Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรวิทยาศาตร์เเละเทคโนโลยี-64

หลักสูตรวิทยาศาตร์เเละเทคโนโลยี-64

Published by Aornanong Cks, 2021-08-10 03:24:35

Description: หลักสูตรวิทยาศาตร์เเละเทคโนโลยี-64

Keywords: หลักสูตรวิทยาศาตร์เเละเทคโนโลยี-64

Search

Read the Text Version

คำนำ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฉบับน้ี ซ่ึงเป็นเอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนเชียงคาน พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เพอื่ เปน็ เปา้ หมายในการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือเป็นกรอบ และทิศทางในการจัดการเรียนการสอน ให้ตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ ของกลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยพิจารณาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) หลักสูตรโรงเรียนเชียงคาน 2564 กลุ่มสาระ การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึง่ มอี งคป์ ระกอบดังน้ี - วิสัยทศั น์ - สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น - คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - ทาไมต้องเรยี นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี - เรยี นรูอ้ ะไรในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - คณุ ภาพผเู้ รยี น - ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง - รายวชิ าท่ีเปดิ สอน - คาอธบิ ายรายวชิ าและโครงสรา้ งรายวชิ าพ้นื ฐาน - คาอธิบายรายวิชาและโครงสรา้ งรายวิชาเพม่ิ เตมิ - การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ คณะผ้จู ดั ทาขอขอบคุณผ้ทู ม่ี ีส่วนรว่ มในการพฒั นาและจดั ทาหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีฉบบั น้ี จนสาเรจ็ ลุล่วงเปน็ อย่างดี และหวงั เปน็ อย่างยิ่งว่าจะเกดิ ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนร้ใู ห้กบั ผเู้ รยี นตอ่ ไป กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผู้จัดทา หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564

สารบญั หน้า ก คานา ข สารบัญ 1 วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 1 สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น 2 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 3 ทาไมต้องเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 เรยี นรูอ้ ะไรในวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4 ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 8 คุณภาพผู้เรยี น 18 ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 97 ผลการเรียนรู้รายวชิ าเพิ่มเตมิ 123 รายวิชาที่เปดิ สอน 126 คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐานและโครงสรา้ งรายวชิ าพ้นื ฐานระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 179 คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมและโครงสร้างรายวชิ าเพม่ิ เติมระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น 216 คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐานและโครงสร้างรายวชิ าพื้นฐานระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 252 คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติมและโครงสร้างรายวิชาเพ่มิ เติมระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย 414 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ภาคผนวก 433 437 อภิธานศพั ท์ คณะผ้จู ดั ทา หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564

วิสัยทัศน์กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาศักยภาพผ้เู รียนในการเรียนรู้ โดย ใช้การสืบเสาะหาความรู้ผ่านกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา รวมทั้งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีเหมาะสมต่อวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มุง่ พฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ ซ่ึงการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดนั้น จะช่วยให้ผู้เรียนเกิด สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ ใช้ภาษาถา่ ยทอดความคดิ ความร้คู วามเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจา ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก เหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธกี ารสือ่ สารท่ีมปี ระสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ี มตี อ่ ตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพอ่ื การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพนั ธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา ใชใ้ นการปูองกันและแกไ้ ขปัญหา และมกี ารตดั สนิ ใจที่มปี ระสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ตอ่ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ ขดั แย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสมการปรับตัวใหท้ ันกบั การเปลยี่ นแปลงของสังคมและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก หลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ี่สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้าน ตา่ งๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การ สอื่ สาร การทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรคถ์ ูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 1

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพล โลกตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ดังน้ี 1. รักชาตศิ าสน์กษัตริย์ หมายถึง มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย นิยมไทย ปฏิบัติตาม คาส่ังสอนของศาสนาเคารพเทิดทูนศาสนา แสดงความจงรักภักดีเทิดทูนพระเกียรติและพระราช กรณยี กจิ ของพระมหากษตั ริย์ 2. ซ่ือสัตย์สุจริต หมายถึง การประพฤติปฏิบัติอย่างเหมาะสม และตรงต่อความเป็นจริง ประพฤติปฏิบัติอย่างตรงไปตรงมา ท้ังกาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผู้อ่ืนรวมตลอดทั้งต่อหน้าท่ีการ งานและคามั่นสัญญา ความประพฤติที่ตรงไปตรงมาและจริงใจในสิ่งท่ีถูกที่ควร ถูกต้องตามทานอง คลองธรรม รวมไปถงึ การไม่คดิ คดทรยศ ไมค่ ดโกงและไมห่ ลอกลวงนอกจากนี้แลว้ ความซื่อสัตย์สุจริต ยังรวมไปถึงการรักษาคาพูดหรือคามั่นสัญญาและการปฏิบัติหน้าท่ีการงานของตนเองด้วยความ รับผดิ ชอบและ ด้วยความซือ่ สตั ย์ไม่แสวงหาผลประโยชน์ใหแ้ ก่ตนเองและพวกพ้องด้วยการใช้อานาจ หน้าท่ีโดยมิชอบ ซ่ึงความซื่อสัตย์สุจริตนี้จะดาเนินไปด้วยความตั้งใจจริงเพื่อทาหน้าที่ของตนเองให้ สาเร็จลลุ ว่ งดว้ ยความระมดั ระวังและเกดิ ผลดีต่อตนเองและสังคม 3. มีวินัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติให้ถูกต้องและเหมาะสมกับจรรยามารยาท ข้อบังคับข้อตกลง กฎหมายและศีลธรรมการรู้จักควบคุมตนเองให้ประพฤติปฏิบัติตามข้อตกลง ข้อบังคับ ระเบียบแบบแผน และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามย่อมนามาซึ่งความสงบสุขในชีวิต ของตนความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคมและประเทศชาติ 4. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง การค้นคว้าหาความรู้หรือส่ิงท่ีเป็นประโยชน์เพ่ือพัฒนาตนเองอยู่ เสมอ 5. อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง การมีความพอดีในการบริโภค ใช้ทรัพยากรและเวลาว่างให้ เป็นประโยชน์คานึงถึงฐานะและเศรษฐกิจ คิดก่อนใช้จ่ายตามความเหมาะสมรู้จักการเพิ่มพูนทรัพย์ ด้วยการเก็บและนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ดูแลรักษาบูรณทรัพย์ของตนเอง มีการเก็บออมเงินไว้ตาม สมควร 6. มุ่งม่ันในการทางาน หมายถึง การศึกษาเรียนรู้เพ่ือหาข้อเท็จจริง ซ่ึงอาจพัฒนาไปสู่ ความจริงในส่ิงท่ีต้องการเรียนรู้หรือต้องการหาคาตอบเพื่อนาคาตอบท่ีได้น้ันมาใช้ประโยชน์ในด้าน ต่าง ๆ เช่น การยกระดับความรู้การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หรือนามาสรุปเป็นความจริง ได้ 7. รกั ความเป็นไทย หมายถงึ เข้าใจ หวงแหนความเป็นไทยซงึ่ ถอื เปน็ ตน้ ทุนทางสังคมทาให้ ทุกศาสนาสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติโดยต้องมีการดาเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโน สุจริตเป็นคุณลักษณะท่ีเก่ียวข้องกับการเข้าสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น ความมี กิรยิ ามารยาท การปรับตัว ความตรงต่อเวลา ความสุภาพ การมีสัมมาคารวะ การพูดจาไพเราะ และ ออ่ นน้อมถ่อมตน หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 2

8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะทางจิตใจของบุคคลเกี่ยวกับการมองเห็นคุณค่า หรือการให้คุณค่าแก่การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นส่ิงสาธารณะท่ีไม่มีผู้ใดผู้ผู้หน่ึง เป็นเจ้าของหรือเป็นส่ิงที่คนในสังคมเป็นเจ้าของร่วมกันเป็นสิ่งท่ีสามารถสังเกตได้จากความรู้สึกนึก คิด หรือการกระทาท่ีแสดงออกมา ได้แก่ การหลีกเลี่ยงการใช้หรือการกระทาที่จะทาให้เกิดความ ชารุดเสียหายต่อส่วนรวมท่ีใช้ประโยชน์ร่วมกันของกลุ่มการถือเป็นหน้าท่ีท่ีจะมีส่วนร่วมในการดูแล รักษาของส่วนรวมในวสิ ยั ทต่ี นสามารถทาได้และการเคารพสิทธใิ นการใชข้ องสว่ นรวมทีเ่ ป็นประโยชน์ ร่วมกันของกลุม่ ทาไมตอ้ งเรยี นในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม่งุ เน้นให้ผเู้ รียนไดค้ น้ พบความรดู้ ว้ ยตนเอง มากที่สุดเพ่ือให้ได้ท้ังกระบวนการและความรู้ จากวิธีการสังเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลที่ไดม้ าจัดระบบเป็นหลักการ แนวคิด และองคค์ วามรู้ การจัดการเรียนการสอนทยาศาสตร์ จงึ มเี ป้าหมายที่สาคญั ดงั นี้ 1. เพื่อให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎทเี่ ป็นพน้ื ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละข้อจากดั ในการศกึ ษาวิชา วทิ ยาศาสตร์ 3. เพ่อื ใหม้ ีทกั ษะที่สาคญั ในการศกึ ษาคน้ คว้าและคดิ ค้นทางเทคโนโลยี 4. เพอ่ื ใหต้ ระหนักถึงความสัมพนั ธร์ ะหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ สภาพแวดลอ้ มในเชิงที่มีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน 5. เพื่อนาความรู้ ความเข้าใจ ในวชิ าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ต่อสงั คมและการดารงชีวิต 6. เพอื่ พฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และการ จดั การ ทักษะในการส่อื สาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ 7. เพ่อื ใหเ้ ป็นผทู้ ่ีมจี ิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค เรยี นรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ี เน้นการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับช้ันโดย กาหนดสาระสาคญั ดังน้ี หลักสูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 3

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิตการ ดารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและ ววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี วี ติ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการ เคลอื่ นที่ พลงั งาน และคลน่ื วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายใน ระบบสรุ ยิ ะ เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลง ลมฟา้ อากาศ และผลตอ่ สง่ิ มชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตใน สังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม วิทยาการคานวณ เรียนรู้เกี่ยวกับ การคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ในการแกป้ ัญหาทีพ่ บในชวี ิตจริงได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ทกั ษะและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษาทางวิทยาศาสตร์คือ การศึกษาเก่ียวกับทุก ๆ ส่ิงที่อยู่รอบตัวอย่างมีระเบียบแบบ แผนเพ่ือให้ได้ข้อสรุปและสามารถนาความรู้ที่ได้มาอธิบายปัญหาต่าง ๆ ซ่ึงการจะตอบหรืออธิบาย ปญั หาท่สี งสัยไดน้ นั้ จาเปน็ ต้องมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (science process skill) หมายถึง ความสามารถ และ ความชานาญในการคิด เพื่อค้นหาความรู้ และการแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อาทิ การสังเกต การวัด การคานวณ การจาแนก การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา การจัด กระทา และสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ การต้ังสมมติฐาน การกาหนด นิยาม การกาหนดตัวแปร การทดลอง การวิเคราะห์ และแปรผลข้อมูล การสรุปผลข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ 1. ระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพ้ืนฐาน 8 ทักษะ เป็นทักษะเพ่ือการแสวงหา ความรู้ท่ัวไป ประกอบดว้ ย ทักษะท่ี 1 การสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายอย่างใด อย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง ได้แก่ หู ตา จมูก ล้ิน กายสัมผัส เข้าสัมผัสกับวัตถุหรือเหตุการณ์เพ่ือให้ ทราบ และรับรู้ข้อมลู รายละเอยี ดของสง่ิ เหล่านัน้ โดยปราศจากความคิดเหน็ ส่วนตน ข้อมูลเหล่านี้จะ ประกอบด้วย ข้อมูลเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ และรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนจากการ สงั เกต หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 4

ทักษะท่ี 2 การวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เครื่องมือสาหรับการวัดข้อมูลในเชิง ปริมาณของส่ิงต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดที่ถูกต้อง แม่นยาได้ ทั้งนี้ การใช้ เครอ่ื งมือจาเป็นตอ้ งเลือกใช้ให้เหมาะสมกบั ส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั รวมถึงเข้าใจวิธีการวัด และแสดงข้ันตอน การวัดได้อยา่ งถกู ต้อง ทักษะ ท่ี 3 การคานวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจานวนของวัตถุ และการนา ตวั เลขท่ไี ดจ้ ากนบั และตวั เลขจากการวดั มาคานวณด้วยสูตรคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การ คูณ การหาร เป็นต้น โดยการเกิดทักษะการคานวณจะแสดงออกจากการนับที่ถูกต้อง ส่วนการ คานวณจะแสดงออกจากการเลือกสูตรคณิตศาสตร์ การแสดงวิธีคานวณ และการคานวณท่ีถูกต้อง แม่นยา ทกั ษะที่ 4 การจาแนกประเภท (Classifying) หมายถงึ การเรียงลาดบั และการแบ่งกล่มุ วตั ถหุ รือรายละเอยี ดข้อมูลดว้ ยเกณฑ์ความแตกต่างหรือความสัมพันธใ์ ด ๆอยา่ งใดอย่างหน่งึ ทกั ษะที่ 5 การหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Using space/Time relationships) สเปสของวตั ถุ หมายถึง ที่วา่ งท่ีวัตถนุ น้ั ครองอยู่ ซึ่งอาจมี รูปร่างเหมือนกนั หรอื แตกต่างกับวัตถนุ ั้น โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 มติ ิ คอื ความกวา้ ง ความยาว และ ความสงู ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ไดแ้ ก่ ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง 3 มิติ กับ 2 มติ ิ ความสัมพันธร์ ะหว่างตาแหน่งทอ่ี ยู่ของวัตถุหนึ่งกับวตั ถหุ นึ่งความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปสของวัตถุกับ เวลา ไดแ้ ก่ ความสมั พนั ธ์ของการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งของวตั ถกุ ับช่วงเวลา หรือความสัมพนั ธ์ ของสเปสของวัตถุทเ่ี ปล่ียนไปกบั ชว่ งเวลา ทกั ษะที่ 6 การจดั กระทา และสอื่ ความหมายข้อมูล (Communication) หมายถงึ การนา ข้อมูลท่ีได้จากการสงั เกต และการวดั มาจัดกระทาให้มีความหมาย โดยการหาความถี่ การเรียงลาดับ การจดั กลมุ่ การคานวณคา่ เพื่อใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจความหมายได้ดขี ึ้น ผา่ นการเสนอในรปู แบบของตาราง แผนภูมิ วงจร เขียนหรอื บรรยาย เป็นต้น ทักษะที่ 7 การลงความเหน็ จากข้อมูล (Inferring) หมายถงึ การเพิ่มความคิดเห็นของตน ตอ่ ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสงั เกตอย่างมีเหตุผลจากพน้ื ฐานความรู้หรือประสบการณท์ ่ีมี ทกั ษะท่ี 8 การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทานายหรอื การคาดคะเนคาตอบ โดย อาศัยข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการสงั เกตหรือการทาซ้า ผ่านกระบวนการแปรความหายของข้อมลู จากสมั พันธ์ ภายใต้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 2. ระดบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ น้ั บรู ณาการ 5 ทกั ษะ เป็นทกั ษะกระบวนการข้ันสูง ที่มคี วามซับซ้อนมากขึ้น เพ่ือแสวงหาความรู้ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ข้ันพื้นฐาน เปน็ พน้ื ฐานในการพัฒนา ประกอบด้วย ทักษะที่ 9 การตงั้ สมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถงึ การตั้งคาถามหรือคดิ คาตอบลว่ งหน้าก่อนการทดลองเพื่ออธิบายหาความสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปรตา่ ง ๆ ว่ามีความสัมพันธ์ อย่างไรโดยสมมตฐิ านสร้างข้ึนจะอาศัยการสงั เกต ความรู้ และประสบการณ์ภายใต้หลักการ กฎ หรือ ทฤษฎที สี่ ามารถอธิบายคาตอบได้ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 5

ทกั ษะที่ 10 การกาหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Defining operationally) หมายถึง การ กาหนด และอธิบายความหมาย และขอบเขตของคาตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การศึกษาหรือการทดลอง เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจตรงกันระหว่างบุคคล ทักษะท่ี 11 การกาหนด และควบคมุ ตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง การบ่งชี้ และกาหนดลักษณะตัวแปรใด ๆให้เป็นเป็นตัวแปรอสิ ระหรือตัวแปรต้น และตวั แปรใด ๆ ใหเ้ ป็นตัวแปรตาม และตวั แปรใด ๆให้เป็นตวั แปรควบคุม ทกั ษะท่ี 12 การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏบิ ัติ และทาซ้าใน ขนั้ ตอนเพือ่ หาคาตอบจากสมมตฐิ าน แบ่งเปน็ 3 ข้นั ตอน คือ 1. การออกแบบการทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดลองก่อนการทดลองจริง เพื่อกาหนดวธิ กี ารและขั้นตอนการทดลองท่ีสามารถดาเนนิ การได้จริง รวมถึงวิธีการแก้ไข ปญั หาอปุ สรรคที่อาจเกิดข้ึนขณะทาการทดลองเพื่อให้การทดลองสามารถดาเนินการให้ สาเร็จลลุ ่วงดว้ ยดี 2. การปฏบิ ัตกิ ารทดลอง หมายถงึ การปฏิบตั ิการทดลองจริง 3. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทกึ ขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการทดลองซ่ึง อาจเปน็ ผลจากการสังเกต การวัดและอนื่ ๆ ทกั ษะที่ 13 การตีความหมายขอ้ มลู และการลงข้อมูล (Interpreting data and conclusion) หมายถงึ การแปรความหมายหรือการบรรยายลักษณะและสมบัตขิ องข้อมูลทมี่ อี ยู่ การตีความหมายข้อมูลในบางครั้งอาจต้องใช้ทักษะอนื่ ๆ เช่น ทกั ษะการสังเกต ทักษะการคานวณ หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 6

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอด พลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมี ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มรวมทั้งนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์ กัน รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมสารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทาง ชีวภาพและววิ ัฒนาการของสิ่งมีชวี ิต รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง สมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี เกย่ี วข้องกบั เสยี ง แสง และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมท้งั นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และ การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ เปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและ ภูมิอากาศโลก รวมทงั้ ผลต่อสง่ิ มีชวี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม หลักสตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 7

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสง่ิ แวดล้อม มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทางาน และการ แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รูเ้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม คณุ ภาพผู้เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เขา้ ใจลกั ษณะและองคป์ ระกอบทสี่ าคญั ของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทางานของ ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดารงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การ เปล่ียนแปลงของยีนหรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธ์ ขององคป์ ระกอบของระบบนิเวศและการถา่ ยทอดพลงั งานในสงิ่ มชี ีวิต เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติ ของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสมหลักการแยกสาร การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของ การเปล่ียนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมบัติทางกายภาพ และการใช้ ประโยชนข์ องวสั ดุประเภทพอลเิ มอร์เซรามิก และวสั ดผุ สม เข้าใจการเคล่ือนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรงแรงท่ี ปรากฏในชวี ิตประจาวัน สนามของแรง ความสมั พนั ธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วงกฎ การอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้าการ ต่อวงจรไฟฟา้ ในบา้ น พลงั งานไฟฟา้ และหลกั การเบอ้ื งตน้ ของวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคลื่นแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อนการหักเหของแสง และทัศนอุปกรณ์เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคล่ือนที่ปรากฏ ของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้าข้ึนน้าลงประโยชน์ ของเทคโนโลยอี วกาศ และความกา้ วหนา้ ของโครงการสารวจอวกาศ เขา้ ใจลกั ษณะของชน้ั บรรยากาศ องค์ประกอบและปจั จยั ที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศการเกิดและ ผลกระทบของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ภูมอิ ากาศโลก กระบวนการเกิดเช้ือเพลิงซากดึกดาบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและ การใช้ประโยชน์ ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน กระบวนการเกิดดิน แหล่งน้าผิวดิน แหล่งน้าใต้ดินกระบวนการเกิดและ ผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณีพิบัติภัย หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 8

เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสาหรับการ แก้ ปัญ ห าใ น ชีวิ ตป ร ะจ า วัน หรื อ กา ร ปร ะ กอ บอ า ชีพ โ ด ยใ ช้ กร ะ บว นก า รอ อ กแ บ บ เชิงวศิ วกรรม รวมทงั้ เลือกใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมอื ได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้ง คานงึ ถงึ ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา นาขอ้ มลู ปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ไดต้ ามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงและเขียนโปรแกรม อย่างง่ายเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอย่างรู้เท่าทันและ รับผดิ ชอบต่อสงั คม ต้งั คาถามหรอื กาหนดปัญหาทเี่ ชือ่ มโยงกบั พยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มี การกาหนดและควบคมุ ตัวแปร คิดคาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สามารถนาไปสู่ การสารวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสารวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือท่ีเหมาะสม เลอื กใช้เคร่ืองมอื และเทคโนโลยีสารสนเทศทเ่ี หมาะสมในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท้ังในเชิงปริมาณและ คณุ ภาพทไ่ี ดผ้ ลเที่ยงตรงและปลอดภยั วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ข อ ง ข้ อ มู ล ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร ส า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ จ า ก พยานหลกั ฐาน โดยใชค้ วามรแู้ ละหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและ สื่อสารความคิด ความรู้ จากผลการสารวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่อื ใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้มีความคิด สร้างสรรค์เก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผล ถูกต้อง เชื่อถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเอง รับฟัง ความคิดเห็นผู้อ่ืน และยอมรับการเปล่ียนแปลงความรู้ที่ค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่ เพ่ิมข้ึนหรือโตแ้ ย้งจากเดิม ตระหนกั ในคุณค่าของความรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีทีใ่ ช้ในชีวิตประจาวันใช้ความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพแสดงความช่ืน ชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของการ พฒั นาทางวิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดล้อมและต่อบริบทอื่น ๆ และศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม ทาโครงงาน หรอื สรา้ งชนิ้ งานตามความสนใจ แสดงถึงความซาบซงึ้ ห่วงใย มีพฤติกรรมเก่ียวกับการดูแลรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 9

จบช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เขา้ ใจการลาเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ภูมิคุ้มกันใน ร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ท่ีพืชสร้าง ขึ้น การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการท่ีทาให้เกิด ความหลากหลายของสิง่ มชี วี ติ ความสาคญั และผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอต่อมนุษย์ส่ิงมีชีวิต และ สิ่งแวดลอ้ ม เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปล่ียนแปลงแทนท่ี ในระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการ อนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปญั หาสิ่งแวดล้อม เข้าใจชนดิ ของอนภุ าคสาคญั ทเ่ี ป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของ ธาตุ การจัดเรยี งธาตใุ นตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนภุ าคและสมบัติต่าง ๆ ของสารท่ี มีความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมี โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปจั จยั ทมี่ ผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี และการเขียนสมการเคมี เข้าใจปริมาณท่ีเกี่ยวกับการเคล่ือนที่ ความสัมพันธ์ระหว่างแรง มวลและความเร่งผลของ ความเร่งท่ีมีต่อการเคล่ือนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่าง สนามแม่เหลก็ และกระแสไฟฟ้า และแรงภายในนิวเคลียส เข้าใจพลังงานนวิ เคลียร์ ความสมั พันธ์ระหวา่ งมวลและพลงั งาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทน เป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบนและการรวมคลื่น การได้ยิน ปรากฏการณท์ เ่ี กย่ี วข้องกบั เสียง สีกับการมองเหน็ สี คลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าและประโยชน์ของ คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคล่ือนท่ีของแผ่น ธรณีท่ีสัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภยั เข้าใจผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการ หมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลท่ีมีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของการหมุนเวียนของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลง ภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพ่ือลดกิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก รวมท้ังการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสาคัญจากแผนที่อากาศ และข้อมูลสารสนเท เข้าใจการกาเนิดและการเปล่ียนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของ เอกภพ หลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของ กาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกิดและการสร้างพลังงาน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของ ดาวฤกษ์ และความสมั พันธร์ ะหวา่ งความสอ่ งสวา่ งกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผวิ และสเปกตรมั ของดาวฤกษ์ วิวฒั นาการและการเปล่ียนแปลงสมบัติบางประการของดาว ฤกษ์ กระบวนการเกดิ ระบบสรุ ยิ ะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ท่ีเอ้ือ ต่อการดารงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลก รวมทั้งการสารวจอวกาศและการ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 10

ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ ระบุปัญหา ต้ังคาถามที่จะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ตา่ ง ๆ สบื คน้ ข้อมลู จากหลายแหลง่ ตั้งสมมติฐานท่ีเป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบ สมมติฐานทเ่ี ป็นไปได้ ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาที่อยู่บนพ้ืนฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ท่ี แสดงให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงที่สามารถสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์ส่ิงที่จะพบ เพ่ือนาไปสู่การ สารวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการสารวจตรวจสอบตามสมมติฐานท่ีกาหนดไว้ได้อย่างเหมาะสมมี หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ เลอื กวัสดุ อุปกรณ์ รวมทง้ั วิธกี ารในการสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งในเชิง ปริมาณและคณุ ภาพ และบันทกึ ผลการสารวจตรวจสอบอยา่ งเปน็ ระบบ วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานทตี่ งั้ ไว้ ใหข้ ้อเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ จัดกระทาข้อมูลและนาเสนอ ข้อมลู ด้วยเทคนคิ วธิ ที เ่ี หมาะสม ส่ือสารแนวคิด ความร้จู ากผลการสารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือให้ผอู้ ืน่ เข้าใจโดยมีหลกั ฐานอ้างอิงหรือมีทฤษฎีรองรับ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดย ใชเ้ ครื่องมือและวธิ ีการท่ีใหไ้ ด้ผลถูกต้อง เช่อื ถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์ อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงได้ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคาตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทางาน ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบเก่ียวกับผล ของการพฒั นาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และส่ิงแวดล้อม และ ยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผ้อู ื่น เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้าผลของเทคโนโลยี ต่อชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ตระหนักถึงความสาคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน การดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ช้ินงานท่ีเป็น ผลมาจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทา โครงงานหรอื สร้างช้นิ งานตามความสนใจ แสดงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และ สงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งร้คู ุณค่า เสนอตวั เองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มของท้องถิ่น วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีท่ีซับซ้อนการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือ คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบต่อ ชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ทรัพยากรเพ่ือออกแบบสร้างหรือ พัฒนาผลงาน สาหรับแกป้ ญั หาที่มผี ลกระทบตอ่ สังคม โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ใช้ หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 11

ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนาเสนอผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือได้อย่าง ถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคานึงถงึ ทรัพย์สินทางปญั ญา ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เพ่ือรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อื่น มาประยุกต์ใช้สร้างความรู้ ใหม่ เข้าใจการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้ อยา่ งปลอดภัย มีจริยธรรม รายวชิ าเพมิ่ เติม จบช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เข้าใจกระบวนการทางานของนักวิทยาศาสตร์ ของเล่นพื้นบ้านเชิงวิทยาศาสตร์ และการ แก้ปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ เข้าใจทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการ จาแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ทักษะการ คานวณ ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล ทักษะ การพยากรณ์ ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ทักษะการกาหนดและ ควบคมุ ตัวแปร ทกั ษะการทดลอง ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลงสรุป ตลอดจนบูรณาการ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สู่การทดลองเพื่อแกป้ ัญหาทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ชมุ ชนและสงั คม เขา้ ใจกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นเกี่ยวกับกระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ทักษะ การต้ังสมมติฐาน การออกแบบการารทดลอง การกาหนดและควบคุมตัวแปรตลอดจนการใช้ เคร่อื งมอื พืน้ ฐาน เพอื่ ใหม้ คี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกบั โครงงานและสามารถนาความรู้ และทักษะไปใช้ ในการทาโครงงานวทิ ยาศาสตรใ์ หไ้ ด้ผล ทาโครงงานประเภทแบสารวจหรือโครงงานประเภททดลอง หรอื ท้ังสองประเภทตามข้ันตอนทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองโครงงาน สามารถ วางแผนดาเนนิ การตามโครงงานและนาเสนอผลงานไดอ้ ย่างเหมาะสม เข้าใจการทาปฏิบัติการทดลอง ประดิษฐ์คิดค้นโครงงานวิทยาศาสตร์บูรณาการกับภูมิ ปญั ญาไทย ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น เข้าใจการกาเนิดวิวัฒนาการของเอกภพ หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง กาแล็กซีและ กาแล็กซที างช้างเผอื ก สมบตั ิของดาวฤกษ์ กาเนดิ ดาวฤกษ์ กระจกุ ดาว แหล่งกาเนิดพลังงานของดาว ฤกษ์ ววิ ัฒนาการของดาวฤกษ์ กาเนิดระบบสุริยะและการแบ่งเขตบริวารรอบดวงอาทิตย์ การโคจร ของ ดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ โครงสร้างและปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์ เข้าใจเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้า พลังงานชีวมวล และพลังงาน นวิ เคลยี ร์ เข้าใจคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ในงานกราฟิก การเขียนรูป การวาดรูปด้วย โปรแกรมวาดภาพ กราฟ และกราฟิกพ้ืนฐาน การสร้างรูปภาพสาหรับงานทาป้ายประกาศ การ นาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ การพิมพ์รูปภาพงานศิลปะด้วยคอมพิวเตอร์ ศึกษาหลักการโปรแกรม เบอ้ื งต้น ลาดับการทางาน กระบวนความ ผังงานโครงสร้าง หลักการโปรแกรมแบบโครงสร้าง คาสั่ง ในการประมวลผล คาส่ังในการคานวณ ตัวแปร ชนิดตัวแปร ข้อมูลแบบต่าง ๆ คาส่ังควบคุม หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 12

โปรแกรม คาสั่งรับข้อมูล และแสดงผล วิเคราะห์เนื้อหางาน ลาดับรูปแบบงาน การประยุกต์ วิชาการคอมพิวเตอรแ์ ละวิชา ตา่ ง ๆ ท่ีเรียนมาในรูปแบบโครงงานโปรแกรมขนาดเลก็ เข้าใจปฏิบัติการสร้างภาพ โดยใช้คาสั่งพ้ืนฐาน จากโปรแกรมกราฟิก สร้างภาพ วาดภาพ เกบ็ ภาพ เรียกภาพมาแก้ไข ระบายสี สาเนาภาพ ขยายและลดขนาดภาพ รูปแบบตัวอักษร พิมพ์งาน และปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจและ ทักษะเบื้องต้นเก่ียวกับการสร้างภาพเบื้องต้นและสร้างแนวคิดเกี่ยวกับงานกราฟิกและการนาเสนอ ด้วยคอมพิวเตอร์ได้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการโปรแกรมเบ้ืองต้น และสามารถ เขียนลาดบั การทางานโดยใช้คาสงั่ ภาษาคอมพิวเตอร์พ้นื ฐาน และนาทกั ษะในการใช้งานคอมพิวเตอร์ สรา้ งโครงงานโปรแกรมขนาดเล็กได้ เข้าใจระบบคอมพิวเตอร์สาหรับงานประมวลผลแบบส่ือประสม อุปกรณ์แสดงผล กราฟิก การแสดงผลด้วยภาพ การแสดงผลด้วยเสียง วีดีโอ อุปกรณ์ประกอบและฝึกปฏิบัติการ นาเสนอข้อมูลแบบสื่อประสมเช่นการสร้างภาพ การสร้างเสียง ข้อความเคลื่อนไหว การเช่ือม ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูล การเก็บข้อมูลลงแฟ้มข้อมูล การเรียกข้อมูลจากแฟ้มมา ดาเนินการ การคัดลอกข้อมูล การย้ายข้อมูล ปฏิบัติการ วิเคราะห์งาน วางแผนและเลือกงานท่ี ต้องการ สรา้ งงาน และนาเสนอผลงาน ดา้ นคอมพวิ เตอร์ เข้าใจการปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั งานจิตรกรรมดจิ ทิ ัลและกราฟิก เข้าใจหลักการทางานเบื้องต้นของ โปรแกรมกราฟิก โดยสามารถใช้งานโปรแกรมทางด้านกราฟิกเบื้องต้น ร่วมกับอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ ศึกษาและปฏิบัติคาส่ังฟิลเตอร์ที่ใช้ในการปรับแต่งภาพ สร้างและปรับแต่งชิ้นงานในลักษณะของ การออกแบบ การตัดต่อ การรีทัชภาพ การสร้างภาพแนวจิตรกรรม และประยุกต์ใช้งานโดยการ สรา้ งภาพจิตรกรรมอิเล็กทรอนกิ สส์ าหรบั ใชใ้ นงานตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับงานได้ เข้าใจความหมาย พื้นฐานของ อินเตอร์เน็ต เว็บเพจ หลักการสร้างและออกแบบเว็บเพจ องค์ประกอบ และข้นั ตอนของการสรา้ งเว็บเพจ การใชก้ ราฟกิ ในการสร้างเว็บเพจ เข้าใจปฏิบัติการ สร้างเว็บเพจ มีความเข้าใจในหลักการทางานเว็บเพจ สามารถอธิบายการ ทางานของเมนูต่างๆ เรียกใช้คาสั่งในการตกแต่งตัวอักษร จัดทารูปภาพบนเว็บเพจ การแทรกตาราง และสร้างเทมเพลต รวมถึงการสร้างลิงค์ภายในและภายนอกเว็บ ตลอดจนสามารถเรียกใช้คาส่ังใน การสรา้ งเฟรมตกแตง่ เวบ็ ได้ อีกทง้ั ยงั สามารถนามัลตมิ ีเดียใส่ลงในเว็บได้อย่างเหมาะสม เข้าใจระดับของเทคโนโลยีการสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี ภาพฉายช้ินงาน หลักการทาโครงงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติการออกแบบและสร้าง สิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี มีค่านิยมท่ีเหมาะสมและมีจิตสานึกในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติการออกแบบโดยใช้การตัดต่อวิดิโอ ใช้เทคโนโลยีในการตัดต่อและ เผยแพร่ สร้างงานโดยมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่คัดลอกผลงานผู้อ่ืน ใช้คา สุภาพและไม่สร้างความเสียหายตอ่ ผ้อู นื่ เผยแพรผ่ ลงานผา่ นแพลต็ ฟอรม์ ออนไลนไ์ ด้ เข้าใจปฏิบัติการสร้างโครงงานโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือ โดยใช้ความรู้ ความคิด จนิ ตนาการ ทักษะ เหตุผล และกระบวนการตา่ งๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนประสบการณ์ ดา้ นคอมพวิ เตอร์ ซอฟต์แวร์ ในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีอยู่ มาเช่ือมโยงสัมพันธ์กันจนเกิดความรู้ใหม่ หลักสูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 13

ทม่ี ีความหมายสอดคล้อง และเชื่อมโยงกนั ได้ โดยมกี ารบูรณาการความรูด้ า้ นอืน่ ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง จบชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เข้าใจวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาคาตอบเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิต สารท่ีเป็นองค์ประกอบ ของสิ่งมีชีวิต และปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ การใช้กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ เข้าใจหลักการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดยีนบนออโตโซมและโครโมโซมเพศ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ การจาลองดีเอ็นเอกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน การเกิดมิวเทชันในส่ิงมีชีวิต หลักการและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานและข้อมูล ทใี่ ชใ้ นการศึกษาววิ ัฒนาการของส่งิ มชี วี ติ แนวคดิ เกยี่ วกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต เงื่อนไขของภาวะ สมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก กระบวนการเกิดสปีชีส์ใหม่ของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของส่ิงมีชีวิต ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิต กลุ่มแบคทีเรีย โพรทิสต์ พืช ฟังไจ และสัตว์ การ จาแนกสิ่งมชี วี ิตออกเปน็ หมวดหมูแ่ ละวธิ กี ารเขยี นช่อื วิทยาศาสตร์ เข้าใจโครงสร้างและส่วนประกอบของพืชท้ังราก ลาต้น และใบ การแลกเปลี่ยนแก๊สการ คายน้า การลาเลียงน้าและธาตุอาหาร การลาเลียงอาหาร การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุ และการปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด บทบาทของสาร ควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของพืชและการประยุกต์ใช้ และการตอบสนองของพืช เข้าใจกลไกการรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวิต โครงสร้าง หน้าท่ี และกระบวนการต่าง ๆ ของ สตั วแ์ ละมนุษย์ ได้แก่ การย่อยอาหาร การแลกเปล่ียนแก๊ส การเคล่ือนท่ี การกาจัดของเสียออกจาก ร่างกายของสิ่งมีชีวิต ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายของมนุษย์ การทางานของ ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ระบบสืบพันธุ์ การปฏิสนธิ การเจริญเติบโต ฮอร์โมนและ พฤตกิ รรมของสัตว์ เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศความหลากหลาย ของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การเปล่ียนแปลง จานวนประชากร มนุษย์ในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม เข้าใจการศึกษาโครงสร้างอะตอมของนักวิทยาศาสตร์ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม สมบัติบางประการของธาตุและการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ พันธะเคมี สมบัติของสารท่ีมี ความสัมพันธ์กับพันธะเคมี กฎต่าง ๆ ของแก๊ส และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอินทรีย์ และประเภทและสมบตั ขิ องพอลิเมอร์ เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี การคานวณปริมาณสารต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ ปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลใน ปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยท่ีมีผลต่อสมดุลเคมี ทฤษฎีกรด-เบส สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส สารละลายบฟั เฟอร์ ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ และเซลลเ์ คมีไฟฟา้ หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 14

เขา้ ใจข้อปฏิบตั ิเบ้อื งต้นเกยี่ วกับความปลอดภัยในการทาปฏบิ ตั กิ ารเคมี การเลือกใช้อุปกรณ์ หรือเคร่ืองมือในการทาปฏิบัติการ หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วยวัดด้วยการใช้แฟกเตอร์เปล่ียน หน่วย การคานวณเกี่ยวกับมวลอะตอม มวลโมเลกุล และมวลสูตร ความสัมพันธ์ของโมล จานวน อนุภาค มวล และปริมาตรของแก๊สที่ STP การคานวณสูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุลของสาร ความ เข้มข้นของสารละลาย การเตรียมสารละลาย และการบูรณาการความรู้และทักษะในการอธิบาย ปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจาวนั และการแกป้ ัญหาทางเคมี เขา้ ใจธรรมชาติของฟิสิกส์ กระบวนการวัด ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เก่ียวข้องกับการ เคล่ือนท่ี การเคล่ือนที่ในแนวตรง แรงลัพธ์ กฎการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน กฎความโน้มถ่วงสากล สนามโน้มถ่วง งาน กฎการอนุรักษ์พลังงานกล สมดุลกลของวัตถุ เคร่ืองกลอย่างง่ายโมเมนตัมและ การดล กฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตมั การชน และการเคลื่อนทีใ่ นแนวโคง้ เข้าใจการเคล่อื นทแี่ บบคล่นื ปรากฏการณ์คล่ืน การสะทอ้ น การหักเหการเลี้ยวเบนและการ แทรกสอด หลักการของฮอยเกนส์ การเคล่ือนท่ีของคลื่นเสียง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง ความเขม้ เสียงและระดบั เสียง การได้ยิน ภาพที่เกิดจากกระจกเงาและเลนส์ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง กบั แสงและการมองเหน็ แสงสี เข้าใจสนามไฟฟ้า แรงไฟฟ้า กฎของคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุ ตัวต้านทานและกฎ ของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน สนามแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กกับกระแสไฟฟ้า การเหน่ียวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลบั คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ และประโยชน์ของคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้า เข้าใจผลของความร้อนต่อสสาร สภาพยืดหยุ่น ความดันในของไหล แรงพยุงของไหลอุดม คติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส แนวคิดควอนตัมของพลังงาน ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์ โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคล่ืนและอนุภาค การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีกัมมันตภาพ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงานแรงภายในนิวเคลียส และการค้นควา้ วจิ ัยด้านฟสิ ิกส์อนุภาค เข้าใจการแบ่งช้ันและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่น ธรณที ี่สัมพนั ธ์กับการเกดิ ลกั ษณะธรณสี ัณฐานและธรณโี ครงสร้างแบบต่าง ๆ หลักฐานทางธรณีวิทยา ที่พบในปัจจุบันและการลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาในอดีต สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สนึ ามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยสมบัติและการ จาแนกชนิดของแร่ กระบวนการเกิดและการจาแนกชนิดหิน กระบวนการเกิดและการสารวจแหล่ง ปิโตรเลียมและถ่านหิน การแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนท่ีธรณีวิทยา และการนา ข้อมูลทางธรณีวิทยาไปใช้ประโยชน์ เข้าใจปัจจัยสาคัญท่ีมีผลต่อการรับและปลดปล่อยพลังงานจากดวงอาทิตย์ กระบวนการที่ ทาให้เกิดสมดุลพลังงานของโลก ผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศแรงคอริออ ลิส แรงสู่ศูนย์กลางและแรงเสียทานท่ีมีต่อการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตาม เขตละติจูด และผลท่ีมีต่อภูมิอากาศ ปัจจัยที่ทาให้เกิดการแบ่งช้ันน้าและการหมุนเวียนของน้าใน มหาสมุทร รปู แบบการหมนุ เวยี นของนา้ ในมหาสมุทร และผลของการหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 15

ที่มีต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพ อากาศและการเกิดเมฆ การเกิดแนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟ้าอากาศท่ีเก่ียวข้อง ปจั จัยตา่ ง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก รวมท้ังการแปลความหมายสัญลักษณ์ลม ฟ้าอากาศ และการพยากรณ์ลักษณะลมฟ้าอากาศเบ้ืองต้น จากแผนที่อากาศและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจการกาเนิดและการเปล่ียนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลักฐานที่ สนบั สนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแลก็ ซี โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกิดดาวฤกษ์ และการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความส่องสว่างของ ดาวฤกษ์ และความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ์ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การ แบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอ้ือต่อการดารงชีวิต การโคจรของดาว เคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยกฎเคพเลอร์ และกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลก การระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟ้าและระบบศูนย์ สตู ร เสน้ ทางการขึ้นการตกของดวงอาทติ ย์และดาวฤกษ์ เวลาสุริยคติ และการเปรียบเทียบเวลาของ แต่ละเขตเวลาบนโลก การสารวจอวกาศและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ ระบุปัญหา ตั้งคาถามท่ีจะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ตา่ ง ๆ สบื ค้นข้อมลู จากหลายแหล่ง ต้ังสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบ สมมติฐานท่เี ปน็ ไปได้ ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาที่อยู่บนพ้ืนฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ที่ แสดงให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงที่สามารถสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งท่ีจะพบ เพื่อนาไปสู่การ สารวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการสารวจตรวจสอบตามสมมติฐานที่กาหนดไว้ได้อย่างเหมาะสมมี หลักฐานเชงิ ประจักษ์ เลอื กวสั ดุ อปุ กรณ์ รวมทงั้ วิธีการในการสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งในเชิง ปริมาณและคุณภาพ และบนั ทึกผลการสารวจตรวจสอบอยา่ งเปน็ ระบบ วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานทีต่ ั้งไว้ ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ จัดกระทาข้อมูลและนาเสนอ ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม ส่ือสารแนวคิด ความรู้ จากผลการสารวจตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ โดยมีหลักฐานอ้างอิงหรือมีทฤษฎี รองรับ แสดงถงึ ความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดย ใชเ้ คร่ืองมอื และวธิ ีการท่ีใหไ้ ด้ผลถกู ต้อง เชอ่ื ถือได้ มเี หตุผลและยอมรบั ไดว้ ่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์ อาจมีการเปล่ียนแปลงได้ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคาตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทางาน ร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบเก่ียวกับผล ของการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม และยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่ืน หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 16

เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้าผลของเทคโนโลยี ตอ่ ชวี ิต สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ตระหนักถึงความสาคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ใน ชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิตและการ ประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ช้ินงานท่ีเป็นผลมาจากภูมิปัญญา ท้องถ่ินและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทาโครงงานหรือสร้างช้ินงาน ตามความสนใจ แสดงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดล้อมอยา่ งรูค้ ุณค่า เสนอตวั เองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มของท้องถิน่ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 17

ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอด พลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มี ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหาส่งิ แวดลอ้ มรวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม. 3 1. อธบิ ายปฏสิ ัมพันธ์ขององค์ประกอบของ - ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบที่มี ระบบนิเวศท่ีได้จากการสารวจ ชวี ติ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์ และองค์ประกอบ ท่ีไม่มีชีวิต เช่น แสง น้า อุณหภูมิ แร่ธาตุ แกส๊ องค์ประกอบเหล่าน้ีมีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น พื ช ต้ อ ง ก า ร แ ส ง น้ า แ ล ะ แ ก๊ ส คาร์บอนไดออกไซด์ ในการสร้างอาหาร สัตว์ ต้องการอาหาร และสภาพแวดล้อม ท่ี เหมาะสมในการดารงชีวิต เช่น อุณหภูมิ ความชน้ื องคป์ ระกอบท้ังสองส่วนนี้ จะต้องมี ความสมั พนั ธ์กนั อย่างเหมาะสมระบบนิเวศจึง จะสามารถคงอยตู่ ่อไปได้ 2. อธบิ ายรปู แบบความสมั พนั ธร์ ะหว่าง - สิ่งมีชวี ิตกบั สิ่งมชี ีวิตมีความสัมพนั ธก์ ันใน สิ่งมีชวี ิตกับสิ่งมีชีวติ รปู แบบต่าง ๆ ใน รปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ ภาวะพง่ึ พากัน ภาวะองิ แหลง่ ท่ีอยู่เดียวกนั ท่ีได้จากการสารวจ อาศัยภาวะเหยื่อกบั ผู้ลา่ ภาวะปรสิต - ส่งิ มชี วี ิตชนิดเดียวกันท่ีอาศัยอยรู่ ่วมกนั ใน แหล่งที่อยู่เดยี วกัน ในชว่ งเวลาเดยี วกัน เรียกวา่ ประชากร - กลุ่มสง่ิ มชี ีวติ ประกอบด้วยประชากรของ ส่ิงมีชวี ิตหลาย ๆ ชนิด อาศยั อยู่รว่ มกันใน แหล่งทอี่ ยเู่ ดียวกัน 3. สร้างแบบจาลองในการอธิบายการ - กล่มุ สง่ิ มชี วี ิตในระบบนเิ วศแบ่งตามหนา้ ท่ี ถา่ ยทอดพลงั งานในสายใยอาหาร ไดเ้ ปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่ ผ้ผู ลิต ผบู้ ริโภค และผู้ 4. อธบิ ายความสมั พันธ์ของผู้ผลติ ผบู้ รโิ ภค ยอ่ ยสลาย สารอนิ ทรีย์ สง่ิ มีชีวติ ท้ัง 3 กลมุ่ น้ี และผยู้ ่อยสลายสารอนิ ทรียใ์ นระบบนิเวศ มคี วาม สัมพนั ธ์กนั ผผู้ ลิตเป็นส่ิงมชี วี ิตทสี่ รา้ ง 5. อธบิ ายการสะสมสารพษิ ในสง่ิ มีชีวิตใน อาหารไดเ้ อง โดยกระบวนการสงั เคราะห์ด้วย หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 18

ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง โซอ่ าหาร แสง 6. ตระหนกั ถงึ ความสมั พันธข์ องสง่ิ มชี ีวติ ผู้บริโภค เป็นสง่ิ มีชวี ิตที่ไมส่ ามารถสรา้ ง และส่ิงแวดลอ้ มในระบบนิเวศ โดยไม่ อาหารได้เอง และต้องกินผ้ผู ลิตหรอื สิ่งมชี วี ิต ทาลายสมดลุ ของระบบนิเวศ อืน่ เป็นอาหาร เม่อื ผผู้ ลิตและผบู้ รโิ ภคตายลง จะถกู ย่อยโดยผูย้ ่อยสลายสารอนิ ทรียซ์ งึ่ จะ เปลยี่ นสารอนิ ทรีย์เปน็ สารอนินทรยี ก์ ลบั คืนสู่ สง่ิ แวดลอ้ ม ทาให้เกดิ การหมุนเวยี นสาร เปน็ วฏั จกั รจานวนผูผ้ ลิต ผู้บรโิ ภค และผยู้ อ่ ยสลายสารอินทรยี ์ จะตอ้ งมีความเหมาะสม จึงทาใหก้ ลมุ่ สงิ่ มีชวี ิตอยูไ่ ด้อย่างสมดลุ - พลงั งานถกู ถา่ ยทอดจากผู้ผลิตไปยัง ผู้บริโภคลาดับต่าง ๆ รวมทั้งผ้ยู ่อยสลาย สารอินทรยี ์ในรปู แบบสายใยอาหาร ที่ ประกอบดว้ ย โซอ่ าหารหลายโซท่ ส่ี มั พันธก์ ัน ในการถ่ายทอดพลงั งานใน โซ่อาหาร พลงั งานท่ีถูกถ่ายทอดไปจะลดลงเรือ่ ย ๆ ตามลาดับของการบริโภค - การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ อาจทา ใหม้ สี ารพษิ สะสมอยูใ่ นส่งิ มชี ีวติ ได้ จนอาจ ก่อให้เกิดอนั ตรายต่อส่ิงมชี วี ิต และทาลาย สมดลุ ในระบบนเิ วศ ดังนน้ั การดูแลรักษา ระบบนิเวศใหเ้ กดิ ความสมดุล และคงอยู่ ตลอดไปจึงเปน็ ส่งิ สาคัญ ม. 4 1. สบื ค้นขอ้ มลู และอธิบายความสัมพันธ์ - บริเวณของโลกแต่ละบริเวณมีสภาพทาง ของสภาพทางภูมิศาสตรบ์ นโลกกบั ความ ภมู ศิ าสตร์ทแ่ี ตกตา่ งกนั แบง่ ออกได้เปน็ หลาย หลากหลายของไบโอม และยกตวั อย่าง ไบ เขตตามสภาพภมู ิอากาศและปรมิ าณนา้ ฝน โอมชนดิ ต่าง ๆ ทาใหม้ ีระบบนเิ วศทห่ี ลากหลายซงึ่ ส่งผลให้ เกดิ ความหลากหลายของไบโอม 2. สบื ค้นข้อมลู อภิปรายสาเหตุ และ - การเปลี่ยนแปลงของระบบนเิ วศเกิดขน้ึ ได้ ยกตวั อย่างการเปลย่ี นแปลงแทนทีข่ อง ตลอดเวลาทง้ั การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขนึ้ เอง ระบบนเิ วศ ตามธรรมชาติและเกิดจากการกระทาของ มนษุ ย์ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 19

ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. สืบค้นขอ้ มลู อธิบายและยกตัวอย่าง - การเปล่ียนแปลงแทนทเี่ ป็นการเปลยี่ น เกี่ยวกบั การเปลยี่ นแปลงขององค์ประกอบ แปลงของกลุ่มสิง่ มีชีวิตท่เี กดิ ขึ้นอย่างช้า ๆ ทางกายภาพ เปน็ เวลานานซงึ่ เปน็ ผลจากปฏสิ ัมพันธ์ และทางชวี ภาพที่มผี ลต่อการเปลย่ี นแปลง ระหว่างองค์ประกอบทางกายภาพและทาง ขนาดของประชากรสง่ิ มีชวี ิตในระบบนเิ วศ ชีวภาพ ส่งผลใหร้ ะบบนเิ วศเปลี่ยนแปลงไปสู่ สมดลุ จนเกิดสังคมสมบรู ณ์ได้ 4. สืบคน้ ข้อมูลและอภปิ รายเก่ียวกบั - การเปลีย่ นแปลงขององคป์ ระกอบในระบบ ปญั หาและผลกระทบที่มีต่อ นเิ วศทั้งทางกายภาพและทางชวี ภาพมีผลตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม พร้อม การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร ทงั้ นาเสนอแนวทางในการ อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข - มนษุ ย์ใช้ทรพั ยากรธรรมชาตโิ ดยปราศจาก ปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม ความระมัดระวงั และมีการพัฒนาเทคโนโลยี ใหม่ ๆเพื่อช่วยอานวยความสะดวกตา่ ง ๆ แก่ มนษุ ย์สง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลง ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม - ปญั หาที่เกดิ กับทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อมบางปัญหาส่งผลกระทบในระดบั ทอ้ งถิน่ บางปญั หาก็สง่ ผลกระทบในระดบั ประเทศและบางปญั หาส่งผลกระทบในระดับ โลก - การลดปริมาณการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ การกาจัดของเสยี ทีเ่ ปน็ สาเหตุของปัญหา ส่งิ แวดล้อมและการวางแผนจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติท่ดี เี ปน็ ตวั อย่างของ แนวทางในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และการลดปัญหาสงิ่ แวดล้อมท่เี กิดข้ึน เพ่ือให้ เกิดการใชป้ ระโยชนท์ ่ีย่งั ยนื หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 20

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชวี ติ หนว่ ยพื้นฐานของส่งิ มีชีวติ การลาเลยี งสารเข้า และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ท่ี ทางานสัมพนั ธ์กัน ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของอวยั วะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์ กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.1 1. เปรียบเทยี บรูปรา่ ง ลกั ษณะ และ - เซลล์เป็นหนว่ ยพนื้ ฐานของสงิ่ มชี ีวติ ส่ิงมีชวี ติ โครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ บางชนดิ มเี ซลลเ์ พยี งเซลล์เดียว เชน่ อะมบี า รวมทง้ั บรรยายหนา้ ทีข่ องผนงั เซลล์ พารามีเซยี ม ยสี ต์ บางชนดิ มีหลายเซลล์ เชน่ พืช เย่อื หมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึมนวิ เคลียส สัตว์ แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และ - โครงสร้างพื้นฐานทพ่ี บทัง้ ในเซลลพ์ ชื และเซลล์ คลอโรพลาสต์ สัตวแ์ ละสามารถสังเกตได้ดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ใช้ 2. ใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ แสงได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซมึ และ และโครงสรา้ งต่าง ๆ ภายในเซลล์ นวิ เคลยี สโครงสรา้ งทพี่ บในเซลลพ์ ชื แตไ่ ม่พบใน เซลล์สตั ว์ได้แก่ ผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ - โครงสร้างตา่ ง ๆ ของเซลลม์ ีหน้าท่แี ตกต่างกัน - ผนงั เซลล์ ทาหนา้ ท่ีให้ความแขง็ แรงแก่เซลล์ - เยอื่ หุ้มเซลล์ ทาหนา้ ท่ีห่อหุม้ เซลลแ์ ละ ควบคมุ การลาเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ - นวิ เคลยี ส ทาหน้าทคี่ วบคุมการทางานของ เซลล์ - ไซโทพลาซึม มีออร์แกเนลล์ที่ทาหน้าที่ แตกตา่ งกนั - แวคิวโอล ทาหน้าทเี่ ก็บน้าและสาร ตา่ ง ๆ - ไมโทคอนเดรีย ทาหน้าทเี่ ก่ียวกับการสลาย สารอาหารเพื่อให้ได้พลงั งานแกเ่ ซลล์ - คลอโรพลาสต์ เป็นแหล่งท่ีเกิดการสงั เคราะห์ ด้วยแสง หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 21

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 3. อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง - เซลลข์ องสงิ่ มีชวี ิตมรี ปู ร่าง ลกั ษณะ ท่ี กบั การทาหนา้ ทข่ี องเซลล์ หลากหลายและมีความเหมาะสมกบั หนา้ ท่ีของ เซลลน์ ้ัน เช่น เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ มเี ส้นใย ประสาทเปน็ แขนงยาว นากระแสประสาทไปยัง เซลลอ์ น่ื ๆ ทีอ่ ยู่ไกลออกไป เซลลข์ นราก เป็น เซลลผ์ ิวของรากที่มผี นงั เซลล์และเยื่อหุ้มเซลลย์ นื่ ยาวออกมาลกั ษณะคลา้ ยขนเสน้ เล็ก ๆ เพื่อเพิ่ม พนื้ ทผ่ี วิ ในการดูดน้าและธาตุอาหาร 4. อธบิ ายการจดั ระบบของส่งิ มีชีวิต โดย - พืชและสัตว์เปน็ สง่ิ มีชีวติ หลายเซลล์มกี าร เริม่ จากเซลล์ เน้อื เย่ือ อวยั วะ ระบบ จดั ระบบ โดยเริ่มจากเซลล์ไปเปน็ เน้อื เยื่อ อวัยวะ อวัยวะ จนเป็นสงิ่ มชี ีวิต ระบบอวยั วะ และสง่ิ มีชวี ิตตามลาดบั เซลลห์ ลาย เซลล์มารวมกนั เป็นเน้ือเยื่อหลายชนิดมารวมกนั และทางานร่วมกนั เปน็ อวัยวะ อวยั วะตา่ ง ๆ ทางานร่วมกันเป็นระบบอวัยวะ ระบบอวัยวะทุก ระบบทางานรว่ มกนั เปน็ ส่ิงมีชวี ติ 5. อธิบายกระบวนการแพร่และออสโม - เซลล์มกี ารนาสารเขา้ สูเ่ ซลล์ เพื่อใช้ใน ซิสจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ และ กระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์ และมีการขจดั สาร ยกตวั อย่างการแพร่และออสโมซสิ ใน บางอย่างทีเ่ ซลล์ไม่ตอ้ งการออกนอกเซลล์ การนา ชวี ิตประจาวนั สารเข้าและออกจากเซลล์มหี ลายวธิ ี เชน่ การ 6. ระบุปัจจยั ท่ีจาเป็นในการสังเคราะห์ แพร่เป็นการเคลอ่ื นทข่ี องสารจากบรเิ วณทม่ี ี ด้วยแสงและผลผลติ ที่เกิดขนึ้ จากการ ความเขม้ ข้นของสารสูงไปสู่บรเิ วณทม่ี ีความ สงั เคราะห์ด้วยแสงโดยใชห้ ลกั ฐานเชิง เข้มขน้ ของสารต่า ส่วนออสโมซสิ เปน็ การแพร่ ประจกั ษ์ ของนา้ ผา่ นเย่ือหุ้มเซลล์ จากด้านทม่ี ีความเข้มขน้ ของ สารละลายตา่ ไปยังด้านทม่ี ีความเข้มขน้ ของ สารละลายสูงกวา่ - กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื ท่ี เกดิ ขน้ึ ในคลอโรพลาสต์ จาเป็นตอ้ งใชแ้ สง แก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด์ คลอโรฟิลล์ และนา้ ผลผลิต ทไ่ี ด้จากการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ไดแ้ ก่ นา้ ตาล และแกส๊ ออกซเิ จน หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 22

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 7. อธบิ ายความสาคญั ของการ - การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง เปน็ กระบวนการที่ สังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื ตอ่ ส่งิ มชี วี ิต สาคญั ต่อส่งิ มีชวี ติ เพราะเปน็ กระบวนการเดยี วท่ี และสิ่งแวดล้อม สามารถนาพลงั งานแสงมาเปลี่ยนเป็นพลังงานใน 8. ตระหนกั ในคุณค่าของพชื ที่มีตอ่ รูปสารประกอบอินทรยี ์และเก็บสะสมในรูปแบบ ส่ิงมชี ีวิตและสง่ิ แวดล้อม โดยการร่วมกนั ตา่ ง ๆ ในโครงสรา้ งของพืช พืชจงึ เปน็ แหล่ง ลกู และดูแลรักษาต้นไมใ้ นโรงเรยี นและ อาหารและพลังงานท่สี าคญั ของส่ิงมีชีวติ อ่นื ชุมชน นอกจากนี้กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงยังเป็น กระบวนการหลักในการสรา้ งแก๊สออกซิเจน ให้กบั บรรยากาศเพ่ือให้สงิ่ มีชวี ติ อ่นื ใชใ้ น กระบวนการหายใจ 9. บรรยายลกั ษณะและหน้าท่ขี องไซเลม็ - พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซง่ึ เปน็ เนอื้ เย่อื และโฟลเอ็ม มลี กั ษณะคล้ายทอ่ เรียงตัวกันเป็นกลุม่ เฉพาะที่ 10. เขยี นแผนภาพที่บรรยายทศิ ทาง โดยไซเลม็ ทาหนา้ ที่ลาเลียงนา้ และธาตอุ าหารมี การลาเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ทิศทางลาเลียงจากรากไปสู่ลาตน้ ใบ และ สว่ น ของพชื ต่าง ๆ ของพชื เพ่ือใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง รวมถึงกระบวนการอน่ื ๆ ส่วนโฟลเอ็มทาหน้าท่ี ลาเลยี งอาหารท่ีได้จากการสังเคราะห์ดว้ ยแสงมี ทศิ ทางลาเลียงจากบริเวณที่มีการสงั เคราะหด์ ว้ ย แสงไปสู่สว่ นต่าง ๆ ของพืช 11. อธิบายการสืบพันธแ์ุ บบอาศยั เพศ - พืชดอกทุกชนิดสามารถสบื พันธแ์ุ บบอาศัยเพศ และไมอ่ าศัยเพศของพืชดอก ได้และบางชนิดสามารถสบื พันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศ ได้ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 23

ชั้น ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 12. อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอก - การสืบพันธุ์แบบอาศยั เพศเปน็ การสบื พนั ธุ์ทม่ี ีการ ท่ีมีส่วนทาให้เกดิ การถ่ายเรณู รวมท้ัง ผสมกันของสเปริ ์มกับเซลล์ไข่ การสบื พนั ธุ์แบบ บรรยาย การปฏสิ นธขิ องพชื ดอก การ อาศัยเพศของพืชดอกเกิดข้ึนที่ดอก โดยภายในอบั เกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด เรณขู องสว่ นเกสรเพศผู้มเี รณู ซึ่งทาหนา้ ทสี่ ร้าง และการงอกของเมลด็ สเปริ ์ม ภายในออวุลของส่วนเกสรเพศเมียมถี ุง 13. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของสัตวท์ ่ี เอม็ บริโอ ทาหน้าท่สี รา้ งเซลล์ไข่ ชว่ ยในการถ่ายเรณูของพชื ดอก โดย - การสบื พันธุแ์ บบไมอ่ าศยั เพศ เปน็ การสบื พนั ธุท์ ่ีพชื การไม่ทาลายชีวติ ของสตั ว์ทชี่ ว่ ยใน ต้นใหม่ไม่ไดเ้ กดิ จากการปฏสิ นธริ ะหวา่ งสเปิรม์ กับ การถ่ายเรณู เซลลไ์ ข่ แต่เกิดจากส่วนตา่ ง ๆ ของพชื เช่น ราก ลา ต้น ใบ มกี ารเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาขนึ้ มาเปน็ ต้น ใหม่ได้ - การถ่ายเรณู คือ การเคลอ่ื นย้ายของเรณจู ากอับ เรณไู ปยังยอดเกสรเพศเมีย ซึ่งเก่ยี วข้องกบั ลักษณะ และโครงสร้างของดอก เชน่ สีของกลีบดอก ตาแหน่งของเกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมยี โดยมสี ิ่งที่ ช่วยในการถา่ ยเรณู เชน่ แมลง ลม - การถ่ายเรณจู ะนาไปสู่การปฏิสนธิ ซ่งึ จะเกดิ ขน้ึ ท่ี ถุงเอ็มบริโอภายในออวุล หลังการปฏิสนธิจะได้ไซ โกต และเอนโดสเปิรม์ ไซโกตจะพฒั นาต่อไปเปน็ เอม็ บรโิ อ ออวลุ พฒั นาไปเปน็ เมลด็ และรงั ไขพ่ ัฒนา ไปเป็นผล - ผลและเมลด็ มกี ารกระจายออกจากตน้ เดิม โดย วธิ กี ารต่าง ๆ เมอ่ื เมลด็ ไปตกในสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมจะเกดิ การงอกของเมล็ด โดยเอม็ บรโิ อ ภายในเมลด็ จะเจริญออกมา โดยระยะแรกจะอาศยั อาหารทีส่ ะสมภายในเมล็ด จนกระท่ังใบแท้พัฒนา จนสามารถสังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้ เตม็ ที่ และสร้างอาหารไดเ้ องตามปกติ 14. อธิบายความสาคญั ของธาตุอาหาร - พชื ตอ้ งการธาตุอาหารที่จาเป็นหลายชนิดในการ บางชนดิ ท่มี ผี ลตอ่ การเจริญเติบโตและ เจรญิ เติบโตและการดารงชวี ติ การดารงชีวติ ของพืช - พืชต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปรมิ าณมาก 15. เลอื กใชป้ ุ๋ยท่ีมธี าตุอาหาร ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม เหมาะสมกับพืชในสถานการณท์ ี่ แมกนีเซยี ม และกามะถนั ซ่ึงในดินอาจมีไม่เพียงพอ กาหนด สาหรับการเจรญิ เติบโตของพืช จึงตอ้ งมกี ารใหธ้ าตุ อาหารในรปู ของปุย๋ กับพืชอย่างเหมาะสม หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 24

ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 16. เลือกวิธกี ารขยายพนั ธุพ์ ืชให้ - มนษุ ยส์ ามารถนาความร้เู รื่องการสืบพันธ์แุ บบ เหมาะสมกบั ความต้องการของมนษุ ย์ อาศัยเพศและไมอ่ าศัยเพศ มาใช้ในการขยายพันธุ์ โดยใช้ความร้เู กี่ยวกับการสบื พันธขุ์ อง เพื่อเพิม่ จานวนพืช เชน่ การใชเ้ มล็ดทไี่ ดจ้ ากการ พืช สืบพันธ์แุ บบอาศัยเพศมาเพาะเลี้ยงวธิ ีการน้ีจะไดพ้ ชื 17. อธิบายความสาคัญของเทคโนโลยี ในปริมาณมาก แต่อาจมลี ักษณะที่แตกตา่ งไปจากพ่อ การเพาะเลีย้ งเนื้อเย่อื พชื ในการใช้ แม่ ส่วนการตอนกง่ิ การปักชา การต่อกง่ิ การติดตา ประโยชน์ด้านต่าง ๆ การทาบกิง่ การเพาะเลี้ยงเน้ือเยือ่ เปน็ การนาความรู้ 18. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องการ เร่อื งการสบื พันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ใน ขยายพันธ์พุ ชื โดยการนาความรไู้ ปใช้ การขยายพันธเ์ุ พ่ือให้ไดพ้ ืชทมี่ ีลักษณะเหมือนตน้ เดมิ ในชวี ิตประจาวัน ซ่งึ การขยายพันธุ์แต่ละวธิ ี มขี ัน้ ตอนแตกต่างกัน จึง ควรเลอื กใหเ้ หมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยตอ้ งคานึงถงึ ชนิดของพชื และลกั ษณะการ สืบพนั ธ์ุของพชื - เทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเน้ือเย่ือพืช เปน็ การนา ความรูเ้ ก่ียวกับปัจจยั ทจ่ี าเปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ของพืชมาใชใ้ นการเพ่ิมจานวนพชื และทาให้พชื สามารถเจริญเติบโตไดใ้ นหลอดทดลอง ซ่ึงจะไดพ้ ืช จานวนมากในระยะเวลาสั้น และสามารถนา เทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งเน้ือเยอ่ื มาประยกุ ต์เพ่ือการ อนุรักษ์พันธุกรรมพชื ปรบั ปรุงพันธ์พุ ืช ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกจิ การผลติ ยาและ สารสาคัญในพืช และอ่ืน ๆ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 25

ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.2 1. ระบุอวยั วะและบรรยายหนา้ ท่ขี อง - ระบบหายใจมอี วยั วะต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ไดแ้ ก่ จมกู อวยั วะท่เี ก่ยี วข้องในระบบหายใจ ท่อลม ปอด กะบงั ลม และกระดูกซโ่ี ครง 2. อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออก - มนุษยห์ ายใจเข้า เพ่อื นาแก๊สออกซิเจนเข้าสู่ โดยใช้แบบจาลอง รวมท้งั อธิบาย รา่ งกายเพ่อื นาไปใชใ้ นเซลล์ และหายใจออกเพื่อ กระบวนการแลกเปล่ยี นแกส๊ กาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกจากรา่ งกาย 3. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของระบบ - อากาศเคลอื่ นท่เี ข้าและออกจากปอดได้ หายใจโดยการบอกแนวทางในการ เน่ืองจากการเปลย่ี นแปลงปริมาตรและความดันของ ดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ อากาศภายในชอ่ งอกซ่งึ เกยี่ วข้องกับ ทางานเปน็ ปกติ การทางานของกะบงั ลม และกระดูกซ่ีโครง - การแลกเปล่ียนแกส๊ ออกซิเจนกับ แก๊สคาร์บอนไดออกไซดใ์ นรา่ งกาย เกิดขน้ึ บริเวณถุง ลมในปอดกบั หลอดเลือดฝอยทถี่ งุ ลม และระหว่าง หลอดเลือดฝอยกับเนื้อเย่ือ - การสูบบุหร่ี การสูดอากาศที่มีสารปนเปื้อน และ การเปน็ โรคเกี่ยวกับระบบหายใจบางโรคอาจทาให้ เกิดโรคถงุ ลมโป่งพอง ซึง่ มผี ลใหค้ วามจอุ ากาศของ ปอดลดลง ดงั นน้ั จงึ ควรดแู ลรักษาระบบหายใจ ให้ ทาหน้าทเ่ี ปน็ ปกติ 4. ระบอุ วยั วะและบรรยายหนา้ ทขี่ อง - ระบบขบั ถา่ ยมอี วยั วะทเ่ี กีย่ วข้อง คือ ไต ท่อไต อวยั วะในระบบขับถ่ายในการกาจัด กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ โดยมไี ต ทา ของเสียทางไต หน้าท่กี าจัดของเสยี เชน่ ยเู รีย แอมโมเนยี กรดยูริก 5. ตระหนกั ถึงความสาคัญของระบบ รวมทง้ั สารท่รี ่างกายไม่ต้องการออกจากเลือด และ ขบั ถ่ายในการกาจัดของเสียทางไต โดย ควบคมุ สารทมี่ ีมากหรือนอ้ ยเกนิ ไปเชน่ นา้ โดยขบั การบอกแนวทางในการปฏิบัตติ นที่ ออกมาในรปู ของปัสสาวะ ชว่ ยให้ระบบขบั ถา่ ยทาหนา้ ที่ไดอ้ ย่าง - การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม เชน่ ปกติ รับประทานอาหารท่ีไม่มีรสเค็มจัด การด่ืมน้าสะอาด 6. บรรยายโครงสร้างและหน้าทขี่ อง ใหเ้ พยี งพอ เป็นแนวทางหนึ่งทช่ี ว่ ยใหร้ ะบบขับถ่าย หัวใจ ทาหนา้ ท่ไี ดอ้ ยา่ งปกติ หลอดเลอื ด และเลอื ด - ระบบหมุนเวยี นเลอื ดประกอบดว้ ย หวั ใจ 7. อธิบายการทางานของระบบ หลอดเลือด และเลือด หมนุ เวยี นเลือดโดยใช้แบบจาลอง - หวั ใจของมนษุ ย์แบง่ เป็น 4 หอ้ ง ไดแ้ ก่ หวั ใจ หอ้ ง บน 2 หอ้ ง และห้องล่าง 2 ห้อง ระหวา่ งหวั ใจหอ้ ง บนและหวั ใจหอ้ งลา่ งมีลิ้นหัวใจกนั้ - หลอดเลือด แบง่ เปน็ หลอดเลือดอารเ์ ตอรี หลอดเลอื ดเวน หลอดเลือดฝอย ซง่ึ มีโครงสรา้ ง หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 26

ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตา่ งกนั - เลือด ประกอบดว้ ย เซลลเ์ ม็ดเลอื ด เพลตเลตและ พลาสมา - การบีบและคลายตัวของหัวใจทาใหเ้ ลอื ดหมุนเวียน และลาเลียงสารอาหาร แกส๊ ของเสยี และสารอนื่ ๆ ไปยงั อวยั วะและเซลลต์ า่ ง ๆ ทัว่ รา่ งกาย - เลือดทีม่ ีปริมาณแก๊สออกซเิ จนสูงจะออกจากหวั ใจ ไปยงั เซลลต์ า่ ง ๆ ท่ัวรา่ งกาย ขณะเดียวกันแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์จากเซลล์จะแพร่เข้าสู่เลอื ดและ ลาเลยี งกลบั เขา้ สู่หัวใจและถกู สง่ ไปแลกเปลี่ยนแก๊ส ทีป่ อด 8. ออกแบบการทดลองและทดลอง ใน - ชพี จรบอกถึงจังหวะการเตน้ ของหวั ใจ การเปรยี บเทียบอตั ราการเต้นของ ซงึ่ อัตราการเตน้ ของหวั ใจในขณะปกตแิ ละ หัวใจ ขณะปกตแิ ละหลงั ทากิจกรรม หลังจากทากิจกรรมตา่ ง ๆ จะแตกตา่ งกัน 9. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบ สว่ นความดันเลือด ระบบหมุนเวยี นเลือดเกดิ จาก หมุนเวียนเลือดโดยการบอกแนวทาง การทางานของหัวใจและหลอดเลอื ด ในการดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบ - อตั ราการเต้นของหัวใจมีความแตกต่างกันในแตล่ ะ หมุนเวียนเลอื ดใหท้ างานเปน็ ปกติ บุคคล คนทเี่ ปน็ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ดจะสง่ ผลทา ให้หัวใจสบู ฉดี เลอื ดไม่เปน็ ปกติ - การออกกาลงั กาย การเลือกรับประทานอาหารการ พักผอ่ น และการรักษาภาวะอารมณ์ใหเ้ ปน็ ปกติ จึง เปน็ ทางเลือกหนึ่งในการดูแลรักษาระบบหมนุ เวยี น เลือดให้เป็นปกติ 10. ระบอุ วยั วะและบรรยายหน้าท่ขี อง - ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบดว้ ยสมองและ อวัยวะในระบบประสาทสว่ นกลางใน ไขสนั หลัง จะทาหน้าที่รว่ มกับเส้นประสาทซ่ึงเปน็ การควบคมุ การทางานตา่ ง ๆ ของ ระบบประสาทรอบนอก ในการควบคมุ การทางาน รา่ งกาย ของอวยั วะต่าง ๆ รวมถึงการแสดงพฤตกิ รรม เพอื่ 11. ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบ การตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ ประสาทโดยการบอกแนวทางในการ - เมือ่ มีสิง่ เร้ามากระตุน้ หนว่ ยรับความรสู้ กึ จะเกิด ดแู ลรักษา รวมถงึ การป้องกันการ กระแสประสาทสง่ ไปตามเซลลป์ ระสาทรบั ความรู้สึก กระทบกระเทือนและอนั ตราย ไปยังระบบประสาทสว่ นกลาง แล้วส่งกระแส ต่อสมองและไขสันหลงั ประสาทมาตามเซลล์ประสาทสง่ั การ ไปยังหนว่ ย ปฏบิ ัติงาน เช่น กล้ามเนื้อ - ระบบประสาทเปน็ ระบบท่ีมีความซบั ซ้อนและมี หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 27

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ความสมั พันธก์ ับทกุ ระบบในร่างกาย ดังน้นั จึงควร ป้องกันการเกิดอบุ ตั ิเหตทุ ่กี ระทบกระเทอื นตอ่ สมอง หลีกเลย่ี งการใช้สารเสพตดิ หลกี เลีย่ งภาวะเครยี ด และรับประทานอาหารทม่ี ีประโยชนเ์ พอ่ื ดูแลรักษา ระบบประสาทใหท้ างานเปน็ ปกติ 12. ระบุอวยั วะและบรรยายหนา้ ทีข่ อง - มนุษยม์ รี ะบบสืบพันธ์ุที่ประกอบด้วยอวยั วะต่าง ๆ อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศชาย ท่ที าหนา้ ทเี่ ฉพาะ โดยรังไข่ในเพศหญิงจะทาหน้าท่ี และเพศหญงิ โดยใชแ้ บบจาลอง ผลติ เซลล์ไข่ สว่ นอณั ฑะในเพศชายจะทาหนา้ ท่ีสร้าง 13. อธบิ ายผลของฮอรโ์ มนเพศชาย เซลลอ์ สจุ ิ และเพศหญงิ ท่ีควบคุมการ - ฮอรโ์ มนเพศทาหน้าที่ควบคุมการแสดงออกของ เปล่ียนแปลงของรา่ งกาย เมอ่ื เขา้ ส่วู ัย ลกั ษณะทางเพศท่แี ตกตา่ งกัน เมือ่ เข้าส่วู ยั หนมุ่ สาว หนมุ่ สาว จะมีการสรา้ งเซลลไ์ ข่และเซลล์อสุจิ การตกไขก่ ารมี 14. ตระหนกั ถึงการเปลย่ี นแปลงของ รอบเดอื น และถา้ มีการปฏิสนธิของเซลลไ์ ขแ่ ละเซลล์ รา่ งกายเมื่อเขา้ สวู่ ัยหนมุ่ สาว โดยการ อสจุ จิ ะทาให้เกดิ การตง้ั ครรภ์ ดูแลรกั ษารา่ งกายและจติ ใจของตนเอง ในชว่ งทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลง 15. อธิบายการตกไข่ การมี - การมีประจาเดือน มีความสมั พันธก์ บั การตกไขโ่ ดย ประจาเดือน การปฏสิ นธิ และการ เปน็ ผลจากการเปล่ยี นแปลงของระดับฮอร์โมนเพศ พฒั นาของไซโกตจนคลอดเป็นทารก หญงิ 16. เลือกวธิ กี ารคุมกาเนิดทเ่ี หมาะสม - เมอื่ เพศหญิงมีการตกไข่และเซลล์ไข่ได้รับการ กับ ปฏสิ นธกิ ับเซลล์อสจุ ิจะทาให้ไดไ้ ซโกต สถานการณ์ทก่ี าหนด จะเจรญิ เป็นเอ็มบริโอและฟตี ัสจนกระท่ังคลอดเปน็ 17. ตระหนกั ถึงผลกระทบของการ ทารก แตถ่ ้าไม่มีการปฏิสนธิเซลล์ไข่จะสลายตวั ผนงั ตงั้ ครรภก์ ่อนวัยอันควร โดยการ ดา้ นในมดลกู รวมท้งั หลอดเลือดจะสลายตัวและหลดุ ประพฤติตนให้เหมาะสม ลอกออก เรียกว่า ประจาเดือน - การคุมกาเนดิ เปน็ วธิ ปี ้องกนั ไมใ่ ห้เกิดการต้ังครรภ์ โดยป้องกันไม่ให้เกดิ การปฏสิ นธิหรอื ไมใ่ ห้มกี ารฝงั ตัว ของเอ็มบรโิ อ ซ่ึงมหี ลายวธิ ี เชน่ การใชถ้ งุ ยาง อนามยั การกนิ ยาคุมกาเนิด หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 28

ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.4 1. อธิบายโครงสรา้ งและสมบัติของเย่ือ - เยื่อหุ้มเซลลม์ โี ครงสร้างเป็นเย่อื หมุ้ สองช้นั ทม่ี ลี พิ ิด หุ้มเซลลท์ ่ีสมั พนั ธก์ บั การลาเลียงสาร เป็นองคป์ ระกอบ และมีโปรตีนแทรกอยู่ และเปรียบเทียบการลาเลียงสารผา่ น - สารที่ละลายได้ในลิพิดและสารที่มขี นาดเล็ก เยื่อหุ้มเซลลแ์ บบต่าง ๆ สามารถแพรผ่ า่ นเยอ่ื หุ้มเซลล์ไดโ้ ดยตรง สว่ นสาร ขนาดเลก็ ท่ีมปี ระจุต้องลาเลยี งผ่านโปรตีนทีแ่ ทรกอยู่ ท่ีเย่ือหุ้มเซลล์ ซง่ึ มี 2 แบบ คือ การแพรแ่ บบฟาซิลิ เทต และ แอกทฟี ทรานสปอร์ต ใน กรณีสารขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน จะลาเลียงเขา้ โดย กระบวนการเอนโดไซโทซสิ หรอื ลาเลียงออกโดย กระบวนการเอกโซไซโทซิส 2. อธิบายการควบคุมดลุ ยภาพของน้า - การรักษาดุลยภาพของน้าและสารในเลอื ด และสารในเลอื ดโดยการทางานของไต เกิดจากการทางานของไต ซึ่งเปน็ อวยั วะในระบบ ขบั ถ่ายท่ีมคี วามสาคัญในการกาจัดของเสยี ทีม่ ี ไนโตรเจนเปน็ องค์ประกอบ รวมท้งั นา้ และสารท่มี ี ปรมิ าณเกนิ ความต้องการของรา่ งกาย 3. อธิบายการควบคุมดลุ ยภาพของ - การรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในเลือดเกดิ จาก กรด-เบสของเลอื ดโดยการทางานของ การทางานของไตท่ที าหนา้ ที่ขับหรอื ดดู กลบั ไตและปอด ไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนและ แอมโมเนยี มไอออน และการทางานของปอดท่ีทา หน้าที่กาจัดคาร์บอนไดออกไซด์ 4. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของ - การรกั ษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายเกิด อณุ หภมู ภิ ายในรา่ งกายโดยระบบ จากการทางานของระบบหมุนเวยี นเลือดท่ีควบคุม หมนุ เวียนเลือด ผิวหนงั และกล้ามเน้ือ ปริมาณเลอื ดไปทผี่ วิ หนัง การทางานของต่อมเหง่ือ โครงรา่ ง และกลา้ มเนื้อโครงรา่ ง ซึง่ สง่ ผลถึงปริมาณความรอ้ น ทถี่ กู เก็บหรือระบายออกจากรา่ งกาย 5. อธบิ าย และเขียนแผนผงั เก่ยี วกับ - เมือ่ เชื้อโรคหรือสิง่ แปลกปลอมอน่ื เข้าสเู่ นื้อเยอ่ื ใน การตอบสนองของรา่ งกายแบบไม่ ร่างกาย รา่ งกายจะมีกลไกในการต่อต้านหรือทาลาย จาเพาะ และแบบจาเพาะต่อส่งิ ส่ิงแปลกปลอมทัง้ แบบไมจ่ าเพาะและแบบจาเพาะ แปลกปลอมของร่างกาย - เซลล์เม็ดเลือดขาวกลุม่ ฟาโกไซตจ์ ะมีกลไกในการ ตอ่ ต้านหรือทาลายส่งิ แปลกปลอมแบบไมจ่ าเพาะ - กลไกในการตอ่ ตา้ นหรอื ทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบ จาเพาะเปน็ การทางานของเซลลเ์ มด็ เลือดขาวลิมโฟ ไซต์ชนิดบีและชนิดที ซง่ึ เซลล์เม็ดเลอื ดขาวทงั้ สอง ชนดิ จะมตี ัวรบั แอนติเจน ทาให้เซลล์ทง้ั สองสามารถ ตอบสนองแบบจาเพาะต่อแอนตเิ จน หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 29

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง นั้น ๆ ได้ - เซลลบ์ ีทาหน้าทส่ี รา้ งแอนติบอดี ซง่ึ ช่วยในการจบั กับส่ิงแปลกปลอมตา่ ง ๆ เพ่ือทาลายต่อไปโดยระบบ ภมู คิ ุ้มกนั เซลล์ทีทาหน้าทห่ี ลากหลายเช่น กระตุ้น การทางานของเซลลบ์ แี ละเซลล์ทีชนิดอื่น ทาลาย เซลลท์ ตี่ ิดไวรสั และเซลลท์ ี่ผิดปกติอื่น ๆ 6. สืบค้นข้อมลู อธิบาย และ - บางกรณีร่างกายอาจเกิดความผิดปกตขิ องระบบ ยกตวั อยา่ งโรคหรืออาการที่เกดิ จาก ภมู ิคุ้มกัน เช่น ภูมคิ ุม้ กนั ตอบสนองต่อแอนติเจนบาง ความผิดปกติของระบบภูมคิ ุ้มกนั ชนิดอย่างรุนแรงมากเกนิ ไป หรอื รา่ งกายมปี ฏิกริ ิยา ตอบสนองต่อแอนตเิ จนของตนเองอาจทาให้รา่ งกาย เกิดอาการผดิ ปกตไิ ด้ 7. อธิบายภาวะภูมคิ มุ้ กันบกพร่องท่ีมี - บคุ คลที่ได้รับเลือดหรือสารคัดหลง่ั ท่มี ีเชอ้ื HIV ซง่ึ สาเหตุมาจากการติดเช้อื HIV สามารถทาลายเซลล์ที ทาให้ภูมคิ ้มุ กันบกพร่อง และ ติดเช้ือตา่ ง ๆ ได้ง่ายข้นึ 8. ทดสอบ และบอกชนดิ ของ - กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงเปน็ จดุ เรมิ่ ต้นของ สารอาหาร การสรา้ งน้าตาลในพชื พชื เปลยี่ นนา้ ตาลไปเปน็ ทพี่ ชื สงั เคราะหไ์ ด้ สารอาหารและสาร อื่น ๆ เชน่ 9. สบื ค้นข้อมูล อภิปราย และ คาร์โบไฮเดรตโปรตนี ไขมนั ท่ีจาเปน็ ตอ่ การ ยกตัวอย่างเกย่ี วกับการใช้ประโยชน์ ดารงชีวติ ของพชื และสัตว์ จากสารตา่ ง ๆ ที่พืชบางชนิดสรา้ งข้นึ - มนุษยส์ ามารถนาสารตา่ ง ๆ ทีพ่ ชื บางชนิดสร้างข้ึน ไปใชป้ ระโยชน์ เช่น ใชเ้ ปน็ ยาหรอื สมุนไพรในการ รักษาโรคบางชนดิ ใชใ้ นการไล่แมลง กาจัดศตั รูพืช และสัตว์ ใช้ในการยบั ยัง้ การเจริญเติบโตของ แบคทีเรยี และใช้เป็นวัตถุดิบในอตุ สาหกรรม 10. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และ - ปจั จัยภายนอกทม่ี ผี ลต่อการเจริญเตบิ โต เชน่ แสง อธบิ ายเก่ยี วกบั ปจั จัยภายนอกทีม่ ีผล น้า ธาตอุ าหาร คารบ์ อนไดออกไซด์ และออกซเิ จน ต่อการเจริญเติบโตของพชื ปจั จยั ภายใน เชน่ ฮอร์โมนพืช ซึ่งพชื มีการ 11. สบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั สารควบคมุ สงั เคราะห์ขน้ึ เพ่ือควบคมุ การเจรญิ เติบโตในชว่ ง การ ชีวิตตา่ ง ๆ เจริญเติบโตของพชื ทม่ี นุษยส์ ังเคราะห์ - มนษุ ย์มกี ารสังเคราะหส์ ารควบคมุ การเจริญเติบโต ข้นึ ของพชื โดยเลยี นแบบฮอรโ์ มนพชื เพื่อนามาใช้ และยกตัวอยา่ งการนามาประยกุ ต์ใช้ ควบคมุ การเจริญเตบิ โตและเพิ่มผลผลิตของพืช ทางด้านการเกษตรของพชื หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 30

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 12. สงั เกต และอธบิ ายการตอบสนอง - การตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ของพชื แบ่งตาม ของพืชต่อสง่ิ เรา้ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ที่มี ความสมั พนั ธ์กับทิศทางของสิ่งเรา้ ได้ ได้แก่ แบบท่ีมี ผลตอ่ การดารงชวี ิต ทิศทางสัมพันธ์กบั ทิศทางของส่ิงเร้า เชน่ ดอก ทานตะวันหันเข้าหาแสง ปลายรากเจริญเขา้ หาแรง โน้มถ่วงของโลก และแบบท่ีไมม่ ีทิศทางสมั พันธ์กับ ทศิ ทางของส่ิงเร้า เช่น การหุบและบานของดอก หรอื การหบุ และกางของใบพืชบางชนดิ - การตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ของพชื บางอยา่ งสง่ ผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต เชน่ การเจริญในทิศทางเข้าหาหรือ ตรงขา้ มกับแรงโนม้ ถ่วงของโลก การเจริญในทิศ ทางเข้าหาหรือตรงขา้ มกับแสง และการตอบสนอง ตอ่ การสัมผสั สิง่ เรา้ สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมสารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทาง ชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสิง่ มชี วี ิต รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.3 1. อธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ยีน ดี - ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของส่ิงมีชวี ติ เอ็นเอ และโครโมโซม โดยใชแ้ บบจาลอง สามารถถ่ายทอดจากรุ่นหนง่ึ ไปยงั อกี ร่นุ หนึ่ง ได้ โดยมียีนเปน็ หนว่ ยควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรม - โครโมโซมประกอบดว้ ย ดีเอ็นเอ และ โปรตนี ขดอย่ใู นนวิ เคลยี ส ยนี ดเี อน็ เอ และ โครโมโซมมคี วามสัมพันธก์ นั โดยบางสว่ น ของดีเอ็นเอทาหนา้ ที่เป็นยนี ท่ีกาหนด ลักษณะของส่ิงมชี วี ติ หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 31

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง - สง่ิ มชี ีวติ ทม่ี ีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมที่ เปน็ ค่กู ันมีการเรยี งลาดับของยนี บน โครโมโซมเหมอื นกันเรยี กวา่ ฮอมอโลกัส โครโมโซม ยีนหนึง่ ท่ีอยบู่ นคู่ฮอมอโลกสั โครโมโซม อาจมีรปู แบบแตกตา่ งกนั เรยี ก แตล่ ะรปู แบบของยนี ทีต่ ่างกนั น้วี า่ แอลลีล ซง่ึ การเข้าคู่กันของแอลลลี ต่าง ๆ อาจ สง่ ผลทาใหส้ ิ่งมชี วี ิตมลี ักษณะท่ีแตกตา่ งกนั - สง่ิ มีชีวติ แตล่ ะชนิดมีจานวนโครโมโซมคงที่ มนุษย์มจี านวนโครโมโซม 23 คู่ เปน็ ออโต โซม 22 คู่ และโครโมโซมเพศ 1 คู่ เพศหญงิ มโี ครโมโซมเพศเป็น XX เพศชายมี โครโมโซมเพศเป็น XY 2. อธิบายการถา่ ยทอดลักษณะทาง - เมนเดลไดศ้ ึกษาการถ่ายทอดลกั ษณะทาง พันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณา พนั ธุกรรมของตน้ ถ่วั ชนิดหนึ่ง และนามาสู่ ลกั ษณะเดยี วท่ี แอลลีลเดน่ ข่มแอลลี หลักการพ้ืนฐานของการถ่ายทอดลักษณะ ลด้อยอยา่ งสมบรู ณ์ ทางพันธุกรรมของสง่ิ มีชวี ติ 3. อธิบายการเกดิ จีโนไทปแ์ ละฟโี นไทป์ - สงิ่ มีชวี ิตทม่ี โี ครโมโซมเป็น 2 ชดุ ยนี แตล่ ะ ของลูกและคานวณอัตราส่วนการเกดิ จโี น ตาแหน่งบนฮอมอโลกัสโครโมโซมมี 2 แอล ไทป์และฟีโนไทปข์ องร่นุ ลกู ลลี โดยแอลลีลหนง่ึ มาจากพ่อ และอีกแอล ลลี มาจากแม่ ซง่ึ อาจมีรปู แบบเดยี วกัน หรอื แตกตา่ งกันแอลลีลทแี่ ตกต่างกันนี้ แอลลลี หนึ่งอาจมีการแสดงออกข่มอีกแอลลลี หนึ่ง ได้ เรียกแอลลีลน้ันว่า เป็นแอลลีลเด่น ส่วน แอลลลี ทีถ่ ูกขม่ อยา่ งสมบูรณ์ เรียกว่าเป็น แอลลลี ดอ้ ย - เมอ่ื มีการสร้างเซลลส์ บื พันธุ์ แอลลีลท่เี ป็น คกู่ นั ในแต่ละฮอมอโลกัสโครโมโซมจะแยก จากกันไปสูเ่ ซลล์สืบพันธ์ุแตล่ ะเซลล์ โดยแต่ ละเซลล์สบื พนั ธ์ุจะได้รับเพยี ง 1 แอลลีล และจะมาเขา้ คกู่ ับแอลลีลที่ตาแหน่งเดยี วกัน ของอีกเซลล์สืบพันธห์ุ นึง่ เม่ือเกิดการปฏสิ นธิ จนเกดิ เปน็ จโี นไทป์และแสดงฟีโนไทป์ในรุ่น ลูก หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 32

ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4. อธบิ ายความแตกต่างของการแบง่ - กระบวนการแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มีชวี ิตมี 2 เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส แบบ คอื ไมโทซสิ และไมโอซิส - ไมโทซสิ เปน็ การแบง่ เซลลเ์ พอื่ เพม่ิ จานวน เซลลร์ ่างกาย ผลจากการแบง่ จะไดเ้ ซลล์ใหม่ 2 เซลลท์ ่ีมลี ักษณะและจานวนโครโมโซม เหมอื นเซลลต์ ้ังต้น - ไมโอซิส เปน็ การแบง่ เซลลเ์ พือ่ สรา้ งเซลล์ สืบพันธุ์ผลจากการแบง่ จะไดเ้ ซลลใ์ หม่ 4 เซลล์ ท่ีมจี านวนโครโมโซมเปน็ ครึ่งหนง่ึ ของ เซลล์ตัง้ ตน้ เม่อื เกดิ การปฏสิ นธิของเซลล์ สบื พันธ์ุ ลูกจะไดร้ ับการถ่ายทอดโครโมโซม ชดุ หน่ึงจากพ่อและอกี ชุดหนึ่งจากแม่ จึง เป็นผลใหร้ ุน่ ลกู มจี านวนโครโมโซมเท่ากับรนุ่ พ่อแม่และจะคงที่ในทกุ ๆ รนุ่ 5. บอกไดว้ า่ การเปล่ยี นแปลงของยีนหรือ - การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม โครโมโซมอาจทาใหเ้ กิดโรคทาง สง่ ผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงลกั ษณะทาง พนั ธกุ รรม พร้อมทง้ั ยกตวั อย่างโรคทาง พนั ธุกรรมของสิง่ มีชีวิต เช่น โรคธาลัสซีเมีย พันธุกรรม เกิดจากการเปลยี่ นแปลงของยีน กลุ่มอาการ 6. ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรเู้ รอ่ื ง ดาวนเ์ กิดจากการเปลย่ี นแปลงจานวน โรคทางพันธุกรรม โดยรวู้ า่ ก่อนแตง่ งาน โครโมโซม ควรปรกึ ษาแพทย์เพื่อตรวจและวินจิ ฉยั - โรคทางพนั ธกุ รรมสามารถถ่ายทอดจากพ่อ ภาวะเสยี่ งของลูกท่ีอาจเกิดโรคทาง แม่ไปส่ลู กู ได้ ดงั น้ันกอ่ นแต่งงานและมบี ตุ ร พนั ธกุ รรม จึงควรปอ้ งกนั โดยการตรวจและวนิ จิ ฉัย ภาวะเส่ียงจากการถ่ายทอดโรคทาง พันธุกรรม 7. อธิบายการใชป้ ระโยชน์จากส่ิงมชี วี ติ - มนษุ ยเ์ ปล่ยี นแปลงพนั ธุกรรมของสง่ิ มีชีวติ ดัดแปรพันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมี ตามธรรมชาติ เพ่ือให้ไดส้ ิ่งมีชวี ติ ที่มลี ักษณะ ต่อมนุษย์และสงิ่ แวดล้อม โดยใช้ขอ้ มูลที่ ตามต้องการ เรียกสิ่งมชี ีวิตนว้ี า่ สงิ่ มชี ีวติ ดดั รวบรวมได้ แปรพนั ธกุ รรม 8. ตระหนกั ถึงประโยชน์และผลกระทบ - ในปจั จบุ ันมนุษยม์ กี ารใชป้ ระโยชน์จาก ของสิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพันธกุ รรมทีอ่ าจมตี ่อ สิ่งมชี วี ติ ดดั แปรพันธกุ รรมเป็นจานวนมาก มนุษย์และสง่ิ แวดลอ้ มโดยการเผยแพร่ เชน่ การผลิตอาหาร การผลติ ยารักษาโรค ความร้ทู ่ไี ดจ้ ากการโต้แย้งทาง การเกษตร อย่างไรกด็ ีสงั คมยังมีความกงั วล วทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ มีขอ้ มลู สนับสนนุ เกีย่ วกบั ผลกระทบของส่ิงมีชีวิตดัดแปร พันธุกรรมที่มตี ่อสิง่ มีชีวติ และสิ่งแวดล้อม หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 33

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ซึ่งยงั ทาการตดิ ตามศกึ ษาผลกระทบ ดงั กลา่ ว 9. เปรียบเทียบความหลากหลายทาง - ความหลากหลายทางชวี ภาพ มี 3 ระดบั ชีวภาพในระดับชนดิ สิง่ มีชวี ติ ในระบบ ไดแ้ ก่ความหลากหลายของระบบนเิ วศ นเิ วศต่าง ๆ ความหลากหลายของชนิดสง่ิ มชี ีวิต และ 10. อธบิ ายความสาคญั ของความ ความหลากหลาย ทางพนั ธกุ รรม ความ หลากหลายทางชวี ภาพท่มี ีต่อการรกั ษา หลากหลายทางชีวภาพนม้ี คี วามสาคญั ต่อ สมดลุ ของระบบนเิ วศและต่อมนษุ ย์ การรักษาสมดลุ ของระบบนิเวศระบบนิเวศที่ 11. แสดงความตระหนกั ในคุณค่าและ มีความหลากหลายทางชวี ภาพสูงจะรักษา ความสาคญั ของความหลากหลายทาง สมดุลไดด้ กี วา่ ระบบนิเวศท่ีมีความ ชีวภาพ โดยมีสว่ นร่วมในการดแู ลรกั ษา หลากหลายทางชีวภาพต่ากว่า นอกจากนี้ ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพยังมี ความสาคญั ต่อมนุษยใ์ นด้านต่าง ๆ เช่น ใช้ เปน็ อาหารยารักษาโรค วัตถุดิบใน อุตสาหกรรมต่าง ๆ ดังน้ันจึงเปน็ หนา้ ทข่ี อง ทกุ คนในการดแู ลรักษาความหลากหลาย ทางชวี ภาพให้คงอยู่ ม.4 1. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างยีน การ - ดเี อ็นเอ มีโครงสรา้ งประกอบดว้ ยนิวคลีโอ สงั เคราะห์โปรตนี และลักษณะทาง ไทดม์ าเรียงตอ่ กัน โดยยีนเป็นช่วงของสายดี พันธุกรรม เอน็ เอที่มีลาดับนวิ คลีโอไทด์ที่กาหนด ลักษณะของโปรตนี ทส่ี งั เคราะห์ขน้ึ ซึ่งส่งผล ใหเ้ กิดลกั ษณะทางพันธกุ รรมตา่ ง ๆ 2. อธิบายหลักการถา่ ยทอดลกั ษณะที่ถกู - ลักษณะบางลักษณะมีโอกาสพบในเพศ ควบคุมด้วยยนี ที่อยู่บนโครโมโซมเพศ ชายและเพศหญิงไมเ่ ทา่ กัน เชน่ ตาบอดสี และมลั ติเปิลแอลลลี และฮโี มฟเี ลียซง่ึ ควบคุมโดยยีนบน โครโมโซมเพศ บางลักษณะมีการควบคุม โดยยีนแบบมลั ตเิ ปิลแอลลลี เช่น หมู่เลอื ดระบบ ABO ซ่ึงการถ่ายทอด ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมดังกลา่ วจดั เปน็ ส่วน ขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 34

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. อธิบายผลที่เกดิ จากการเปล่ยี นแปลง - มิวเทชันทีเ่ ปลย่ี นแปลงลาดับนวิ คลีโอไทด์ ลาดบั นิวคลโี อไทด์ในดเี อน็ เอตอ่ การแสดง หรือเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งหรือจานวน ลักษณะของสง่ิ มชี วี ิต โครโมโซมอาจส่งผลทาใหล้ กั ษณะของ 4. สืบค้นขอ้ มลู และยกตวั อย่างการนา ส่ิงมีชีวติ เปล่ยี นแปลงไปจากเดิม ซึง่ อาจมี มวิ เทชัน ไปใชป้ ระโยชน์ ผลดีหรือผลเสยี - มนุษย์ใชห้ ลักการของการเกิดมวิ เทชันใน การชกั นาให้ได้สิง่ มชี วี ิตทมี่ ลี ักษณะที่ แตกตา่ งจากเดิมโดยการใชร้ ังสีและสารเคมี ตา่ ง ๆ 5. สืบค้นข้อมูล และอภปิ รายผลของ - มนษุ ย์นาความรู้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ เทคโนโลยีทางดเี อน็ เอท่ีมตี ่อมนษุ ย์และ มาประยุกต์ใชท้ างด้านการแพทย์ และเภสชั สิ่งแวดล้อม กรรม เช่น การสร้างสงิ่ มีชวี ติ ดดั แปร พนั ธกุ รรม เพ่ือผลิตยาและวคั ซีน ดา้ น การเกษตร เช่น พืชดดั แปรพันธุกรรมท่ี ตา้ นทานโรคหรือแมลง สตั ว์ดัดแปร พนั ธุกรรมท่ีมีลักษณะตามทตี่ ้องการ และ ด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ เช่น การตรวจลาย พมิ พด์ ีเอน็ เอเพอื่ หาความสมั พนั ธ์ทาง สายเลือด หรือเพ่ือหาผู้กระทาผิด - การใชเ้ ทคโนโลยที างดเี อ็นเอในด้านต่าง ๆ ต้องคานึงถงึ ความปลอดภยั ทางชวี ภาพ ชวี จรยิ ธรรม และผลกระทบทางดา้ นสงั คม 6. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ าย และยกตวั อยา่ ง - สงิ่ มชี วี ติ ท่มี อี ยูใ่ นปัจจุบนั มีลักษณะที่ ความหลากหลายของส่งิ มีชวี ิต ซึ่งเปน็ ปรากฏใหเ้ ห็นแตกต่างกนั ซึง่ เป็นผลมาจาก ผลมาจากววิ ฒั นาการ ความหลากหลายของลกั ษณะทางพันธกุ รรม ซง่ึ เกิดจากมวิ เทชันรว่ มกับการคัดเลือกโดย ธรรมชาติ - ผลจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทาใหส้ ง่ิ มชี วี ติ ท่มี ีลักษณะเหมาะสมในการ ดารงชวี ิตสามารถปรับตวั ใหอ้ ยรู่ อดได้ใน สงิ่ แวดล้อมน้นั ๆ - กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาตเิ ปน็ หลักการท่ีสาคัญอย่างหนงึ่ ที่ทาใหเ้ กดิ ววิ ัฒนาการของสิง่ มีชีวิต หลักสตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 35

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง สมบตั ิของสสารกับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการ เปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.1 1. อธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพบาง - ธาตแุ ตล่ ะชนดิ มสี มบัตเิ ฉพาะตัวและมสี มบตั ิทาง ประการของธาตุโลหะ อโลหะ และก่งึ กายภาพบางประการเหมือนกันและบางประการ โลหะ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ที่ได้ ต่างกัน ซ่ึงสามารถนามาจดั กลุ่มธาตุเปน็ โลหะ จากการสังเกตและการทดสอบ อโลหะ และกึ่งโลหะ ธาตโุ ลหะมีจุดเดือดจุด และใชส้ ารสนเทศท่ีได้จากแหล่งขอ้ มลู หลอมเหลวสูง มีผวิ มันวาว นาความรอ้ นนาไฟฟา้ ต่าง ๆ รวมท้งั จัดกล่มุ ธาตเุ ป็นโลหะ ดึงเป็นเสน้ หรือตีเป็นแผ่นบาง ๆ ได้ และมีความ อโลหะ และกึ่งโลหะ หนาแน่นทั้งสูงและต่า ธาตอุ โลหะมีจุดเดือด จุด หลอมเหลวตา่ มผี ิวไมม่ ันวาวไมน่ าความร้อน ไม่นา ไฟฟา้ เปราะ แตกหักงา่ ยและมคี วามหนาแนน่ ต่า ธาตกุ ่งึ โลหะมสี มบตั ิ บางประการเหมอื นโลหะ และสมบัตบิ างประการ เหมอื นอโลหะ 2. วเิ คราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ - ธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ท่ีสามารถแผร่ งั สี อโลหะ ก่ึงโลหะและธาตกุ มั มันตรังสี ที่ ไดจ้ ัดเป็นธาตุกัมมนั ตรังสี มีต่อส่งิ มชี วี ติ ส่ิงแวดลอ้ มเศรษฐกจิ - ธาตมุ ีท้ังประโยชนแ์ ละโทษ การใช้ธาตโุ ลหะ และสังคม จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตกุ ัมมันตรังสี ควรคานึงถงึ 3. ตระหนักถงึ คณุ ค่าของการใชธ้ าตุ ผลกระทบต่อสง่ิ มชี วี ิต ส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ และ โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตุ สังคม กมั มันตรังสี โดยเสนอแนวทางการใช้ ธาตอุ ย่างปลอดภัย คุ้มคา่ 4. เปรียบเทยี บจุดเดอื ด จดุ - สารบรสิ ทุ ธิป์ ระกอบดว้ ยสารเพียงชนิดเดียวสว่ น หลอมเหลวของสารบริสุทธิแ์ ละสาร สารผสมประกอบด้วยสารต้ังแต่ 2 ชนดิ ขึ้นไป สาร ผสม โดยการวัดอุณหภมู ิ เขียนกราฟ บริสทุ ธแิ์ ต่ละชนดิ มีสมบตั บิ างประการที่เปน็ ค่า แปลความหมายข้อมลู จากกราฟ หรอื เฉพาะตัว เช่น จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวคงท่ี แต่ สารสนเทศ สารผสมมีจดุ เดอื ดและจุดหลอมเหลวไม่คงท่ี ข้ึนอย่กู ับชนดิ และสัดส่วนของสารท่ผี สมอย่ดู ว้ ยกัน หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 36

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 5. อธิบายและเปรยี บเทยี บความ - สารบริสทุ ธ์ิแตล่ ะชนิดมคี วามหนาแน่น หรือมวล หนาแนน่ ของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม ต่อหน่งึ หน่วยปริมาตรคงท่ี เป็นคา่ เฉพาะของสาร 6. ใชเ้ ครอื่ งมือเพ่ือวัดมวลและปรมิ าตร นัน้ ณ สถานะและอุณหภูมหิ น่ึงแต่สารผสมมคี วาม ของสารบรสิ ุทธิ์และสารผสม หนาแนน่ ไม่คงที่ข้นึ อยู่กับชนิดและสดั ส่วนของสาร ที่ผสมอยู่ด้วยกัน 7. อธิบายเกีย่ วกบั ความสัมพันธ์ - สารบริสุทธ์ิแบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ ระหวา่ งอะตอมธาตุ และสารประกอบ ธาตุประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุดที่ยังแสดง โดยใช้แบบจาลองและสารสนเทศ สมบัติของธาตุน้ันเรียกว่า อะตอม ธาตุแต่ละชนิด ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย อ ะ ต อ ม เ พี ย ง ช นิ ด เ ดี ย ว แ ล ะ ไ ม่ สามารถแยกสลายเป็นสารอ่ืนได้ด้วยวิธีทางเคมี ธาตเุ ขยี นแทนด้วยสญั ลกั ษณ์ธาตุ สารประกอบเกิด จากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดข้ึนไปรวมตัวกัน ทางเคมีในอตั ราส่วนคงที่ มีสมบัติแตกต่างจากธาตุ ทเี่ ป็นองค์ประกอบ สามารถแยกเป็นธาตุได้ด้วยวิธี ทางเคมี ธาตุและสารประกอบสามารถเขียนแทน ได้ด้วยสตู รเคมี 8. อธิบายโครงสรา้ งอะตอมที่ - อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และ ประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน โปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวก ธาตุชนิด อเิ ล็กตรอน โดยใช้แบบจาลอง เดียวกนั มีจานวนโปรตอนเท่ากันและเป็นค่าเฉพาะ 9. อธบิ ายและเปรยี บเทียบการจดั เรียง ของธาตุน้ัน นิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟ้าส่วน อนภุ าคแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าค อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ เม่ืออะตอมมีจานวน และการเคลื่อนท่ีของอนภุ าคของสสาร โปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนจะเป็นกลางทาง ชนดิ เดียวกันในสถานะของแข็ง ไฟฟ้า โปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลาง ของเหลว และแกส๊ โดยใช้แบบจาลอง อะตอมเรียกว่า นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอน เคลื่อนท่ีอยู่ในทวี่ า่ งรอบนวิ เคลยี ส - สสารทกุ ชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสาร ชนิดเดียวกันท่ีมสี ถานะของแข็ง ของเหลว แก๊สจะ มีการจดั เรียงอนุภาค แรงยดึ เหนี่ยวระหว่าง อนุภาค การเคล่ือนท่ีของอนุภาคแตกต่างกนั ซ่ึงมี ผลต่อรปู ร่างและปริมาตรของสสาร - อนุภาคของของแข็งเรยี งชิดกนั มแี รงยดึ เหนีย่ ว ระหว่างอนุภาคมากท่สี ดุ อนุภาคสัน่ อยู่กบั ที่ทาให้ มรี ปู รา่ งและปริมาตรคงที่ - อนภุ าคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มแี รงยดึ เหน่ยี ว ระหว่างอนุภาคน้อยกวา่ ของแขง็ แตม่ ากกว่าแกส๊ หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 37

ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 10. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่าง อนุภาคเคล่ือนท่ีไดแ้ ต่ไม่เปน็ อิสระเทา่ แกส๊ ทาให้มี พลังงานความร้อนกับการเปลี่ยน รปู ร่างไม่คงท่ี แตป่ ริมาตรคงท่ี สถานะของสสาร โดยใชห้ ลักฐานเชงิ - อนภุ าคของแก๊สอยูห่ า่ งกนั มาก มีแรงยึดเหนยี่ ว ประจกั ษ์และแบบจาลอง ระหวา่ งอนภุ าคน้อยทส่ี ดุ อนุภาคเคลือ่ นท่ีได้อยา่ ง อสิ ระทุกทิศทาง ทาให้มีรปู ร่างและปรมิ าตรไม่คงที่ - ความรอ้ นมผี ลต่อการเปล่ียนสถานะของสสาร เมือ่ ให้ความร้อนแกข่ องแข็ง อนภุ าคของของแขง็ จะมีพลังงานและอุณหภมู ิเพม่ิ ขึ้นจนถงึ ระดบั หนง่ึ ซง่ึ ของแข็งจะใช้ความร้อนในการเปลย่ี นสถานะ เป็นของเหลว เรียกความร้อนท่ใี ช้ในการเปล่ยี น สถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลวว่า ความร้อนแฝง ของการหลอมเหลว และอณุ หภมู ขิ ณะเปล่ยี น สถานะจะคงท่ี เรียกอุณหภมู ินีว้ ่า จดุ หลอมเหลว - เมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลว อนภุ าคของ ของเหลวจะมีพลังงานและอุณหภูมเิ พ่มิ ข้นึ จนถงึ ระดบั หนึ่งซงึ่ ของเหลวจะใชค้ วามรอ้ นในการ เปลีย่ นสถานะเป็นแก๊ส เรียกความรอ้ นที่ใช้ในการ เปลยี่ นสถานะจากของเหลวเป็นแกส๊ วา่ ความร้อน แฝงของการกลายเป็นไอ และอุณหภูมิขณะเปลยี่ น สถานะ จะคงท่ี เรยี กอุณหภูมิน้ีวา่ จุดเดอื ด - เมอ่ื ทาให้อุณหภมู ขิ องแกส๊ ลดลงจนถงึ ระดับหน่ึง แกส๊ จะเปล่ยี นสถานะเป็นของเหลว เรยี กอุณหภมู ิ นีว้ า่ จุดควบแนน่ ซึง่ มอี ุณหภมู เิ ดยี วกับจดุ เดือด ของของเหลวนั้น - เมือ่ ทาให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถงึ ระดับหนงึ่ ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียกอณุ หภมู ินี้วา่ จดุ เยือกแข็ง ซึง่ มีอุณหภูมิ เดียวกบั จุดหลอมเหลวของของแข็งนน้ั หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 38

ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.2 1. อธิบายการแยกสารผสมโดยการ - การแยกสารผสมใหเ้ ป็นสารบรสิ ทุ ธทิ์ าไดห้ ลายวิธี ระเหยแห้งการตกผลกึ การกล่นั อย่าง ข้ึนอยู่กับสมบัติของสารนน้ั ๆ การระเหยแห้งใช้ ง่าย โครมาโทกราฟแี บบกระดาษ การ แยกสารละลายซง่ึ ประกอบด้วยตัวละลายทีเ่ ปน็ สกดั ดว้ ย ตวั ทาละลาย โดยใช้หลักฐาน ของแขง็ ในตัวทาละลายท่ีเปน็ ของเหลว โดยใช้ เชิงประจักษ์ ความรอ้ นระเหยตวั ทาละลายออกไปจนหมดเหลือ 2. แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตก แตต่ วั ละลาย การตกผลกึ ใชแ้ ยกสารละลายท่ี ผลึก การกลนั่ อยา่ งงา่ ย โครมาโทกราฟี ประกอบดว้ ยตัวละลายท่เี ปน็ ของแขง็ ในตวั ทา แบบกระดาษการสกัดดว้ ยตัวทา ละลายที่เปน็ ของเหลว โดยทาให้สารละลายอม่ิ ตัว ละลาย แล้วปล่อยใหต้ ัวทาละลายระเหยออกไปบาง สว่ นตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกล่ัน อยา่ งง่ายใชแ้ ยกสารละลายที่ประกอบดว้ ยตวั ละลายและตัวทาละลายทเ่ี ป็นของเหลวท่ีมีจดุ เดือดตา่ งกันมาก วิธนี ้จี ะแยกของเหลวบรสิ ทุ ธิ์ออก จากสารละลายโดยให้ความร้อนกบั สารละลาย ของเหลวจะเดือดและกลายเปน็ ไอแยกจาก สารละลายแล้วควบแนน่ กลบั เป็นของเหลวอีกคร้ัง ขณะท่ีของเหลวเดอื ด อณุ หภูมขิ องไอจะ คงท่ี โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเปน็ วธิ กี ารแยก สารผสมทมี่ ีปรมิ าณน้อยโดยใชแ้ ยกสารทมี่ ีสมบตั ิ การละลายในตัวทาละลายและการถกู ดดู ซับด้วย ตวั ดูดซบั แตกต่างกนั ทาให้สารแตล่ ะชนิดเคลื่อนท่ี ไปบนตัวดดู ซับได้ตา่ งกนั สารจงึ แยกออกจากกนั ได้ อตั ราสว่ นระหวา่ งระยะทางที่สารองค์ประกอบแต่ ละชนิดเคลือ่ นท่ีได้บนตวั ดูดซับกบั ระยะทางท่ตี ัว ทาละลายเคลื่อนที่ได้ เป็นค่าเฉพาะตัวของสารแต่ ละชนดิ ในตัวทาละลายและตัวดูดซับ หน่งึ ๆ การสกดั ด้วยตัวทาละลายเปน็ วิธกี ารแยกสาร ผสมทมี่ สี มบตั กิ ารละลายใน ตัวทาละลายที่ต่างกัน โดยชนิดของตวั ทาละลายมี ผลตอ่ ชนิดและปรมิ าณของสารทสี่ กดั ได้การสกัด 3. นาวิธกี ารแยกสารไปใชแ้ ก้ปญั หาใน โดยการกล่ันดว้ ยไอนา้ ใช้แยกสารท่รี ะเหยงา่ ย ไม่ ชีวติ ประจาวันโดยบรู ณาการ ละลายน้า และไมท่ าปฏิกิรยิ ากบั นา้ ออกจากสารท่ี วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ระเหยยาก โดยใชไ้ อน้าเปน็ ตัวพา และวศิ วกรรมศาสตร์ - ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแยกสาร บรู ณาการกบั คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี โดยใช้ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 39

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กระบวนการทางวิศวกรรม สามารถนาไปใช้ แกป้ ญั หาในชีวติ ประจาวันหรอื ปญั หาท่ีพบใน ชมุ ชนหรอื สรา้ งนวัตกรรม โดยมีข้ันตอน ดังนี้ - ระบปุ ญั หาในชวี ติ ประจาวันท่เี ก่ยี วกบั การแยก สารโดยใช้สมบัติทางกายภาพ หรือนวัตกรรมท่ี ตอ้ งการพัฒนา โดยใช้หลกั การดงั กล่าว - รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดเกย่ี วกบั การแยกสาร โดยใชส้ มบตั ทิ างกายภาพที่สอดคล้องกบั ปัญหาท่ี ระบุ หรือนาไปสู่การพัฒนานวตั กรรมนัน้ - ออกแบบวธิ กี ารแก้ปญั หา หรอื พฒั นา นวัตกรรมท่เี กี่ยวกบั การแยกสารในสารผสม โดยใช้ สมบตั ิทางกายภาพ โดยเชอ่ื มโยงความรูด้ า้ น วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และ กระบวนการทางวศิ วกรรม รวมทง้ั กาหนดและ ควบคุมตัวแปรอย่างเหมาะสม ครอบคลมุ - วางแผนและดาเนินการแก้ปญั หา หรอื พัฒนา นวตั กรรม รวบรวมข้อมูล จดั กระทาขอ้ มลู และ เลือกวิธีการสือ่ ความหมายที่เหมาะสมในการ นาเสนอผล - ทดสอบ ประเมินผล ปรับปรุงวธิ กี ารแกป้ ัญหา หรือนวตั กรรมท่ีพฒั นาขึ้น โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ที่รวบรวมได้ - นาเสนอวธิ กี ารแก้ปัญหา หรอื ผลของนวตั กรรม ท่พี ัฒนาขนึ้ และผลท่ไี ด้ โดยใช้วธิ ีการสอื่ สารท่ี เหมาะสมและนา่ สนใจ หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 40

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 4. ออกแบบการทดลองและทดลองใน - สารละลายอาจมีสถานะเปน็ ของแข็ง ของเหลว การอธิบายผลของชนดิ ตัวละลาย ชนดิ และแก๊ส สารละลายประกอบด้วยตัวทาละลาย ตัวทาละลายอุณหภูมิทมี่ ตี ่อสภาพ และตวั ละลาย กรณสี ารละลายเกดิ จากสารที่มี ละลายไดข้ องสาร รวมทงั้ อธบิ ายผล สถานะเดยี วกนั สารที่มีปริมาณมากทสี่ ุดจัดเปน็ ตัว ของความดนั ที่มตี ่อสภาพละลายได้ ทาละลาย กรณสี ารละลายเกิดจากสารทมี่ สี ถานะ ของสาร โดยใช้สารสนเทศ ต่างกัน สารท่มี สี ถานะเดยี วกันกบั สารละลาย จดั เปน็ ตวั ทาละลาย - สารละลายท่ีตวั ละลายไม่สามารถละลายในตัวทา ละลายได้อีกท่ีอณุ หภูมิหนึ่ง ๆ เรยี กวา่ สารละลาย อม่ิ ตัว - สภาพละลายได้ของสารในตัวทาละลาย เป็นคา่ ท่ี บอกปรมิ าณของสารทล่ี ะลายได้ในตวั ทาละลาย 100 กรัม จนได้สารละลายอม่ิ ตัว ณ อณุ หภูมิ และ ความดันหนง่ึ ๆ สภาพละลายไดข้ องสารบง่ บอก ความสามารถในการละลายได้ของตัวละลาย ในตัวทาละลาย ซึ่งความสามารถในการละลายของ สารข้นึ อยู่กบั ชนิดของตัวทาละลายและตวั ละลาย อุณหภมู ิ และความดนั - สารชนดิ หนึง่ ๆ มีสภาพละลายได้แตกต่างกันใน ตัวทาละลายทแ่ี ตกต่างกัน และสารต่างชนิดกันมี สภาพละลายได้ในตวั ทาละลายหนึง่ ๆ ไม่เทา่ กนั - เม่ืออุณหภมู สิ งู ขึ้น สารสว่ นมาก สภาพละลายได้ ของสารจะเพิ่มข้ึน ยกเวน้ แก๊สเมื่ออุณหภูมสิ งู ข้นึ สภาพการละลายไดจ้ ะลดลง สว่ นความดนั มีผลต่อ แก๊ส โดยเมอ่ื ความดนั เพิ่มข้ึน สภาพละลายได้จะ สงู ขึ้น - ความรเู้ กย่ี วกับสภาพละลายได้ของสาร เม่ือ เปล่ียนแปลงชนดิ ตัวละลาย ตวั ทาละลาย และ อุณหภมู ิ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ น ชวี ติ ประจาวันเช่น การทาน้าเชอื่ มเขม้ ข้น การสกัด สารออกจาก สมนุ ไพรให้ได้ปริมาณมากท่ีสุด หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 41

ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 5. ระบปุ ริมาณตัวละลายในสารละลาย - ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย เปน็ การระบปุ ริมาณ ในหน่วยความเข้มขน้ เป็นรอ้ ยละ ตวั ละลายในสารละลาย หน่วยความเข้มข้นมหี ลาย ปรมิ าตรต่อปริมาตรมวลตอ่ มวล และ หน่วย ทน่ี ยิ มระบุเปน็ หนว่ ยเปน็ รอ้ ยละปรมิ าตรตอ่ มวลตอ่ ปรมิ าตร ปรมิ าตร มวลต่อมวล และมวลตอ่ ปรมิ าตร 6. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของการนา - รอ้ ยละโดยปรมิ าตรต่อปริมาตร เป็นการระบุ ความรเู้ รอื่ งความเข้มข้นของสารไปใช้ ปรมิ าตรตัวละลายในสารละลาย 100 หน่วย โดยยกตัวอย่างการใช้สารละลายใน ปรมิ าตรเดยี วกัน นยิ มใช้กับสารละลายท่เี ปน็ ชีวิตประจาวันอยา่ งถูกตอ้ งและ ของเหลวหรือแกส๊ ปลอดภยั - ร้อยละโดยมวลต่อมวล เป็นการระบมุ วล ตวั ละลายในสารละลาย 100 หน่วยมวลเดยี วกัน นยิ มใช้กบั สารละลายที่มีสถานะเป็นของแขง็ - ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร เปน็ การระบุมวลตวั ละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตรนิยมใช้ กับสารละลายทม่ี ีตวั ละลายเป็นของแข็งในตัวทา ละลายทเี่ ป็นของเหลว - การใชส้ ารละลาย ในชีวิตประจาวนั ควร พจิ ารณาจากความเขม้ ขน้ ของสารละลาย ขนึ้ อยู่ กับจุดประสงคข์ องการใชง้ าน และผลกระทบตอ่ สง่ิ ชวี ิตและส่งิ แวดล้อม ม.3 1. ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้ - พอลเิ มอร์ เซรามิก และวสั ดุผสม เป็นวัสดทุ ีใ่ ช้ ประโยชน์วัสดปุ ระเภทพอลิเมอร์ เซรา มากในชีวิตประจาวนั มกิ และวสั ดุผสมโดยใชห้ ลักฐานเชิง - พอลเิ มอรเ์ ปน็ สารประกอบโมเลกุลใหญ่ ประจกั ษ์ และสารสนเทศ ที่เกดิ จากโมเลกลุ จานวนมากรวมตวั กนั ทางเคมี 2. ตระหนกั ถึงคุณค่าของการใชว้ สั ดุ เช่น พลาสติก ยาง เส้นใย ซ่งึ เปน็ พอลิเมอร์ท่ีมี ประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวสั ดุ สมบัตแิ ตกต่างกนั โดยพลาสติกเปน็ พอลเิ มอร์ทีข่ ึ้น ผสม โดยเสนอแนะแนวทางการใชว้ ัสดุ รปู เปน็ รปู ทรงต่าง ๆ ได้ ยางยืดหยุ่นไดส้ ่วนเส้นใย อย่างประหยดั และคมุ้ ค่า เป็นพอลิเมอร์ทส่ี ามารถดึงเป็นเส้นยาวไดพ้ อลิ เมอรจ์ ึงใช้ประโยชน์ไดแ้ ตกตา่ งกนั - เซรามิกเป็นวสั ดุทผี่ ลติ จาก ดิน หนิ ทราย และ แรธ่ าตตุ ่าง ๆ จากธรรมชาติ และสว่ นมากจะผา่ น การเผาทอี่ ุณหภมู สิ ูง เพ่ือให้ได้เนอื้ สารทแ่ี ขง็ แรง เซรามิกสามารถทาเป็นรูปทรงตา่ ง ๆ ได้ สมบัติ ท่ัวไปของเซรามิกจะแขง็ ทนตอ่ การสึกกร่อนและ เปราะ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เชน่ ภาชนะที่ เปน็ เครื่องปนั้ ดนิ เผา ชิ้นสว่ นอิเลก็ ทรอนิกส์ หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 42

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - วสั ดผุ สมเปน็ วสั ดทุ ี่เกิดจากวสั ดุตงั้ แต่ 2 ประเภทที่ มสี มบตั ิแตกตา่ งกันมารวมตัวกัน เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ไดม้ ากขึ้น เชน่ เสื้อกนั ฝนบางชนดิ เป็น วสั ดุผสมระหว่างผ้ากับยาง คอนกรีตเสรมิ เหล็กเปน็ วสั ดผุ สมระหว่างคอนกรตี กับเหลก็ - วัสดบุ างชนดิ สลายตวั ยาก เช่น พลาสติก การใช้ วสั ดุอยา่ งฟ่มุ เฟือยและไม่ระมัดระวงั อาจก่อปัญหา ตอ่ สงิ่ แวดล้อม 3. อธบิ ายการเกิดปฏิกิริยาเคมี - การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รวมถึงการจัดเรยี งตัวใหมข่ องอะตอม ของสาร เปน็ การเปลีย่ นแปลงทท่ี าให้เกดิ สารใหม่ เมอื่ เกิดปฏิกริ ิยาเคมีโดยใช้ โดยสารที่เข้าทาปฏกิ ิริยา เรียกวา่ สารตง้ั ตน้ สารใหม่ แบบจาลองและสมการข้อความ ทเ่ี กดิ ขึน้ จากปฏกิ ิรยิ า เรยี กวา่ ผลติ ภณั ฑก์ าร 4. อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้ เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมสี ามารถเขยี นแทนไดด้ ว้ ยสมการ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ข้อความ - การเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี อะตอมของสารต้งั ต้นจะมี การจัดเรยี งตัวใหม่ ได้เป็นผลิตภัณฑ์ ซึง่ มีสมบัติ แตกต่างจากสารตั้งต้น โดยอะตอมแต่ละชนิดก่อน และหลังเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีมีจานวนเทา่ กัน - เมอ่ื เกิดปฏิกริ ิยาเคมี มวลรวมของสารต้งั ตน้ เท่ากับ มวลรวมของผลิตภณั ฑ์ ซึง่ เป็นไปตามกฎทรงมวล 5. วิเคราะหป์ ฏกิ ริ ิยาดูดความรอ้ น - เม่อื เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี มกี ารถา่ ยโอนความร้อน และปฏกิ ริ ิยาคายความร้อน จากการ ควบคู่ไปกบั การจัดเรียงตวั ใหมข่ องอะตอมของสาร เปลี่ยนแปลงพลงั งานความรอ้ นของ ปฏิกริ ยิ าทีม่ กี ารถ่ายโอนความรอ้ นจากสิ่งแวดล้อม ปฏิกริ ยิ า เข้าสรู่ ะบบเป็นปฏกิ ริ ิยาดดู ความร้อน ปฏกิ ริ ยิ า ท่ีมี การถ่ายโอนความรอ้ นจากระบบออกส่สู ่ิงแวดลอ้ ม เปน็ ปฏิกิรยิ าคายความรอ้ น โดยใชเ้ คร่ืองมือที่ เหมาะสมในการวดั อุณหภูมิ เชน่ เทอร์มอมิเตอร์ หวั วัดท่สี ามารถตรวจสอบการเปลย่ี นแปลงของ อณุ หภมู ไิ ด้อยา่ งตอ่ เน่ือง หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 43

ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 6. อธบิ ายปฏิกิรยิ าการเกดิ สนมิ - ปฏกิ ริ ิยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวันมีหลายชนดิ เชน่ ของเหล็ก ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกับ ปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ การเกิดสนมิ ของเหล็กปฏิกริ ิยา โลหะ ปฏกิ ิริยาของกรดกับเบส ของกรดกับโลหะปฏกิ ิรยิ าของกรดกับเบส ปฏิกิริยา และปฏกิ ริ ยิ าของเบสกบั โลหะ โดย ของเบสกบั โลหะ การเกดิ ฝนกรดการสงั เคราะหด์ ้วย ใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ และ แสง ปฏกิ ริ ยิ าเคมีสามารถเขียนแทนไดด้ ว้ ยสมการ อธิบายปฏกิ ิรยิ าการเผาไหม้การ ข้อความ ซงึ่ แสดงชอื่ ของสารตั้งตน้ และผลิตภัณฑ์ เช่น เกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง เชือ้ เพลิง + ออกซเิ จน → คาร์บอนไดออกไซด์ + น้า โดยใชส้ ารสนเทศ รวมท้ังเขยี น ปฏกิ ริ ิยาการเผาไหมเ้ ป็นปฏิกิริยาระหว่างสารกบั สมการข้อความแสดงปฏกิ ริ ิยา ออกซเิ จน สารทีเ่ กิดปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้ ดังกล่าว ส่วนใหญ่เปน็ สารประกอบทีม่ ีคารบ์ อนและ ไฮโดรเจนเปน็ องค์ประกอบ ซ่ึงถา้ เกดิ การเผาไหม้ อยา่ งสมบูรณ์ จะได้ผลิตภณั ฑ์เป็นคารบ์ อนไดออกไซด์ และนา้ - การเกดิ สนิมของเหลก็ เกิดจากปฏกิ ิรยิ าเคมรี ะหว่าง เหล็ก น้า และออกซิเจน ไดผ้ ลิตภณั ฑ์เป็นสนิมของ เหล็ก - ปฏกิ ริ ิยาการเผาไหม้และการเกิดสนมิ ของเหล็กเปน็ ปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งสารตา่ ง ๆ กับออกซิเจน - ปฏกิ ิริยาของกรดกบั โลหะ กรดทาปฏกิ ริ ิยากบั โลหะ ไดห้ ลายชนดิ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลอื ของโลหะและ แก๊สไฮโดรเจน - ปฏิกริ ยิ าของกรดกบั สารประกอบคารบ์ อเนตได้ ผลติ ภณั ฑเ์ ป็นแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์เกลือของโลหะ และน้า - ปฏิกิริยาของกรดกับเบส ได้ผลิตภัณฑเ์ ป็นเกลอื ของ โลหะและน้า หรอื อาจไดเ้ พียงเกลอื ของโลหะ - ปฏิกิรยิ าของเบสกับโลหะบางชนิด ได้ผลติ ภณั ฑ์ เปน็ เกลอื ของเบสและแกส๊ ไฮโดรเจน - การเกิดฝนกรด เป็นผลจากปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งนา้ ฝน กับออกไซด์ของไนโตรเจน หรอื ออกไซด์ของซัลเฟอร์ ทาให้นา้ ฝนมสี มบตั เิ ป็นกรด - การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช เปน็ ปฏกิ ิรยิ าระหว่าง แก๊สคาร์บอนไดออกไซดก์ ับน้า โดยมแี สงชว่ ยในการ เกิดปฏกิ ิรยิ า ไดผ้ ลติ ภณั ฑเ์ ป็นน้าตาลกลโู คสและ ออกซิเจน หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2564 44

ชัน้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 7. ระบุประโยชนแ์ ละโทษของ - ปฏิกิริยาเคมที ี่พบในชวี ิตประจาวันมีทงั้ ประโยชน์ ปฏิกิริยาเคมีที่มตี ่อส่ิงมีชีวติ และ และโทษต่อส่งิ มีชีวิตและสงิ่ แวดลอ้ ม จงึ ต้อง ส่งิ แวดลอ้ ม และยกตัวอยา่ งวธิ กี าร ระมดั ระวงั ผลจากปฏิกริ ิยาเคมี ตลอดจนรูจ้ ักวธิ ี ป้องกันและแก้ปญั หาที่เกดิ จาก ป้องกันและแก้ปญั หาท่ีเกิดจากปฏกิ ริ ยิ าเคมีท่ีพบใน ปฏิกริ ยิ าเคมที ่ีพบในชีวติ ประจาวนั ชีวิตประจาวนั จากการสบื คน้ ข้อมลู - ความรู้เกย่ี วกบั ปฏิกริ ยิ าเคมี สามารถนาไปใช้ 8. ออกแบบวธิ ีแก้ปัญหาใน ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั และสามารถบรู ณาการกบั ชวี ติ ประจาวนั โดยใชค้ วามรู้ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ เก่ยี วกับปฏกิ ริ ิยาเคมีโดยบูรณาการ เพอ่ื ใชป้ รบั ปรงุ ผลติ ภัณฑ์ให้มีคุณภาพ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ตามตอ้ งการหรืออาจสร้างนวัตกรรมเพ่ือป้องกนั และ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ แกป้ ัญหาท่ีเกดิ ขึ้นจากปฏกิ ริ ิยาเคมี โดยใช้ความรู้ เกีย่ วกบั ปฏกิ ิริยาเคมี เชน่ การเปลีย่ นแปลงพลงั งาน ความร้อนอันเน่ืองมาจากปฏิกิรยิ าเคมีการเพิม่ ปรมิ าณ ผลผลิต ม.5 1. ระบุว่าสารเปน็ ธาตหุ รือ - สารเคมีทุกชนดิ สามารถระบุไดว้ า่ เปน็ ธาตหุ รือ สารประกอบ และอย่ใู นรปู อะตอม สารประกอบ และอยูใ่ นรปู ของอะตอม โมเลกุลหรือ โมเลกุล หรอื ไอออนจากสูตรเคมี ไอออนได้ โดยพจิ ารณาจากสูตรเคมี 2. เปรยี บเทียบความเหมือนและ - แบบจาลองอะตอมใชอ้ ธิบายตาแหนง่ ของโปรตอน ความแตกต่างของแบบจาลอง นวิ ตรอน และอิเล็กตรอนในอะตอม โดยโปรตอน และ อะตอมของโบร์กบั แบบจาลอง นิวตรอนอยูร่ วมกนั ในนวิ เคลียส ส่วนอิเลก็ ตรอน อะตอมแบบกลุ่มหมอก เคลื่อนทรี่ อบนิวเคลียส ซ่งึ ในแบบจาลองอะตอมของ โบร์ อิเล็กตรอนเคลื่อนทีเ่ ป็นวง โดยแตล่ ะวงมี ระยะหา่ งจากนวิ เคลียสและมีพลังงานต่างกนั และ อเิ ล็กตรอนวงนอกสดุ เรียกว่า เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอน - แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก แสดงโอกาสทจี่ ะ พบอเิ ล็กตรอนรอบนิวเคลยี สในลักษณะกลุ่มหมอก เนอ่ื งจากอเิ ลก็ ตรอนมีขนาดเลก็ และเคล่ือนที่อยา่ ง รวดเร็วตลอดเวลา จงึ ไม่สามารถระบุตาแหน่งที่ แน่นอนได้ หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศกั ราช 2564 45

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 3. ระบุจานวนโปรตอน นิวตรอน - อะตอมของธาตเุ ป็นกลางทางไฟฟา้ มจี านวน และอเิ ล็กตรอน ของอะตอม และ โปรตอนเทา่ กับจานวนอเิ ล็กตรอน การระบุชนิดของ ไอออนทเี่ กิดจากอะตอมเดียว ธาตุพิจารณาจากจานวนโปรตอน - เมอ่ื อะตอมของธาตุมกี ารใหห้ รอื รบั อเิ ลก็ ตรอน ทา ใหจ้ านวนโปรตอนและอิเลก็ ตรอนไม่เทา่ กนั เกิดเป็น ไอออน โดยไอออนที่มีจานวนอเิ ลก็ ตรอนน้อยกว่า จานวนโปรตอน เรยี กวา่ ไอออนบวก ส่วนไอออนทมี่ จี านวนอิเลก็ ตรอนมากกว่า โปรตอน เรยี กวา่ ไอออนลบ 4. เขยี นสญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ของธาตุ - สัญลกั ษณ์นิวเคลียร์ ประกอบดว้ ยสญั ลกั ษณ์ธาตุ และระบุการเป็นไอโซโทป เลขอะตอมและเลขมวล โดยเลขอะตอมเปน็ ตวั เลขที่ แสดงจานวนโปรตอนในอะตอม เลขมวลเป็นตัว เลขทีแ่ สดงผลรวมของจานวนโปรตอนกับ นวิ ตรอนในอะตอม ธาตชุ นดิ เดียวกันแต่มี เลขมวลต่างกัน เรยี กวา่ ไอโซโทป 5. ระบหุ มู่และคาบของธาตุ และระบุ - ธาตุจดั เป็นหมวดหมูไ่ ด้อย่างเปน็ ระบบ โดยอาศยั ว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ ตารางธาตุ ซึ่งในปจั จุบันจัดเรียงตามเลขอะตอมและ กลุ่มธาตุเรพรเี ซนเททีฟ หรอื กลุ่ม ความคล้ายคลึงของสมบัติ แบ่งออกเป็นหมู่ซึ่งเป็น ธาตแุ ทรนซิชัน จากตารางธาตุ แถวในแนวต้งั และคาบซง่ึ เป็นแถวในแนวนอนทาให้ ธาตทุ ่ีมสี มบัติเป็นโลหะ อโลหะและกึง่ โลหะอยู่เปน็ กลมุ่ บรเิ วณใกล้ ๆ กนั และแบง่ ธาตุออกเปน็ กลุ่ม ธาตุเรพรเี ซนเททีฟและกลุม่ ธาตุแทรนซชิ นั 6. เปรยี บเทียบสมบัตกิ ารนาไฟฟ้า - ธาตใุ นกลุ่มโลหะ จะนาไฟฟ้าไดด้ ี และมแี นวโน้มให้ การให้และรับอเิ ลก็ ตรอนระหว่าง อิเลก็ ตรอน ส่วนธาตใุ นกลุ่มอโลหะ จะไมน่ าไฟฟา้ ธาตุในกลุม่ โลหะกบั อโลหะ และมแี นวโน้มรับอเิ ล็กตรอน โดยธาตุเรพรีเซนเททีฟ ในหมู่ IA - IIA และธาตุแทรนซชิ ันทุกธาตุจดั เปน็ ธาตุ ในกลมุ่ โลหะ ส่วนธาตเุ รพรเี ซนเททีฟในหมู่ IIIA - VIIA มที ัง้ ธาตุในกล่มุ โลหะและอโลหะส่วนธาตุเรพรี เซนเททีฟในหมู่ VIIIA จัดเปน็ ธาตอุ โลหะท้งั หมด 7. สืบค้นข้อมลู และนาเสนอตัวอย่าง - ธาตเุ รพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซชิ นั ประโยชนแ์ ละอนั ตรายท่ีเกดิ จากธาตุ นามาใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั ไดห้ ลากหลายซ่งึ เรพรเี ซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ ัน ธาตบุ างชนิดมสี มบตั ทิ ี่เปน็ อนั ตราย จงึ ต้องคานงึ ถงึ การปอ้ งกันอนั ตรายเพื่อความปลอดภัยในการใช้ ประโยชน์ หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 46

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 8. ระบุว่าพันธะโคเวเลนตเ์ ป็นพันธะ - พนั ธะโคเวเลนต์ เป็นการยดึ เหน่ยี วระหวา่ ง เด่ยี ว พนั ธะคู่หรือพนั ธะสาม และ อะตอมดว้ ยการใชเ้ วเลนซ์อิเล็กตรอนรว่ มกนั เกิด ระบุจานวนคูอ่ ิเล็กตรอนระหว่าง เป็นโมเลกุล โดยการใช้เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนรว่ มกนั 1 อะตอมคู่รว่ มพันธะ จากสูตร คเู่ รยี กวา่ พนั ธะเด่ียว เขยี นแทนด้วยเสน้ พันธะ 1 โครงสร้าง เสน้ ในโครงสร้างโมเลกุล ส่วนการใช้เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ และ 3 คู่ เรียกวา่ พันธะคู่ และพนั ธะสาม เขยี นแทนด้วยเส้น พันธะ 2 เสน้ และ 3 เส้น ตามลาดับ 9. ระบสุ ภาพข้วั ของสารท่ีโมเลกุล - สารท่ีมีพันธะภายในโมเลกุลเป็นพันธะ โคเวเลนต์ ประกอบดว้ ย 2 อะตอม ท้ังหมดเรียกว่า สารโคเวเลนต์ โดยสารโคเวเลนต์ที่ 10. ระบสุ ารทีเ่ กดิ พนั ธะไฮโดรเจนได้ ประกอบด้วย 2 อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันเป็น จากสตู รโครงสรา้ ง สารไม่มีข้ัว ส่วนสารโคเวเลนต์ ที่ประกอบด้วย 2 11. อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งจดุ อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน เป็นสารมีข้ัว สาหรับ เดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดงึ ดูด สารโคเวเลนต์ท่ีประกอบด้วยอะตอมมากกว่า 2 ระหวา่ งโมเลกลุ ตามสภาพข้วั หรอื อ ะ ต อ ม อ า จ เ ป็ น ส า ร มี ขั้ ว ห รื อ ไ ม่ มี ขั้ ว การเกดิ พันธะไฮโดรเจน ข้ึนอยู่กับรูปร่างของโมเลกุล ซึ่งสภาพข้ัวของ สารโคเวเลนต์ส่งผลต่อแรงดงึ ดูดระหวา่ งโมเลกุลที่ทา ให้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนต์ แตกต่างกัน นอกจากน้ีสารบางชนิดมีจุดเดือดสูงกว่า ปกติ เนื่องจากมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลสูงที่ เรียกว่า พันธะไฮโดรเจนซึ่งสารเหล่านี้มีพันธะ N-H O-H หรอื F-H ภายในโครงสร้างโมเลกลุ 12. เขียนสตู รเคมขี องไอออนและ - สารประกอบไอออนิกส่วนใหญ่เกิดจากการรวมตัว สารประกอบไอออนกิ กันของไอออนบวกของธาตุโลหะและไอออนลบของ ธาตุอโลหะ ในบางกรณไี อออนอาจประกอบด้วยกลุ่ม ของอะตอม โดยเมื่อไอออนรวมตัวกันเกิดเป็น ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไ อ อ อ นิ ก จ ะ มี สั ด ส่ ว น ก า ร ร ว ม ตั ว เพ่ือทาให้ประจุของสารประกอบเป็นกลางทางไฟฟ้า โดยไอออนบวกและไอออนลบจะจัดเรียงตัวสลับ ต่อเนื่องกันไปใน 3 มิติ เกิดเป็นผลึกของสารซ่ึงสูตร เ ค มี ข อ ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไ อ อ อ นิ ก ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย สัญลักษณ์ธาตุท่ีเป็นไอออนบวกตามด้วยสัญลักษณ์ ธาตุท่ีเป็นไอออนลบ โดยมีตัวเลขที่แสดงจานวน ไอออนแตล่ ะชนดิ เปน็ อัตราส่วนอย่างต่า หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook