พงษส์ ธุ รรม เป็นต้น นอกจากนน้ั ในยคุ หลงั ตอ่ มาจนถงึ ปจั จบุ นั ยงั มคี วามเคลอ่ื นไหวในกจิ กรรมทางภาษาและรรณกรรมอยา่ งตอ่ เน่ืองโดยชมรม กลุม่ องคก์ ร และสถาบันการศึกษาทกุ ระดับ เชน่ ชมรมนครศรกี วศี ลิ ป์ กลุม่ นักกลอนยวุ วรรณศิลป์ ชมรมดอกไม้นครศรีธรรมราช กลุ่มนาคร ส�ำนักกวีน้อยเมืองนคร กิจกรรมแข่งขันบทร้อยกรองเวทีกลอนเดือนสิบ การประกวดร้อยกรองของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์ ตลอดจนกิจกรรมในโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาอย่างตอ่ เน่อื ง เปน็ ต้น เอกลกั ษณ์ด้านหัตถกรรม การทำ� เครอื่ งถม เปน็ หตั ถกรรมทมี่ ชี อื่ เสยี งทส่ี ดุ ของนครศรธี รรมราช ไดแ้ ก่ การทำ� เครอ่ื งถมเครอื่ งใช้ เครอ่ื ง ประดบั ตงั้ แตส่ มยั อยธุ ยาตอนตน้ ปจั จบุ นั ชาวเมอื งนครศรธี รรมราบางสว่ นยงั ประกอบอาชพี ทำ� เครอ่ื งถมอยู่ มโี รงเรยี น ชา่ งถมเพื่อฝกึ หดั เยาวชนให้สืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมนี้ตอ่ ไป เครื่องถมนครศรธี รรมราช 276 แหนลกัวสกตูารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

การสานยา่ นลิเพา เปน็ เคร่ืองใช้ เช่น กระเป๋าภาชนะใสส่ ิง่ ของ ซ่งึ เริม่ มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4-5 และมีชอื่ เสยี งตัง้ แต่รชั สมัยรชั กาลท่ี 6 จนปจั จุบนั นครศรธี รรมราชมีผู้เชยี วชาญการสานย่านลเิ พาฝีมอื เอก ช่ือ ร้อยเอกเผือน คงเอียง ปจั จบุ ัน สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โปรดเกลา้ ฯ ให้ไปเปน็ ครสู อนการประดษิ ฐ์เครือ่ งใชจ้ ากยา่ นลิเพา ท่ีศูนย์ศิลปาชพี บางไทร พระนครศรีอยุธยา ย่านลิเพานครศรีธรรมราช การท�ำพัดด้วยใบกระพ้อ ได้แก่ การท�ำ ใบพัดกระพ้อ ของชาวบ้านโคกยางหน้าโรงเรียนวัดสุวรรณรังษี อ�ำเภอรอ่ นพิบลู ย์ การใช้ยอดพ้อขนาดเพสลาดมาคล่ใี บตากแหง้ ยอมสีและท�ำจกั สานเป็นพดั แบบพนื้ บา้ น ปัจจบุ ันน้ี พัดใบพ้อเป็นของท่ีระลึกการทอ่ งเท่ยี วเมืองนครศรธี รรมราช พัดใบกระพ้อนครศรธี รรมราช การแกะสลักรูปหนงั ตะลุง ได้แก่ การแกะสลกั หนังวัว หนังควาย ใหเ้ ปน็ รปู หนังตะลงุ และระบายสีตาม แบบและเทคนคิ การทำ� รปู หนงั ตะลุงสว่ นมากเปน็ อาชพี เสริมของนายหนงั ตะลุง หรือแวดวงของอาชีพตะลุงเดิม รูปหนังตะลงุ นครศรีธรรมราช หลกั สตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 277

การท�ำกรงนก ได้แก่ การท�ำกรงนกเขาและกรงนกหัวจุก เร่ิมนิยมแพร่หลายมาตั้งแต่ พ.ศ. 2530 การประกอบกรงนกขายจึงทำ� รายได้ให้อยา่ งงดงาม กรงนก ผ้าฝ้ายเมืองนครศรีธรรมราช มีชื่อเสียงพอ ๆ กับเครื่องถมเมืองนครโดยเฉพาะชายราชส�ำนักในรัชกาล พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จะโปรดของฝากจากเมอื งนครศรธี รรมราชอยู่ 3 อยา่ ง คอื ผา้ ยกเมอื งนคร เคร่อื งถมเมืองนคร และน้ำ� ผ้งึ ปา่ จากป่าเขาหลวงในเขตชาวนอกเขา ในสมัยก่อน ชาวเมืองนครศรีธรรมราชเกือบทุกพื้นท่ีจะนิยมปลูกฝ้ายเอง เก็บฝ้ายมาปั่นเส้นด้ายด้วยมือ ย้อมสดี ้วยสีจากสมุนไพรหรอื เปลอื กไม้ และทอผา้ ฝา้ ยดว้ ยหูกทอผ้าทป่ี ระดิษฐเ์ อง ในครอบครวั และญาตพิ ่นี อ้ งส่วน ทีไ่ ดพ้ ัฒนาใหฝ้ มี ือประณตี ขึน้ เป็นผา้ ยกเมืองนครทีโ่ ด่งดัง ผ้ายกเมืองนครศรีธรรมราช 278 แหนลกัวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

เอกลักษณด์ า้ นศลิ ปกรรม ศลิ ปกรรมของนครศรธี รรมราชทเ่ี ด่นทีส่ ุดมดี ังนี้ มโนราห์หรือโนรา เป็นการแสดงพื้นบ้านท่ีเป็นท่ีนิยมมากของชาวนครศรีธรรมราช ในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวและพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดใหแ้ สดงมโนราห์หนา้ พระที่นัง่ เสมอเวลาเสด็จประพาสเมืองนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะเวลาเสด็จนมัสการพระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันการแสดง มโนราห์ประยุกต์ให้เป็นแบบสมยั ใหมม่ ากขนึ้ ร�ำมโนราห์ หนังตะลุง เป็นการแสดงที่ชาวนครศรธี รรมราชนิยมมากอีกประเภทหนงึ่ การแสดงหนังตะลงุ หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 279

เพลงบอก : ปฏิภาณกวีประจ�ำท้องถิ่น เป็นศิลปะการละเล่นพื้นบ้านภาคใต้ที่มีมานานตั้งแต่อดีต (ควบค่กู บั หนงั ตะลงุ และโนรา) โดยเฉพาะในพ้ืนทภี่ าคใตต้ อนบน เชอ่ื วา่ มคี วามนยิ มในการเล่นเพลงบอกมาแลว้ ราว 150-200 ปี เป็นศิลปะการละเล่นท่ีแสดงความสามารถในเชิงปฏิภาณกวีของแม่เพลง ที่จะร้องขับกลอนเพลงบอก หรือรอ้ งโต้ตอบกันสด ๆ เพอื่ ร้องบอกเรอื่ งราวข่าวสารและความบนั เทงิ รืน่ รมย์ เพลงบอกคณะหนงึ่ ๆ ประกอบดว้ ย แมเ่ พลง 1 คน และลกู คู่ 2-3 คน (ในคณะสามารถทจ่ี ะผลัดเปลย่ี นกนั ท�ำหนา้ ทีเ่ ปน็ แมเ่ พลงและลูกคู่ได)้ มี “ฉิง่ ” เปน็ เคร่ืองดนตรปี ระกอบก�ำกบั จังหวะเพียงคู่เดียว กลอนเพลงบอก สนั นษิ ฐานวา่ มาจากกลอนแปดบท แลว้ คอ่ ยปรบั เปลย่ี นมาเปน็ รปู แบบฉนั ทลกั ษณพ์ นื้ บา้ น เฉพาะว่าเป็นกลอนเพลงบอก แต่มีความยืดหยุ่นในเรื่องจ�ำนวนค�ำในแต่ละวรรคและการลงสัมผัส มีรูปแบบการว่า ของแมเ่ พลงและการรบั ของลกู ค่ทู ช่ี ดั เจนนิยมเรยี กการขับรอ้ งเพลงบอกวา่ “ทอกเพลงบอก” หรือ “ว่าเพลงบอก” “เพลงบอก” กบั “วันสงกรานต”์ เปน็ ของคกู่ ันมาในอดตี ของพื้นบ้านภาคใต้ กล่าวคอื เมือ่ ถึงหนา้ เทศกาล สงกรานต์ ในยามค่�ำคืน จะมคี ณะเพลงบอก (ทัง้ อาชีพและสมคั รเล่น) เดินทางไปเยี่ยมเยียนกันในหมู่บา้ น เพ่อื ขับ รอ้ งเพลงบอก บอกขา่ วสาร ประกาศสงกรานตแ์ ละเรอ่ื งรนื่ รมยส์ นกุ สนาน โดยเจา้ ของบา้ นจะยกเหลา้ ยาปลาปง้ิ ขนม นมเนยมารบั รองคณะเพลงบอก รวมถึงอาจจะใหเ้ งนิ ทองเป็นรางวัล เรียกกจิ กรรมนกี้ ันติดปากวา่ “เพลงบอกทอก หัวได” แต่เมื่อสภาพสังคมเปล่ียนไป ท�ำให้มีข้อจ�ำกัดในเรื่องของความปลอดภัยยามค�่ำคืน รวมท้ังความนิยมและ คณะเพลงบอกทม่ี ีลดนอ้ ยลง ท�ำให้ “เพลงบอกทอกหัวได” ในหนา้ สงกรานตพ์ ลอยเปล่ยี นแปลงและรา้ งราไปนาน รว่ ม 20-30 กวา่ ปี แลว้ .. ในอดีตนั้นมีการขับร้องเพลงบอกโดยการประชันร้องโต้ตอบกันเป็นที่สนุกสนานและต้องอาศัยปฏิภาณ ไหวพรบิ อยา่ งยงิ่ มกี ารจดจำ� เปน็ ตำ� นานของการโตเ้ พลงบอกทป่ี ระทบั ใจและบอกเลา่ ตอ่ กนั มา เชน่ การโตเ้ พลงบอก ระหว่าง เพลงบอกปานปอดกับเพลงบอกรอดหลอ และระหว่างเพลงบอกปานบอด ชีช้าง กับเพลงบอกเนตร ชลารตั น์ เม่ือประมาณ 100 กวา่ ปมี าแล้ว เป็นต้น ส�ำหรับคณะเพลงบอกในระยะหลังที่มีช่ือเสียงเป็นท่ียอมรับ เช่น เพลงบอกสร้อย เสียงเสนาะ (ด�ำแจ่ม) ไดร้ ับการยกย่องเป็นศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดงเพลงบอก เพลงบอกแมน อศั วิน เพลงบอกสมใจ ศรอี ู่ทอง เพลงบอกสรุ นิ ทร์ เสียงเสนาะ เพลงบอกสมใจ ฤทธิอักษร เพลงบอกปรีชา สขุ จนั ทร์ เป็นต้น การครอบครูหมอชา้ ง การพิธีบูชาพระพฆิ เนศ เพ่ือให้เกิดสิรมิ งคลในการท�ำงานศลิ ปะและงานทีเ่ กย่ี วกับ การบังคบั ชา้ ง นบั ต้ังแตก่ ารจบั ช้างปา่ การเลีย้ งและฝึกช้างการน�ำช้างไปใช้งาน พธิ ีกรรมจะด�ำเนินโดยหมอเฒ่า การครอบครหู มอชา้ ง 280 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรธี เรรรียมนรารชู้ ศึกษา

การแทงหยวก คอื การนำ� กาบกลว้ ยสดมาจกั -แทง-ตดั ใหเ้ ปน็ สวดลายตา่ ง ๆ ดว้ ยมดี ขนาดเลก็ ซงึ่ มลี กั ษณะ ยาวโค้งเล็กน้อย มีที่จับ มักใช้น�ำไปประกอบเบญจา เวลารดน้�ำผู้ใหญ่ในวันสงกรานต์ หรือประกอบเมรุเผาศพ งานแทงหยวกตอ้ งอาศยั ผมู้ ฝี มี อื เนอ่ื งจากตอ้ งทำ� อยา่ งรวดเรว็ กอ่ นกาบดว้ ยจะเหย่ี วแหง้ ปจั จบุ นั มชี า่ งฝมี อื ทส่ี ามารถ ทำ� ได้น้อยลง การแทงหยวก เอกลักษณ์ดา้ นอาหารการกิน การกนิ สำ� รบั ชาวนครศรธี รรมราชนยิ มกนิ สำ� รบั กบั ขา้ วโดยนำ� ถว้ ยกำ� ขา้ วใสใ่ นถาดพรอ้ มขา้ ว ยกไปใหแ้ ขก หรอื ญาตผิ ใู้ หญ่รับประทานเรียกวา่ ยกส�ำรับหรอื กนิ สำ� รบั ขนมจีนเมืองนคร มีท้ังแบบแป้งบีบเส้นนิ่มอ่อน กับเส้นไม่นิ่มอ่อน ท่ีบดอัดออกมาจากกระบอกขนมจีน ส่วนนำ้� แกงขนมจีนที่ชาวกรุงเทพฯเรียกน้�ำยาจะมีหลายอย่าง เชน่ น้ำ� แกงไม่ใส่มะพร้าว น้�ำแกงใสม่ ะพร้าว นำ้� พริก ที่ใช้การเคี่ยวหัวกะทิใส่น�้ำตาลและถ่ัวลิสง ไม่มีรสเผ็ด ส่วนน�้ำพริกจิ้มผักหรือน้�ำพริกปลาทู ชาวนครศรีธรรมราช เรียกวา่ น�้ำชบุ นอกจากนนั้ ยงั มแี กงอกี ประเภทหนงึ่ ทแ่ี ถมใหใ้ นการกนิ ขนมจนี เมอื งนคร คอื แกงพงุ ปลา ซงึ่ การแกงจะเนน้ รสและกลนิ่ ของพุงปลาใหจ้ ัด ใช้ผักเสริมรสชาติ เชน่ กลว้ ยหมาก มนั นำ้� เต้า (ฟักทอง) มะกรดู ตน้ ตะไคร้ ขม้นิ อ่อน ทุบ และเครื่องแกงท่ีตำ� แหลกไมล่ ะเอยี ดนกั ปนอยดู่ ว้ ย เวลากนิ ขนมจีนทรี่ าดน้�ำแกง 2 ประเภทแรกไปแลว้ จะหยอด น้ำ� แกงพงุ ปลาเพ่ิมรสชาตอิ ีกก็ได้ ผักเหนาะ มีแตงดอง มะละกอดอง ยอดผักต่าง ๆ ทกุ ประเภทท่ีมที ั้งแต่กวา ถวั่ ฝกั ยาว และอ่ืน ๆ ส่วนของ ชูรสท่ีขาดไม่ได้ คอื พริกทอดกรอบ น�ำ้ ปลาและมะนาว ขนมจนี เมอื งนครศรีธรรมราช หลกั สูตแรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศยี กึ นษราู้ 281

ข้าวยำ� เมอื งนคร มีรสชาติแปลกตามสว่ นผสม เชน่ ใบขม้ินอ่อนซอย ใบมะกรูด กงุ้ ตำ� ละเอยี ด เคร่ืองแกง มะพร้าวค่ัว ถั่งฝักยาวฝานบาง ๆ พริกป่นละเอียด และราดน�้ำปลาเคี่ยวน้�ำตาลปีบ หรืออ่ืน ๆ เช่น มะขามเปียก เพือ่ รสชาตจิ ะได้ กลมกล่อม ข้าวยำ� เมืองนครศรธี รรมราช น�้ำชุบ น�้ำชุบของชาวเมืองนครศรี คอื อาหารพิเศษ ถว้ ยเล็ก ใชจ้ มิ้ ผักสดหรอื ผกั ตม้ มีสว่ นผสมทสี่ ำ� คัญคือ ดีปลี หัวกระเทียม เคยก้งุ เนอ้ื ปลาทู มะนาว และน้ำ� เลก็ นอ้ ย นำ้� ชบุ หรอื น้ำ� พรกิ จะมหี ลายประเภท เช่น น�้ำชุบเคย (นำ�้ พรกิ กะป)ิ นำ้� ชบุ มะอกึ ซอยมะอกึ ใส่ นำ้� ชบุ ไมใ่ สม่ ะนาว จะเรยี กวา่ นำ้� ชบุ นายโจร เพราะนายโจรจะทำ� นำ้� ชบุ แบบ ลวก ๆ รบี ดว่ นไมใ่ สม่ ะนาวก็กนิ ได้แลว้ ตามปกติแม่ค้าข้าวแกงในเมืองนครศรีธรรมราชจะมีน้�ำพริกกะปิและผักสดหลายชนิด แถมให้กินพร้อม กบั ข้าวแกง ไมค่ ดิ ราคา น้ำ� ชปุ 282 แหนลักวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศึกษา

อาหารพื้นเมือง เปน็ ตน้ วา่ เมด็ ยารว่ งเชอ่ื มน�ำ้ ตาล (เม็ดมะมว่ งหิมพานต์) มงั คุดเขียวคัดเปลือกทิ้ง แช่น�้ำ เกลอื เปน็ ของกินเล่น ลกู เนียงต้มกนิ กับมะพรา้ วและน�้ำตาลทราย ขนมกวนขาว สะตอดองย�ำ ใสน่ ำ้� ตาล หอมแดง ซอย กุ้งฝอย พริก แกงสม้ ดอกกลว้ ย ยำ� บุกคางคก ย�ำมะเขอื หืน แกงเหลืองยอดอ่อนขมิน้ ใส่กะทิ ย�ำหวั กะทอื หรอื ยอดหมากต้มจม้ิ นำ้� พรกิ ลกู เหบ็ เปน็ ตน้ เม็ดม่วงเชื่อมนำ้� ตาล สะตอดองยำ� ใส่น้�ำตาล ผักสมุนไพร หลกั สตู แรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 283

หน่วยท่ี 11 โบราณสถาน โบราณวัตถุ มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์อย่างต่อเนอ่ื ง ตระหนักถึงความส�ำคญั และสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึน ตวั ช้ีวดั ป.4/2 ยกตัวอยา่ งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทีพ่ บในท้องถนิ่ ทแ่ี สดงพฒั นาการของมนษุ ยชาติ สาระส�ำคญั การศกึ ษา สบื คน้ และทศั นศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้ โบราณสถาน โบราณวตั ถทุ พี่ บในทอ้ งถนิ่ นครศรธี รรมราช จะท�ำให้ผู้เรียนมีความรู้ มีความรัก ภาคภูมิใจ หวงแหน และร่วมอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุในท้องถ่ินของ ตนเอง สาระการเรยี นรู้ 1. โบราณสถาน 1.1 วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร ประกอบดว้ ย 1) พระบรมธาตเุ จดยี ์ 2) เจดยี ์ราย 3) วิหารพระมา้ 4) วิหารเขยี น 5) วิหารโพธิ์ลงั กา 6) วหิ ารสามจอม 7) วหิ ารพระแอด 8) วหิ ารทบั เกษตร (ระเบียงตีนธาต)ุ 9) วิหารคด (ระเบยี งคด) 10) วหิ ารธรรมศาลา 284 แหนลักวสกูตารรนจคัดรกศารรธี เรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

11) พระวิหารหลวง 12) วหิ ารโพธ์ิพระเดิม 13) พระพทุ ธบาทจ�ำลอง 14) ศาลาศรพี ุทธศิ าล 15) ประตูวัด (5 ประตู) 1.2 หอพระพุทธสิหิงค์ 1.3 วดั ท้าวโคตร 1.4 วัดเสมาเมือง 1.5 วัดเสมาชยั 1.6 วดั หนา้ พระลาน 1.7 เจดยี ์ยักษ์ 1.8 วัดประด่พู ฒั นาราม 1.9 วัดแจง้ วรวิหาร 1.10 หอพระสงู 1.11 วดั ท่าโพธิว์ รวหิ าร 1.12 วัดวังตะวนั ตก 1.13 วัดสระเรยี ง 1.14 วัดชายนา 1.15 ศาลพระเสอ้ื เมอื ง 1.16 ฐานพระสยม (ฐานพระสยมภวู นาท) 1.17 หอพระอิศวร 1.18 หอพระนารายณ์ 1.19 แหลง่ น�้ำศักด์สิ ทิ ธ์ิในจังหวัดนครศรีธรรมราช 1.20 ศาลากลางจงั หวัดนครศรีธรรมราช 1.21 สนามหนา้ เมือง 1.22 ก�ำแพงเมอื งนครศรธี รรมราช 1.23 สระล้างดาบศรีปราชญ์ 1.24 อนสุ าวรียว์ ีรไทย 1.25 วดั สอ (วดั สรรเสรญิ ) 1.26 วัดวงั ไทร 1.27 วดั ธาตุนอ้ ย 1.28 วัดอนิ คีรี 1.29 วัดเขาขนุ พนม 1.30 วัดภูเขาหลกั 1.31 วัดแม่เจา้ อยหู่ วั 1.32 วดั ควนชะลกิ 1.33 วัดพทั ธสีมา หลักสูตแรนนวคกราศรรจีธดัรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 285

1.34 วัดเขาพระทอง 1.35 วัดโมคลาน 1.36 โบราณสถานตมุ ปัง 1.37 โบราณสถานเขาคา 1.38 วดั ธาตุธาราม (วัดเขาธาตุ) 2. โบราณวตั ถุ 1) เงินตรานโม (หวั นะโม) 2) ใบเสมาวดั เสมาชยั ใบเสมาวดั ทา้ วโคตร 3) ศลิ าจารึกวดั เสมาเมืองและศิลาจารึกวดั หวั เวียง 4) ศิลาจารึกวัดมเหยงคณ์ 5) ศิลาจารึกหุบเขาชอ่ งคอย 6) ศิวลึงคแ์ ละฐานโยนไี ทรณะ 7) พระวิษณุ (พระนารายณ์) 8) ภาชนะดินเผาทรงหม้อสามขา 9) กลองมโหระทกึ สำ� รดิ 10) เครือ่ งถ้วยทพี่ บในจังหวัดนครศรีธรรมราช 11) เครื่องมือหิน 12) เครอื่ งปน้ั ดินเผาศรีวชิ ัยและตามพรลิงค์ 13) เครือ่ งถมเมอื งนคร 14) สายสร้อยสามกษตั ริย์ กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูให้นักเรียนดูวีดีทัศน์โบราณสถาน โบราณวัตถุในจังหวัดนครศรีธรรมราชแล้วชวนนักเรียนสนทนา ถงึ ประวัติความเป็นมา 2. ครแู บง่ กลมุ่ นักเรยี นใหส้ ืบค้นขอ้ มลู โบราณสถาน ในท้องถ่นิ จากปราชญช์ าวบา้ น แหลง่ เรียนรอู้ นื่ ๆ 3. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอประวตั คิ วามเปน็ มาคณุ คา่ ความภาคภมู ใิ จ ของโบราณสถานโบราณวตั ถุ ในทอ้ งถิ่น 4. ให้นกั เรยี นจดั ท�ำสมดุ เลม่ เลก็ เร่ืองโบราณสถาน โบราณวัตถุ ในทอ้ งถน่ิ ตนเองคนละ 1 เร่อื ง 5. ครูพานกั เรียนไปทัศนศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ โบราณสถาน โบราณวตั ถใุ นท้องถ่ิน 6. นำ� เสนอแนวทางการอนุรกั ษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุในจงั หวดั นครศรธี รรมราช การวัดและประเมนิ ผล รายการ วิธกี าร เครอ่ื งมือ 1. แบบสงั เกต 1. ความร่วมมอื ในการทำ� งานกล่มุ 1. สงั เกตการณ์ท�ำงาน 2. การนำ� เสนอผลงาน การนำ� เสนอผลงาน 2. แบบบนั ทกึ คะแนน 3. ช้ินงาน 2. ตรวจชิน้ งาน 286 แหนลกัวสกูตารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศึกษา

หน่วยท่ี 11 โบราณสถาน โบราณวัตถุ โบราณสถาน 1. วดั พระมหาธาตุวรมหาวหิ าร วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร ชาวนครเรยี กสน้ั ๆ วา่ “วดั พระธาต“ุ ตามประกาศของกระทรวงธรรมการ เรือ่ งจดั ระเบยี บพระอารามหลวง ลงวันท่ี 30 กนั ยายน 2458 ให้เรียกว่า “วัดพระมหาธาตุ” เป็นพระอารามหลวง ช้ันเอก ชนดิ “วรมหาวิหาร” ต้งั อยภู่ ายในเขตกำ� แพงเมอื งโบราณ ปัจจบุ ันมีถนนราชด�ำเนนิ ตดั ผา่ นหน้าวดั มีเน้ือท่ี 25 ไร่ 2 งาน ทศิ ตะวันออก จดถนนราชดำ� เนนิ ทิศตะวันตก จดถนนพระบรมธาตุ ทศิ เหนอื จดโรงเรียนวัดพระมหาธาตุ ทิศใต้ จดถนนพระลาน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เสด็จประพาสเมืองนคร (พ.ศ. 2458) ได้พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร” มีโบราณสถานท่ีส�ำคัญดังนี้ 1. พระบรมธาตุเจดีย์ 2. เจดียร์ าย 3. วิหารพระม้า 4. วิหารเขยี น 5. วิหารโพธลิ์ ังกา 6. วิหารสามจอม 7. วิหารพระแอด 8. วหิ ารทับเกษตร (ระเบียงตีนธาตุ) 9. วิหารคด (ระเบียงคด) 10. วิหารธรรมศาลา 11. วิหารหลวง 12. วิหารโพธิ์พระเดิม 13. พระพุทธบาทจำ� ลอง 14. ศาลาศรพี ุทธสิ าร 15. ประตูวัด (5 ประตู) มีต�ำนานทเ่ี กย่ี วกบั ประวัตศิ าสตร์นา่ ศกึ ษา มดี ังนี้ 1) พระบรมธาตุเจดยี ์ เล่ากนั มาว่า พระบรมธาตเุ จดียอ์ งคเ์ ดิมหา เป็นดงั ทีเ่ ห็นทุกวันนี้ไม่ ทเี่ ห็นนเ้ี ป็นองค์ใหม่ที่สร้างครอบองค์ เดิมไว้ พระเจดีย์องค์เดิมสร้างตามความเชื่อทางพระพุทธ ศาสนานิกายมหายานตามแบบสถาปัตยกรรมศรีวิชัย ประมาณ พ.ศ. 1300 ปี พระพุทธศาสนานิกายหินยาน เจริญรุ่งเรืองในประเทศลังกา พระเจ้าศรีธรรมโศกราช จนั ทรภาณุ ผเู้ ปน็ ศาสนปู ถมั ภ์ ไดถ้ วายความสะดวกใหพ้ ระสงฆ์ พระบรมธาตเุ จดยี ์ หลักสตู แรนนวคกราศรรจีธัดรรกมารราเชรศียกึ นษราู้ 287

ชาวเมืองนครศรีธรรมราช เดินทางไปศึกษาพระไตรปิฎก จ�ำพรรษาอยู่เมืองน้ันหลายปี จนมีความรู้แตกฉานใน พระไตรปิฎก และขากลับได้นิมนต์คณะสงฆ์จากลังกามาประดิษฐานพระศาสนาในเมืองนครศรีธรรมราช ในปี พ.ศ. 1770 เรียกว่า “พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์“ ในระยะนั้นพระเจดีย์องค์เดิมช�ำรุดมาก คณะสงฆ์ไทย และคณะสงฆจ์ ากลงั กาและฝา่ ยบา้ นเมอื งไดบ้ รู ณะซอ่ มแซม โดยการกอ่ สถปู ใหมค่ รอบพระเจดยี อ์ งคเ์ ดมิ ไวต้ ามแบบ สถาปัตยกรรมลงั กา ดังทปี่ รากฏในปัจจุบัน ใตฐ้ านภายในของพระองคพ์ ระเจดยี ์ มสี ระสเี่ หลยี่ มจตั รุ สั 8 วา ลกึ 4 วา รองดว้ ยหนิ แทน่ หนิ ใหญ่ ข้าง ๆ ก็หล่อด้วยปูนเพชรแข็งแรง ภายในสระใหญ่ยังมีสระเล็กหล่อด้วยปูนเพชรส่ีเหล่ียมจัตุรัส 2 วา ลึก 2 วา บรรจพุ ษิ นาคเตม็ สระ ภายในสระนมี้ ขี นั ทองคำ� ลอยอยู่ ภายในขนั ทองคำ� นบ้ี รรจผุ อบทองคำ� ภายในผอบทองคำ� บรรจุ พระบรมสารรี กิ ธาตขุ ององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทม่ี มุ สระทงั้ สม่ี ที องคำ� หนกั 38 คนหามใสไ่ วใ้ นตมุ่ มมุ ละตมุ่ รายละเอยี ดเกีย่ วกบั พระบรมธาตเุ จดียม์ ดี ังน้ี 1. ความสงู จากพนื้ ถงึ ยอด 37 วา หรอื 53.075 เมตร (บางแหง่ วา่ 38 วา 2 ศอก หรอื 77.00 เมตร) มรี ายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ดงั นี้ 1.1 ตัง้ แตพ่ นื้ ดนิ ถงึ กำ� แพงแก้ว 2 วา 2 ศอก 1.2 ต้งั แตป่ ากระฆงั ถึงคอระฆัง 8 วา 1 ศอก 1.3 ตง้ั แตค่ อระฆังถงึ หลังเหม 4 วา 2 ศอก 1.4 ตัง้ แต่ปลอ้ งฉันหมายถึงบวั คว่ำ� บวั หงาย 15 วา 1.5 ตงั้ แตบ่ วั คว่ำ� บัวงายไปถึงปทุมโกศ 4 วา 2 ศอก (บางแห่งว่า 6 วา 2 ศอก 1 คบื ) 1.6 ตง้ั แตป่ ทุมโกศถงึ กรงแก้ว 1 วา 2 ศอก 1.7 ตงั้ แตก่ รงแกว้ ถึงยอดสดุ 3 ศอก 2. เส้นผ่าศูนยก์ ลางทฐี่ าน 22.98 เมตร 3. ฐานยาวดา้ นละ 18 วา 1 ศอก 15 น้ิว (บางแหง่ วา่ 15 วา 3 นวิ้ ) 4. ยอดหุ้มด้วยทองค�ำหนัก 800 ชั่ง (ประมาณ 216 กิโลกรัม) 5. สว่ นท่หี มุ้ ทองค�ำสูง 6 วา 2 ศอก 1 คบื หรอื 8.294 เมตร (บางแหง่ 4 วา 2 ศอก) 6. ปล้องไฉน (หมายถงึ ปล้องท่ียอดพระเจดยี ์ 52 ปล้อง 7. หนา้ กระดานปลอ้ งไฉน มพี ระมหาสาวก 8 องค์เรยี กว่า “พระเวยี น” ยืนเวียนเปน็ ทกั ขิณาวัฏ ประนมมอื ทุกองคม์ ีชือ่ ดังน้ี 7.1 พระอญั ญาโกณฑญั ญะเถระ 7.2 พระมหากัสสปเถระ 7.3 พระสารีบตุ รเถระ 7.4 พระอบุ าลเี ถระ 7.5 พระอานนทเ์ ถระ 7.6 พระควมั ปติเถระ 7.7 พระโมคคัลลาเถระ 7.8 พระราหุลเถระ พระเวยี น 288 แหนลกัวสกูตารรนจคัดรกศารรีธเรรรยี มนรารชู้ ศกึ ษา

8. ตั้งแต่บัวคว�่ำบัวหงายถึงปทุมโกศ หุ้มด้วยทองค�ำแผ่นหนาขนาดใบตาล มีลวดทองค�ำคาดไว้ รอยเช่ือมระหว่างแผ่นทองคำ� ใชห้ มดุ ยำ�้ 9. ส่วนท่ีหุ้มด้วยทองค�ำนี้ยังมี ทองรูปพรรณนานาชนิด เช่น แหวน ก�ำไล ต่างหู พระพุทธรูป เป็นตน้ ผกู แขวนไว้ด้วยเส้นลวดเปน็ จ�ำนวนมาก 10. บนยอดสดุ มหี มอ้ ทองค�ำ 1 ใบ โตขนาดฟองไข่ วางหงายไว้ ในหมอ้ มีป่ินทองค�ำ ทำ� เปน็ คนั ธง ห้อยด้วยใบโพธ์ิทอง มีดอกไม้ท�ำด้วยกระดุมเพชรปักไว้ในหม้อ 4 ดอก (กระดุมเพชรนี้ เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม) ไดร้ ับในพระราชพิธโี สกันตส์ มเดจ็ พระเจา้ ฟ้ามหาวชิรุณหิศ ในรชั กาลท่ี 5 แล้วตกทอดมาเปน็ ของคณุ นุ้ย ณ นคร ซ่งึ เปน็ บตุ ร คณุ นยุ้ มอบให้น�ำขน้ึ ไปไวเ้ ม่อื พ.ศ.2457 คราวติดสายลอ่ ฟ้าที่พระองค์เจดยี ์) ปลยี อดทองคำ� พระบรมธาตเุ จดีย์ 11. ใตห้ มอ้ ทองคำ� มกี �ำไลหยกรองรบั อยู่ 1 วง 12. ใต้กรงแก้วท�ำเป็นพานส�ำริดเกล้ียง ๆ มีกลีบย่ืนทั้ง 4 ทิศ ทิศละกลีบ กลางพานทะลุ มีลวดทองแดงยืน่ ออกมา แล้วดัดใหผ้ ายออกตามขอบพานโดยรอบ เป็นซก่ี รงแกว้ 4 ซี่ แลว้ รวบปลายเปน็ กบั พมุ่ บวั เรียกว่า“กรงแก้ว”4 ซ่ีน้ัน สวมลูกแก้วโตเท่าหมากสุก ซ่ีละ 16 ลูก ส่วนท่ีเป็นแกนกลางน้ันสวมลูกแก้ว 9 ดวง ส่วนในพานส�ำรดิ มดี วงแก้วผลึกต่างสหี ลายดวง ถกั ด้วยลวดทองค�ำผูกตดิ กบั แกน 13. รอบ ๆ องค์พระเจดยี ์ มกี �ำแพงแกว้ 4 ดา้ น กว้างยาวเท่ากนั ทุกด้าน คอื 12 วา 2 ศอก 14. มีใบเสมาและรั้วเหล็กล้อมรอบก�ำแพงแก้ว ประดับด้วยเครื่องสูง มีฉัตรและบังสูรย์ และมีกระดง่ิ ทำ� เป็นระฆังหอ้ ยใบโพธิ์ไว้โดยรอบ 15. ฐานของพระเจดีย์ เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีหัวช้างย่ืนออกมาจ�ำนวน 22 หัว สันนิษฐานว่า หัวชา้ งทง้ั หมดคือหัวขอื่ นั่นเอง 16. พระบรมธาตเุ จดยี ์สงู เป็นท่ี 2 ของประเทศไทย (พระปฐมเจดีย์ จังหวดั นครปฐม สูง 60 วา แต่พระบรมธาตเุ จดยี ม์ อี ายุเกา่ แก่กวา่ พระปฐมเจดีย์) 17. วันเดือนปีที่ก่อสร้าง ไม่ปรากฏหลักฐานท่ีแน่นอน เพราะเป็นปูชนียสถานที่เก่าแก่เกินไป มแี ต่เพียงต�ำนานซงึ่ มิได้ระบุไวช้ ัดเจน หลักสตู แรนนวคกราศรรจธี ัดรรกมารราเชรศียึกนษราู้ 289

จากต�ำนานพระบรมธาตุจังหวัดนครศรีธรรมราช และจารึกบนแผ่นทองหุ้มปลียอดพระบรมธาตุ เจดยี ์ พบทองคำ� ทงั้ หมด 19 แผน่ เรยี งตามล�ำดับศักราช คอื สมเด็จพระเอกาทศรถ 2 แผน่ สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาท ทอง 2 แผ่น สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช 3 แผ่น สมเดจ็ พระเพทราชา 3 แผน่ สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ 2 แผ่น สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช 1 แผน่ สมเด็จพระน่งั เกล้าเจา้ อยู่หวั 1 แผน่ นอกจากนไี้ ม่พบหลกั ฐานจารึก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธ์วงศ์วรเดช (สมเด็จพระเจ้าภาณุรังษีฯ) ไดเ้ สดจ็ เมอื งนครศรธี รรมราช เม่ือปวี อก พ.ศ. 2427 ทรงบันทึกเกีย่ วกบั พระบรมธาตุเจดยี ์ มรี ายละเอียดดังน้ี 1. องค์พระเจดยี ท์ รงตงั้ แตพ่ ้นื ดินถึงยอด 37 วา 7 ศอก 2. ฐานพระเจดยี ์ชอื่ วา่ “ทบั เกษตร” ยาว 18 วา 3. ลดขึ้นไปชนั้ หน่ึงช่ือว่า “ทิพครี ”ี สงู 1 วา 2 ศอก มีพระยนื 25 องค์ สงู 1 วา 1 ศอก ระหว่าง พระนนั้ มชี า้ งแลว้ หัว 22 ตวั สูง 3 ศอก 4. บนทิพครี ีมกี �ำแพงแกว้ สูง 2 ศอก ยาว 24 วา เทา่ กนั ทัง้ 4 ดา้ น 5. ฐานลวดรับองค์ระฆังบนก�ำแพงแกว้ 1 วา 1 ศอก สงู 2 วา 1 ศอก 6. องคร์ ะฆังสงู 7 วา 7. กลางก�ำลังองคร์ ะฆงั 33 วา 8. เหมสงู 2 วา 3 ศอก กว้าง 4 วา 2 ศอก 1 คืบ 9. คอเรบนเหมสงู 1 วา 2 ศอก มรี ูปพระอรหันตย์ นื 8 องค์ รปู พระอรหันตส์ งู 4 ศอก 1 คืบ หน้ากระดานรอบองค์ 11 วา 10. ปลอ้ งไฉนติดหน้ากระดานรอบองค์ 11 วา 11. ปลอ้ งไฉน 52 ปลอ้ ง 12. แตห่ น้ากระดานถงึ ปลอ้ งไฉนถงึ บัวควำ่� บวั หงายสงู 15 วา 13. กลีบบัวใหญ่ 1 ศอก กลีบบัวน้อย 1 คืบ กลีบบัวใหญ่ 15 กลีบ กลีบบัวน้อย 15 กลีบ ก�ำลังใหญร่ อบ 5 วา 2 ศอก 1 คืบ 14. แตบ่ ัวควำ�่ บวั หงายถึงปทมุ โกศ 4 วา 2 ศอก 15. แต่ปทุมโกศถึงแทรกแกว้ 1 วา 2 ศอก 16. แตแ่ ทรกแก้วถึงสดุ ยอด 3 ศอก พระเจดยี ์องค์นก้ี อ่ ดว้ ยอฐิ ถอื ปูน รอยตะไครน่ �้ำจับรอบองค์ ที่ตรงปลยี อดนัน้ หมุ้ ทองค�ำแผ่นหนา เท่าใบลาน กวา้ งประมาณ 6 น้วิ หุม้ ปลียอดมหาธาตตุ ลอดจนถึงบวั ควำ่� บวั หงายซึ่งตอ่ ปลอ้ งไฉนนัน้ ท่ีคอปลีรมิ ปทมุ โกศ เอากลอ้ งสอ่ งแลดมู เี ปน็ หวั แหวนประดบั อยเู่ ปน็ อนั มาก เขาวา่ เปน็ แหวนโต ๆ มพี ลอย บศุ ย์ มรกต ทบั ทมิ เปน็ ตน้ ที่พุม่ ขา้ วบิณฑ์เขาวา่ ประดบั ด้วยแก้ว กำ� แพงบนทิพคีรีน้ัน มีพระเจดยี ์ 4 มมุ ชื่อ รตั นเจดีย์ สูง 7 วา กำ� แพงแก้วมที อ่ น้ำ� เปน็ ศีรษะนาค 7 ท่อ ไม่มีศีรษะนาค 3 ท่อ ด้านเหนือน้ันมีวิหารมุงกระเบื้องติดกับฐานทิพคีรี มีประตูข้ึนบนลานทักษิณ บานตะวันออกสลักเป็นรูปพระพรหม บานตะวันตกสลักเป็นรูปพระอิศวร มีบันไดขึ้นไปบนก�ำแพงแก้ว 15 ข้ัน หัวบนั ไดมีฝาผนงั ทั้ง 2 ข้าง มรี ปู พระขา้ งละองคช์ ือ่ พระทศั ตคุ ามองคห์ นงึ่ (ทศั ตุคาม สะกดการน์ ตต์ ามต้นฉบบั เดมิ 290 แหนลักวสกตูารรนจคดั รกศารรีธเรรรียมนรารชู้ ศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook