Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

Published by phuket strategy, 2019-12-25 03:20:59

Description: ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ

Keywords: ชื่อบ้านนามเมืองภูเก็จ,ภูเก็ต,จังหวัดภูเก็ต

Search

Read the Text Version

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ลี้ทงก้าง หรือ ลี้ถ่องก้าง คือ ล�ำคลองยาว (ค�ำว่า ก้าง มาจากค�ำว่า ก๊าง ที่ แปลว่า คลอง) ในอดีตทุ่งทองเป็นแหล่งแร่ดีบุกท่ีส�ำคัญ มีการท�ำเหมืองแร่ดีบุก ประเภทต่างๆ ในพ้ืนท่ีน้ี คือ - ถ่อค้าง หรือ เหมืองรู - เบ่งหลอง หรือ เหมืองหาบ - ส่ัวป๊อง หรือ เหมืองฉีด นายตันลิ้มหล้อง (ต้นตระกูล ทรัพย์ทวี) ได้ท�ำเหมืองหาบท่ีพื้นท่ีน้ี และ ล่าสุด นายสิงโต บ�ำรุงสิน ก็ได้ท�ำเหมืองฉีด ชื่อ บริษัทเหมืองแร่ผลทวี จ�ำกัด ใน พ้ืนที่นี้เช่นกัน ทุ่งทองในอดีตมีร้านจับโห่ยเต่ียมร้านใหญ่ของแปะคึ้ง แซ่อ๋อง หรือ อ๋องฮาคึ้ง รับซื้อแร่ดีบุก ยางพารา และของช�ำ รวมถึงรับซ้ือใบอนุญาตขายแร่ดีบุก เน่ืองจากมีการจ�ำกัดการขายแร่ ทางร้านจึงต้องซื้อใบอนุญาตขายแร่จากชาวบ้าน เพื่อให้ขายแร่ได้ในปริมาณเพิ่มข้ึน โรงฝิ่น ต้ังอยู่บริเวณแถวบ้านแปะม้าชุ้นตรงข้ามทางเข้าซอยบางวาด เป็นสถานที่จ�ำหน่ายฝิ่น พบปะสังสรรค์ พักผ่อนหย่อนใจ และเล่าเรื่องสัพเพเหระ ของชาวจีนท่ีเข้ามาท�ำเหมืองแร่ ทั้งน้ีมักมีเด็กๆ เข้ามาฟังนิทาน เรื่องเล่าต่างๆ ท่ี ชาวจีนน�ำมาเล่าสู่กันฟัง โรงฝิ่นเปิดให้บริการทั้งวันตั้งแต่เช้าถึงค่�ำ ด้านอาหาร ชุมชนทุ่งทองในอดีตเป็นต้นต�ำรับอาหารพื้นเมืองภูเก็ตหลาย อย่าง โดยเฉพาะร้านโก่ปี๊เต่ียมแปะจุ้ยเสียง (ตระกูลธิดา) ท่ีถือเป็นต�ำนานร้าน โก่ปี๊เตี่ยมชื่อดังของอ�ำเภอกะทู้ ที่แม้แต่คนในเมืองภูเก็ตยังต้องเดินทางมากิน ถึงทุ่งทอง เพราะทางร้านผลิตกาแฟโบราณท่ีค่ัวเอง อีกทั้งเป็นเจ้าของสูตรขนม ของกินในร้านกาแฟแบบชาวจีนฮกเก้ียน ท้ังซาลาเปา บ๊ะจ่าง ฉ้ายถ่าวโก้ย จู๊จ่ีป๊าว เสี่ยวโบ๋ย ขนมร่องมัน จนโป๋เซ้ียวลูกสาวได้สืบทอดร้านโก่ปี๊เตี่ยมต่อมา ศาลเจ้าเฮียนเทียนซ่งเต่ หรือเดิมเรียกอ๊ามส่งเต้ก๊อง เป็นหนึ่งในศาลเจ้า ที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของอ�ำเภอกะทู้ เป็นท่ีประดิษฐานองค์เทพเฮียนเทียนซ่งเต่ และกิมซิ้นรูปเคารพไม้แกะสลักอายุกว่าร้อยปีที่ชาวทุ่งทองนับถือศรัทธา ในอดีต ศาลเจ้าเดิมอยู่ริมถนนใหญ่ฝั่งเดียวกับศาลเจ้าปัจจุบัน โดยหันหน้าไปทางตลาด 402

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ ศาลเจ้าเฮียนเทียนซ่งเต่ (ศาลเจ้าทุ่งทอง) องค์เทพเจ้าเฮียนเทียนซ่งเต่ กะทู้ ก่อนที่จะย้ายมาต้ัง ณ บริเวณศาลเจ้าในปัจจุบัน ซึ่งถือเป็นหลังท่ีสี่ ในวันท่ี ๓ เดือน ๓ ตามปฏิทินจีน จะมีการจัดงานแซยิดองค์เทพเจ้าเฮียนเทียนซ่งเต่ทุ่งทอง ซ่ึงเป็นงานใหญ่ประจ�ำปีของชาวทุ่งทองท่ีสืบทอดกันมายาวนาน แปะจุ๊ยก๊าว แซ่อ๋อง ผู้เป็นน้องชายแปะค้ึง ท่านถือเป็นปราชญ์ชาวจีน ผู้รอบรู้ท่ีชาวกะทู้และชาวภูเก็ตให้การยอมรับนับถือเป็นหนึ่งในฮวดก๊ัวท่ีส่งต่อ ต้นต�ำรับการประกอบพิธีกรรมในเทศกาลกินผักของอ�ำเภอกะทู้ บางวาด ปัจจุบันเป็นท่ีต้ังของเขื่อนบางวาด ซ่ึงเป็นเขื่อนกักเก็บน้�ำท่ี ใหญ่ที่สุดของภูเก็ต เป็นท่ีตั้งของการประปาส่วนภูมิภาค สาขาภูเก็ต ในอดีตเป็น เหมืองแร่ขนาดใหญ่ของตันล้ิมหล้องเจ้าของตึกอั่งหม่อหลาวที่ยังหลงเหลือ แห่งเดียวในกะทู้ (ในอดีตอั่งหม่อหลาวอีกแห่งของนายหัวเหมืองปั๊กก้ัวหลาว อยู่บริเวณปากทางเข้าน้�ำตกกะทู้) ศาลโต๊ะถ่าหมี เป็นศาลเจ้าเก่าแก่นับร้อยปี เดิมอยู่ในบริเวณตัวเขื่อน บางวาด ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๒ ได้มีการสร้างเข่ือนบางวาดขึ้น ทางกรมชลประทาน จึงจ�ำเป็นต้องท�ำพิธีขอขมาและอัญเชิญศาลโต๊ะถ่าหมีย้ายไปอยู่บนเขาหน้าสันเข่ือน จนถึงปัจจุบัน โต๊ะถ่าหมีเป็นท่ีนับถือของชาวบ้านในต�ำบลกะทู้ตั้งแต่ในอดีต เมื่อ เจ็บไข้ไม่สบายจะมาให้โต๊ะร่างทรงท�ำการรักษา โดยสมัยโบราณยังมีการเข้าทรง ท�ำพิธีประจ�ำปี คือการเรียกเสือออกจากป่าให้เป็นท่ีประจักษ์ในความศักดิ์สิทธ์ิ จนชาวบ้านมีความเล่ือมใสศรัทธา 403

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ เขื่อนบางวาด เจ้าพ่อโต๊ะ ถ่าหมี บางทอง ในอดีตเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ในป่า มีชาวบ้านอาศัยอยู่กันไม่ก่ี ครัวเรือน โดยประกอบอาชีพรับจ้าง ท�ำสวน กรีดยาง เป็นต้น ด้านในเป็นทุ่งหญ้า เลี้ยงสัตว์ ภายหลังมีการท�ำเหมืองสูบขนาดเล็กเป็นระยะส้ันๆ เนื่องจากข้อจ�ำกัด ของสถานที่ มีเนื้อที่น้อย ปัจจุบันบริเวณบางทองกลายเป็นหมู่บ้านจัดสรรและพื้นที่ ท่ีมีผู้คนอาศัยอยู่หนาแน่น ภาษาท่ีใช้ ภาษาถิ่นภูเก็ต สถานท่ีส�ำคัญ เช่น เข่ือนบางวาด การประปาส่วนภูมิภาค สาขาภูเก็ต โรงเรียนบ้านบางทอง ศาลเจ้าเฮียนเทียนซ่งเต่ (ศาลเจ้าทุ่งทอง) บุคคลส�ำคัญท่ีเกี่ยวข้อง นายสิงโต บ�ำรุงสิน (นายแต่หม่อซ้าย) - คหบดีผู้ใจบุญแห่งทุ่งทอง - เป็นผู้อุปการะโรงเรียนบ้านบางทอง - เป็นประธานคณะกรรมการศาลเจ้าทุ่งทอง 404

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกะทู้ - ให้การช่วยเหลือด้านยานพาหนะ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ในการจัดงาน วัด งานศาลเจ้า และงานโรงเรียน - ให้บริการแก่ชาวบ้านในท้องถ่ินด้านยานพาหนะ วัสดุ อุปกรณ์ ใน การจัดงานบวช งานแต่งงาน และงานศพ ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายนิคม บ�ำรุงสิน อายุ ๗๖ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ซอยบางวาด ถนนวิชิต- สงคราม หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายอวน ขวัญแก้ว อายุ ๘๒ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ถนนวิชิตสงคราม หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายชัชชัย รักเหย้า นายประชา เมธาภัทรพันธุ์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๒ เดือนตุลาคม ๒๕๕๘ 405

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 406

อ�ำเภอกะทู้ ต�ำบลกมลา ๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : กมลา หรือก�ำมะรา สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๒ บ้านกมลา ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กมลา นี้เป็นช่ือเดียวกับ กระบาลา หรือ อ่าวลึก ได้เปลี่ยนจาก กระมาลา เป็น กระบาลา กระมารา กลายเป็น ก�ำมะรา ใช้กันมาจนเข้าสู่ท�ำเนียบท้องถ่ิน มหาดไทย พ.ศ.๒๔๘๖ ค�ำว่า ก�ำมะรา ไม่มีความหมาย จึงเปล่ียนเป็น กมลา แปลว่า ดอกบัว เล่ากันว่า มีชายคนหน่ึงช่ือ ตายมดิง (พ่อตายมดึง) มีบ้านอยู่ท่ีกะรน อาชีพท�ำสวน มีสวนกล้วยอยู่ท่ีป่าตอง นอกจากท�ำสวนแล้ว แกเป็นคนคงแก่เรียน จึงมีต�ำรามากมายเก็บไว้ที่แห่งหนึ่ง และมีอาวุธประจ�ำกายคือ หอก มีขนาดใหญ่มาก ต้องลากไปมา จากกะรนมาป่าตองแล้วไปทบทวนต�ำรับต�ำรา ณ ท่ีแห่งน้ี ท�ำเป็น กิจวัตรจนคมหอก ตัดปลายแหลมส่วนหน่ึงออกมาเป็นเกาะเล็กๆ เรียกต่อๆ กันมา ว่า แหลมตายมดิง หมู่บ้านที่เก็บต�ำรา ตายมดิง ส�ำเนียงใต้ท้องถิ่นจะออกเสียงต�ำราว่า ต�ำหรา ต�ำหม่า บ้านต�ำหมา จนมีบริษัทเข้ามาท�ำเหมืองแร่ดีบุก ชื่อว่า บริษัท ก�ำมะราทิน Kamara Tin ออกเสียงใกล้เคียงช่ือเดิม ซ่ึงไม่มีความหมาย ต่อมาฝ่ายปกครอง จดทะเบียนเป็นช่ือ กมลา แปลว่า ดอกบัว ในบ้านกมลา ประกอบด้วยบ้านต่างๆ ดังต่อไปน้ี ๑. บ้านบางหวาน ๒. บ้านเหนือ ๓. บ้านนอกเล 407

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๔. บ้านโคกยาง ๕. บ้านหัวควน ๖. บ้านนาคา ชื่อผู้ให้ข้อมูล นางชอบ ไกรทอง ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านนาคาสุด หมู่ที่ ๖ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายระพิน ยอดต่อ นายอุทัย กาญจนะ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๑๐ เดือนมิถุนายน ๒๕๓๕ ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นางสาวศุภสิมา สังวาลย์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๕ เดือนสิงหาคม ๒๕๖๐ 408

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา ๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านบางหวาน สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง สมัยก่อนไม่มีถนนติดต่อระหว่างบ้านกมลากับป่าตองและบ้านกะทู้ ซ่ึง เป็นที่ต้ังของที่ว่าการอ�ำเภอ ชาวบ้านกมลาใช้วิธีเดินเท้าข้ามทุ่งนาขึ้นเขาไปมาหาสู่ กัน เส้นทางไปป่าตองท่ีใกล้สุดนิยมใช้คือ ผ่านที่ดินเชิงเขามีล�ำธารเล็กๆ ไหลลง สู่ทุ่งนา และหมู่บ้าน เมื่อจะเดินขึ้นเขาไปสวนหรือเดินไปป่าตองก็จะหยุดพักด่ืมน�้ำ ในบริเวณนี้ ซ่ึงมีต้นไม้ชนิดหน่ึงต้นเต้ียๆ เรียกกันว่า ต้นพร้าวนกคุ่ม หรือหมากพู มีลูกขนาดปลายนิ้วก้อย เมื่อสุกจะมีสีขาวอมชมพู หากกินลูกไม้นี้แล้วไปด่ืมน้�ำใน บาง (ล�ำธาร) จะท�ำให้รู้สึกว่าน�้ำมีรสชาติหวาน จึงเรียกที่นี่ว่า บางหวาน ในบ้านบางหวานยังมีบ้าน ชุมชน และมีสถานท่ีย่อยๆ เรียกชื่อตามแหล่ง ที่อยู่ ดังนี้ ทางตอง คือ เส้นทางเดินเท้า – ทางข้ึนสวนไปสู่บ้านป่าตอง บางช้างตาย คือ เส้นทางขึ้นสวน มีล�ำธารเป็นฝายไหลจากเขาสูงชันจน เล่ากันว่า สมัยก่อนมีช้างเดินตกตล่ิงลงมาตาย บ่าเฉ่ง คือ เส้นทางข้ึนจากเชิงเขาสวนโต๊ะ (ตา, ผู้สูงอายุ) หยีบางกอก ท�ำน้�ำท่อไว้ใช้ในสวน และเป็นทางข้ึนเขาสูงชันของชาวสวนท่ีลงมาซ้ือของใช้ใส่ เข่งไม้คานหาบข้ึนเขา บ่าเฉ่ง มาจากค�ำจีนท่ียุส่งให้แรงใจคนแบกว่าให้เดินเร็วๆ หรือเฉ่งขึ้นไปบนควน ห่านหงส์ คือ พื้นที่ราบกลางสันเขา มีที่ราบลุ่มท่ีล�ำรางสองสายไหลมา บรรจบกันลงสู่น�้ำตกบางหวาน เป็นน�้ำตกเล็กๆ โดยในสมัยก่อนเป็นหนองน�้ำ เล่ากันว่า มีนกชนิดหนึ่งลงมาเล่นน�้ำ ลักษณะตัวคล้ายห่าน แต่มีหงอน ปีกขนสีเข้ม สวยกว่าห่าน ชาวบ้านจึงเรียกว่า ห่านหงส์ สันนิษฐานว่าเป็นนกเป็ดน�้ำชนิดหน่ึง 409

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ น�้ำตกบางหวาน บางน้�ำแขก คือ พ้ืนท่ีรอยต่อของบางหวานและบ้านหัวควน เป็นพ้ืนที่ซับน้�ำ ก่อนไหลลงมาเป็นน้�ำตกบางหวานและน้�ำตกเหนือโตน (โต๊ะเขียด) สมัยก่อนเป็น เส้นทางเดินไปสู่บ้านกะทู้ (ในทู) มีการท�ำเหมือง ขุดแร่ดีบุก คนงานเดินขึ้นลงได้ ท้ังด้านกมลา และกะทู้ แหล่งแร่ส่วนใหญ่อยู่ใกล้คลองน�้ำ คนขุดแร่ใช้เครื่องมือ เล็กๆ เช่น พล่ัว จอบ เหล็กแล่ง (ชะแลง) ขุดดินมาร่อน (ร่อนแร่ คือการแกว่งเลียง ในน้�ำให้ดินทราย แยกจากตัวแร่ดีบุก) ด้วย เลียงไม้ (แผ่นไม้รูปกลมลาดลงเป็น หลุมตรงกลาง) มีปุ้งกี๋ช่วยตักดิน ท่ีเรียก บางน้�ำแขก เน่ืองจากลูกจ้างท�ำแร่และคนขุดแร่ท่ีพักค้างคืนใน เพิงพัก (หน�ำ) ใกล้ล�ำน�้ำ (ล�ำราง หรือบาง หรือคลอง) คือ แขกด�ำ หรือกะลา จึงเรียก บริเวณน้ีว่า บางน�้ำแขก หมายถึง บางน�้ำท่ีมีแขกอยู่ สวนป้าเอียง พื้นท่ีสวนที่มีผู้หญิงช่ือเอียง และสามีไปจับจองปลูกไม้ผล เช่น ทุเรียน และอื่นๆ ต่อมาได้ขายให้กับชาวบ้านกมลา แต่เรียกกันว่า สวนป้าเอียง มีทุเรียนโบราณอายุร้อยกว่าปีให้ผลอยู่ ในทอน พื้นที่เชิงเขา มีสันเขาเล็กๆ กั้นระหว่างบ้านบางหวานและบ้าน 410

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา ต้นขนุนปานหรือขนุนป่า ทางตอง (ต้นไม้ “รุกข มรดกของแผ่นดิน ใต้ร่มพระบารมี” พ.ศ.๒๕๖๑) หัวควน เชิงเขามีล�ำธารไหลลงจากหมากราวขนานกับทุ่งนาข้าวสมัยก่อน ตัดออกมา มีล�ำคลองบางหวานไหลจากน้�ำตกบางหวานมาคั่นกลาง บ้านบางหวานและบ้าน ในทอนสมัยก่อนใช้เส้นทางเดินไปตามคันนา มีบ้านเรือนชาวบ้านไม่กี่หลัง ช่ือในทอน สันนิษฐานว่ามาจากพ้ืนท่ีปิดไปแล้วต้องสะท้อนกลับ หรือ วนกลับมาตั้งต้นที่จุดเดิมคือบางหวานและบ้านเหนือ จึงเป็นท่ีมาของชื่อในทอน หมากราว ด้านในสุดของบ้านในทอน รอยต่อของสันเขาที่ลาดลงสู่คลอง บางตีนเป็ด และลาดชันเชื่อมต่อเขาบางน้�ำแขก บริเวณเชิงเขา ชาวบ้านใช้เป็น ทางเดินข้ึนไปท�ำสวน หาของป่าท่ีด้านบนเรียกว่า ส้มควายย่านเชือก สมัยก่อนมี ต้นส้มควายและมีเถาวัลย์พันรุงรังเต็มต้น บริเวณน้ีจะมีต้นหมากข้ึนเรียงเป็น แนวสูงสังเกตได้ชัดกว่าต้นไม้ชนิดอื่น ชาวบ้านจึงเรียกบริเวณน้ีว่า หมากราว (ต้น หมากข้ึนเรียงกันเป็นแนว) สถานท่ีส�ำคัญ เช่น น�้ำตกบางหวาน โรงเรียนอนุบาลกมลา ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านบางหวาน 411

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ต้นขนุนปานหรือขนุนป่า ทางตอง (ต้นไม้ “รุกข มรดกของแผ่นดิน ใต้ร่มพระบารมี” พ.ศ.๒๕๖๑) บุคคลส�ำคัญที่เกี่ยวข้อง โต๊ะหยีบางกอก สมัยก่อนมาปลูกบ้านอยู่น�้ำท่อ บางหวาน (เสียชีวิต ฝังที่กุโบร์กมลา มีหลังคาคลุม) ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายยี่หวา ยายี (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๕๔ หมู่ที่ ๔ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต นางหมุน สะอาด (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายร่อมหลี สังวาลย์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๕ เดือนตุลาคม ๒๕๓๕ ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายเกษม ปะหนัน วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๑๐ เดือนตุลาคม ๒๕๕๐ นายข่ี เป็นสุข (เสียชีวิต) ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐ หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายหรีม อะนะฝร่ัง (เสียชีวิต) ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นางสาวศุภสิมา สังวาลย์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๐ เดือนตุลาคม ๒๕๕๐ 412

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา ๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านเหนือ สถานท่ีตั้ง หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง บ้านเหนือ สมัยก่อนการตั้งบ้านเรือนมักรวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มๆ ประมาณ ๘ - ๑๐ หลังคาเรือน โดยใช้ที่ราบเชิงเขาปลูกบ้าน การติดต่อกับอีกหมู่บ้านใช้การ เดินเท้า ผ่านเนินเขาและที่ราบ การเดินทางจากบ้านบางหวานไปสู่บ้านนอกเลต้อง ผ่านบ้านเรือนเหล่านี้ จึงเรียกว่า บ้านเหนือ เพราะต้ังอยู่ระหว่างบ้านบางหวานและ บ้านกลาง บ้านใต้ บริเวณนี้มีที่ราบมากจึงมีบ้านเรือนอาศัยหลายครัวเรือน เป็นท่ีตั้ง ของมัสยิด บ้านใต้ เรียกจากจุดที่ตั้งจากด้านภูเขาลงสู่ทะเล และทางเดินไปมาหาสู่ กันของชาวบ้านสมัยก่อนอยู่บนควน (เนิน) จึงเรียกเรือนที่อยู่ต�่ำกว่าทางเดินว่า บ้านใต้ ใสส�ำ ป่าใส คือชื่อเรียกพื้นท่ีเคยเป็นป่าดงดิบ ชาวบ้านโค่นไม้ใหญ่ท�ำไร่ แล้วปล่อยที่ว่างไว้ ตรงน้ันจึงมีต้นไม้เล็กๆ ข้ึนทดแทน เช่น ต้นหล่อ ต้นแซะ ต้น เดือย ไม้เบญจพรรณ วัชพืช ชาวบ้านเรียกว่า ใส ป่าใส บางจุดเป็นท่ีราบลุ่มมีน้�ำขัง และมีผักชนิดหน่ึง ใบรี เรียวยาว ขนาดเล็ก กล่ินฉุน เรียกว่า ผักส�ำ ชาวบ้าน สมัยก่อนนิยมน�ำมาใช้ท�ำอาหาร เช่น ห่ันฝอยใส่ย�ำหัวหลาม (หัวปลาฉลาม) ย�ำ หัวเบน (ปลากระเบน) ใส่แกงปลาดุก ปลาเมลัง สถานท่ีส�ำคัญ เช่น มัสยิดกมลา องค์การบริหารส่วนต�ำบลกมลา ศูนย์จริยธรรมบ้านเหนือ ศูนย์ท�ำการฝ่ายปกครองต�ำบลกมลา กศน.ต�ำบลกมลา ศูนย์สวัสดิการครอบครัว ชุมชนกมลา 413

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ มัสยิดกมลา ช่ือผู้ให้ข้อมูล ฮัจญีสะอีด คาหาปะนะ (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๒/๑๒ หมู่ที่ ๒ ต�ำบล กมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายยี่หวา ยายี (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๕๔ หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายเกษม ปะหนัน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๓/๑ หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายร่อมหลี สังวาลย์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๕ เดือนตุลาคม ๒๕๓๕ ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นางสาวศุภสิมา สังวาลย์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๐ เดือนตุลาคม ๒๕๕๐ 414

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา ๔ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านนอกเล สถานที่ตั้ง หมู่ท่ี ๓ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เป็นหมู่บ้านที่ต้ังอยู่บนฝั่งทะเลอ่าวกมลา ติดชายหาด สมัยก่อนเนินป่ารก มีผู้คนมาต้ังบ้านเรือนไม่ก่ีหลังคาเรือน ท�ำอาชีพประมง สมัยน้ันทะเลบริเวณน้ีมีปลาชุกชุม นอกจากนั้นยังมีหอย ปู ชาวบ้านจึงมา ต้ังถ่ินฐานบ้านเรือนมากขึ้น คนท่ีอาศัยอยู่ลึกเข้าไปจึงเรียกชุมชนน้ีว่า บ้านนอกเล ในบ้านนอกเลยังประกอบด้วยชุมชนต่างๆ ตามแหล่งที่อยู่ดังนี้ นานอก สมัยก่อนไม่มีถนนคอนกรีต การสัญจรใช้เดินเท้า ชาวบ้านเข้าไป อาศัยจับจองท่ีดินได้ตามความพอใจเพราะมีพื้นท่ีมากพอ เมื่อผู้คนเข้าไปอยู่รวมกัน หลายๆ ครอบครัวจึงเกิดการตั้งชื่อเรียกให้รู้ว่าใครเป็นใคร อยู่บ้านใด บริเวณน้ีเป็นท่ีราบเหมาะแก่การท�ำนา อยู่ห่างจากชุมชนหลักที่คนอาศัย มาก พอถึงฤดูท�ำนา เจ้าของนาก็ไปปลูกเพิงท่ีพัก จนท�ำนาเสร็จ หมดฤดูเก็บเก่ียว ก็รื้อถอนกลับเข้ามาในชุมชน จึงเรียกบริเวณนี้ว่า นานอก สักง�ำ สุดชายหาดกมลาใกล้บ้านนานอก คือ พื้นท่ีบ้านสักง�ำเล่ากันว่า สมัยก่อนเวลาขุดดินลงไป พ้ืนใต้สุดจะเป็นฐานหินดินดานแข็ง ภาษาชาวบ้าน เรียกชั้นดินแข็งว่า สะงาม ในยุคของการท�ำเหมืองแร่ดีบุก พอขุดหน้าดินลงไปจะเจอฐานดินดาน ชนิดน้ี และมีเรื่องเล่าต่อๆ กันมาถึงลายแทง “สักง�ำมีช�ำสองต้น เหยียบไว้ใต้ส้น เดินไปเดินมา เถ้าแก่เจ้าของท่ีดินท�ำเหมืองแร่ได้ต้ังช่ือว่าเหมืองแร่ สระงาม” และตีความว่า ขุมทรัพย์ที่ว่าคือสายแร่ดีบุกใต้ดินในบริเวณพ้ืนท่ีนั่นเอง จาก สักง�ำ สระงาม และเรียก สักง�ำ จนปัจจุบัน 415

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ บ้านตุ้งกุน ชายหาดกมลา ขวามือสุด สุดเขตชายหาดมีล�ำธารเล็ก หรือทาง น้�ำไหลลงจากภูเขาสู่ทะเลมีร่มไม้ให้แวะพักผ่อน เดินข้ึนควนเลียบหัวแหลมไปสู่ หาดแหลมสิงห์ หาดสุรินทร์ ในมุมนี้จะมีหมู่ก้อนหินคละขนาดอยู่ในน�้ำทะเล ก้อนหินที่ใหญ่สุด เรียกกันว่า หินตุ้งกุน ช่วงเวลาน้�ำทะเลข้ึนเต็มที่ ๑๕ ค�่ำ ระดับน�้ำ ก็ยังไม่ท่วมมิดก้อนหิน ตอนเกิดเหตุการณ์สึนามิ หินตุ้งกุน ยังอยู่จุดเดิม ชาวบ้าน เรียกต่อๆ กันมาว่า บ้านตุ้งกุน ในสโตร์ พื้นที่ส่วนหน่ึงของบ้านนอกเล จากคลองปากบางถึงปากคลอง เป็นพื้นท่ีใกล้ชายหาด สมัยก่อนชาวบ้านใช้ประโยชน์ด้านประมง และเดินทาง ด้วยเรือ จึงมีคนอาศัยและไปมาเป็นจ�ำนวนมาก สมัยก่อนมีร้านค้า บ้านเรือน วิกหนัง ของนายม่าหร่ัน บันเทิง ด้านหน้า ติดถนน ด้านหลังติดป่า จากพื้นที่หลังโรงเรียนไปจดคลองปากบางท่ีมีสะพาน ข้ามฝั่ง พ้ืนที่ใกล้ชายหาดเป็นที่ท�ำการของบริษัทเหมืองแร่ มีโกดังเก็บของ ภาษา อังกฤษ โกดัง คือ สโตร์ ในสโตร์ คือ ค�ำเรียกพื้นท่ีชุมชนที่มีสโตร์ของบริษัทตั้งอยู่ เป็นแหล่งชุมชนสมัยก่อน หาดหอยข้ี คลองปากบาง พ้ืนที่สุดหาดกมลา ฝั่งคลองปากบาง สมัยก่อน มีสะพานข้ามคลองไปสู่ฝั่งเชิงเขา พื้นท่ีติดหัวแหลมตรงส่วนโค้งเล็กๆ เป็นหาด ทราย มีล�ำธารน้�ำไหลลงสู่ทะเล บริเวณน้ีเป็นหนึ่งในจุดพักของเส้นทางเดินเท้าไปบ้านกะหลิม มีร่มไม้ ชายหาด ใต้น้�ำมีปะการัง เป็นแหล่งอาศัยของหอยปูปลา บนชายหาดมีปูลม หอย ชนิดต่างๆ เช่น หอยกัน หอยขี้ หอยกลางวัน อยู่บริเวณก้อนหิน พ้ืนที่นี้ใกล้ชุมชน สะดวกต่อการมาขุดหาหอย จึงเรียกว่า หาดหอยขี้ คลองปากบาง หอยขี้ คือ หอยที่อยู่ในน�้ำใต้ก้อนปะการัง มีสองฝาประกบกัน เน้ือหอยมี สีขาว ล�ำไส้มีเศษดินทรายสีคล�้ำ มองเห็นชัด เวลาน�ำมาปรุงอาหาร ต้องตัดส่วนน้ีทิ้ง ช่ือ หอยขี้ มาจากการสังเกตลักษณะเนื้อหอยที่แยกส่วนเน้ือและล�ำไส้น้ีเอง ภาษาท่ีใช้ ภาษาถิ่นภูเก็ต 416

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา หาดกมลา บ้านนอกเล สถานที่ส�ำคัญ เช่น หาดกมลา โรงเรียนบ้านกมลา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ โรง- พยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล กมลา ส�ำนักสงฆ์เจริญธรรมกมลา สวนเฉลิม พระเกียรติ ๑๐๐ ปี สถานีต�ำรวจภูธรกมลา กุโบร์มุสลิมบ้านกมลา สุสานไทยพุทธ นานอก ชื่อผู้ให้ข้อมูล ฮัจญีสะอีด คาหาปะนะ (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล หมู่ท่ี ๒ บ้านเหนือ ต�ำบล กมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นางไหมส้า เป็นสุข (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล หมู่ท่ี ๔ บ้านโคกยาง ต�ำบล กมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายมนตรี ศรีเด่น (เสียชีวิต) ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล หมู่ท่ี ๔ บ้านโคกยาง ต�ำบล กมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายย่ีหว่า ยายี (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล หมู่ที่ ๔ บ้านโคกยาง ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 417

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ นายร่อเหม ยมมุดี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล หมู่ที่ ๔ บ้านโคกยาง ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายเกษม ปะหนัน ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๓/๑ หมู่ที่ ๑ บ้านบางหวาน ต�ำบล กมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นางวันดี สัตมัน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๕๔ หมู่ท่ี ๔ บ้านโคกยาง ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายร่อมหลี สังวาลย์ วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๑๐ เดือนตุลาคม ๒๕๕๐ 418

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา ๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านโคกยาง สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง ในสมัยก่อนบริเวณนี้เป็นเนินสูง มีต้นยางเป็นจ�ำนวนมาก ในช่วงท่ีเริ่มมี คนมาต้ังถิ่นฐานน้ันมีไม่กี่ครอบครัว บริเวณน้ีเป็นป่ารกมาก เป็นที่อาศัยของ สัตว์ร้าย เช่น เสือ ช้าง ผู้เล่าบอกว่าสมัยที่ท่านยังเด็ก ชาวบ้านยิงเสือตัวใหญ่ตาย ชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงได้มาดูกันเป็นจ�ำนวนมาก เนื่องจากบริเวณนี้มีต้นยาง ข้ึนอยู่มากดังกล่าว ท�ำให้หมู่บ้านท่ีต้ังอยู่บริเวณนี้ชื่อว่า บ้านโคกยาง บริเวณน้ีเป็นชุมทางแยกเข้าสู่บ้านนาคาและบ้านเหนือ สามแยกโคกยาง เคยมีคิวรถสองแถว โรงสีข้าวของตระกูลยายี และร้านโก่ปี๊โต๊ะหนู ท่ียังคงมีมา จนปัจจุบัน ภาษาท่ีใช้ ภาษาถ่ินภูเก็ต ชื่อผู้ให้ข้อมูล นางไหมส้า เป็นสุข (เสียชีวิต) ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านโคกยาง หมู่ที่ ๔ ต�ำบล กมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นางโสมนภา บันเทิง วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๐ เดือนตุลาคม ๒๕๕๐ 419

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๖ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านหัวควน สถานที่ต้ัง หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เดิมเรียกว่า บ้านท่องช้าง (ทุ่งช้าง) เช่ือว่าคงมีการเล้ียงช้างมาก มีคนอาศัย พอสมควร ประมาณ พ.ศ.๒๓๕๒ ปีท่ีเมืองถลางมีศึกพม่า ผู้คนได้อพยพไปอาศัย อยู่ท่ีอ่ืน เนื่องจากพม่าใช้ที่นี่เป็นค่าย หลังจากน้ันก็กลายมาเป็นหมู่บ้านร้าง ต่อมาประมาณปี พ.ศ.๒๔๘๗ (สงครามโลกครั้งท่ี ๒) จึงกลับมาอาศัย และมีนักธุรกิจเข้ามาเช่าท่ีท�ำเหมืองแร่ดีบุก โดยสภาพพื้นท่ีตั้งอยู่ระหว่างเนินเขาเต้ีย (ควน) จึงเรียกหมู่บ้านนี้ว่า บ้านหัวควน ในบ้านหัวควนยังประกอบด้วยสถานท่ี ชุมชนย่อยต่างๆ ดังน้ี บ้านในโบสถ์ เล่ากันว่าสมัยเมืองถลาง ชุมชนหัวควนมีชาวบ้านมาอาศัย อยู่จ�ำนวนมาก เนื่องจากบริเวณนี้อยู่ใกล้กับบ้านในทู แต่คนละฝั่งภูเขา ผู้อาศัย ในชุมชนในทูเป็นชาวจีน ท�ำเหมืองแร่ บริเวณนี้จึงมีชาวจีนและไทยเดินทางข้าม เขาไปมาจนเกิดเป็นชุมชน จึงมีจุดรวมใจศาสนาพุทธ เป็นที่พักสงฆ์ท่ีมีโบสถ์เป็น เอกลักษณ์ มีแนวก�ำแพงท�ำด้วยอิฐโบราณ และว่ากันว่ามีลูกนิมิตเป็นเหล็กรูป กลมขนาดใหญ่ในบริเวณดังกล่าว หลายสิบปีท่ีผ่านมา ผู้อาวุโสได้บอกเล่าเรื่องราว ของพม่า การอพยพ ซากก�ำแพง ลูกนิมิต บางส่วนยังปรากฏร่องรอย ชื่อ ในโบสถ์ มาจากพื้นที่ด้านใน นับจากโซนท�ำเหมือง คือชุมชนท่ีมีโบสถ์อยู่ด้านในน่ันเอง เขาค้อ ช่ือเขาค้อมาจากชาวบ้านสังเกตว่าบริเวณนี้มีต้นค้อข้ึนเกาะกลุ่ม อยู่มาก ชาวบ้านใช้ใบค้อมาถักมุงหลังคา หรือตัดท้ังก้านมาถือแทนร่มกันฝน เวลา เดินลงจากสวนในหน้าฝน ทางทู สมัยก่อนไม่มีถนนระหว่างกมลากับกะทู้ ชาวบ้านกมลา ใช้เส้นทาง เดินตัดภูเขาจากบ้านในโบสถ์ไปตลาดทุ่งทองในทู (กะทู้) และอีกทางคือ ข้ึนจาก 420

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา บางหวานผ่านบางน้�ำแขก บนเขาจะมีร้านโก่ปี๊ของคนจีน เป็นชุมชนท่ีพักชุมนุม กัน ก่อนแยกย้ายลงไปในทู ทางทูที่เด่นชัดและรับรู้ในวงกว้าง คือ ทางทูท่ีข้ึนมาในโบสถ์ บ้านหัวควน ซึ่งเป็นพ้ืนที่ท�ำเหมืองแร่หลักของกมลาสมัยน้ัน จึงเรียกเส้นทางน้ีว่า ทางทู เขาเก็ตหนี เทือกเขาท่ีล้อมรอบต�ำบลกมลา ด้านติดบ้านกะทู้ บ้านม่าหนิก บ้านเชิงทะเล ภูเขาที่มีท่ีราบอยู่กลางสันเขา เรียกกันว่า เขาเก็ตหนี สภาพป่าดงดิบ มีไม้ยืนต้นเก่าแก่ พ้ืนท่ีพันกว่าไร่ เป็นเขตป่าชุมชน ล้อมรอบด้วยพ้ืนท่ีจับจอง ใช้ประโยชน์แบบมีและไม่มีเอกสารสิทธิ์ ที่ราบด้านบนเขาเคยเป็นท่ีท�ำเหมืองแร่ มาก่อนจึงมีขุมน้�ำหลายขุม แหล่งน�้ำซับลงสู่เขื่อนบางเหนียวด�ำ บางส่วนลงสู่บ้าน หัวควน กมลา เส้นทางเดินขึ้นสู่ยอดเขาทางด้านบ้านนานอก สักง�ำ และบ้านหัวควน ผ่านทางทูและเขาค้อ บนเขามีไม้เบญจพรรณ เฟิร์น และกล้วยไม้ป่า สมัยก่อนเล่ากันว่า มีชาวบ้านขึ้นไปล่าสัตว์ จับได้สัตว์ชนิดหน่ึง ลักษณะ ตัวกลม จมูกยาว หางเรียวค่อนข้างยาว มีเกล็ดแข็งรอบตัว เมื่อมีภัยหรือถูกจับตัว ไว้ มันจะม้วนตัวเป็นรูปกลมหยุดนิ่ง พอสักระยะจะค่อยๆ คลายตัวออกแล้วหนีไป จากจุดเดิม จึงเรียกป่าบริเวณน้ีว่า เขาเก็ตหนี (เกล็ดหนี) สัตว์ชนิดนี้คือ ตัวลิ่น หรือ ตัวน่ิม (pangolin) อยู่ในตระกูลชะมด (สกุล manis) พรุตอก และ บางหินก้ัน พื้นท่ีบนภูเขาบ้านหัวควน มีทางข้ึนจากน�้ำตก เหนือโตน และทางบ้านในโบสถ์ สภาพพื้นที่ลุ่ม ป่าดิบชื้น มีน้�ำขัง สมัยก่อน มี ไม้ใหญ่ล้มลง เป็นขอนไม้ในท่ีลุ่มน�้ำขัง มีดงไม้ล้อมรอบ จึงมีเห็ดตอก และเช้ือรา รวมท้ังเห็ดอื่นๆ ข้ึนรอบขอนไม้ และไม้อ่ืนทับถม และมีตัวทากภูเขามาก ด้วย ความช้ืนแฉะ ต้องระวังเวลาเข้าไปในบริเวณน้ี ท่ีมาของช่ือพรุ คือลุ่มที่มีน้�ำชุ่ม มีเห็ด ตอกข้ึนอยู่บนขอนไม้ จึงเรียก พรุตอก หรือโพละเตาะ (ส�ำเนียงท้องถ่ินกมลา) ในบริเวณใกล้กัน มีบางหินก้ัน คือ มีกลุ่มกองหินวางขวางล�ำบางกักน�้ำไว้ เป็นวังน้�ำเพื่อใช้ประโยชน์ เรียกกันว่า บางหินกั้น น้�ำตกเหนือโตน บนเขาเล็กๆ ท่ีกั้นกลางระหว่างบ้านในทอนกับบ้านหัวควน เชื่อมต่อเขาบางน�้ำแขก มีล�ำรางที่ไหลลงมาสู่ที่ราบในหมู่บ้าน (บ้านหัวควน) เป็น น้�ำตกเล็กๆ เรียกกันว่า น�้ำตกเหนือโตน (หัวควน) ลงสู่พ้ืนที่ส่วนรวม เป็นฝาย 421

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ มัสยิดผดุงศาสน์ เก็บน้�ำบ้านหัวควน แล้วไหลลงมาบรรจบกับคลองหัวควนที่ถนนในโบสถ์ ปลายทาง คลองหัวควนคือคลองที่สวนเฉลิมพระเกียรติ ๑๐๐ ปี (สวนสาธารณะนอกเล) พื้นที่ โดยรอบน�้ำตกเหนือโตน เป็นสวนเกษตรของบ้านหัวควน โตน คือ ค�ำเรียก หน้าผา หินสูงท่ีทางน้�ำไหลลงสู่วังน�้ำตก เหนือ คือ ด้านสูงกว่าด้านถัดไป สถานท่ีส�ำคัญ เช่น โรงเรียนบ้านหัวควน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ สนามฟุตบอล - ลาน กีฬาชุมชน ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ฝายเก็บน้�ำบ้านเหนือโตน น�้ำตกเหนือโตน น้�ำตก โต๊ะเขียด มัสยิดผดุงศาสน์ ศูนย์จริยธรรมอิสลามบ้านหัวควน ขุมน้�ำหัวควน ชื่อผู้ให้ข้อมูล ฮัจญีหนาบ สังวาลย์ เนาว์เย่ียม (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านหัวควน หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นางหนุ่ยใหญ่ สาริยา (เสียชีวิต) ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านหัวควน หมู่ท่ี ๕ ต�ำบล กมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 422

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา นางนะ สัตมัน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านหัวควน หมู่ที่ ๕ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต นางโสม เสมอเพ่ือน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านหัวควน หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นางมลฤดี หินนะ ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านหัวควน หมู่ที่ ๕ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต ช่ือผู้จัดเก็บข้อมูล นายร่อมหลี สังวาลย์ นายสมุทร เสมอเพื่อน นางสาวศุภสิมา สังวาลย์ วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑๐ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ 423

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๗ ชื่อบ้าน - นามเมือง : บ้านนาคา สถานท่ีต้ัง หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง สมัยก่อนการติดต่อระหว่างชุมชนแต่ละแห่งของชาวกมลาใช้การเดินเท้า ไปตามเส้นทางข้างเชิงเขา ผ่านท่ีราบ หรือเนินเขาเตี้ยๆ บางแห่งผ่านล�ำคลอง บ้านนาคา ท่ีชาวบ้านเรียกเช่นน้ีเนื่องจากพื้นท่ีราบแห่งน้ีมีหญ้าคาเป็นส่วนมาก ชาวบ้านได้หักร้างถางพงเอาเป็นที่ท�ำนา แต่ก็มักท�ำนาได้แต่เพียงเล็กน้อย เพราะ หญ้าคาขึ้นหนาแน่นมาก ท�ำจนหมดฤดูฝนก็ยังไม่เสร็จ จนต้องเหลือคา (ค้างคา) ไว้ ทุกปี จึงเรียกบ้านนี้ว่า บ้านนาคา อีกท่ีมาหน่ึงคือ หมู่บ้านนาคาสมัยก่อนเป็นท่ีราบ ริมเนินเขามีหญ้าคาขึ้น เป็นจ�ำนวนมาก เม่ือคนเข้าไปตั้งถิ่นฐานใหม่ๆ ก็ได้ปรับพื้นท่ีเพ่ือใช้ประโยชน์ในทาง กสิกรรม และอ่ืนๆ ตามความจ�ำเป็น ลักษณะที่เห็นหญ้าคาขึ้นงอกงามเหมือนทุ่งนา ข้าวน่ันเอง ท�ำให้ชาวบ้านเรียกทุ่งหญ้าน้ีว่า นาคา ในหมู่บ้านนาคา ยังประกอบไปด้วยชุมชนย่อย และสถานท่ีอื่นๆ ดังน้ี นาคาสุด เริ่มต้นเดินเท้าจากบ้านโคกยางไปตามเส้นทางแคบๆ ถึงบ้าน นาคา และพ้ืนที่ริมทุ่งนาก่อนจะขึ้นเนินเขาไปยังกลุ่มบ้านนาคาเล คือกลุ่มบ้านเรือน ท่ีตั้งอยู่พื้นที่ริมเชิงภูเขาใหญ่ห่างออกมาจากชุมชนบ้านนาคาจนสุดเขาหมู่บ้าน จึง เรียกกลุ่มบ้านนี้ว่า นาคาสุด ค�ำว่า สุด มาจาก ริมสุด ไกลสุด ท้ายสุด ชาวนาคาสุด ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ชุมชนจึงมีกิจกรรม การประกอบพิธีกรรมต่างๆ ของ พ่ีน้องไทยพุทธ บ้านน้�ำท่อ พ้ืนท่ีเชิงเขาด้านในของบ้านนาคา มีทางน�้ำจากเขาลงสู่คลอง นาคา เป็นพ้ืนที่สวนไม้ผล สวนยางพารา ไม้เก่าแก่ด้ังเดิม ชาวบ้านปลูกเรือนริม เชิงเขาใกล้ๆ ทุ่งนา 424

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา น�้ำท่อ คือ วิธีการใช้น�้ำของชาวบ้านที่ไหลลงมาในวังเล็กๆ ให้สะดวก ด้วย การใช้ไม้ไผ่ผ่าซีก ตัดข้อกลางปล้อง ให้เป็นท่อน�้ำ ไหลลงสู่ภาชนะรองรับ นาคาเล พื้นที่เดิมบริเวณนี้เป็นทางผ่านอีกทางหน่ึงของชาวบ้านในการ ติดต่อกับชาวป่าตอง โดยไปออกท่ีบ้านกะหลิม เดินเลียบหัวแหลมฝั่งทะเล บางแห่ง เป็นแอ่งทราย โขดหิน สมัยน้ันบริเวณน้ันมีปลา ปู หอย สัตว์ทะเลมาก ชาวบ้านได้ ไปหักร้างถางป่า ท�ำเป็นท่ีนาปลูกข้าว ท�ำสวนบนเนินเขา ท�ำไร่เลื่อนลอยพอถึงฤดู ชาวบ้านก็ไปปลูกหน�ำ (กระต๊อบ) อยู่เพื่อท�ำนา ท�ำไร่ หาอาหารทะเล จนหมดฤดู เก็บเก่ียว ก็หาบข้าวเปลือกกลับบ้าน ค�ำว่า นาคาเล น่าจะมาจาก นาคา ซึ่งเป็นพื้นที่ เดิมของผู้มาท�ำไร่ท่ีนี่ เล มาจากพื้นท่ีอยู่ริมทะเล จึงเรียก นาคาเล หาดหินต้ัง วงโค้งเล็กๆ ถัดจากหาดนาคาเล เป็นส่วนหน่ึงในเส้นทางเดิน เท้าสู่กะหลิม มีล�ำธารไหลลงจากเขาปลักกวางสู่ทะเล สมัยก่อนเป็นจุดพัก ท่ีตกปลา ก่อไฟท�ำอาหารของผู้เดินทาง บริเวณนี้มีก้อนหินกลม เหล่ียม โค้งมน ได้สัดส่วน คละขนาด วางอยู่ตามธรรมชาติ แต่มีต�ำแหน่งเหมาะสม สวยงาม โดยเฉพาะหิน ทรงสูงใหญ่ที่โดดเด่น ริมทางลงของน้�ำ เป็นมุมโปรดส�ำหรับหลบฝน ก่อไฟของ ชาวบ้านสมัยก่อน ชื่อ หินตั้ง มาจากมีลักษณะการวางตัวของหินก้อนโตโดดเด่นเป็น สัญลักษณ์ พื้นที่นี้เป็นเขตต่อแดนระหว่างต�ำบลกมลา และต�ำบลป่าตอง หาดท้ายเภา ก่อนถึงหาดนาคาเล มีแหลมยมดิง ปลายแหลมมีเกาะเล็กๆ มองเห็นเด่นจากหาดกะหลิมคือ อ่าวเล็กๆ ด้านขวามือ หัวแหลมเป็นกลุ่มหินรูปโค้ง เหมาะสมต่อการหลบลมของเรือ และการตกปลาของชาวบ้าน หาดท้ายเภา มีขนาดใหญ่กว่าหาดลายิ และหาดฮั่ว (งั่ว) ใต้พื้นน�้ำมีปะการัง และทราย อยู่ในเส้นทางเดินเท้าไปหาดกะหลิมสมัยก่อน ช่ือ หาดท้ายเภา มาจาก สมัยก่อนบริเวณอ่าวน้ีเป็นท่ีหลบพายุและพักเรือส�ำเภา เรือขนสินค้าขนาดใหญ่ กว่าเรือของชาวบ้าน ท้ายเภา มาจากค�ำเรียกด้านท้ายของเรือส�ำเภา เขาใหญ่ ภูเขาใหญ่เป็นภูเขาท่ีสูงเด่น มองเห็นชัดจากแหลมสิงห์ หาด กมลา สภาพพื้นที่เป็นป่าเก่าแก่ด้ังเดิม มีสวนสมรม (เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในอดีต ของภาคใต้ คือปลูกไม้ผล ยางพารา พืชผัก ฯลฯ ผสมผสานกัน) ด้านที่ลาดลงสู่ ทะเลอันดามันมีชายหาดโขดหิน (หัวแหลม) เร่ิมต้นจากคลองปากบาง เรื่อยไป 425

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ หาดลายิ จนถึงหาดหอยข้ี หาดลายิ - โพธิ์ม้า หาดฮ่ัว (ง่ัว) แหลมสน รังหยิ่ว หาดท้ายเภา หาดแหยะ แหลมยมดิง หาดนาคาเล ชาวกมลาดั้งเดิม มีอัตลักษณ์เฉพาะบุคคลด้านส�ำเนียงการพูดที่เนิบช้า ลากหางเสียง ใจดี ประกอบกับมี เขาใหญ่ เป็นจุดเด่น จึงมีค�ำกลอนกล่าวล้อว่า “ชาวก�ำมะราใจดี ยอมให้เขา มาท�ำใหญ่ มาท�ำกร่าง น�ำหน้า ช้ีน�ำ ปล่อยให้เขาใหญ่ เขาใหญ่” หาดลายิ - โพธ์ิม้า กลุ่มบ้านลายิ สมัยสงครามโลกคร้ังที่ ๒ เล่ากันว่า บริเวณนี้เป็นที่เก็บสมบัติของคนมั่งมีที่จ้างแขกฮินดู (ชาวบ้านเรียก กะลา) ให้ เฝ้าสมบัติ เมื่อชาวบ้านเดินไปเที่ยวในบริเวณดังกล่าวมักจะถูกกะลายิก (ขับไล่) ชาวบ้านว่า ลายิก กลายเป็น ลายิ จนปัจจุบัน ยั ง มี เ ร่ื อ ง เ ล ่ า เ ก่ี ย ว กั บ ล า ย แ ท ง ขุ ม ส ม บั ติ ที่ ช า ว บ ้ า น เ ล ่ า ต ่ อ กั น ม า ว ่ า “บางปิดยิกไล่ โพธิ์ม้า ซ่อนไว้ อยู่ใต้หินใหญ่” มีต�ำนานม้าทองค�ำ ว่ากันว่าไม่มี ใครแก้ลายแทงนี้ได้ 426

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลกมลา หาดนาคาเล บ้านนาคา อีกเรื่องเล่าหนึ่งว่า สมัยก่อนมีเรือส�ำเภาบรรทุกสินค้าแวะจอดอ่าวน้ี บริเวณอ่าวมีก้อนหินใหญ่ซ่ึงปกคลุมด้วยกลุ่มต้นโพธิ์เป็นลักษณะเด่น ใต้ก้อนหิน คือขุมสมบัติ เมื่อเรือจอดแวะพัก ก็จะน�ำม้าโพน่ี (ม้าตัวเล็ก) ลงมากินหญ้า โดย ล่ามไว้ใต้กลุ่มต้นโพธ์ินี้ จึงเรียกบริเวณนี้ว่า โพธ์ิม้า แหลมสน – หินตู แหลมสน มาจากบริเวณน้ีมีกลุ่มต้นสนข้ึนอยู่มากกว่า ไม้ชนิดอื่น ปลายแหลมมีต้นสน พ้ืนท่ีอ่าวกมลา ประกอบด้วย ชายหาดกมลา ยาวกว่า ๒ กิโลเมตร หาด หอยข้ี หาดลายิ หาดฮั่ว (ง่ัว) ที่อยู่ติดปลายแหลมสน และบริเวณหน้าหาดฮั่ว มีกลุ่ม ก้อนหินขนาดใหญ่โผล่พ้นระดับน�้ำทะเลมองเห็นชัดจากระยะไกล เรียกว่า หินตู (หินประตู) เป็นลักษณะกลุ่มหินที่เว้นช่องว่างระหว่างปลายแหลม และกลุ่มหิน ชาวบ้านใช้เป็นทางเรือเข้าสู่ชายหาดเพ่ือหลบพายุ หินตู เป็นสัญลักษณ์การเข้าสู่ เขตอ่าวกมลาของชาวเรือ 427

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ สถานท่ีส�ำคัญ เช่น มัสยิดนูรุ้ลเอี้ยะซาน (บ้านนาคา) ศูนย์จริยธรรมอิสลาม จุดชมวิวพักผ่อน หาดลายิ - โพธิ์ม้า ชื่อผู้ให้ข้อมูล ฮัจญีสะอีด คาหาปะนะ อายุ ๘๘ ปี (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านเหนือ หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นางอ�ำนวยศรี ดุมลักษณ์ (ครูโรงเรียนบ้านกมลา) นายย่ีหว่า ยายี (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านโคกยาง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายโส้ ชูชิต (เสียชีวิต) ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านโคกยาง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายร่อเหม ยมมุดี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านโคกยาง หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายเกษม ปะหนัน ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๓/๑ หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายสะอาด ล่าตะหลา ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านนาคา หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายเสนาะ พลอยขาว ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านนาคา หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอ กะทู้ จังหวัดภูเก็ต นางวไลภรณ์ สันติอภิรักษ์ ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล บ้านนาคา หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลกมลา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ชื่อผู้จัดเก็บข้อมูล นายเกษม ปะหนัน วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๑๐ เดือนสิงหาคม ๒๕๓๕ 428

429

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ 430

อ�ำเภอกะทู้ ต�ำบลป่าตอง ๑ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ชุมชนชายวัด สถานท่ีต้ัง ทิศเหนือ จด ชุมชนบ้านโคกมะขาม และต�ำบลกะทู้ ทิศใต้ จด ชุมชนบ้านมอญ และชุมชนบ้านไสน้�ำเย็น ทิศตะวันออก จด ต�ำบลกะทู้ ทิศตะวันตก จด ชุมชนบ้านโคกมะขาม ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง นายยุโส้ อิสลาม อายุ ๖๕ ปี อดีตรองประธานสภาเทศบาลต�ำบลป่าตอง เล่าว่า เมื่อราวกว่า ๕๐ ปีก่อนชุมชนชายวัดเดิมเรียกว่า บ้านในไร่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของหมู่ท่ี ๑ มีพื้นท่ีระหว่างหน้าวัดสุวรรณคีรีวงก์ (วัดป่าตอง) ยาวไปตามถนน พระบารมี จนจรดบริเวณท่ีต้ังของสถานีบริการน้�ำมัน ข้างโรงเรียนวัดสุวรรณ- คีรีวงก์ในปัจจุบัน นายยุโส้เล่าต่อว่า ณ ขณะนั้นบ้านในไร่มีจ�ำนวนครัวเรือนท่ีนับได้ประมาณ ๔๒ - ๔๕ ครัวเรือน บุคคลส�ำคัญในอดีต พระครูพิสิฎฐกรณีย์ (พ่อท่านเข้ียว) (๒๔๓๗ – ๒๕๒๘) อดีตเจ้าอาวาส วัดสุวรรณคีรีวงก์ หมื่นปะตองตันติรักษ์ (แดง สมศักด์ิ) นายวิชาญ สวัสดิรักษ์ (๒๔๗๕ – ปัจจุบัน) อดีตก�ำนันต�ำบลป่าตอง เจ้าของ โรงสีข้าว และเจ้าของโรงมหรสพประจ�ำต�ำบลป่าตอง (เปิดวิกแสดงลิเก โนรา และ ฉายภาพยนตร์) 431

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ นายร่ืน เรือนเพชร อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๑ นายมณี ไกรทอง อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ี ๑ และอดีตประธานกรรมการ สุขาภิบาลป่าตอง นายภิรมย์ สงวนวงศ์ อดีตก�ำนันต�ำบลป่าตอง และอดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๑ นายทวิช สุทธิปาโล อดีตครูใหญ่โรงเรียนวัดสุวรรณคีรีวงก์ นายจ�ำเนียร จ�ำนงรักษ์ อดีตครูใหญ่โรงเรียนวัดสุวรรณคีรีวงก์ นายทนง ขวัญยืน อดีตประธานกรรมการสุขาภิบาลป่าตอง นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ (๒๕๐๖ – ปัจจุบัน) อดีตสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร ๔ สมัย ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองป่าตอง นายสุรศักด์ิ มณีศรี อดีตนายกเทศมนตรีเมืองป่าตอง นายเฉลิมศักด์ิ มณีศรี อดีตนายกเทศมนตรีเมืองป่าตอง นายสมโภชน์ ทองหอม อดีตประธานกรรมการชุมชนชายวัด แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง หน้า ๑๘ ระบุ หลังจากป่าตองได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองป่าตองเม่ือ พ.ศ.๒๕๔๕ เทศบาลได้แบ่งพ้ืนที่บริการออกเป็น ๗ ชุมชน และปรับเปลี่ยนหมู่บ้านชายวัดเป็น ชุมชนชายวัด โดยงานทะเบียนราษฎร์ เม่ือวันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ระบุ ชุมชน ชายวัดมี ๓๓๙ ครัวเรือน จ�ำนวนประชากร ๒,๓๖๑ คน ปัจจุบันมี นายสิทธิชัย ชอบดี เป็นประธานกรรมการชุมชน สถานท่ีส�ำคัญ เช่น วัดสุวรรณคีรีวงก์ ถนนพระบารมี วิหารพระครูพิสิฎฐกรณีย์ วัดสุวรรณคีรีวงก์ บันไดพญานาคมรกต วัดสุวรรณคีรีวงก์ โรงเรียนวัดสุวรรณคีรีวงก์ ถนนพระบารมี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองป่าตอง ๒ ถนนพระบารมี 432

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง สถานีบริการน�้ำมัน ถนนพระบารมี โรงผลิตเส้นขนมจีน ซอยพระบารมี ๑ วัดสุวรรณคีรีวงก์ ถนนพระบารมี 433

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ บันไดพญานาคมรกต วัดสุวรรณคีรีวงก์ 434

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง วิหารพระครูพิสิฎฐกรณีย์ วัดสุวรรณคีรีวงก์ รอยบาทบนหิน ลงลายมือชื่อ เขี้ยว ๒๕๐๔ วัดสุวรรณคีรีวงก์ 435

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ชื่อผู้ให้ข้อมูล นายยุโส้ อิสลาม อายุ ๖๔ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๖ ถนนพระบารมี ต�ำบล ป่าตอง อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง รายงานกิจการเทศบาลเมืองป่าตอง ๒๐๑๖ แผนชุมชน เทศบาลเมืองป่าตอง ๒๕๕๙ ช่ือผู้เก็บข้อมูล นายสาคร เช้ือญวน วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันท่ี ๒๔ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 436

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง ๒ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ชุมชนบ้านมอญ สถานที่ต้ัง ทิศเหนือ จด ชุมชนชายวัด ทิศใต้ จด ชุมชนบ้านไสน้�ำเย็น ทิศตะวันออก จด ต�ำบลฉลอง อ�ำเภอเมืองภูเก็ต ทิศตะวันตก จด ชุมชนบ้านไสน�้ำเย็น ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง นางมงคล เช้ือญวน (กิจด�ำเนิน) อายุ ๘๙ ปี เล่าว่า ชุมชนบ้านมอญเดิม คือ หมู่ท่ี ๒ บ้านมอญ เหตุท่ีเรียกว่าบ้านมอญ เน่ืองจากเมื่อหลายสิบปีก่อน บริเวณ หมู่บ้านแห่งน้ีเคยมีต้นขัดมอนข้ึนชุกชุมมากกว่าหมู่บ้านอื่นในต�ำบลป่าตอง ต้นขัดมอนมีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ล�ำต้นและก้านเล็กเหนียว ใบเรียวเป็นฝอย ชาวบ้านนิยมตัดกิ่งและต้นมาตากแห้งแล้วมัดรวมกันใช้ท�ำเป็นไม้กวาด นายประเสริฐ ประทีป ณ ถลาง อายุ ๘๖ ปี ได้ยืนยันเช่นกันว่า บ้านมอญ เป็นแหล่งท่ีชุกชุมไปด้วยต้นขัดมอน ซึ่งบางคนเรียก หญ้าเก็ดมอน หรือหญ้า เข็ดมอน ก็มี นายยุโส้ อิสลาม อายุ ๖๕ ปี เล่าว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่จะเรียกไม้พุ่มชนิดนี้ ว่า ต้นเก็ดมอน หลังภูเก็ตถูกพัฒนาด้านอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ต้นขัดมอนหรือ เก็ดมอนที่ชุมชนบ้านมอญ เมืองป่าตอง ก็สูญหายไป ไม่พบเห็นอีกเลย นายประเสริฐ ประทีป ณ ถลาง เล่าว่า บ้านมอญ เป็นหมู่บ้านหมู่ท่ี ๒ ของ ต�ำบลป่าตอง ในปัจจุบันครอบคลุมอาณาเขตต้ังแต่ทิศใต้ของวัดสุวรรณคีรีวงก์ ทอดยาวไปตามสองข้างของถนนพิศิษฐ์กรณีย์ จนจรดคลองบางพรุเรียน ชุมชน บ้านไสน้�ำเย็น เกิดจากการรวมหมู่บ้านเดิม ๒ แห่งเข้าด้วยกัน ดังน้ี 437

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ บ้านใหญ่ในบ้าน อาณาเขตต้ังแต่ข้างวัดสุวรรณคีรีวงก์ทอดยาวไปตาม สองข้างของถนนพิศิษฐ์กรณีย์ จนจรดน้�ำตกวังขี้อ้อน (ติดกับโรงสีข้าวของนายรุ่ง พุทธรักษา มีจ�ำนวนครัวเรือน ๒๔ หลัง มี นายชอบ สวัสดิรักษ์ เป็นผู้ใหญ่บ้าน บ้านมอญ อาณาเขตตั้งแต่โรงสีข้าวของนายรุ่ง พุทธรักษา ทอดยาวไป ตามสองข้างของถนนพิศิษฐ์กรณีย์ จนจรดคลองบางพรุเรียน มีจ�ำนวนครัวเรือน ๑๗ หลัง มี นายด�ำ ขาวรักษา เป็นผู้ใหญ่บ้าน บุคคลส�ำคัญในอดีต นายชอบ สวัสดิรักษ์ อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ี ๒ ร.ต.ต.ทวี โสฬส (๒๔๗๗ – ปัจจุบัน) เล่าถึงคุณูปการด้านการพัฒนา ของนายชอบ สวัสดิรักษ์ ว่า ประมาณปี พ.ศ.๒๕๐๒ นายชอบ สวัสดิรักษ์ ขณะ ด�ำรงต�ำแหน่งก�ำนันต�ำบลป่าตอง ได้ริเร่ิมตัดถนนไสน้�ำเย็น (เดิมเร่ิมจากสามแยก ไสน้�ำเย็นจนจรดสวนสาธารณะโลมา ปัจจุบันถูกตัดแยกจากถนนไสน�้ำเย็นออกเป็น ถนนสวัสดิรักษ์ ท่ีเริ่มจากสี่แยกโรงเรียนเทศบาลเมืองป่าตอง (บ้านไสน�้ำเย็น) ไป จรดสี่แยกสวนสาธารณะโลมา) เพ่ือเชื่อมต่อกันระหว่างหมู่บ้านออกไปยังชายหาด ป่าตอง โดยใช้วิธีขอให้ชาวบ้านเสียสละที่ดิน หากรายไหนไม่ยอม ก็จะใช้วิธี แลกเปลี่ยนที่ดินกับของตน ถนนเส้นนี้จึงส�ำเร็จและได้ใช้ประโยชน์มาถึงปัจจุบัน นายด�ำ ขาวรักษา อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๒ นายวิชาญ สวัสดิรักษ์ อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ี ๒ นายรุ่ง พุทธรักษา อดีตครูใหญ่โรงเรียนบ้านไสน้�ำเย็น (คนแรก) และเจ้าของ โรงสีข้าวต�ำบลป่าตอง นายณรงค์ เช้ือญวน อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๒ (คนสุดท้าย) และอดีตประธาน สภาเทศบาลเมืองป่าตอง แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง หน้า ๑๘ ระบุ หลังจากป่าตองได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองป่าตองเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๕ เทศบาลได้แบ่งพ้ืนท่ีบริหารออกเป็น ๗ ชุมชน และปรับเปลี่ยน หมู่บ้านบ้านมอญ เป็น 438

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง ชุมชนบ้านมอญ งานทะเบียนราษฎร์ เมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ระบุ ชุมชน บ้านมอญมีจ�ำนวนครัวเรือน ๕๐๑ ครัวเรือน และมีประชากรจ�ำนวน ๓,๐๑๘ คน ปัจจุบันมี นายวิษณุ หยิดสัว เป็นประธานกรรมการชุมชน สถานท่ีส�ำคัญ เช่น ศาลาราชปทานุสรณ์สถาน ถนนพิศิษฐ์กรณีย์ ศูนย์การเรียนรู้น�้ำตกวังข้ีอ้อน ถนนพิศิษฐ์กรณีย์ ศาลาราชปทานุสรณ์สถาน 439

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ศูนย์การเรียนรู้น้�ำตกวังขี้อ้อน ชื่อผู้ให้ข้อมูล นางมงคล เช้ือญวน (กิจด�ำเนิน) อายุ ๘๗ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๙/๑๐ ถนน พิศิษฐ์กรณีย์ ต�ำบลป่าตอง อ�ำภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายประเสริฐ ประทีป ณ ถลาง อายุ ๘๕ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ถนนพิศิษฐ์- กรณีย์ ต�ำบลป่าตอง อ�ำภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ร.ต.ต.ทวี โสฬส อายุ ๘๒ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ชุมชนบ้านไสน้�ำเย็น ถนน พิศิษฐ์กรณีย์ ต�ำบลป่าตอง อ�ำภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายยุโส้ อิสลาม อายุ ๖๔ ปี ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๖ ถนนพระบารมี ต�ำบล ป่าตอง อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง รายงานกิจการเทศบาลเมืองป่าตอง ๒๐๑๖ แผนชุมชน เทศบาลเมืองป่าตอง ๒๕๕๙ 440

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง ชื่อผู้เก็บข้อมูล นายสาคร เช้ือญวน วัน/เดือน/ปี ท่ีจัดเก็บ วันที่ ๒๓ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 441

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๓ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ชุมชนบ้านไสน้�ำเย็น สถานที่ตั้ง ทิศเหนือ จด ชุมชนชายวัด และชุมชนบ้านมอญ ทิศใต้ จด ชุมชนบ้านนาใน ทิศตะวันออก จด ต�ำบลฉลอง อ�ำเภอเมือง ทิศตะวันตก จด ชุมชนหาดป่าตอง ประวัติความเป็นมาของช่ือ และอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง นายธวัช ธรรมดี เล่าว่า เดิมไสน�้ำเย็น เป็นหมู่บ้านท่ี ๓ มีพื้นที่ครอบคลุม ถึงหมู่ที่ ๔ บ้านนาใน บริเวณคลองบางลา (ซอยบางลา) บริเวณชายหาดทอดยาว ไปทางด้านซ้าย จรดแหลมคอไสรอด และติดเขตต�ำบลกะรน ปี ๒๕๐๔ พ้ืนท่ีบางส่วนของหมู่ที่ ๓ บ้านไสน้�ำเย็นถูกแยกการปกครอง ออกเป็นหมู่ที่ ๔ บ้านนาใน ประมาณปี ๒๔๙๕ หมู่บ้านนี้ มีครัวเรือนท่ีพอนับได้ประมาณ ๔๒ ครัวเรือน บุคคลส�ำคัญในอดีต นายผาด ไกรเลิศ อดีตผู้ใหญ่บ้าน นายเปี่ยน ก่ีสิ้น อดีตผู้ใหญ่บ้าน อดีตก�ำนันต�ำบลป่าตอง อดีตนายกเทศ- มนตรีเมืองป่าตอง นายสมเกียรติ คุรุรัฐนันท์ อดีตสมาชิกสภาเทศบาลและรองนายกเทศมนตรี เมืองป่าตอง นายทวิช โสฬส อดีตผู้ใหญ่บ้าน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง หน้า ๑๘ ระบุ หลังจากป่าตองได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองป่าตองเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๕ 442

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง เทศบาลได้แบ่งพื้นท่ีบริการออกเป็น ๗ ชุมชน และปรับเปลี่ยน หมู่บ้านไสน้�ำเย็น เป็น ชุมชนบ้านไสน้�ำเย็น งานทะเบียนราษฎร์ เมื่อวันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ระบุ ชุมชน บ้านไสน้�ำเย็นมีจ�ำนวนครัวเรือน ๔๑๐ ครัวเรือน และมีประชากรจ�ำนวน ๒,๖๓๒ คน ปัจจุบันมี นายนิวัฒน์ เจียมตัว เป็นประธานกรรมการชุมชน สถานท่ีส�ำคัญ เช่น ส�ำนักงานเทศบาลเมืองป่าตอง ถนนราชปาทานุสรณ์ สถานีต�ำรวจภูธรป่าตอง ถนนไสน้�ำเย็น โรงพยาบาลป่าตอง ถนนไสน�้ำเย็น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองป่าตอง ๑ ถนนราชปาทานุสรณ์ บ่านซ้าน (ตลาดสด) ป่าตอง ศาลเจ้าฮกเซียนต๋ัว ส�ำนักงานเทศบาลเมืองป่าตอง 443

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ สถานีต�ำรวจภูธรป่าตอง โรงพยาบาลป่าตอง 444

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง บ่านซ้าน (ตลาดสด) ป่าตอง และศาลเจ้าฮกเซียนต๋ัว ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายธวัช ธรรมดี อายุ ๗๑ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๙/๓ ถนนนาใน ต�ำบล ป่าตอง อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง รายงานกิจการเทศบาลเมืองป่าตอง ๒๐๑๖ แผนชุมชน เทศบาลเมืองป่าตอง ๒๕๕๙ ช่ือผู้เก็บข้อมูล นายสาคร เช้ือญวน วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๑ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ 445

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ๔ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ชุมชนบ้านนาใน สถานท่ีต้ัง ทิศเหนือ จด ชุมชนบ้านไสน�้ำเย็น ทิศใต้ จด ต�ำบลกะรน และต�ำบลฉลอง อ�ำเภอเมือง ทิศตะวันออก จด ต�ำบลฉลอง อ�ำเภอเมือง ทิศตะวันตก จด ชุมชนหาดป่าตอง ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง นายธวัช ธรรมดี อายุ ๗๑ ปี เล่าว่า เดิมนาในเป็นส่วนหน่ึงของหมู่ที่ ๓ บ้านไสน้�ำเย็น แยกออกเป็นหมู่ท่ี ๔ ในช่ือบ้านนาในเม่ือปี ๒๕๐๔ นางมงคล เชื้อญวน (กิจด�ำเนิน) อายุ ๘๙ ปี เล่าว่า ชุมชนนาในเดิมเป็น หมู่ท่ี ๔ ท่ีแยกออกมาจากหมู่ที่ ๓ บ้านไสน้�ำเย็น มีอาณาเขตตั้งแต่บริเวณโคกยาง บ้านนายหว้าง - นางเอี้ยว แก่นเหล็ก ยาวไปตามถนนนาใน จนจรดนาในสุด ติด เขตต�ำบลกะรน เมื่อกว่า ๘๐ ปีที่แล้ว บ้านนาในมีสภาพเป็นป่าหนาทึบ ห่างไกลจากหมู่บ้าน ในต�ำบลเดียวกันพอสมควร มีจ�ำนวนครัวเรือนที่ปลูกอาศัยห่างกันมาก นับได้ ประมาณ ๑๒ - ๑๕ ครัวเรือน บุคคลส�ำคัญในอดีต นายพร้อม กิจด�ำเนิน ลุงของนางมงคล เช้ือญวน อดีตผู้ใหญ่บ้าน นายชิต ไกรทอง (๒๔๕๖ – ๒๕๒๒) อดีตผู้ใหญ่บ้าน บิดาของนางอุบล หวานดี เจ้าของตลาดแม่อุบล นายเจน ธรรมดี (๒๔๖๐ – ๑๖ ธันวาคม ๒๕๓๔) บิดานายธวัช ธรรมดี ประธานกรรมการชุมชนบ้านนาใน อดีตผู้ใหญ่บ้าน นายระพิน ยอดต่อ (๒๔๗๙ – ปัจจุบัน) อดีตก�ำนันต�ำบลป่าตอง และอดีต 446

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง ผู้ใหญ่บ้าน นายไชยา ตามชู (๒๕๐๓ – ๒๕๔๖) อดีตกรรมการสุขาภิบาลป่าตอง สมาชิก สภาเทศบาล และเทศมนตรีเมืองป่าตอง นายถวัลย์ กิจด�ำเนิน อดีตประธานกรรมการชุมชน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง หน้า ๑๘ ระบุ หลังจากป่าตองได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองป่าตองเม่ือ พ.ศ.๒๕๔๕ เทศบาลได้แบ่งพ้ืนที่บริการออกเป็น ๗ ชุมชน และปรับเปลี่ยน หมู่บ้านนาใน เป็น ชุมชนบ้านนาใน งานทะเบียนราษฎร์ เมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ระบุ ชุมชน บ้านนาในมีจ�ำนวนครัวเรือน ๘๒๕ ครัวเรือน และมีประชากรจ�ำนวน ๔,๒๙๔ คน ปัจจุบันมี นายธวัช ธรรมดี เป็นประธานกรรมการชุมชน สถานที่ส�ำคัญ เช่น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคป่าตอง ศูนย์การค้าจังซีลอน ศูนย์การค้าแม็คโคร ศูนย์การค้าซุปเปอร์ชีป ธนาคารช้ันน�ำหลายแห่ง ช่ือผู้ให้ข้อมูล นางมงคล เชื้อญวน (กิจด�ำเนิน) อายุ ๘๗ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๙/๑๐ ถนน พิศิษฐ์กรณีย์ ต�ำบลป่าตอง อ�ำภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นายธวัช ธรรมดี อายุ ๗๑ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๒๐๙/๓ ถนนนาใน ต�ำบล ป่าตอง อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง รายงานกิจการเทศบาลเมืองป่าตอง ๒๐๑๖ แผนชุมชน เทศบาลเมืองป่าตอง ๒๕๕๙ 447

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ ช่ือผู้เก็บข้อมูล นายสาคร เช้ือญวน วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันท่ี ๒๓ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 448

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง ๕ ชื่อบ้าน - นามเมือง : ชุมชนบ้านโคกมะขาม สถานที่ตั้ง ทิศเหนือ จด ชุมชนบ้านกะหลิม ทิศใต้ จด ชุมชนหาดป่าตอง และชุมชนบ้านไสน้�ำเย็น ทิศตะวันออก จด ชุมชนชายวัด และต�ำบลกะทู้ ทิศตะวันตก จด อ่าวป่าตอง ทะเลอันดามัน ประวัติความเป็นมาของชื่อ และอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง นายยุโส้ อิสลาม อายุ ๖๔ ปี อดีตรองประธานสภาเทศบาลต�ำบลป่าตอง เล่าว่า ชุมชนบ้านโคกมะขาม (ชาวบ้านเรียกสั้นๆ ว่า โคกขาม) เป็นส่วนหน่ึงของ หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลป่าตอง อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต มีพ้ืนท่ีระหว่างสถานีบริการน้�ำมัน ในปัจจุบัน ทอดไปตามความยาวสองข้างของถนนพระบารมี จนจรดสามแยก แหลมเพชร ซ่ึงปัจจุบันเทศบาลเมืองป่าตองได้สร้างวงเวียนโลมาไว้ที่กลางสามแยก บ้านในหน้น ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งบ้านโคกขาม ปัจจุบันคือ ย่านถนน เฉลิมพระเกียรติท่ีเชื่อมระหว่างถนนราษฎร์อุทิศ ๒๐๐ ปี ผ่านกุโบร์หรือที่ฝังศพ ออกสู่ถนนทวีวงศ์ หน้าหาดป่าตอง นายยุโส้เล่าต่อว่า เมื่อราวกว่า ๕๐ ปีที่แล้ว บ้านโคกขาม มีครัวเรือนที่นับ ได้ประมาณ ๖๒ - ๖๕ ครัวเรือน ช่ือ โคกขาม น่าจะเรียกตามลักษณะภูมิประเทศ ที่มีพื้นที่เป็นโคกและมีต้นมะขามขนาดใหญ่ขึ้นค่อนข้างชุกชุม จนมีการเรียกท่ีนา บางที่ว่า นาข้าม (ขามหรือมะขาม) โพรง ปัจจุบันคือที่ดินบริเวณหลังธนาคารออมสิน ถนนพระบารมี บุคคลส�ำคัญในอดีต นายสมคิด สิทธิเดช อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ี ๑ (คนสุดท้าย) 449

ชื่อบ้าน - นามเมือง ในภูเก็จ มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม ถนนพระบารมี นายรักษ์ศักดิ์ หนูเชต อดีตประธานสภาเทศบาลเมืองป่าตอง นายยุโส้ อิสลาม อดีตรองประธานสภาเทศบาลต�ำบลป่าตอง แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง หน้า ๑๘ ระบุ หลังจากป่าตองได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองป่าตองเม่ือ พ.ศ.๒๕๔๕ เทศบาลได้แบ่งพื้นท่ีบริการออกเป็น ๗ ชุมชน และแยกพ้ืนที่บางส่วนของหมู่ท่ี ๑ ออกเป็น ชุมชนบ้านโคกมะขาม โดยงานทะเบียนราษฎร์ เมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ระบุ ชุมชนบ้านโคกมะขามมี ๕๘๗ ครัวเรือน จ�ำนวนประชากร ๒,๙๘๔ คน ปัจจุบันมี นายฉัตรชัย สาริกพันธุ์ เป็นประธานกรรมการชุมชน สถานท่ีส�ำคัญ เช่น มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม และมัสยิดนูรุลฮุดา (มัสยิดล่าง) 450

อ�ำเภอกะทู้ l ต�ำบลป่าตอง วงเวียนโลมา ช่ือผู้ให้ข้อมูล นายยุโส้ อิสลาม อายุ ๖๔ ปี ท่ีอยู่ผู้ให้ข้อมูล ๑๐๖ ถนนพระบารมี ต�ำบล ป่าตอง อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ เทศบาลเมืองป่าตอง รายงานกิจการเทศบาลเมืองป่าตอง ๒๐๑๖ แผนชุมชน เทศบาลเมืองป่าตอง ๒๕๕๙ ชื่อผู้เก็บข้อมูล นายสาคร เชื้อญวน วัน/เดือน/ปี ที่จัดเก็บ วันที่ ๒๔ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ 451


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook