Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรวิทยาศาตร์เเละเทคโนโลยี-64

หลักสูตรวิทยาศาตร์เเละเทคโนโลยี-64

Published by Aornanong Cks, 2021-08-10 03:24:35

Description: หลักสูตรวิทยาศาตร์เเละเทคโนโลยี-64

Keywords: หลักสูตรวิทยาศาตร์เเละเทคโนโลยี-64

Search

Read the Text Version

ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั การเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน (100) 4 พลังงานนา้ อธบิ ายหลกั การทาง พลงั งานนา้ คือ พลงั งานท่ีได้มา 10 15 วทิ ยาศาสตร์ ในการ จากการปน่ั กังหันนา้ โดยใช้การ นาพลังงานนา้ ไปใช้ ไหลของน้า โดยนา้ จะไหลจากที่ ประโยชนอ์ ธบิ ายข้อดี สงู ลงส่ทู ีต่ า่ เพ่ือป่นั กังหนั น้าให้เกิด และข้อจากัดเกีย่ วกับ พลงั งาน การใช้ประโยชน์และ แนวทางการพฒั นา ของพลังงานน้า รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายภาค - 30 รวม 40 100 หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 198

รายวชิ า การสร้างภาพเคล่ือนไหว คาอธิบายรายวิชา จานวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ รหัสวชิ า ว20281 จานวน 1.0 หนว่ ยกติ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 จานวนเวลาเรียนทั้งสนิ้ 40 ชวั่ โมง : ภาคเรยี น ศึกษาคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ในงานกราฟิก การเขียนรูป การวาดรูปด้วย โปรแกรมวาดภาพ กราฟ และกราฟิกพ้ืนฐาน การสร้างรูปภาพสาหรับงานทาป้ายประกาศ การ นาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ การพิมพ์รูปภาพงานศิลปะด้วยคอมพิวเตอร์ ศึกษาหลักการโปรแกรม เบื้องต้น ลาดบั การทางาน กระบวนความ ผังงานโครงสร้าง หลักการโปรแกรมแบบโครงสร้าง คาสั่ง ในการประมวลผล คาส่ังในการคานวณ ตัวแปร ชนิดตัวแปร ข้อมูลแบบต่าง ๆ คาสั่งควบคุม โปรแกรม คาส่ังรับข้อมูล และแสดงผล วิเคราะห์เนื้อหางาน ลาดับรูปแบบงาน การประยุกต์ วชิ าการคอมพิวเตอรแ์ ละวชิ าต่าง ๆ ทีเ่ รยี นมาในรูปแบบโครงงานโปรแกรมขนาดเล็กปฏิบัติการสร้าง ภาพ โดยใช้คาสั่งพื้นฐาน จากโปรแกรมกราฟิก สร้างภาพ วาดภาพ เก็บภาพ เรียกภาพมาแก้ไข ระบายสี สาเนาภาพ ขยายและลดขนาดภาพ รูปแบบตัวอักษร พิมพ์งาน และปฏิบัติการเขียน โปรแกรมเบือ้ งต้น โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเบื้องต้นและสร้างแนวคิดเก่ียวกับงานกราฟิกและการ นาเสนอดว้ ยคอมพิวเตอรไ์ ด้ เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการโปรแกรม เบ้อื งตน้ และสามารถเขียนลาดับการทางานโดยใช้คาส่ังภาษาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และนาทักษะใน การใชง้ านคอมพวิ เตอร์สร้างโครงงานโปรแกรมขนาดเลก็ ได้ ผลการเรียนรู้ 1. เขา้ ใจองคป์ ระกอบและหลักการทางานของคอมพวิ เตอร์ 2. เขา้ ใจการทางานพนื้ ฐานของโปรแกรมออกแบบภาพ 3. ออกแบบและแก้ไขภาพได้อยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามจนิ ตนาการ 4. เขา้ ใจหลกั การและวธิ กี ารแก้ปญั หาของโปรแกรมออกแบบภาพ 5. ใช้คอมพวิ เตอรส์ ร้างงานอย่างมจี ิตสานึกและมีความรับผิดชอบ 6. สร้างสรรค์ชน้ิ งานดว้ ยซอฟตแ์ วรท์ ี่ทันสมัยและและเป็นท่ีนยิ มใชก้ ันในปจั จุบนั 7. ปลกู จิตสานกึ ทางกายภาพทด่ี ีดว้ ยเทคโนโลยสี มยั ใหม่ 8. สร้างความตระหนักถึงการใชเ้ ทคโนโลยีในด้านบวกและดา้ นลบ รวมทั้งหมด 8 ผลการเรียนรู้ หลักสูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 199

โครงสร้างรายวิชา วิชา กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว20281 รายวิชา การสรา้ งภาพเคล่ือนไหว จานวน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จานวน 1.0 หนว่ ยกติ จานวนเวลาเรยี นทั้งสิ้น 40 ชั่วโมง : ภาคเรียน สดั สว่ นคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั การเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั (ช่วั โมง) คะแนน (100) 1 หลกั การ 1. เขา้ ใจองคป์ ระกอบ การทางานของคอมพิวเตอร์จะเริ่ม 10 10 ทางานของ และหลกั การทางาน จากผใู้ ช้ป้อนข้อมลู ผ่านทาง คอมพิว ของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ของหนว่ ยรบั เขา้ (Input เตอร์ 2. เขา้ ใจการทางาน device) เช่น คยี ์บอรด์ เมาส์ พน้ื ฐานของโปรแกรม ขอ้ มูลจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณ ออกแบบภาพ ดิจิทลั ประกอบดว้ ยเลข 0 และ 1 แล้วส่งต่อไปยงั หน่วยประมวล ผลกลาง เพอ่ื ประมวลผลตาม คาส่งั ในระหว่างการประมวลผล ข้อมลู จะถูกเก็บไว้ท่ี (Random Access Memory: RAM) ทา หนา้ ทีเ่ กบ็ ข้อมูลจากการประมวล ผลเป็นการชวั่ คราว ขณะเดียวกัน อาจมคี าสงั่ ให้นาผลลัพธจ์ ากการ ประมวลผลดังกล่าวไปแสดงผล ผา่ นทางอปุ กรณผ์ ่านทางอุปกรณ์ ของหนว่ ยสง่ ออก เช่น จอภาพ หรอื เครือ่ งพิมพ์ นอกจากนี้เรา สามารถบนั ทึกข้อมูลท่ีอยู่ใน อนาคต โดยการอ่านข้อมลู ท่ี บนั ทึกในสื่อดังกลา่ วผ่านทาง เคร่ืองขบั หรือไดรฟ์ (drive) การ ส่งผ่านขอ้ มลู ไปยงั หนว่ ยตา่ งๆ ภายในระบบคอมพวิ เตอรจ์ ะผ่าน ทางระบบบสั (bus) หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 200

ที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั การเรียนรู้ ตัวช้ีวัด (ชวั่ โมง) คะแนน (100) 2 การ 1. ออกแบบและแก้ไข ความคิดสรา้ งสรรค์มกี าร 10 10 ออกแบบ ภาพได้อยา่ ง พฒั นาการอยู่เรื่อย เปน็ ปจั จัยใน และแก้ไข สรา้ งสรรค์ตาม การสร้างสรรค์ผลงาน ใหเ้ ป็นท่ี ภาพ จินตนาการ ยอมรบั แกม่ วลชน ฟอร์ดกลา่ วถึง 2. เขา้ ใจหลักการและ บุคลกิ ภาพของคนที่มีความคิด วิธีการแก้ปัญหาของ สร้างสรรค์วา่ “จะต้องมีความฉบั โปรแกรมออกแบบ ไวที่รปู้ ัญหาและมองเหน็ ปญั หา มี ภาพ ความว่องไวและสามารถจะเปล่ียน 3. ใชค้ อมพวิ เตอร์ ความคิดใหม่ๆได้งา่ ย ซงึ่ แสดงให้ สรา้ งงานอยา่ งมี เหน็ ว่าการแกป้ ัญหาเป็นกจิ กรรมท่ี จิตสานกึ และมีความ สาคัญยิ่งของชวี ิตท่ีต้องทาให้ รบั ผดิ ชอบ สาเรจ็ ลุลว่ ง 3 การสร้างชิน้ 1. สร้างสรรค์ชิน้ งาน คอมพิวเตอร์ เป็นเทคโนโลยที ม่ี ี 20 30 งานโดยใช้ ด้วยซอฟต์แวร์ที่ บทบาทต่อสังคมมนษุ ยเ์ ป็นอยา่ ง โปรแกรม ทนั สมยั และและเปน็ ท่ี มาก สามารถนาเข้ามาชว่ ยอานวย สาเร็จรูป นยิ มใชก้ ันในปจั จบุ ัน ความสะดวกในการทางานของ 2. ปลูกจิตสานกึ ทาง มนุษย์ได้แทบทุกสาขาอาชีพ การ กายภาพทีด่ ีดว้ ย นาคอมพวิ เตอร์มาใชง้ านน้นั ต้องมี เทคโนโลยสี มัยใหม่ การออกแบบ วางแผน เพราะ 3. สรา้ งความ คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้ ตระหนักถึงการใช้ โดยตรงแต่ต้องมีการใชช้ ดุ คาสัง่ ใน เทคโนโลยใี นดา้ นบวก การควบ คุมการทางานของ และด้านลบ คอมพิวเตอร์ดังนัน้ การใช้ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสรา้ งสรรค์ ช้นิ งานนน้ั ตอ้ งใช้องค์ประกอบของ ฮาร์ดแวร์ คือเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เป็นหลกั และใชซ้ อฟต์แวร์เพื่อ การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ให้ สามารถผลิตผลงานสรา้ งสรรคไ์ ด้ ตามวตั ถุประสงคก์ าร ใช้ คอมพวิ เตอร์ในการสร้างชน้ิ งาน สามารถทาได้ตง้ั แต่งานง่ายๆ โดย ใช้แคเ่ พียงคอมพิวเตอร์กับ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 201

ที่ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก การเรียนรู้ ตัวชว้ี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน (100) ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ไปจนถงึ การ เขยี นโปรแกรมระดับ สูงเพื่อ ควบคมุ การทางานของฮาร์ดแวร์ และการใชง้ านในสถานการณ์ ต่างๆ รวมถึงสามารถสร้างช้นิ งาน ท่ีใช้งบประมาณเพียงเล็กน้อย โดย ใชซ้ อฟต์แวร์เท่าท่ีมอี ยแู่ ลว้ จนถึง การลงทนุ ระดบั สงู ทตี่ ้องการใช้ งบประมาณในการซ้ือฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ เพอ่ื การพัฒนาเปน็ การเฉพาะการใชค้ อมพวิ เตอร์เพอ่ื ชว่ ยสรา้ งชนิ้ งาน ระดับมธั ยม ศึกษาตอนปลายควรเปน็ การสร้าง ชิ้นงานในแนวทางสรา้ งสรรค์อยา่ ง มี จิตสานึกท่ีดที างดา้ นสังคมและ สงิ่ แวดลอ้ ม และการสร้างช้นิ งาน ควรเปน็ ในลักษณะการทางานทม่ี ี กระบวนการ มีการวางแผนการ ทางานอย่างเป็นระบบ มขี นั้ ตอนท่ี ชัดเจนเพ่ือใช้ผลงานมโี อกาส ประสบความสาเรจ็ มากท่ีสดุ ซง่ึ เปน็ หลกั ของการสรา้ งผลงานโดย ใช้หลกั การโครงงานคอมพิวเตอร์ เขา้ มาชว่ ย คือ ควรเปน็ กิจกรรม อิสระทผ่ี ู้เรียนสามารถเลอื กศึกษา ตามความสนใจ โดยใช้ทกั ษะและ ความสามารถท่ีมีอยู่เร่มิ ทางด้าน คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ใน การแกป่ ัญหาต่างๆ ผูเ้ รียนจะตอ้ ง วางแผนดาเนนิ งาน ศกึ ษา ค้นคว้า ความรู้เพม่ิ เตมิ เพื่อนาความรู้และ ทกั ษะมาพัฒนาโปรแกรมหรอื อปุ กรณ์ท่เี กี่ยวข้อง หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 202

ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั การเรียนรู้ ตัวช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน (100) โดยยดึ หลักการทาโครงงาน ดงั น้ี รวมคะแนนระหวา่ งเรียน - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายภาค - 30 รวม 40 100 หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 203

รายวชิ า นาเสนองานด้วยเทคโนโลยี คาอธบิ ายรายวชิ า จานวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ รหสั วชิ า ว20282 จานวน 1.0 หนว่ ยกติ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 จานวนเวลาเรยี นท้งั สน้ิ 40 ช่ัวโมง : ภาคเรยี น ศึกษาระบบคอมพิวเตอร์สาหรับงานประมวลผลแบบสื่อประสม อุปกรณ์แสดงผล กราฟิก การแสดงผลดว้ ยภาพ การแสดงผลดว้ ยเสียง วีดีโอ อปุ กรณ์ประกอบ โดยฝกึ ปฏิบัตกิ ารนาเสนอขอ้ มูลแบบสื่อประสมเช่นการสร้างภาพ การสร้างเสียง ข้อความ เคลื่อนไหว การเชื่อมข้อมูลการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูล การเก็บข้อมูลลงแฟ้มข้อมูล การเรียก ข้อมูลจากแฟ้มมาดาเนินการ การคัดลอกข้อมูล การย้ายข้อมูล ปฏิบัติการ วิเคราะห์งาน วางแผน และเลือกงานทตี่ ้องการ สร้างงาน และนาเสนอผลงาน ดา้ นคอมพิวเตอร์ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการวิเคราะห์งาน สร้างงาน และนาเสนอผลงาน ดา้ นคอมพวิ เตอร์ มีเจตคตทิ ่ดี ี ใฝ่เรียนรู้ มีความซ่ือสัตย์ ขยัน มีความรับผิดชอบ เห็นคุณค่าของงาน ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ย่างมีความสุข มีการประยุกต์นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และมีจิตสาธารณะ เกดิ ทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความร้พู น้ื ฐานระบบคอมพิวเตอรส์ าหรบั ประมวลผลแบบส่อื ประสมได้ 2. สามารถสร้างชนิ้ งานที่แสดงผลดว้ ยวิดีโอและกราฟิก 3. สามารถสร้างส่ือประสมทีเ่ กดิ จากการนารปู ภาพ ข้อความและเสียงมาผสมผสานกันได้ 4. สามารถนาเสนอผลงานสอ่ื ประสมได้ 5. สามารถคดั ลอกหรอื สารองข้อมูลไฟล์สือ่ ประสมได้อยา่ งถูกตอ้ ง 6. สามารถเลอื กใชง้ านโปรแกรมเพ่ือสร้างชน้ิ งานนาเสนอข้อมูลได้อยา่ งเหมาะสม รวมท้ังหมด 6 ผลการเรียนรู้ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 204

โครงสรา้ งรายวิชา รายวิชา นาเสนองานด้วยเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว20282 จานวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 จานวน 1.0 หนว่ ยกิต จานวนเวลาเรียนทั้งส้นิ 40 ชัว่ โมง : ภาคเรยี น สัดสว่ นคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั การเรียนรู้ ตัวช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน (100) 1 สอื่ ประสม 1. อธบิ ายความรู้ ความรูพ้ ้นื ฐานระบบคอมพิวเตอร์ 20 20 และความรู้ พนื้ ฐานระบบ สาหรบั ประมวลผลแบบสอ่ื ประสม พ้ืนฐาน คอมพิวเตอร์สาหรับ สร้างช้ินงานทแ่ี สดงผลด้วยวิดโี อ ประมวลผลแบบสอ่ื และกราฟกิ นารปู ภาพ ข้อความ ประสมได้ และเสยี งมาผสมผสานกันได้และ 2. สามารถสร้าง นาเสนอผลงานส่อื ประสม ชิ้นงานทแ่ี สดงผลด้วย วิดีโอและกราฟกิ 3. สามารถสรา้ งสอ่ื ประสมท่เี กิดจากการ นารูปภาพ ข้อความ และเสยี งมาผสมผสาน 4. สามารถนาเสนอ ผลงานสื่อประสมได้ 5. สามารถคดั ลอก หรอื สารองข้อมูลไฟล์ สอ่ื ประสมได้ 2 การใช้งาน 1. สามารถเลอื กใช้ เลือกใช้งานโปรแกรมเพ่ือสรา้ ง 20 30 โปรแกรม งานโปรแกรมเพือ่ ชนิ้ งานนาเสนอข้อมูลได้อย่าง สร้างชิ้นงาน สรา้ งชิน้ งานนาเสนอ เหมาะสม นาเสนอ ขอ้ มูลไดอ้ ย่าง ขอ้ มลู เหมาะสม รวมคะแนนระหว่างเรียน - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายกลางภาค - 30 รวม 40 100 หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 205

รายวิชา คอมพวิ เตอร์กราฟกิ คาอธิบายรายวชิ า จานวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รหัสวิชา ว2028 จานวน 1.0 หนว่ ยกติ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จานวนเวลาเรยี นท้ังสิ้น 40 ช่วั โมง : ภาคเรียน ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กีย่ วกบั งานจติ รกรรมดจิ ิทัลและกราฟิก เขา้ ใจหลักการทางานเบ้ืองต้นของ โปรแกรมกราฟกิ โดยสามารถใช้งานโปรแกรมทางด้านกราฟิกเบ้ืองต้น ร่วมกับอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ ศึกษา และปฏิบัติคาส่ังฟิลเตอร์ท่ีใช้ในการปรับแต่งภาพ สร้างและปรับแต่งชิ้นงานในลักษณะของการ ออกแบบ การตัดต่อ การรีทัชภาพ การสร้างภาพแนวจิตรกรรม และประยุกต์ใช้งานโดยการสร้าง ภาพจิตรกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์สาหรบั ใชใ้ นงานตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสมกบั งานได้ เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในงานจิตรกรรมดิจิทัลและกราฟิก เข้าใจหลักการทางาน เบ้ืองต้นของโปรแกรมกราฟิก โดยสามารถใช้งานโปรแกรมทางด้านกราฟิกเบ้ืองต้น ร่วมกับอุปกรณ์ ดิจิทัลต่างๆ ศึกษาและปฏิบัติคาสั่งฟิลเตอร์ที่ใช้ในการปรับแต่งภาพ สร้างและปรับแต่งช้ินงานใน ลักษณะของการออกแบบ การตัดต่อ การรีทัชภาพ การสร้างภาพแนวจิตรกรรม และประยุกต์ใช้ งานโดยการสรา้ งภาพจิตรกรรมอเิ ล็กทรอนกิ สส์ าหรบั ใช้ในงานตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสมกบั งาน โดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน มีนิสัยรักการค้นคว้า มีจิตสานึกและความรับผิดชอบ มีจริยธรรม สรา้ งสรรค์ชิ้นงานอยา่ งมจี ินตนาการ และยึดหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามรพู้ ื้นฐานและมีความเข้าใจในงานจติ รกรรมดิจิทัลและกราฟิก 2. มคี วามรพู้ น้ื ฐาน และมีความเขา้ ใจในการทางานเบอ้ื งต้นของโปรแกรมกราฟกิ 3. สามารถใช้งานโปรแกรมทางด้านกราฟิกได้อยา่ งถูกต้อง 4. สามารถใชง้ านโปรแกรมทางด้านกราฟิกรว่ มกบั อุปกรณ์ดจิ ิทลั อนื่ ๆ ได้ 5. สามารถใชฟ้ ลิ เตอรใ์ นการปรับแต่งภาพด้วยโปรแกรมทางดา้ นกราฟิกไดอ้ ย่างเหมาะสม 6. สามารถสร้างและปรบั แต่งชน้ิ งานในลกั ษณะของการออกแบบโดยใช้โปรแกรมดา้ น กราฟิกได้อย่างเหมาะสม ถกู ต้องตามขั้นตอน 7. สามารถสร้างและปรับแต่งชน้ิ งานในลักษณะของการตัดต่อ โดยใชโ้ ปรแกรมดา้ น กราฟิกได้อยา่ งเหมาะสมถกู ต้องตามขั้นตอน 8. สามารถสร้างและปรบั แต่งชน้ิ งานในลักษณะของการรีทัชภาพโดยใช้โปรแกรมด้าน กราฟิกได้อยา่ งเหมาะสมถูกต้องตามขั้นตอน 9. สามารถสรา้ งภาพแนวจิตรกรรมได้อย่างเหมาะสม ถูกต้องตามขนั้ ตอน 10. สามารถสร้างภาพแนวกราฟิกในรูปแบบ และเทคนิค ทแ่ี ตกต่างกนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ถกู ต้องตามขน้ั ตอนสามารถประยกุ ต์ใช้งานโดยการสร้างภาพจิตรกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์สาหรบั ใช้ในงาน ตา่ งๆ ได้ รวมท้ังหมด 10 ผลการเรยี นรู้ หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 206

โครงสร้างรายวิชา รายวชิ า คอมพวิ เตอร์กราฟิก รหัสวิชา ว2028 จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 1.0 หน่วยกิต จานวนเวลาเรยี นทั้งส้ิน 40 ชวั่ โมง : ภาคเรยี น สัดส่วนคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั การเรียนรู้ ตัวช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน (100) 1 ความรู้ 1. มคี วามรพู้ ้ืนฐาน ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั งาน 15 20 พ้นื ฐาน และมคี วามเขา้ ใจใน จติ รกรรมดิจิทัลและกราฟิก เขา้ ใจ เกย่ี วกบั งานจติ รกรรมดิจทิ ลั หลกั การทางานเบือ้ งต้นของ คอมพิวเตอ และกราฟกิ โปรแกรมกราฟกิ โดยสามารถใช้ รก์ ราฟิก 2. มีความร้พู ื้นฐาน งานโปรแกรมทางด้านกราฟิก และมคี วามเขา้ ใจใน เบ้ืองตน้ รว่ มกับอุปกรณ์ดิจิทัล การทางานเบื้องตน้ ตา่ งๆ ศึกษาและปฏิบัติคาส่ัง ของโปรแกรมกราฟิก ฟิลเตอร์ท่ีใชใ้ นการปรับแตง่ ภาพ 3. สามารถใช้งาน โปรแกรมทางด้าน กราฟิกได้อยา่ งถกู ต้อง 4. สามารถใชง้ าน โปรแกรมทางด้าน กราฟิกรว่ มกบั อปุ กรณ์ดจิ ิทลั อ่นื ๆ ได้ 2 การ 1. สามารถสร้างและ มีความรคู้ วามเขา้ ใจในงาน 25 30 ออกแบบ ปรบั แต่งชิน้ งานใน จิตรกรรมดิจิทัลและกราฟิก และสร้าง ลกั ษณะของการตัดตอ่ เขา้ ใจหลกั การทางานเบ้ืองต้นของ ชน้ิ งาน โดยใชโ้ ปรแกรมด้าน โปรแกรมกราฟกิ โดยสามารถใช้ คอมพิวเตอ กราฟิกได้อย่าง งานโปรแกรมทางดา้ นกราฟิก ร์กราฟิก เหมาะสมถกู ต้องตาม เบอ้ื งต้น ร่วมกบั อปุ กรณ์ดจิ ิทัล ขนั้ ตอน ตา่ งๆ ศึกษาและปฏิบตั ิคาส่งั 2. สามารถสร้างภาพแนวฟลิ เตอรท์ ่ีใช้ในการปรบั แต่งภาพ กราฟิกในรปู แบบ และ สรา้ งและปรับแตง่ ช้นิ งานใน เทคนคิ ที่แตกต่างกันได้ ลักษณะของการออกแบบ การตดั อย่างเหมาะสมถูกต้อง ต่อ การรที ัชภาพ การสร้างภาพ ตามขนั้ ตอน แนวจติ รกรรม และประยุกต์ใช้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 207

ท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน (100) สามารถประยุกตใ์ ช้ งานโดยการสรา้ งภาพจิตรกรรม งานโดยการสรา้ งภาพ อเิ ลก็ ทรอนิกสส์ าหรบั ใชใ้ นงาน จติ รกรรม ต่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสมกบั งาน อิเลก็ ทรอนกิ สส์ าหรบั โดยใชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยสรา้ ง ใชใ้ นงานต่างๆได้ ช้นิ งาน รวมคะแนนระหว่างเรียน - 50 - 20 สอบกลางภาค - 30 40 100 สอบปลายภาค รวม หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 208

รายวิชา การพัฒนา Webpage คาอธบิ ายรายวชิ า จานวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ รหสั วชิ า ว20284 จานวน 1.0 หน่วยกิต ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 จานวนเวลาเรยี นทง้ั ส้นิ 40 ช่ัวโมง : ภาคเรยี น ศึกษา ความหมาย พื้นฐานของ อินเตอร์เน็ต เว็บเพจ หลักการสร้างและออกแบบเว็บเพจ องค์ประกอบ และข้นั ตอนของการสรา้ งเว็บเพจ การใช้กราฟกิ ในการสร้างเวบ็ เพจ โดยปฏิบัติการ สร้างเว็บเพจ มีความเข้าใจในหลักการทางานเว็บเพจ สามารถอธิบายการ ทางานของเมนูต่างๆ เรยี กใช้คาส่ังในการตกแต่งตัวอักษร จัดทารูปภาพบนเว็บเพจ การแทรกตาราง และสร้างเทมเพลต รวมถึงการสร้างลิงค์ภายในและภายนอกเว็บ ตลอดจนสามารถเรียกใช้คาส่ังใน การสร้างเฟรมตกแตง่ เวบ็ ได้ อกี ทงั้ ยงั สามารถนามัลตมิ ีเดยี ใสล่ งในเวบ็ ได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย สามารถใช้โปรแกรมในการประมวลผลและ นาเสนอเว็บเพจ ตลอดจนสามารถแพร่แพร่เว็บเพจของตนเองได้ เข้าใจวิธีการแก้ปัญหาและการใช้ งานโปรแกรมเบื้องตน้ มีนสิ ัยใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งม่ันในการทางาน และมจี ติ สานกึ ในการใช้เทคโนโลยี ผลการเรยี นรู้ 1. มีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั อนิ เตอรเ์ น็ต เว็บเพจ 2. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับกระบวนการพัฒนาเวบ็ เพจและหลกั การออกแบบเวบ็ เพจ 3. มีความเข้าใจและสามารถออกแบบกราฟิกรูปภาพสาหรับเว็บเพจ็ 4. มีความเขา้ ใจและสามารถประยุกตใ์ ช้โปรแกรมเพ่ือสร้างชน้ิ งานเวบ็ เพจได้ 5. มีความเขา้ ใจและสามารถประยกุ ต์อพั โหลดเว็บเพจเผยแพร่สู่อินเทอร์เน็ต รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้ หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 209

โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า การพฒั นา Webpage รหสั วชิ า ว20284 จานวน 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จานวน 1.0 หนว่ ยกิต จานวนเวลาเรียนท้ังสนิ้ 40 ช่วั โมง : ภาคเรยี น สัดส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั การเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน (100) 1 พื้นฐานของ 1. มีความรู้ความ ศกึ ษา ความหมาย พ้ืนฐานของ 5 20 อนิ เตอรเ์ น็ต เข้าใจเก่ยี วกับ อนิ เตอร์เน็ต เว็บเพจ หลักการ เวบ็ เพจ อนิ เตอร์เน็ต เวบ็ เพจ สร้างและออกแบบเวบ็ เพจ 2. มคี วามรู้ความ องคป์ ระกอบ และขั้นตอนของการ เข้าใจเกยี่ วกับ สร้างเวบ็ เพจ การใชก้ ราฟิกใน กระบวนการพฒั นา การสร้างเวบ็ เพจ เว็บเพจและหลกั การ ออกแบบเว็บเพจได้ 2 หลกั การ 3. มคี วามเข้าใจและ ปฏิบัติการ สรา้ งเว็บเพจ มีความ 15 15 ทางานเวบ็ สามารถออกแบบ เข้าใจในหลักการทางานเวบ็ เพจ กราฟิกรปู ภาพสาหรับ เพจ สามารถอธิบายการทางาน เว็บเพจ็ ของเมนตู า่ งๆ เรยี กใช้คาสัง่ ในการ ตกแตง่ ตัวอักษร จัดทารปู ภาพบน เว็บเพจ การแทรกตารางและสร้าง เทมเพลต 3 การ 4. มคี วามเขา้ ใจและ สามารถเรียกใช้คาส่ังในการสรา้ ง 20 15 ออกแบบ สามารถประยุกตใ์ ช้ เฟรมตกแตง่ เวบ็ ได้ อีกทัง้ ยงั เวบ็ เพจ โปรแกรมเพื่อสร้าง สามารถนามลั ติมเี ดียใสล่ งในเวบ็ ช้นิ งานเวบ็ เพจได้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5. มีความเข้าใจและ สามารถประยุกต์อพั โหลดเว็บเพจเผยแพร่ รวมคะแนนระหวา่ งเรียน - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายภาค - 30 รวม 40 100 หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 210

รายวิชา การออกแบบด้วยเทคโนโลยี คาอธบิ ายรายวิชา จานวน 2 ช่วั โมง/สัปดาห์ รหสั วชิ า ว20285 จานวน 1.0 หนว่ ยกติ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 จานวนเวลาเรียนท้ังส้นิ 40 ชวั่ โมง : ภาคเรยี น ศึกษาระดับของเทคโนโลยีการสร้างส่ิงของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี ภาพฉายช้ินงาน หลักการทาโครงงาน โดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ปฏิบัติการออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการ ทางเทคโนโลยี เพื่อให้มีค่านิยมท่ีเหมาะสมและมีจิตสานึกในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติการ ออกแบบโดยใช้การตัดต่อวิดิโอ ใช้เทคโนโลยีในการตัดต่อและเผยแพร่ สร้างงานโดยมีการอ้างอิง แหลง่ ข้อมูลใชท้ รพั ยากรอย่างคุ้มค่า ไม่คัดลอกผลงานผู้อ่ืน ใช้คาสุภาพและไม่สร้างความเสียหายต่อ ผอู้ ื่น เผยแพรผ่ ลงานผ่านแพล็ตฟอรม์ ออนไลนไ์ ด้ เชน่ ยทู ูป ผลการเรียนรู้ 1. เขา้ ใจ และ อธิบายระดบั ของเทคโนโลยีได้ 2. อธบิ ายกระบวนการทางเทคโนโลยีแตล่ ะขน้ั ตอนได้ 3. เข้าใจและอธบิ ายการออกแบบได้ 4. ปฏบิ ัติการออกแบบโดยใช้การตัดต่อวิดิโอ ใชเ้ ทคโนโลยใี นการตดั ต่อและเผยแพร่ 5. เขา้ ใจและอธบิ ายความคิดสร้างสรรค์กบั กระบวนการทางเทคโนโลยี 6. ปฏิบัตกิ ารทาโครงงานออกแบบด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้ หลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 211

โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ า การออกแบบด้วยเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว20285 จานวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 1.0 หนว่ ยกิต จานวนเวลาเรียนทั้งสนิ้ 40 ชว่ั โมง : ภาคเรยี น สัดส่วนคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรียนรู้ ตัวช้วี ดั (ชั่วโมง) คะแนน (100) 1 เทคโนโลยี 1. เข้าใจ และ อธิบาย ศกึ ษาระดับของเทคโนโลยกี าร 10 10 การ ระดับของเทคโนโลยี สรา้ งส่ิงของเครื่องใชห้ รอื วิธกี าร ได้ สามารถเผยแพร่ผลงานผา่ นแพล็ต 2. อธิบาย ฟอรม์ ออนไลน์ได้ เช่น ยทู ปู ได้ กระบวนการทาง เทคโนโลยแี ต่ละ ข้ันตอนได้ 2 หลักการทา 3. เข้าใจและอธบิ าย หลกั การทาโครงงานโดยใช้ 10 10 โครงงาน การออกแบบได้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏบิ ตั กิ าร 4. ปฏิบตั ิการ ออกแบบและสรา้ งสิ่งของเครอ่ื งใช้ ออกแบบโดยใช้การ ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี มี ตดั ต่อวดิ ิโอ ใช้ ค่านิยมท่เี หมาะสมและมีจิตสานึก เทคโนโลยีในการตดั ในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ตอ่ และเผยแพร่ 3 สร้างงาน 5. เข้าใจและอธบิ าย สร้างงานโดยมีการอ้างอิง 20 30 โดยใช้ ความคดิ สรา้ งสรรค์กับ แหลง่ ข้อมูลใช้ทรัพยากรอย่าง แหลง่ ข้อมูล กระบวนการทาง ค้มุ คา่ ไม่คัดลอกผลงานผู้อน่ื ใช้คา อย่างคุ้มคา่ เทคโนโลยี สุภาพและไมส่ ร้างความเสียหาย 6. ปฏบิ ัติการทา ตอ่ ผอู้ ่ืน โครงงานออกแบบด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี รวมคะแนนระหวา่ งเรียน - 50 สอบปลายภาค - 30 สอบกลางภาค - 20 รวม 40 100 หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 212

รายวชิ า โครงงานเทคโนโลยี คาอธบิ ายรายวชิ า จานวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ รหสั วชิ า ว20286 จานวน 1.0 หน่วยกิต ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวนเวลาเรยี นทง้ั สิ้น 40 ชัว่ โมง : ภาคเรยี น ในรูปแบบต่าง ๆ จากปัญหาหรือเร่ืองท่ีสนใจจะศึกษา วิเคราะห์รูปแบบกระบวนการ ดาเนนิ งานโครงงาแนวทางการประยุกต์คอมพวิ เตอรก์ ับโครงงาน โดยปฏิบัติการสร้างโครงงานโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือ โดยใช้ความรู้ ความคิด จินตนาการ ทักษะ เหตผุ ล และกระบวนการต่างๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนประสบการณ์ ด้านคอมพิวเตอร์ ซอฟตแ์ วร์ ในการแก้ปัญหาต่างๆ ท่ีมีอยู่ มาเชื่อมโยงสัมพันธ์กันจนเกิดความรู้ใหม่ ท่ีมีความหมายสอดคล้อง และเช่ือมโยงกันได้ โดยมีการบูรณาการความรู้ด้านอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องเข้า มาร่วมด้วย เพ่ือให้มีความรู้ ความเขา้ ใจในการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และเกิด เจตคติท่ีดีทาให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์เพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้ และสามารถนาเอา คอมพิวเตอร์มาประยกุ ต์ใชใ้ นการสรา้ งโครงงานได้อย่างมจี ิตสานึก และมีความรับผดิ ชอบ ผลการเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกความหมายและคุณค่าของการทาโครงงานเทคโนโลยี และจาแนก ประเภทของโครงงานเทคโนโลยไี ด้ 2. นกั เรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจในขัน้ ตอนการทาโครงงานเทคโนโลยี 3. นักเรียนสามารถจัดทาและนาเสนอข้อเสนอโครงงานเทคโนโลยีได้. 4. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีทาโครงงานอย่างเป็นระบบและวิธีทาโครงงานให้ประสบ ความสาเรจ็ อย่างมีคณุ ภาพได้ 5. นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาโครงงานเทคโนโลยีและทารายงานโครงงาน เทคโนโลยีฉบับสมบูรณ์ได้ 6. นักเรยี นสามารถนาเสนอโครงงานและประเมินผลโครงงานเทคโนโลยไี ด้ รวมท้ังหมด 6 ผลการเรยี นรู้ หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 213

โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า โครงงานเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว20286 จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวน 1.0 หนว่ ยกติ จานวนเวลาเรียนทง้ั สิน้ 40 ชว่ั โมง : ภาคเรยี น สัดสว่ นคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั การเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน (100) 1 โครงงาน 1. นกั เรยี นสามารถ ศกึ ษาความหมาย องคป์ ระกอบ 10 10 เทคโนโลยี บอกความหมายและ ประเภท ขั้นตอน ลักษณะและ คณุ ค่าของการทา หลกั การทาโครงงานเทคโนโลยี โครงงานเทคโนโลยี เพือ่ สร้างงานในรูปแบบต่าง ๆ และจาแนกประเภท ของโครงงาน เทคโนโลยไี ด้ 2 หลกั การทา 2. นักเรียนมคี วามรู้ ปฏิบตั กิ ารสรา้ งโครงงานโดยใช้ 10 10 โครงงาน ความเข้าใจในข้นั ตอน คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เคร่ืองมือ โดยใช้ เทคโนโลยี การทาโครงงาน ความรู้ ความคดิ จินตนาการ เทคโนโลยี ทกั ษะ เหตุผล และกระบวนการ 3. นักเรียนสามารถ ต่างๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ จดั ทาและนาเสนอ ตลอดจนประสบการณด์ า้ น ข้อเสนอโครงงาน คอมพวิ เตอร์ ซอฟต์แวร์ ในการ เทคโนโลยีได้. แกป้ ัญหาต่างๆ 4. นกั เรยี นสามารถ อธบิ ายวธิ ีทาโครงงาน อย่างเป็นระบบและวธิ ี ทาโครงงานใหป้ ระสบ ความสาเรจ็ อยา่ งมี คุณภาพได้ 3 การสรา้ ง 5. นักเรียนสามารถใช้ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานทางด้าน 20 30 โครงงาน เทคโนโลยใี นการ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และเกิดเจต เทคโนโลยี พฒั นาโครงงาน คติทดี่ ีทาให้สามารถใช้ และการทา เทคโนโลยีและทา คอมพวิ เตอร์เพ่ือพฒั นาความคดิ รายงาน รายงานโครงงาน สร้างสรรคไ์ ด้ และสามารถนาเอา คอมพวิ เตอร์มาประยุกตใ์ ช้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 214

ท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั การเรียนรู้ ตัวชี้วัด (ชว่ั โมง) คะแนน (100) เทคโนโลยีฉบับ ในการสรา้ งโครงงานได้อยา่ งมี สมบูรณ์ได้ จิตสานึก และมีความรับผดิ ชอบ 6. นักเรยี นสามารถ นาเสนอโครงงานและ ประเมนิ ผลโครงงาน เทคโนโลยีได้ รวมคะแนนระหว่างเรียน - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายภาค - 30 รวม 40 100 หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 215

คาอธบิ ายรายวิชา โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย วิชา วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ คาอธิบายรายวชิ า จานวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รหัสวชิ า ว31181 จานวน 1 หนว่ ยกิต ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 จานวนเวลาเรียนทั้งสนิ้ 40 ช่วั โมง : ภาคเรียน ศึกษาโครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์แบบต่างๆ การ ควบคุมดุลยภาพ-ของน้าและสารในเลือดโดยการทางานของไต การควบคุมดุลยภาพของกรด-เบส ของเลือดโดยการทางานของไตและปอด การควบคุมดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย โดยการ หมุนเวียนเลอื ด ผิวหนงั และกลา้ มเนอื้ โครงรา่ ง กลไกการต่อต้านหรือทาลายสิ่งแปลกปลอมทั้งแบบ ไม่จาเพาะและแบบจาเพาะ โรคหรืออาการท่ีเกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ภาวะ ภูมิคุ้มกันบกพร่องทีมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อHIV การดารงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง การใช้ประโยชน์จากสารต่างๆที่พืชบางชนิดสร้างขึ้น ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของพืชที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นเพื่อนามาประยุกต์ใช้ทางด้านการเกษตร การตอบสนอง ของพืชต่อสิ่งเรา้ ในรปู แบบตา่ งๆแบบท่ีมีทิศทางสมั พันธ์กบั ทิศทางของสง่ิ เร้าในรูปแบบต่างๆ แบบที่มี ทศิ ทางสัมพนั ธก์ บั ทศิ ทางของสงิ่ เร้าและแบบที่ไมม่ ีทศิ ทางสมั พนั ธก์ ับทิศทางของส่ิงเร้าที่ส่งผลต่อการ เจริญเติบโต ความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์โปรตีนและลักษณะทางพันธุกรรม ดีเอ็นเอ นิ วคลีโอไทด์ หลักการถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศและมัลติเปิลอัล ลนี ตาบอดสแี ละฮโี มฟีเลีย หมูเ่ ลือดระบบABO มิวเทชนั และการนาไปใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีทาง ดีเอ็นเอที่มีต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม การตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอ การใช้ เทคโนโลยีทางดเี อ็นเอในดา้ นตา่ งๆ ชีวจริยธรรม และผลกระทบทางดา้ นสังคม ความหลากหลายของ ส่งิ มีชวี ติ ววิ ฒั นาการ การคัดเลอื กโดยธรรมชาติ ระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์ของสภาพทางภูมิศาสตร์ บนโลก กับความหลากหลายของไบโอมชนิดต่างๆ การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีของระบบนิเวศ การ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบในระบบนิเวศท้ังทางกายภาพและทางชีวภาพท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ขนาดของประชากร ปัญหาผลกระทบทม่ี ตี อ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม เพ่อื ให้เกิดการใช้ประโยชน์ท่ีย่งั ยนื โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ เปรยี บเทียบ อธบิ าย อภิปราย และสรปุ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร์รวมท้ังทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและ การแก้ปัญหา ด้านการสื่อสารสามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 216

รหัสตวั ช้ีวัด ว 1.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4 ว 1.2 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4 ม.4/5, ม.4/6, ม.4/7, ม.4/8 ม.4/9, ม.4/10, ม.4/11, ม.4/12 ว 1. 3 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4 ม.4/5, ม.4/6 รวมทั้งหมด 22 ตัวช้วี ัด หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 217

โครงสร้างรายวชิ า วิชา วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ รหสั วชิ า ว31181 จานวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จานวน 1 หน่วยกติ จานวนเวลาเรยี นท้ังสิ้น 40 ช่ัวโมง : ภาคเรียน สัดสว่ นคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั (ช่วั โมง) คะแนน (100) 1 การลาเลยี ง ว. 1.1 ส่ิงมชี ีวิตทุกชนดิ ล้วนมเี ซลล์เป็น 5 10 สารเขา้ และ ม.4/1 หนว่ ยพนื้ ฐานมีโครงสร้างสาคัญ 3 สว่ น ออกจาก ได้แก่ ส่วนท่หี อ่ ห้มุ เซลลไ์ ซโทพลาซึม เซลล์ และนวิ เคลยี ส เซลล์มกี ารลาเลยี งสารเข้าและออก จากเซลลโ์ ดยอาศยั คุณสมบัติการเป็น เยอ่ื เลือกผ่านของเย่อื หุ้มเซลล์ที่มีลพิ ดิ และโปรตีนเป็นองค์ประกอบ ซ่ึงเซลล์ จะมรี ูปแบบการลาเลียงสารที่แตกต่าง กนั หลายรปู แบบ ทง้ั การแพร่ การแพร่ แบบฟาซิลเิ ทต การลาเลียงสารโดยใช้ พลังงาน และการลาเลียงสารขนาด ใหญ่ (เอนโดไซโทซิสและ เอกโซไซโทซิส) 2 การรกั ษา ว. 1.2 การดารงชวี ิตของมนุษย์ 15 10 ดุลยภาพ ม.4/2 จาเป็นตอ้ งมีการรกั ษาดุลยภาพ ของร่างกาย ม.4/3 ตา่ งๆ ของร่างกาย ทง้ั การรกั ษาดุลย มนษุ ย์ ม.4/4 ภาพของนา้ และแรธ่ าตุในรา่ งกายโดย ม.4/5 อาศัยการทางานของไตในการกรองและ ม.4/6 ดูดกลับสารทม่ี ีประโยชน์ การรกั ษา ม.4/7 ดุลยภาพของกรด-เบสในเลอื ดโดย อาศยั การทางานของไตและปอด การ รกั ษาของอณุ หภมู ิในร่างกายโดยอาศยั การทางานของระบบหมนุ เวยี นเลือด ต่อมเหง่ือ และกลา้ มเน้ือโครงร่าง ร่างกายของมนุษย์มีกลไก ตอบสนองต่อเช้ือโรคและส่ิงแปลก หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 218

ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั การเรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตวั ช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน (100) ปลอมทีเ่ ขา้ สู่ร่างกาย ทง้ั แบบท่ีไม่ จาเพาะ เช่น ผวิ หนงั เย่อื บุผวิ น้าตา นา้ ยอ่ ยต่อมเหง่ือ เซลล์เม็ดเลือดขาว กลุม่ ฟาโกไซต์ เปน็ ต้น และแบบที่ จาเพาะ เช่น เซลล์เมด็ เลือดขาวกลุ่มลมิ โฟไซต์ (เซลล์บแี ละเซลล์ที) เปน็ ตน้ ซง่ึ หากกระบบภมู ิค้มุ กนั เหล่านเ้ี กดิ ความ ผดิ ปกติ อาจทาให้เกิดภาวะพรอ่ ง ภมู ิคมุ้ กัน เชน่ โรคภูมิแพ้ โรคลปู ัส โรคเอดส์ 3 การ ว. 1.2 พืชเปน็ สิ่งมีชีวิตทส่ี ามารถสร้าง 5 10 ดารงชวี ติ ม.4/8 อาหารได้เองผ่านกระบวนการ ของพชื ม.4/9 สงั เคราะหด์ ้วยแสง ซง่ึ มแี สง น้า แกส๊ ม.4/10 คารบ์ อนไดออกไซด์และคลอโรฟลิ ล์ ม.4/11 เปน็ ปัจจัยสาคัญ และจะไดน้ า้ ตาล ม.4/12 กลโู คส และแก๊สออกซิเจนเป็น ผลติ ภณั ฑ์ นอกจากน้นั พืชยงั สามารถ สงั เคราะห์สารกลุ่มอืน่ ๆ เชน่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั อัลคา ลอยด์ สารกลมุ่ ฟนี อลกิ เทอร์พนี อยด์ และสเตยี รอยด์ เปน็ ต้น ซง่ึ มนุษย์ สามารถนามาประยุกตใ์ ช้เป็นยาหรอื สมุนไพรรักษาโรค กาจัดแมลงและ ศตั รูพืช ยับย้งั การเจรญิ เติบโตของ แบคทเี รยี และใชเ้ ป็นวัตถุดิบใน อุตสาหกรรม การเจริญเติบโตของพชื จาเปน็ ต้อง มปี จั จยั ควบคมุ การเจริญเตบิ โต แบง่ ออกเป็นปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย แสง น้าแร่ธาตุ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สออกซิเจน และปจั จัยภายใน คอื ฮอรโ์ มนพืช ประกอบดว้ ย ออกซิน ไซโทไคนนิ หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 219

ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวชี้วัด (ชว่ั โมง) คะแนน (100) จบิ เบอเรลลนิ เอทลี นี กรดแอบไซซกิ ซง่ึ มนุษยส์ ามารถสงั เคราะห์ฮอรโ์ มนพชื เพ่อื นามาใช้ ควบคุมการเจริญเตบิ โต และเพิ่มผลผลติ ของพชื พืชมีการตอบสนองต่อส่งิ เรา้ 2 รูปแบบ คือรปู แบบทีม่ ีทศิ ทางสัมพันธ์ กับส่ิงเร้า เช่น การตอบสนองต่อแสง ส่งิ สัมผสั แรงโนม้ ถว่ งของโลก สารเคมี น้า เปน็ ตน้ และรูปแบบท่ไี ม่มี ทศิ ทางสัมพันธ์กบั สิง่ เร้า ซงึ่ เกิดจากการ เปลยี่ นแปลงปริมาณนา้ และแรงดันเต่ง ภายในเซลล์ 4 พันธุกรรม ว. 1.3 ถา่ ยทอดจากพ่อแม่ไปสลู่ ูกผา่ นเซลล์ 10 10 และ ม.4/1 สบื พันธุ์ ซงึ่ มีการถา่ ยทอดลกั ษณะ ววิ ัฒนาการ ม.4/2 หลายรปู แบบ เชน่ การถ่ายทอด ม.4/3 ลกั ษณะพนั ธกุ รรมทางโครโมโซม ม.4/4 รา่ งกายการถ่ายทอดลกั ษณะพันธุกรรม ทางโครโมโซมเพศ 5 ชวี ิตใน ว. 1.1 โลกประกอบดว้ ยสิ่งมีชีวติ และ 5 10 สิ่งแวดลอ้ ม ม.4/1 สิ่งไมม่ ชี ีวติ ท่ีอาศัยอยูร่ ว่ มกนั สง่ิ มชี วี ิต ม.4/2 แตล่ ะชนิดจะมีความจาเพาะต่อ ม.4/3 สภาพแวดลอ้ มแตกต่างกันจงึ สามารถ ม.4/4 พบสิง่ มีชีวติ ไดห้ ลากหลายและกระจาย อยใู่ นชีวนเิ วศหรือไบโอมท่ีแตกตา่ งกัน ซึ่งแบง่ ออกไดเ้ ป็นหลายเขตตามสภาพ อากาศและปริมาณน้าฝน ทาใหม้ ีไบโอมทีห่ ลากหลาย การเปล่ียนแปลงของระบบนเิ วศ เกดิ ขน้ึ ไดต้ ลอดเวลา ทงั้ ที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติและจากการกระทาของ มนษุ ย์ ซึ่งการเปล่ียน แปลงเหลา่ นี้ เป็นผลจากปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่าง องค์ประกอบทางกายภาพและทาง หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 220

ท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั การเรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด (ช่วั โมง) คะแนน (100) ชีวภาพ และมีผลตอ่ ขนาดประชากร สิ่งมชี วี ิตในระบบนเิ วศ ในปจั จบุ นั มีประชากรมนุษยเ์ พ่มิ มากขนึ้ จึงมคี วามต้องการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติเพ่ิมสงู ขนึ้ ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาต่าง ๆ ตอ่ ทรพั ยากร ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม จึงต้องมี แนวทางปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่อื ใหม้ ีการใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ย่างยัง่ ยืน ตอ่ ไป รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายภาคภาค - 30 รวม 40 100 หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 221

วิชา วิทยาการคานวณ คาอธบิ ายรายวชิ า จานวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ รหสั วชิ า ว31182 จานวน 1 หนว่ ยกิต ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 จานวนเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 40 ชว่ั โมง : ภาคเรยี น ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคานวณ การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหา รูปแบบ แนวคิดเชิงนามธรรม ตัวอย่างและประโยชน์ของแนวคิดเชิงคานวณเพ่ือแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการออกแบบข้ันตอนวิธีสาหรับแก้ปัญหา การ แก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก เงื่อนไขของปัญหา การออกแบบขั้นตอน วิธี การทาซ้า การจัดเรียงและค้นหา ข้อมูล ตัวอย่างการออกแบบขั้นตอนวิธีเพ่ือแก้ปัญหาด้วย คอมพิวเตอร์ และการศึกษาตัวอย่างโครงงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการวางโครงร่าง โครงงานโดยกาหนดปัญหา ศึกษา วางแผน ดาเนินงาน สรุปผลและเผยแพร่ ผู้เรียนเกิดทักษะการ คดิ การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี วางแผนการเรยี นรู้ โดยอาศัย กระบวนการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Base Leaning) เน้น ผูเ้ รยี นลงมอื ปฏิบัติจริง เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การส่ือสาร นาแนวทางการทางานศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง ปลอดภัย ตลอดจน นาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ต่อสังคมอยา่ งมคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมในการใช้ เทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ รหสั ตัวช้ีวดั ว 4.2 ม.4/1 รวมท้ังหมด 1 ตวั ช้วี ดั หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 222

โครงสรา้ งรายวชิ า วชิ า วิทยาการคานวณ รหัสวชิ า ว31182 จานวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 1 หน่วยกติ จานวนเวลาเรยี นท้ังสนิ้ 40 ชว่ั โมง : ภาคเรยี น ชว่ั โมง : ภาคเรียนสัดส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรยี นรู้ เรียนรู/้ ตัวชีว้ ดั (ช่วั โมง) คะแนน (100) 1 แนวคดิ เชิง ว 4.2 ม.4/1 แ น ว คิ ด เ ชิ ง ค า น ว ณ เ ป็ น 30 30 คานวณใน ความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดย การพฒั นา มุ่งเน้นการคิดเชิงตรรกะ หรือเป็นการ โครงงาน แก้ไขปัญหาอย่างเป็นลาดับข้ันตอน และมวี ธิ กี ารแกป้ ัญหาอยา่ งมีระบบ ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ง า น ท า ง ด้ า น เทคโนโลยี มีข้ันตอนเบ้ืองต้น 6 ขั้นตอน ดงั นี้ 1) กาหนดปัญหา 2) วิเคราะห์ระบบ 3) ออกแบบระบบ 4) พฒั นาระบบและทดสอบระบบ 5) ติดต้งั ระบบ 6) บารงุ รักษาระบบ ซึ่งการพัฒนา โครงงานทางด้านเทคโนโลยจี ะตอ้ งนา แนวคิดเชิงคานวณมาประยุกตใ์ ช้ 2 การ ว 4.2 ม.4/1 การประยกุ ตแ์ นวคิดเชงิ คานวณ 10 20 ประยกุ ตใ์ ช้ เพ่อื แก้ปัญหา การแตกปัญหา กาหนด แนวคดิ เชิง แบบแผน หาแนวคดิ เชงิ นามธรรม คานวณเพื่อ ออกแบบลาดบั ข้นั ตอน พฒั นา โครงงาน รวมคะแนนระหว่างเรียน - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายภาคภาค - 30 รวม 40 100 หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 223

วชิ า วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 คาอธบิ ายรายวิชา จานวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ รหัสวชิ า ว32181 จานวน 1 หน่วยกิต ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 จานวนเวลาเรยี นท้ังสนิ้ 40 ชัว่ โมง : ภาคเรียน ศึกษาวิทยาศาสตร์กายภาพ เก่ียวกับสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ ระหวา่ งสมบัติของสสารกบั โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักการเปล่ียนแปลงสถานะ ของสสาร การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ธาตุสารประกอบอะตอมโมเลกุลไอออน แบบจาลองอะตอมของโบว์แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก จานวนโปรตอน นิวตรอนและ อิเล็กตรอนและไอออนท่ีเกิดจากอะตอมเดียว เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียสของธาตุการเป็นไอโซโทป ระบุหมู่คาบของธาตุ ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนทรีฟหรือกลุ่มธาตุแทรนซิชัน สมบัติการนาไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุ ในกลุ่มโลหะกับอโลหะ ประโยชน์และ อันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชันรพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเด่ียว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และจานวนคู่ อิเล็กตรอนระหว่างอะตอมคู่ ร่วมพันธะ จากสูตรโครงสร้างสภาพข้ัว ของสารที่โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม สารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนสูตรโครงสร้างอธิบาย ความสมั พนั ธ์ระหว่างจดุ เดอื ดสารโคเวเลนตก์ ับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกลุ ตามสภาพขั้ว การเกิดพันธะ ไฮโดรเจนเขียนสูตรเคมีของไอออนสารประกอบไอออนิกสารเกิดการละลายแบบแตกตัวไม่แตกตัว สารละลายท่ีได้เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์หรือนอนอิเล็กโทรไลน์ สารประกอบอินทรีย์ประเภท ไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตัวไม่อิ่มตัวจากสูตรโครงสร้างการเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิ เมอร์มอนอเมอร์ชนดิ นั้นความเปน็ กรด-เบสจากโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์สมบัติการละลาย ในตัวทาละลายชนิดต่างๆของสารวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างสมบัติเทอร์มอพลาสติก เทอร์มอเซตพอลเิ มอร์การนาพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์และนาเสนอผลกระทบใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ ท่มี ตี อ่ สิ่งมีชีวิตส่ิงแวดล้อมพร้อมแนวทางการป้องกันแก้ไขระบุสูตรเคมีของสารต้ังต้นผลิตภัณฑ์แปล ความหมายของสญั ลักษณส์ มการเคมปี ฎิกิริยาเคมีความเข้มข้น พื้นท่ีผิว อุณหภูมิและตัวเร่งปฎิกิรยา ที่มีผลต่อการเกิดปฎิกิริยาเคมีท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน อุตสาหกรรมปฎิกิริยารีดอกซ์สมบัติของสารกัมมันตรังสีและคานวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสาร กมั มันตรังสีประโยชน์ของสารกัมมนั ตรังสีและการป้องกนั อันตรายที่เกิดจากกัมมนั ตภาพรังสี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อเขข้าใจ ระบุ บรรยาย ยกตัวอย่าง เพื่อฝึกทักษะการ เปรียบเทยี บ ใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ สังเกต ทดสอบ นาเสนอผล ออกแบบ ตัดสินใจ แก้ปัญหา และ ประเมนิ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ตระหนัก ดูแลรักษา อย่างปลอดภัยและคุ้มค่า เหมาะสมและปลอดภัย อย่างถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยไี ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 224

รหัสตวั ช้ีวดั ว 2.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10, ม.5/11, ม.5/12, ม.5/13, ม.5/14, ม.5/15, ม.5/16, ม.5/17, ม.5/18, ม.5/19 ม.5/20, ม.5/21, ม.5/22, ม.5/23, ม.5/24, ม.5/25 ว 4.1 ม.5/1 รวมทั้งหมด 26 ตัวชว้ี ัด หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 225

โครงสรา้ งรายวชิ า วิชา วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 1 รหัสวชิ า ว32181 จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 1 หนว่ ยกติ จานวนเวลาเรยี นทงั้ สิ้น 40 ชัว่ โมง : ภาคเรียน ช่ัวโมง : ภาคเรียนสัดส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตวั ชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน (100) 1 อากาศ ว 2.1 ม.5/1 • สารเคมที กุ ชนดิ สามารถระบุได้ว่าเปน็ 10 15 ธาตหุ รือสารประกอบ และอยู่ในรูปของ อะตอม โมเลกุล หรือไอออนได้ โดย พจิ ารณาจากสูตรเคมี ว 2.1 ม.5/2 • แบบจาลองอะตอมใช้อธิบายตาแหน่ง ของโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอน ในอะตอม โดยโปรตอนและนิวตรอนอยู่ รวมกันในนิวเคลยี ส ส่วนอิเลก็ ตรอน เคลือ่ นที่รอบนวิ เคลยี ส ซึง่ ใน แบบจาลองอะตอมของโบร์ อิเล็กตรอน เคลอ่ื นท่เี ป็นวง โดยแต่ละวงมีระยะหา่ ง จากนวิ เคลยี สและมีพลงั งานต่างกนั และอเิ ล็กตรอนวงนอกสุด เรียกวา่ เวเลนซ์อเิ ล็กตรอน • แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก แสดงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบ นิวเคลียสในลักษณะกลุ่มหมอก เนอ่ื งจากอเิ ล็กตรอนมีขนาดเลก็ และ เคล่ือนที่อยา่ งรวดเร็วตลอดเวลา จึงไม่ สามารถระบตุ าแหนง่ ท่ีแนน่ อนได้ ว 2.1 ม.5/3 • อะตอมของธาตุเป็นกลางทางไฟฟา้ มี จานวนโปรตอนเทา่ กบั จานวน อเิ ล็กตรอน การระบชุ นดิ ของธาตุ พิจารณาจากจานวนโปรตอน • เม่อื อะตอมของธาตมุ ีการให้หรอื รับ อเิ ลก็ ตรอน ทาให้จานวนโปรตอนและ อิเลก็ ตรอนไม่เทา่ กันเกดิ เปน็ ไอออน หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 226

ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน (100) โดยไอออนที่มีจานวนอเิ ล็กตรอนน้อย กว่าจานวนโปรตอน เรยี กวา่ ไอออน บวก ส่วนไอออนที่มีจานวนอเิ ล็กตรอน มากกว่าโปรตอน เรยี กวา่ ไอออนลบ ว 2.1 ม.5/4 • สัญลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ ประกอบดว้ ย สญั ลกั ษณ์ธาตุ เลขอะตอมและเลขมวล โดยเลขอะตอมเป็นตวั เลขทแี่ สดง จานวนโปรตอนในอะตอม เลขมวลเป็น ตัวเลขท่ีแสดงผลรวมของจานวน โปรตอนกบั นวิ ตรอนในอะตอม ธาตุ ชนดิ เดียวกนั แต่มีเลขมวลตา่ งกนั เรียกวา่ ไอโซโทป ว 2.1 ม.5/5 • ธาตจุ ัดเป็นหมวดหม่ไู ดอ้ ย่างเปน็ ระบบ โดยอาศัยตารางธาตุ ซึ่งใน ปัจจบุ ันจัดเรียงตามเลขอะตอมและ ความคล้ายคลงึ ของสมบัติ แบ่ง ออกเปน็ หมู่ซ่ึงเปน็ แถวในแนวต้งั และ คาบซงึ่ เปน็ แถวในแนวนอน ทาใหธ้ าตุท่ี มีสมบัติเป็นโลหะ อโลหะและกึ่งโลหะ อยู่เปน็ กลมุ่ บริเวณใกล้ ๆ กนั และแบ่ง ธาตุออกเปน็ กลุ่มธาตุเรพรเี ซนเททฟี และกล่มุ ธาตุ แทรนซิชัน ว 2.1 ม.5/6 • ธาตใุ นกลมุ่ โลหะ จะนาไฟฟ้าไดด้ ี และมีแนวโน้มให้อเิ ล็กตรอน สว่ นธาตุ ในกลุ่มอโลหะ จะไมน่ าไฟฟ้า และมี แนวโน้มรบั อิเล็กตรอน โดยธาตุ เรพรเี ซนเททีฟในหมู่ IA - IIA และ ธาตแุ ทรนซชิ นั ทุกธาตุ จดั เปน็ ธาตใุ น กลุ่มโลหะ สว่ นธาตเุ รพรีเซนเททฟี ใน หมู่ IIIA - VIIA มที ้ังธาตุในกลมุ่ โลหะ และอโลหะส่วนธาตุเรพรเี ซนเททฟี ใน หมู่ VIIIA จดั เปน็ ธาตุอโลหะทั้งหมด ว 2.1 ม.5/7 • ธาตุเรพรเี ซนเททีฟและธาตุแทรนซิ หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 227

ท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน (100) ชนั นามาใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั ได้หลากหลาย ซ่ึงธาตุบางชนิดมีสมบัติ ที่เปน็ อันตราย จงึ ต้องคานงึ ถึงการ ปอ้ งกนั อนั ตรายเพื่อความปลอดภยั ใน การใชป้ ระโยชน์ 2 น้า ว 2.1 ม.5/8 • พนั ธะโคเวเลนต์ เปน็ การยึดเหนี่ยว 10 15 ระหวา่ งอะตอมด้วยการใช้เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนรว่ มกนั เกิดเปน็ โมเลกุล โดยการใช้เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนรว่ มกนั 1 ค่เู รยี กว่า พันธะเดย่ี ว เขยี นแทนด้วย เสน้ พันธะ 1 เส้น ในโครงสรา้ งโมเลกุล ส่วนการใชเ้ วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั 2 คู่ และ 3 คู่ เรียกวา่ พนั ธะคู่ และพนั ธะ สาม เขียนแทนดว้ ยเสน้ พนั ธะ 2 เสน้ และ 3 เส้น ตามลาดบั ว 2.1 ม.5/9-11 • สารท่ีมีพนั ธะภายในโมเลกลุ เป็น พันธะโคเวเลนตท์ ้ังหมดเรียกว่า สาร โคเวเลนต์ โดยสารโคเวเลนต์ ท่ี ประกอบดว้ ย ๒ อะตอมของธาตุชนดิ เดียวกัน เปน็ สารไม่มีข้ัว สว่ นสารโคเว เลนต์ ที่ประกอบดว้ ย ๒ อะตอมของ ธาตตุ า่ งชนดิ กัน เปน็ สารมีขว้ั สาหรบั สารโคเวเลนต์ทปี่ ระกอบดว้ ยอะตอม มากกว่า ๒ อะตอม อาจเปน็ สารมขี ั้ว หรือไม่มีข้ัว ขนึ้ อยู่กับรปู ร่างของ โมเลกลุ ซงึ่ สภาพข้วั ของสารโคเวเลนต์ สง่ ผลต่อแรงดงึ ดดู ระหว่างโมเลกุลที่ทา ให้จดุ หลอมเหลวและจดุ เดือดของสาร โคเวเลนต์แตกต่างกัน นอกจากนี้สาร บางชนดิ มจี ุดเดอื ดสูงกวา่ ปกติ เน่ืองจากมีแรงดงึ ดูดระหว่างโมเลกุลสูง ทเี่ รียกว่า พันธะไฮโดรเจนซ่ึงสารเหลา่ น้ี มพี นั ธะ N–H O–H หรอื F–H ภายใน หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 228

ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั การเรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ดั (ช่วั โมง) คะแนน (100) โครงสร้างโมเลกุล ว 2.1 ม.5/12 • สารประกอบไอออนกิ สว่ นใหญ่เกิด จากการรวมตวั กนั ของไอออนบวกของ ธาตุโลหะและไอออนลบของธาตุอโลหะ ในบางกรณีไอออนอาจประกอบด้วย กลุ่มของอะตอม โดยเม่ือไอออนรวมตวั กันเกดิ เปน็ สารประกอบไอออนิกจะมี สัดสว่ นการรวมตวั เพื่อทาใหป้ ระจขุ อง สารประกอบเป็นกลางทางไฟฟา้ โดย ไอออนบวกและไอออนลบจะจัดเรียงตวั สลับตอ่ เนื่องกนั ไปใน ๓ มิติ เกดิ เป็น ผลึกของสารซึ่งสตู รเคมีของ สารประกอบไอออนกิ ประกอบดว้ ย สัญลกั ษณธ์ าตุทีเ่ ปน็ ไอออนบวกตาม ดว้ ยสัญลักษณธ์ าตทุ ่ีเป็นไอออนลบ โดย มีตัวเลขทีแ่ สดงจานวนไอออนแตล่ ะ ชนิดเปน็ อตั ราส่วนอย่างต่า ว 2.1 ม.5/13 • สารจะละลายน้าไดเ้ ม่อื องค์ประกอบ ของสารสามารถเกิดแรงดงึ ดูดกับ โมเลกุลของนา้ ได้โดยการละลายของ สารในน้าเกดิ ได้ ๒ ลักษณะ คือ การ ละลายแบบแตกตัว และการละลาย แบบไม่แตกตัว การละลายแบบแตกตัว เกิดข้ึนกบั สารประกอบไอออนกิ และ สารโคเวเลนตบ์ างชนดิ ที่มสี มบตั เิ ป็น กรดหรอื เบส โดยเมื่อสารเกิดการ ละลายแบบแตกตวั จะไดไ้ อออนที่ สามารถเคลื่อนท่ีได้ ทาให้ไดส้ ารละลาย ท่นี าไฟฟ้าซ่ึงเรียกว่า สารละลายอเิ ล็ก โทรไลต์ การละลายแบบไม่แตกตัวเกิด ข้ึนกับสารโคเวเลนตท์ ี่มีขั้วสงู สามารถ ดงึ ดูดกับโมเลกุลของน้าได้ดี โดยเม่ือ เกิดการละลายโมเลกุลของสารจะไม่ หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 229

ที่ ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรยี นรู้ เรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด (ชว่ั โมง) คะแนน (100) แตกตวั เป็นไอออน และสารละลายทไี่ ด้ จะไม่นาไฟฟ้าซง่ึ เรยี กว่า สารละลาย นอนอเิ ล็กโทรไลต์ 3 อาหาร ว 2.1 ม.5/14 • สารประกอบอินทรียเ์ ปน็ สารประกอบ 10 10 ของคาร์บอนส่วนใหญ่พบในสิ่งมชี ีวิต มี โครงสร้างหลากหลายและแบ่งไดห้ ลาย ประเภท เนอื่ งจากธาตคุ ารบ์ อน สามารถเกดิ พนั ธะกับคาร์บอน ดว้ ยกนั เองและธาตุอ่ืน ๆ นอกจากน้ี พันธะระหว่างคารบ์ อนยงั มีหลาย รูปแบบ ไดแ้ ก่ พนั ธะเด่ียว พันธะคู่ พนั ธะสาม • สารประกอบอินทรยี ท์ ่ีมเี ฉพาะธาตุ คารบ์ อนและไฮโดรเจนเปน็ องค์ประกอบ เรยี กวา่ สารประกอบ ไฮโดรคารบ์ อน โดยสารประกอบ ไฮโดรคารบ์ อนอ่ิมตัวมีพนั ธะระหวา่ ง คาร์บอนเป็นพันธะเดีย่ วทุกพันธะใน โครงสร้าง สว่ นสารประกอบ ไฮโดรคารบ์ อนไมอ่ ่ิมตัวมีพนั ธะระหวา่ ง คาร์บอนเป็นพนั ธะคหู่ รอื พนั ธะสาม อยา่ งน้อย 1 พันธะในโครงสร้าง ว 2.1 ม.5/15 • สารท่ีพบในชีวติ ประจาวนั มีท้งั โมเลกลุ ขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ พอลิ เมอร์เป็นสารท่ีมีโมเลกุล ขนาดใหญท่ ่ี เกิดจากมอนอเมอร์หลายโมเลกุล เชื่อมต่อกนั ด้วยพนั ธะเคมี ทาใหส้ มบตั ิ ทางกายภาพของพอลิเมอรแ์ ตกต่างจาก มอนอเมอรท์ ่ีเปน็ สารตง้ั ต้น ว 2.1 ม.5/16 • สารประกอบอนิ ทรียท์ ่ีมีหมู่ -COOH สามารถแสดงสมบัตคิ วามเป็นกรด สว่ น สารประกอบอินทรีย์ทมี่ หี มู่ -NH2 สามารถแสดงสมบัตคิ วามเปน็ เบส หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 230

ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรียนรู้ เรียนรู/้ ตวั ชว้ี ดั (ชัว่ โมง) คะแนน (100) ว 2.1 ม.5/17 • การละลายของสารพจิ ารณาได้จาก ความมีขัว้ ของตัวละลายและตัวทา ละลาย โดยสารสามารถละลายได้ในตวั ทาละลายที่มีข้ัวใกล้เคียงกนั โดยสารมี ขัว้ ละลายในตวั ทาละลายทมี่ ีข้ัว ส่วน สารไมม่ ีข้วั ละลายในตวั ทาละลายทไ่ี ม่มี ข้วั และสารมขี ้ัวไมล่ ะลายในตัวทา ละลายทไ่ี มม่ ขี ัว้ ว 2.1 ม.5/18 • โครงสร้างของพอลิเมอร์อาจเป็นแบบ เส้น แบบกงิ่ หรอื แบบร่างแห โดยพอลิ เมอร์แบบเสน้ และแบบกง่ิ มีสมบัตเิ ทอร์ มอพลาสตกิ ส่วนพอลิเมอร์แบบร่างแห มีสมบตั ิเทอร์มอเซต ว 2.1 ม.5/19 • การใช้ผลติ ภัณฑ์พอลเิ มอร์ในปริมาณ มากก่อใหเ้ กิดปญั หาที่สง่ ผลกระทบต่อ สงิ่ มีชีวติ และส่ิงแวดลอ้ ม ดงั น้ันจึงควร ตระหนักถึงการลดปริมาณการใช้ การ ใชซ้ า้ และการนากลับมาใชใ้ หม่ 4 พลังงาน ว 2.1 ม.5/20 • ปฏกิ ริ ยิ าเคมีทาให้เกิดการเปลี่ยน แปลงของสาร โดยปฏกิ ิรยิ าเคมีอาจให้ พลงั งานความร้อน พลงั งานแสง หรือ พลังงานไฟฟ้า ทส่ี ามารถนาไปใช้ ประโยชนใ์ นดา้ นต่าง ๆ ได้ • ปฏกิ ิรยิ าเคมีแสดงไดด้ ว้ ยสมการเคมี ซงึ่ มสี ูตรเคมีของสารตั้งต้นอยู่ทางดา้ น ซา้ ยของลกู ศร และสตู รเคมีของ ผลติ ภณั ฑอ์ ย่ทู างดา้ นขวา โดยจานวน อะตอมรวมของแต่ละธาตุทางด้านซ้าย และขวาเท่ากัน นอกจากนส้ี มการเคมี ยังอาจแสดงปัจจยั อ่ืน เชน่ สถานะ พลงั งานทีเ่ กย่ี วข้อง ตัวเรง่ ปฏกิ ริ ิยาเคมี หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 231

ที่ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด (ชวั่ โมง) คะแนน (100) ว 2.1 ม.5/21-22 • อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีขึ้นอย่กู ับ ความเข้มข้น อุณหภูมิ พนื้ ทผ่ี ิว หรอื ตัวเร่งปฏิกริ ยิ า• ความร้เู ก่ียวกับปัจจยั ท่ี มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิต ประจาวัน ว 2.1 ม.5/23 • ปฏกิ ิรยิ าเคมีบางประเภทเกิดจากการ ถ่ายโอนอเิ ล็กตรอนของสารในปฏิกิริยา เคมี ซ่งึ เรียกวา่ ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์ ว 2.1 ม.5/24 • สารทีส่ ามารถแผร่ ังสีไดเ้ รียกวา่ สาร กัมมันตรังสี ซ่งึ มีนวิ เคลยี สทีส่ ลายตวั อยา่ งต่อเน่ือง ระยะเวลาที่สาร กมั มันตรงั สสี ลายตัวจนเหลือคร่ึงหนึ่ง ของปริมาณเดิม เรียกว่า คร่ึงชีวิต โดยสารกมั มนั ตรงั สีแตล่ ะชนิดมคี ่าคร่ึง ชีวติ แตกตา่ งกัน ว 2.1 ม.5/25 • รังสที ่แี ผจ่ ากสารกมั มันตรังสีมหี ลาย ชนดิ เช่น แอลฟา บีตา แกมมา ซึ่ง สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ ได้แตกตา่ ง กนั การนาสารกัมมันตรงั สีแต่ละชนิด มาใช้ ตอ้ งคานึงถึงผลกระทบต่อ ส่งิ มีชีวติ และส่งิ แวดล้อม รวมทงั้ มกี าร จัดการอย่างเหมาะสม รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายภาคภาค - 30 รวม 40 100 หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 232

วิชา วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 คาอธิบายรายวชิ า จานวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รหัสวชิ า ว32182 จานวน 1 หน่วยกิต ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 จานวนเวลาเรียนท้ังสิ้น 40 ชว่ั โมง : ภาคเรยี น ศึกษาหลักการพ้ืนฐานของแรงและการเคลื่อนที่ในเร่ืองระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเรว็ ความเรง การเคลอ่ื นทแี่ นวตรง การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล การเคลื่อนที่แบบวงกลมและ การเคลื่อนท่ีแบบสั่น แรงท่ีกระทาตอวัตถุในสนามโน้มถ่วง และการเคล่ือนที่ของวัตถุในสนาม โน้มถวง แรงที่กระทาต่ออนุภาค ที่มีประจุไฟฟาในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก รวมทั้งแรง นิวเคลียรในนิวเคลียส และการใชประโยชน จากแรงและการเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ศึกษาหลักการ พ้ืนฐานของพลังงานในเรื่ององคประกอบของคล่ืน สมบัติของคล่ืน เสียงและการได้ยิน ความ เขมเสียง การเกิดเสียงสะท้อนกลับ บีต ดอปเพลอร์ และการสั่นพ้องของเสียง มลพิษทางเสียง การ มองเหน็ สขี องวตั ถุ การผสมสารสีและการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็ก ไฟฟา การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หลักการทางานของอุปกรณ์บางชนิด ท่ีอาศัยคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี รังสีในชีวิตประจาวัน ปฏิกิริยานิวเคลียร พลังงานนิวเคลียร และ การใชป้ ระโยชน์ในทางสร้างสรรค ผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการนาเสนอ และแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม ประยุกต์ใช้ความรู้และ ทักษะจากศาสตรต์ า่ งๆ รวมทง้ั ทรพั ยากรในการทาโครงงานเพอ่ื แก้ปัญหาหรือพฒั นางาน โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 การสืบค้นข้อมลู และการอภปิ ราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว 2.2 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10 ว 2.3 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10 ม.5/11, ม.5/12 ว 4.2 ม.5/1 รวมทั้งหมด 23 ตัวช้ีวัด หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 233

โครงสรา้ งรายวิชา วิชา วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 รหัสวชิ า ว32182 จานวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 จานวน 1 หนว่ ยกติ จานวนเวลาเรยี นท้ังสิน้ 40 ชว่ั โมง : ภาคเรยี น ช่ัวโมง : ภาคเรียนสัดสว่ นคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก การเรียนรู้ เรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน (100) 1 การเคลือ่ นท่ี ว2.2 ม.5/1, ม. • การเคลื่อนท่ีของวัตถุที่มีการเปลี่ยน 6 15 และแรง 5/2, ม.5/3, ม. ความเร็วเป็นการเคล่ือนที่ด้วยความเร่ง 5/4, ม.5/5 ความเร่งเป็นอัตราส่วนของความเร็วที่ เ ป ล่ี ย น ไ ป ต่ อ เ ว ล า แ ล ะ เ ป็ น ป ริ ม า ณ เวกเตอร์ ในกรณที ว่ี ัตถุทอ่ี ยู่นิง่ หรอื เคล่ือนท่ีในแนวตรงด้วยความเร็วคงตัว วตั ถุนัน้ มีความเรง่ เปน็ ศูนย์ • วัตถุมีความเร็วเพิ่มขึ้น ถ้าความเร็ว และความเร่งมีทิศเดียวกัน และมี ความเร็วลดลง ถ้าความเร็วและ ความเรง่ มีทิศตรงกันข้าม • เม่ือมแี รงหลายแรงกระทาต่อวัตถุหน่ึง โดยแรงทุกแรงอยู่ในระนาบเดียวกัน สามารถหาแรงลัพธ์ที่กระต่อวัตถุน้ันได้ โดยรวมแบบเวกเตอร์ • เม่อื แรงลัพธ์มีค่าไม่เท่ากับศูนย์กระทา ต่ อ วั ต ถุ จ ะ ท า ใ ห้ วั ต ถุ เ ค ล่ื อ น ที่ ด้ ว ย ความเร่งมีทิศทางเดียวกับแรงลัพธ์โดย ขนาดของความเร่งข้ึนกับขนาดของแรง ลัพธก์ ระทาต่อวตั ถแุ ละมวลของวตั ถุ • แรงกระทาระหว่างวัตถุคู่หน่ึง ๆ เป็น แรงกิริยาและแรงปฏิกริ ยิ า แรงทงั้ สองมี ขนาดเท่ากันเกิดขึ้นพร้อมกัน กระทา กับวัตถุคนละก้อนแต่มีทิศทางตรงข้าม วัตถุที่เคล่ือนที่ด้วยความเร่งคงตัวหรือ ความเร่งไม่คงตัว อาจเป็นการเคล่ือนที่ แนวตรงการเคล่ือนท่ีแนวโค้ง หรือการ หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 234

ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด (ช่วั โมง) คะแนน (100) เคลื่อนที่แบบสั่นการเคล่ือนท่ีแนวตรง ด้วยความเร่งคงตัว นาไปใช้อธิบายการ ตกแบบเสรี การเคลื่อนท่ีแนวโคง้ ดว้ ย ความเร่งคงตัว นาไปใช้อธิบายการ เคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคล่ือนท่ี แนวโค้งด้วยความเร่งมีทิศทางต้ังฉาก กบั ความเร็วตลอดเวลา นาไปใช้อธิบาย การเคล่ือนที่แบบวงกลม การเคล่อื นที่ กลับไปกลบั มาด้วยความเรง่ มีทิศ ทางเขา้ สจู่ ุดท่ีแรงลัพธเ์ ป็นศนู ย์ เรียก จุดนว้ี า่ ตาแหนง่ สมดุลซง่ึ นาไปใช้อธิบาย การเคลื่อนท่ีแบบสนั่ 2 แรงใน ว2.2 ม.5/6, • ในบรเิ วณท่ีมสี นามโน้มถ่วง เมื่อมีวัตถุ 6 15 ธรรมชาติ ม.5/7, ม.5/8, ม. ท่ีมีมวลจะมีแรงโน้มถ่วงซ่ึงเป็นแรง 5/9, ม.5/10 ดึงดูดของโลกกระทาต่อวัตถุ แรงนี้ นาไปใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตา่ ง ๆ เชน่ ดาวเทยี ม และดวงจันทร์ • กระแสไฟฟ้าทาให้เกิดสนามแม่เหล็ก ในบริเวณรอบแนวการเคล่ือนที่ของ กระแสไฟฟ้า หาทิศทางของ สนามแม่เหล็กเนื่องจากกระแสไฟฟ้าได้ จากกฎมือขวา • ในบริเวณท่ีมีสนามแม่เหล็ก เม่ือมี อนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าเคล่ือนท่ีโดยไม่ อย่ใู นแนวเดียวกับสนามแมเ่ หล็ก หรือมี ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ผ่ า น ล ว ด ตั ว น า โ ด ย ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ไ ม่ อ ยู่ ใ น แ น ว เ ดี ย ว กั บ สนามแม่เหล็ก จะมีแรงแม่เหล็กกระทา ซึง่ เปน็ พน้ื ฐานในการสร้างมอเตอร์ • เมื่อมีสนามแม่เหล็กเปลี่ยนแปลงตัด ขดลวดตวั นาทาให้เกิดอีเอ็มเอฟ ซ่ึงเป็น พืน้ ฐานในการสรา้ งเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้ • ภายในนวิ เคลยี สมแี รงเขม้ ที่เปน็ แรง หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 235

ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรยี นรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน (100) ยดึ เหนีย่ วของอนุภาคในนิวเคลยี ส และ เปน็ แรงหลกั ทใ่ี ช้อธิบายเสถยี รภาพของ นิวเคลียส นอกจากนี้ยังมีแรงออ่ น ซง่ึ เป็นแรงท่ใี ชอ้ ธิบายการสลายใหอ้ นภุ าค บีตาของธาตุกัมมันตรังสี 3 พลงั งาน ว2.3 ม.5/1, • พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากฟิช 5 15 ม.5/2 ชัน หรือฟิวชันเรียกว่า พลังงาน นิวเคลียร์ โดยฟิชชันเป็นปฏิกิริยาท่ี นิวเคลียสท่ีมีมวลมากแตกออกเป็น นิวเคลียสท่ีมีมวลน้อยกว่า ส่วนฟิวชัน เป็นปฏิกิริยาที่นิวเคลียสท่ีมีมวลน้อย รวมตัวกันเกิดเป็นนวิ เคลยี สท่ีมีมวลมาก ขึ้น พลังงานนิวเคลียร์ท่ีปลดปล่อย ออกมาจากฟิชชันและฟิวชัน มีค่า เป็นไปตามความสัมพันธ์ระหว่างมวล กบั พลังงาน • การนาพลังงานทดแทนมาใช้เป็นการ แก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ ด้านพลังงาน เช่นการเปล่ียนพลังงาน นิวเคลียร์เปน็ พลังงานไฟฟ้าในโรงไฟฟ้า นวิ เคลียร์ และการเปล่ียนพลงั งาน แสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยเซลล์ สุรยิ ะ • เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่นามาแก้ปัญหา หรือตอบสนองความต้องการทางด้าน พลังงานเป็นการนาความรู้ทักษะและ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาสร้าง อุปกรณ์หรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ท่ีช่วยให้ การใชพ้ ลงั งานมีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน 4 ปรากฏ ว2.3 ม.5/3, • เม่อื คลนื่ เคลือ่ นทไ่ี ปพบสิ่งกีดขวาง จะ 6 15 การณ์ของ ม.5/4, ม.5/5 เกิดการสะท้อน เม่ือคลื่นเคล่ือนท่ีผ่าน คล่ืนกล รอยต่อระหว่างตัวกลางที่ต่างกัน จะ เกิดการหักเห เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบ หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 236

ท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั การเรียนรู้ เรียนรู้/ตวั ช้วี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน (100) ขอบสงิ่ กดี ขวางจะเกิดการเล้ียวเบนเมื่อ คลืน่ สองขบวนมาพบกันจะเกิดการรวม คลื่นเกิดรูปร่างของคล่ืนรวม หลังจาก คล่ืนทั้งสองเคล่ือนที่ผ่านพ้นกันแล้วจะ แยกกัน โดยแต่ละคล่ืนยังคงมีรูปร่าง และทศิ ทางเดิม • เม่อื กระตนุ้ ให้วัตถุสั่นแล้วหยุดกระตุ้น วัตถุจะส่ันด้วยความถ่ีที่เรียกว่า ความถ่ี ธรรมชาติ ถ้ามีแรงกระตุ้นวัตถุที่กาลัง สั่นด้วยความถ่ีของการออกแรงตรงกับ ความถี่ธรรมชาติของวัตถุนั้น จะทาให้วัตถุส่ันด้วยแอมพลิจูดมากขึ้น เรียกว่าการส่ันพ้อง เช่น การส่ันพ้อง ของอาคารสูงการส่ันพ้องของสะพาน การสั่นพ้องของเสียงในเคร่ืองดนตรี ประเภทเปา่ • เสยี งมกี ารสะท้อน การหกั เห การ เล้ียวเบนและการรวมคลน่ื เช่นเดยี วกับ คลื่นอน่ื ๆ 5 เสยี ง ว2.3 • ความถ่ีของคล่ืนเสียงเป็นปริมาณที่ใช้ 6 15 ม.5/6, ม.5/7, ม. บอกเสียงสูงเสียงต่า โดยความถี่ท่ีคนได้ 5/8 ยินมีคา่ อยรู่ ะหว่าง20 – 20,000 เฮิรตซ์ ระดับเสียงเป็นปริมาณท่ีใช้บอกความ ดังของเสียงซึ่งขึ้นกับความเข้มเสียงโดย ความเขม้ เสียงเป็นพลังงานเสียงที่ตกต้ัง ฉากบนพื้นท่ีหนึ่งหน่วยในหน่ึงหน่วย เวลา เสียงที่มีความดังมากเกินไปเป็น อนั ตรายต่อหู • เมื่อเสียงจากแหล่งกาเนิดเดินทางไป กระทบวัตถุแล้วสะท้อนกลับมายังผู้ฟัง ถ้ า ผู้ ฟั ง ไ ด้ ยิ น เ สี ย ง ที่ อ อ ก จ า ก แหล่งกาเนิดและเสียงท่ีสะท้อนกลับมา แยกจากกัน เสียงท่ีได้ยินน้ีเป็นเสียง หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 237

ที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน (100) สะท้อนกลับ เม่ือคลื่นเสียงสองขบวนท่ี มีความถี่ใกล้เคียงกันมารวมกันจะเกิด บีตเมื่อแหล่งกาเนิดเสียงเคลื่อนที่ ผู้ฟัง เคลื่อนท่ี หรือทั้งแหล่งกาเนิดและผู้ฟัง เคล่ือนท่ี ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถ่ี เปลี่ยนไป เรียกว่า ปรากฏการณ์ดอป เพลอร์ • ถ้าอากาศในท่อถูกกระตุ้นด้วยคลื่น เสียงท่ีมีความถ่ีเท่ากับความถ่ีธรรมชาติ ของอากาศในท่อน้ันจะเกิดการส่ันพ้อง ของเสียง ความรู้เกี่ยวกับเสียงนาไปใช้ ประโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น คล่ืนเหนอื เสียงหรอื อลั ตราซาวนด์ ใชใ้ นทางการแพทย์ บีตของเสียงในการ ปรบั เทียบเสยี งของเครื่องดนตรี การส่ัน พ้องของเสียงใช้ในการออกแบบเครื่อง ดนตรีและอธิบายการ 6 แสงสี ว2.3 ม.5/9 • เม่ือแสงตกกระทบวัตถุ วัตถุจะ 6 15 ม.5/10 ดูดกลืนแสงสีบางสีโดยขึ้นกับสารสีบน ผิววัตถุ และสะท้อนแสงสีที่เหลือ ออกมา ทาให้มองเห็นวัตถุเป็นสีต่าง ๆ ข้ึนกับแสงสีที่สะท้อนออกมา ความ ผิดปกติในการมองเห็นสีหรือการบอดสี เกิดจากความบกพร่องของเซลล์รูป กรวยบนจอตา • แผ่นกรองแสงสียอมให้แสงสีบางสี ผ่านออกไปได้และก้นั บางแสงสี • การผสมแสงสีทาให้ได้แสงสีที่ หลากหลายเปล่ียนไปจากเดิม ถ้านา แสงสีปฐมภูมิในสัดส่วนท่ีเหมาะสมมา ผสมกันจะได้แสงขาว • การผสมสารสีทาให้ได้สารสีที่ หลากหลายเปล่ียนไปจากเดิม ถ้านา หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 238

ที่ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก การเรยี นรู้ เรียนร้/ู ตัวชว้ี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน (100) สารสปี ฐมภูมใิ นปรมิ าณทีเ่ ทา่ กนั มาผสม กนั จะได้สารสผี สมเป็นสดี า • การผสมแสงสีและการผสมสารสี สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เชน่ ด้านศลิ ปะ ด้านการแสดง 7 คลนื่ ว2.3 • คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วย 5 10 แม่เหลก็ ไฟ ม.5/11, ส น า ม แ ม่ เ ห ล็ ก แ ล ะ ส น า ม ไ ฟ ฟ้ า ที่ ฟ้า ม.5/12 เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาโดยสนามทั้ง สองมีทิศทางตั้งฉากกัน และต้ังฉากกับ ทิศทางการเคลื่อนท่ขี องคลน่ื • อุปกรณ์บางชนิดทางานโดยอาศัย คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ เช่น เครื่องควบคุมระยะไกล เคร่ือง ถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และ เครอ่ื งถา่ ยภาพการสั่นพอ้ งแมเ่ หล็ก • ในการส่ือสารโดยอาศัยคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้าเพ่ือส่งผ่านสารสนเทศ จากที่หน่ึงไปอีกท่ีหน่ึงสารสนเทศจะถูก แปลงให้อยู่ในรูปสัญญาณสาหรับส่งไป ยังปลายทางซ่งึ จะมีการแปลง สั ญ ญ า ณ ก ลั บ ม า เ ป็ น ส า ร ส น เ ท ศ ท่ี เหมือนเดิม • สัญญาณท่ีใช้ในการส่ือสารมีสองชนิด คือแอนะล็อกและดิจิทัล การส่งผ่าน สารสนเทศด้วยสัญญาณดิจิทัลสามารถ ส่งผ่านได้โดยมีความผิดพลาดน้อยกว่า สัญญาณแอนะลอ็ ก รวมคะแนนระหว่างเรียน - 50 สอบกลางภาค - 20 สอบปลายภาคภาค - 30 รวม 40 100 หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 239

วิชา ออกแบบและเทคโนโลยี คาอธบิ ายรายวิชา จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ รหสั วชิ า ว33182 จานวน 1 หน่วยกิต ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 จานวนเวลาเรยี นทง้ั ส้นิ 40 ช่วั โมง : ภาคเรียน ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีที่ เกิดข้ึนและความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ออกแบบ สร้าง หรือพัฒนาผลงานสาหรับ แก้ปัญหาท่ี คานึงถึงผลกระทบต่อสังคมในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพการบริการ โดยใช้ กระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรมซึ่งใช้ความรู้ ทักษะ และเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย คานึงถึงทรัพย์สินทาง ปัญญา ใช้ซอฟตแ์ วรช์ ว่ ยในการ ออกแบบและนาเสนอผลงาน ฝกึ ปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น กระบวนการทางภาษา กระบวนการ ออกแบบ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด มสี มาธิในการทางาน มที ักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีในการ ทางาน มนี ิสยั รักการทางาน รักการค้นควา้ มคี วามรบั ผิดชอบ ขยัน อดทน ทางานเป็นระบบ มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีในการทางาน เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจบทบาทและความสาคัญ ของเทคโนโลยี เพ่ือให้เกิดเจตคติท่ีดีและสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในทางสร้างสรรค์ได้ และใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั รหัสตัวช้ีวัด ว 4.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5 รวมทั้งหมด 5 ตวั ชวี้ ดั หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 240

โครงสร้างรายวิชา วชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว33182 จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 จานวน 1 หน่วยกติ จานวนเวลาเรยี นทง้ั สิน้ 40 ชัว่ โมง : ภาคเรยี น ช่วั โมง : ภาคเรยี นสดั ส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวช้ีวัด (ชัว่ โมง) คะแนน (100) 1 อธบิ าย ว 4.1 ม.4/1-5 วิเคราะห์สาเหตุ หรอื ปจั จัยทสี่ ง่ ผล 6 10 กระบวน ต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และ การ วามสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยีกบั ศาสตร์ เทคโนโลยี อื่นโดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ เพือ่ เปน็ แนวทางการ แก้ปัญหาหรือพฒั นางาน 2 วิเคราะห์ ว 4.1 ม.4/1-5 ระบปุ ัญหาหรือความต้องการของ 6 10 ข้อมลู ชุมชนหรือท้องถิน่ เพ่ือพัฒนางานอาชีพ เบื้องต้น(1) สรปุ กรอบของปญั หา รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและแนวคิดท่เี กี่ยวข้อง กับปญั หา โดยคานงึ ถึงความถูกตอ้ ง ด้านทรัพยส์ นิ ทางปัญญา 3 วเิ คราะห์ ว 4.1 ม.4/1-5 ออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หาโดย 6 10 ข้อมลู วิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บ และตัดสนิ ใจ เบอื้ งตน้ (2) เลอื กข้อมูลท่ีจาเปน็ ภายใต้เงื่อนไขและ ทรพั ยากรท่มี ีอยู่ นาเสนอแนวทางการ แกป้ ัญหาใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจด้วยเทคนคิ หรอื วิธีการท่หี ลากหลายวางแผนขั้นตอน การทางานและดาเนินการแก้ปญั หา อย่างเป็นขนั้ ตอน 4 ออกแบบ ว 4.1 ม.4/1-5 ทดสอบ ประเมนิ ผล วิเคราะหแ์ ละ 8 10 โปรแกรม ให้เหตผุ ลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่ เบ้อื งตน้ เกดิ ข้ึนภายใต้กรอบเงอ่ื นไข พร้อมท้งั หาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไขและ นาเสนอผลการแกป้ ัญหา หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 241

ท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั การเรยี นรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัด (ช่ัวโมง) คะแนน (100) 5 เขียน ว 4.1 ม.4/1-5 ใชค้ วามรู้และทักษะเกย่ี วกับวัสดุ 14 โปรแกรม อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ กลไกไฟฟ้าและ 10 เบ้อื งต้น อิเล็กทรอนกิ ส์ให้ถกู ต้องกับลักษณะ ของงานและปลอดภัย เพื่อแก้ปัญหา หรอื พัฒนางาน - 50 - 20 รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น - 30 40 100 สอบกลางภาค สอบปลายภาคภาค รวม หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 242

วชิ า วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ คาอธบิ ายรายวิชา จานวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รหัสวชิ า ว33181 จานวน 1 หน่วยกติ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 จานวนเวลาเรยี นทง้ั ส้ิน 40 ชั่วโมง : ภาคเรียน ศึกษาการกาเนดิ และการเปล่ยี นแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อณุ หภมู ขิ องเอกภพหลงั เกดิ บิกแบง หลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกิดดาวฤกษ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่าง ความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับ โชติมาตร ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการท่ีสัมพันธ์กับ มวลตั้งต้นของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะ ของดาวเคราะห์ท่ีเอื้อต่อการดารงชีวิต โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ การ สารวจอากาศโดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคล่ืนต่าง ๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานี อวกาศ การนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอวกาศมาประยุกต์ใช้ การแบ่งช้ันและสมบัติของโครงสร้าง โลก หลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนับสนุนการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี สาเหตุกระบวนการเกิด พื้นที่เสี่ยงภัยภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสีนามิ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการได้รับพลังงานจากดวง อาทิตย์ การหมุนเวียนอากาศ การหมุนเวียนของน้าผิวหน้าในมหาสมุทร ปัจจัยที่มีผลต่อการ เปล่ียนแปลงภูมิอากาศของโลก แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศจากแผนที่อากาศ และนา ข้อมูลสารสนเทศตา่ ง ๆ มาวางแผนในการดาเนนิ ชีวิต โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ สงั เกต การวเิ คราะห์ การอภปิ ราย การอธิบายและการสรุปผล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ี ถูกตอ้ ง รหสั ตวั ชว้ี ดั ว 3.1 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6, ม.6/7, ม.6/8, ม.6/9,ม.6/10, ว 3.2 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6, ม.6/7, ม.6/8, ม.6/9, ม.6/10, ม.6/11, ม.6/12, ม.6/13, ม.6/14 รวมทั้งหมด 24 ตัวช้วี ัด หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 243

โครงสรา้ งรายวชิ า วิชา วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ รหสั วชิ า ว33181 จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 จานวน 1 หนว่ ยกติ จานวนเวลาเรียนทงั้ สิ้น 40 ช่วั โมง : ภาคเรยี น ชว่ั โมง : ภาคเรยี นสัดส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรยี นรู้ เรียนร้/ู ตวั ชี้วดั (ชวั่ โมง) คะแนน (100) 1. เอกภพ ว 3.1 ทฤษฎกี าเนิดเอกภพทีย่ อมรบั ใน 20 ม.6/1 ปัจจุบนั คอื ทฤษฎี บกิ แบง ระบุว่าเอก 30 ม.6/2 ภพเริม่ ตน้ จากบิกแบงทีเ่ อกภพมขี นาด ม.6/3 เล็กมากและมีอุณหภมู ิสูงมาก หลงั เกิด ม.6/4 บกิ แบง เอกภพเกดิ การขยายตวั อยา่ ง ม.6/5 รวดเร็ว มีอณุ หภูมิลดลง มีสสารคงอยู่ ม.6/6 ในรูปอนภุ าคและปฏิยานภุ าคหลาย ม.6/7 ชนดิ และมีววิ ฒั นาการต่อเนื่องจนถงึ ม.6/8 ปจั จบุ ัน โดยหลักฐานสาคัญท่ีสนับสนนุ ม.6/9 ทฤษฎีบกิ แบง คือ การขยายตัวของเอก ม.6/10 ภพซงึ่ อธิบายด้วยกฎฮับเบิลและการ ค้นพบไมโครเวฟพนื้ หลงั ท่ีกระจาย ตวั อย่างสมา่ เสมอทุกทศิ ทางและ สอดคล้องกบั อณุ หภมู ิเฉลี่ยของอวกาศ ท่ีมคี ่าประมาณ 2.73 เคลวิน กาแล็กซี (galaxy) ประกอบด้วย ดาวฤกษ์จานวนหลายแสนลา้ นดวง ภายในกาแลก็ ซียังประกอบด้วย เนบิวลา บรวิ ารของดาวฤกษ์ สสาร ระหว่างดาว โดยโลกเปน็ สว่ นหนง่ึ ของ ระบบสุริยะซึง่ เป็นส่วนหนง่ึ ของ กาแล็กซีทช่ี อ่ื วา่ กาแล็กซีทางช้างเผือก ซง่ึ เป็นกาแล็กซกี ังหนั แบบมีคาน มี โครงสร้างประกอบด้วยนวิ เคลียส จาน และฮาโล ความส่องสวา่ งของดาวฤกษ์ (brightness) เปน็ พลังงานจากดาวฤกษ์ หลักสูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 244

ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั (ชว่ั โมง) คะแนน (100) ทป่ี ลดปล่อยออกมาในเวลา 1 วนิ าทตี ่อ หนว่ ยพนื้ ท่ี ณ ตาแหนง่ ของผู้สงั เกต มนษุ ยจ์ ะสงั เกตเหน็ ดาวฤกษ์แต่ละดวง มคี วามสวา่ งค่อนข้างคงท่ี เนื่องจากตา ของมนษุ ย์ไมต่ อบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงความสอ่ งสวา่ งที่มีการ เปลี่ยนแปลงนอ้ ย ๆ จงึ กาหนดคา่ การ เปรียบเทียบความส่องสวา่ งของดาว ฤกษ์ท่ีเรียกวา่ อันดับความสว่าง หรือ โชตมิ าตร (magnitude) ซึ่งเปน็ คา่ ที่ แสดงระดับความสอ่ งสวา่ งของดาวฤกษ์ ณ ตาแหนง่ ของผ้สู ังเกต ถ้าสังเกตดาวฤกษ์แต่ละดวงบน ทอ้ งฟา้ จะพบวา่ ดาวฤกษ์แต่ละดวงมสี ี แตกต่างกนั เน่ืองจากดาวฤกษ์แต่ละ ดวงมอี ตั ราการผลติ พลงั งานที่แตกต่าง กัน สีของดาวฤกษ์สัมพันธ์กบั อุณหภูมิ ผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์เกดิ จากการรวมตัวกัน ของกลุม่ สสารในเนบวิ ลา ในแตล่ ะชว่ ง วิวฒั นาการของดาวฤกษ์จะมีการ เปลยี่ นแปลงมวล ขนาด สี สเปกตรมั และอุณหภมู ิ ซง่ึ ขน้ึ อยู่กบั มวลตัง้ ต้น มวลของดาวฤกษเ์ ปน็ ตัวกาหนดอายุ ของดาวฤกษ์ และกาหนดจุดจบของ ดาวฤกษ์แตล่ ะดวง โดยดาวฤกษ์มวล น้อยจะมจี ุดจบเปน็ ดาวแคระขาว สว่ น ดาวฤกษ์มวลมากจะมีจุดจบด้วยการ ระเบิดอย่างรนุ แรงที่เรียกว่า ซเู ปอร์โน วา และเกดิ การยบุ ตัวลงกลายเปน็ ดาว นิวตรอนหรอื หลมุ ดา ระบบสรุ ยิ ะ (solar system) เป็น ระบบท่ปี ระกอบด้วยดวงอาทิตยเ์ ป็น หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 245

ท่ี ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั การเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด (ชวั่ โมง) คะแนน (100) ศนู ย์กลางของระบบ และมีดาวเคราะห์ รวมทง้ั บริวารโคจรอยรู่ อบ ๆ โดยดาว เคราะหบ์ างดวงมดี วงจันทรเ์ ป็นบริวาร โคจรลอ้ มรอบระบบสุรยิ ะเกิดจากการ ยุบตัวของแก๊สและฝนุ่ ในเนบิวลาสรุ ยิ ะ ดว้ ยแรงโน้มถว่ ง โดยมวลร้อยละ 99.8 ของเนบวิ ลาสรุ ิยะกลายเปน็ ดวงอาทิตย์ มวลท่เี หลือกลายเปน็ บริวารของดวง อาทิตย์ ซ่ึงแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ดาว เคราะหช์ นั้ ใน ดาวเคราะหน์ ้อย ดาว เคราะห์ช้ันนอก และดาวหาง ดวงอาทิตย์มีแรงโนม้ ถ่วงทาให้ดาว เคราะห์และบริวารโคจรโดยรอบ โครงสรา้ งภายในของดวงอาทิตย์ แบง่ เปน็ แก่นของดวงอาทิตย์ เขตการ แผร่ ังสี และเขตการพาความร้อน มชี ัน้ บรรยากาศอยู่เหนือเขตพาความร้อน แบง่ เปน็ 3 ชนั้ คือ ชน้ั โฟโตสเฟยี ร์ ชน้ั โครโมสเฟยี ร์ และคอโรนา ลมสรุ ิยะเกิดจากการปลดปล่อยอนุภาค ทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าพลงั งานสูงจากช้นั คอโรนา และพายลุ มสุรยิ ะเกิดจากการ ปลดปลอ่ ยอนภุ าคทีม่ ปี ระจุไฟฟา้ พลังงานสูงจานวนมหาศาล มักเกดิ บอ่ ยครง้ั ในช่วงที่มกี ารลุกจา้ และ ในชว่ งทีจ่ ุดมดื บนดวงอาทิตย์มจี านวน มาก มนษุ ย์ใช้เทคโนโลยอี วกาศใน การศกึ ษา เพ่ือขยายขอบเขตความรู้ ด้านวทิ ยาศาสตร์ และในขณะเดยี วกนั มนุษย์ได้นาเทคโนโลยอี วกาศมาใช้ ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ เช่น ด้านวัสดุ ศาสตร์ ด้านอาหาร ดา้ นการแพทย์ มนษุ ย์ไดส้ รา้ งกลอ้ งโทรทรรศนท์ ่ีใช้ หลักสูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 246

ที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรียนรู้ เรยี นร้/ู ตัวชีว้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน ศึกษาวตั ถุท้องฟ้าในช่วงความยาวคลน่ื (100) 2. กระบวน ว 3.2 ตา่ ง ๆ และยังต้องใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ 10 การเปลี่ยน ม.6/1 หลายอยา่ งรว่ มดว้ ย เช่น ดาวเทยี ม 10 แปลงภายใน ม.6/2 สถานีอวกาศ ยานอวกาศ และระบบ โลก ม.6/3 ขนส่งอวกาศ ม.6/4 ม.6/5 โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบ ม.6/6 ทางเคมี แบง่ ออกเป็น 3 ช้นั ได้แก่ เปลอื กโลก เน้อื โลก และแก่นโลก โดย พจิ ารณาจากองคป์ ระกอบทางเคมีท่ี แตกตา่ งกันของแต่ละช้ัน โครงสร้างโลกตามสมบัตเิ ชิงกล แบง่ ออกเป็น 5 ชั้น ได้แก่ ธรณภี าค ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค แก่นโลก ชน้ั นอก และแก่นโลกชน้ั ใน ทฤษฎที วปี เลื่อน อธบิ ายวา่ เมอ่ื ประมาณ 225 ล้านปีก่อน ทวีปใน ปัจจบุ ันอยตู่ ดิ กันเป็นแผน่ ดินเดียว เรียกวา่ พนั เจีย ต่อมาพันเจยี เร่มิ แยก ออกจากกนั เป็นสองทวปี ขนาดใหญ่ คอื ลอเรเซยี และกอนดว์ านา และทัง้ สอง ทวปี มกี ารแยกตัวออกจากกนั ช้า ๆ จน มีลกั ษณะดังเชน่ ปัจจบุ ัน โดยทฤษฎที วปี เล่อื นมีหลักฐานทาง ธรณวี ทิ ยาท่สี นบั สนนุ แนวคดิ ไดแ้ ก่ การพบซากดึกดาบรรพ์ชนิดเดียวกนั ใน ทวีปท่ีอยหู่ ่างกนั รอยต่อของทวีปตา่ ง ๆ พบกลุม่ หินชนดิ เดยี วกันในทวีปทอ่ี ยู่ ห่างกนั และร่องรอยธารน้าแข็งบรรพ กาล ทฤษฎีการแผข่ ยายพน้ื สมุทร อธบิ ายว่า พืน้ มหาสมุทรแผข่ ยาย ออกไปจากแนวสนั เขากลางสมทุ ร เนอื่ งจากการแทรกดนั ของแมกมา หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 247


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook