Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

Published by phuket strategy, 2019-12-25 03:20:59

Description: ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

Keywords: ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ,ภูเก็ต,จังหวัดภูเก็ต

Search

Read the Text Version

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๔ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านเหรียง สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด คลองเสน่ห์โพธ์ิ หมู่ท่ี ๓ บ้านพรุสมภาร ทิศใต้ จด ทุ่งนาหลวง หมู่ท่ี ๑ บ้านตะเคียน และหมู่ท่ี ๔ บ้านดอน ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๑ บ้านตะเคียน ทิศตะวันตก จด ทุ่งนาหลวง ควนล่ม ต�ำบลสาคู ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ชื่อหมู่บ้านน้ีสันนิษฐานว่า มีท่ีมา ๒ ท่ี คือ ๑. เดิมภูมิประเทศบริเวณน้ี มีต้นเหรียงขึ้นอยู่มากมาย ๒. เป็นหมู่บ้านที่ใช้เป็นท่ีหลบเลี่ยงสงครามศึกถลาง พ.ศ.๒๓๒๕ เรียกกันสั้นๆ ว่า บ้านเล่ียง ต่อมาได้เพ้ียนเป็นบ้านเหรียง ภาษาที่ใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ ท�ำสวนยางพารา สวนผลไม้ และค้าขาย สถานที่ส�ำคัญ เช่น สวนพระพุทธศาสนาวัดม่วงโกมารภัจจ์ พิพิธภัณฑ์อาจารย์เลียบ ชนะศึก สุสานแม่หม้าเส้ีย อนุสรณ์ถลางชนะศึก ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายนิโรธ โชติช่วง อายุ ๖๕ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๓ ถนนเทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 252

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเทพกระษัตรี อนุสรณ์ถลางชนะศึก ศาลาจตุรมุข พระพุทธมณีศรีถลาง พ.ศ.๒๕๖๑ วัดม่วงโกมารภัจจ์ วัดม่วงโกมารภัจจ์ ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๙ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ 253

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านดอน สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด คลองบางใหญ่ หมู่ที่ ๑ บ้านตะเคียน และหมู่ท่ี ๓ บ้านเหรียง ทิศใต้ จด หมู่ที่ ๔ บ้านป่าสัก ต�ำบลเชิงทะเล ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๑ บ้านตะเคียน และหมู่ที่ ๑ บ้านลิพอนเขาล้าน ต�ำบลศรีสุนทร ทิศตะวันตก จด หมู่ท่ี ๖ บ้านโคกโตนด ต�ำบลเชิงทะเล ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เดิมภูมิประเทศบริเวณนี้เป็นที่ดอน มีลักษณะเป็นเกาะ มีทุ่งนาและ ล�ำคลองล้อมรอบ จึงเรียกหมู่บ้านน้ีว่า บ้านดอน เคยเป็นท่ีต้ังเมืองถลางเก่า สมัย ปลายกรุงศรีอยุธยา มีจอมเฒ่าบ้านดอนเป็นเจ้าเมือง และเป็นท่ีต้ังเมืองถลาง ครั้งสุดท้ายโดยมีพระยาถลาง (หนู) เป็นเจ้าเมือง ในปี พ.ศ.๒๔๓๗ มีการ เปล่ียนแปลงการปกครองเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล สมัยน้ันอ�ำเภอถลาง มี ๑๐ ต�ำบล บ้านดอนมีฐานะเป็นต�ำบลดอน ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๘๔ ในสมัยรัชกาลท่ี ๘ อ�ำเภอถลางได้ยุบเหลือเพียง ๖ ต�ำบล โดยต�ำบลท่ามะพร้าว ต�ำบลดอน และต�ำบล ตะเคียน ได้ยุบรวมกันเป็นต�ำบลเทพกษัตรี (ปัจจุบันคือ ต�ำบลเทพกระษัตรี เพื่อ เป็นเกียรติแด่ท้าวเทพกระษัตรี) ต�ำบลดอนจึงได้เป็นเพียงชื่อหมู่ท่ี ๔ บ้านดอน ขึ้นกับต�ำบลเทพกระษัตรีมาจนถึงปัจจุบัน ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ เดิมท�ำนาเป็นส่วนมาก (ปัจจุบันนาร้างหมด กลายเป็นที่อยู่อาศัย) ท�ำสวนยางพารา สวนผลไม้ รับจ้าง และค้าขาย 254

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเทพกระษัตรี ศาลเจ้ากิมซื่ออ๋องโก้วเต้าโบ้เก้ง (ศาลเจ้าบ้านดอน) สถานที่ส�ำคัญ เช่น วัดเทพกระษัตรี โรงเรียนวัดเทพกระษัตรี โรงเรียนอนุบาลถลางวิทยา ป้ายเมืองถลางบ้านดอน ศาลเจ้ากิมซื่ออ๋องโก้วเต้าโบ้เก้ง (ศาลเจ้าบ้านดอน) ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายนิโรธ โชติช่วง อายุ ๖๕ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๓ ถนนเทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๙ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ 255

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๖ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านเมืองใหม่ สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด คลองบ้านยุน หมู่ท่ี ๕ บ้านไม้ขาว ต�ำบลไม้ขาว ทิศใต้ จด หมู่ที่ ๑ บ้านตะเคียน และหมู่ท่ี ๘ บ้านปากพลี บ้านพรุสมภาร ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๙ บ้านป่าครองชีพ หมู่ท่ี ๑๐ บ้านท่ามะพร้าว และเขาพระแทว ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๑ บ้านในยาง และหมู่ที่ ๕ บ้านบางม่าเหลา ต�ำบลสาคู ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง พ.ศ.๒๓๕๒ พม่ายกกองทัพมาตีเมืองถลางจนแตก ชาวเมืองถลางอพยพ ไปอยู่ที่เมืองกราภูงา หรือพังงาในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ.๒๓๖๘ สมัย ร.๓ ได้ โปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูเมืองถลางข้ึน จึงต้ังเมืองใหม่ข้ึนที่บริเวณนี้ จึงได้เรียกบริเวณ นี้ว่า บ้านเมืองใหม่ เล่ากันว่า ถ้าหาหญิงมีครรภ์ที่มีชื่อเป็นสิริมงคล มาบวงสรวง หลักเมืองที่ต้ังอยู่ในบริเวณนี้ โดยการฝังท้ังเป็น จะท�ำให้บ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุข ภาษาที่ใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ ท�ำสวนยางพารา เล้ียงสัตว์ รับจ้าง และ ค้าขาย สถานท่ีส�ำคัญ เช่น วัดเมืองใหม่ โรงเรียนวัดเมืองใหม่ โรงเรียนเมืองถลาง ศาลหลักเมืองถลาง เมืองใหม่ (หลักเมืองหลักสุดท้ายของเมืองถลาง) ตลาดนัดบ้านเมืองใหม่ สวนป่า บางขนุน สุสานจีนเก่า ศาลเจ้าเฉ้งเหล่งต๋อง (ศาลเจ้าเมืองใหม่) 256

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเทพกระษัตรี ศาลหลักเมืองถลางเมืองใหม่ ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายนิโรธ โชติช่วง อายุ ๖๕ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๓ ถนนเทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๙ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ นายทองชัย ใจใหม่ อายุ ๘๐ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๓/๒ หมู่ท่ี ๕ ต�ำบล เทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นางอุไร โยธารักษ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๘ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 257

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านแหลมทราย สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด ทะเลอันดามัน ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๑๐ บ้านท่ามะพร้าว ทิศตะวันออก จด ทะเลอันดามัน และหมู่ท่ี ๔ บ้านพารา ต�ำบลป่าคลอก ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๑๐ บ้านท่ามะพร้าว ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ผู้มาอาศัยบริเวณนี้เป็นกลุ่มแรกเป็นคนที่นับถือศาสนาอิสลามจากอ�ำเภอ เกาะยาว จังหวัดพังงา คือ นายแหม้ หวังจิต นายดีเข้ว อุปมา และนายอ๊อด ได้ถาง ป่าท่ีรกร้างปลูกสร้างบ้านเรือนขึ้น หลังจากนั้นผู้คนก็เร่ิมทยอยเข้ามาในหมู่บ้าน มากขึ้น ลักษณะภูมิประเทศบริเวณนี้เป็นแหลมย่ืนออกไปในทะเล มองเห็นเป็น หาดทรายขาวสะอาดตาทั้งสองด้าน จึงเรียกหมู่บ้านนี้ว่า บ้านแหลมทราย ต่อมาได้ เกิดโรคระบาดข้ึนในหมู่บ้าน ชาวบ้านเรียกกันว่า ไข้หนวย ปัจจุบันเรียกว่า อีสุกอีใส มีชาวบ้านล้มตายกันหลายคน บางส่วนก็บังเกิดความกลัวจึงอพยพออกไปอยู่ท่ีอื่น ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ ประมง สวนยางพารา และท�ำสวน สถานที่ส�ำคัญ เช่น โรงเรียนบ้านแหลมทราย มัสยิดฮีดายาตุ้ลย้ันน๊ะฮ์ บ้านแหลมทราย ท่าเทียบเรือแหลมทราย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งภูเก็ต (ศูนย์พัฒนา การเพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำชายฝั่งภูเก็ต) 258

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเทพกระษัตรี หาดแหลมทราย ชื่อผู้ให้ข้อมูล นางลีป๊า โยธารักษ์ อายุ ๖๗ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๓๔/๒ หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลเทพ- กระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นางอุไร โยธารักษ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๘ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 259

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๘ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านนาใน สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๙ บ้านป่าครองชีพ ทิศใต้ จด หมู่ที่ ๑ บ้านตะเคียน ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๒ บ้านแขนน และหมู่ท่ี ๑๑ บ้านควน ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๑ บ้านตะเคียน ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หมู่บ้านแห่งนี้ตั้งชื่อตามลักษณะภูมิประเทศ คือ บริเวณน้ีในสมัยก่อนมี ทุ่งนาอยู่ในหมู่บ้าน มีการท�ำนาข้าวและเลี้ยงสัตว์ ซ่ึงปัจจุบันบริเวณที่เคยท�ำนาน้ัน ยังหลงเหลืออยู่เพียงพื้นที่ลุ่มเล็กๆ มีน้�ำขังอยู่ตรงปากทางเข้าหมู่บ้าน คนเก่า คนแก่บ้านนาในเล่ากันว่า สมัยก่อนหมู่บ้านแห่งนี้เรียกอีกช่ือหนึ่งว่า บ้านพรุลุ (พรุทะลุ) เป็นลุ่มน�้ำในหมู่บ้านซึ่งมีน�้ำขังตลอดทั้งปี ใช้ท�ำนาและเลี้ยงเป็ดเป็น จ�ำนวนมาก อยู่มาวันหน่ึงเกิดพายุฝนหนักตกลงมาจนเกิดบ่อน้�ำวน ท�ำให้เป็ดและ สัตว์เลี้ยงอื่นๆ หายไปในบ่อน�้ำวนแล้วไปโผล่ที่ชายหาดเลพัง (บริเวณหาดบางเทา และหาดลายัน ต�ำบลเชิงทะเล) ด้วยเหตุนี้จึงเป็นท่ีมาของค�ำว่า บ้านพรุลุ หมู่บ้านนาใน ประกอบด้วยบ้านย่อยๆ อีกหลายบ้านคือ บ้านท้องเอน บ้าน เหนือ บ้านพรุเตย และบ้านต้นตีนเป็ด ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และนับถือ ศาสนาพุทธเป็นส่วนน้อย อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ ท�ำสวน รับจ้าง และค้าขาย 260

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเทพกระษัตรี มัสยิดดารุ้ลอามาน บ้านนาใน พ.ศ.๒๕๖๑ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น วัดพระทอง มัสยิดดารุ้ลอามาน บ้านนาใน (เป็นมัสยิดแห่งแรกของจังหวัด ภูเก็ต) โรงเรียนนานาชาติธัญญปุระ กุโบร์มุสลิมบ้านนาใน ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายฝาด เชื้อลางสาด อายุ ๘๒ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๘๐/๑ หมู่ท่ี ๗ ต�ำบล เทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต นางนาด วิเชียร อายุ ๘๖ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๙ หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นางอุไร โยธารักษ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๘ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 261

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๙ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านพรุสมภาร สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๘ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๕ บ้านเมืองใหม่ ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๓ บ้านพรุจ�ำปา ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๑ บ้านตะเคียน ทิศตะวันตก จด เขาบางหมาก ต�ำบลสาคู ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เดิมบริเวณน้ีเป็นป่าพรุและแหล่งน้�ำ เล่ากันว่า มีพระภิกษุรูปหนึ่ง ซึ่งเป็น สมภารอยู่ที่วัดป่าเรไร (ปัจจุบันเหลือแต่ทุ่งนาร้างไม่ได้เป็นวัดแล้ว) บ้างก็ว่าเป็น สมภารที่วัดม่วงโกมารภัจจ์ (เป็นวัดเก่าแก่ท่ีบ้านเหรียงซ่ึงร้างไปนานแล้ว ต่อมา ได้มีการร้ือฟื้นสร้างเป็นวัดข้ึนมาใหม่จนถึงปัจจุบัน ไม่มีพระภิกษุอยู่ในวัด) เป็น ผู้มีวิชาคาถาอาคมเก่งกล้า ได้มาปักกลดอยู่บริเวณป่าพรุแห่งน้ี เม่ือมีการต้ัง บ้านเรือนมากมายข้ึนจนกลายเป็นหมู่บ้าน จึงเรียกหมู่บ้านนี้ว่า บ้านพรุสมภาร ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ ท�ำสวน ค้าขาย รับจ้างกรีดยางพารา และเลี้ยง สัตว์จ�ำพวกแพะ วัว และควาย สถานที่ส�ำคัญ เช่น โรงเรียนบ้านพรุจ�ำปา มัสยิดดะวาตุลอิสลามีย๊ะ บ้านพรุสมภาร โบสถ์คริสต์ บ้านพรุสมภาร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพรุสมภาร 262

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเทพกระษัตรี มัสยิดดะวาตุลอิสลามีย๊ะ บ้านพรุสมภาร ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายนิโรธ โชติช่วง อายุ ๖๕ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๓ ถนนเทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๙ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ นายผสม เริงสมุทร อายุ ๗๐ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๗๔/๑ หมู่ท่ี ๓ ต�ำบล เทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นางอุไร โยธารักษ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๘ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 263

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๑๐ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านป่าครองชีพ สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๙ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๑๐ บ้านท่ามะพร้าว ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๗ บ้านนาใน ทิศตะวันออก จด เขาพระแทว ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๑ บ้านตะเคียน และหมู่ที่ ๕ บ้านเมืองใหม่ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เป็นหมู่บ้านท่ีสร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ.๒๕๐๐ โดยทางรัฐบาลได้มอบท่ีดินให้ ประชาชนส�ำหรับใช้ท�ำมาหากินหรือเพื่อครองชีพ โดยมอบให้ชาวบ้านครอบครัวละ ๒๕ ไร่ จึงได้เรียกหมู่บ้านน้ีว่า บ้านป่าครองชีพ แต่เดิมนั้นภูมิประเทศบริเวณน้ี เป็นดงเสือในป่าไม้ใหญ่ ติดกับเขาพระแทว ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธและอิสลาม อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ ท�ำสวนยางพารา ค้าขาย และรับจ้าง สถานที่ส�ำคัญ เช่น โรงเรียนบ้านป่าครองชีพ ศาลาเอนกประสงค์บ้านป่าครองชีพ ส�ำนักสงฆ์ ป่าครองชีพ ศูนย์ทดลองยางพารา บาลายบ้านป่าครองชีพ ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายนิโรธ โชติช่วง อายุ ๖๕ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๓ ถนนเทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 264

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเทพกระษัตรี ศาลเจ้าบู้ต๋องซ้าน บ้านป่าครองชีพ ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๙ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ นายนิราช ตะเคียนทอง อายุ ๕๕ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๔๓/๗ หมู่ท่ี ๙ ต�ำบล เทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นางอุไร โยธารักษ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๑๘ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 265

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๑๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านท่ามะพร้าว สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๑๐ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๖ บ้านแหลมทราย ทิศใต้ จด หมู่ที่ ๙ บ้านป่าครองชีพ ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๖ บ้านแหลมทราย ทิศตะวันตก จด หมู่ท่ี ๕ บ้านเมืองใหม่ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง เป็นท่าเรือทางด้านทิศเหนือของเมืองถลางที่ส�ำคัญ ใช้ในการเดินทางไป เกาะยาว จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบ่ี มีต้นมะพร้าวขึ้นอยู่มากมายท่ีบริเวณท่าเรือ แห่งน้ี เมื่อมีการสร้างบ้านเรือนข้ึนจนกลายเป็นหมู่บ้านจึงเรียกหมู่บ้านแห่งน้ีว่า บ้านท่ามะพร้าว ในปี พ.ศ.๒๔๓๗ มีการเปล่ียนแปลงการปกครองเป็นแบบมณฑล- เทศาภิบาล สมัยนั้นอ�ำเภอถลาง มี ๑๐ ต�ำบล บ้านท่ามะพร้าวมีฐานะเป็นต�ำบล ท่ามะพร้าว ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๘๔ ในสมัยรัชกาลท่ี ๘ อ�ำเภอถลางได้ยุบเหลือเพียง ๖ ต�ำบล โดยต�ำบลท่ามะพร้าว ต�ำบลดอน และต�ำบลตะเคียนได้ยุบรวมกันเป็น ต�ำบลเทพกษัตรี (ปัจจุบันคือ เทพกระษัตรี เพ่ือเป็นเกียรติแด่ท้าวเทพกระษัตรี) ต�ำบลท่ามะพร้าวจึงเป็นเพียง หมู่ท่ี ๑๐ หมู่บ้านท่ามะพร้าว ข้ึนกับต�ำบลเทพกระษัตรี มาจนถึงปัจจุบัน ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ ท�ำสวนยางพารา รับจ้าง และประมง 266

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเทพกระษัตรี สถานท่ีส�ำคัญ เช่น ศาลเจ้าปุนเถ่ากง ท่าเรือโบราณบ้านท่ามะพร้าว ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายนิโรธ โชติช่วง อายุ ๖๕ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๓ ถนนเทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๙ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ นายหวด แซ่สุ่น อายุ ๙๐ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙/๒ หมู่ที่ ๑๐ ต�ำบลเทพ- กระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นางอุไร โยธารักษ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๘ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 267

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๑๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านควน สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๑๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๗ บ้านนาใน และเขาพระแทว ทิศใต้ จด หมู่ที่ ๒ บ้านแขนน ทิศตะวันออก จด เขาพระแทว ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๒ บ้านแขนน ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง ภูมิประเทศบริเวณนี้ มีลักษณะเป็นควน ( เนิน) สูงกว่าหมู่บ้านอื่นๆ ใน ต�ำบลเทพกระษัตรี จึงเรียกหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บริเวณน้ีว่า บ้านควน ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ ท�ำสวนยางพารา และประมง ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายนิโรธ โชติช่วง อายุ ๖๕ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๓ ถนนเทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๙ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ 268

269

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 270

อ�ำเภอถลาง ต�ำบลศรีสุนทร ๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ต�ำบลศรีสุนทร สถานท่ีตั้ง อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด เขตต�ำบลเทพกระษัตรี ทิศใต้ จด เขตต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง ทิศตะวันออก จด เขตต�ำบลป่าคลอก ทิศตะวันตก จด เขตต�ำบลเชิงทะเล ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง ในปี พ.ศ.๒๔๔๕ สมัยพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง) เป็นข้าหลวงเทศาภิบาล อ�ำเภอถลางแบ่งการปกครองออกเป็น ๑๐ ต�ำบล คือ ๑. ต�ำบลตะเคียน ๒. ต�ำบลดอน ๓. ต�ำบลบางเทา ๔. ต�ำบลลิพอน ๕. ต�ำบล ท่าเรือ ๖. ต�ำบลป่าคลอก ๗. ต�ำบลบางโรง ๘. ต�ำบลท่าไม้ขาว ๙. ต�ำบลไม้ขาว ๑๐. ต�ำบลสาคู ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๘๔ สมัยรัชกาลที่ ๘ มีการแบ่งพ้ืนท่ีปกครองของภูเก็ต ใหม่ทั้งจังหวัด อ�ำเภอถลางได้ยุบต�ำบลต่างๆ จาก ๑๐ ต�ำบล เหลือเพียง ๖ ต�ำบล เท่ากับในปัจจุบันน้ี ต�ำบลลิพอนได้รวมกับต�ำบลท่าเรือ แล้วเปลี่ยนช่ือต�ำบลเป็น ต�ำบลศรีสุนทร เพ่ือเป็นเกียรติแก่ท้าวศรีสุนทรวีรสตรีผู้กอบกู้ป้องกันบ้านเมือง จากการรุกรานของพม่า ต�ำบลศรีสุนทรในปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น ๘ หมู่บ้าน คือ หมู่ท่ี ๑ บ้านลิพอนเขาล้าน บ้านพอนปะลัก (หลัก) บ้านลิพอนบ้านกล้วย บ้านในคล�ำ, หมู่ที่ ๒ บ้านลิพอนบางกอก บ้านลิพอนบางขาม, หมู่ที่ ๓ บ้านท่าเรือ ช้างผันหลัง 271

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร.๙) เสด็จพระราชด�ำเนินมาเปิดอนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร บ้านผรั้ง พานยาง นาลึก โคกยาง, หมู่ท่ี ๔ บ้านบางโจ, หมู่ท่ี ๕ บ้านลิพอนบ้านใต้ ลิพอนบ้านใหญ่ บ้านวัดลุ่ม บ้านทุ่งนาเคียน บ้านนาสาด บ้านทุ่งจีน บ้านลิพอน ตากแดด, หมู่ท่ี ๖ บ้านยา, หมู่ที่ ๗ บ้านม่าหนิก, หมู่ท่ี ๘ บ้านลิพอนหัวหาน บ้าน ลิพอนน้�ำผุด บ้านลิพอนบ่อแร่ ลิพอนบ้านแขก บ้านท่อง (ทุ่ง) ลากพระ ประชาชนชาวภูเก็ต โดยการน�ำของนายอ้วน สุระกุล ผู้ว่าราชการจังหวัด ภูเก็ตในสมัยนั้น ได้ร่วมใจกันสร้างอนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร เมื่อวันท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๙ โดยอนุสาวรีย์ต้ังอยู่กลางวงเวียน บนถนนเทพ- กระษัตรี บ้านท่าเรือ อ�ำเภอถลาง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร.๙) ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินมาเปิดอนุสาวรีย์ เม่ือวันท่ี ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๐ เพื่อให้ ลูกหลานชาวไทยได้ร�ำลึกถึงวีรกรรมของวีรสตรีและบรรพบุรุษชาวถลางที่ปกบ้าน ป้องเมืองไว้ให้ลูกหลานสืบต่อไป 272

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร ภาษาที่ใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพในต�ำบล ท�ำการเกษตรสวนยางพารา การประมง ค้าขาย การท่องเท่ียว รับจ้าง รับราชการ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น อนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรีย์ ท้าวศรีสุนทร บ้านพระยาวิชิตสงคราม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติถลาง วัดท่าเรือ วัดศรีสุนทร วัดเทพวนาราม ศาลหลักเมือง บ้านท่าเรือ ศาลเจ้าท่าเรือ โรงเรียนวัดศรีสุนทร (มิตรภาพ ๑๕) โรงเรียนบ้านลิพอน โรงเรียนบ้านท่าเรือ โรงเรียนบ้านม่าหนิก สถานีการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอ�ำเภอถลาง เรือนจ�ำชั่วคราวบ้านบางโจ ชื่อผู้ให้ข้อมูล เว็บไซต์ ตามรอยวัฒนธรรมภูเก็ต http://ppcold.blogspot.com/2016/ 06/blog-post.html ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๒๙ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 273

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านลิพอนเขาล้าน บ้านพอนปะลัก (หลัก) บ้านลิพอนบ้านกล้วย บ้านในคล�ำ สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๑ บ้านหินลุ่ย ต�ำบลเทพกระษัตรี ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๘ บ้านลิพอนน�้ำผุด และบ้านลิพอนบ่อแร่ ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๒ บ้านลิพอนบางกอก ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๔ บ้านบางโจ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง บ้านลิพอนเขาล้าน มาจากช่ือภูเขาที่ไม่มีต้นไม้ปกคลุมในสมัยก่อน ซ่ึง อยู่ใกล้บริเวณน้ัน บ้านลิพอนปะลัก (หลัก) ค�ำว่า “ปะ” เป็นชื่อเรียกขานบุคคลท่ีได้รับการ ยอมรับนับถือคือ “พ่อ” ส่วน “หลัก” ในท่ีนี้หมายถึง “ด่าน” (ดัก, กางก้ัน, ตรวจตรา) ปะลัก (หลัก) หมายถึงนายด่านท่ีคอยหลักช้างที่เดินตามล�ำคลอง ซ่ึง ณ บริเวณนั้น เคยมีล�ำคลองไหลผ่าน อยู่ระหว่างบ้านลิพอนน้�ำผุด บ้านลิพอนบ้านกล้วย และ บ้านลิพอนเขาล้าน บ้านลิพอนบ้านกล้วย สันนิษฐานว่า พื้นที่ตรงบริเวณน้ันมีการท�ำสวนกล้วย ปลูกกล้วยพ้ืนเมือง เช่น กล้วยขม กล้วยเปร้ียว กล้วยน�้ำว้า จ�ำนวนมาก จึงเรียก กันว่า “บ้านกล้วย” บ้านในคล�ำ สันนิษฐานว่ามาจากลักษณะพื้นท่ีที่เป็นอ่าวต่อมาจากเลพัง ทุ่งดอน มาส้ินสุดที่ในคร�ำ เหมาะส�ำหรับตั้งบ้านเมืองคือ นครัม เป็น “ในคร�ำ, ในคล�ำ” ต่อมา จากเร่ืองที่เล่ากันว่า ณ ที่ลุ่มแอ่งน้�ำตรงนี้ ในสมัยก่อนวันดีคืนดีจะมีคนได้ยิน เสียงกลองตะโพนดัง ตุ้ม ต้อม ตุ้ม ต้อม ท�ำให้มีผู้คิดไปถึงเรื่องสมบัติโบราณ 274

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร มัสยิดดารุ้ลอิตติฮาต บ้านในคล�ำ ว่ามีคนเอาไปใส่ไว้ในตะโพน ใครที่ได้ยิน มีความกล้าหาญและโชคดีก็จะไปงม คล�ำหาตะโพนในพรุน้ัน และพบสมบัติในตะโพนใบนั้น จึงเรียกว่า ในคร�ำ หรือ ใน คล�ำ จนถึง “บ้านในคล�ำ” ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพของคนในหมู่บ้าน ท�ำการเกษตรสวนยางพารา ค้าขาย รับจ้าง สถานท่ีส�ำคัญ เช่น โรงเรียนบ้านลิพอน มัสยิดดารุ้ลอิตติฮาต บ้านในคล�ำ ช่ือผู้ให้ข้อมูล นางอรพินธุ์ เรืองจิรัษเฐียร อายุ ๖๑ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๑/๒ ถนน เทพกระษัตรี หมู่ที่ ๑ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต นายสมชาย สกุลชิต อายุ ๖๑ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๓๕/๔ ซอยทุ่งนาเคียน หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เอกสารสัมมนาวัฒนธรรมภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๒๙ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 275

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านลิพอนบางกอก บ้านลิพอนบางขาม สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๑ บ้านในคล�ำ ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๕ บ้านลิพอนบ้านใต้ และหมู่ที่ ๘ บ้านลิพอนบ้านแขก ทิศตะวันออก จด เขาพระแทว หมู่ท่ี ๘ บ้านบางลา ต�ำบลป่าคลอก ทิศตะวันตก จด หมู่ท่ี ๘ บ้านลิพอนบ่อแร่ บ้านลิพอนน้�ำผุด ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ค�ำว่า “พอน” สันนิษฐานว่ามาจากพอนของต้นไม้ คือ ไม้หลุมพอ ตระกูล ต้นตะเคียน ต้นตะเคียนสามพอน เน้ือไม้เหมือนต้นตะเคียนทอง ลักษณะจาก พอนไม้ท่ีแผ่ออกมาจากโคนต้น บ้างก็ตัดพอนมาท�ำเลียงส�ำหรับร่อนแร่ในสมัยที่มี การท�ำเหมืองแร่ดีบุก เล่ากันว่า สมัยศึกถลางที่ต้ังบ้านลิพอนในปัจจุบันเป็นพื้นท่ีป่าและภูเขาที่ ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เป็นที่ที่คนไทยได้หลบภัยจากสงคราม ทหารพม่าไม่สามารถ มองเห็นหมู่บ้านนี้ได้ ท�ำให้รอดพ้นภัยสงครามในคราน้ันได้ จึงได้ช่ือว่า “บ้านหลีก พ้อน (พ้น)” ต่อมาส�ำเนียงกร่อนเป็น “บ้านลิพอน” ข้อสันนิษฐานอีกประการหน่ึงคือ บนเกาะภูเก็ต (ถลาง) ได้เกิดโรคระบาด ท�ำให้ผู้คน สัตว์ต่างๆ ล้มตายลงมาก แต่บ้านลิพอนได้หลีกพ้นจากโรคภัยเหล่าน้ัน จึงได้ชื่อว่าบ้าน “หลีกพ้อน” และเป็น “ลิพอน” และเรียกเป็นค�ำส้ันๆ ว่า บ้านพอน บ้านลิพอนบางกอก มาจากการออกเสียงเพี้ยนจากค�ำว่า “บังเกาะ” จาก ลักษณะภูมิประเทศบริเวณนี้เป็นทุ่งราบลุ่มท้องนา และมีหมู่บ้านมีต้นไม้บังร่มรื่น มองดูเหมือนอยู่กลางเกาะเป็นหย่อมๆ 276

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร บ้านลิพอนบางขาม มาจากชื่อต้นมะขามต้นใหญ่บริเวณริมล�ำคลองท่ี รับน�้ำมาจากเขาพระแทว ซึ่งยังมีป่าธรรมชาติท่ีสมบูรณ์ ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพของคนในหมู่บ้าน ท�ำการเกษตรสวนยางพารา ค้าขาย รับจ้าง ชื่อผู้ให้ข้อมูล นางอรพินธุ์ เรืองจิรัษเฐียร อายุ ๖๑ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๑/๒ ถนน เทพกระษัตรี หมู่ที่ ๑ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต นายสมชาย สกุลชิต อายุ ๖๑ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๓๕/๔ ซอยทุ่งนาเคียน หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เว็บไซต์ ตามรอยวัฒนธรรมภูเก็ต http://ppcold.blogspot.com/2016/ 06/blog-post.html ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๒๙ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 277

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๔ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านท่าเรือ ช้างผันหลัง บ้านผรั้ง พานยาง นาลึก โคกยาง สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง ทิศใต้ จด หมู่ที่ ๕ บ้านนาสาด บ้านทุ่งจีน ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๘ บ้านบางลา ต�ำบลป่าคลอก ทิศตะวันตก จด หมู่ท่ี ๗ บ้านม่าหนิก ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง บ้านท่าเรือ ต�ำบลท่าเรือ (เดิม) บริเวณท่าเรือในอดีตเคยเป็นเมืองท่า มาก่อน มีเรือใหญ่จากต่างประเทศเข้ามาติดต่อกับเมืองถลาง ท่าเรือแห่งน้ีถือเป็น แหล่งการค้าที่ส�ำคัญท่ีสุดในย่านนี้ แขกบ้านแขกเมืองที่จะเข้ามาติดต่อการค้ากับ หัวเมืองต่างๆ ก็ต้องน�ำเรือมาข้ึนลงท่ีนี่ ภายในบริเวณท่าเรือก็จะมีการค้า เช่น ข้าวเปลือก ข้าวสาร เส้ือผ้า แพรพรรณ เครื่องประดับต่างๆ และชาวเมืองถลางท่าเรือ ก็จะน�ำสินค้าพื้นเมือง เช่น ดีบุก หรือของป่า มาแลกเปลี่ยนกับสินค้าเหล่านั้น เมืองถลางท่าเรือเคยมีเจ้าเมืองท่ีเป็นพ่อค้าช่ือ “เจ๊ะมะ” หรือ “เจิม” เจ๊ะมะ เป็นบุคคลผู้มีตระกูล ที่ผันชีวิตตนเองมาเป็นพ่อค้าท่ีมีชื่อเสียงอยู่ท่ีเมืองถลางท่าเรือ มีผู้ท่ีร่วมกันท�ำการค้าท่ีบ้านท่าเรือเป็นจ�ำนวนมาก เจ้าพระยานครได้ยกถลางท่าเรือ ข้ึนเป็นเมือง และแต่งต้ังให้เจ๊ะมะ เป็นพระยาถลาง ปกครองเมืองถลางท่าเรือใน ขณะนั้น ช้างผันหลัง เป็นชื่อล�ำคลองท่ีแยกมาจากคลองท่าเรือ อยู่ระหว่างบ้าน เกาะแก้วล่างกับบ้านท่าเรือ 278

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติถลาง บ้านผรั้ง สันนิษฐานว่าเป็นบ้านของพระยาราชกปิตัน (กัปตันฟรานซิส ไลท์) และเคยเป็นชุมชนชาวต่างชาติ ยังมีซากกองอิฐหลงเหลืออยู่ ณ บริเวณสุดซอย หัวท่า ทางเข้าด้านข้างศาลเจ้าท่าเรือ พานยาง (ต้นยางนา) เป็นบริเวณท่ีมีต้นยางนาเติบโตขึ้นอยู่จ�ำนวนหนึ่ง คร้ังหนึ่งมีต้นยางล้มพาดข้ามล�ำคลองบริเวณน้ัน ซ่ึงใช้เป็นเส้นทางให้คนเดินข้าม ไปมาระหว่างบ้านป่าคลอก บ้านผักฉีด บ้านบางลากับบ้านท่าเรือ จึงเรียกว่า “พาน ยาง” นาลึก เป็นบริเวณทุ่งนาที่ลุ่ม ถัดมาจาก พานยาง โคกยาง คือบริเวณเนินที่ถัดมาจากนาลึก มีต้นยางอยู่จ�ำนวนมาก ปัจจุบัน คือสถานท่ีตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติถลาง ภาษาท่ีใช้ ภาษาถิ่นภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพของคนในหมู่บ้าน ท�ำการเกษตรสวนยางพารา ค้าขาย การท่องเท่ียว รับจ้าง รับราชการ 279

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ บ้านพระยาวิชิตสงคราม ศาลหลักเมืองบ้านท่าเรือ 280

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร ศาลเจ้าท่าเรือ สถานที่ส�ำคัญ เช่น อนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร บ้านพระยาวิชิตสงคราม ศาลหลักเมืองบ้านท่าเรือ ศาลเจ้าท่าเรือ วัดท่าเรือ โรงเรียนบ้านท่าเรือ ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายนรินทร์ เอกรัตน์ อายุ ๖๗ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๓๓/๑ หมู่ที่ ๔ ต�ำบล เกาะแก้ว อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เว็บไซต์ ตามรอยวัฒนธรรมภูเก็ต http://ppcold.blogspot.com/2016/ 06/blog-post.html ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๒๙ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 281

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านบางโจ สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๔ บ้านดอน ต�ำบลเทพกระษัตรี ทิศใต้ จด หมู่ที่ ๗ บ้านม่าหนิก ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๑ บ้านลิพอนเขาล้าน บ้านในคล�ำ ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๑ บ้านเชิงทะเล ต�ำบลเชิงทะเล ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง สันนิษฐานว่ามาจากพ้ืนท่ีบริเวณนั้นเคยเป็นป่าตามธรรมชาติมาก่อน เม่ือ มีการบุกเบิกสร้างที่ท�ำมาหากิน ท�ำสวนปลูกพืชไม้ผลท้องถิ่น เจ้าของเข้ามาดูแล ล�ำบาก ด้วยสมัยก่อนพื้นท่ีบริเวณน้ียังห่างไกลหมู่บ้าน และเส้นทางคมนาคมสัญจร ยังไม่สะดวก จึงมีคนไม่หวังดีมาเก็บเกี่ยวขโมยผลไม้ในสวนที่ปลูกไว้ จากความเช่ือในเร่ือง “โจ” ของคนยุคนั้นที่ว่า โจ คือเคร่ืองรางของขลัง ทางไสยศาสตร์ ใช้ส�ำหรับป้องกันขโมยท่ีคอยมาเก็บเกี่ยวกินผลไม้พืชผัก เช่ือว่า ถ้าใครขโมยผลไม้พืชผักนั้นไปกินก็จะท�ำให้มีอันเป็นไป เช่น ปวดท้อง บวมพอง ฯลฯ ส่วนมากจะท�ำโจด้วยกระบอกไม้ไผ่ ขวด (ใส่น�้ำไว้) กะลามะพร้าว เขียน ยันต์เสกคาถาอาคมให้ขลัง คนท่ีผ่านไปผ่านมา เม่ือเห็นโจแขวนอยู่ตามต้นไม้ ฝังดิน หรือจากค�ำบอกกล่าวเล่าลือกัน จึงเรียกพื้นที่บริเวณนี้ว่า “บางโจ” ภาษาที่ใช้ ภาษาถิ่นภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพของคนในหมู่บ้าน ท�ำการเกษตรสวนยางพารา ค้าขาย รับจ้าง 282

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร มัสยิดฮีดายาตุลมุสลีมีน บ้านบางโจ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น มัสยิดฮีดายาตุลมุสลีมีน บ้านบางโจ เรือนจ�ำชั่วคราวบ้านบางโจ การประปา ส่วนภูมิภาค ช่ือผู้ให้ข้อมูล นางอรพินธุ์ เรืองจิรัษเฐียร อายุ ๖๑ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๑/๒ ถนน เทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต นายมูนเลาะ มานะบุตร อายุ ๕๐ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๘/๑ หมู่ที่ ๔ บ้าน บางโจ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เว็บไซต์ ตามรอยวัฒนธรรมภูเก็ต http://ppcold.blogspot.com/2016/ 06/blog-post.html ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 283

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๖ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านลิพอนบ้านใต้ ลิพอนบ้านใหญ่ บ้านวัดลุ่ม บ้านทุ่งนาเคียน บ้านนาสาด บ้านทุ่งจีน บ้านลิพอนตากแดด สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๘ บ้านลิพอนหัวหาน บ้านแขก ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๓ บ้านท่าเรือ ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๘ บ้านบางลา ต�ำบลป่าคลอก ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๗ บ้านม่าหนิก ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง บ้านลิพอนบ้านใต้ เป็นหมู่บ้านท่ีต้ังอยู่ด้านทิศใต้สุดของเขตบ้านลิพอน จึงเรียกไปตามลักษณะทิศทางที่ตั้งหมู่บ้านว่า พอนบ้านใต้ ลิพอนบ้านใหญ่ เป็นหมู่บ้านใกล้วัดศรีสุนทร ท่ีมีผู้คนตั้งบ้านเรือนอยู่เป็น จ�ำนวนมากกว่าบ้านพอนอื่นๆ จึงเรียกว่า บ้านใหญ่ หรือ พอนบ้านใหญ่ บ้านวัดลุ่ม เป็นบริเวณของวัดร้างเก่าแก่ มีซากกุฏิเก่าของพ่อท่านวัดลุ่ม เป็นที่เคารพบูชาของชาวบ้าน เป็นวัดที่มีมาก่อนวัดศรีสุนทร ปัจจุบันคือโรงเรียน วัดศรีสุนทร (มิตรภาพ ๑๕) บ้านทุ่งนาเคียน เป็นบริเวณทุ่งนากว้างๆ มีต้นตะเคียนใหญ่ ต้ังอยู่ระหว่าง พอนบ้านใต้กับบ้านนาสาด บ้านนาสาด เป็นบริเวณท่ีมีนาจ�ำนวนมาก ช่วงที่นาข้าวสุกจะดูเหมือนกับ พ้ืนสาด (เส่ือ) อยู่ใกล้กับอนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรีย์ ท้าวศรีสุนทร บ้านทุ่งจีน เป็นบริเวณท่ีมีคนจีนมาประกอบอาชีพท�ำเหมืองแร่ และต้ัง บ้านเรือนอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก จึงเรียกว่า บ้านทุ่งจีน 284

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร วัดศรีสุนทร วัดศรีสุนทร (วัดลิพอน) พ่อท่านสมุพัฒน์ เป็นผู้สร้างโดยพัฒนามาจาก ส�ำนักสงฆ์ บ้านลิพอนตากแดด ลักษณะภูมิประเทศเป็นท้องทุ่งโล่ง ไม่มีร่มเงาต้นไม้ เมื่อเดินผ่านบริเวณน้ีจะมีความรู้สึกว่าอากาศร้อนมาก จึงเรียกว่า บ้านพอนตากแดด ภาษาที่ใช้ ภาษาถิ่นภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพของคนในหมู่บ้าน ท�ำการเกษตรสวนยางพารา ค้าขาย รับจ้าง สถานที่ส�ำคัญ เช่น ซากกุฏิพ่อท่านวัดนาลุ่ม วัดศรีสุนทร รูปปั้นหนังพร้อม ไกรเลิศ (นายหนัง คนแรกของภูเก็ต) โรงเรียนวัดศรีสุนทร (มิตรภาพ ๑๕) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอ�ำเภอ ถลาง ชื่อผู้ให้ข้อมูล นางธิดาน้อย พรมสิทธ์ิ อายุ ๖๑ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๒๘/๒ หมู่ท่ี ๕ ต�ำบล ศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 285

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ซุ้มประตูวัดศรีสุนทร (ลิพอน) ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๑ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 286

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร ๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านยา สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๔ บ้านดอน ต�ำบลเทพกระษัตรี ทิศใต้ จด หมู่ที่ ๑ บ้านลิพอนเขาล้าน และหมู่ท่ี ๔ บ้านบางโจ ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๑ บ้านลิพอนเขาล้าน ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๔ บ้านบางโจ ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ช่ือ บ้านยา สันนิษฐานว่า มาจากค�ำ “พยา” (พญา) หรือพระยา คือมีพระยา ท่านหนึ่งมาสร้างบ้านอยู่บริเวณน้ี ใกล้ๆ กับคลองบ้านยา โดยมีโรงอิฐและเตา เผาอิฐอยู่ใกล้ๆ กับล�ำคลองประมาณ ๑๐ เมตร ในยุคสมัยเดียวกับเมืองถลาง กล่าวอีกประการหนึ่งว่า พระยา ท่านน้ีเดิมคือ หลวงอิฐ เพราะมีหน้าท่ี ดูแลการท�ำอิฐดินเผา เม่ือเผาอิฐแล้วก็ขนส่งบรรทุกลงเรือท่ีคลองบ้านยา ผ่านมา ทางบ้านดอน ซึ่งมีล�ำคลองออกไปทางทะเลได้ ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพของคนในหมู่บ้าน ท�ำการเกษตรสวนยางพารา ค้าขาย รับจ้าง ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายจรูญ ค�ำวิเศษณ์ อายุ ๗๐ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๓๔ หมู่ที่ ๖ บ้านยา ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 287

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๒๙ เดือนเมษายน ๒๕๖๐ 288

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร ๘ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านม่าหนิก สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๔ บ้านบางโจ ทิศใต้ จด ต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเมือง ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๓ บ้านท่าเรือ และหมู่ท่ี ๕ บ้านลิพอน ทิศตะวันตก จด หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเชิงทะเล ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง บ้านม่าหนิก เดิมชื่อ ฃราม มณิก (MANIK) แปลว่าแก้ว (Ruby) และค�ำว่า คราม มาจากค�ำว่า นครัม (NAGARAM) แปลว่านคร หรือเมือง เมื่อรวม กันแล้วจึงมีความหมายว่า เมืองแก้ว เป็นภาษาที่ชาวทมิฬในสมัยราชวงศ์โจฬะ ซ่ึงอาศัยอยู่บริเวณน้ีเป็นชนกลุ่มแรก ใช้สื่อสารกัน ตามสภาพภูมิศาสตร์ท่ีเห็นเป็นบ้านพ่ีเมืองน้องกับในนครัม (ในเมือง) คือ บ้านในคล�ำ (หมู่ที่ ๑) ต่อมามีการกร่อนเสียงเหลือเพียง บ้านมณิก และเพ้ียนเสียง เป็น บ้านม่าหนิก ดังในปัจจุบัน แต่ชาวไทยพ้ืนเมืองรุ่นแรกๆ ได้เรียกสถานท่ี แถบนี้ว่า บ้านม่วงใหญ่ ตามหลักฐานพื้นที่ทางเกษตรกรรม ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพของคนในหมู่บ้าน ท�ำการเกษตรสวนยางพารา ค้าขาย การท่องเที่ยว รับจ้าง รับราชการ 289

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ เข่ือนบางเหนียวด�ำ บ้านม่าหนิก สถานที่ส�ำคัญ เช่น วัดเทพวนาราม โรงเรียนบ้านม่าหนิก เขื่อนบางเหนียวด�ำ จุดชมวิวศาลา แปดเหล่ียม น�้ำตกโตนไอ้เฮ ช่ือผู้ให้ข้อมูล เว็บไซต์ โรงเรียนบ้านม่าหนิก https://data.bopp-obec.info/web/? School_ID=1083400051 ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๑ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 290

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลศรีสุนทร ๙ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านลิพอนหัวหาน บ้านลิพอนน้�ำผุด บ้านลิพอนบ่อแร่ ลิพอนบ้านแขก บ้านท่อง (ทุ่ง) ลากพระ สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๘ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๒ บ้านลิพอนบางกอก และหมู่ท่ี ๔ บ้านบางโจ ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๕ บ้านลิพอนบ้านใหญ่ และบ้านลิพอนบ้านใต้ ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๒ บ้านลิพอนบางกอก ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๕ บ้านทุ่งจีน และหมู่ท่ี ๗ บ้านม่าหนิก ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง บ้านลิพอนหัวหาน หาน (ละหาน) คือ พื้นที่ลุ่ม เป็นป่าพรุหนองน�้ำ ขนาดใหญ่ ค�ำว่า หัว หมายถึงเนินดินที่สูงขึ้น เช่น หัวปลวก หัวนา หัวควน หัวโคก ฯลฯ หัวหาน คือเนินดินที่อยู่ข้าง หาน แห่งนี้ เม่ือชาวบ้านได้เข้าไปต้ังถ่ินฐาน ณ บริเวณด้านเนินสุดของหนองน้�ำแห่งนี้ จึงเรียกหมู่บ้านตรงนี้ว่า บ้านลิพอนหัวหาน บ้านลิพอนน�้ำผุด เป็นบริเวณพื้นท่ีท่ีมีน�้ำเพื่อการบริโภคอุปโภคตลอดปี มีน้�ำทุกฤดูกาลเพราะมีแหล่งตาน�้ำผุด (ไหลซึม) ออกมาตลอด จึงเรียกว่า บ้านลิพอน น�้ำผุด บ้านลิพอนบ่อแร่ เป็นบริเวณที่อยู่ใกล้ทุ่งนา มีบ่อน้�ำศักด์ิสิทธิ์ กล่าวกันว่า เคยมีแร่ชนิดหน่ึงผุดลอยขึ้นบนผิวน�้ำ คนท่ีไปพบเห็นสามารถตักเอาแร่นั้นไปเป็น ประโยชน์ได้ บริเวณรอบๆ ขอบบ่อมีหินก้อนใหญ่อยู่ ในบ่อมีตาน้�ำใสๆ ซึมตลอด 291

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ เวลาไม่เคยขาดแคลนน้�ำ สันนิษฐานว่าเป็นก้อนหินแร่ พ่อท่านบ่อแร่เป็นท่ีนับถือ ของคนบ้านลิพอน บ้านลิพอนบ่อแร่นี้ เคยมีผู้ปกครองบ้านลิพอน คือ จอมไชย- สุรินทร์ ในสมัยประวัติศาสตร์เมืองถลาง ลิพอนบ้านแขก เป็นชุมชนชาวมุสลิมใกล้ๆ บ้านพอนบางกอก มีบ้านอยู่ หลายหลังคาเรือน จึงเรียกว่า บ้านแขก บ้านท่องลากพระ หรือ ทุ่งลากพระ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นทุ่งราบ มีรอย ทางคนเดิน เม่ือถึงเวลามีประเพณีลากพระหรือชักพระจากวัดลิพอน (วัดศรีสุนทร) จะมาหยุดอยู่ ณ บริเวณน้ี ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต ภาษาไทยกลาง อาชีพของคนในหมู่บ้าน ท�ำการเกษตรสวนยางพารา ค้าขาย การท่องเท่ียว รับจ้าง สถานท่ีส�ำคัญ เช่น บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์พ่อท่านบ่อแร่ และอนุสาวรีย์จอมไชยสุรินทร์ ช่ือผู้ให้ข้อมูล นางธิดาน้อย พรมสิทธ์ิ อายุ ๖๑ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๒๘/๒ หมู่ท่ี ๕ ต�ำบล ศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต นางอรพินธุ์ เรืองจิรัษเฐียร อายุ ๖๑ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๑/๒ ถนน เทพกระษัตรี หมู่ที่ ๑ ต�ำบลศรีสุนทร อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เว็บไซต์ ตามรอยวัฒนธรรมภูเก็ต http://ppcold.blogspot.com/2016/ 06/blog-post.html ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเสน่ห์ วงษ์ก�ำแหง วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๒๙ เดือนเมษายน – ๑ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 292

293

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 294

อ�ำเภอถลาง ต�ำบลเชิงทะเล ๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านเชิงทะเล สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเชิงทะเล อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๔ บ้านป่าสัก ทิศใต้ จด เทือกเขากมลา ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๔ บ้านบางโจ ต�ำบลศรีสุนทร ทิศตะวันตก จด หมู่ท่ี ๕ บ้านบางเทานอก ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง บ้านเชิงทะเลเป็นชุมชนเก่าแก่ชุมชนหนึ่งของอ�ำเภอถลาง เดิมต้ังอยู่ท่ี ริมคลองบางวัด เชิงเขาน้อย บนยอดเขาน้อยเป็นที่ต้ังวัด เรียกช่ือตามสถานท่ีต้ัง หมู่บ้านว่า บ้านเขาน้อย และวัดเขาน้อย (ปัจจุบันอยู่ในซอยเชิงทะเล ๒) ในสมัย สงครามศึกถลาง พ.ศ.๒๓๒๘ ชาวบ้านท่ีเขาน้อยและพระภิกษุได้อพยพหลบหนี ภัยสงครามเข้าในป่าลึก หลังศึกสงครามแล้วชาวบ้านได้ตั้งบ้านเรือนข้ึนในท่ีแห่ง ใหม่บริเวณฝั่งซ้ายของคลองบางวัด ห่างจากที่เดิมไปทางทิศตะวันตกประมาณหนึ่ง กิโลเมตร และได้สร้างที่พักสงฆ์ช่ัวคราวไว้ท้ายหมู่บ้าน (ปัจจุบันคือ ส�ำนักปฏิบัติ ธรรมหลวงพ่อสมภารงอ) ต่อมาได้สร้างวัดข้ึนทางฝั่งขวาของคลองบางวัด เพราะ เห็นว่ามีสภาพคล้ายกับท่ีเขาน้อย คือ เป็นเนินเขา (ปัจจุบันคือ วัดพระขาว บ้าน ป่าสัก) ด้วยสภาพโดยรอบหมู่บ้านเป็นนาข้าว ทางเดินเข้าหมู่บ้านมีสภาพเป็นโคลน เลน จึงเรียกชื่อหมู่บ้านนี้ว่า บ้านตีนเลน เม่ือเวลาผ่านไปนานปีจึงเกิดการกร่อนค�ำ จาก “ตีนเลน” เป็น “ตีนเล” ในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีชาวจีนอพยพเข้ามาท�ำเหมืองแร่ดีบุกมากมายใน 295

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ บริเวณใกล้เคียง ประกอบกับการพัฒนาของทางราชการได้มีการตัดถนนศรีสุนทร ขึ้น ท�ำให้มีการสร้างบ้านเรือนข้ึนมากมายทั่วทั้งสองฝั่งของถนนศรีสุนทร เพ่ือใช้ เป็นท่ีอยู่อาศัยของคนงานในเหมืองแร่ และเป็นร้านค้าต่างๆ จึงเรียกบ้านเรือน บริเวณน้ีว่า บ้านในเหมือง (รูปทรงของบ้านส่วนใหญ่หน้าบ้านมีลักษณะเป็นหน้าจั่ว มองดูเหมือนเป็นหัวช้างย่ืนออกมาเป็นแถว เรียกว่า บ้านหลังคาหน้าจ่ัวหัวช้าง) อีกประเด็นหน่ึงเล่ากันว่า หมู่บ้านแห่งนี้อยู่ใกล้ทะเล จึงได้ชื่อว่าบ้านตีนเล ค�ำว่า ตีน ตามความหมายที่ ๒ ของพจนานุกรมหมายถึง ชาย หรือ เชิง ดังนั้นค�ำว่า ตีนเล จึงหมายถึง ชายทะเลหรือเชิงทะเล ช่ึงต่อมาทางราชการได้เปล่ียนชื่อจาก บ้านตีนเล เป็นบ้านเชิงทะเล และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ โดยมีท่ีมาของการเปลี่ยน ช่ือคือ ค�ำว่า เชิง หมายถึง ตีน ฐาน ริม ปลาย เช่น เชิงเขา หมายถึง ริมเขา ตีนเขา เชิงดอยหมายถึง ริมดอย ตีนดอย ดังน้ัน ค�ำว่า เชิงทะเล ก็หมายถึง ริมทะเล ตีนทะเล ซึ่งคนใต้นิยมเรียกค�ำให้สั้นลง จาก ตีนทะเล จึงกลายมาเป็น ตีนเล ในปี พ.ศ.๒๔๓๗ สมัยรัชกาลที่ ๕ มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแบบ มณฑลเทศาภิบาล สมัยน้ัน อ�ำเภอถลางมี ๑๐ ต�ำบล บ้านเชิงทะเลเป็นหมู่บ้านหนึ่ง ในต�ำบลบางเทา ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๘๔ สมัยรัชกาลที่ ๘ อ�ำเภอถลางได้ยุบเหลือเพียง ๖ ต�ำบล ต�ำบลบางเทาถูกเปล่ียนชื่อต�ำบลเป็นต�ำบลเชิงทะเล และใช้มาจนถึงปัจจุบัน ดังน้ันค�ำว่า เชิงทะเล จึงเป็นท้ังช่ือต�ำบลเชิงทะเล และชื่อของหมู่บ้านหมู่ที่ ๑ ของ ต�ำบลเชิงทะเลด้วย ชาวบ้านบางส่วนเล่าว่า พ.ศ.๒๔๕๔ หลวงพ่อพลับ หรือ พระครูชโลปมคุณ (พลับ) อินฺทสุวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดตีนเล เป็นผู้เปลี่ยนชื่อจากวัดตีนเล เป็นวัด เชิงทะเล ส่วนหมู่บ้านซึ่งมีความสัมพันธ์กับวัดมาโดยตลอด ก็ได้เปลี่ยนช่ือหมู่บ้าน เป็นบ้านเชิงทะเลต้ังแต่นั้นเป็นต้นมา พ.ศ.๒๔๖๐ หลวงพ่อพลับได้มาสร้างวัดเชิงทะเลแห่งใหม่ขึ้นริมถนน ศรีสุนทร เพราะเล็งเห็นว่า ต่อไปความเจริญจะอยู่ที่บริเวณถนนศรีสุนทร เม่ือมี คนอาศัยมากขึ้น จึงได้เรียกบริเวณหมู่บ้านในเหมืองว่า บ้านเชิงทะเล แต่คนใน ท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังนิยมเรียกกันว่า บ้านตีนเล 296

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเชิงทะเล วัดเชิงทะเล บ้านเชิงทะเล มีบ้านย่อยอีกบ้านหนึ่งคือ บ้านโคกกรูด พื้นที่บริเวณนี้เป็น ดินทราย มีต้นมะกรูดป่าข้ึนอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ภาษาถิ่นภูเก็ตเรียกมะกรูดชนิดน้ีว่า “พากรูด” และ “กรูดผี” มีลักษณะต้นและกล่ินคล้ายต้นมะกรูดบ้าน แต่มีรสขม ใช้ท�ำยาสมุนไพร จึงเรียกหมู่บ้านย่อยนี้ว่า บ้านโคกกรูด ภาษาที่ใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต เดิมใช้ภาษาจีนฮกเก้ียนด้วย ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ รับจ้าง ค้าขาย ประมง และท�ำสวน ปัจจุบัน มีอาชีพเพิ่มข้ึนคือ ธุรกิจโรงแรม ร้านอาหารและบ้านเช่า สถานท่ีส�ำคัญ เช่น โรงเรียนบ้านเชิงทะเล (ตันติวิท) โรงเรียนเทศบาลเชิงทะเล (ตันติวิท) โรงเรียนเชิงทะเลวิทยาคม “จุติ - ก้องอนุสรณ์” วัดเชิงทะเล กุฏิ ๑๐๐ ปี หลวงพ่อ พลับ เทศบาลต�ำบลเชิงทะเล สถานีต�ำรวจภูธรเชิงทะเล ศาลเจ้าส่ามอ๋องหู้ ศาลเจ้า ล่ิมไท้ซู้ ส�ำนักปฏิบัติธรรมหลวงพ่อสมภารงอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล เชิงทะเล 297

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ศาลหลักเมืองหาดเลพัง ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายคณาวุฒิ อธิอุดมผล อายุ ๘๖ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๔๓ ถนนศรีสุนทร หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเชิงทะเล อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๑๙ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายณัฐภน อธิอุดมผล วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๕ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 298

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเชิงทะเล ๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านบางเทา สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลเชิงทะเล อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๑ บ้านเชิงทะเล ทิศใต้ จด เทือกเขากมลา ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๕ บ้านบางเทานอก ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๓ บ้านลุ่มเฟือง (หมู่บ้านย่อยในบ้านหาดสุรินทร์) ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง บริเวณน้ีเดิมมีล�ำคลองซ่ึงคนในพื้นที่เรียกล�ำคลองว่า น้�ำบาง บริเวณที่ลุ่ม ริมน�้ำบางแถบนี้ มีต้นเทาซึ่งเป็นพืชตระกูลหมากชนิดหน่ึงขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ต้นเทาน้ีมีเน้ือไม้แข็งมาก นิยมใช้ท�ำฟากเรือน ท�ำไม้สักหนะ หรือ แทงหนะ (แทงดิน ด้วยไม้สักเพื่อหยอดเมล็ดพันธุ์ข้าว) ซ่ีคราด คันธนู กรงดักสัตว์ ฯลฯ จึงเรียกบริเวณ นี้ว่า บางเทา เม่ือมีผู้คนมาอาศัยกันมากข้ึนจนเป็นหมู่บ้านก็เรียกหมู่บ้านน้ีว่า บ้าน บางเทา เน่ืองจากมีพ้ืนท่ีมากจึงมีการเรียกแบ่งย่อยออกเป็นบ้านบางเทาเหนือ บ้าน บางเทากลาง และบ้านบางเทาใต้ เม่ือปี พ.ศ.๒๔๓๗ มีการเปล่ียนแปลงการปกครองเป็นแบบมณฑล- เทศาภิบาล สมัยนั้นอ�ำเภอถลางมี ๑๐ ต�ำบล บ้านบางเทามีฐานะเป็นต�ำบลบางเทา ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๘๔ สมัยรัชกาลที่ ๘ อ�ำเภอถลางได้ยุบเหลือเพียง ๖ ต�ำบล ต�ำบล บางเทาถูกเปลี่ยนช่ือเป็นต�ำบลเชิงทะเล บ้านบางเทาจึงเป็นหมู่ท่ี ๒ ของต�ำบล เชิงทะเลมาจนถึงในปัจจุบันนี้ 299

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ มัสยิดมุการ์ร่ม บางเทา ชาวบ้านส่วนใหญ่เดิมประกอบอาชีพท�ำสวน ท�ำนา ประมง รับจ้างและ ค้าขาย ปัจจุบันมีอาชีพเพ่ิมข้ึนคือ อาชีพเก่ียวกับธุรกิจโรงแรม ร้านอาหารและ บ้านเช่า ภาษาที่ใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม สถานที่ส�ำคัญ เช่น มัสยิดมุการ์ร่ม บางเทา มัสยิดอันซอริสซุนนะฮ์ บ้านบางเทา มัสยิดเราฎอ- ตุลอัฏฟาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บ้านบางเทา ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายประสิทธ์ิ สืบสิน อายุ ๙๒ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๖๓ ซอยควนกลาง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลเชิงทะเล อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๒๐ เดือนมกราคม ๒๕๖๐ 300

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลเชิงทะเล ๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านหาดสุรินทร์ สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลเชิงทะเล อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๓ บ้านลุ่มเฟือง (หมู่บ้านย่อยในบ้านหาดสุรินทร์) ทิศใต้ จด เทือกเขากมลา ทิศตะวันออก จด หมู่ท่ี ๒ บ้านบางเทา ทิศตะวันตก จด ทะเลอันดามัน ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง บริเวณชายหาดแห่งน้ีในอดีตไม่มีชื่อหาด ต่อมาเมื่อพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) ซึ่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต ระหว่าง พ.ศ.๒๔๖๓ – ๒๔๖๙ ได้มาสร้างพลับพลาท่ีประทับขึ้นท่ีบริเวณริมหาดแห่งน้ี เพ่ือเป็นท่ีรับเสด็จพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ซึ่งเสด็จเลียบมณฑลภูเก็ตและจังหวัด ภูเก็ต ในปี พ.ศ.๒๔๗๑ ได้ทรงกอล์ฟท่ีสนามกอล์ฟแห่งนี้ เดิมบริเวณน้ีเป็นป่า ภูเขาและหาดทราย เม่ือมีการสร้างบ้านเรือนขึ้น จึงเรียกบริเวณนี้ว่า บ้านหาดสุรินทร์ ตามช่ือชายหาดซึ่งเรียกตามชื่อของพระยา สุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) บ้านหาดสุรินทร์มีหมู่บ้านย่อยที่คนรู้จักชื่อมาก่อนบ้านหาดสุรินทร์ คือ บ้าน ลุ่มเฟือง และบ้านควนกลาง ชาวบ้านส่วนใหญ่เดิมประกอบอาชีพท�ำสวน รับจ้างและค้าขาย ปัจจุบัน มีอาชีพเพ่ิมข้ึนคือ อาชีพเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม ร้านอาหารและบ้านเช่า ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ 301


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook