พจนานกุ รมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม Dictionary of Buddhismพระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto)
พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม© พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต)Dictionary of BuddhismPhra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto)ISBN 974-8357-89-9พมิ พร วมเลม 3 ภาคคร้ังที่ 1 พ.ศ. 2515 – 2518ครงั้ ท่ี 4 พ.ศ. 2526 – 2528คร้ังที่ 10 พ.ศ. 2545 (จดั เรยี งพิมพใ หมด ว ยระบบคอมพวิ เตอร) ขนาดอกั ษรธรรมดา (เลมเล็ก) จาํ นวน 6,000 เลม ขนาดอกั ษรใหญ (เลม ใหญ) จาํ นวน 4,000 เลมคร้ังท่ี 13 พ.ศ. 2548 (เปลีย่ นมาใชฟอนต คอื แบบตวั อักษร ที่ดดั แปลงขึน้ ใหม) จาํ นวน 20,000 เลมครงั้ ท่ี 14 พ.ศ. 2549– สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดเกลา ฯ ใหตีพิมพใ นการถวายผา พระกฐิน ณ วัด ญาณเวศกวัน 4 พฤศจกิ ายน 2549 จาํ นวน 1,000 เลมคร้ังที่ 15 พ.ศ. 2550 (ขนาดเลม ใหญ อักษรโต)– คณุ นลิ ยา มาลากุล ณ อยธุ ยา และคณะผูศ รัทธา พิมพเ ผยแพรเ ปนธรรมทาน จํานวน 6,000 เลมครงั้ ที่ 16 พ.ศ. 2551– ผูศรทั ธาหลายคณะ พมิ พเ ผยแพรเปนธรรมทาน รวมเปน จาํ นวน 4,000 เลมพิมพท่ี บรษิ ทั เอส. อาร. พรน้ิ ตง้ิ แมส โปรดักส จํากัดโทรศพั ท/โทรสาร 0-2584-2241 (อัตโนมตั ิ 10 เลขหมาย)
อนุโมทนา เนื่องจาก พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ท่พี ิมพแจกเผอื่ แผก ันออกไปในคร้งั กอ นๆ มาถึงบดั น้ี หลายแหง ก็หมดลง บางแหงกเ็ หลือนอย กลายเปนของหายากผูศรัทธามากหลายทา น จึงประสงคจ ะพิมพพจนานุกรมฯ ฉบับนนั้ เพม่ิ ขนึ้ เพือ่ ใชศ ึกษาคนควา เองหรอื ใชศ กึ ษาในกลุมในหมขู องตนบา ง เพื่อแจกเปนธรรมทาน เปนการเผยแพรส งเสริมความรคู วามเขา ใจในพระธรรมวนิ ยั ใหกวา งขวางเพ่ิมทวยี ง่ิ ข้นึ บาง ดังเปนทที่ ราบกันวา ไดมกี ารรวมกลุมบอกแจง บญุ เจตนารวมกนั ไว แมก ระนน้ั ญาติโยมผูศ รัทธากไ็ มอาจดาํ เนินการอะไรคบื หนา เพราะทางดานตัวผูเรยี บเรยี งเองเงยี บอยู ไมร กู นั จนกระทง่ั ถงึ วาระหนงึ่ ผศู รทั ธาไดต กลงวา จะรอพมิ พพ รอ มกบัพจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท ทม่ี ขี า ววา กาํ ลงั ชาํ ระเพม่ิ เตมิ อยู ในทีส่ ุด เวลาผา นไป ๒-๓ ป บดั นี้ พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท ผา นการชาํ ระ-เพ่ิมเตมิชวงที่ ๑ เสรจ็ แลว จงึ ถึงโอกาสทีจ่ ะดําเนินการพมิ พเผยแพรพรอมกันตามความตัง้ ใจ พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม นี้ นบั แตพมิ พคร้งั ท่ี ๑๐ ทีเ่ ปน ครงั้ แรกของการใชร ะบบคอมพิวเตอร ใน พ.ศ. ๒๕๔๕ ซง่ึ ผูศ รัทธาไดน าํ ขอ มลู ของพจนานุกรมฯ น้ีจากของเดิมในระบบคอมพวิ กราฟค มาบันทกึ ไวใ นระบบคอมพิวเตอร ก็ไดม ีฐานขอ มลู อยูในคอมพิวเตอร อันพรอมทีจ่ ะใหผ ูเ รียบเรยี งปรับแกเ พ่ิมเตมิ ไดต ามตองการ แตจ นถึงบัดนี้เปน เวลา ๖ ปแลว ผเู รยี บเรียงก็ยงั ไมไ ดเ ริ่มงานปรับปรุงท่ตี ง้ั ใจ การพิมพคร้ังท่ี ๑๖ น้ี วา โดยท่ัวไป เปนการพิมพซ ํ้าตรงกบั ครัง้ ที่ ๑๓ ที่ใชแ บบตัวอักษร (ฟอนต) ซงึ่ รศ. ดร.สมศลี ฌานวังศะ ราชบณั ฑิต ไดด ัดแปลงข้นึ ใหม มสี วนที่เพมิ่เตมิ เพยี งเลก็ นอย คือ เพิม่ “สทั ธา 2” ในหัวขอ “สัทธา 4” และปรับเสริมคําอธิบายในหัวขอ“ปญญา 3” และ “สัปปายะ 7” พรอ มท้ังแกไ ขคําทีพ่ ิมพผ ิดตกและจดั ปรับบรรทัด เปน ตนทาํ ใหม คี วามเรยี บรอ ยในสวนรายละเอียดยงิ่ ขึ้น ขออนโุ มทนาฉนั ทะในธรรมและไมตรจี ติ ตอ ประชาชน ของผศู รทั ธาทใ่ี ฝใ นธรรมทานบุญกิริยา อันเปนเคร่ืองเจริญธรรมเจริญปญญาแกประชาชน หวังไดวาธรรมทานของผูศรัทธา จะเปนสวนชวยดาํ รงรักษาสืบตออายุพระพุทธศาสนา และเปนปจจยั เสริมสรางประโยชนส ขุ ใหแ ผข ยายกวา งไกลออกไปในโลก ขอใหผ บู าํ เพญ็ กศุ ลจรยิ านี้ พรอ มญาตมิ ติ รทง้ั ปวง เจรญิ ดว ยจตุรพิธพรชยั รมเยน็ ในธรรม มคี วามสุขเกษมศานตย ่งั ยนื นานทัว่ กนั พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๑
คํานาํ (ในการพมิ พครั้งท่ี ๑๐) พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม มีความเปนมาทย่ี าวนาน ผานการจดั ปรบั หลายข้นั ตอน จนลงตวั มรี ปู เลมและชอื่ ปจ จบุ ัน เมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๕ (พิมพเ สรจ็ ครัง้ แรก พ.ศ. ๒๕๑๘) โดยมีเนอ้ื หาแยกเปน ๓ ภาค คือ ภาค ๑ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร หมวดธรรม ภาค ๒ พจนานกุ รมพุทธศาสตร ไทย–องั กฤษ ภาค ๓ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร องั กฤษ–ไทยก. ความเปนมาเดิม — ชวงที่ ๑– การพิมพระบบโมโนไทป ทง้ั ๓ ภาคของหนังสอื น้ี เปนงาน ๓ ชิ้น ซ่ึงมคี วามเปนมาตา งหากจากกัน ดงั ทีไ่ ดเ ลาไวใ นคาํนําของการพิมพคร้ังท่ี ๑ โดยเฉพาะภาค ๒ “พจนานุกรมพุทธศาสตร ไทย–อังกฤษ” เปนงานเกาสุด เดิมชื่อพจนานกุ รมศพั ทพ ระพทุ ธศาสนา ไทย–บาล–ี องั กฤษ ไดจ ดั ทาํ ขนึ้ เมอ่ื ผรู วบรวมและเรยี บเรยี งสอนวชิ าธรรมภาคภาษาองั กฤษ ในแผนกบาลเี ตรยี มอดุ มศกึ ษา มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั จดั ทาํ เสรจ็ ใน พ.ศ.๒๕๐๖ และไดแ กไ ขเพมิ่ เตมิ เปน ครง้ั คราว จนไดม าจดั รวมเขา เปน ภาค๒ของหนงั สอื นใี้ น พ.ศ.๒๕๑๕ อนง่ึ “พจนานกุ รมพุทธศาสตร ไทย–องั กฤษ” นี้ ไดมีประวตั ิแยกตางหากออกไปอกี สวนหน่งึคือ ไดข ยายเพิ่มเติมเปนฉบับพิสดาร ซง่ึ พมิ พเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๓ แตจ บเพียงอกั ษร ฐ แลวคา งอยูแคน้ันจนบัดน้ี ภาค ๑ คอื “พจนานกุ รมพุทธศาสตร หมวดธรรม” เปนงานใหมท ีจ่ ัดทําขน้ึ ใน พ.ศ. ๒๕๑๕โดยตง้ั ใจใหเ ปน เพยี งคูมอื ศึกษาธรรมขนั้ ตน แตกลายเปนสวนที่มเี นอื้ หามาก เมอื่ เทียบกับภาค ๒แลว ภาค ๑ น้ีไดก ลายเปน สว นหลักของหนงั สือไป สวนภาค ๓ คือ “พจนานุกรมพทุ ธศาสตร อังกฤษ–ไทย” เปนงานแถมและเสริมเทานั้นกลาวคือ เม่ือตกลงวา จะพมิ พภาค ๑ และภาค ๒ รวมเปนเลม เดยี วกนั แลว ก็เหน็ วาควรมีพจนานกุ รมพากยอ ังกฤษ–ไทย ไวค ูกับพากยไ ทย–อังกฤษดว ย แมว าจะเปนเพยี งสวนประกอบ ซ่ึงตามปกติรกู นั วาใชนอย การพมิ พหนังสอื นีเ้ ปน งานที่นับวา ละเอยี ดและซบั ซอน อีกทงั้ ผรู วบรวม–เรยี บเรียงยงั ไดเ พ่มิเติมแทรกเสรมิ ระหวา งดําเนินการพิมพค อ นขางมาก จงึ ใชเวลายาวนาน เขาโรงพมิ พป ลาย พ.ศ.๒๕๑๕กวาจะเสรจ็ ออกมาเปน เลมหนังสอื ก็ถึงกลางป ๒๕๑๘ รวมเวลาพิมพ ประมาณ ๒ ป ๖ เดอื น การพิมพรวมเลมคร้ังแรกน้ี ถือวาไดรับการสนับสนุนจากคาํ อาราธนาของพระมหาสมบูรณ
๕สมปฺ ุณโฺ ณ (ปจจบุ ัน พ.ศ. ๒๕๔๕ คือ พระราชกิตติเวที เจาอาวาสวดั วชริ ธรรมปทปี นครนิวยอรก )ผูชวยเลขาธิการมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย และเผยแพรโ ดยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั สวนกระบวนการพมิ พ ดําเนนิ การโดยโรงพมิ พค ุรุสภา ซ่ึงใชร ะบบเรยี งพมิ พอ ักษรแบบ Monotype ตอ จากนน้ั ใน พ.ศ. ๒๕๒๑ กรมการศาสนาไดข ออนญุ าตพิมพค ร้ังท่ี ๒ และครั้งที่ ๓ ซง่ึเปน การพมิ พซาํ้ ตามเดิมข. ความเปน มาชวงท่ี ๒– การพมิ พครงั้ ท่ี ๔ — ระบบคอมพิวกราฟค พจนานกุ รมพุทธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม มกี ารเปล่ยี นแปลงครง้ั สําคญั ในการพิมพค รง้ั ท่ี ๔ ท่ีพิมพเสรจ็ ใน พ.ศ. ๒๕๒๘ (หลงั พิมพค ร้ังแรก ๑๐ ป) การพิมพค ร้ังที่ ๔ นี้ มจี ุดเริม่ ในปลายป ๒๕๒๔ เมื่อคณุ สาทร และคณุ พสิ มร ศรศรีวชิ ยั ไดซือ้ พจนานกุ รมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม น้ันแจกเปน ธรรมทาน จนหนังสอื แทบจะไมม ีเหลอืแตยงั ประสงคจะแจกตอไปอกี จงึ ปรารภท่จี ะพมิ พเพ่มิ เปน ธรรมทาน เวลานั้นมหาจฬุ าลงกรณราช-วทิ ยาลัยประสงคจะพมิ พอ ยูแลว แตไ มม ที นุ ทรพั ยเพยี งพอ จงึ ขอรว มพิมพด ว ย แตเกดิ เหตขุ ดั ของเนอื่ งจากตน แบบหนงั สอื (อารต เวิรค) และฟล ม ทโ่ี รงพิมพเกา สญู หายหมดแลว ตองจดั เตรียมตนแบบท่จี ะพิมพข ้นึ ใหม ระหวางน้ันมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยไดขยายความคิดในการพิมพโดยประสงคจะเพ่ิมจํานวนใหม ากถงึ ๑๐,๐๐๐ เลม แตยังไมมที นุ ทรพั ยท ีจ่ ะจา ยคาพมิ พ ณ จดุ นก้ี ็ไดม ี “ทนุ พมิ พพ จนานกุ รมพุทธศาสตร” เกิดขนึ้ เนอ่ื งจากคุณหญิงกระจา งศรีรกั ตะกนิษฐ ทราบปญหาแลว ไดเชิญชวนญาตมิ ติ รรว มกนั ตั้งถวาย ซง่ึ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยัไดใ ชพ มิ พท ้ัง พจนานกุ รมพุทธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม และ พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท มาจนบดั นี้ ในการพมิ พค รง้ั ที่ ๔ น้ี ตอ งจดั ทาํ ตน แบบใหม จงึ ถอื โอกาสปรบั ปรงุ เพม่ิ เตมิ ตน ฉบบั เชน ในภาค ๑ เพมิ่ หมวดธรรมอกี กวา ๓๐ หมวด สว นกระบวนการตพี มิ พใ ชร ะบบคอมพวิ กราฟค ซงึ่ ผเู รยี งอักษรตองเพียรพยายามในการยักเย้ืองพลิกแพลงและตองตัดแตงตัวอักษรบาลีโรมันดวยมือเปลามากมาย เปนเหตุใหก ารพมิ พใ ชเ วลายาวนานถงึ ปค รง่ึ เศษ จงึ พิมพเสร็จในครงึ่ หลังของ พ.ศ.๒๕๒๘ การพิมพต น ฉบบั ทง้ั หมดของหนงั สอื นสี้ ําเรจ็ ดว ยศรัทธาของคณุ ชลธีร ธรรมวรางกรู สวนการพิมพตนแบบดวยระบบคอมพวิ กราฟค คุณบญุ เลิศ วุฒิกรคณารักษ เปน ผจู ัดทําดวยความเพียรเปน อนั มากค. ชว งตอ สูการพมิ พคร้ังท่ี ๑๐ หลังจากการพิมพค ร้งั ที่ ๔ ทเ่ี สร็จในป ๒๕๒๘ แลว มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดพ มิ พพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม นีใ้ หมเรือ่ ยมา จนถึงครั้งลาสุด ในป ๒๕๔๓ เปน การ
๖พมิ พค รัง้ ที่ ๙ ในการพิมพต ้งั แตค รง้ั ที่ ๔ เปนตนมา ซึ่งมีผูรจู กั พจนานุกรมฯ น้ีกวางออกไปแลว ไดม ที านที่ศรัทธารวมพิมพแจกเปนธรรมทานจํานวนมาก แตในดานเนื้อหาของหนังสือแทบไมมีการเปลี่ยนแปลง เรียกไดว า เปน การพิมพซ ํา้ ไปตามเดมิ คือคงอยเู ทากับการพิมพค ร้ังท่ี ๔ แทจ รงิ นน้ั ระหวา งเวลาทผี่ า นมา ผรู วบรวมและเรยี บเรยี งปรารถนาจะปรบั ปรงุ เพม่ิ เตมิ เนอ้ื หาของหนงั สอื เชน เพิ่มหมวดธรรมบางเร่อื ง แตตดิ ขดั เพราะการพมิ พร ะบบเกา แมแ ตระบบคอมพวิ -กราฟค นั้น ตองอาศัยตนแบบทจ่ี ัดลงตวั เมือ่ ยตุ อิ ยา งไรแลว กต็ อ งพิมพตามเดิมอยา งน้นั เร่ือยไปแกไขเปลี่ยนแปลงไดยาก และเมอื่ กาลเวลาลว งไปนาน ตน แบบนนั้ กเ็ ปอ ยผสุ ลายเสยี ไป พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม น้ี จึงตองพิมพซํา้ อยา งเดมิ เร่ือยมาต้งั แตค รง้ั ท่ี ๔ พ.ศ.๒๕๒๘ นั้น ยิง่ ครัง้ หลงั ๆ เม่อื ตน แบบเปอยผเุ สียไปแลว ก็ตอ งนาํ เอาเลม หนงั สือฉบบั ท่พี มิ พครง้ั กอนๆมาถายแบบ ทําใหค ุณภาพการพิมพลดลง เชนตัวอักษรเลือนลางลงไป การปรับปรงุ เพ่มิ เตมิ เนอ้ื หากด็ ี การแกไขปญ หาการพิมพท่ีจะใหกลบั เรยี บรอ ยชดั เจนข้ึนใหมกด็ ี หมายถงึ การที่จะตอ งเรียงพมิ พขอมลู และจดั ทําตนแบบขน้ึ ใหม ซงึ่ เปนงานทย่ี าก ซบั ซอน ดวยมีตวั อักษรหลายแบบ หลายขนาด โดยเฉพาะตัวบาลี ทงั้ อักษรไทย และอักษรโรมัน จะตองใชความละเอยี ด แมน ยาํ รวมท้งั เวลามากในการตัง้ ใจทาํ อยางจริงจัง ระหวา งนี้ มคี วามกา วหนา ทางเทคโนโลยีทเ่ี กื้อหนนุ คือในดานอตุ สาหกรรมการพิมพหนังสือเมือ่ เขา สยู คุ คอมพิวเตอรแ ลว ไดเ ร่ิมมกี ารใชคอมพิวเตอรใ นงานพิมพห นงั สือ ต้ังแตประมาณ พ.ศ.๒๕๓๐ เปนตน มา ทําใหก ารพมิ พข อมลู สะดวกข้ึน แกไขปรับปรงุ เปลีย่ นแปลงเพ่มิ เตมิ ขอ มลู ไดงายและเก็บขอมูลไวใ ชไ ดในระยะยาว แตสําหรับงานพิมพ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรมการพมิ พก ย็ งั ตองอาศัยความชาํ นาญ ความละเอยี ดลออและวิริยะอุตสาหะมากทเี ดยี วง. ความเปน มาชว งที่ ๓– การพมิ พค รง้ั ที่ ๑๐ คือ ปจ จุบัน — ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร ความกา วหนาชว งที่ ๓ เกดิ ข้นึ เมื่อ ดร.สมศีล ฌานวงั ศะ รองศาสตราจารยป ระจาํ สถาบันภาษาจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย และราชบัณฑติ สาํ นักศลิ ปกรรม ประเภทวรรณศิลป สาขาวิชาภาษาศาสตร ไดปลกี เวลาบางสว นจากงานประจํามาจบั งานนด้ี วยศรัทธาและฉนั ทะ ทผี่ ูกพนั กับหนงั สอื นี้มายาวนาน ยอ นหลงั ไป เม่ือ ๓๐ กวา ปล วงแลว คือ พ.ศ. ๒๕๑๑ ดร.สมศีล ฌานวงั ศะ สมยั ท่ยี ังเปนนักเรียนมัธยมในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่งตอมาเปนผูชนะเลิศพิมพดดี แหง ประเทศไทยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ของสมาคมชวเลขและพมิ พดดี แหงประเทศไทย ไดม ศี รัทธาและฉันทะชว ยพิมพดีดตน ฉบบั ฉบบั ขยายความแหง ภาค ๒ ของพจนานุกรมฯ ฉบับนี้ ซึ่งไดพ ิมพแ ยกตา งหากอกั ษร ก–ฐ และตอมาใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ระหวางทีศ่ กึ ษาอยูใ นสหรัฐอเมริกา และมาเย่ยี มบานชวั่ คราวเพื่อรว มงานบรรจุศพมารดา ก็มารับปรูฟสว นหนึ่งของหนังสอื พจนานกุ รมฯ นี้ ท่ีอยูในระหวางจดั
๗พมิ พคร้งั ท่ี ๔ ไปชวยตรวจ คร้นั กลับจากอเมริกามาทาํ งานในเมอื งไทยแลว ในคราวจัดงานฌาปน-กจิ ศพ นางกงุ แซฉ ัว่ (ฌานวังศะ) ผเู ปน มารดา ณ ฌาปนสถาน วดั เทพศิรินทราวาส ในวนั ที่ ๑๒พฤศจกิ ายน ๒๕๓๐ ก็ไดพ มิ พหนังสอื พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม นเี้ ปนอนุสรณและเปน ธรรมทาน ดร.สมศีล ฌานวังศะ มีศรทั ธาและฉนั ทะทีจ่ ะชว ยงานพิมพพ จนานุกรมฯ นี้ อยูตลอดมา แตในระยะแรกมภี าระรอบดาน ตอ งระดมแรงทง้ั ในและนอกเวลาราชการใหแ กง านประจาํ จนกระทั่งปพ.ศ.๒๕๔๑ จึงไดพ ยายามปลกี เวลานอกราชการมาเรม่ิ ดาํ เนนิ งานพมิ พข อ มลู พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรฉบบั ประมวลธรรม ลงในคอมพิวเตอร และไดต้งั ใจวาจะจัดพิมพค ร้งั ใหมใหท ันโอกาสทผี่ ูรวบรวม–เรียบเรยี งมีอายุครบ ๖๐ ป ในเดอื นมกราคม ๒๕๔๒ การเรยี งพมิ พด ว ยระบบคอมพวิ เตอรนี้ แมจะกา วหนามาก มีประสิทธภิ าพสงู และมีขอ ดีพเิ ศษอนื่ อกี หลายอยา ง แตเ มอื่ มาเรยี งพมิ พภ าษาบาลอี กั ษรโรมนั (Romanized Pali) กป็ ระสบปญ หาคลา ยกันกบั การพิมพดว ยระบบคอมพิวกราฟค ในครัง้ กอ น เปนเหตุให ดร.สมศลี ตอ งใชเ วลาและความเพียรพยายามอีกสว นหนงึ่ ในการพฒั นาแบบตวั อักษร (fonts) พิเศษตา งๆ ขึ้นมา เพ่อื ใชพ มิ พภาษาบาลีทงั้ อักษรโรมันและอกั ษรไทยในแบบตวั อกั ษรชุดเดียวกนั ซึ่งกป็ ระสบความสําเรจ็ ดวยดี ในการทํางานดว ยศรทั ธาและฉันทะนี้ ด.ญ.ภาวนา ฌานวงั ศะ และ ด.ช.ปญ ญา ฌานวงั ศะซง่ึ เปนผูมคี วามใฝรูใฝศ ึกษา ไดชว ยแบง เบาภาระของคณุ พอ โดยชว ยกนั พิมพขอมลู ท้ังหมดตามตนฉบับเดมิ ลงในคอมพวิ เตอรเ สรจ็ สน้ิ ตั้งแตก ลางป พ.ศ. ๒๕๔๒ อยางไรก็ตาม งานนี้มิใชหนักแรงและตองใชเวลามากเฉพาะในการพิมพขอมูลและพิสูจนอักษรเทานั้น แตมกี ารตรวจสอบและทวนทานทต่ี อ งการความละเอียดแมน ยาํ อกี หลายข้นั ตอน ยกตัวอยา งงายๆ เพยี งตรวจสอบตวั เลขหมวดธรรมหมวดหนง่ึ ๆ ก็ตอ งตรวจสอบท้ังลาํ ดบั ของหมวดธรรมน้นั เอง และการอา งอิงถึงหมวดธรรมนัน้ ณ ทีอ่ ืน่ ๆ ในเลมหนังสอื กับทัง้ ตัวเลขหมวดธรรมน้ันและขอ ธรรมยอ ยของหมวด ในสารบัญหมวดธรรม สารบัญประเภทธรรม และดัชนีคน คาํ ทง้ั หมดนอกจากนนั้ เมือ่ มกี ารเปลี่ยนแปลง เชน สลับลาํ ดบั หมวดธรรม หรือเพิ่มหมวดธรรมใหม ก็ตองตามเลื่อนหรือเติมเลขตลอดทกุ แหง (โดยเฉพาะในระยะหลงั นผ้ี ูเรียบเรียงไดเ พิ่มหมวดธรรมหลายคร้ัง)จึงเปน ธรรมดาวา งานจัดทาํ หนงั สอื จะตองยืดเยือ้ ยาวนาน แมว าการพิมพจ ะไมทนั เดือนมกราคม ๒๕๔๒ ตามทไ่ี ดตั้งใจไวเ ดิม เพราะเปน งานที่มีขอ มูลมาก และละเอยี ดซบั ซอนอยา งทีก่ ลา วแลว อีกทงั้ ผูทาํ งานกป็ ลกี ตัวจากงานประจาํ ไมไดมากเทา ท่หี วงัไว แตการท่ีเวลาเนน่ิ นานมา กท็ าํ ใหมีโอกาสมองเหน็ ขอ ควรแกไขปรบั ปรงุ และวิธกี ารใหมๆ ในการทาํ งานใหไดผลดียิ่งขึ้น พรอมทั้งเปด โอกาสใหผ รู วบรวม–เรียบเรียงเอง มเี วลาทจี่ ะหนั มาปรบั ปรงุเพิม่ เตมิ เนอ้ื หาของหนงั สอื ตามท่ีเคยคิดไวไ ดบางสว น ในการทํางานท่ตี องอยูกบั ขอมลู ของหนังสือตอ เนื่องยาวนาน และไดอ านทวนตลอด ประกอบกบั ความละเอยี ดลออ และความแมน ยาํ ทางวชิ าการ ดร.สมศลี ฌานวังศะ ไดพ บขอ บกพรอ งผดิพลาดตกหลน รวมท้ังปญหาเกี่ยวกับความสอดคลองกลมกลืนกันของขอมูลหลายแหงในตนฉบับ
๘เดิม และบอกแจง–เสนอแนะ ทําใหผ รู วบรวม–เรียบเรียง แกไ ขปรบั ปรุงใหเรยี บรอ ยสมบูรณย ่งิ ขนึ้ นอกจากการแกไ ขปรบั ปรุง และการจดั ปรับใหสอดคลอ งกลมกลืนกนั แลว ในการพมิ พค ราวนี้ ไดเ พมิ่ เติมหมวดธรรมทค่ี วรรอู ีกหลายเร่ือง คอื อัตถะ ๒; ธรรม ๔; วธิ ปี ฏิบตั ิตอทกุ ข–สุข ๔;วปิ ล ลาส, วปิ ลาส ๔; โสตาปต ติยงั คะ ๔ สามหมวด; ธรรมสมาธิ ๕; ภัพพตาธรรม ๖; วัฒนมขุ ๖;เวปลุ ลธรรม ๖; บุพนิมติ แหงมรรค ๗; อานาปานสติ ๑๖; และ ปจจัย ๒๔ สวนหมวดธรรมทจ่ี ดั ปรบัคาํ อธบิ ายไดแกไตรลกั ษณ; ธรรมนิยาม ๓; ปริญญา ๓; อตั ถะ ๓ ทัง้ ๒ หมวด; พรหมวหิ าร ๔;พละ ๕; อินทรีย ๕; โพธปิ กขิยธรรม ๓๗ และ กิเลส ๑๕๐๐ ซึ่งหวังวาจะอาํ นวยประโยชนใ นการศึกษาธรรมเพ่ิมข้ึน แมวาในการพิมพครง้ั ที่ ๑๐ นี้ หนังสอื จะมเี นอื้ ความเพิ่มขึ้นเปนอันมาก ถาเทียบตามอตั ราสวนของฉบบั พมิ พครงั้ กอ นที่มี ๔๗๕ หนา พจนานุกรมฯ ที่พิมพครง้ั น้ี คงจะหนาขนึ้ อีกประมาณ๒๐ หนา แตอาศัยระบบการพมิ พแบบคอมพิวเตอร ที่ชวยใหมคี วามยดื หยุนในการจดั ปรับตนฉบับไดส ะดวก จึงพมิ พไดจุข้ึน ทําใหจ ํานวนหนาหนังสอื กลับลดลงมากมาย เหลือเพยี ง ๔๐๘ หนา ขอสําคญั อีกอยางหนง่ึ คือ การพมิ พค ร้งั น้ีชว ยใหม ฐี านขอมูลท่จี ัดปรับเรยี บรอยแลว ซงึ่สามารถเก็บรักษาไวไดโดยสะดวกและครบถวน เก้ือกูลอยางย่ิงตองานปรับแกและเพ่ิมเติมพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม น้ใี นกาลขางหนาสบื ไป เนอ่ื งจาก ดร.สมศีล ฌานวังศะ มคี วามต้งั ใจสอดคลอ งกับญาติโยมผูศ รทั ธา วา จะพิมพพจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม ใหทนั ปใหม ๒๕๔๕ แตผ ูรวบรวม–เรยี บเรียงเขียนสว นเพมิ่ เตมิ นี้ในเวลาทีจ่ วนเจียนจะถงึ ปใ หม ดงั นัน้ เมื่อเขียนเสรจ็ จึงตอ งเรงขอใหพระครูปลัดปฎ กวฒั น(อินศร จินฺตาปฺโ) ชวยพมิ พตน ฉบับสวนเพ่ิมเติมน้ี เปนขอมูลดิบ เพอ่ื สงใหแก ดร.สมศลี ฌาน-วังศะ อีกขนั้ หนึง่ ขออนุโมทนาผชู วยงานในยามกระช้ันไว ณ ท่นี ด้ี วย ในการพมิ พเ ผยแพร นอกจาก ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ เองจะบาํ เพญ็ ธรรมทาน โดยชวนญาตมิ ติ รรว มดวยแลว ก็มีญาตโิ ยมผศู รทั ธาหลายทานตง้ั ใจบําเพ็ญธรรมทานสาํ หรบั หนังสือนมี้ านานแลว ซง่ึไดแ จง บญุ เจตนาไวต ง้ั แตก ลางปน ี้ วา จะพมิ พข นาดขยายใหญ เพอ่ื แจกใหเ ปน ประโยชนก วา งออกไป ขออนุโมทนา รศ.ดร.สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต พรอ มทัง้ น.ส.ภาวนา ฌานวงั ศะ และด.ช.ปญญา ฌานวังศะ ท่ไี ดบ าํ เพญ็ กุศลกจิ สาํ คัญครงั้ น้ี ดวยศรทั ธาและอิทธิบาทธรรมอยา งสูง และขออนุโมทนาทานที่ศรัทธา ผูรวมบําเพ็ญธรรมทานเพ่ือประโยชนทางธรรมทางปญญาแกประชาชนและเพอ่ื ความเจรญิ แพรหลายแหงพระสัทธรรม ทจ่ี ะทําใหพ ระพุทธศาสนาสถิตมน่ั เพอ่ื ประโยชนส ขุแกมหาชน ตลอดกาลนาน พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๒๕ เมษายน ๒๕๔๕
บันทกึ ในการพมิ พค รั้งท่ี ๔ ความเปนมา – เบ็ดเตลด็ – อนุโมทนา วนั หนง่ึ เมอ่ื ตน เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๔ คณุ สาทร และคณุ พสิ มร ศรศรวี ชิ ยั ไดซ อ้ืพจนานุกรมพุทธศาสตร น้ี ฉบับพิมพคร้ังที่ ๓ จากรานจาํ หนายหนังสือของมหาจุฬาลงกรณราช-วทิ ยาลยั จาํ นวน ๑๐๐ เลม นาํ ไปแจกเปน ธรรมทานเอง ๒๐ เลม และนาํ มาถวายใหผ เู รยี บเรยี งแจก ๘๐เลม เพราะหนงั สอื ทผ่ี เู รยี บเรยี งจดั เตรยี มไวเ ปน ธรรมทาน ไดแ จกไปหมดสน้ิ แลว ตอ มาถงึ ตน เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ คณุ สาทร และคณุ พสิ มร ไดไ ปทร่ี า นจาํ หนา ยหนงั สอื ของมหาจฬุ าลงกรณ-ราชวทิ ยาลยั เพอ่ื ซอ้ื พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร มาถวายใหผ เู รยี บเรยี งแจกอกี และไดท ราบวา หนงั สอืจวนจะหมด จงึ ปรกึ ษากนั และไดแ จง แกผ เู รยี บเรยี งวา จะขอพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร แจกเปนธรรมทาน ทางฝา ยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ซงึ่ ขาดแคลนในดา นทนุ ทรพั ย เมอื่ ไดท ราบวา มโี ยมศรทั ธาจะพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร แจก เหน็ เปน โอกาสวา ถา สมทบพมิ พด ว ย จะไดห นงั สอื ราคาถูกลงพอสูราคาได จึงขอพิมพรวมดวย เพ่ือจาํ หนายหาทนุ บาํ รุงการศึกษาของพระภกิ ษสุ ามเณรจาํ นวน ๑,๐๐๐ เลม การพมิ พค รง้ั ท่ี ๔ ของ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร นบั วา ไดเ รมิ่ ตน แตน น้ั มา เมอ่ื ตกลงวา จะพมิ พใ หมแ ลว ผเู รยี บเรยี งกไ็ ดเ ตรยี มการเบอ้ื งตน เรมิ่ ดว ยการตดิ ตอ กบั โรงพมิ พเ ดมิ เพอ่ื สบื หาอารต เวริ ค และฟล ม เกา แตป รากฏวา สญู หายหมดแลว ตอ แตน น้ั จงึ เสาะหาโรงพมิ พท ี่เหมาะใหม และตรวจชําระเพ่ิมเตมิ ตน ฉบบั แทรกซอ นไปถึงงานอน่ื เชนการพิมพ พทุ ธธรรม เปน ตนเวลาลวงไปชา นาน จนถงึ เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๒๗ ตนฉบับจงึ นับวาพรอ ม และไดโ รงพมิ พเปนยุติ ถึงตอนนมี้ หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั เหน็ วา การพมิ พค รัง้ ละจาํ นวนนอ ยเปนเหตุใหเ กิดความยากลําบากบอยๆ จงึ ขอเพม่ิ จาํ นวนพิมพเ ปน ๑๐,๐๐๐ เลม ท้ังทยี่ งั ไมมีทนุ ทรพั ยส ําหรับจา ยคาพมิ พ ครงั้ นัน้ คุณหญิงกระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ ไดมาอุปถัมภผ เู รียบเรยี งในดานพาหนะท่จี ะตดิ ตอโรงพิมพตา งๆ เปนตน ครน้ั ไดทราบปญ หาการเงนิ ของมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั จึงไดเชิญชวนญาตมิ ิตรรว มกนั ต้งั “ทุนพิมพพ จนานุกรมพุทธศาสน” ขึน้ ชวยใหมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยัพิมพพ จนานุกรมพุทธศาสตร ฉบบั นไ้ี ดสําเร็จตามวตั ถุประสงค และยังมที นุ เหลอื พอสาํ หรับพิมพพจนานกุ รมพทุ ธศาสน อีกเลมหน่งึ ดังท่ไี ดพ มิ พเ ผยแพรเ สร็จออกไปกอนแลวดว ย คณุ ยงยทุ ธ และคุณชุตมิ า ธนะปรุ ะ มีศรทั ธาแรงกลา ท่จี ะสง เสริมการเผยแพรธรรม ไดข อพิมพหนังสือน้ีแจกเปนธรรมทาน ๓,๐๐๐ เลม และตอมาไดมีเพื่อนขอรวมพิมพแจกดวยอีก๑,๐๐๐ เลม รวมเปน ๔,๐๐๐ เลม ผเู รยี บเรียงยังไมเ ห็นดว ยทีจ่ ะพมิ พ พจนานกุ รมพุทธศาสตร นี้ใหม ีจํานวนมากนัก จึงไดพ ดู ชกั ชวนใหลดจาํ นวนลงใหเหลอื นอยทสี่ ดุ คุณยงยทุ ธ และคณุ ชุตมิ ารับไปพจิ ารณาระยะเวลาหนึง่ ในทสี่ ดุ จงึ ตกลงยอมลดลงโดยขอพมิ พแจก ๒,๕๐๐ เลม ซงึ่ ก็ยังเปนจาํ นวนมากอยู ทางดานคณุ สาทร และคณุ พสิ มร ศรศรีวชิ ยั เมอ่ื ไดท ราบวามหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยัเพมิ่ จาํ นวนพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ขน้ึ จาก ๑,๐๐๐ เลม เปน ๑๐,๐๐๐ เลม กเ็ หน็ วา หนงั สอื จะแพรห ลายเพยี งพอแลว ไมจ าํ เปน ตอ งชว ยสนบั สนนุ มากนกั ควรเปลย่ี นไปชว ยเผยแพรห นงั สอื พทุ ธ-ธรรม ทค่ี ณุ สาทร และคณุ พสิ มร เหน็ วา สาํ คญั กวา จงึ ขอลดจาํ นวนพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ทต่ี นจะ
๑๐พมิ พแ จกลงเหลอื เพยี ง ๔๐๐ เลม แลว นาํ เงนิ ไปใชส นบั สนนุ พทุ ธธรรม แทน ดงั ไดไ ปรว มพมิ พพ ทุ ธ-ธรรม มาถวายใหผ เู รยี บเรยี งแจกไปรนุ หนงึ่ แลว จาํ นวน ๒๐๐ เลม อยา งไรกต็ าม งานพมิ พพจนานุกรมพทุ ธศาสตร ยดื เยอื้ เรอ้ื รงั มาก เวลาลว งไปชา นาน นบั แตค ณุ สาทร และคณุ พสิ มร แจง ขอพมิ พผ า นไป๓ ปเ ศษแลว การพมิ พก ย็ งั ไมเ สรจ็ คณุ สาทรและคณุ พสิ มรนน้ั มศี รทั ธาในการเผยแพรธ รรมมาก เมอื่พอรวบรวมทนุ ทรพั ยไ ด กจ็ ะใชส นบั สนนุ การพมิ พด ว ยความเสยี สละ ประจวบกบั ระยะหลังน้ี คุณพสิ มรปว ยดว ยโรครา ย ถงึ ขน้ั ไมอ าจไวว างใจในชวี ติ ประสงคจ ะเสยี สละเพอ่ื สง เสรมิ ธรรมใหเ ตม็ ความตง้ั ใจ จงึ มาสอบถามเกย่ี วกบั การพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร และ พทุ ธธรรม เหน็ เคา วา การพิมพหนงั สือสองเลม น้จี ะเสรจ็ หา งเวลากันพอควร คํานวณคา ใชจ ายกบั กาํ ลงั ทรพั ยพอจะรบั กันได จงึตกลงกนั วา จะพมิ พแ จกทงั้ สองเลม ตามลาํ ดบั เรมิ่ ดว ยยกจาํ นวนพมิ พธ รรมทาน พจนานกุ รมพทุ ธ-ศาสตร กลบั ขน้ึ จาก ๔๐๐ เลม เปน ๔,๐๐๐ เลม ผเู รยี บเรยี งจงึ แยง และชกั จงู ใหพ มิ พเ พยี ง ๔๐๐ เลมเทา ทเี่ คยลดลงไวค ราวกอ น แตท ง้ั สองทา นยนื ยนั จะพมิ พแ จก ๔,๐๐๐ เลม ผเู รยี บเรยี งจาํ ยอม แตไ ดขออนญุ าตพเิ ศษไวอ ยา งหนง่ึ กลา วคอื ปกตคิ ณุ สาทร และคณุ พสิ มร พมิ พห นงั สอื ธรรมแจกโดยไมยอมใหม ชี อ่ื ตนปรากฏ คราวนผี้ เู รยี บเรยี งขอรอ งใหย อมแกผ เู รยี บเรยี งในอนั ทจ่ี ะตอ งเอย ชอ่ื เมอ่ื เลา ถงึความเปน มาของการจดั พมิ พ เพอื่ ประโยชนใ นดา นขอ มลู ประวตั ิ ตวั เลขสถติ ิ และความรเู กย่ี วกบั ขอเทจ็ จรงิ ทเ่ี ปน กลางๆ นอกจากนน้ั การทาํ สงิ่ ทด่ี งี ามของบคุ คลหนงึ่ เมอ่ื ผอู น่ื มโี อกาสรู กอ็ าจเปน แรงกระตนุ ใหเ กดิ การกระทาํ ทด่ี งี ามเพม่ิ ขนึ้ ใหม กวา งขวางออกไปในสงั คม ทางดานมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมอ่ื หนงั สอื ใกลจ ะข้ึนแทน พมิ พ ไดบอกกลาวขอเพม่ิจํานวนพิมพจ าก ๑๐,๐๐๐ เลม ขน้ึ เปน ๑๕,๐๐๐ เลม ผูเรียบเรียงก็ไดข ดั ไว โดยชักจูงใหระงับการเพมิ่ จาํ นวนเสีย คงพิมพเ พียง ๑๐,๐๐๐ เลม ตามจาํ นวนเดมิ การทีผ่ ูเรยี บเรียงคอยยงั้ ไมใหพิมพมากนั้น ก็ดวยเห็นวา หนังสือเพียงเทาทพ่ี ิมพนก้ี วามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจะระบายออกไปหมดก็อาจตอ งใชเวลานานแสนนาน อกี ประการหนง่ึ กน็ า จะไดม โี อกาสตรวจสอบวา ผลงานพมิ พส มบรู ณแ คไ หนเพยี งไร นอกจากนน้ั ผูเ รียบเรยี งยังมองไมเห็นชดั วา ความตอ งการในวงการศกึ ษาธรรมจะมมี ากมายนกั หากมผี ตู อ งการจํานวนมากจรงิ ก็อาจพมิ พเ พ่มิ ใหมไดไ มเ หลือกาํ ลังในเร่อื งน้ผี เู รยี บเรียงยังระลกึ ไดอีกวา เคยมที านผูแสดงความจํานงพมิ พ พจนานุกรมพทุ ธศาสตรน้รี ายอืน่ อกี เทา ท่ีนึกออกเฉพาะหนา ๒ ราย แตข ณะน้ี เวลากระชน้ั เกนิ ไปเสียแลว และจาํ นวนพิมพกม็ ากอยแู ลว จึงจําปลอยเลยตามเลยไปกอน หากทานทีป่ ระสงคจะพิมพน น้ั ยงั ผูกใจอยู ก็อาจยกไปรวมในการพมิ พเ พม่ิ ใหมน ้นั โดยยอมรับคาํ ขออภยั ไวก อน ณ ที่น้ี การพมิ พค รงั้ นี้ แมว า โดยลาํ ดบั จะเปน การพมิ พค รง้ั ที่ ๔ แตว า โดยงาน ควรจดั เปน ครงั้ ท่ี ๒เพราะในการพมิ พค รง้ั ใหมน เ้ี ทา นน้ั ไดม กี ารทาํ งานใหมอ ยา งแทจ รงิ กลา วคอื มหาจฬุ าลงกรณราช-วทิ ยาลยั เปนสถาบันท่จี ดั พมิ พหนงั สือนค้ี รงั้ แรก ระหวา งพ.ศ. ๒๕๑๕ ถงึ ๒๕๑๘ โดยจดั จาํ หนา ยเกบ็ ผลประโยชนบาํ รงุ การศกึ ษาของพระภกิ ษสุ ามเณร ในมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ตอ มา พ.ศ.๒๕๒๑ กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดขอพมิ พซ ้าํ เพ่อื แจกเปนธรรมทาน โดยใชวิธีถา ยแบบจากฉบบั พมิ พค รั้งแรกของมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย นบั เปน การพิมพค รง้ั ที่ ๒ สวนฉบบัพิมพครั้งท่ี ๓ กค็ ือฉบับพมิ พคร้ังที่ ๒ น้ันเอง แตเปน สว นทโี่ รงพมิ พการศาสนาสงวนไวเตรียมจะจัดจาํ หนาย ๑,๐๐๐ เลม มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดข อซอ้ื ไป ๙๐๐ เลม และนาํ ไปจดั จาํ หนา ยหาทนุ บาํ รงุ การศกึ ษาในสถาบนั สว นอกี ๑๐๐ เลม ผูเรยี บเรียงไดมาดวยอาศัยปจ จยั ท่ีมีผูท าํ บญุ
๑๑เกา ๆ ในพิธีตา งๆ เมื่อครงั้ ปฏิบัตศิ าสนกจิ ในสหรฐั อเมริกา ซ่งึ ต้ังไวเ ปน ทนุ ช่อื “ทุนพมิ พพ ทุ ธศาสน-ปกรณ” และไดแจกจายเปนธรรมทานไปจนหมด สว นในการพิมพค รง้ั ใหมท่ีนบั เปน ครง้ั ท่ี ๔ น้ีนอกจากดาํ เนนิ การใหมต ลอดกระบวนการพิมพ เรม่ิ แตเ รียงตวั อักษรใหมท ั้งหมดแลว ยงั ไดแกไ ขปรับปรุงและเพ่ิมเติมเนอ้ื หาอีกเปน อนั มาก เชน ภาค ๑ เพิ่มหมวดธรรมอกี เกินกวา ๓๐ หมวดเขียนคาํ บาลีอักษรโรมันของขอธรรมท้ังหมดทั้งหัวขอใหญแ ละขอยอยแทรกเขาทุกแหง พรอมทั้งทํา Index of Pàli Terms เพ่ิมเขา อกี ภาค ๒ เพิม่ ศัพทใหมอีกมากกวา ๕๐ ศัพท ดงั น้เี ปน ตน การพิมพครงั้ ใหมน้ี เดิมคาดวาจะเสร็จสิ้นในเวลาอันรวดเร็ว แตครนั้ ทาํ เขาจริง กลบั กินเวลานานถงึ ปค ร่งึ เศษ เทา กบั ประมาณครึ่งหน่ึงของเวลาที่ใชใ นการพมิ พค ร้งั แรก สาเหตุสําคัญของความลา ชานอกจากลกั ษณะของงานที่ตองการความละเอียดประณตี แมน ยาํ อยางพิเศษ ก็คอื ระบบการเรยี งพิมพทไ่ี มส มบูรณ ใชง านไดไ มพ อกับประเภทของงาน การพิมพค ร้ังกอนใชระบบโมโนไทปซ่ึงมีระบบตวั อกั ษรและเครือ่ งหมายคอนขางครบถวน ความลาชา เกิดจากการตองแตง เสรมิ ใหเรียบรอ ยประณตี งดงาม การแกไขแทรกเพิม่ ระหวา งเรียงพิมพ และความไมคลองตวั ในการดาํ เนนิ งานสวนในการพมิ พค รัง้ นีใ้ ชระบบคอมพวิ กราฟค ซง่ึ แมจ ะมตี ัวอกั ษรทงี่ ดงามชดั เจน แตม ีอกั ษรและเครื่องหมายไมครบถวน เฉพาะอยางยิ่งสาํ หรับการพิมพค าํ บาลีดวยอกั ษรโรมัน แมจ ะไดส ั่งซื้ออุปกรณคือจานบันทึกและแถบฟลมตนแบบมาใหมเปนการเฉพาะ ส้ินเปลืองทงั้ เงนิ และเวลาทร่ี อคอย แตก็ใชงานไดไมสมบูรณ ท้ังน้ีเพราะบริษัทตัวแทนจําหนายที่สั่งซื้ออุปกรณใหน้ันยังไมมีประสบการณเกี่ยวกับการพิมพอักษรสําหรับพจนานุกรมน้ี จึงไมสามารถกําหนดเลือกและจัดหาอปุ กรณทต่ี รงกบั งานแทจรงิ ใหไ ด การเรียงพิมพจ งึ ตองอาศัยความสามารถและความอดทนของนกัเรียงพิมพผูฉลาดหาวิธียักเย้ืองพลิกแพลงใหใชไดสาํ เร็จผลสวนหน่ึง ประกอบกับการใชผีมือตัดตอ ตดิ เติมแตงในอารต เวริ ค อีกสว นหนึง่ ซง่ึ อยา งหลงั น้ไี ดทาํ ใหผ เู รยี บเรยี งสิ้นเปลอื งเวลา และแรงงาน ตลอดจนสขุ ภาพไปกบั หนังสือเลม นีม้ าก ตวั อยา งเชนเครอ่ื งหมาย tilde (~) อยางเดยี ว ก็ตอ งนําจากท่อี นื่ มาติดแทรกลงในท่ีตา งๆ เกินกวา ๑๐๐ แหง ไมตองพดู ถึงการตดิ การเปลย่ี น การเลอ่ื นจดุ ใต/ เหนอื พยัญชนะและขดี เหนือสระของอักษรโรมัน ตลอดจนเรือ่ งปลกี ยอยอืน่ ๆ อกี เปนอันมาก ซ่ึงประมวลเขาแลวก็เปนเครื่องชี้แจงใหเขาใจวา เหตุใดงานน้ีจึงใชเวลาพิมพนานกวาหนังสอื อืน่ สวนมากอยา งมากมายหลายเทา ตัว ดังมีตัวอยา งหนงั สอื บางเลม ทผ่ี ูเ รียบเรยี งไดช ว ยจัดทําในระหวา งชว งเวลาของการพมิ พพ จนานกุ รมนี้ มคี วามหนาประมาณกง่ึ หนง่ึ ของ พจนานกุ รมพทุ ธ-ศาสตร ใชเวลาเรยี งพมิ พและจดั ทาํ อารตเวิรค ประมาณ ๑ เดอื นก็เสรจ็ เรยี บรอย ผลเสยี ทีส่ ําคัญอยางหนงึ่ ของความยากลาํ บากชา นานนีก้ ค็ อื งานเขียนและงานพมิ พหนังสอื อ่ืนๆ โดยเฉพาะการพิมพพ ุทธธรรม ครัง้ ใหม ตอ งพลอยถูกผัดผอ นเน่ินนานตอๆ กันออกไป แมวาการจดั พมิ พจ ะยากลาํ บากมาก จนทําใหเวลาเกอื บ ๒ ปท ่ีทาํ งานนี้ กลายเปน ชวงกาลแหงความกรอนโทรมของชวี ิตในอตั ราเรงสงู อกี ตอนหนึ่ง แตเ วลา ๒ ปเ ดยี วกนั นน้ั เอง ก็เปน ระยะท่ีไดมีแรงสนับสนุนคํ้าจุนเกิดข้ึนมาก ดวยไดมีทานผูศรัทธาท่ีจะสงเสริมงานพระศาสนาเขามาอุปถัมภใ นดา นตางๆ โดยการเสริมกําลงั บา ง ผอนแรงบาง อํานวยความสะดวกบาง เปนสวนรวมแรงรว มใจและเปนกําลังหนนุ อยขู างหลังใหง านบรรลคุ วามสาํ เร็จ ทา นผูอ ปุ ถัมภเหลาน้ี บางทานก็เปน เชนเดียวกบั คุณสาทร และคณุ พิสมร ศรศรวี ชิ ยั คอื ตามปกติ จะไมเปด เผยช่ือของตนในการชวยงานบญุ แมจ ะพมิ พหนังสอื เลม ใหญๆ แจกเปน ธรรมทาน ก็ไมย อมใหมีช่ือของตนปรากฏใน
๑๒หนังสือน้ัน แตคราวนี้ผูเรียบเรียงขออภัยที่จะเอยอางช่ือของทานเหลานั้นไว ไมวาจะไดบอกขออนญุ าตไวก อ นแลว หรอื ไมก ต็ าม โดยขอใหเห็นประโยชนว า ผูใชหนังสอื นี้รุน หลังๆ ตอ ไปจะไดร ูจกั พจนานุกรมพทุ ธศาสตร อยางรอบดา น อยางนอ ยกเ็ ปนขอ มลู เชงิ ประวัติ และเปน การบนั ทึกเหตกุ ารณอยา งหนึ่ง ตามขอเท็จจริงที่ไดเกดิ ข้ึนแลว อนั จะกอ ประโยชนท างวชิ าการไมม ากกน็ อ ยทั้งน้ี ขออนุโมทนาความอดุ หนนุ สงเสริมของทา นท่ีจะกลา วถงึ ตอไปน้ี ผศู รัทธาเสยี สละชว ยพมิ พด ีดตน ฉบบั สว นทเ่ี พ่ิมเติมในการพิมพครงั้ ใหมน้ี กค็ อื คุณชลธรี ธรรมวรางกูร บุคคลเดียวกันกบั ทีไ่ ดพ มิ พด ีดตน ฉบับภาค ๑ ทั้งหมดของพจนานกุ รมน้ีเมอ่ื พมิ พครัง้ แรก สวนในขน้ั เรียงพิมพ คุณบุญเลศิ แซต้ัง แหง บรษิ ทั ยนู ติ ี้โพรเกรส ไดร วมมือดว ยความมีนํ้าใจและดว ยความใฝเรียนรู พยายามเรียงพมิ พง านทย่ี ากมากน้ีใหออกมาเปน ผลงานที่ดี ในการพิสจู นอ ักษร ทานผศู รัทธามีน้ําใจเกอ้ื กูลหลายทานไดสละเวลาชว ยเหลอื สายหนึ่งคือ คณุ อัมพร สุขนนิ ทร ซ่งึ เม่อื รบั ไปตรวจ กไ็ ดร ับความอนุเคราะหจากโยม “มสิ โจ” (คณุ เจอืจันทน อัชพรรณ) ชว ยอานซาํ้ ใหดว ย อกี สายหน่ึง คุณชุตมิ า ธนะปรุ ะ รับไป แตเมือ่ คุณเฉียดฉตั รโฉม ปรพิ นธพ จนพสิ ทุ ธิ์ ผเู ปนเพอื่ นไดทราบ ก็รวมศรัทธาชวยตรวจ นอกจากน้นั คณุ สมศีลฌานวังศะ ผูเคยพมิ พตนฉบบั ฉบับขยายความแหง ภาคท่ี ๒ ของพจนานกุ รมนี้ ไดเดินทางจากสหรัฐอเมริกามาเย่ียมบานช่ัวคราว พอไดทราบก็มารับเอาปรูฟสวนหนึ่งเทาที่มีในระยะเวลาสั้นๆนั้นไปชวยตรวจ และบอกแจง ขอเสนอแนะบางอยางทมี่ ปี ระโยชน คณุ วรเดช อมรวรพพิ ฒั น และคณุ พนติ า องั จนั ทรเ พญ็ อาสาเกบ็ ศพั ทส าํ หรบั Index of PàliTerms โดยมคี ณุ องั คาร ดวงตาเวยี ง เปน ผชู ว ย และไดต รวจสอบความสมบรู ณข องสารบญั คน คาํใหด ว ย โดยเฉพาะคณุ พนติ า องั จนั ทรเ พญ็ ไดส ละเวลาเปน อนั มาก พยายามตดิ ตอ และตดิ ตามทางโรงพมิ พเ ปน ตน เพอื่ ใหห นงั สอื นไี้ ดร บั การตพี มิ พอ ยา งดที สี่ ดุ และไดร บั ความรว มมอื ดว ยดจี ากคณุปฐม สทุ ธาธกิ ลุ ชยั กรรมการผจู ดั การดา นสทุ ธาการพมิ พ พรอ มทง้ั คณุ สพุ จน มติ รสมหวงั ซงึ่ เปน ผูชว ยเอาใจใสต ง้ั ใจทจ่ี ะพมิ พใ หป ระณตี งดงาม ในดา นอปุ สรรคตอ งาน และการคา้ํ จนุ ชวี ติ ทเ่ี ปน พน้ื ฐานของงาน ผเู รยี บเรยี งถกู รบั เขา พกั รกั ษาตวั ในโรงพยาบาลพหลโยธนิ นบั แต พ.ศ. ๒๕๒๖ รวม ๓ คราว โดยมนี ายแพทยเ กษม อารยางกรูพ่ีชายของตนเอง เปน ผอู าํ นวยการดแู ลรักษา พรอมทง้ั ไดร บั ความเอื้อเฟอ เอาใจใสจ ากพยาบาลและพนักงานเจาหนาท่ดี ว ยดี คุณประพัฒน และคุณหมอกาญจนา เกษสอาด และคณุ หมอสมุ าลีตนั ติวรี สุต พรอมดว ยเพอื่ นและผใู กลช ดิ นอกจากอปุ ถมั ภด ว ยนติ ยภตั แลว กไ็ ดข วนขวายตดิ ตามชว ยแกป ญ หาสขุ ภาพ พรอ มทง้ั สนบั สนนุ ใหม อี ปุ กรณแ ละสถานทอ่ี าศยั ทเี่ ออื้ ตอ สขุ ภาพและการงานคณุ หญงิ กระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ รว มดวยคุณหมอจรญู ผลนิวาส กับท้งั ศษิ ยและญาตมิ ิตรไดบาํ เพ็ญความอปุ ถมั ภข ยายออกไปรอบดาน ทง้ั ในทางสนบั สนุนผลงาน ดวยการจดั ต้ัง “ทุนพิมพพจนานุกรมพุทธศาสน ” เปนตน และในดา นค้ําจุนชวี ติ ของผทู าํ งาน ดวยการอปุ ถัมภความเปนอยูประจาํ วนั ขวนขวายใหไ ดฟน ฟูสขุ ภาพ และเสรมิ สรางสปั ปายะตา งๆ ตลอดจนจัดหาอุปกรณท ี่สาํ คัญมาไวเพอื่ ใหทาํ งานไดส ะดวกรวดเรว็ ทวปี รมิ าณ นอกจากต้งั ทนุ พิมพใ หแ ลว เมอ่ื หนงั สอื เสร็จออกมา โยมผศู รัทธายงั บาํ เพ็ญกิจอาสาสมัครชวยจําหนายหนังสือนั้นอีก เพ่ือใหมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยไดผลประโยชนโดยเร็วและเต็มจํานวนไมตองหักคาคนกลาง บรรดาผูศรัทธาที่ชวยสนับสนุนมหาวิทยาลัยสงฆดวยวิธีเปนส่ือนาํ
๑๓ผลประโยชนมาใหแ ละเผยแพรผลงานอยเู งยี บๆ เชน นี้ นอกจากโยมผรู เิ รม่ิ ตงั้ ทุนแลว ควรจะเอยนาม ดร.ทวีรสั มิ์ ธนาคม เปนตวั อยางอกี ทา นหน่ึง ยงั มีทานผศู รทั ธาหรือมีจิตเก้ือกลู อกี หลายทาน ท้ังบรรพชติ และคฤหสั ถ ไดปวารณาท่จี ะชว ยเหลือกิจตางๆ เก่ียวกับหนังสอื น้ี แมจ ะยงั ไมไดขอความรวมมือในคราวน้ี กข็ ออนโุ มทนาความมนี ํ้าใจดีนน้ั ไว และหวังวาคงจะไดข อความอนุเคราะหในงานสําคญั ๆ ลาํ ดับตอๆ ไป ทางดา นมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เม่อื ไดแจงขอพิมพห นงั สือแลว ถึงคราวมีเรื่องเกยี่ วขอ งพระมหาอารีย เขมจาโร รองเลขาธิการฝา ยธุรการ กแ็ สดงความพรอ มอยูเสมอท่ีจะรวมมอืดาํ เนินกิจนนั้ ใหล ลุ วงไป ใกลเ ขา มาอกี ภายในวัดพระพเิ รนทร พระถวัลย สมจิตโฺ ต และพระฉายปฺ าปทโี ป ยงั คงเปน องคยนื หลกั ท่ีชวยใหค วามเปน อยขู องผูเ รยี บเรยี งภายในวดั คลอ งเบา พอวางภาระกับสภาพแวดลอมรอบตวั ได สามารถทํางานหนงั สือมงุ ไปแตดานเดียว ผเู รยี บเรยี งถอื วา การทท่ี า นผศู รทั ธาและมนี า้ํ ใจ มาใหค วามอปุ ถมั ภต า งๆ ดว ยกศุ ลเจตนาเรม่ิการเอง อนั ลว นเปน อสงั ขารกิ กศุ ลทงั้ สนิ้ นน้ั กด็ ว ยเหน็ แกพ ระธรรม หวงั จะสนบั สนนุ งานพระศาสนาใหเ จรญิ แพรห ลายยง่ิ ขน้ึ โดยมองเหน็ วา ผเู รยี บเรยี งนจ้ี ะเปน กาํ ลงั หรอื องคป ระกอบสว นหนงึ่ ของงานนนั้ ได ในทาํ นองเดยี วกนั กข็ อไดร บั ความมนั่ ใจทสี่ อดคลอ งตอ ไปอกี ดว ยวา การตอบสนองตอ ความอุปถัมภเ กือ้ กูล ในลกั ษณะที่เปน การปฏิเสธหรือหลกี เลย่ี ง ซ่งึ มขี นึ้ เปนคร้งั คราวตามโอกาส หรือแมในกรณสี าํ คญั นน้ั ผเู รยี บเรยี งไดก ระทาํ ไปโดยบรสิ ทุ ธใ์ิ จ ดว ยเหน็ แกก จิ การพระศาสนาหรอื ประโยชนของสวนรวมตามเหตผุ ลอยางใดอยา งหนึ่งอยา งแนน อน โดยทใี่ นใจจรงิ ก็อนโุ มทนาเปน อยางย่ิงตอกศุ ลเจตนาท่หี วงั จะอนุเคราะหเกื้อกลู น้ัน แตย ังยากหรือยังไมเหมาะทจี่ ะอธบิ ายเหตุผลใหท ราบ ในเม่ืองานนี้ก็กําลังจะเสร็จลงอยูตอหนาแลว และท้ังผูเรียงเรียงทั้งผูรวมแรงรวมศรัทธาตางก็มคี วามปรารถนาตรงเปน อนั เดียวกนั ทีจ่ ะประกาศพุทธวจนะเผยแพรพระสัทธรรม จึงขออางอิงพลังแหงบญุ กศุ ล มศี รทั ธา ฉนั ทะ และวริ ยิ ะ เปน ตน จงเปน ปจ จยั อาํ นวยใหผ ลงานอนั อทุ ศิ ตอพระศาสนาบชู าธรรมนี้ เปน เครอ่ื งเผยแผค วามรใู นพระพุทธศาสนา สงเสริมความเขา ใจถกู ตอ งในหลกั คาํ สอน ค้ําชูพทุ ธธรรมใหเ จริญงอกงามแพรหลาย เพ่อื ประโยชนส ขุ แกชาวโลกอยา งกวางขวางตลอดกาลนาน อนงึ่ ผูใ ชห นงั สือน้พี ึงตระหนักวา หลักธรรมตา งๆ ที่ประมวลไวใ นพจนานุกรมนี้ เปน เพียงสวนหน่ึงท่ไี ดคัดเลือกมา มิใชท ง้ั หมดในพระไตรปฎ ก พึงถือพจนานกุ รมนี้เปนเพยี งฐานสาํ คัญในการศึกษาคน ควาธรรมใหล ะเอยี ดลกึ ซงึ้ ยง่ิ ขนึ้ ไป อกี ประการหน่ึง คาํ อธิบายขอธรรมตางๆ ในพจนานุกรมนี้ จัดทําในลักษณะเปนตําราหรอื เปนแบบแผน จงึ ยึดเอาหลกั ฐานในคมั ภีรเปนบรรทัดฐานกอน และใหค วามสําคญั แกค ัมภรี ทั้งหลายตามลําดบั ชั้น เชน พระไตรปฎ กเหนอื อรรถกถาอรรถกถาเหนือมตอิ าจารยรุนหลัง และเหนืออตั โนมตั ิ เปนตน พงึ ใชพจนานกุ รมนี้เปน ทีป่ รึกษาโดยมคี วามเขาใจดงั กลา วนัน้ เปน พนื้ อยใู นใจ จะไดค ิดขยายความตอ ออกไปอกี ไดอ ยางมีหลกั และมีขั้นมตี อน ตลอดจนวจิ ารณไ ดอยางมหี ลกั เกณฑ พระราชวรมนุ ี (ประยุทธ ปยตุ โฺ ต) ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๒๘
คาํ นํา (ในการพิมพครง้ั ท่ี ๑) พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร เลม น้ี เปน ทร่ี วมของงาน ๓ ชน้ิ คอื พจนานกุ รมหมวดธรรม พจนานกุ รมพทุ ธ-ศาสตร ไทย–องั กฤษ และ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร องั กฤษ–ไทย งาน ๓ ชนิ้ นเ้ี ดมิ เปน งานตา งหากกนั และเกดิขน้ึ ตา งคราวกนั กลา วคอื พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรไ ทย–องั กฤษ เดมิ ชอ่ื พจนานกุ รมศพั ทพ ระพทุ ธศาสนา ไทย–บาล–ี องั กฤษ ไดจ ดั ทาํ เผยแพรต งั้ แต พ.ศ. ๒๕๐๖ และไดแ กไ ขเพม่ิ เตมิ เปน ครงั้ คราว ครงั้ สดุ ทา ยกอ นหนา น้ี ไดขยายเพมิ่ เตมิ เปน ฉบบั พสิ ดาร เมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๓ แตจ ดั ทาํ เชน นน้ั ไดเ พยี งจบอกั ษร ฐ กช็ ะงกั ไมม เี วลาทาํ ตอ มาอกี เลย ในระหวา งนน้ั เจา หนา ทมี่ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดข อใหน าํ เอาฉบบั เลก็ เดมิ มาพมิ พไ ปพลางกอ น ในพ.ศ. ๒๕๑๕ ไดต กลงจะตพี มิ พ โดยขอแกไ ขเพมิ่ เตมิ เลก็ นอ ย แตไ มม เี วลา จงึ ชกั ชา อยู ในระยะเวลาเดยี วกนั นนั้ ผรู วบรวมกาํ ลงั จดั ทาํ หนงั สอื ประเภทอา งองิ ทางพระพทุ ธศาสนาคา งอยหู ลายเลม จงึ คดิ วา ควรรวบรวมหลกั ธรรมเปน หมวดๆ ทใี่ ชเ ลา เรยี น ใชอ า งองิ และทนี่ า สนใจสาํ หรบั คนทวั่ ไป จาํ นวนไมมากนกั มาพมิ พป ระมวลไวเ พอื่ เปน คมู อื ใชป ระกอบการศกึ ษาเบอ้ื งตน เพยี งใหพ อเหมาะสาํ หรบั นกั เรยี นนกั ศกึ ษาและผสู นใจทวั่ ไป ซงึ่ ไมต อ งการรายละเอยี ดพสิ ดารอยา งนกั คน ควา ในขณะเดยี วกนั กจ็ ะใหค วามหมายภาคภาษาองั กฤษทนี่ ยิ มใชท วั่ ๆ ไป กาํ กบั ไวก บั ขอ ธรรมตา งๆ ดว ย พอเปน ประโยชนใ นขน้ั ตน ๆ เมอ่ื นาํ งานชนิ้ นม้ี ารวมเขาดว ยกนั กบั พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรไ ทย–องั กฤษ กจ็ ะเปน เครอ่ื งเสรมิ กนั และกนั ชว ยใหเ กดิ ประโยชนแ กผ ใู ชมากยงิ่ ขนึ้ งานชน้ิ ทเี่ พม่ิ นไี้ ดต งั้ ชอ่ื วา พจนานกุ รมหมวดธรรม ดว ยเหตผุ ล ๒ ประการคอื ประการแรก แมหนงั สอื นจ้ี ะถอื จาํ นวนหวั ขอ ธรรมเปน เกณฑแ ละจดั ลาํ ดบั ตามจาํ นวนเลขกต็ าม แตใ นจาํ นวนทเ่ี ทา กนั ไดจ ดั เรยี งหมวดธรรมตามลาํ ดบั อกั ษร นอกจากนน้ั ยงั ไดจ ดั องคป ระกอบอยา งอน่ื ในระบบการคน ตามลาํ ดบั อกั ษร เชนสารบญั คน คาํ เปน ตน เขา เสรมิ อกี ดว ย ชว ยใหส าํ เรจ็ กจิ ของพจนานกุ รมโดยสมบรู ณ ประการทส่ี อง เพอื่ ใหเ ปนงานทเี่ ขา ชดุ กนั ไดเ หมาะสมใชป ระโยชนใ นประเภทเดยี วกนั กบั พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรไ ทย–องั กฤษ ทท่ี าํ ไวแ ลว ระหวา งทที่ าํ พจนานกุ รมหมวดธรรม อยนู นั้ ไดต ง้ั ใจวา เมอื่ มโี อกาสขา งหนา จะไดจ ดั ทาํ พจนานกุ รมหมวดธรรม ฉบบั พสิ ดารใหมอ กี เพอ่ื ใหเ ปน ไปตามโครงการทวี่ างไวเ ดมิ ซงึ่ ไดร วบรวมขอ มลู เตรยี มไวก อ นแลวเปน อนั มาก อยา งไรกด็ ี ระหวา งจดั ทาํ พจนานกุ รมหมวดธรรม ฉบบั ปจ จบุ นั อยนู ี้ พจิ ารณาเหน็ วา หมวดธรรมหลายหมวดแมย งั ไมจ าํ เปน สาํ หรบั คนทวั่ ไปทจ่ี ะตอ งรกู จ็ รงิ แตม คี วามสาํ คญั เกอ้ื กลู แกก ารศกึ ษาธรรมวนิ ยั มากไมอ าจตดั หมวดธรรมเหลา นนั้ ทง้ิ ไปได อกี อยา งหนงึ่ ทค่ี ดิ ไวเ ดมิ วา จะแสดงความหมายของหวั ขอ ธรรมแตเ พยี งสนั้ ๆ พออา งองิ ไดเ ทา นน้ั ครนั้ ลงมอื ทาํ กเ็ หน็ ไปวา ไหนๆ มหี นงั สอื นแี้ ลว กค็ วรใหส าํ เรจ็ ประโยชนพ อแกจ ะใชก ารทเี ดยี ว ขอ ธรรมใดใหเ พยี งความหมาย ยงั ไมอ าจเขา ใจชดั ได กไ็ ดท าํ ไขความโดยสรปุ สาระทคี่ วรรเู กยี่ วกบั ขอธรรมนนั้ ไวจ นคลมุ ความ การทเี่ ปน เชน นี้ ไดท าํ ใหพ จนานกุ รมหมวดธรรม มขี นาดหนามาก เมอื่ รวมเขา กบัพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ไทย–องั กฤษ เดมิ แทนทจี่ ะเปน สว นประกอบชว ยเสรมิ หรอื เปน สว นรว ม กลบั กลายเปนสว นหลกั ไป แมถ งึ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ไทย–องั กฤษ นน้ั เอง กไ็ ดข ยายตวั ออกไปมากอยแู ลว เมอ่ื ทง้ั สองสว นทข่ี ยายตวั มารวมกนั เขา จงึ ทาํ ใหห นงั สอื มขี นาดใหญเ กนิ ความตง้ั ใจเดมิ ภาคท่ี ๓ ของหนงั สอื น้ี คอื พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร องั กฤษ–ไทย เปน สว นทจ่ี ดั ทาํ ขน้ึ ใหมใ นการพมิ พครง้ั นี้ โดยพจิ ารณาเหน็ วา เมอ่ื มภี าคไทย–องั กฤษแลว กค็ วรมภี าคองั กฤษ–ไทยขน้ึ ดว ยเปน คกู นั เพอื่ ใหใ ชประโยชนไ ดค รบถว น แตภ าคองั กฤษ–ไทยทที่ าํ น้ี ถอื เปน เพยี งสว นประกอบเทา นน้ั เพราะปญ หาสาํ คญั ของนกั ศกึ ษาและนกั เผยแพรพ ระพทุ ธศาสนา อยทู ตี่ อ งการทราบวา ศพั ทธ รรมหรอื ศพั ทพ ระพทุ ธศาสนาคาํ นๆ้ี จะใช
๑๕ภาษาองั กฤษวา อยา งไร ซงึ่ พจนานกุ รมภาคที่ ๒ จะเปน ทปี่ รกึ ษาชว ยบอกหรอื หาคาํ ใชท เ่ี หมาะสมเสนอให สว นพจนานกุ รมภาคที่ ๓ ทาํ หนา ทเี่ พยี งรวบรวมศพั ทภ าษาองั กฤษ ทใ่ี ชก บั ศพั ทธ รรมลงตวั อยแู ลว บา ง ทมี่ ผี คู ดิ ขน้ึลองใชแ ลว และดเู หมาะสมดบี า ง นาํ มาแสดงใหท ราบวา ผทู ใ่ี ชค าํ ภาษาองั กฤษคาํ นนั้ มงุ หมายถงึ ขอ ธรรมอะไร สว นมากจงึ เปน คาํ ตอ คาํ ไมก นิ เนอื้ ทมี่ าก พจนานกุ รมภาคท่ี ๓ นี้ สามารถจาํ กดั ขนาดใหอ ยใู นกาํ หนดทต่ี ง้ั ใจไวเ ดมิ ไดไมข ยายตวั เกนิ ไป เพราะเหตทุ มี่ คี วามเปน มาตา งหากกนั เชน นี้ สว นทง้ั ๓ ของพจนานกุ รมจงึ มลี กั ษณะเปน อสิ ระจากกนั ไมจาํ กดั อยใู นขอบเขตเดยี วกนั หรอื ในขอบเขตของกนั และกนั เชน ความหมายภาษาองั กฤษของขอ ธรรมเดยี วกนั ท่ีแสดงใน พจนานกุ รมหมวดธรรม กบั ใน พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ไทย–องั กฤษ อาจตรงกนั เฉพาะนยั ทน่ี ยิ มใชยตุ แิ ลว แตน ยั อน่ื ๆ ทเ่ี สนอแนะไวอ าจมแี ปลกจากกนั ได ขอ ธรรมบางอยา งไมไ ดเ กบ็ ไวใ น พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ไทย–องั กฤษ ไมเ ปน ขอ ธรรมทอี่ ยใู นระดบั อนั ควรทราบ แตป รากฏใน พจนานกุ รมหมวดธรรม เพราะเปนขอ ยอ ยของหมวดธรรมบางหมวด จาํ เปน ตอ งตดิ เขา ไปอยเู อง ดงั นเี้ ปน ตน ลกั ษณะทเ่ี ปน อสิ ระจากกนั เชน น้ี นบัไดว า มผี ลดมี ากกวา ผลเสยี เพราะกลบั เปน สว นทม่ี าเสรมิ กนั ชว ยใหส มบรู ณแ ละอาํ นวยประโยชนม ากยง่ิ ขนึ้ เชนเมอื่ คน หาความหมายของขอ ธรรมขอ ใดขอ หนง่ึ ในพจนานกุ รมภาคท่ี ๒ (ไทย–องั กฤษ) ไดแ ลว อาจเปด ดขู อธรรมนนั้ ในสารบญั คน คาํ ของพจนานกุ รมภาคท่ี ๑ (หมวดธรรม) แลว หาความหมายไดเ พม่ิ ขน้ึ อกี ขอ ธรรมใดไมม ีในพจนานกุ รมภาคท่ี ๒ เมอื่ เปด ดสู ารบญั คน คาํ ในภาคท่ี ๑ อาจหาพบกไ็ ด นอกจากนน้ั ยงั ชว ยใหไ มต อ งลงพมิ พความหมายซาํ้ กนั ทง้ั หมด ซงึ่ ทาํ ใหเ ปลอื งเนอื้ ทมี่ ากขน้ึ อกี ดว ย อยา งไรกด็ ี ความเปน อสิ ระจากกนั เชน น้ี แมจ ะมผี ลดบี างประการ แตก ย็ งั ถอื วา เปน ขอ บกพรอ งอยา งหนงึ่ ซงึ่ ในการพมิ พค ราวตอ ๆ ไปถา มเี วลา จะไดใ ชร ะบบอา งองิภายในเขาชวยเพิม่ ขนึ้ อกี เพอ่ื ใหง านทง้ั สามภาคประสานเปน ชดุ เดยี วกนั โดยสมบูรณ และสามารถรักษาลกั ษณะท่ใี หผ ลดีไวได พรอมทัง้ แกไขมิใหม ขี อ บกพรอ งทเี่ กิดจากความซ้าํ ซาก เปนตน ดงั ไดกลาวแลว หนงั สอื นี้เดมิ ต้ังใจทาํ เปนฉบบั เล็ก เพราะหากมเี วลาเพยี งพอ จะไดจดั ทําฉบับพสิ ดารท่ีคางอยูใหเสร็จสิ้นตอไป แตบัดนี้หนังสือฉบับเล็กนี้ไดขยายตัวออกมากจนมีขนาดใหญยากท่ีจะนําติดตัวไปใชเปนประจาํ ตามความต้ังใจเดิม ในการแกปญหานี้ไดใชร ะบบการพิมพเขา ชวย โดยถายยอ ลงจากตน ฉบบั เรยี งพิมพเหลอื เพยี ง ๒ ใน ๓ สวน จะยอ เลก็ กวา นต้ี วั อักษรกจ็ ะเล็กเกินไป จนทําใหเ กดิ ความยากลาํ บากแกผูใชจาํ นวนมาก ทําอยางนถี้ ึงแมจ ะไมไ ดห นังสือขนาดเลก็ เทาที่ตัง้ ใจเดมิ ก็พอชวยใหใ ชไ ดส ะดวกขน้ึ มาก และในเวลาเดียวกนั กท็ าํ ใหไดห นังสอื ขนาดกะทัดรดั ท่ีจุเน้อื ความยิ่งกวาปกตเิ ปนอนั มาก การจดั พมิ พห นงั สอื นี้ นบั แตจ ดั เตรยี มตน ฉบบั เพอื่ สง โรงพมิ พใ นปลายป พ.ศ. ๒๕๑๕ จนถงึ ตพี มิ พเสรจ็ ในบดั นี้ สนิ้ เวลาประมาณ ๒ ป ๖ เดอื น ในการจดั พมิ พไ ดร บั ความรว มมอื รว มใจอยา งดจี ากหลายทา น เจาหนา ทม่ี หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั โดยเฉพาะทา นพระมหาสมบรู ณ สมปฺ ณุ โฺ ณ* ผชู ว ยเลขาธกิ าร ไดช ว ยคอยเรง เรา เทา กบั เปน แรงสนบั สนนุ ใหก ารจดั ทาํ หนงั สอื นค้ี บื หนา มาสคู วามสาํ เรจ็ คณุ ชลธรี ธรรมวรางกรู ไดช ว ยพมิ พดดี ตน ฉบบั ใหโ ดยตลอดดว ยความเออื้ เฟอ และทางโรงพมิ พค รุ สุ ภาไดช ว ยอาํ นวยความสะดวกในการตพี มิ พ นบัวา ทกุ ทา นไดม สี ว นบาํ เพญ็ กศุ ลรว มกนั ในการทาํ วทิ ยาทานนใ้ี หส าํ เรจ็ จงึ ขออนโุ มทนาในความรว มแรงรว มใจและความสนบั สนนุ ของทกุ ทา นไว ณ โอกาสนเ้ี ปน อยา งยงิ่ พระราชวรมนุ ี ๒๔ เมษายน ๒๕๑๘____________________*ปจจุบนั (พ.ศ. ๒๕๔๕) เปนที่ พระราชกติ ติเวที
สารบญั ทวั่ ไป ๓ ๔อนุโมทนา ๙คํานาํ (ในการพิมพค รง้ั ท่ี ๑๐) ๑๔บนั ทกึ ในการพมิ พค ร้ังที่ ๔คํานาํ (ในการพิมพค รั้งท่ี ๑) 1 3ภาค 1 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร หมวดธรรม 8 คําชแ้ี จงการใชพจนานุกรมหมวดธรรม 9 อกั ษรยอ ช่อื คัมภรี 10 Abbreviations of Scriptures 17 สารบัญหมวดธรรม 22 สารบญั ประเภทธรรม 57 ดัชนีคนคํา 60 เอกกะ หมวด 1 84 ทุกะ หมวด 2 113 ติกะ หมวด 3 162 จตกุ กะ หมวด 4 189 ปญจกะ หมวด 5 204 ฉกั กะ หมวด 6 215 สตั ตกะ หมวด 7 221 อฏั ฐกะ หมวด 8 229 นวกะ หมวด 9 249 ทสกะ หมวด 10 292 อติเรกทสกะ หมวดเกิน 10 Index of Pàli Terms 311 313ภาค 2 พจนานกุ รมพุทธศาสตร ไทย–อังกฤษ 314 คาํ นาํ (ในการพมิ พค รง้ั ท่ี 1) 316 คําชแ้ี จง 316 อกั ษรยอและเครือ่ งหมาย 317 เทยี บอกั ษรโรมันที่ใชเขยี นบาลี พจนานกุ รม ก–โอ 363 365ภาค 3 พจนานกุ รมพุทธศาสตร อังกฤษ–ไทย พจนานกุ รม A–Z 382Appendix
ภาค 1พจนานกุ รมพุทธศาสตร หมวดธรรม Part I Dictionary of Numerical Dhammas
คาํ ชีแ้ จงการใชพ จนานกุ รมหมวดธรรมก. หลกั การในการรวบรวมธรรม1. หมวดธรรม คอื หลกั ธรรมทแ่ี สดงไวโดยมจี ํานวนหวั ขอเปนชดุ ๆ ชดุ หนง่ึ ๆ เรยี กวาหมวดธรรมหนึง่ ๆ หมวดธรรมเหลานี้เปนคาํ สอนในพระพุทธศาสนาเพียงสว นหน่ึงเทาน้ัน นอกจากคําสอนประเภทหมวด ธรรมแลว ยงั มคี าํ สอนประเภทคาถาภาษิต ธรรมกถา และโอวาทานศุ าสนีตางๆ อีกเปนอนั มาก ผูท่ี ตองการรูจักพระพุทธศาสนาอยางกวา งขวางท่ัวถงึ จึงควรศึกษาคําสอนประเภทอ่นื ๆ นอกจากหมวด ธรรมดวย อยางไรกด็ ี การศกึ ษาหมวดธรรมเหลา น้นี บั วา สําคญั และมีประโยชนอยา งมาก เพราะเปนคํา สอนประเภทประมวลขอ สรุป มอี รรถกวา งขวาง และถกู ยกขึ้นอาง หรือเปนขอ ปรารภในการแสดงคํา สอนประเภทอน่ื ๆ อยูเนอื งๆ2. หมวดธรรมมอี ยมู ากมาย แตเ ฉพาะทแ่ี สดงในหนงั สอื นี้ ไดค ดั เลอื กและรวบรวมไวเ พยี งสว นหนง่ึ โดยถอื หลักเกณฑท่ีสาํ คญั คือ 1) มุงเอาหมวดธรรมท่ีมาในพระไตรปฎกโดยตรงเปนพ้ืน สวนท่ีมาในคัมภีรอ่ืนพยายามจาํ กัดเฉพาะ คัมภีรส าํ คญั ในระดับรองลงมา ทีน่ ยิ มนับถอื ใชศ ึกษาและอางอิงกันอยทู ว่ั ไปในวงการศึกษาพระ พุทธศาสนา 2) มุงเอาหมวดทแ่ี สดงหลกั ธรรมโดยตรง ใหส มกบั ชื่อทเ่ี รยี กวา “หมวดธรรม” หลีกเลี่ยงหมวดที่เปน เพยี งเกรด็ ความรู หรอื คาํ แถลงเรอ่ื งราวอนื่ ๆ เวน แตจ ะเปน เรอื่ งทสี่ มั พนั ธก บั หลกั ธรรมอยา งใกลช ดิ 3) คดั เอาเฉพาะหมวดธรรมทค่ี วรรูหรือที่ตองรู โดยฐานเปนหลักสําคญั ของพระพุทธศาสนาบา ง เปน หลักทเ่ี หน็ วานา รูและมปี ระโยชนมากบาง เปน หลักที่ใชหรืออา งอิงอยเู สมอ หรือรูจกั กันอยูท ั่วไปบาง เปนหลกั ทท่ี า นกาํ หนดใหเรียนในหลักสตู รการศึกษาพระพทุ ธศาสนาระบบตา งๆ ในประเทศไทยบางข. การจดั ลาํ ดบั3. การจดั ลําดบั หมวดธรรม – จัดตามลําดับเลขจํานวนกอน รวมหมวดธรรมที่มีจํานวนหัวขอเทากันเขาไวเปนกลุมเดียวกันเรียง จากกลุมที่มีจํานวนนอยไปหากลุมท่มี จี ํานวนมากตามลําดบั เปน หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 ฯลฯ จนถงึ หมวดเกนิ สิบ – ในหมวดเลขเดยี วกัน เรียงตามลาํ ดับอักษร ตามอกั ขรวธิ ีในภาษาไทย 1) หมวดธรรมท่ีมีลาํ ดับอักษรหางกัน แตเปนเร่ืองที่เกี่ยวพันหรือควบคูกัน เมื่อถึงลาํ ดับอักษรของ หมวดหนง่ึ แลว นาํ อีกหมวดหนง่ึ มาตอ ในลาํ ดับถดั ไปทนั ทโี ดยไมคาํ นงึ ถึงลําดบั อกั ษร เชน [67] กศุ ลมลู 3, [68] อกศุ ลมลู 3; [80] ทจุ รติ 3, [81] สจุ รติ 3 เปน ตน 2) หมวดธรรมทีม่ เี ลขจาํ นวนตางกัน แตเ ปน เร่อื งอยางเดยี วกนั อาจจัดเรียงรวมไวใ นหมวดเลขเดียว กัน ตอกันไป โดยไมค าํ นงึ ถึงลําดับเลขหมวด ในกรณีเชนน้ี จะถอื หมวดธรรมท่ีสาํ คญั หรอื รูจ กั กนั มากเปนหลัก เชน [303] พทุ ธคณุ 9, [304] พทุ ธคณุ 2, [305] พทุ ธคณุ 3, [306] ธรรมคณุ 6, [307] สงั ฆคณุ 9 เปน ตน ในกรณีของขอยกเวน 2 ขอน้ี หมวดธรรมทผ่ี ิดลําดบั ใหถอื เปน หมวดธรรมพว ง ไมกระทบกระเทอื นตอ
4 ลําดับอักษรตามปกติ ซ่ึงจะจัดตอไปจากหมวดธรรมที่อยูขางหนา นอกจากน้ัน หมวดธรรมท่ี ผิดลําดับเหลาน้ี จะมีชื่อเรียงอยูในตําแหนงที่เปนลําดับตามปกติของมันเองอีกสวนหน่ึงดวย แตใน ตําแหนงปกตนิ นั้ จะไมน ับเลขลาํ ดับ (ในวงเลบ็ สาํ หรับใสเลขลาํ ดบั จะใสร ูป , ไวแทนชอ งวา ง) และไมม ี รายละเอยี ด มเี พียงคาํ อา งบอกตําแหนงที่จะพึงคน ตอ ไป ซึง่ ชว ยโยงถงึ กันใหผ ูใชห นังสือคนหาไดโดย สะดวกจากทกุ ดา น ตวั อยา ง: [,,] สจุ รติ 3 ดู [81] สจุ รติ 3 [,,] พทุ ธคณุ 2 ดู [304] พทุ ธคณุ 2 สจุ รติ 3 เปน ชอ่ื ของธรรมหมวดท่ีเปน คปู ฏปิ ก ษกบั ทจุ รติ 3 จึงนาํ ไปเรยี งไวตอ จากหมวด ทจุ รติ 3 เน่ืองจากอกั ษร ท อยกู อนอักษร ส สว น พทุ ธคณุ 2 อยใู นกลุมเดยี วกบั พทุ ธคณุ 9 แตมจี ํานวนตางกนั จงึ นาํ ไปเรียงไวตอจากหมวด พทุ ธคณุ 9 อันเปน หมวดธรรมทีถ่ ือเปน หลกั4. หมวดธรรมทม่ี หี ลายชอื่ ถอื เอาชอื่ ทมี่ าในบาลเี ปน หลกั ใหร ายละเอยี ดไวท เ่ี ดยี ว แตช อ่ื อนื่ ๆ กเ็ รยี งไวใ น ตาํ แหนงท่ีถูกตองตามลาํ ดบั อกั ษรและลาํ ดบั เลขหมวดดว ย โดยไมน บั เลขลาํ ดบั และไมม รี ายละเอยี ด เพยี งใสเ ครอื่ งหมาย , ไวใ นวงเลบ็ ขา งหนา และมคี าํ อา งบอกตาํ แหนง ชอื่ ทม่ี รี ายละเอยี ดอนั พงึ จะคน ตอ ไป เปน การเชอื่ มโยงถงึ กนั ใหค น ไดจ ากทกุ ดา น ตวั อยา ง: [,,,] สมบตั ขิ องอบุ าสก 7 ดู [260] อบุ าสกธรรม 7 สมบตั ิของอบุ าสก 7 กับ อบุ าสกธรรม 7 เปนชื่อของธรรมหมวดเดยี วกนั แสดงรายละเอียดเฉพาะ ที่ อบุ าสกธรรม 7 แหงเดยี ว สวนช่อื สมบตั ขิ องอบุ าสก 7 ไดเ รียงไวด ว ย แตใหดูรายละเอียดท่ี อบุ าสกธรรม 75. ตัวเลขท่ีอางองิ ในหนังสอื นีท้ ั้งหมด หมายถงึ เลขลาํ ดับ (คือเลขขอ) ของหมวดธรรม ไมใชเลขหนา เวน แตจะมคี าํ บอกกาํ กับไวเปนอยา งอื่น อนึ่ง ในเน้อื หนงั สือ ใชตวั เลขอารบิกทัง้ หมด เพื่อใหผ ใู ชภ าคภาษาอังกฤษสามารถใชประโยชน รวมดวยโดยสะดวกค. ความหมายและคาํ อธบิ าย6. หนังสือน้ีไมใชหนังสืออธิบายธรรมจําเพาะอยา ง แตเปนหนงั สืออางองิ วา ดวยหลกั ธรรมทั่วไป จําตอง สงวนเนอ้ื ท่ี และแสดงอรรถาธบิ ายท่ีกระชับรัดกุม จึงพยายามหลีกเล่ยี งการอธิบาย แสดงไวแ ตเพยี ง คาํ จาํ กัดความและความหมายเปน สําคญั 1) ภาคภาษาไทย: ความหมายมกั แสดงไวหลายๆ นยั เพ่อื เสริมความเขาใจใหชดั ข้นึ และเพือ่ เลือกใช ไดอ ยางเหมาะสมแกก รณี ขอ ธรรมบางขอมีคาํ แปลโดยพยญั ชนะ ในกรณเี ชนนี้ ความหมายที่เปนคําแปลโดยพยญั ชนะน้ัน จะถูกเรียงไวก อนความหมายอ่ืน ความหมายทีแ่ สดงไวหลายนยั มกั มีทง้ั ความหมายอยางส้นั และความหมายอยา งยาว ท้ังน้ีมงุ เพอ่ื ประโยชนทง้ั ในทางความเขา ใจและในการใชง าน ขอธรรมบางอยา งจาํ เปน ตองอธิบาย เพอ่ื ใหเ ขาใจชดั เจน ในกรณเี ชน นีไ้ ดพยายามอธบิ ายใหส้ัน
5ท่สี ดุ โดยทําเปนไขความออกจากความหมายของขอ ธรรมนัน้ ๆ และใหครอบคลุมเนอื้ หาสมบูรณในตัวเสรจ็ ส้นิ ไปในแตล ะขอ ไมใ ชวธิ ีอธิบายรวมท้งั หมด แตถ ามขี อสังเกตหรือคําช้ีแจงกวา งๆ สําหรบั ทง้ัหมวดก็ไดนําไปเขียนไวในตอนทายของหมวดธรรมน้ัน หมวดธรรมที่ตองอธิบายพึงเห็นตัวอยางเชน[85] ธรรม 3, [107] วโิ มกข 3, [285] วสิ ทุ ธิ 7, [311] วปิ ส สนาญาณ 9 เปน ตน2) ภาคภาษาอังกฤษ: ความหมายในภาษาอังกฤษมุงเพียงใหเปนสวนประกอบสําหรับชวยเหลือนักศกึ ษาในการศกึ ษาคน ควา ใหก วา งขวางออกไป หรอื เปน ส่อื ถายทอดความรเู ทานั้น ไมไ ดมุงใหเปนหลักของหนงั สือน้ี โดยปกติในภาคภาษาอังกฤษจะไมมีคําอธิบายเลย มีเพียงความหมายสนั้ ๆ ซ่งึ โดยมากเปนความหมายในรูปคําแปล ขอธรรมใดมีคําแปลหรือความหมายในภาษาอังกฤษท่ีใชกันลงยุติแลวหรือนิยมใชกันแพรหลายในหมนู กั ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาแลว ก็ไดนําเอาคาํ แปลหรือความหมายนน้ั มาลงไว โดยถือเปนอิสระจากความหมายในภาคภาษาไทย สว นขอ ธรรมใดความหมายในภาษาองั กฤษยงั มีปญหา ไมเปน ทีย่ ุตหิ รือยงัไมสูเปน ทร่ี ูจักท่ัวไป กไ็ ดพยายามตรวจสอบ เลอื กสรร หรือคนหาคาํ มาใชใ หตรงกบั ความเขาใจในภาคภาษาไทยใหมากทส่ี ุด คําแปลและความหมายขอ ธรรมตางๆ ในภาคภาษาองั กฤษสวนมาก ไมตรงกบั คาํ แปลหรอื ความหมายทีใ่ ชในพระไตรปฎ กแปลฉบับภาษาอังกฤษของสมาคมบาลปี กรณ (The Pali Text Society) ท้งันี้เพราะไดมีการคิดคนสรรหาคําแปลศัพทธรรมตางๆ ในหมูนักปราชญนักศึกษาพระพุทธศาสนากาวหนาตอ มาอกี มากภายหลงั เวลาที่พิมพพระไตรปฎกแปลฉบับภาษาอังกฤษนน้ั แลว อน่งึ คาํ บาลอี ักษรโรมนั ในวงเล็บตอ ทา ยช่อื หมวดธรรม หรือขอ ธรรมนัน้ ๆ ไดแ สดงไว โดยมงุ ใหผใู ชร ูจกั รปู เดิมของศพั ทน้ันๆ ในภาษาบาลี ถา เปนคาํ สมาสคอื มหี ลายคําประกอบกัน กม็ งุ ใหกําหนดแยกไดง ายวา มีคาํ อะไรประกอบอยูบางเทานั้น มไิ ดมงุ แสดงรูปท่ีใชจ รงิ ในประโยคภาษาบาลี ดงั นน้ั ก) ทีใ่ ดตองการใหเ หน็ รูปศพั ทของคําท่มี าประกอบกัน กจ็ ะใสย ัติภังค หรอื hyphen (-) แทรกไวใหดงู า ย ท่ใี ดเห็นวาเปน คาํ ทใ่ี ชร วมกันเปนปกติ กไ็ มแยก ข) เม่ือแยกคาํ โดยใชยตั ภิ ังคแ ลว กไ็ มเ ติมพยัญชนะซอ น (สังโยค) ตามหลักสนธิตวั อยา ง: ขันธ 5 หรือ เบญจขันธ บาลเี ปน ปฺจกขฺ นธฺ ประกอบดวย ปจฺ + ขนธฺ ถาเขียนเปนคาํบาลีอกั ษรโรมัน ตามทใี่ ชจ ริงในประโยค ก็เปน Pa¤cakkhandha คือเขียนตดิ ตอกนั และมีพยญั ชนะซอ น ไดแ ก k แทรกเขา มา แตในพจนานกุ รมฯ นเ้ี ขียนใหผศู กึ ษากําหนดแยกไดง าย เปน Pa¤ca-khandha สงั วรปธาน บาลนี ิยมเขยี นเปน สวํ รปฺปธาน ประกอบดว ย สวํ ร + ปธาน ถา เขียนเปนคําบาลีอกั ษรโรมัน ตามทีใ่ ชในประโยค กเ็ ปน Sa§varappadhàna แตใ นพจนานกุ รมฯ นเ้ี ขียนเปนSa§vara-padhàna นอกจากน้ี ขอ ความหรอื ถอยคํา ที่อยใู นชุดเดยี วกนั หรือเปน เรือ่ งทาํ นองเดยี วกนั และเรยี งอยูตอ เน่อื งกัน ถามีสวนทีซ่ า้ํ ตรงกัน อาจใชเครือ่ งหมาย tilde (~) แทนความหรอื คําสว นหรอื ทอนท่ซี ํ้าตรงกนั นน้ั เพอื่ ประหยดั เน้อื ท่ี และชว ยไมใหด ลู านตา เชน A¤¤asamàna-cetasika; Pakiõõaka-~;Akusala-~ พึงทราบและนําไปใชในรูปท่ีเปนคําเต็มวา A¤¤asamàna-cetasika; Pakiõõaka-cetasika; Akusala-cetasika ดงั นเี้ ปน ตน (หลกั ขอน้ีนํามาใชก ับพากยภาษาไทยดว ยบา ง เชน ความหวัง, ~ใฝหา หมายถงึ คาํ เต็มวา ความหวงั , ความใฝหา)
6ง. ทม่ี าของหมวดธรรม7. หมวดธรรมสวนมากมีท่ีมาหลายแหง ถาเปนหมวดธรรมพนื้ ๆ ไมจาํ เปนตอ งคน หาคอํา ธิบายแปลกๆ ออกไป ไดแ สดงทมี่ าไวแ ตพอเปนตวั อยาง ถา เปน หมวดธรรมที่ชวนใหคนหาคําอธิบายเทียบเคยี งอยาง กวางขวาง ไดแ สดงที่มาไวหลายแหง หมวดธรรมบางหมวดหาที่มายาก ไดพ ยายามนาํ มาแสดงไวเทาที่ จะหาได อยางไรกต็ าม ในการพิมพค รัง้ แรก คงจะบกพรองในเรอ่ื งน้ีบาง เพราะบางหมวดท่ีทาํ ในระยะ แรก ยงั ไมไดคํานงึ ถึงความมุงหมายขอ น้ี คดิ แตเ พยี งจะแสดงท่ีมาพอเปนตวั อยา งเทานน้ั ในกรณมี ที ี่มามากมายหลายแหง ทง้ั ในพระไตรปฎ กและคัมภีรรุนหลงั ถือเอาพระไตรปฎกเปน หลัก สวนทม่ี าในคมั ภรี รนุ หลังมอี รรถกถาเปน ตน ถาไมม เี หตุผลสมควร อาจไมแ สดงไวเลย เพราะถอื เปน การเกนิ จาํ เปน8. ที่มาท้ังหลายไดแสดงไวท้ังฝายภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อสะดวกแกน ักศึกษาและนักคนควา โดย ทว่ั ไป ผูใ ชควรสงั เกตดวยวา ทีม่ าใดเปนคมั ภรี ใ นพระไตรปฎ กหรือคัมภรี ส มัยหลงั เพือ่ จะไดร ูจักหวั ขอ ธรรมตา งๆ อยางถูกตอ งชัดเจนยง่ิ ข้นึ เฉพาะทม่ี าในพระไตรปฎ ก ฝา ยภาษาไทยหมายเอาพระไตรปฎ ก บาลอี กั ษรไทย ฉบับสยามรัฐ ชุด 45 เลมจบ การอางใชร ะบบ เลม/ขอ /หนา ตวั อยา ง: ข.ุ อติ .ิ 25/195/237 = ขุททฺ กนิกาย อิตวิ ุตตฺ ก พระไตรปฎกเลม 25 ขอ 195 หนา 237 การอางท่ีมาโดยระบบนี้ชวยอํานวยความสะดวกแกผูมีพระไตรปฎกฉบับแปลภาษาไทย 25 พทุ ธศตวรรษ สามารถใชร วมไดด วย โดยเฉพาะฉบบั ทก่ี รมการศาสนาจดั พิมพใ หม มี 45 เลม จบ เลข เลมและเลขขอตรงกนั ใชรว มกันได แปลกเฉพาะเลขหนาซึ่งใชกนั ไมได (ความจรงิ การอา งแตเ ลมกับขอ เทา นนั้ กเ็ พยี งพออยแู ลว) พระไตรปฎ กฝายภาษาองั กฤษ หมายเอาฉบบั บาลอี ักษรโรมันของสมาคมบาลปี กรณ (The Pali Text Society) ในประเทศองั กฤษ ระบบการอางใชอยา งท่นี ยิ มกนั ท่ัวไป อกั ษรยอบอกชื่อคัมภีรทม่ี าตางๆ และคมั ภรี ใดอยูในพระไตรปฎ กหรือเปนคมั ภรี ส มัยหลงั ไดทาํ บัญชีไวเ ปน สวนหนงึ่ ตางหากแลว ท้ังฝายภาษาไทยและภาษาอังกฤษ [ดหู นา 7–10]จ. สารบญั และดชั นี9. นอกจากสารบัญทั่วไป แลว ในหนงั สือนี้ยังมีสารบัญละเอียดและดชั นีตา งๆ อกี เพ่อื ชวยใหก ารศึกษา คนควาหลักธรรมสะดวกและไดผลดีย่ิงข้ึน สารบัญและดัชนที ้งั หลายจัดทาํ ไวเ พอ่ื สนองความมุง หมาย ตางๆ ดังนี้ 1) สารบญั หมวดธรรม แสดงหมวดธรรมทั้งหมดครบจาํ นวนและตรงตามลาํ ดับในหนังสือ สารบัญน้ี จะชวยใหคนหาหมวดธรรมที่ประสงคไดสะดวกรวดเร็วยิ่งขึน้ และทําใหสามารถสํารวจเทียบเคยี ง และเชอื่ มโยงหมวดธรรมตางๆ ไดง ายข้ึน 2) สารบญั ประเภทธรรม นาํ เอาหมวดธรรมทั้งหมดมาจดั รวมพวกใหม แยกเปนประเภทๆ ตามเน้ือ หาและคณุ คาในการปฏิบตั ิ สารบัญนจี้ ัดทาํ ไวอยา งเสนอแนะพอเปน แนว แตม ั่นใจวาจะเปน เครอื่ ง ชว ยในการศึกษาคนควา และเลอื กสรรหลกั ธรรมไปใชประโยชนไดเปนอยางมาก 3) ดชั นคี น คาํ คือดัชนีทีจ่ ัดทาํ ไวทายพจนานุกรมภาคท่ี 1 ทั้งหมด นําเอาขอ ธรรมทง้ั หมด ทั้งทเ่ี ปน หมวดธรรมซ่ึงมีเลขจํานวนตางๆ กันก็ดี หัวขอยอยทั้งหลายท่ีเปนสวนประกอบของหมวดธรรม
7 ตางๆ กด็ ี นาํ มาจัดเรยี งใหมต ามลาํ ดบั อกั ษรเปน ชุดเดยี วกนั ท้ังหมด พรอ มดว ยลําดับเลขหมวดทง้ั ปวงทีจ่ ะพงึ คน หาขอ ธรรมน้นั ๆ ได ผทู ี่ทราบเพยี งชอื่ หมวดธรรมแตไ มท ราบจาํ นวนหัวขอ กด็ ี ผูที่ ทราบแตเพยี งขอ ยอยขอ ใดขอหนึง่ แตจ าํ ชอ่ื หมวดธรรมไมไ ดก ็ดี ผูท ่ตี อ งการศกึ ษาขอ ธรรมขอ ใดขอ หน่ึงใหกวางขวางออกไปก็ดี ผูท่ีตองการทราบความหมายของศัพทธรรมคําใดคําหนึ่งโดยเฉพาะ หรือตองการใชหนังสือน้ีอยางพจนานุกรมสามัญก็ดี ยอมใชดัชนีคนคําน้ีสนองความตองการได สําเรจ็ ความประสงคอ ยางรวดเรว็ อนึ่ง คาํ บางคาํ เขยี นไดหลายอยาง แตใ นดชั นีคนคํา เรียงไวอ ยา งเดียว เชน จาตุมหาราชกิ า (เขียน จาตมุ มหาราชกิ า กไ็ ด) ปุพเพนิวาสานสุ สตญิ าณ (เขยี น ปุพเพนิวาสานุสตญิ าณ หรอื บุพเพนวิ าสานุสติญาณ ก็ได) พึงถือวา เปน รปู ท่ีถกู ตอ งดว ยกัน ตามหลักการเขยี นคําทเ่ี ปน ธรรม- บญั ญตั ใิ นพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2493 และ พ.ศ. 2525 เมือ่ พบคําทเ่ี ขียนในรูป อนื่ ซ่งึ หาไมพ บในดชั นีคน คํา พึงเทียบเคยี งตามหลกั ภาษา ใหไ ดร ปู ทีค่ น ไดในดัชนคี น คํานี้ ในการพมิ พค รง้ั ที่ 4 (พ.ศ. 2527–2528) ไดย ายดัชนีคนคํามาไวต นเลม เพอ่ื ใหใ ชงายย่ิงขน้ึ และไดเพมิ่ ดัชนีคาํ บาลีอักษรโรมัน (Index of Pàli Terms) เขามา เพ่อื ประโยชนแกผ ูใ ชภาคภาษาองั กฤษ เมือ่ ใชหนงั สือน้ี พึงใชส ารบญั และดัชนีตา งๆ ใหเ ปนประโยชนเ สมอ โดยเฉพาะควรใชเ ปนท่ปี รกึ ษาอนั ดบั แรกกอ นส่งิ อื่น
อกั ษรยอ ชอ่ื คมั ภรี * เรียงตามอักขรวธิ แี หง มคธภาษา(ทพี่ ิมพต วั เอน คอื คัมภีรใ นพระไตรปฎก)อง.ฺ อ. องคฺ ุตฺตรนิกาย อฏกถา (มโนรถปรู ณ)ี ขทุ ทฺ ก.อ. ขุททฺ กปา อฏ กถา (ปรมตฺถโชตกิ า)อง.ฺ อฏก. องคฺ ตุ ฺตรนิกาย อฏกนปิ าต จริยา.อ. จรยิ าปฏ ก อฏ กถา (ปรมตถฺ ทปี น)ีอง.ฺ เอก. องคฺ ตุ ตฺ รนกิ าย เอกนิปาต ชา.อ. ชาตกฏกถาอง.ฺ เอกาทสก. องคฺ ุตฺตรนกิ าย เอกาทสกนิปาต เถร.อ. เถรคาถา อฏ กถา (ปรมตฺถทีปน)ีอง.ฺ จตุกฺก. องฺคตุ ฺตรนิกาย จตกุ กฺ นปิ าต เถรี.อ. เถรคี าถา อฏ กถา (ปรมตถฺ ทีปน)ีองฺ.ฉกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย ฉกกฺ นปิ าต ที.อ. ทีฆนิกาย อฏ กถา (สมุ งฺคลวลิ าสิน)ีอง.ฺ ตกิ . องคฺ ตุ ตฺ รนกิ าย ตกิ นปิ าต ที.ปา. ทีฆนิกาย ปาฏิกวคฺคองฺ.ทสก. องคฺ ตุ ตฺ รนกิ าย ทสกนปิ าต ท.ี ม. ทีฆนกิ าย มหาวคฺคองฺ.ทุก. องฺคุตตฺ รนกิ าย ทุกนิปาต ที.สี. ทีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคคฺอง.ฺ นวก. องฺคุตตฺ รนกิ าย นวกนปิ าต ธ.อ. ธมมฺ ปทฏ กถาอง.ฺ ปจฺ ก. องฺคุตตฺ รนิกาย ปจฺ กนปิ าต นิท.ฺ อ. นิทฺเทส อฏกถา (สทฺธมฺมปชโฺ ชติกา)อง.ฺ สตฺตก. องฺคุตฺตรนกิ าย สตฺตกนิปาต ปจฺ .อ. ปฺจปกรณ อฏกถา (ปรมตถฺ ทีปนี)อป.อ. อปทาน อฏ กถา (วสิ ทุ ฺธชนวลิ าสินี) ปฏสิ .ํ อ. ปฏสิ มภฺ ทิ ามคคฺ อฏ กถา (สทธฺ มมฺ ปกาสนิ )ีอภ.ิ ก. อภธิ มมฺ ปฏ ก กถาวตถฺ ุ เปต.อ. เปตวตฺถุ อฏ กถา (ปรมตถฺ ทีปน)ีอภ.ิ ธา. อภิธมฺมปฏก ธาตกุ ถา พุทธฺ .อ. พทุ ธฺ วํส อฏ กถา (มธุรตถฺ วลิ าสินี)อภ.ิ ป. อภิธมฺมปฏ ก ปฏาน ม.อ. มชฌฺ มิ นกิ าย อฏกถา (ปปจฺ สูทน)ีอภิ.ป.ุ อภิธมมฺ ปฏก ปคุ คฺ ลปฺ ตฺติ ม.อุ. มชฺฌมิ นกิ าย อุปรปิ ณฺณาสกอภิ.ยมก. อภธิ มมฺ ปฏ ก ยมก ม.ม. มชฌฺ มิ นิกาย มชฌฺ ิมปณฺณาสกอภิ.วิ. อภธิ มฺมปฏ ก วภิ งคฺ ม.ม.ู มชฺฌมิ นกิ าย มูลปณณฺ าสกอภ.ิ ส.ํ อภธิ มมฺ ปฏ ก ธมมฺ สงคฺ ณี มงฺคล. มงคฺ ลตฺถทีปนีอติ ิ.อ. อติ วิ ตุ ฺตก อฏ กถา (ปรมตถฺ ทปี นี) มลิ ินฺท. มลิ นิ ทฺ ปฺหาอุ.อ.,อทุ าน.อ. อทุ าน อฏกถา (ปรมตถฺ ทปี น)ี วนิ ย. วินยปฏ กขุ.อป. ขุททฺ กนิกาย อปทาน วินย.อ. วนิ ย อฏกถา (สมนตฺ ปาสาทิกา)ข.ุ อิต.ิ ขทุ ทฺ กนิกาย อิติวตุ ฺตก วินย.ฏกี า วนิ ยฏกถา ฏกี า (สารตถฺ ทปี นี)ขุ.อุ. ขทุ ฺทกนกิ าย อทุ าน วิภงฺค.อ. วิภงฺค อฏ กถา (สมฺโมหวโิ นทนี)ข.ุ ข.ุ ขุทฺทกนกิ าย ขทุ ทฺ กปา วมิ าน.อ. วิมานวตถฺ ุ อฏกถา (ปรมตฺถทปี น)ีข.ุ จรยิ า. ขุททฺ กนิกาย จริยาปฏก วสิ ุทธฺ .ิ วสิ ุทฺธมิ คฺคขุ.จ.ู ขุทฺทกนกิ าย จฬู นิทฺเทส วสิ ทุ ฺธิ.ฏกี า วิสทุ ฺธมิ คคฺ มหาฏีกา (ปรมตฺถมชฺ ุสา)ข.ุ ชา. ขุทฺทกนิกาย ชาตก สงคฺ ณี อ. สงคฺ ณี อฏกถา (อฏสาลนิ )ีข.ุ เถร. ขุททฺ กนกิ าย เถรคาถา สงคฺ ห. อภิธมฺมตถฺ สงคฺ หขุ.เถร.ี ขุทฺทกนิกาย เถรคี าถา สงคฺ ห.ฏีกา อภธิ มมฺ ตถฺ สงคฺ ห ฏกี า (อภธิ มมฺ ตถฺ วภิ าวนิ )ีข.ุ ธ. ขทุ ทฺ กนกิ าย ธมมฺ ปท ส.ํ อ. สยํ ตุ ตฺ นิกาย อฏ กถา (สารตถฺ ปกาสินี)ขุ.ปฏิ. ขทุ ทฺ กนิกาย ปฏิสมภฺ ทิ ามคฺค ส.ํ ข. สยํ ุตฺตนกิ าย ขนฺธวารวคฺคข.ุ เปต. ขทุ ฺทกนิกาย เปตวตถฺ ุ ส.นิ. สํยุตฺตนิกาย นทิ านวคคฺขุ.พทุ ฺธ. ขุทฺทกนกิ าย พุทฺธวํส ส.ม. สยํ ุตตฺ นกิ าย มหาวารวคฺคขุ.ม.,ข.ุ มหา. ขุทฺทกนิกาย มหานิทฺเทส ส.ส. สํยุตตฺ นกิ าย สคาถวคฺคขุ.วมิ าน. ขุทฺทกนกิ าย วมิ านวตถฺ ุ ส.ํ สฬ. สํยุตตฺ นกิ าย สฬายตนวคฺคขุ.ส.ุ ขุททฺ กนกิ าย สตุ ตฺ นปิ าต สตุ ฺต.อ. สุตตฺ นิปาต อฏกถา (ปรมตฺถโชตกิ า)___________________*คัมภีรช ้ันฎีกาแสดงไวข างตน เฉพาะทีใ่ ชก นั อยูในวงการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย สว นทนี่ อกจากนี้ไมแสดงไว พึงเขา ใจเอง ตามแนววิธีในการใชอักษรยอ สําหรบั อรรถกถา ท่ีนาํ อ. ไปตอ ทา ยอักษรยอ ของคมั ภรี ใ นพระไตรปฎ ก เชน ที.อ., ม.อ., ส.ํ อ.เปนตน (ในกรณีของฎีกา กน็ ํา ฏ.ี หรือ ฏีกา ไปตอ เปน ท.ี ฏ.ี หรอื ท.ี ฏกี า เปน ตน )
Abbreviations of Scriptures (in italics are canonical works)A. Aïguttaranikàya (5 vols.) Pañ. Paññhàna (Abhidhamma)AA. Aïguttaranikàya Aññhakathà PañA. Paññhàna Aññhakathà (Paramatthadãpanã) (Manorathapåraõã) Ps. PañisambhidàmaggaAp. Apadàna (Khuddakanikàya) (Khuddakanikàya)ApA. Apadàna Aññhakathà PsA. Pañisambhidàmagga Aññhakathà (Saddhammapakàsinã) (Visuddhajanavilàsinã) Ptk. PeñakopadesaBv. Buddhava§sa (Khuddakanikàya) Pug. Puggalapa¤¤atti (Abhidhamma)BvA. Buddhava§sa Aññhakathà PugA. Puggalapa¤¤atti Aññhakathà (Paramatthadãpanã) (Madhuratthavilàsinã) Pv. Petavatthu (Khuddakanikàya)Comp. Compendium of Philosophy PvA. Petavatthu Aññhakathà (Paramatthadãpanã) (Abhidhammatthasaïgaha) S. Sa§yuttanikàya (5 vols.)Cp. Cariyàpiñaka (Khuddakanikàya) SA. Sa§yuttanikàya AññhakathàCpA. Cariyàpiñaka Aññhakathà (Sàratthapakàsinã) Sn. Suttanipàta (Khuddakanikàya) (Paramatthadãpanã) SnA. Suttanipàta AññhakathàD. Dãghanikàya (3 vols.) (Paramatthajotikà)DA. Dãghanikàya Aññhakathà Thag. Theragàthà (Khuddakanikàya) ThagA. Theragàthà Aññhakathà (Sumaïgalavilàsinã) (Paramatthadãpanã)DAò. Dãghanikàya Aññhakathà òãkà Thãg. Therãgàthà (Khuddakanikàya) ThãgA. Therãgàthà Aññhakathà (Lãnatthapakàsinã) (Paramatthadãpanã)Dh. Dhammapada (Khuddakanikàya) Ud. Udàna (Khuddakanikàya)DhA. Dhammapada Aññhakathà UdA. Udàna AññhakathàDhtk. Dhàtukathà (Abhidhamma) (Paramatthadãpanã)DhtkA. Dhàtukathà Aññhakathà Vbh. Vibhaïga (Abhidhamma) VbhA. Vibhaïga Aññhakathà (Paramatthadãpanã) (Sammohavinodanã)Dhs. Dhammasaïgaõã (Abhidhamma) Vin. Vinaya Piñaka (5 vols.)DhsA. Dhammasaïgaõã Aññhakathà VinA. Vinaya Aññhakathà (Samantapàsàdikà) (Aññhasàlinã) Vinò. Vinaya Aññhakathà òãkàIt. Itivuttaka (Khuddakanikàya) (Sàratthadãpanã)ItA. Itivuttaka Aññhakathà Vism. Visuddhimagga Vismò. Visuddhimagga Mahàñãkà (Paramatthadãpanã) (Paramatthama¤jusà)J. Jàtaka (including its Aññhakathà) Vv. Vimànavatthu (Khuddakanikàya)Kh. Khuddakapàñha (Khuddakanikàya) VvA. Vimànavatthu AññhakathàKhA. Khuddakapàñha Aññhakathà (Paramatthadãpanã) Yam. Yamaka (Abhidhamma) (Paramatthajotikà) YamA. Yamaka AññhakathàKvu. Kathàvatthu (Abhidhamma) (Paramatthadãpanã)KvuA. Kathàvatthu Aññhakathà (Paramatthadãpanã)M. Majjhimanikàya (3 vols.)MA. Majjhimanikàya Aññhakathà (Papa¤casådanã)Miln. Milindapa¤hàNd 1 Mahàniddesa (Khuddakanikàya)Nd 2 Cåëaniddesa (Khuddakanikàya)NdA. Niddesa Aññhakathà (Saddhammapajjotikà)Nett. Nettipakaraõa
สารบญั หมวดธรรมเอกกะ – หมวด 1 [30] บูชา 2[1] กลั ยาณมิตตตา [31] ปฏสิ นั ถาร 2[2] โยนโิ สมนสิการ [32] ปธาน 2[3] อปั ปมาทะ [33] ปริเยสนา 2 [34] ปจ จัยใหเ กดิ สัมมาทิฏฐิ 2ทุกะ – หมวด 2 [35] ปาพจน 2[4] กรรม 2 [,,] พุทธคณุ 2 [304][,] กรรมฐาน 2 [36] [,,] พทุ ธคณุ 3 [305][5] กาม 2 [,,] ไพบลู ย 2 [44][6] กามคณุ 5 [36] ภาวนา 2[7] ฌาน 2 [37] ภาวนา 4[8] ฌาน 2 ประเภท [38] รูป 21, 28[9] ฌาน 4, 5 [39] มหาภตู หรอื ภูตรูป 4[10] ฌาน 8 [40] อปุ าทารูป หรอื อปุ าทายรูป 24[11] ทาน 21 [41] รูป 22[12] ทาน 22 [42] ฤทธิ์ 2[13] ทิฏฐิ 2 [,,] โลกบาลธรรม 2 [23][14] ทฏิ ฐิ 3 [43] วิมตุ ติ 2[15] ทสี่ ุด (อนั ตา) 2 [,,] เวทนา 2 [110][16] ทกุ ข 2 [44] เวปุลละ 2[17] เทศนา 21 [45] สมาธิ 2[18] เทศนา 22 [46] สมาธิ 31[19] ธรรม 21 [47] สมาธิ 32[20] ธรรม 22 [48] สงั ขาร 2[21] ธรรม 23 [49] สงั คหะ 2[22] ธรรม 24 [50] สัจจะ 2[23] ธรรมคุมครองโลก 2 [51] สาสน หรือ ศาสนา 2[24] ธรรมทําใหงาม 2 [52] สขุ 21[,,] ธรรมท่ที รงเหน็ คณุ ประจักษ 2 [65] [53] สขุ 22[,,] ธรรมเปน โลกบาล 2 [23] [54] สทุ ธิ 2[25] ธรรมมีอปุ การะมาก 2 [,,] อรหันต 2 [61][26] ธรุ ะ 2 [55] อริยบคุ คล 2[27] นิพพาน 2 [56] อรยิ บคุ คล 4[28] บัญญตั ิ 2, 6 [57] อรยิ บคุ คล 8[29] บุคคลหาไดยาก 2 [58] โสดาบนั 3
[59] สกทาคามี 3, 5 11[60] อนาคามี 5[61] อรหันต 2 [91] ปปญ จะ 3[62] อรหนั ต 4, 5, 60 [92] ปรญิ ญา 3[63] อรยิ บคุ คล 7 [,,] ปหาน 3 [224][64] อัตถะ 2 [93] ปญ ญา 3[65] อุปญ ญาตธรรม 2 [94] ปาฏิหารยิ 3 [95] ปาปณิกธรรม 3ตกิ ะ – หมวด 3 [,,] ปฎ ก 3 [75][66] กรรม 3 [,,] พุทธคุณ 3 [305][67] กศุ ลมลู 3 [96] พุทธจรยิ า 3[68] อกุศลมูล 3 [97] พุทธโอวาท 3[69] กุศลวติ ก 3 [98] ภพ 3[70] อกุศลวติ ก 3 [99] ภาวนา 3[71] โกศล 3 [100] รตั นตรัย[72] ญาณ 31 [101] ลัทธินอกพระพทุ ธศาสนา 3[73] ญาณ 32 [102] โลก 31[74] ตัณหา 3 [103] โลก 32[75] ไตรปฎก [104] โลก 33[,,] ไตรรตั น [100] [105] วัฏฏะ 3 หรือ ไตรวฏั ฏ[76] ไตรลกั ษณ [106] วิชชา 3[,,] ไตรสกิ ขา [124] [,,,] วิปล ลาส 3 ระดบั [178][77] ทวาร 3 [107] วโิ มกข 3[78] ทวาร 6 [108] วิรตั ิ 3[,,] ทิฏฐิ 3 [14] [109] วิเวก 3[79] ทกุ ขตา 3 [110] เวทนา 2[80] ทจุ รติ 3 [111] เวทนา 3[81] สจุ ริต 3 [112] เวทนา 5[82] เทพ 3 [113] เวทนา 6[83] เทวทตู 3 [114] สมบัติ 31[,,] เทวทูต 4 [150] [115] สมบตั ิ 32 หรือ ทานสมบตั ิ 3[84] เทวทูต 5 [,,,] สมาธิ 3 [46], [47][85] ธรรม 3 [116] สรณะ 3 หรือ ไตรสรณะ[86] ธรรมนยิ าม 3 [117] สังขตลักษณะ 3[87] นิมิต หรือ นมิ ิตต 3 [118] อสงั ขตลกั ษณะ 3[88] บุญกริ ิยาวัตถุ 3 [119] สงั ขาร 31[89] บุญกิริยาวัตถุ 10 [120] สงั ขาร 32[90] บตุ ร 3 [121] สัทธรรม 3 [122] สนั โดษ 3, 12 [123] สปั ปุริสบญั ญัติ 3
[,,,] สามัญลกั ษณะ 3 [76] 12[124] สกิ ขา 3 หรอื ไตรสิกขา[,,,] สุจริต 3 [81] [147] ธาตุกัมมฏั ฐาน 4[,,,] โสดาบัน 3 [58] [148] ธาตุ 6[,,,] อกุศลมูล 3 [68] [149] ธาตกุ มั มฏั ฐาน 6[,,,] อกศุ ลวิตก 3 [70] [150] นมิ ติ 4[125] อธปิ ไตย 3 [151] บริษัท 41[126] อนตุ ตรยิ ะ 3 [152] บริษทั 42[127] อนตุ ตริยะ 6 [153] บคุ คล 4[128] อปณณกปฏปิ ทา 3 [154] ปฏิปทา 4[129] อภิสังขาร 3 [155] ปฏสิ มั ภทิ า 4[130] อัคคิ 31 [156] ปธาน 4[131] อคั คิ 32 หรอื อัคคิปารจิ ริยา [157] ปรมตั ถธรรม 4[132] อัตถะ หรอื อรรถ 31 [158] ประมาณ หรอื ปมาณิก 4[133] อตั ถะ หรอื อรรถ 32 [159] ปจจยั 4[134] อาการท่ีพระพุทธเจาทรงส่งั สอน 3 [,,,] ปญญาวฒุ ธิ รรม 4 [179][135] อาสวะ 3 [160] ปาริสทุ ธิศีล 4[136] อาสวะ 4 [,,,] ผล 4 [165][,,,] โอวาทของพระพทุ ธเจา 3 [97] [,,,] พร 4 [227] [161] พรหมวหิ าร 4จตุกกะ – หมวด 4 [,,,] พละ 4 [229][137] กรรมกิเลส 4 [,,,] พทุ ธลีลาในการสอน 4 [172][,,,] กลั ยาณมิตร 4 [169] [,,,] ภาวนา 4 [37][,,,] กิจในอรยิ สจั จ 4 [205] [,,,] ภาวติ 4 [37][138] กุลจิรัฏฐติ ิธรรม 4 [162] ภมู ิ 4[139] ฆราวาสธรรม 4 [163] โภควภิ าค 4[140] จักร 4 [164] มรรค 4[141] เจดีย 4 [165] ผล 4[,,,] ฌาน 4 [9] [166] มหาปเทส 41[142] ถูปารหบคุ คล 4 [167] มหาปเทส 42[143] ทกั ขิณาวิสทุ ธิ 4 [168] มติ รปฏริ ปู ก หรือ มติ รเทียม 4[,,,] ทรัพยจัดสรรเปน 4 สว น [163] [169] สุหทมิตร หรอื มิตรแท 4[144] ทฏิ ฐธมั มิกัตถสงั วตั ตนกิ ธรรม 4 [170] โยคะ 4[,,,] เทวทูต 4 [150] [171] โยนิ 4[,,,] ธรรมมีอปุ การะมาก 4 [140] [,,,] ราชสังคหวัตถุ 4 [187][,,,] ธรรมเปนเหตใุ หสมหมาย 4 [191] [172] ลีลาการสอน 4[145] ธรรมสมาทาน 4 [173] วรรณะ 4[146] ธาตุ 4 [174] วิธีปฏบิ ัติตอทุกข–สุข 4 [175] วิบัติ 41 [176] วบิ ตั ิ 42
13[177] สมบตั ิ 4 [209] อวชิ ชา 8[178] วิปลลาส หรือ วิปลาส 4 [210] อนั ตรายของภิกษสุ ามเณรผบู วชใหม 4[179] วฒุ ิ หรอื วฒุ ิธรรม 4 [,,,] อัปปมญั ญา 4 [161][180] เวสารชั ชะ หรือ เวสารชั ชญาณ 4 [211] อาจารย 4[181] ศรัทธา 4 [,,,] อาสวะ 4 [136][182] สตปิ ฏ ฐาน 4 [212] อาหาร 4[183] สมชวี ธิ รรม 4 [213] อิทธบิ าท 4[184] สมาธภิ าวนา 4 [214] อุปาทาน 4[185] สงั ขาร 4 [215] โอฆะ 4[186] สังคหวตั ถุ 4[187] สงั คหวัตถุของผูครองแผนดิน 4 หรือ ราช- ปญ จกะ – หมวด 5 [,,,] กัลยาณธรรม 5 [239] สังคหวัตถุ 4 [,,,] กามคณุ 5 [6][188] สงั เวชนยี สถาน 4 [,,,] กาํ ลัง 5 ของพระมหากษัตริย [230][189] สัมปชัญญะ 4 [216] ขนั ธ 5 หรือ เบญจขันธ[190] สมั ปทา หรอื สมั ปทาคณุ 4 [,,,] คติ 5 [351][191] สัมปรายกิ ัตถสงั วตั ตนิกธรรม 4 [217] จักขุ 5[,,,] สัมมัปปธาน 4 [156] [,,,] ฌาน 5 [9][192] สขุ ของคฤหัสถ 4 [218] ธรรมขันธ 5[,,,] สุหทมติ ร 4 [169] [219] ธรรมเทสกธรรม 5[193] โสดาปตติยังคะ 41 [220] ธรรมสมาธิ 5[194] โสดาปตตยิ งั คะ 42 [221] ธรรมสวนานิสงส 5[195] โสดาปต ตยิ ังคะ 43 [222] นวกภกิ ขุธรรม 5[,,,] หลกั การแบง ทรพั ย 4 สว น [163] [223] นิยาม 5[196] อคติ 4 [224] นิโรธ 5[197] อธษิ ฐาน หรือ อธิษฐานธรรม 4 [225] นวิ รณ 5[198] อบาย 4, อบายภมู ิ 4; และ [351] [,,,] เบญจธรรม [239][199] อบายมุข 4 [,,,] เบญจศีล [238][200] อบายมุข 6 [,,,] ประโยชนท ี่ควรถอื เอาจากโภคทรัพย 5 [232][201] วัฒนมุข 6 [,,,] ปหาน 5 [224][202] อปส เสนะ หรือ อปส เสนธรรม 4 [,,,] ปญจกชั ฌาน [9][,,,] อรหนั ต 4 [62] [226] ปต ิ 5[,,,] อริยบุคคล 4 [56] [227] พร 5[203] อรยิ วงศ 4 [228] พละ 5[204] อริยสัจจ 4 [229] พละ 4[205] กิจในอริยสจั จ 4 [230] พละ 5 ของพระมหากษัตรยิ [206] ธรรม 4 [231] พหสู ูตมอี งค 5[207] อรูป หรือ อารุปป 4 [232] โภคอาทิยะ หรอื โภคาทิยะ 5[208] อวิชชา 4
[233] มัจฉรยิ ะ 5 14[234] มาร 5[,,,] มจิ ฉาวณชิ ชา 5 [235] [258] อนิ ทรยี 5[235] วณชิ ชา 5 [259] อบุ าสกธรรม 5[,,,] วฑั ฒิ หรอื วฒั ิ หรอื วฒุ ิ 5 [249] [260] อบุ าสกธรรม 7[236] วิมตุ ติ 5[,,,] วิราคะ 5 [224] ฉักกะ – หมวด 6[,,,] วเิ วก 5 [224] [261] คารวะ หรือ คารวตา 6[,,,] เวทนา 5 [112] [262] จริต หรอื จริยา 6[237] เวสารชั ชกรณธรรม 5 [263] เจตนา หรือ สญั เจตนา 6[,,,] โวสสัคคะ 5 [224] [264] ตณั หา 6[238] ศลี 5 หรอื เบญจศีล [,,,] ทวาร 6 [78][239] เบญจธรรม หรอื เบญจกัลยาณธรรม [265] ทิศ 6[240] ศลี 8 หรอื อัฏฐศีล [,,,] ธรรมคุณ 6 [306][241] ศีล 8 ทั้งอาชีวะ หรือ อาชวี ฏั ฐมกศีล [,,,] ธาตุ 6 [148][242] ศลี 10 หรอื ทศศลี [,,,] บญั ญัติ 2, 6 [28][,,,] สกทาคามี 5 [59] [266] ปยรูป สาตรปู 6 × 10[,,,] สมบัติของอุบาสก 5 [259] [267] ภพั พตาธรรม 6[243] สังวร 5 [,,,] วฒั นมขุ 6 [201][244] สทุ ธาวาส 5 [268] วญิ ญาณ 6[,,,] องคแ หง ธรรมกถกึ 5 [219] [,,,] เวทนา 6 [113][,,,] องคแ หงภกิ ษใุ หม 5 [222] [269] เวปุลลธรรม 6[245] อนันตรยิ กรรม 5 [270] สวรรค 6[,,,] อนาคามี 5 [60] [,,,] สญั เจตนา 6 [263][246] อนุปพุ พิกถา 5 [271] สญั ญา 6[247] อภิณหปจ จเวกขณ 5 [272] สัมผสั หรอื ผสั สะ 6[248] ปพ พชิตอภิณหปจเวกขณ 10 [273] สารณียธรรม 6[,,,] อรหันต 5 [62] [,,,] อนุตตริยะ 6 [127][249] อริยวัฑฒิ หรือ อารยวฒั ิ 5 [,,,] อบายมขุ 6 [200][250] อายุสสธรรม หรอื อายวุ ฒั นธรรม 5 [274] อภญิ ญา 6[,,,] อารยวฒั ิ 5 [249] [275] อภิฐาน 6[251] อาวาสิกธรรม 51 [276] อายตนะภายใน 6[252] อาวาสิกธรรม 52 [277] อายตนะภายนอก 6[253] อาวาสกิ ธรรม 53[254] อาวาสกิ ธรรม 54 สัตตกะ – หมวด 7[255] อาวาสกิ ธรรม 55 [278] กลั ยาณมติ รธรรม 7[256] อาวาสิกธรรม 56 [279] ธรรมมีอุปการะมาก 7 [292][257] อาวาสกิ ธรรม 57 [280] บพุ นมิ ิตแหง มรรค 7 [281] โพชฌงค 7 [282] ภรรยา 7
[283] เมถุนสงั โยค 7 15[284] วญิ ญาณฐิติ 7[285] วสิ ทุ ธิ 7 [303] พุทธคุณ 9[286] สปั ปายะ 7 [304] พทุ ธคณุ 2[287] สปั ปรุ ิสธรรม 71 [305] พทุ ธคณุ 3[,,,] สปั ปุรสิ ธรรม 72 [301] [306] ธรรมคุณ 6[,,,] สมบตั ขิ องอบุ าสก 7 [260] [307] สังฆคุณ 9[,,,] องคค ุณของกัลยาณมิตร 7 [278] [308] มละ 9[288] อนสุ ัย 7 [309] มานะ 9[289] อปรหิ านิยธรรม 71 [310] โลกตุ ตรธรรม 9[290] อปรหิ านยิ ธรรม 72 [311] วปิ ส สนาญาณ 9[291] อปริหานิยธรรม 73 [312] สตั ตาวาส 9[292] อริยทรพั ย 7 [313] อนบุ ุพพวิหาร 9[,,,] อรยิ บุคคล 7 [63][,,,] อุบาสกธรรม 7 [260] ทสกะ – หมวด 10 [314] กถาวตั ถุ 10อัฏฐกะ – หมวด 8 [315] กสิณ 10[,,,] ฌาน 8 [10] [316] กามโภคี 10[293] มรรคมอี งค 8 หรือ อฏั ฐงั คิกมรรค [317] กาลามสตู รกังขานิยฐาน 10[294] ลกั ษณะตัดสนิ ธรรมวินยั 8 [318] กิเลส 10[295] ลักษณะตดั สินธรรมวนิ ัย 7 [319] กุศลกรรมบถ 101[296] โลกธรรม 8 [320] กศุ ลกรรมบถ 102[297] วชิ ชา 8 [321] อกศุ ลกรรมบถ 10[298] วโิ มกข 8 [322] เถรธรรม 10[,,,] ศลี 8 [240] [323] ทศพลญาณ[,,,] ศลี 8 ทงั้ อาชีวะ [241] [,,,] ทศพิธราชธรรม [326][299] สมาบัติ 8 [,,,] ธรรมจรยิ า 10 [320][300] สปั ปุรสิ ทาน 8 [,,,] ธรรมมอี ปุ การะมาก 10 [324][301] สัปปุริสธรรม 8 [324] นาถกรณธรรม 10[,,,] หลกั ตดั สินธรรมวนิ ัย 8 [294] [325] บารมี 10 หรือ ทศบารมี[,,,] อริยบุคคล 8 [57] [,,,] บญุ กริ ิยาวัตถุ 10 [89][,,,] อรยิ อฏั ฐงั คกิ มรรค [293] [,,,] ปพพชติ อภิณหปจ จเวกขณ 10 [248][,,,] อวิชชา 8 [209] [,,,] มจิ ฉตั ตะ 10 [334][,,,] อาชีวัฏฐมกศลี [241] [,,,] มูลเหตกุ ารบัญญัติพระวนิ ยั 10 [327][,,,] อุโบสถศลี [240] [326] ราชธรรม 10 หรอื ทศพิธราชธรรม [327] วัตถปุ ระสงคใ นการบญั ญัตพิ ระวนิ ยั 10นวกะ – หมวด 9 [,,,] วปิ สสนาญาณ 10 [311][302] นวังคสตั ถศุ าสน [328] วิปส สนูปกเิ ลส 10 [,,,] ศีล 10 [242] [329] สงั โยชน 101
[330] สงั โยชน 102 16[331] สญั ญา 10[332] สทั ธรรม 10 [344] จรณะ 15[333] สมั มตั ตะ 10 [345] ญาณ 16 หรอื โสฬสญาณ[334] มจิ ฉัตตะ 10 [,,,] รปู พรหม หรือ พรหมโลก 16 [351][,,,] อกศุ ลกรรมบถ 10 [321] [,,,] โสฬสวตั ถุกอานาปานสติ [346][335] อนสุ ติ 10 [,,,] อานาปานสติ 16 ขนั้ [346][,,,] อภิณหปจ จเวกขณ 10 [248] [346] อานาปานสติ 16 ฐาน[,,,] อเสขธรรม 10 [333] [347] อปุ กเิ ลส หรือ จิตตอุปกิเลส 16[336] อสภุ ะ 10 [348] ธาตุ 18[337] อันตคาหิกทิฏฐิ 10 [349] อินทรยี 22 [350] ปจจยั 24อตเิ รกทสกะ – หมวดเกิน 10 [,,,] รูป 28 [38][338] กรรม 12 [351] ภมู ิ 4 หรอื 31[339] จกั รวรรดวิ ัตร 5, 12 [352] โพธปิ กขยิ ธรรม 37[340] ปฏิจจสมปุ บาท 12 [353] มงคล 38[,,,] ปจจยาการ 12 [340] [354] กรรมฐาน 40[,,,] สนั โดษ 12 [122] [355] เจตสิก 52[341] อายตนะ 12 [356] จิต 89 หรือ 121[342] ธดุ งค 13 [357] ตัณหา 108[343] กจิ หรือ วญิ ญาณกิจ 14 [358] เวทนา 108 [359] กิเลส 1500
สารบญั ประเภทธรรมI. ธรรมทเี่ ปนหลักใหญใ จความ [68] อกุศลมลู 3 เสรมิ ความเปนมนษุ ย) [135] อาสวะ 3 [81] สุจริต 31. ธรรมท่เี ปนหลกั ทั่วไป (หรือมี [136] อาสวะ 4 [125] อธิปไตย 3 ขอบเขตครอบคลมุ ) [340] ปฏิจจสมุปบาท 12 [132] อตั ถะ หรอื อรรถ 31 [350] ปจ จยั 24 [133] อตั ถะ หรือ อรรถ 32[19] ธรรม 21 ค. สจั ฉกิ าตพั พธรรม และธรรมที่ [161] พรหมวิหาร 4[20] ธรรม 22 [197] อธษิ ฐานธรรม 4[21] ธรรม 23 เกยี่ วขอ ง [239] เบญจธรรม[22] ธรรม 24 [27] นิพพาน 2 [229] พละ 4[35] ปาพจน 2 [43] วมิ ุตติ 2 [237] เวสารัชชกรณธรรม 5[50] สจั จะ 2 [52] สุข 21 [238] ศลี 5 หรอื เบญจศลี[51] ศาสนา 2 [53] สุข 22 [241] อาชีวฏั ฐมกศีล[ ],,, ไตรรตั น [100] [132] อัตถะ 31 [287] สัปปุรสิ ธรรม 71[85] ธรรม 3 [133] อตั ถะ 32 [301] สปั ปรุ สิ ธรรม 8[100] รัตนตรัย [164] มรรค 4 [319, 320] กุศลกรรมบถ 10[116] ไตรสรณะ [165] ผล 4 [324] นาถกรณธรรม 10[121] สัทธรรม 3 [310] โลกุตตรธรรม 9 2. ธรรมเพื่อดําเนินชีวิตใหงอก[157] ปรมตั ถธรรม 4 ง. ภาเวตัพพธรรม ธรรมท่ีพึง[204] อริยสัจจ 4 งามบรรลุประโยชนสขุ[206] ธรรม 4 ปฏบิ ตั ิ (ไมจ ดั ตามลาํ ดบั จาํ นวน) [1] กลั ยาณมิตตตา2. ธรรมที่เปน หลักการสาํ คญั * [34] ปจจยั แหง สัมมาทฏิ ฐิ 2 [2] โยนิโสมนสิการ [280] บพุ นมิ ติ แหง มรรค 7 [3] อปั ปมาทะ (จดั โดยสงเคราะหในอรยิ สัจจ 4) [97] พุทธโอวาท 3 [24] ธรรมทาํ ใหงาม 2ก. ปริญไญยธรรม และธรรมที่ [124] ไตรสิกขา, สิกขา 3 [25] ธรรมมอี ุปการะมาก 2 [88] บุญกิริยาวัตถุ 3 [33] ปรเิ ยสนา 2 เก่ยี วของ [89] บุญกริ ยิ าวัตถุ 10 [34] ปจ จัยใหเ กิดสมั มาทฏิ ฐิ 2[76] ไตรลกั ษณ [36] ภาวนา 2 [37] ภาวนา 4[79] ทกุ ขตา 3 [37] ภาวนา 4 [65] อปุ ญ ญาตธรรม 2[86] ธรรมนยิ าม 3 [293] มรรคมอี งค 8 [71] โกศล 3[148] ธาตุ 6 [319, 320] กศุ ลกรรมบถ 10 [93] ปญ ญา 3[216] ขนั ธ 5 [352] โพธิปกขยิ ธรรม 37 [128] อปณณกปฏปิ ทา 3[223] นิยาม 5 [140] จักร 4[341] อายตนะ 12 – [182] สติปฏฐาน 4 [179] วุฒิ หรือ วฒุ ธิ รรม 4ข. ปหาตพั พธรรม และธรรมทเ่ี กย่ี ว – [156] ปธาน 4 [191] สัมปรายิกตั ถฯ 4 – [213] อิทธิบาท 4 [201] วัฒนมุข 6 ขอ ง – [258] อนิ ทรีย 5 [213] อทิ ธบิ าท 4[66] กรรม 3 – [228] พละ 5 [229] พละ 4[74] ตณั หา 3 – [281] โพชฌงค 7 [231] พหูสูตมีองค 5[91] ปปญ จธรรม 3 – [293] มรรคมอี งค 8 [237] เวสารัชชกรณธรรม 5_______________ [249] อรยิ วัฑฒิ 5*การจัดหมวดหมูในท่ีนี้มิใชเปนการจัด II. ธรรมสาํ หรบั ทกุ คน [267] ภพั พตาธรรม 6อยา งละเอียด และไมเครงครัด แตมุงเพ่ือประโยชนในการศึกษาคนควาเปน 1. ธรรมเพ่ือเปนคุณสมบัติของสําคัญ (ธรรมใน I.1 นาํ มาจัดเขาเปน สัปปุริสชน (หรือธรรมเพื่อหมวดตางๆ ของ I.2 ไดดวย แตไ มตองการใหซ ํา้ จึงจดั ไวท ่ีเดยี ว)
18[269] เวปุลลธรรม 6 [289] อปรหิ านยิ ธรรม 71 V. ธรรมสําหรับอุบาสก คือ ผู[280] บุพนมิ ติ แหง มรรค 7 [326] ราชธรรม 10 ใกลช ิดศาสนา[292] อริยทรัพย 7 [327] วัตถุประสงคในการบัญญัติ[325] บารมี 10 1. ธรรมท่พี งึ มี พงึ ปฏบิ ตั ิ[353] มงคล 38 พระวนิ ยั 10 [88] บญุ กริ ยิ าวัตถุ 33. ธรรมเพ่ือพิจารณาเตือนสติมิ [339] จกั รวรรดิวัตร 12 [89] บญุ กิริยาวัตถุ 10 [123] สปั ปุรสิ บัญญัติ 3 ใหป ระมาท IV. ธรรมสําหรับคฤหัสถหรือผู [181] ศรัทธา 4[83] เทวทูต 3 ครองเรอื น [ ],,, สมบตั ขิ องอบุ าสก 5 [259][,,] เทวทตู 4 [150] [240] ศีล 8[84] เทวทตู 5 1. ธรรมเพือ่ ชวี ติ ครอบครัว [241] อาชวี ฏั ฐมกศลี[150] นิมติ 4 [90] บุตร 3 [242] ศลี 10[234] มาร 5 [131] อคั คิ 32 [249] อรยิ วฑั ฒิ 5[247] อภณิ หปจจเวกขณ 5 [138] กุลจริ ฏั ฐิตธิ รรม 4 [259] อบุ าสกธรรม 5[250] อายวุ ฒั นธรรม 5 [139] ฆราวาสธรรม 4 [260] อบุ าสกธรรม 7[296] โลกธรรม 8 [183] สมชีวิธรรม 4 [301] สปั ปุริสธรรม 8 [282] ภรรยา 7 [ ],,, อโุ บสถศีล [240]III. ธรรมเพื่อความดีงามแหง 2. ธรรมเพื่อความสัมพันธใน 2. ธรรมที่พึงหลีกเวน สังคม [235] วณิชชา 5 สงั คม [275] อภฐิ าน 61. ธรรมเพื่อสงเสรมิ ชวี ิตท่ีดีรวม [131] อัคคิ 32 3. ธรรมที่พึงทราบเพ่ือเสรมิ การ กัน [139] ฆราวาสธรรม 4 [158] ประมาณ 4 ปฏิบตั ิ[11] ทาน 21 [168] มติ รเทยี ม 4 [32] ปธาน 2[12] ทาน 22 [169] มติ รแท 4 [33] ปรเิ ยสนา 2[23] ธรรมคมุ ครองโลก 2 [265] ทศิ 6 [114] สมบตั ิ 31[29] บคุ คลหาไดยาก 2 [278] กลั ยาณมติ รธรรม 7 [115] ทานสมบตั ิ 3[30] บชู า 2 3. ธรรมเพ่ือความอยูดีทาง [126] อนุตตรยิ ะ 3[31] ปฏสิ นั ถาร 2 [127] อนตุ ตริยะ 6[42] ฤทธิ์ 2 เศรษฐกิจ [143] ทกั ขณิ าวิสทุ ธิ 4[44] เวปุลละ 2 [95] ปาปณิกธรรม 3 [190] สัมปทาคุณ 4[49] สงั คหะ 2 [ ],,, การจดั สรรทรพั ยใช 4 [163] [221] ธรรมสวนานิสงส 5[123] สัปปรุ ิสบัญญัติ 3 [144] ทฏิ ฐธมั มิกตั ถฯ 4 [300] สัปปรุ สิ ทาน 8[139] ฆราวาสธรรม 4 [159] ปจ จยั 4 [ ],,, อุโบสถศลี [240][186] สงั คหวัตถุ 4 [163] โภควิภาค 4[261] คารวะ 6 [192] สขุ ของคฤหสั ถ 4 VI. ธรรมสาํ หรบั ภกิ ษสุ งฆ[273] สารณยี ธรรม 6 [ ],,, ประโยชนจากทรัพย 5 [232][300] สัปปรุ ิสทาน 8 [232] โภคอาทยิ ะ 5 1. ธรรมเพื่อความดีงามในฐาน2. ธรรมเพอ่ื ปกครอง คอื จดั และ [316] กามโภคี 10 เปน ภกิ ษุ 4. ธรรมทค่ี ฤหสั ถพ งึ หลีกเวน คมุ ครองชีวติ ทด่ี ีรว มกนั [137] กรรมกิเลส 4 [26] ธรุ ะ 2[125] อธิปไตย 3 [168] มติ รเทยี ม 4 [159] ปจ จยั 4[161] พรหมวิหาร 4 [196] อคติ 4 [160] ปารสิ ทุ ธิศีล 4[186] สงั คหวตั ถุ 4 [199] อบายมขุ 4 [175] วิบตั ิ 41[187] ราชสงั คหวัตถุ 4 [200] อบายมขุ 6 [202] อปส เสนธรรม 4[196] อคติ 4 [245] อนนั ตรยิ กรรม 5 [203] อรยิ วงศ 4[230] พละ 5 ของพระมหากษัตรยิ [210] อันตรายของภกิ ษใุ หม 4
19[222] นวกภกิ ขุธรรม 5 1. ธรรมดา หรอื กฎธรรมชาติ [129] อภสิ ังขาร 3[227] พร 5 [4] กรรม 2 [146] ธาตุ 4[242] ศีล 10 [66] กรรม 3 [148] ธาตุ 6[243] สังวร 5 [76] ไตรลักษณ [157] ปรมตั ถธรรม 4[ ],,, องคแ หง ภิกษุใหม 5 [222] [86] ธรรมนยิ าม 3 [185] สังขาร 4[247] อภณิ หปจจเวกขณ 5 [105] วฏั ฏะ 3 [204] อริยสจั จ 4 (ขอท่ี 1)[248] ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณ 10 [117] สงั ขตลกั ษณะ 3 [206] ธรรม 4 (ขอที่ 1)[283] เมถนุ สงั โยค 7 [118] อสังขตลักษณะ 3 [212] อาหาร 4[291] อปริหานยิ ธรรม 73 [145] ธรรมสมาทาน 4 [216] ขันธ 5[342] ธดุ งค 13 [176] วบิ ตั ิ 42 [263] เจตนา 62. ธรรมเพ่ือความดีงามในฐาน [177] สมบัติ 4 [266] ปยรูป สาตรปู 6 × 10 [223] นยิ าม 5 [268] วญิ ญาณ 6 เปน สมาชิกแหง สงฆ [338] กรรม 12 [271] สัญญา 6[211] อาจารย 4 [340] ปฏจิ จสมุปบาท 12 [272] สัมผสั 6[251] อาวาสกิ ธรรม 51 [343] กจิ หรอื วญิ ญาณกจิ 14 [276] อายตนะภายใน 6[252] อาวาสิกธรรม 52 [350] ปจ จยั 24 [277] อายตนะภายนอก 6[253] อาวาสิกธรรม 53 2. สภาวะอนั พงึ รตู ามที่เปน [341] อายตนะ 12[254] อาวาสิกธรรม 54 [6] กามคุณ 5 [348] ธาตุ 18[255] อาวาสกิ ธรรม 55 [16] ทกุ ข 2 [349] อนิ ทรีย 22[256] อาวาสกิ ธรรม 56 [19] ธรรม 21 [355] เจตสกิ 52[257] อาวาสิกธรรม 57 [20] ธรรม 22 [356] จิต 89 หรอื 121[261] คารวะ หรอื คารวตา 6 [21] ธรรม 23 [358] เวทนา 108[273] สารณยี ธรรม 6 [22] ธรรม 24 3. สภาวะเน่อื งดว ยระดับชีวิตจติ[290] อปรหิ านิยธรรม 72 [28] บญั ญตั ิ 2[314] กถาวัตถุ 10 [38] รปู 21, 28 ใจของสัตว[322] เถรธรรม 10 [39] มหาภูต 4 [82] เทพ 3[324] นาถกรณธรรม 10 [40] อปุ าทารูป 24 [98] ภพ 3[327] วัตถุประสงคในการบัญญัติ [41] รูป 22 [103] โลก 32 [48] สังขาร 2 [104] โลก 33 พระวินยั 10 [50] สัจจะ 2 [162] ภูมิ 43. ธรรมเพ่ือความดีงาม ความ [52] สุข 21 [171] โยนิ 4 [53] สขุ 22 [198] อบาย 4 สาํ เร็จในฐานเปน ผูส ัง่ สอน [77] ทวาร 3 [207] อรปู 4[17] เทศนา 21 [78] ทวาร 6 [244] สุทธาวาส 5[18] เทศนา 22 [79] ทุกขตา 3 [270] สวรรค 6[155] ปฏสิ ัมภทิ า 4 [85] ธรรม 3 [284] วิญญาณฐติ ิ 7[158] ประมาณ 4 [102] โลก 31 [312] สตั ตาวาส 9[172] ลลี าการสอน 4 [110] เวทนา 2 [ ],,, พรหมโลก 16 [351][219] ธรรมเทสกธรรม 5 [111] เวทนา 3 [ ],,, รปู พรหม 16 [351][231] พหสู ูตมีองค 5 [112] เวทนา 5 [351] ภูมิ 4 หรือ 31[ ],,, องคแ หง ธรรมกถกึ 5 [219] [113] เวทนา 6 4. สภาวะอันเปนโทษ อกุศล-[246] อนปุ พุ พกิ ถา 5 [119] สังขาร 31[278] กัลยาณมิตรธรรม 7 [120] สงั ขาร 32 ธรรมอนั พึงละ [5] กาม 2 (ขอท่ี 1)VII. สภาวธรรม: ธรรมดาและ [13] ทิฏฐิ 2 ธรรมชาติ
20[14] ทฏิ ฐิ 3 [7] ฌาน 2 [ ],,, อปั ปมญั ญา 4 [161][68] อกุศลมลู 3 [34] ปจ จัยใหเ กิดสัมมาทิฏฐิ 2 [213] อิทธบิ าท 4[70] อกศุ ลวติ ก 3 [36] ภาวนา 2 [220] ธรรมสมาธิ 5[74] ตณั หา 3 [37] ภาวนา 4 [226] ปติ 5[80] ทุจรติ 3 [45] สมาธิ 2 [228] พละ 5[91] ปปญ จะ 3 [46] สมาธิ 31 [243] สังวร 5[130] อัคคิ 31 [65] อุปญญาตธรรม 2 [249] อริยวฑั ฒิ 5[135] อาสวะ 3 [67] กุศลมลู 3 [258] อนิ ทรีย 5[136] อาสวะ 4 [69] กศุ ลวิตก 3 [262] จรติ หรือ จริยา 6[137] กรรมกิเลส 4 [71] โกศล 3 [267] ภพั พตาธรรม 6[170] โยคะ 4 [73] ญาณ 32 [269] เวปลุ ลธรรม 6[178] วิปล ลาส 4 [81] สุจรติ 3 [280] บุพนิมติ แหง มรรค 7[196] อคติ 4 [87] นมิ ติ 3 [281] โพชฌงค 7[204] อริยสจั จ 4 (ขอ ที่ 2) [88] บญุ กริ ยิ าวตั ถุ 3 [285] วิสทุ ธิ 7[206] ธรรม 4 (ขอที่ 2) [89] บุญกริ ยิ าวตั ถุ 10 [286] สปั ปายะ 7[208] อวิชชา 4 [92] ปริญญา 3 [291] อปรหิ านยิ ธรรม 73[209] อวชิ ชา 8 [93] ปญญา 3 [293] มรรคมีองค 8[214] อุปาทาน 4 [99] ภาวนา 3 [303] พุทธคณุ 9[215] โอฆะ 4 [108] วิรตั ิ 3 [304] พุทธคุณ 2[225] นวิ รณ 5 [122] สนั โดษ 3 [305] พทุ ธคณุ 3[233] มจั ฉรยิ ะ 5 [124] สิกขา 3 [306] ธรรมคุณ 6[264] ตัณหา 6 [125] อธิปไตย 3 [307] สงั ฆคณุ 9[288] อนสุ ัย 7 [128] อปณณกปฏิปทา 3 [311] วปิ ส สนาญาณ 9[308] มละ 9 [,,] ไตรสกิ ขา [124] [315] กสณิ 10[309] มานะ 9 [147] ธาตุกมั มัฏฐาน 4 [325] บารมี 10[318] กิเลส 10 [149] ธาตุกัมมฏั ฐาน 6 [331] สญั ญา 10[321] อกุศลกรรมบถ 10 [154] ปฏิปทา 4 [333] สัมมตั ตะ 10[329] สงั โยชน 101 [156] ปธาน 4 [335] อนุสติ 10[330] สงั โยชน 102 [160] ปารสิ ุทธิศีล 4 [336] อสุภะ 10[334] มจิ ฉตั ตะ 10 [161] พรหมวิหาร 4 [342] ธุดงค 13[337] อันตคาหิกทฏิ ฐิ 10 [174] วธิ ปี ฏบิ ตั ิตอ ทกุ ข– สุข 4 [344] จรณะ 15[347] อปุ กเิ ลส 16 [182] สติปฏฐาน 4 [345] ญาณ 16[357] ตัณหา 108 [184] สมาธิภาวนา 4 [346] อานาปานสติ 16 ฐาน[359] กเิ ลส 1500 [189] สมั ปชัญญะ 4 [352] โพธิปก ขยิ ธรรม 37 [193] โสตาปต ตยิ งั คะ 41 [353] มงคล 38VIII. ปฏปิ ต ติธรรม [194] โสตาปต ติยังคะ 42 [354] กรรมฐาน 40 [195] โสตาปต ตยิ ังคะ 43 2. ผลสาํ เร็จของการปฏิบตั ธิ รรม1. หลกั วธิ กี าร ขอ ปฏบิ ตั ิ อปุ กรณ [197] อธิษฐานธรรม 4 และคณุ สมบตั ิ ทเ่ี กอื้ หนนุ การ [202] อปสเสนธรรม 4 และเครื่องกาํ หนดผลในการ ปฏบิ ตั ิ [204] อริยสัจจ 4 (โดยเฉพาะขอ ท่ี 4) ปฏบิ ตั ิ [205] กิจในอรยิ สัจจ 4 [8] ฌาน 2 ประเภท[1] กลั ยาณมติ ตตา [206] ธรรม 4 (ขอที่ 4) [9] ฌาน 4, 5[2] โยนิโสมนสิการ [207] อรูป 4 [10] ฌาน 8[3] อัปปมาทะ [27] นพิ พาน 2[,] กรรมฐาน 2 [36]
21[43] วมิ ุตติ 2 [64] อัตถะ 2 X. พิเศษ: ธรรมเก่ียวกับการ[54] สทุ ธิ 2 [75] ไตรปฎก ศกึ ษา*[72] ญาณ 31 [97] พุทธโอวาท 3[,,] ปหาน 3 [224] [100] รตั นตรยั [26] ธรุ ะ 2[94] ปาฏิหารยิ 3 [116] สรณะ 3 หรอื ไตรสรณะ [34] ปจจัยใหเ กิดสมั มาทิฏฐิ 2[106] วชิ ชา 3 [121] สัทธรรม 3 [37] ภาวนา 4[107] วโิ มกข 3 [134] อาการทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสงั่ สอน 3 [43] วิมุตติ 2[109] วิเวก 3 [ ],,, โอวาทของพระพทุ ธเจา 3 [97] [50] สจั จะ 2[155] ปฏสิ มั ภิทา 4 [151] บริษัท 41 [51] สาสน หรอื ศาสนา 2[164] มรรค 4 [152] บริษทั 42 [71] โกศล 3[165] ผล 4 [166] มหาปเทส 41 (พระสตู ร) [73] ญาณ 32[204] อริยสจั จ 4 (ขอท่ี 3) [167] มหาปเทส 42 (พระวนิ ัย) [74] ตัณหา 3[206] ธรรม 4 (ขอที่ 3) [218] ธรรมขนั ธ 5 [76] ไตรลักษณ[224] นิโรธ 5 [246] อนปุ พุ พกิ ถา 5 [93] ปญ ญา 3[ ],,, ปหาน 5 [224] [294] หลักกาํ หนดธรรมวนิ ยั 8 [121] สัทธรรม 3[236] วมิ ุตติ 5 [295] หลักกําหนดธรรมวนิ ยั 7 [124] สิกขา 3[274] อภิญญา 6 [302] นวังคสัตถุศาสน [132] อัตถะ 31[297] วชิ ชา 8 [317] กาลามสตู รกงั ขานยิ ฐาน 10 [133] อตั ถะ 32[298] วโิ มกข 8 [332] สทั ธรรม 10 [134] อาการทพี่ ระพทุ ธเจา ทรงสงั่ สอน 3[299] สมาบัติ 8 2. ศาสนคณุ [140] จักร 4[310] โลกตุ ตรธรรม 9 [94] ปาฏหิ าริย 3 [155] ปฏิสมั ภิทา 4[313] อนบุ พุ พวหิ าร 9 [96] พุทธจริยา 3 [172] ลีลาการสอน 4[328] วปิ สสนูปกิเลส 10 [126] อนตุ ตรยิ ะ 3 [179] วุฒิธรรม 43. บุคคลผูบรรลุผลแหงการ [127] อนุตตริยะ 6 [189] สมั ปชัญญะ 4 [134] อาการทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสงั่ สอน 3 [204] อริยสจั จ 4 ปฏบิ ตั ิ [141] เจดีย 4 [213] อทิ ธิบาท 4[55] อรยิ บคุ คล 2 [142] ถูปารหบคุ คล 4 [216] ขันธ 5[56] อริยบคุ คล 4 [180] เวสารัชชญาณ 4 [228] พละ 5[57] อรยิ บุคคล 8 [188] สงั เวชนียสถาน 4 [231] พหสู ูตมีองค 5[58] โสดาบนั 3 [217] จกั ขุ 5 [278] กัลยาณมิตรธรรม 7[59] สกาทาคามี 3, 5 [303] พทุ ธคุณ 9 [280] บพุ นมิ ิตแหงมรรค 7[60] อนาคามี 5 [304] พทุ ธคณุ 2 [281] โพชฌงค 7[61] อรหันต 2 [305] พทุ ธคณุ 3 [293] มรรคมอี งค 8[62] อรหนั ต 4, 5, 60 [306] ธรรมคณุ 6 [304] พุทธคุณ 2[63] อริยบุคคล 7 [307] สังฆคุณ 9 [317] กาลามสตู รกังขานยิ ฐาน 10 [323] ทศพลญาณ [324] นาถกรณธรรม 10IX. พระพุทธศาสนา 3. ความเช่ือและการปฏิบัตินอก [340] ปฏจิ จสมุปบาท 12 [341] อายตนะ 121. หลักศาสนา หลักพทุ ธศาสนา [352] โพธิปก ขยิ ธรรม 37[17] เทศนา 21 [13] ทฏิ ฐิ 2 ______________[18] เทศนา 22 [14] ทฏิ ฐิ 3 *นอกจากน้ี พงึ ดู [1], [2], [17], [18],[26] ธุระ 2 [15] ท่ีสดุ (อนั ตา) 2 [35], [36], [45], [46], [55], [91],[35] ปาพจน 2 [101] ลทั ธินอกพระพุทธศาสนา 3 [125], [156], [184], [205], [208],[50] สัจจะ 2 [173] วรรณะ 4 [218], [236], [287], [323][51] สาสน หรือ ศาสนา 2
ดชั นคี นคํา ตวั เลขทอี่ า งหมายถงึ เลขลาํ ดับขอ หมวดธรรมใน [ ]กตญาณ 73 กมั มัสสกตาญาณ, กมั มัสสกตาสทั ธา 181กตฺุตา 353กตญั ูกตเวที 29 กมมฺ าน,ิ อนวชชฺ านิ 250กตตั ตากรรม, ~วาปนกรรม 338กถาวตั ถุ 75 กัลยาณธรรม 5 239กถาวตั ถุ 10 314กรรม 181, 212, 259 กลั ยาณพจน 251, 252, 253กรรม 2กรรม 3 4 กัลยาณมติ ร 3, 250กรรม 12 66กรรมการณัปปต ตะ 338 กัลยาณมิตตะ 250กรรมกิเลส 4 84กรรมฐาน 2 137 กลยฺ าณมติ ตฺ ตา 324กรรมฐาน 40 36กรรมฐานกบั จรติ 354 กลั ยาณมิตตตา 1, 34, 144กรรมนิยาม (ดู สมบตั ิ 4 ดวย) 262กรรมปจจัย 176, 223 กลั ยาณมติ ร 4 169กรรมภพ 340กรรมวฏั ฏ 340 กลั ยาณมิตรธรรม 7 278กรรมวปิ ากญาณ 105, 340กรณุ า 323 กัลยาณวาจา 251, 252, 253กรุณาคุณ 161, 355กลนิ่ ดู คันธะ 304, 305 กาม 2 5กวฬิงการาหารกษตั ริย 40, 212 กามคุณ 5 6กสณิ 10 173กงฺขํ วิหนติ กามฉนั ทะ 225, 329กงั ขาวิตรณวิสุทธิ 315, 354กตั ตุกมั ยตาฉนั ทะ 221 กามตณั หา 74, 204, 357กัปปยะ 285กปปฺ ยํ เทติ 161 กามภพ 98กมั มสทั ธา 167กัมมญั ญตา 300 กามโภคี 10 316กมฺมนฺตา, อนากลุ า จ 181กัมมสั สกตา 40 กามโภคีสุข 4 192 353 247 กามโยคะ 170 กามราคะ 288, 329, 330 กามโลก 104 กามวติ ก 70 กามสังวร 239 กามสุขลั ลกิ านุโยค 15, 293 กามสุคตภิ มู ิ 7 351 กามาทนี วกถา 246 กามาวจรจติ 54 356 กามาวจรภูมิ 11 162, 351 กามาวจรสวรรค 6 270, 351 กามาวจรโสภณจติ 24 356 กามาสวะ 135, 136 กามุปาทาน 214 กาเมสุมิจฉาจาร 137, 321 กาเมสุมจิ ฺฉาจารํ ปหาย ฯเปฯ 320 กาเมสมุ ิจฺฉาจารา เวรมณี 238, 319
23กาโมฆะ 215 กาลัญตุ า 287 กาลามสูตรกังขานยิ ฐาน 10 317กาย 37, 40, 276 กาเลน เทติ 300 กาเลน ธมฺมสากจฺฉา 353กายกรรม 66 กาเลน ธมฺมสสฺ วนํ 353 กําลงั 5 ของพระมหากษัตรยิ 230กายกรรม 3 66, 241, 319, 320, 321 กิงฺกรณเี ยสุ ทกฺขตา 324 กจิ 14 (ของวญิ ญาณ) 343กายกัมมัญญตา 355 กิจ (ของกรรม) 338 กจิ ของสงฆ 290กายคตาสติ 335 กิจจญาณ กจิ ในอรยิ สัจจ 4 73กายทวาร 77, 78 กิรยิ าจิต 20 205 กิริยาจติ ตฺ ํ 356กายทจุ รติ 80 กเิ ลส 10 356 กเิ ลส 1500 318กายธาตุ 348 กเิ ลสกาม 359 กิเลสปรนิ ิพพานกายปสสทั ธิ 355 กิเลสมาร 5 กิเลสวฏั ฏ 27กายปาคญุ ญตา 355 กเิ ลสวตั ถุ 10 234 กุกกุจจะ 105, 340กายพละ 230 กมุ ภณั ฑ 318 กมุ ภลี ภยั 225, 355กายภาวนา 37 กุลจริ ฏั ฐติ ิธรรม 4 270 กลุ มจั ฉรยิ ะ 210กายมทุ ตุ า 355 กุลสตรี 138 กุเวร 233, 257กายลหุตา 355 กศุ ล 289 กศุ ลกรรม 270กายวญิ ญัติ 40 กศุ ลกรรมบถ 10 (ยอ) 1, 2, 65, 317 กศุ ลกรรมบถ 10 (สมบรู ณ) 4กายวญิ ญาณ 266, 268, 356 กุศลจิต 21 (37) 319 กศุ ลธรรม 320กายวิญญาณธาตุ 348 กุศลมลู 3 356 กศุ ลวติ ก 3 85กายวิเวก 109 กศุ ลวิบากอเหตุกจิต 8 4, 67 กุสลธัมมานโุ ยค 69กายวูปกาสะ 222 356 2กายสกั ขี 63กายสังขาร 119, 120กายสมั ผัส 266, 272กายสมั ผสั สชาเวทนา 113, 266กายสุจริต 81กายานปุ สสนา, กายานปุ สสนาสตปิ ฏ ฐาน 147, 182, 346กายานุปส สนาจตกุ กะ 346กายิกทกุ ข 16กายกิ เวทนา 110กายกิ สขุ 52กายินทรยี 349กายุชกุ ตา 355กาล 3 340, 356, 357กาลกตะ 150กาลจารี 250กาลวบิ ตั ิ 176กาลสมบัติ 177
24กสุ ลสสฺ ปู สมฺปทา 97 คนปอกลอก 168เกสปุตติยสตู ร 317 คนรบั ใช 265เกียจครานการงาน 200 คนหัวประจบ 168โกธะ 308, 347 คบคนช่ัว 200โกลงั โกละ 58 ครุ 278โกศล 3 71 ครุกกรรม 338 ครุกรณ 273ขณกิ สมาธิ 46 ครูอาจารย 265ขณกิ าปติ 226 คฤหัสถ 265ขลุปจฉาภัตตกิ งั คะ 342 คหบดบี ริษทั 152ขดั เกลา 251 คหปตัคคิ 131ขัตติยะ 173, 339 คันถธรุ ะ 26ขตั ติยบรษิ ทั 152 คันธะ 6, 40, 266, 277ขนั ติ 24, 139, 325, 326, 353 คันธตัณหา 264, 266ขนั ตสิ ังวร 243 คนั ธธาตุ 348ขนตฺ ี จ 353 คันธวจิ าร 266ขันธ 5 216 คนั ธวติ ก 266ขนั ธกะ 75 คนั ธสัญเจตนา 263, 266ขันธปรินพิ พาน 27 คันธสญั ญา 266, 271ขนั ธมาร 234 คมภฺ รี ฺจ กถํ กตฺตา 278ขนั ธวินิมุต 216 คาถา 302ขิปปฺ าภิฺ า 154 คารวะ หรอื คารวตา 6 261ขณี าสวปฏญิ ญา 180 คารโว จ 353ขทุ ทกนกิ าย 75 คลิ านปจจัยเภสัชบริขาร 159, 203ขุททกปาฐะ 75 คิลานสตุปปาทกะ 255ขุททกาปต ิ 226 คิหปิ ธาน 32เขตสมบตั ิ 115 คหิ ิสขุ 4 192เขมํ 353 คุณบทของนพิ พาน 306 คณุ าตเิ รกสมั ปทา 190คณาปเทส 166 เคยยฺ ํ 302คติ 5 351 เคหสิต 358คติวบิ ตั ิ 176 โคจรรูป 5 40คติสมบัติ 177 โคจรสัปปายะ 286คนเจบ็ ไข 255 โคจรสมั ปชญั ญะ 189คนชวนฉิบหาย 168 โคตรภูญาณ 345คนดแี ตพ ดู 168คนธรรพ 270 ฆราวาสธรรม 4 139คนงาน 265 ฆานะ 40, 266, 276
25ฆานทวาร 78 จาคานุสติ 335ฆานธาตุ 348ฆานวญิ ญาณ 266, 268, 356 จาตุมหาราชิกา 270, 351ฆานวิญญาณธาตุ 348ฆานสัมผสั 266, 272 จิต 37, 124, 157, 216ฆานสมั ผัสสชาเวทนา 113, 266ฆานินทรยี 349 จิต 89, 121 356ฆายนะ 343โฆษประมาณ 158 จิตตะ 213โฆสัปปมาณกิ า 158 จิตตกัมมัญญตา 355 จิตตนยิ าม 223 จิตตปส สัทธิ 355 จติ ตปาคุญญตา 355 จติ ตภาวนา 37 จติ ตฺ มสฺส ปสีทติ 221จตุตถฌาน 9 จติ ตมทุ ตุ า 355จตตุ ถฌานภูมิ 3, 7 351 จติ ตลหุตา 355จตตุ ถชฌฺ านกสุ ลจิตฺตํ 356 จิตตวิเวก 109จตุตถฺจ นิธาเปย 163 จิตตวิปลาส 178จตุธาตวุ วฏั ฐาน 147, 354 จิตตวิสทุ ธิ 285จตุรพธิ พร 227 จิตตสมบัติ 115จตโุ ลกบาล 270 จิตตสังขาร 119, 120จรณะ 15 344 จิตตอุปกิเลส 16 347จรติ หรอื จรยิ า 6 262 จิตฺตํ น กมปฺ ติ 353จรยิ า 3 ดู พุทธจริยา 3 จติ ตานุปสสนา, จติ ตานปุ ส สาสตปิ ฏ ฐาน 182, 346จรยิ าปฎก 75 จติ ตานุปสสนาจตุกกะ 346จักกวตั ติสูตร 339 จติ ตุชุกตา 355จกั ขุ 40, 266, 276 จนิ ตามยปญ ญา 93จกั ขุ 5 217 จวี ร 159จักขทุ วาร 78 จีวรปฏสิ ังยุตต 342จกั ขธุ าตุ 348 จวี รสนั โดษ 203จกั ขุนทรยี 349 จตุ ิ 343จกั ขุมา 95 จุตูปปาตญาณ 106, 323จักขุวญิ ญาณ 267, 268, 356 จุลลวรรค 75จกั ขุวิญญาณธาตุ 348 จูฬนทิ เทส 75จกั ขสุ มั ผสั 266, 272 เจดยี 289จกั ขสุ ัมผสั สชาเวทนา 113, 266 เจดยี 4 141จกั ร 4 140 เจตนา 355จกั รพรรดิ 142, 287, 339 เจตนา 6 263จักรวรรดวิ ตั ร 5, 12 339 เจตนากาย 263จาคะ 67, 139, 183, 197, 249, 292 เจตนาสมั ปทา 190จาคสมั ปทา 191, 229 เจตสิก 157, 216
26เจตสกิ 52 355 ชีพ, ชีวะ 337เจตสกิ ทกุ ข 16 ชวี ิตรูป 1 40, 359เจตสกิ เวทนา 110 ชวี ิตนิ ทรยี 40, 349, 355เจตสิกสุข 52เจโตปริยญาณ ฌาน 8เจโตวมิ ตุ ติ 274, 297 ฌาน 2 7โจรภี รยิ า 43, 252 ฌาน 2 ประเภท 8 ฌาน 4 9, 227, 344ฉกามาพจรสวรรค 282 ฌาน 5 (ปญจกนยั ) 9, 356ฉฬภญิ ญะ ฌาน 8 10, 299ฉันทะ 270 ฌานจิต 67 356ฉันทสมั ปทา 62 ฌานปจ จัย 350ฉนั ทาคติ ฌานปญ จกนยั 9ชนกกรรม 37, 213, 355 ฌานลาภี 252, 253, 254, 322ชรตา 2, 280 ฌานาทิสังกเิ ลสาทิญาณ 323ชราธัมมตา 196ชรามรณะ 338 ญาณ 328ชลาพชุ ะ 40 ญาณ 31 72ชวนะ 247 ญาณ 32 73ชาครยิ านโุ ยค 340 ญาณ 33 106ชาดก 171 ญาณ 16 345ชาตกํ 343 ญาณจรติ 262ชาตรปู 128 ญาณทสั สนะ 73, 184ชาตรูปรชตปฏคิ ฺคหณา เวรมณี 75, 302 ญาณทัสสนะมปี รวิ ัฏฏ 3 73ชาตสถาน 302 ญาณทัสสนวสิ ุทธิ 285ชาติ 359 าณวิปปฺ ยตุ ฺตํ 356ชาติประเภท (จติ ) 242 ญาณสังวร 243ชิณณะ 188 าณสมฺปยตุ ตฺ ํ 356ชิณณปฏิสงั ขรณา 340 าตกานฺจ สงฺคโห 353ชนิ สาสน 356 ญาตปริญญา 92ชิวหา ญาตตั ถจรยิ า 96ชวิ หาทวาร 83, 84, 150 ญาติพลี 232ชิวหาธาตุ 138 ายปฏปิ นฺโน 307ชวิ หาวญิ ญาณ 302ชิวหาวิญญาณธาตุ ฐานาฐานญาณ 323ชวิ หาสัมผัส 40, 266, 276 ฐานะ 227ชวิ หาสมั ผัสสชาเวทนา 78 ติ สสฺ อฺถตตฺ ํ ปฺายติ 117ชิวหินทรยี 348 266, 268, 356 348 266, 272 113, 266 349
27ดาวดงึ ส 270, 351 เตวิชชะ 62ดสุ ติ 270, 351ดูการละเลน ไตรตรงึ ส 270 200 ไตรปฎก 75 ไตรลกั ษณ 47, 76, 86, 107, 311ตตยิ ฌาน 9 ไตรวฏั ฏ 105ตตยิ ฌานภมู ิ 3 351 ไตรสรณะ 116ตตยิ ชฌฺ านกสุ ลจิตฺตํ 356 ไตรสรณคมน, ไตรสรณาคมน 116ตถาคต 143, 337 ไตรสกิ ขา 124, 204, 293ตถาคตพล 10 180ตถาคตพลญาณ 10 323 ถัมภะ 347 ถนี ะ 318, 355ตถาคตโพธิสัทธา 181 ถีนมิทธะ ถูปารหบคุ คล 4 225ตถาคตสาวก 142 เถรคาถา 142 เถรธรรม 10 75/2.5ตถาคตอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา 142 เถรีคาถา 322 เถโร รตตฺ ฺู 75/2.5ตทงั คนโิ รธ 224 322ตทังคปหาน 224ตทาลมั พนะ 343ตปะ 326ตโป จ 353ตรัสรู 188 ทตวฺ า อตตฺ มโน โหติ 300 ททํ จติ ฺตํ ปสาเทติ 300ตรุณวปิ ส สนา 285, 328 ทมะ 123, 139 ทรัพยจ ัดสรรเปน 4 สวน 163ตกกฺ เหตุ 317 ทวตั ตงิ สาการ 147 ทวาร 3 77ตณั หา 91, 340 ทวาร 6 78 ทวปิ ญ จวญิ ญาณจติ 348ตัณหา 3 74, 204, 357 ทวฺ หี ิ กมมฺ ํ ปโยชเย 163 ทศชาติ 325ตัณหา 6 264, 266, 357 ทศบารมี 325 ทศพล 180ตณั หา 108 357, 359 ทศพลญาณ 323 ทศพธิ ราชธรรม 326ตณั หากาย 264 ทศศลี 242 ทหระ 84ตณั หาปณธิ ิ 107 ทกั ขณิ าวิสทุ ธิ 4 143 ทกขฺ เิ ณยฺโย 307ตณั หาวจิ รติ 357 ทกั ขิไณย 259 ทกั ขไิ ณยบคุ คล 2 55ตตั รมชั ฌัตตตา 355ตําหนิ 252ตดิ การพนนั 200ติดสรุ าและของมนึ เมา 200ติตถายตนะ 101ตริ จั ฉานโยนิ 198, 351ตรี ณปริญญา 92เตจีวริกังคะ 342เตโชกสณิ 315เตโชธาตุ 39, 146, 147, 148
28ทกั ขไิ ณยบุคคล 7 63 ทฏิ ฐิสามญั ญตา 273ทกั ขิไณยบุคคล 8 57 ทฏิ ึ อชุ ุ กโรติ 221ทักขไิ ณยัคคิ 131 ทิฏชุ กุ ัมม 89ทักษิณทศิ 265 ทิฏุปาทาน 214ทนฺธาภิฺา 154 ทฏิ โฐฆะ 215ทตวฺ า อตฺตมโน โหติ 300 ทิพพจกั ขุ 217, 274, 297ทัสสนะ 343 ทิพพจกั ขญุ าณ 106ทัสสนานุตตริยะ 126, 127 ทิพยสมบัติ 114ทาน 123, 186, 229, 239, 325, 326 ทพิ พโสต 274, 297ทาน 21 11ทาน 22 12 ทศิ 6 200, 265 ทีฆนิกาย 75ทานกถา 246 ทสี่ ุด 2 15ทานมยั 88, 89 ทกุ ข 1, 174, 204, 205, 296, 340ทานสมบัติ 3 115 ทกุ ข 2 16ทานฺจ 353 ทุกฺขํ อรยิ สจจฺ ํ ปริ เฺ ยฺยํ 205ทายก 143 ทุกขตา 76, 107ทารสงคฺ ห 353 ทกุ ขตา 3 79ทาสีภรยิ า 282 ทุกขทกุ ขตา 79ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม 338 ทุกขนโิ รธ 204ทิฏฐธรรมสุขวิหาร 184 ทกุ ฺขนิโรเธ อฺาณํ 208, 209ทิฏฐธมั มกิ ัตถะ 3, 132, 144 ทุกขฺ นโิ รโธ อรยิ สจจฺ ํ สจฉฺ ิกาตพฺพํ 205ทิฏฐธัมมกิ ตั ถประโยชน 144 ทุกฺขนโิ รธคามินิยา ปฏิปทาย อฺาณํ 208, 209ทิฏฐธมั มกิ ตั ถสงั วตั ตนกิ ธรรม 4 144 ทุกขนโิ รธคามินปี ฏปิ ทา 204ทฏิ ธมมฺ ิกานํ อาสวานํ สํวราย 327 ทุกขฺ นโิ รธคามนิ ี ปฏิปทา อรยิ สจจฺ ํ ภาเวตพพฺ ํ 205ทฏิ ฐาสวะ 137 ทกุ ขลักษณะ 47ทฏิ ฐิ 91, 288, 318, 329, 355 ทุกขเวทนา (ดู เวทนา 5 ดว ย) 111ทิฏฐิ 2 13 ทกุ ขสมุทยั 204ทิฏฐิ 3 14 ทกุ ฺขสมทุ เย อฺาณํ 208, 209ทิฏิคตวิปปฺ ยุตตฺ ํ 356 ทุกฺขสมุทโย อริยสจจฺ ํ ปหาตพพฺ ํ 205ทิฏ ิคตสมปฺ ยุตฺตํ 356 ทกุ ฺขสหคตํ 356ทิฏ นิ ชิ ฺฌานกขฺ นตฺ ิยา 317 ทกุ ขฺ า 86ทฏิ ฐิปปตตะ 63 ทุกขานุปสสนา 107ทฏิ ยิ า สุปฏิวิทธฺ า 231 ทุกขินทรีย 349ทิฏฐโิ ยคะ 170 ทุกฺเข อฺาณํ 208, 209ทิฏฐวิ ิบตั ิ 175 ทกุ ฺขา ปฏปิ ทา ขปิ ฺปาภิ ฺ า 154ทฏิ ฐิวปิ ลาส 178 ทกุ ขฺ า ปฏปิ ทา ทนธฺ าภิฺา 154ทิฏฐิวิสุทธิ 285 ทคุ คติภัย 229ทิฏฐสิ มั ปทา 2, 280 ทุคติ 351
29ทจุ ริต 3 80 ธรรม 22 20 ธรรม 23 21ทุตยิ ฌาน 9 ธรรม 24 22ทตุ ิยฌานภูมิ 3 351ทุตยิ ชฌฺ านกสุ ลจิตฺตํ 356 ธรรม 3 85ทุมมฺ งฺกนู ํ ปุคฺคลานํ นิคคฺ หาย 327 ธรรม 4 206เทพ 284, 312 ธรรม 5 238, 239เทพ 3 82 ธรรมของอุบาสกปทมุ 259เทวดา (ความหมาย) 232 ธรรมของอบุ าสกรตั น 259เทวตานสุ ติ 335 ธรรมขันธ 5 218เทวตาพลี 232 ธรรมคณุ 6 306เทวทูต 3 83 ธรรมคุมครองโลก 2 23เทวทูต 3, 4 150 ธรรมจริยา 10 320เทวทูต 5 84 ธรรมจักร 188, 287เทวปตุ ตมาร 234 ธรรมเจดีย 141เทวโลก 103 ธรรมฐิติญาณ 285เทวสมบัติ 114 ธรรมทศั นะ 255เทศนา 21 17เทศนา 22 18 ธรรมทาน 11, 229 ธรรมทําใหง าม 2 24เทศนา 4 17 ธรรมทีพ่ ระพุทธเจาเหน็ คุณประจกั ษ 2 65เทศนาวธิ ี 4 172 ธรรมเทสกธรรม 5 219เท่ียวกลางคนื 200 ธรรมธาตุ 348โทมนสั 1, 112, 340, 358 ธรรมนิยาม 76, 223, 340โทมนสฺสสหคตํ 356 ธรรมนยิ าม 3 86โทมนัสสนิ ทรยี 349 ธรรมบท 75โทสะ 4, 68, 318, 347, 355 ธรรมบชู า 30โทสจรติ 262 ธรรมปฏสิ ันถาร 31โทสมลู จติ 2 356 ธรรมประมาณ 158โทสคั คิ 130 ธรรมปริเยสนา 33โทสาคติ 196 ธรรมเปน โลกบาล 2 23ไทยธรรมสมบตั ิ 115 ธรรมเปน เหตุใหสมหมาย 4 192 ธรรมไพบูลย 44ธตรฐ 270 ธรรมมอี ุปการะมาก 2 25ธตา 231ธนานปุ ระทาน 339 ธรรมมอี ุปการะมาก 4 140ธรรม* 35, 75, 166, 277, 294, 295, 302ธรรม 21 19 ธรรมมีอุปการะมาก 7 279 ธรรมมอี ุปการะมาก 10 324 ธรรมฤทธิ์ 42 ธรรมสงเคราะห 49*คํานําหนา ดวย ธรรม- ถาไมมี ใหดทู ี่ ธัมม- ธรรมสมาทาน 4 145
30ธรรมสมาธิ 5 220 ธมั มานุปส สนาจตกุ กะ 346 ธมั มานสุ ติ 335ธรรมสวนานสิ งส 5 221 ธัมมานุสารี 63 ธาตุ 4 39, 146ธรรมเสรี 352 ธาตุ 6 148 ธาตุ 18 348ธรรมาจารย 211 ธาตกุ ถา 75 ธาตกุ ัมมฏั ฐาน 4 147ธรรมาธปิ ไตย 125, 339 ธาตุกมั มฏั ฐาน 6 149 ธาตุเจดีย 141ธรรมาธิษฐาน 17 ธาตมุ นสิการ 4 147, 354 ธดุ งค 13 342ธรรมานวุ ตั ิ 201 ธุระ 2 26ธรรมารมณ 266, 277ธรรมกิ พลี 289ธรรมกิ ารกั ขา 339ธมมฺ กามตา 324ธมมฺ กาโม 322ธมั มคารวตา 261ธมฺมจรยิ า จ 353ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสถาน 188 น กมฺมารามตา 291 น ิตสฺส อฺถตฺตํ ปฺายติ 118ธมั มตัณหา 264, 266 น นทิ ฺทารามตา 291 น ปาปมติ ตฺ ตา 291ธมั มเทสนามัย 89 น ปาปจฉฺ ตา 291 น ภสฺสารามตา 291ธมั มปฏิสมั ภทิ า 155 นยเหตุ 317 นรก 198, 351ธมั มมัจฉรยิ ะ 233 นวกภิกขธุ รรม 5 222 น วโย ปฺ ายติ 118ธัมมวิจยะ 281 นวรหคุณ 303 นวสีวถกิ า 182ธมั มวิจาร 266 นวังคสตั ถศุ าสน 51, 302 นวารหคุณ, นวารหาทิคณุ 303ธมั มวติ ก 266 น สงคฺ ณิการามตา 291 น อนตฺ ราโวสานํ 291ธัมมเวปลุ ละ 44 น อามิสนฺตโร 219 น อปุ ฺปาโท ปฺายติ 118ธมั มสังคณี 75/3 นจจฺ คีตวาทิตวิสูกทสฺสนา เวรมณี 242 นจจฺ คตี ฯเปฯ วภิ ูสนฏ านา เวรมณี 240ธัมมสังคหะ 49 นัฏฐคเวสนา 138 นัตถิกทฏิ ฐิ 14ธัมมสญั เจตนา 263, 266 นัตถิปจ จยั 350 นาค 270ธมั มสญั ญา 266, 271ธมมฺ สากจฉฺ า, กาเลน 353ธมั มัญตุ า 287ธัมมัปปมาณิกา 158ธมฺมสฺสวน,ํ กาเลน 353ธัมมสั สวนมัย 89ธัมมัสสวนสัปปายะ 286ธมฺมา 86ธัมมาธปิ ไตย 125, 339ธมั มานุธมั มปฏปิ ทา 51ธัมมานธุ มั มปฏปิ ตติ 177, 193ธัมมานปุ ส สนา, ธมั มานปุ สสนาสติปฏฐาน 182, 346
31นาถกรณธรรม 10 324 นิวรณ 5 225นานตั ตสญั ญา 298 นวิ าโต จ 353นานาธาตุญาณ 323 นิสสยปจ จัย 350นานาธิมุตตกิ ญาณ 323 นสิ สยสมั ปนโน 95นาม 216 นิสสยาจารย 211นามธรรม 345 นสิ สรณนิโรธ 224นามบัญญตั ิ 28 นิสสัย 4 159นามรูป 340 นสิ สยั สมั บนั 202นามรูปปรจิ เฉทญาณ 92, 345 นีตัตถะ 64นาย 265 นีลกสณิ 315นกิ นั ติ 328 เนกขัมมะ 325นิจศีล 238 เนกขมั มวิตก 69นิทเทส 75/2 เนกขัมมสงั กปั ป 293นินทา 296 เนกขมั มสติ 358นิปปรยิ ายสุทธิ 54 เนกขัมมานสิ งั สกถา 246นพิ พาน 109, 157, 204, 216, เนคมชานบท 339 295, 306, 310, 311, 332 เนยยะ 153นิพพาน 2 27 เนยยตั ถะ 64นิพพานบท 352 เนวสัญญานาสญั ญายตนะ 207, 284, 298, 312นพิ พานสมบัติ 114 เนวสฺานาสฺ ายตนกุสลจิตฺตํ 356นพิ ฺพานสจฉฺ กิ ริ ยิ า 353 เนวสญั ญานาสัญญายตนภมู ิ 351นิพพิทาญาณ, นพิ พิทานุปส สนาญาณ, เนสชั ชกิ ังคะ 342นพิ พทิ านุปส สนาญาณ 311 โน จฏาเน นโิ ยชเย 278นิมมานรดี 270, 351นมิ ิต, นมิ ติ ต 3 87 บณั ฑร 356 บรรพชา ดู บรรพชานิมิต 4 150 บรรพชาจารย 211 บรรพชิต 289นยิ ยานกิ ธรรมเทศนา 180 บรกิ รรมนิมติ 87 บริกรรมภาวนา 99นยิ าม 5 223 บริโภคเจดยี 141 บรษิ ัท 41 151นริ ยะ 198, 351 บริษัท 42 152 บังสุกลุ จวี ร 159นิรัคคฬะ 187 บัญญัติ 2, 6 28 บารมี 10 325นิรามสิ สุข 53 บาว 265 บิณฑบาต 159นริ ตุ ติปฏสิ ัมภทิ า 155นโิ รธ 204, 205, 295นิโรธ 5 224นโิ รธสมาบัติ 119, 313นโิ รธวาร 340นโิ รธสจั จ 204, 340นโิ รธสฺา 331
32บุคคล 4 153 ปฏโิ ลมปฏจิ จสมปุ บาท 340บุคคลหาไดย าก 2 29บุคคลาธิษฐาน 17 ปฏเิ วธสัทธรรม 121บญุ กิรยิ าวตั ถุ 3 88บญุ กิรยิ าวัตถุ 10 89 ปฏิสนธิ 343บุตร 3 90บตุ รธดิ า 265 ปฏสิ งั ขรณ 254บุตรภรรยา 265บุพการี 29 ปฏสิ ังขาญาณ = ปฏิสงั ขานุปสสนาญาณบพุ นมิ ติ แหงมรรค 7 280บุพภาคของการศึกษา 34 ปฏสิ งั ขานปุ สสนาญาณ 311บชู า 2 30เบญจกัลยาณธรรม 239 ปฏสิ ันถาร 2 31เบญจขันธ 216, 357เบญจธรรม 239 ปฏสิ นั ถารคารวตา 261เบญจศีล 238 ปฏิสัมภทิ ัปปตตะ 62 ปฏิสัมภทิ า 4 155 ปฏิสัมภทิ ามคั ค 75 ปฐมฌาน 9, 284, 298 ปฐมฌานภมู ิ 3 351 ปฐมฌานกสุ ลจติ ตฺ ํ 356 ปฐมเทศนา 188 ปฐวีกสิณ 315 ปฐวีธาตุ 39, 146, 147, 148ปกิณณกเจตสกิ 6 355 ปณตี ํ เทติ 300ปกิณณกอกศุ ลเจตสิก 10 355 ปทปรมะ 153ปฏกิ ูลมนสิการ 182 ปธาน 2 32ปฏิคาหก 143 ปธาน 4 156ปฏิฆะ 288, 329, 330 ปธานสมฺ ึ 355ปฏฆิ สัญญา 298 ปปญ จะ, ปปญ จธรรม 3 91ปฏฆิ สัมปยตุ ตจิต 2 356 ปมาณกิ 4 158ปฏิฆสมฺปยตุ ฺตํ 356 ปมาทะ 347ปฏจิ จสมปุ บาท 105, 120, 129, 185, 340 ปโยควิบตั ิ 176ปฏบิ ตั ิบูชา 30 ปโยคสมบัติ 177ปฏบิ ตั ศิ าสนา 51 ปโยคาภสิ ังขาร 185ปฏปิ ทา 4 154 ปรโตโฆสะ 34ปฏปิ ทาญาณทัสสนวสิ ทุ ธิ 285 ปรนิมมิตวสวตั ดี 270, 351ปฏิปทานตุ ตริยะ 126 ปรมัตถะ 132ปฏปิ ตตสิ ัทธรรม 121 ปรมตั ถกถา 18ปฏปิ ส สัทธินิโรธ 224 ปรมัตถเทศนา 18ปฏิภาคนมิ ติ 87 ปรมตั ถธรรม 4 157, 216, 356ปฏิภาณปฏสิ ัมภทิ า 155 ปรมตั ถบารมี 325ปฏริ ปู เทสวาสะ 140 ปรมตั ถสจั จะ 50ปฏิรูปเทสวาโส จ 353 ปรหติ ปฏบิ ตั ิ 304ปฏิโลมเทสนา 340 ประชุมเนืองนติ ย 289, 290
33ประมาณ 4 158 ปหาน 5 224ประโยชนจากโภคทรพั ย 5 232ประสตู ิ 188 ปหานปธาน 156ปรัตถะ 133ปรมฺปราย 317 ปหานปริญญา 92ปราโมทย 220ปริจจาคะ 326 ปหานภาวนารามตา 203ปริจเฉทรูป 1 40, 359ปริญญา 205, 206 ปหานวนิ ยั 243ปริญญา 3 92ปริญไญยธรรม 206 ปหานสฺา 331ปรณิ ตโภชี 250ปรติ ตสุภา 351 ปค คาหะ 328ปรติ ตาภา 351ปริเทวะ 340 ปง สุกลู ิกงั คะ 342ปรินิพพาน 188ปรนิ ิพพุตสถาน 188 ปจ จยปรคิ คหญาณ 92, 345ปรปิ ุจฉา 339ปรมิ ติ ปานโภชนา 138 ปจจยาการ 12 105, 340ปรยิ ัตธิ รรม 306, 332ปริยตั ศิ าสนา ปจจเวกขณญาณ 345ปรยิ ัตสิ ัทธรรม 51ปรยิ ายทสสฺ าวี 121 ปจจฺ ตตฺ ํ เวทติ พโฺ พ วิ ฺูหิ 306ปริยายสทุ ธิ 219ปรเิ ยสนา 2 54 ปจ จยั 4 159, 203ปริวฏั ฏ 3 33ปรวิ าร 73 ปจจยั 24 350ปรสิ สารัชชภัย 75ปรสิ ัญตุ า 229 ปจจัยนิสติ 342ปลาสะ 287ปวเิ วก 347 ปจ จยั ปจจเวกขณ 243ปวิเวกกถา 294ปสังสา 314 ปจ จยั สนั นสิ ติ ศีล 160ปสนฺนานํ ภิยฺโยภาวาย 296ปสาทรูป 5 327 ปจ จยั สมั ปทา 190ปหาตัพพธรรม 40, 359ปหานะ 205 ปจจยั ใหเ กิดสมั มาทฏิ ฐิ 2 34ปหาน 3 205, 206 224 ปจ จุบนั 340 ปจ จุบนั เหตุ 340 ปจ จุปปน นงั สญาณ 72 ปจเจกพุทธเจา 142 ปจฉาชาตปจ จยั 350 ปจ ฉมิ ทศิ 265 ปญ จกชั ฌาน 9, 356 ปญ จกนัย 9 ปญจทวาราวัชชนะ 343, 348, 356 ปญ จมฌาน 9 ปฺจมชฌฺ านกสุ ลจติ ตฺ ํ 356 ปญ จวญิ ญาณฐาน 343 ปฺ า 324 ปญ ญา 37, 67, 124, 183, 197, 204, 228, 237, 249, 251, 292, 301, 325, 346 ปญญา 3 93 ปญ ญากถา 314 ปญ ญาขนั ธ 218 ปญญาคณุ 305, 308
34ปญ ญาจักขุ 217 ปาณาตปิ าตา เวรมณี 238, 240, 319ปญ ญาปนบัญญตั ิ 28 ปาปณกิ ธรรม 3 95ปฺาปนโต ปฺตตฺ ิ 28 ปาปณกิ ังคะ 95ปญญาปย บญั ญตั ิ 28 ปาปมิตตะ 199ปฺาปยตฺตา ปฺตฺติ 28 ปาปา, อารตี วริ ตี 353ปญ ญาพละ 229, 230 ปาปจ ฉา 308ปญญาภาวนา 37 ปาพจน 2 35, 75ปญญาวิมุต 62, 63 ปาราชิก 75ปญญาวิมุตติ 43, 252 ปาริจรยิ านตุ ตรยิ ะ 127ปญญาวุฒิ 179 ปารสิ ุทธิศีล 4 160, 285ปญ ญาวฑุ ฒิธรรม 4 179, 193 ปาสาทโิ ก 322ปญ ญาสมั ปทา 191, 229 ปาหุเนยโฺ ย 307ปญญินทรีย 63, 349, 355 ปฏก 3 75ปญญินทรียเจตสกิ 355 ปฏ กสมปฺ ทาเนน 317ปฏฐาน 75 ปณ ฑปาตปฏสิ งั ยตุ ต 342ปณฑฺ ิตานฺจ เสวนา 353 ปณ ฑปาตสนั โดษ 203ปตตปณฑิกังคะ 342 ปณ ฑปาตกิ ังคะ 342ปต ตานุโมทนามัย 89 ปณ ฑิยาโลปโภชนะ 159ปตติทานมยั 89 ปตติวสิ ยั 198, 351ปพ พชติ ะ 150 ปตฆุ าต 245, 275ปพ พชิตปธาน 32 ปย กรณ 273ปพพชิตอภิณหปจ จเวกขณ 10 248 ปยวินาภาวตา 247 ปยรูป สาตรปู 6 × 10 266ปพ พชั ชา 123ปพ พัชชาจารย 211 ปย วาจา 186, 229ปสสัทธิ 220, 281, 328 ปโย 278ปสสฺ าส 346 ปส ณุ ํ วาจํ ปหาย ฯเปฯ 320ปากกาล 338 ปสณุ าวาจา 321ปากทานปรยิ าย 338 ปส ุณาย วาจาย เวรมณี 319ปาจติ ติยะ 75 ปต กสณิ 315ปาฏบิ ุคลกิ ทาน 12 ปติ 9, 220, 281, 328, 355ปาฏปิ ุคฺคลิกา ทกขฺ ิณา 12 ปต ิ 5 226ปาฏิโมกข (ปาติโมกข) 75, 160, 222, 243, ปตสิ ุเขกคฺคตาสหิตํ 356 252, 254, 322, 344 ปุคคลปโรปรัญุตา 291ปาฏิโมกขสงั วร (ปาตโิ มกขสงั วร) 222, 243 ปุคคลปญญัตติ 75ปาฏโิ มกขสังวรศลี (ปาติโมกขสังวรศีล) 160 ปคุ คลสปั ปายะ 286ปาฏิหาริย 3 94 ปุคคลญั ตุ า 287ปาณาตบิ าต 137, 321 ปคุ คลาปเทส 166ปาณาติปาตํ ปหาย ฯเปฯ 320 ปญุ ญาภิสังขาร 129
35ปุตตฺ ทารสฺส สงฺคโห 353 ผสั สะ 6 272ปุตตฺ สงฺคห 353ปถุ ุชน 345, 351 ผสั สาหาร 212ปถุ ชุ นกบั โลกธรรม 296ปุพพเปตพลี 232 ผุฏสฺส โลกธมฺเมหิ จติ ตฺ ํ น กมปฺ ติ 353ปุพพฺ นฺตาปรนเฺ ต อฺาณํ 209ปพุ ฺพนฺเต อฺาณํ 209 ผุสนะ 343ปพุ เพกตปญุ ญตา 140ปพุ เพกตวาท 101 โผฏฐัพพะ 6, 40, 266, 277ปพุ เพกตเหตวุ าท 101ปุพเฺ พ จ กตปุ ฺตา 353 โผฏฐัพพตณั หา 264, 266ปพุ เพนิวาสานุสสติ 274, 297ปพุ เพนิวาสานุสสติญาณ 106, 323 โผฏฐัพพธาตุ 348ปุรัตถิมทิศ 265ปุริสเมธ 187 โผฏฐพั พวจิ าร 266ปรุ สิ ตั ตะ 40ปรุ สิ นิ ทรยี 40, 349 โผฏฐัพพวิตก 266ปเุ รชาตปจจยั 350ปฬุ ุวกะ 336 โผฏฐัพพสัญเจตนา 263, 266ปชู นียสถาน, ปูชนียวตั ถุ 289ปชู า จ ปูชนียานํ 353 โผฏฐัพพสญั ญา 266, 271ปตู ิมตุ ตเภสชั 159เปตตวิ ิสยั 351 พนัน 200เปตวัตถุ 75เปยยวชั ชะ 186, 229 พยาธติ ะ 83, 84, 150เปรต (ดู สัตตาวาส 7 ดว ย) 198, 284, 351เปสลานํ ภกิ ขฺ นู ํ ผาสุวิหาราย 327 พยาธธิ ัมมตา 247ผรณาปต ิ 226 พยาบาท 225, 321, 329, 347ผรุสวาจา 321ผรุสํ วาจํ ปหาย ฯเปฯ 320 พยาบาทวติ ก 70ผรสุ าย วาจาย เวรมณี 319ผล พร 4, 5 227ผล 4 7ผลจติ 165, 310, 332 พรหม, พรหมโลก 16 284, 298, 351ผลญาณผลสมังคี 356 พรหมจรรย 241ผัสสะ 345 57 พรหมจกั ร 180 340, 355 พรหมจารี 250, 290 พรหมปารสิ ัชชา 351 พรหมปุโรหิตา 351 พรหมโลก 103 พรหมวหิ าร 4 161, 227 พระเจาจกั รพรรดิ 142, 287, 339 พระธรรม* 100, 116 พระพุทธเจา 100, 116, 142, 287, 290, 337 พระพุทธรูป 141 พระสงฆ 100, 116, 265 พรฺ หมฺ จรยิ ฺจ 353 พราหมณ 173 พราหมณคฤหบดี 339 พราหมณบรษิ ัท 152 *คาํ นาํ หนาดวย พระ ถา ไมม ใี นท่ีน้ี ใหต ัดคําวา พระ ออก แลว ดูในตําแหนง ของคําน้ันๆ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402