Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

Published by phuket strategy, 2019-12-25 03:20:59

Description: ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

Keywords: ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ,ภูเก็ต,จังหวัดภูเก็ต

Search

Read the Text Version

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านหยิด สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลไม้ขาว อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด ทะเลอันดามัน ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๓ บ้านสวนมะพร้าว ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๒ บ้านคอเอน ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ ๓ บ้านสวนมะพร้าว ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ชื่อบ้านหยิดนั้นเดิมคือ บ้านด่านหยุด หรือบ้านด่านหยีด เป็นหมู่บ้านท่ี ส�ำคัญแห่งหนึ่ง ผู้ที่สัญจรไปมาระหว่างเมืองตะกั่วทุ่งกับเมืองถลาง ต้องมาลงเรือ ท่ีหมู่บ้านน้ี มีด่านตรวจซึ่งเป็นสถานท่ีราชการต้ังอยู่คู่กับสถานีต�ำรวจ (ปัจจุบัน ย้ายไปอยู่ท่ีบ้านท่าฉัตรไชย) ค�ำว่า “หยุด” ภาษาถิ่นภูเก็ต ออกเสียงว่า “หยึด” บางคนออกเสียงว่า “หยิด” ท�ำให้ช่ือหมู่บ้านน้ีมีการเรียกกันหลายแบบ ท้ังด่านหยุด ด่านหยึด และ ด่านหยิด แต่เดิมถนนเทพกระษัตรีซ่ึงเป็นถนนที่ยาวที่สุดในภูเก็ตน้ัน เริ่มต้นจาก สี่แยกแถวน�้ำ มาส้ินสุดท่ีแหลมพร้าว บ้านคอเอน ถ้าจะเดินทางต่อไปยังจังหวัด พังงา ก็ต้องไปลงเรือท่ีบ้านด่านหยุดซึ่งเป็นหมู่บ้านท่ีมีผู้คนอาศัยอยู่มากมายจน ทางราชการได้ให้ตั้งข้ึนเป็นหมู่บ้าน เป็นหมู่ที่ ๓ ขึ้นกับต�ำบลไม้ขาว ต่อมา เมื่อมีการ ตัดถนนเทพกระษัตรีต่อจากโค้งบ้านคอเอนไปจนถึงท่าฉัตรไชย จึงมีการมาสร้าง หมู่บ้านแห่งใหม่ข้ึนในบริเวณสองข้างทางของถนนเทพกระษัตรี จนกลายเป็น แหล่งชุมชนใหม่ ดังท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันน้ี และเรียกหมู่บ้านท่ีน่ีว่า บ้านหยุด ต่อมา ได้เรียกเป็นบ้านหยิด ทางราชการได้ก�ำหนดให้ท่ีนี่เป็นหมู่บ้านแห่งใหม่ เป็นหมู่ที่ 352

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลไม้ขาว ๗ ขึ้นกับต�ำบลไม้ขาว เรียกว่า บ้านหยิด และใช้เรียกมาจนถึงปัจจุบันน้ี ภาษาที่ใช้คือ ภาษาถิ่นใต้และภาษาถิ่นภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และศาสนาพุทธ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�ำสวนยางพารา ค้าขาย และรับจ้าง สถานท่ีส�ำคัญ เช่น มัสยิดนูรุ้ลอามัล บ้านหยิด ศูนย์จริยธรรม ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายนิโรธ โชติช่วง อายุ ๖๕ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๓ ถนนเทพกระษัตรี หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเทพกระษัตรี อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๒๒ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ นายสมหมาย มีศักดิ์ อายุ ๕๗ ปี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ท่ี ๗ บ้านหยิด ท่ีอยู่ผู้ให้ ข้อมูล ๑๕๙/๕ หมู่ที่ ๗ บ้านหยิด ต�ำบลไม้ขาว อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายสุเชาว์ พงศานนท์ นายสมศักดิ์ โสภานนท์ นายณัฐภน อธิอุดมผล วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๒๖ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 353

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 354

อ�ำเภอถลาง ต�ำบลสาคู ๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านในยาง สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หมู่ท่ี ๖ บ้านบ่อไทร ต�ำบลไม้ขาว ทิศใต้ จดหมู่ท่ี ๕ บ้านบางม่าเหลา ทิศตะวันออก จด สวนป่าบางขนุน หมู่ที่ ๕ บ้านเมืองใหม่ ต�ำบลเทพกระษัตรี ทิศตะวันตก จด ทะเลอันดามัน อุทยานแห่งชาติสิรินาถ หาดในยาง ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เดิมบ้านในยางเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ที่มีประชากรแค่ ๔๐ ครัวเรือน เป็นบ้าน ไม้ยกสูงแบบมีใต้ถุน เหตุที่เรียก บ้านในยาง เนื่องจากในสมัยก่อนบริเวณนี้มี ต้นยางอยู่จ�ำนวนมาก (ต้นยาง ในที่น้ีหมายถึงต้นไม้ชนิดหน่ึงที่มีล�ำต้นใหญ่ ใบใหญ่ ไม่ใช่ต้นยางพารา) คนในหมู่บ้านสามารถน�ำใบมาห่ออาหารและคลุมหัว กันแดดกันฝนได้ สามารถใช้ประโยชน์มากมาย บ้านในยางมี ๒ ตระกูลใหญ่ คือ ตระกูลจ�ำปาทอง และ ตระกูลเพชรรัตน์ ชาวบ้านในยางในสมัยน้ันจะเป็นญาติพ่ีน้องกันเสียส่วนใหญ่ คนบ้านในยางในสมัย น้ันจะเรียนหนังสือกันที่วัดประจ�ำหมู่บ้าน (วัดในยาง) วิถีชีวิตเรียบง่าย ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ในสมัยก่อนคนบ้านในยางใช้การสัญจรไปมาหาสู่โดยการเดินเท้า จะเข้า เมืองหรือท่ีชาวบ้านเรียกกันว่า ไปหลาด ต้องเดินกันเป็นวันๆ กว่าจะถึง ล�ำบากมาก 355

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ อุทยานแห่งชาติสิรินาถ หาดในยาง 356

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลสาคู วัดมงคลวราราม (วัดในยาง) ภูมิปัญญาท้องถิ่นมี หมอท�ำภูมิ (ไหว้พระภูมิหรือเจ้าท่ี) คือ นายสาคร จ�ำปาทอง หมอต�ำแยคือ นางหม่อน เพชรรัตน์ ปราชญ์ท้องถิ่นคือ นายก�ำพล ชัชเวช (เป็นหมอท�ำกระดูก หรือท่ีเรียกว่า หมอท�ำเอ็นท�ำกระดูก เป็นความเชื่อของคนในหมู่บ้าน) ภาษาที่ใช้ ส่วนมากใช้ภาษาถ่ินภูเก็ต และภาษาจีนฮกเก้ียนบ้าง เพราะมี คนจีนอพยพจากเกาะปีนังมาอาศัยอยู่ท่ีหาดในยางด้วย อาชีพของคนในหมู่บ้าน สมัยก่อนส่วนมากท�ำประมง ท�ำสวน ท�ำไร่ แต่ ในปัจจุบันมีอาชีพเพิ่มขึ้นมากมาย เช่น ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจท่องเท่ียว และค้าขาย เป็นต้น สถานที่ส�ำคัญ เช่น อุทยานแห่งชาติสิรินาถ หาดในยาง วัดมงคลวราราม (วัดในยาง) โรงเรียน วัดมงคลวราราม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล สาคู 357

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ วัดมงคลวราราม (วัดในยาง) คนในยางนับถือศาสนาพุทธส่วนมาก และ จะนับถือ พ่อท่านหลังเสือ เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดในยาง เป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจ ของคนในหมู่บ้าน ถ้าคนในหมู่บ้านเดือดร้อน ไม่สบายใจหรือต้องการอะไรก็จะไป บนบานศาลกล่าวกับท่าน เพ่ือเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง เพราะเป็นพระท่ีศักดิ์สิทธิ์ องค์หน่ึงของวัดในยาง ของเซ่นไหว้ส่วนมากที่ชาวบ้านชอบเอาไปถวาย คือ ข้าวต้ม ขาว ปลาเค็ม และไข่เค็ม ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายสมุทร จ�ำปาทอง อายุ ๙๐ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๗ หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นางเจียมจิตต์ ศิริสวัสด์ิ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๕ เดือนมกราคม ๒๕๖๐ 358

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลสาคู ๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านตรอกม่วง สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ที่ ๓ บ้านสาคู ทิศใต้ จด ภูเขาเมือง หรือหลักเมือง หมู่ท่ี ๓ บ้านสาคู ทิศตะวันออก จด ทุ่งนาร้างของ หมู่ที่ ๓ บ้านสาคู ทิศตะวันตก จด ภูเขาลอก หมู่ท่ี ๔ บ้านในทอน ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เดิมภูมิประเทศในอดีตเป็นป่าทุเรียน ป่ามะม่วง ภูเขา ป่า ท่ีนา ต้นมะม่วง ในสมัยน้ันเป็นต้นไม้ท่ีมีล�ำต้นใหญ่มากขนาด ๔ คนโอบ มีอยู่เต็มในหมู่บ้าน โดยเฉพาะที่สามแยกปากทางเข้าหมู่บ้านท้ังสองข้างทาง จึงเป็นท่ีมาของช่ือ บ้าน ตรอกม่วง ภูมิปัญญาท้องถิ่นมี หมอท�ำภูมิคือ นายสบาย กิ่งรักษ์ ภาษาที่ใช้ คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�ำสวน ท�ำนา และรับจ้าง คนในบ้านตรอก ม่วงนับถือศาสนาพุทธ ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายโอภา พรหมชัย อายุ ๖๒ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๕/๑ หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้เก็บข้อมูล นายโอภา พรหมชัย วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๕ เดือนมกราคม ๒๕๖๐ 359

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านสาคู สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๕ บ้านบางม่าเหลา ทิศใต้ จด ภูเขาเมือง และหมู่ท่ี ๔ บ้านในทอน ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๓ บ้านพรุจ�ำปา ต�ำบลเทพกระษัตรี ทิศตะวันตก จด หมู่ท่ี ๒ บ้านตรอกม่วง ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง คนในสมัยก่อนเล่ากันว่า แต่เดิมหมู่บ้านแห่งน้ีมีชื่อว่า บ้านสระโค เหตุ ที่ได้มีชื่อน้ีก็เพราะว่ามีสระขนาดใหญ่อยู่กลางหมู่บ้าน มักมีโคสองตัวแม่ลูกมา ว่ายน้�ำเล่นอยู่ในสระแห่งนี้เป็นประจ�ำ ต่อมาโคสองตัวน้ีได้หายไป ชาวบ้านเล่าต่อๆ กันมาว่าโคทั้งสองตัวได้กลายเป็นธาตุหิน มีหลักฐานคือก้อนหินใหญ่สองก้อนอยู่ ในต�ำแหน่งบริเวณที่เคยเป็นสระแห่งนั้น จึงเรียกบริเวณหมู่บ้านแห่งนี้ว่า บ้าน สระโค ต่อมาชาวบ้านได้เรียกเพ้ียนมาเป็น บ้านสาคู นอกจากนี้ชาวบ้านสาคูยังมีเรื่องเล่าต่อๆ กันมาอีกว่า ในสระแห่งนั้นมี สมบัติฝังไว้ แต่ไม่มีใครสามารถเอาไปได้ ต่อมามีคนที่มาจากทางเหนือได้พบ ลายแทงของบ้านสระโคที่เขียนไว้ในใบลานว่ามีสมบัติฝังอยู่ในสระแห่งนั้น ใน ลายแทงระบุว่า “เข้าไปให้ถามรอก ออกมาให้ถามกา” มีผู้ชายสามคนเดินทางมา ที่บ้านสระโคเพ่ือจะขุดหาสมบัติตามลายแทง เมื่อมาถึงเจอต้นกระท้อนรอก ก็ ท�ำตามที่ลายแทงบอกไว้ จึงได้บอกกับต้นกระท้อนรอกว่า จะมาเอาสมบัติตามที่ บอกไว้ เมื่อเดินต่อไปก็เจอต้นกาหยี หรือมะม่วงหิมพานต์ ก็ท�ำตามที่ลายแทงบอก อีกทีว่าให้ถามกา หมายถึง ต้นกาหยี จึงบอกต้นกาหยีว่า จะมาเอาสมบัติตามท่ีบอก ไว้ จากน้ันชายท้ังสามคนก็ลงมือขุดหาสมบัติ เม่ือขุดไปก็เจอตัวต่อตัวแตน ซึ่ง 360

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลสาคู เจ้าของสมบัติให้เป็นผู้เฝ้าสมบัติไว้ ก็เลยบอกกับตัวต่อแตนว่า แก้ลายแทงได้แล้ว ตัวต่อแตนก็หายไป เมื่อขุดต่อไปอีกก็เจอผ้าสีแดง หมายถึงตะขาบท่ีเฝ้าสมบัติอยู่ ก็ได้บอกว่าพวกตนจะมาเอาสมบัติตามท่ีลายแทงบอกไว้ ผ้าแดงห็หายวับไป เมื่อ ขุดลึกลงไปอีกก็ได้เจอไหใส่สมบัติของมีค่าไว้มากมาย ด้วยความละโมบของคนท้ังสาม ท�ำให้ไม่สามารถแบ่งสมบัติกันได้ลงตัว เกิดการโต้เถียงกัน ในที่สุดได้เกิดน�้ำท่วมใหญ่ขึ้น เป็นเพราะเจ้าของสมบัติได้ท�ำบุญ กรวดน้�ำไว้ ท�ำให้เกิดน้�ำท่วมใหญ่ ชายท้ังสามต่างว่ายน้�ำหนีตายกันสุดชีวิต มีคน จากบ้านเคียนมาพบเข้าก็เกิดความสงสัยท่ีเห็นชายสามคนท�ำท่าว่ายน้�ำอยู่กลาง ทุ่งนา ท้ังท่ีไม่มีน้�ำอยู่เลยสักนิด เม่ือถามไปว่า ก�ำลังท�ำอะไรกันอยู่ ชายทั้งสามก็บอก ให้รีบหนี น�้ำก�ำลังท่วมใหญ่ พวกตนก�ำลังว่ายหนีอยู่ ปัจจุบันท่ีบริเวณนี้คือ นาหว้าสาม มีต้นหว้าสามต้นข้ึนอยู่ท่ีทุ่งนาแห่งน้ี เช่ือกันว่า เป็นที่ซ่ึงชายทั้งสามคนว่ายน้�ำหนีตายนั่นเอง ท่ีสุดจึงไม่มีใครสามารถเอาสมบัติไปได้ และยังไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า ปัจจุบันน้ีสมบัตินั้นถูกฝังอยู่ท่ีต�ำแหน่งใดในบ้านสระโค หรือบ้านสาคู ภาษาที่ใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คนในหมู่บ้านประกอบอาชีพท�ำนา ท�ำสวน รับจ้าง สถานที่ส�ำคัญ เช่น โรงเรียนบ้านสาคู องค์การบริหารส่วนต�ำบลสาคู ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายขจร จันทฤก อายุ ๗๐ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๓๗ หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอ ถลาง จังหวัดภูเก็ต นายบุญล้อน บ�ำราบพาล อายุ ๗๕ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๖/๑ หมู่ท่ี ๓ ต�ำบล สาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 361

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ โรงเรียนบ้านสาคู ชื่อผู้เก็บข้อมูล นายโอภา พรหมชัย วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๕ เดือนมกราคม ๒๕๖๐ 362

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลสาคู ๔ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านในทอน สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด เขารวก หมู่ท่ี ๒ บ้านตรอกม่วง ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๖ บ้านลายัน ต�ำบลเชิงทะเล ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ ๓ บ้านสาคู ทิศตะวันตก จด ทะเลอันดามัน ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เดิมสมัยก่อน ชาวบ้านเรียกว่า บ้านตรอกทอน มีประชากรอาศัยอยู่ ๑๖ ครัวเรือน ปัจจุบันนี้บ้านในทอนเจริญขึ้น บ้านในทอนมีสถานที่ท่องเท่ียวที่ขึ้นชื่อของจังหวัดภูเก็ต มีชายหาดที่สวยงาม มาก ช่ือว่า หาดในทอน และยังมีโรงแรมระดับ ๕ ดาว ไว้บริการนักท่องเที่ยวด้วย ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ อาชีพของคนในหมู่บ้านคือ การประมง ท�ำสวน สถานที่ส�ำคัญ เช่น หาดในทอน โรงเรียนบ้านในทอน ศาลาอเนกประสงค์ ไว้ส�ำหรับประชุม ชาวบ้าน ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายถวิล ตามชู อายุ ๘๕ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐ หมู่ที่ ๔ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอ ถลาง จังหวัดภูเก็ต 363

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ หาดในทอน ช่ือผู้เก็บข้อมูล นายโอภา พรหมชัย วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๕ เดือนมกราคม ๒๕๖๐ 364

อ�ำเภอถลาง l ต�ำบลสาคู ๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านบางม่าเหลา สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ทิศเหนือ จด หมู่ท่ี ๑ บ้านในยาง ทิศใต้ จด หมู่ท่ี ๓ บ้านสาคู ทิศตะวันออก จด สวนป่าบางขนุน หมู่ท่ี ๕ บ้านเมืองใหม่ ต�ำบลเทพกระษัตรี ทิศตะวันตก จด ทะเลอันดามัน ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เดิมในหมู่บ้านมีคลองน้�ำไหลมาจากภูเขาซึ่งชาวบ้านเรียกว่า บางพม่าหลง เมื่อสงครามศึกถลาง พ.ศ.๒๓๒๘ พม่าได้มาตั้งค่ายอยู่ท่ีหัวแหลมพิศ ติดกับ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตในปัจจุบัน พม่าได้เดินทางมาที่บางน�้ำไหลและหลง เข้ามาในหมู่บ้าน ชาวบ้านจึงเรียกว่า บางพม่าหลง ต่อมาได้เรียกเพ้ียนมาเป็น บางม่าเหลา ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาถ่ินภูเก็ต ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม อาชีพของคนในหมู่บ้าน ประมง ค้าขาย ท�ำสวน รับจ้าง สถานที่ส�ำคัญ เช่น มัสยิดดารุลอาบีดีน บ้านบางม่าเหลา ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายแดง หลาวหล้าง อายุ ๗๗ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๖๕/๒ หมู่ที่ ๕ ต�ำบลสาคู อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 365

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ มัสยิดดารุลอาบีดีน บ้านบางม่าเหลา ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายโอภา พรหมชัย วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๕ เดือนมกราคม ๒๕๖๐ 366

ในอ�ำเภอกะทู้ 367

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 368

อ�ำเภอกะทู้ ต�ำบลกะทู้ ๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านเก็ตโฮ่ สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เก็ตโฮ่ เป็นค�ำท่ีกร่อนมาจากค�ำเดิม จนไม่มีความหมาย ท้องท่ีน้ีเดิมเรียก ว่า “บูเก๊ะปาโฮะ” (หมายถึง ป่ามะม่วงหิมพานต์) เป็นค�ำภาษามลายู ต่อมาค�ำน้ี กร่อนไปเหลือแค่ “เก๊ะปาโฮะ” และกร่อนไปเป็น “เก๊ะโฮะ” แล้วมาเป็น “เก็ตโฮ่” ในท่ีสุด ชาวจีนที่มาอาศัยอยู่ในกะทู้ เรียก เก็ตโฮ่ เป็น เกียดโห ค�ำนี้ในภาษาจีน มีความหมายว่า รวมตัวกันสามัคคีกัน ในบ้านเก็ตโฮ่ ยังประกอบไปด้วยบ้าน ชุมชนย่อยๆ ซึ่งมีช่ือเรียกตามแหล่ง ที่อยู่ ดังนี้ 369

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ลิ้มซ้าน ศาลเจ้าฮกซานเก้ง ลิ้มซ้าน คือ สถานที่สงวนฝังศพสาธารณะบนภูเขา (ลิ้ม คือ ท่ีฝังศพ ซ้าน คือ ภูเขา) เหล่งซ้าน คือ ยอด (ภู) เขาอันเป็นท่ีสถิตของสิ่งศักดิ์สิทธ์ิและเหล่าวิญญาณ ต่างๆ ฮกซานเก้ง คือ ชื่อศาลเจ้าที่ตั้งอยู่บนยอดภูเขา ซึ่งเป็นท่ีฝังศพของชาวจีน ที่เรียกว่า ลิ้มซ้าน ศาลเจ้าฮกซานเก้ง มีความหมายว่า “ต�ำหนักแห่งโชคบนภูเขา” มี องค์พระฮกเต็กเจ้งสีน เป็น “จู๊ตั๋ว” หรือ องค์พระประธานของศาลเจ้านี้ 370

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ วัดเก็ตโฮ่ เบ๊อ๊ัว คือ อานม้า ชื่อเรียกสถานท่ีแห่งหน่ึงในท้องท่ี หมู่ท่ี ๑ (บ้านเก็ตโฮ่) บ้านตากแดด ในอดีตเป็นท่ีราบโล่งกว้าง แทบไม่มีต้นไม้ ชาวกะทู้ในอดีต ใช้เส้นทางกะทู้ – ทุ่งคาในการเดินทางสัญจรไปมา โดยใช้เส้นทางกะทู้ – บ้าน ตากแดด – ลิ้มซ้าน – เหล่งซ้าน – ระแงง – ทุ่งคา เมืองภูเก็ต (เก่า) ปัจจุบันคือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเก็ตโฮ่ เทศบาลเมือง กะทู้ และที่อยู่อาศัยของประชาชน สถานท่ีน้ีเป็นเมืองภูเก็ตอยู่ระยะหน่ึง ภายหลัง จากเมืองถลางถูกพม่าตีเมืองแตก ในปี พ.ศ.๒๓๕๒ ต่อมาจึงได้ต้ังเมืองภูเก็ตท่ี ทุ่งคา เมืองน้ีถูกปล่อยท้ิงร้างไป วัดเก็ตโฮ่ (เก่า) ต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีข้างเคียงกับเมืองภูเก็ตเก่า สร้างเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ไม่ปรากฏนามผู้สร้าง ต่อมาวัดได้รับผลกระทบจากน้�ำท่วม และการ ท�ำเหมืองแร่ดีบุกของหลวงอนุภาษภูเก็ตการ ซึ่งท่านได้ขอใช้พื้นท่ีวัดเพ่ือท�ำ เหมืองแร่ และได้ย้ายวัดไปสร้างท่ีใหม่บนเขาซึ่งเป็นท่ีดินของท่านเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ต้ังช่ือว่า วัดอนุภาษกฤษฎาราม แต่ชาวบ้านท่ัวไปเรียกว่า วัดเก็ตโฮ่ 371

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ อ่ังหม่อหลาว ตันล้ิมหล้อง อ่ังหม่อหลาว ตันลิ้มหล้อง คือ ชื่อเรียกบ้านหลังใหญ่ท่ีมีลักษณะเป็น ตึก ๒ ช้ัน รูปทรงแบบจีนปนฝร่ัง เจ้าของบ้านหลังนี้คือ ตันล้ิมหล้อง เป็นคหบดี ต้นตระกูล “ทรัพย์ทวี” โรงงานผลิตสุราของบริษัทกรุงเทพเศรษฐพรรณ จ�ำกัด หรือชาวบ้านท่ัวไป เรียกว่า “โรงเหล้า” อั่งหม่อหลาวของนายตันล้ิมหล้องและโรงเหล้า ปัจจุบันเทศบาล เมืองกะทู้ ได้เข้ามาใช้พื้นท่ีสร้างเป็น สวนสาธารณะลานกีฬา อ.กะทู้ โค้งตายาน คือ ช่ือเรียกโค้งหักศอกบนถนนวิชิตสงครามใกล้กับโรงเหล้า โค้งน้ีมีผู้คนขับขี่รถจักรยานยนต์ชนต้นล่ันทม (ต้นลีลาวดี) ข้างถนนเสียชีวิตไป หลายราย ขุมตายาน คือ ช่ือเรียกคุดหลอง หรือขุมเหมืองท่ีท�ำเหมืองแร่ หรือท่ีผ่าน การท�ำเหมืองแร่มาแล้ว โค้งตายาน และขุมตายาน ที่ชื่อ ตายาน เพราะบ้านตายาน ด้านหน้าบ้านริมถนนวิชิตสงคราม เป็นโค้งหักศอก ส่วนด้านหลังบ้านเป็นขุมเหมือง (ค�ำว่า ตายาน เป็นค�ำเรียกชายไทยท่ีสูงวัย) 372

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ โค้งตายาน ขุมโรงเหล้า โค้งต้นหมอ (โค้งต้นสมอ) คือ บริเวณทางโค้งท่ีอยู่ริมถนนวิชิตสงคราม มีต้นสมอขนาดใหญ่เด่นสง่าเห็นชัดเจน (เย้ืองปากทางเข้า มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต) เล่ากันว่า ในอดีต ก่อนท่ีกระแสไฟฟ้าจะเข้ามาสู่พื้นท่ี ในต�ำบลกะทู้นั้น ต้นหมอบริเวณโค้งน้ีผีดุมาก ผู้คนที่สัญจรไปมายามค่�ำคืน มักถูก ผีหลอกบริเวณน้ีบ่อยครั้ง ขุมโรงเหล้า คือ ช่ือเรียกขุมเหมืองแร่ดีบุกท่ีผ่านการท�ำเหมืองแร่มาแล้ว ปัจจุบันยังมีสภาพเป็นขุมเหมือง แต่ขนาดเล็กกว่าเดิม ภาษาท่ีใช้ ภาษาถิ่นภูเก็ต 373

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต โรงเรียนบ้านเก็ตโฮ่ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต วัดอนุภาษกฤษฎาราม (วัดเก็ตโฮ่) โรงเรียนบ้านเก็ตโฮ่ ท่ีท�ำการไปรษณีย์โทรเลขกะทู้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านเก็ตโฮ่ เทศบาลเมืองกะทู้ สวนสาธารณะลานกีฬา อ.กะทู้ ที่ท�ำการชุมชนควน ลิ้มซ้าน ที่ท�ำการชุมชนเก็ตโฮ่ บุคคลส�ำคัญท่ีเกี่ยวข้อง พระครูปัญญาภิมณฑ์ (หลวงพ่อบุญมา) เจ้าอาวาสวัดเก็ตโฮ่ 374

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ นายตันลิ้มหล้อง คหบดีกะทู้ในอดีต ต้นตระกูล “ทรัพย์ทวี” เจ้าของ อ่ังหม่อหลาว โรงเหล้ากะทู้ในอดีต เป็นบุคคลแรกที่ได้รับหนังสือประทานบัตร การท�ำเหมืองแร่ในภูเก็ต ท�ำเหมืองเบ่งหลอง (เหมืองหาบ) ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายประยูร สงวนปานนท์ อายุ ๘๔ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๔๘/๑ ถนนวิชิต- สงคราม หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๕ เดืิอนกรกฎาคม ๒๕๕๘ นายจู้ ทรัพย์ทวี อายุ ๗๘ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ถนนวิชิตสงคราม หมู่ที่ ๗ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๕ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๘ นายอ�ำนวย สกุลตัน อายุ ๙๖ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๒ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๒๑ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ 375

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 376

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านกะทู้ หมู่ที่ ๒ สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง กะทู้ มีท่ีมา ดังนี้ ๑. ค�ำว่า กะทู้ มาจากค�ำ กราบาตู ในภาษามลายู แปลว่า อ่าวหิน กร่อน มาเป็น กราตู กราทู กะทู และเป็น กะทู้ ในท่ีสุด ๒. ค�ำว่า กะทู้ มาจากค�ำ กราซาตู ในภาษามลายู แปลว่า อ่าวที่หน่ึง กร่อน มาเป็น กราตู กราทู กะทู และเป็น กะทู้ ในท่ีสุด ภาษาจีนฮกเกี้ยน ใช้ค�ำว่า หล่ายถู และในถู่ หรือในทู ในหมู่ท่ี ๒ กะทู้ ยังประกอบด้วยบ้าน สถานที่ ซึ่งได้เรียกชื่อตามท่ีอยู่ หรือเรียกตามช่ือบุคคลที่รู้จักคุ้นเคย ดังนี้ บ้านนายอ�ำเภอกะทู้ คือ ชื่อเรียกบ้านพักนายอ�ำเภอกะทู้หลังแรก ซ่ึงนาย อ�ำเภอคนแรกท่ีพักอาศัย คือ นายพาท รัตนพรรณ แต่เดิมบ้านน้ีเป็นบ้านพัก หัวหน้าคนงานของบริษัทเรือขุดแร่ กะทู้ติน เดรดย่ิง จ�ำกัด ลักษณะเป็นตึก ๒ ชั้น รูปทรงแบบยุโรป ทาสีเขียวทั้งหลัง หน้าบ้านเป็นสนามหญ้ากว้าง นายอ�ำเภอพาท เป็นคนใจดี เด็กๆ แถบกะทู้และเก็ตโฮ่ ไปเล่นฟุตบอลท่ีสนามหญ้าหน้าบ้านพักท่าน เป็นประจ�ำ ขุมครูล่อง คือ ช่ือเรียกขุมเหมืองแร่ที่ผ่านการท�ำเหมืองแร่ดีบุกมาแล้ว ขุมเหมืองน้ีมีปลากัดชุกชุมมาก แต่เป็นปลาไม่ต่อสู้และอดทน น�ำไปกัดทีไรแพ้ หนีทุกครั้ง สามแยกครูล่อง คือ ช่ือเรียกสามแยกระหว่างถนนวิชิตสงคราม กับถนน กะทู้ – สามกอง ครูล่อง เป็นครูสอนอยู่ในโรงเรียนเขตต�ำบลกะทู้ และท่านมีที่พัก 377

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ อยู่ในบริเวณสามแยกและขุมเหมืองดังกล่าว โดยบริเวณน้ันมีบ้านพักอาศัยเพียง ๒ – ๓ หลังเท่านั้น บ้านครูล่อง จึงเป็น Landmark ไปโดยปริยาย ต่อมา เมื่อประมาณ ๑๕ ปีท่ีผ่านมา ได้มีการตัดถนนเช่ือมระหว่างสามแยกครูล่อง กับสามแยกสี่กอ จึงเกิดเป็นส่ีแยกท้ัง ๒ แห่ง เส้นทางรถรางกะทู้ คือ ช่ือเรียกรถรางบรรทุกแร่ดีบุกของบริษัทเรือขุดแร่ กะทู้ติน เดรดยิ่ง จ�ำกัด โดยมีเส้นทางเริ่มต้นท่ีหน้าโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) มาตามทางผ่านสามแยกครูล่อง ไปส้ินสุดก่อนถึงแยกสามกอง ท่ีส่งพระ (สถานท่ีส่งองค์เทพก้ิวอ๋องไต่เต่) อยู่ริมคลองเล็กๆ ท่ีแยกมาจาก คลองบางกะทู้ เมื่อบางส่วนของคลองบางกะทู้โดนถม ล�ำคลองเล็กๆ นี้จึงไม่มีน�้ำ มีแต่ร่องลึกให้เห็น โรงฆ่าสัตว์ คือ ช่ือเรียกโรงฆ่าสัตว์ของสุขาภิบาลกะทู้ในอดีต ป่ากาหยี (ป่ามะม่วงหิมพานต์) คือ ชื่อเรียกสถานท่ีแห่งหนึ่ง อยู่ใกล้ โรงฆ่าสัตว์ ในอดีตสถานที่นี้มีการฆ่าควายบ่อยครั้ง ถนนกะทู้ติน คือ ชื่อเรียกถนนซ่ึงอยู่ระหว่างป่ากาหยี กับสวนมะพร้าว โป๋ (ยาย) ก่ิมฉุ้น สวนมะพร้าวโป๋ก่ิมฉุ้น เป็นสวนมะพร้าวของเศรษฐีนีผู้ใจบุญในกะทู้ ชาวกะทู้ในละแวกสวนมะพร้าวนั้น ท่านให้เก็บมะพร้าวไปกินได้ เพียงแต่ช่วยดูแล อย่าให้ไฟไหม้สวนเท่าน้ัน ปัจจุบัน สวนมะพร้าวน้ีกลายเป็นหมู่บ้านกะทู้ธานีเต็ม พ้ืนท่ีแล้ว นาวัดกะทู้ คือ พื้นท่ีตรงข้ามกับสวนมะพร้าวโป๋ก่ิมฉุ้น ปัจจุบันกลายเป็น บ้านเรือนประชาชนเต็มพื้นที่ สวนแปะ (ลุง, ชายจีนสูงอายุ) ฮกเส็ง คือ พื้นท่ีสวนผักท่ีอยู่ในสวนมะพร้าว โป๋ก่ิมฉุ้น ท่องขี้ทราย คือ ค�ำเรียกพ้ืนทรายท่ีเป็นท่ีราบ เกิดจากท้ายรางเหมืองแร่ ซ่ึงเด็กๆ ในกะทู้ใช้ว่ิงเล่นฟุตบอล ปัจจุบัน คือ อาคารชุด (ดีคอนโด) อ๊ามเนียเหนี้ย คือ ศาลเจ้าฮกเต็กฮูหยิน ขุมจุ๊ยหลุน หรือ ขุมเนียเหนี้ย คือ ช่ือเรียกขุมเหมืองแร่ที่ผ่านการท�ำเหมือง 378

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ แล้วของนายจุ๊ยหลุน (นายอรุณ เชื้อชูวงศ์) และขุมเหมืองน้ีอยู่ใกล้อ๊ามเนียเหนี้ย ปัจจุบัน คือ โรงเรียนเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ โรงเรียนสอนภาษาจีน “โป่ยหัวฮักห่าว” ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับสวนมะพร้าว โป๋กิ่มฉุ้น ปัจจุบันเป็นบ้านพักอาศัยของประชาชน โรงภาพยนตร์เฉลิมขวัญกะทู้ เป็นโรงภาพยนตร์แห่งแรกและแห่งเดียว ในต�ำบลกะทู้ ร้านตัดเสื้อผ้าสุภาพบุรุษ อาร์ ซี ร้านน้ีตั้งอยู่ปากทางเข้าโรงภาพยนตร์ เฉลิมขวัญกะทู้ เป็นร้านตัดเส้ือผ้าสุภาพบุรุษ ร้านแรกและร้านเดียวในกะทู้ ขุมผักตบชวา คือ ช่ือเรียกหลุมแร่หรือบ่อแร่ที่เคยผ่านการท�ำเหมืองรู หรือถ่อค้างในอดีต เมื่อถูกปล่อยเป็นท่ีร้าง มีน้�ำท่วมขัง กลายเป็นขุมเหมือง มีผู้คน น�ำผักตบชวามาไว้ในขุมน้ี ในอดีตชาวกะทู้น�ำผักตบชวาไปเลี้ยงไหม ผักตบชวา ได้แพร่ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วจนเต็มพ้ืนท่ีขุม ผู้คนจึงเรียกกันว่า ขุมผักตบชวา ปัจจุบันโดนถม กลายเป็นบ้านเรือนของประชาชนเกือบหมดแล้ว สวนแปะเข้งหม่อ มีลักษณะเป็นสวนผสม ปลูกพืช ผัก ผลไม้ในท้องถิ่น แทบทุกชนิด ปัจจุบันกลายเป็นบ้านจัดสรรเต็มพื้นท่ี โรงพักกะทู้หลังแรก หรือสถานีต�ำรวจแห่งแรก อยู่ติดกับสวนแปะเข้งหม่อ ปัจจุบันเป็นที่ราชพัสดุ ชาวบ้านเช่าท่ีดินปลูกบ้านเรือนที่พักอาศัย บ่อน้�ำสาธารณะกะทู้ คือ บ่อน�้ำท่ีทางราชการขุดให้ประชาชนใช้ในฤดูแล้ง ที่มีน้�ำขาดแคลน ตั้งอยู่ใกล้กับโรงพักกะทู้หลังแรก ฮูล้างกะทู้ คือ โรงล้างแร่ หรือ โรงแต่งแร่ในกะทู้ ท่ีด�ำเนินงานโดยชาวกะทู้ โดยใช้ภูมิปัญญาของตนเอง สามารถล้างแร่ดีบุกได้โดยไม่ใช้เครื่องจักรกลใดๆ ที่ตั้งของฮูล้างอยู่ใกล้พ้ืนที่บ่อน้�ำสาธารณะกะทู้ จากฮูล้างกะทู้มีเส้นทางเช่ือมต่อ ไปยังสุสานฝังศพบางหนาได้ด้วย บางก๊าง เดิมเป็นสวนยางพาราและสวนผลไม้นานาชนิด ปัจจุบันเป็น บ้านจัดสรรเต็มพ้ืนท่ี ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต 379

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ส่วนหนึ่งของส�ำนักงานเทศบาลเมืองกะทู้ เดิมเป็นโรงฆ่าสัตว์ของสุขาภิบาลกะทู้ โรงเหล็กแห่งแรกของกะทู้ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น ส�ำนักงานเทศบาลเมืองกะทู้ สถานธนานุบาล เทศบาลเมืองกะทู้ โรงเรียน เทศบาล ๒ บ้านกะทู้ โรงเรียนขจรเกียรติศึกษา ศาลเจ้าฮกเซี้ยงเก้ง ตลาดสดกะทู้ ท่ีท�ำการชุมชนบ้านกะทู้ ๒ 380

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายตัวโพ้ สุทธิกุล อายุ ๙๔ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๕๔ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๒๘ เดือนธันวาคม ๒๕๕๘ นายอ�ำนวย สกุลตัน อายุ ๙๖ ปี ๑๒ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๒๑ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ นางสุลี ปิ่นประดับ อายุ ๘๐ ปี ๓๕ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๐ เดือนมกราคม ๒๕๕๘ 381

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 382

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านกะทู้ หมู่ที่ ๓ สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง หั่งอ้า คือ ซอย จากซอยนี้สามารถเดินเข้าไปในหมู่บ้าน และมีช่องทางเดิน เล็กๆ ลักษณะเป็น “ถ่อลู้น” (เนินดิน) บริเวณนี้ในอดีตมีโสเภณีจีนมาหากิน กับคนจีนเหมืองแร่หลายคน คลองบางกะทู้ เป็นคลองน้�ำสายส�ำคัญ มีจุดเริ่มต้นพื้นที่ภูเขาท่ีเปะ- เหล่งถาว และบางปัน ล�ำคลองนี้ทอดยาวไปในท้องที่หมู่ท่ี ๓ หมู่ที่ ๒ และบรรจบ กับคลองบางใหญ่ ในท้องท่ีหมู่ท่ี ๑ บ้านเก็ตโฮ่ ปัจจุบันล�ำคลองนี้ในพ้ืนท่ีหมู่ท่ี ๒ ถูกถมหมดแล้ว บ่อน�้ำวันชาติ บ่อหลวง คือ ชื่อท่ีชาวกะทู้เรียกบ่อน้�ำสาธารณะ ท่ีทางราชการ ขุดให้ประชาชนชาวกะทู้ใช้อุปโภคและบริโภคในยามขาดแคลนน้�ำ ดังน้ันเม่ือ เป็นของราชการ ชาวกะทู้จึงเรียกว่า “บ่อหลวง” ในขณะเดียวกันในปีท่ีขุดบ่อน�้ำนี้ 383

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี (พ.ศ.๒๔๘๑ ถึง พ.ศ.๒๔๘๕) ได้ ประกาศก�ำหนดให้ วันที่ ๒๔ มิถุนายน เป็น “วันชาติไทย” (วันท่ีคณะราษฎร์ ยึด อ�ำนาจเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นระบอบ ประชาธิปไตย) ชาวกะทู้จึงเรียกบ่อน�้ำน้ีว่า “บ่อวันชาติ” อีกช่ือหน่ึง ศาลาพ่อท่านทอง วัดกะทู้ (เก่า) สร้างเม่ือปี พ.ศ.๒๔๒๖ ไม่ปรากฏนามผู้สร้าง มีหลวงพ่อ ทอง หรือพ่อท่านทอง เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก เมื่อวัดกะทู้ย้ายไปสร้างท่ีใหม่ เหลือ หลักฐานวัดเก่าคือต้นโพธิ์ และศาลาพ่อท่านทอง ตึกที่ท�ำการสมาคมอั้งย่ีกะทู้ ในอดีต เม่ือจีนอ้ังยี่กะทู้ถูกปราบปราม ใน เวลาต่อมาได้ใช้ตึกหลังนี้ เปิดเป็นโรงเรียนสอนภาษาจีน เปิดสอนคร้ังแรกในปี พ.ศ. ๒๔๕๓ ใช้ช่ือว่า “โรงเรียนโป่ยหัว” “เปะเหล่งถาว” แปลตรงตัวคือ หัวมังกรขาว ได้มีซินแสท�ำนายลักษณะ พ้ืนที่แหล่งแร่ดีบุกในกะทู้ว่า เป็นรูปมังกร หัวสีขาว (สีขาว คือ คา ซ่ึงเป็นสายแร่ดีบุก) ทอดยาวจากท้องท่ีหมู่ที่ ๓ ไปจรดท้องที่หมู่ที่ ๕ ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ของเปะ- เหล่งถาว เป็นสนามกอล์ฟ บางหนา คือ สุสานที่ฝังศพคนจีนในกะทู้ 384

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ บางปัน พ้ืนท่ีท�ำสวนยางพารา สวนผลไม้ และเป็นแหล่ง “ดอกอ้อ” ซึ่งเป็น วัสดุส�ำคัญ ในการท�ำไม้กวาดของชาวกะทู้ ปัจจุบัน พ้ืนที่บางปันมากกว่าร้อยละ ๕๐ เป็นสนามกอล์ฟ ตึกดินกะทู้ (ในทูถ่อข่อฉู่) เป็นตึกดินในยุคแรกๆ ของการท�ำเหมืองแร่ ในกะทู้ เคยมีอยู่ ๒ – ๓ หลัง แต่ปัจจุบันไม่มีแล้ว ขุมเหมืองในท้องท่ีหมู่ท่ี ๓ - ขุมบ่านหงวน – ขุมสึงก้า - ขุมบ่านหงวน – ขุมเจ้าฟ้า - ขุมโป๊เถ่ว - ขุมเรือบิน ฮู้นเก๊ง (โรงสูบฝิ่น) กะทู้ ที่ท�ำการไปรษณีย์โทรเลขแห่งแรกในกะทู้ อ่ังหม่อหลาว (ตึกรูปแบบตะวันตกปนจีน) ของหลวงอ�ำนาจนรารักษ์ (ตันค๊วด หรือ ยกค๊วด ตัณฑเวทย์) บ้านตึกช้ันเดียวในยุคการท�ำเหมืองแร่เฟื่องฟูในกะทู้ (บ้านนายจู๊ก๋ี เสงี่ยม) ร้านรับซื้อแร่ดีบุกของนายเสวก สมนาม หลาดในทู ในพ้ืนที่หมู่ที่ ๓ - ร้านขนมจีน และต่าวกั่วจี่ โป๋โปอิ่น - ร้านสี้โก่ทึ้ง โป๋หลี่ ร้านบัดกรีโลหะ แปะอาโฉ่ง ร้านตัดผม แปะเก๊าหมี ภาษาที่ใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต สถานท่ีส�ำคัญ เช่น ศาลาพ่อท่านทอง (ใต้ต้นโพธิ์) ท่ีต้ังวัดกะทู้ (เก่า) คลองบางกะทู้ ท่ีท�ำการ ชุมชนบ้านกะทู้ 385

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ บุคคลส�ำคัญท่ีเกี่ยวข้อง พ่อท่านทอง (เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดกะทู้) หลวงอ�ำนาจนรารักษ์ (ตันค๊วด หรือ ยกค๊วด ตัณฑเวทย์) ก�ำนันคนแรก ของต�ำบลกะทู้ นายอู๋ ก่�ำเง่ียม คหบดี เจ้าของเหมืองเบ่งหลอง (เหมืองหาบ) ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายจ่ายช้ิว ทัศนะเทพประเสริฐ อายุ ๗๗ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๓๘ ซอยกะทู้ ๔ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๙ เดือนเมษายน ๒๕๕๘ นายชัยเลิศ ฉายาอภิชาต อายุ ๗๔ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ซอยกะทู้ ๔ ถนน วิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๐ เดือนกันยายน ๒๕๕๘ นางสาวสมสวัสดิ์ ประดิษฐ์ อายุ ๗๘ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๗ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๓ เดือนตุลาคม ๒๕๕๙ 386

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ 387

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๔ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านกะทู้ หมู่ที่ ๔ สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง ฮู้นเก๊ง (โรงสูบฝิ่น) กะทู้ ขุมผักตบชวา อยู่ในซอยกะทู้ ๕ ในอดีตสถานที่น้ีคือเหมืองหาบ ของนายอู๋ ก่�ำเง่ียม ที่ดินบ้านนายฮ้ายซ้าย สถานที่จัดงานกินผักแห่งแรกของกะทู้ ร้านรับซ้ือแร่ แปะงิ้มเส็ง ร้านท�ำขนมโบราณ แปะอ่าหลาง (นายหลิม อ่าหลาง) ร้านท�ำขนมต่าวซ้อ (สูตรตะก่ัวป่า) ของแปะก�่ำ (ปัจจุบันย้ายไปท�ำขนม ที่ตะก่ัวป่า ร้านอยู่ตรงข้ามบริษัท หั่วหลุน จ�ำกัด) ศาลเจ้า (อ๊าม) ปุดจ้อกะทู้ อยู่ใกล้ท่ีส่งเปรตงานเดือนสิบ วัดกะทู้ ปัจจุบัน เป็นส่วนหน่ึงของศาลาบ�ำเพ็ญกุศลศพ “ศาลาสุมนัส” สถานีต�ำรวจกะทู้ แห่งที่ ๒ ท่ีว่าการอ�ำเภอกะทู้หลังแรก หรือ โรงศาลกะทู้ท่ีแรก โรงเรียนแห่งแรกในกะทู้ (ตั้งอยู่ในวัดกะทู้) โรงเรียนบ้านกะทู้ (เก่า) สุขศาลา สถานีอนามัยกะทู้ ในอดีต อาคารสงเคราะห์ (บ้านพักอาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อย) ขุมเหมือง ในพ้ืนท่ีหมู่ที่ ๔ - ขุมเหมืองปินเยาะ โดนถมไปบางส่วน - ขุมเหมืองจุ๊ยหลุน โดนถมเต็มพ้ืนที่แล้ว 388

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ หลาดในทู ในพ้ืนที่หมู่ท่ี ๔ - ร้านลาบตาหวิน (นายถวิล) - ร้านกาแฟ โป๋ป๋อ - ร้านจับโห่ย ซินจ่วนอยู่ - ร้านจับโห่ย จันทร์ไทย - ร้านจับโห่ย ก�ำจรพาณิชย์ - ร้านขายขนมหวาน โป๋ส่วนต๋ี ขนมจีน โป๋ส่วนต๋ี - ร้านขายขนมหวาน โป๋สออ่ี - ร้านขายขนมหวาน แปะปู้น - ร้านจับโห่ย แปะเบ๋ง - ร้านตัดผม แปะจู๊เล้ง - ขนมหวาน โป๋หม่อย - ถั่วต้ม ถ่ัวคั่ว โป๋ชุ่ม (มีบริการในวันท่ีมีหนังกลางแปลง) - หย่ิวหู (ปลาหมึกแห้ง) เกลือเคย เป๊วไข่เป็ด (มีบริการในวันที่มีหนัง กลางแปลง) ของอ๋ี (น้า) บี๊กุ่ย - ตึก ๒ ช้ัน ท่ีเจ้าของบ้านถูกลอตเตอรี่ รางวัลท่ี ๑ คนแรกของจังหวัด ภูเก็ต ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต สถานท่ีส�ำคัญ เช่น ศาลเจ้าไล่ทูเต้าโบ้เก้ง (ศาลเจ้ากะทู้) วัดกะทู้ ศาลเจ้าต่องย่องสู โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล กะทู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ�ำเภอกะทู้ ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ ๕๐ พรรษา (สาขากะทู้) สถานีตรวจสอบและ เฝ้าฟังวิทยุภูเก็ต ธนาคารกรุงเทพ (สาขากะทู้) 389

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ วัดกะทู้ ศาลเจ้าไล่ทูเต้าโบ้เก้ง (ศาลเจ้ากะทู้) 390

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ศาลเจ้าต่องย่องสู โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล กะทู้ 391

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายตัวโพ้ สุทธิกุล อายุ ๙๔ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๕๔ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ที่ ๔ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๒๘ เดือนธันวาคม ๒๕๕๘ นายประเสริฐ ลิ่มทอง อายุ ๘๒ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๑ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑ เดือนตุลาคม ๒๕๕๙ นางสาวสอกุ่ย แซ่หลิม อายุ ๘๐ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๙๑ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๗ เดือนมกราคม ๒๕๖๐ นายโอวาท ขวัญนาค อายุ ๖๗ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๕๙ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๒๕ เดือนมกราคม ๒๕๖๐ 392

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ 393

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านป๊ ักกั้วหลาว สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ปั้ดกั่ว คือ ยันต์แปดทิศ มีสัญลักษณ์ของหยินหยางอยู่ตรงกลาง และ มีเส้นขีดรอบแปดทิศ เส้นขีดรอบเป็นเส้นประ (- - -) หมายถึง หยิน เส้นขีดเต็ม (-) หมายถึง หยาง ปัดกั้วหลาว คือ พ้ืนที่ที่มีลักษณะคล้ายยันต์แปดทิศที่มีคนรวมตัวกันอยู่ กล่าวอีกนัยหน่ึง สถานที่ท่ีคนท่ัวทุกทิศมารวมตัวกัน มีการเรียกชื่อและเขียนผิด ไปจากเดิมจนกลายเป็น ปั๊กกั้วหลาว และใช้ค�ำท่ีผิดน้ีมาจนถึงปัจจุบัน สั่วป๊อง พ้ืนท่ีท่ีท�ำเหมืองแร่ดีบุกแบบเหมืองฉีดในอดีต ปัจจุบันเป็นสนาม กอล์ฟ และตลาดน้�ำภูเก็ต ท่อสูง พ้ืนที่ที่ท�ำเหมืองแร่ดีบุกในอดีต ปัจจุบันพื้นที่บางส่วนของท่อสูง เป็นพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต และโรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองกะทู้ บางเรียน พ้ืนท่ีที่ท�ำเหมืองแร่ดีบุกในอดีต ปัจจุบันพื้นท่ีนี้เป็นสวนยางพารา และสวนผลไม้ มาเก๊าอาแปะ หรือ หล่าวอาแปะ คือ ศาลเล็กๆ ท่ีชาวกะทู้ร่วมกันสร้าง คลุมร่างอาแปะ (ที่เสียชีวิตแล้ว) ไว้เป็นท่ีสักการะบูชา เนื่องจากอาแปะเป็นคนดีมาก วัดร้าง เดิมเป็นแค่ส�ำนักสงฆ์ ใช้พื้นท่ีบางส่วนของวัดร้างเป็นที่เผาศพ (เผาศพกลางลาน) เม่ือวัดกะทู้สร้างเมรุเผาศพ สถานท่ีนี้ถูกปล่อยท้ิงรกร้างอยู่หลาย ปี ปัจจุบันวัดร้างนี้ มีบ้านพักอาศัยของประชาชนเต็มพ้ืนที่หมดแล้ว ภาษาท่ีใช้ ภาษาถิ่นภูเก็ต 394

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ปั๊กก้ัวหลาว สถานที่ส�ำคัญ เช่น พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต โรงเรียนเทศบาล ๑ เมืองกะทู้ ที่ท�ำการชุมชน ปั๊กก้ัวหลาว ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายเพชร ตันติวิท อายุ ๗๑ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ถนนวิชิตสงคราม หมู่ที่ ๕ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑ เดือนตุลาคม ๒๕๕๐ นายทวี เกียรติตันสกุล (ตันฮกถวน) อายุ ๘๐ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ถนน วิชิตสงคราม หมู่ที่ ๒ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๑ เดือนตุลาคม ๒๕๓๗ 395

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 396

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ๖ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านสี่กอ สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่ีกอ ท้องท่ีน้ีเดิมเรียกว่า ลิกอ ต่อมากลายเป็น สิกอ แล้วกลายมาเป็น สี่กอ ในที่สุด ลิกอ ค�ำเดิมท่ีเรียกท้องที่น้ี ไม่มีความหมาย สี่กอ ซ่ึงเป็นค�ำใหม่ ก็ไม่สื่อความหมายอะไรของสถานท่ีนี้ บ้านเหนือ ค�ำเรียกชื่อท้องที่ในบริเวณน้�ำตกกะทู้และใกล้เคียง บางเจี๊ยม คือ ช่ือเรียกพื้นท่ีส่วนหน่ึงของส่ีกอ เขาน้อย คือ ที่สงวนฝังศพของชาวจีน ซึ่งมีปรากฏหลุมศพหรือบ่องอยู่ มีหน่วยราชการหลายแห่งใช้สถานที่น้ีตั้งเป็นโรงเรียน และส�ำนักงาน บริษัท ภูเก็ตติน จ�ำกัด ได้รับประทานบัตรท�ำเหมืองแร่เรือขุด มีที่ต้ังอยู่ฝั่ง ตรงข้ามกับเขาน้อย เป็นจุดเร่ิมต้นของการขนแร่ดีบุกด้วยรถรางในอดีต บ้านยายชีลาภ หรือ โป๋ชีลาภ คุณยายใจดี บวชเป็นชี มีความรู้ความสามารถ ในการรักษาอาการเคล็ด ขัด ยอก เจ็บปวดกล้ามเน้ือตามร่างกายได้ดีมาก ยายชี รักษาอาการและสัมผัสกับจุดที่เจ็บของคนป่วย มีผู้ป่วยหายจากการรักษาโดยวิธีนี้ หลายราย ในอดีตบ้านยายชีมีคนเจ็บมารับการรักษาทุกวัน ปัจจุบัน ยายชีลาภ เสียชีวิตแล้ว บ้านของยายชีกลายเป็นตึกและเป็นแหล่งธุรกิจการค้า ภาษาที่ใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต สถานที่ส�ำคัญ เช่น ท่ีว่าการอ�ำเภอกะทู้ สถานีต�ำรวจภูธรกะทู้ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) โรงเรียนกะทู้วิทยา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอกะทู้ 397

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ น้�ำตกกะทู้ ที่ว่าการอ�ำเภอกะทู้ สหกรณ์การเกษตรกะทู้ จ�ำกัด น�้ำตกกะทู้ ศาลเจ้าหงวนฮกเก้ง ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยาธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารออมสิน ศาลเจ้าฮกแซ่เก้ง ปุนเถ่ากง (ฮกแซ่เก้ง ความหมายคือ ต�ำหนักบนภูเขาท่ีบันดาล โชค) บุคคลส�ำคัญที่เกี่ยวข้อง นายอินทร์ บุญเอิบ - อดีตเกษตรกรดีเด่น เจ้าของสวนผลไม้อันเล่ืองช่ือ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งสวนส้ม มีช่ือเสียงโด่งดังมาก 398

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ศาลเจ้าหงวนฮกเก้ง โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) - อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ี ๖ - อดีตก�ำนันต�ำบลกะทู้ ผู้ร่วมก่อตั้งโรงเรียนกะทู้วิทยา เป็นบุคคล ต้นแบบในการด�ำรงตนตลอดเวลาท่ีมีชีวิตอยู่ ช่ือผู้ให้ข้อมูล นางสอกิ้น โชติช่วง อายุ ๘๓ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 399

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ศาลเจ้าฮกแซ่เก้ง ปุนเถ่ากง นายนิกร ชูชาติ อายุ ๗๐ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๖ ต�ำบล กะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๒ เดือนตุลาคม ๒๕๕๐ นายเสถียร ลิ่มสกุล อายุ ๘๔ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ เดือนตุลาคม ๒๕๕๘ นายเผี้ยว แจ้งจบ อายุ ๘๐ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๓๗ ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๒๐ เดือนมีนาคม ๒๕๓๑ 400

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านทุ่งทอง สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง ทุ่งทอง เป็นหนึ่งในชุมชนเก่าแก่แรกสุดท่ีชาวจีนอพยพเข้ามาท�ำเหมืองแร่ และตั้งถิ่นฐานในภูเก็ต บริเวณนี้เป็นที่ตั้งของเหมืองลี้ทงก้าง หรือบางลี้ทง (ก้าง หมายถึง คลองหรือบาง) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเหมืองของหลวงอนุภาษภูเก็ตการ ในอดีตผู้คนในเขตนี้ท�ำอาชีพเหมืองแร่เป็นหลัก ปัจจุบันพื้นที่เหมืองแร่ดังกล่าว เป็นท่ีตั้งของสนามกอล์ฟภูเก็ตคันทรีคลับ 401


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook