Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Published by elibraryraja33, 2021-08-25 03:55:52

Description: 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Search

Read the Text Version

91 7971 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ พิถีพิถันสรา้ งสรรคค์ วามคดิ รหัสวชิ า ท๒๓๑๐๑ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ เวลา ๑๒ ชัว่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคิดเพอื่ นาไปใชต้ ดั สินใจ แก้ปญั หาใน การดาเนนิ ชีวิต และมนี ิสัยรักการอ่าน ม.๓/๒ ระบุความแตกต่างของคาทม่ี ีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนยั ม.๓/๓ ระบคุ วามสาคัญและรายละเอยี ดของข้อมูลทส่ี นับสนุนจากเร่ืองท่อี า่ น ม.๓/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเร่ืองที่อ่านโดยใชก้ ลวิธกี ารเปรียบเทียบใหผ้ ู้อ่านเข้าใจ ไดด้ ขี น้ึ ม.๓/๗ วจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผลการลาดบั ความ และความเปน็ ไปได้ของเร่ือง ม.๓/๙ ตคี วามและประเมนิ คุณคา่ และแนวคดิ ที่ไดจ้ ากงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนาไปใช้ แก้ปัญหาในชวี ิต มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ ม.๓/๔ เขยี นย่อความ ม.๓/๙ เขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน ม.๓/๑๐ มมี ารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ ึก ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ม.๓/๑ แสดงความคิดเหน็ และประเมินเร่ืองจากการฟังและการดู มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ ม.๓/๑ จาแนก และใช้คาภาษาต่างประเทศ ท่ใี ช้ในภาษาไทย มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและนามา ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จริง ม.๓/๑ สรุปเน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถนิ่ ในระดับทยี่ ากยงิ่ ข้นึ ม.๓/๓ สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จากการอา่ น เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

92 7982 ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ๑. การใช้คาในภาษาไทยมีท้ังคาท่ีมีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ซ่ึงคาเดียวกันที่อยู่ใน บริบททแ่ี ตกกนั อาจมคี วามหมายต่างกนั ดงั นนั้ การศึกษาคาในภาษาไทยทมี่ คี วามหมายโดยตรงและโดยนัย จะช่วย ใหน้ ักเรียนสามารถระบุความแตกตา่ งของคาทมี่ ีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนยั ได้ การอ่านทุกประเภทจะช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในสิ่งท่ีอ่านได้ดีเมื่อนักเรียนสามารถจับ ใจความสาคัญจากสิ่งที่อา่ น และบอกไดว้ ่าสว่ นใดเป็นขอ้ ความสนับสนุนใจความสาคัญ ดังนั้นทักษะในการอ่านจับ ใจความสาคัญจงึ จาเปน็ ทนี่ ักเรียนต้องฝึกฝนให้เกดิ ความเข้าใจ และนาไปใช้ในการในชวี ติ ประจาวันได้ ๒. การอา่ นเรือ่ งต่างๆ นอกจากจบั ใจความสาคญั ได้ เขา้ ใจเนือ้ เรอื่ งทอี่ า่ นแล้ว การพฒั นาการอ่าน ให้ถึงข้ัน การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเร่ืองที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่าน เข้าใจได้ดี ข้ึน สามารถวิจารณ์ความสมเหตุสมผลการลาดับความ และความเป็นไปได้ของเรื่อง สามารถตีความและประเมิน คุณค่า และบอกแนวคิดทไี่ ดจ้ ากงานเขียนอยา่ งหลากหลายเพอื่ นาไปใช้แก้ปัญหาในชวี ิต จะช่วยให้นักเรียนมีทักษะ การอา่ นข้นั สูงและนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้มากข้นึ ๓. การย่อความจากสิ่งที่อ่าน มีความจาเป็นอย่างย่ิง เพราะเป็นการอ่านท่ีช่วยให้สรุปเร่ือง จับประเด็น สาคัญของเรื่อง แล้วนามาเขียนเล่าเร่ืองราวโดยสรุปได้ ดังน้ันการเขียนย่อความ เป็นการเขียนจากการอ่าน จับใจความสาคัญของเรื่อง แล้วนาใจความสาคัญของเรื่องมาเรียบเรียงใหม่ให้เป็นสานวนภาษาของผู้ย่อเอง โดยเขียนใหถ้ ูกตอ้ งตามรปู แบบของยอ่ ความ จงึ เป็นสิ่งสาคญั ทผี่ ้เู รยี นตอ้ งฝกึ ฝนอยา่ งสา่ เสมอ ๔. การเขยี นเปน็ ทกั ษะอย่างหน่ึงทต่ี อ้ งฝึกฝนเพอ่ื ให้เกดิ ความชานาญ การเขียนในแต่ละรูปแบบจะมีความ แตกต่างกัน การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เป็นวิธีการหน่ึงที่ฝึกให้ผู้เรียนได้รายงานผลการศึกษาค้นคว้า ในเรื่องต่างๆ หลากหลายวิชา แล้วนาไปเขียนบันทึกเป็นรูปแบบรายงานอย่างมีหลักการ ใช้อ้างอิงผลการศึกษา คน้ ควา้ ได้ มีความน่าเชอื่ ถอื ๕. มารยาทในการเขียน มีความสาคัญต่อผู้เขียนท่ีต้องเรียนรู้เพ่ือนาไปใช้ในการเขียนได้อย่างมีมารยาท ท่ีถกู ตอ้ ง เปน็ ที่ยอมรบั ผู้เรียนจงึ ตอ้ งเรียนรมู้ ารยาทในการเขียนเพือ่ นาไปใช้ในการเขยี นทุกประเภท ๖. การแสดงความคิดเห็น ท้ังแสดงความคิดเห็นด้วยการเขียนและการพูดมีความสาคัญอย่างยิ่งท่ีต้อง เรียนรู้วิธีการที่ถูกต้องเพื่อให้การส่ือสารถูกต้อง ประสบความสาเร็จ ท้ังยังเป็นทักษะท่ีสามารถนาไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ ๗. ปัจจุบันทักษะการฟังและการดูเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันมากข้ึน เนื่องจากการพัฒนารูปแบบ ของส่ือโซเชียลต่าง ๆ ดังน้ันการประเมินเร่ืองจากการฟัง การดูจึงมีความสาคัญท่ีผู้เรียนต้องศึกษาไว้เพ่ือนาไปใช้ ประเมนิ เรื่องจากการฟังและการดูได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ๘. คาที่ใช้ในภาษาไทยมีท้ังคาไทยแท้ และคาไทยที่นามาจากภาษาอื่นจะด้วยช่องทางใดก็ตาม ส่งผลให้ ไทยมีจานวนคาที่นามาใช้เพ่ิมมากขึ้น การเรียนรู้เรื่องคาไทยท่ีมาจากภาษาอ่ืนจึงมีความจาเป็นเพ่ือให้รู้ที่มาของ การคาน้นั ๆ และสามารถจาแนก และใช้คาภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย ได้อยา่ งถกู ต้อง ๙. การศึกษาวรรณกรรม และวรรณคดีมีความสาคัญอย่างยิ่งท่ีจะช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนรู้จักสังคมผ่าน การสื่อสารทางวรรณกรรม และวรรณคดี ดังนั้นการเรียนรู้วรรณกรรม และวรรณคดี และสามารถสรุปเนื้อหา สรุปความรู้ และข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่ยาก เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง จึงมีความ จาเปน็ ย่ิง

93 7993 ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ (k) ๑. คาท่มี ีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนยั ๒. การวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม ๓. การเขยี นย่อความ ๔. การเขียนรายงานการศึกษาค้นควา้ และโครงงาน ๖. การแสดงความคิดเหน็ จากเร่อื งที่ฟังและดู ๗. หลกั สังเกตคาไทยแท้และคาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ๘. การสรปุ เนอื้ หา สรปุ ความรู้ และข้อคดิ จากวรรณคดีวรรณกรรม ทกั ษะ/กระบวนการ(p) ทกั ษะการอา่ น ทักษะการเขียน ทกั ษะการฟงั ดู และพูด ทกั ษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ ทกั ษะการสืบค้น ทักษะการนาเสนอ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ทักษะการประเมินค่า เจตคติ (A) รกั ความเปน็ ไทย รกั การอ่าน รักการเขยี น ตระหนักถงึ คุณค่าภาษาไทย ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๕. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ชอื่ สตั ย์ สุจริต ๓. มวี ินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ๖. การประเมินผลรวบยอด ๖.๑ ช้ินงานหรือภาระงาน ๖.๒ การประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

94 หนว่ ยการเรยี นรู้ ๒ พิถีพิถนั สร้างสรรคค์ วามคดิ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๑ เวลา ๑ ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรอื่ ง คาทมี่ ีความหมายโดยตรง และโดยนัย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ขอบเขตเนอื้ หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหลง่ เรียนรู้ การใช้คาในภาษาไทยมีท้ังคาท่มี ีความหมาย ข้นั นา ๑. ใบความรู้ เร่อื ง คาที่มี โดยตรงและความหมายโดยนัย คาเดยี วกนั ท่ีอยู่ ๑.ครูยกตวั อยา่ งประโยคท่มี ีคาความหมายโดยตรงและโดยนยั ดังน้ี ความหมายโดยตรงและโดยนัย ในบรบิ ททแ่ี ตกตา่ งกนั อาจมคี วามหมายตา่ งกัน “เขาเดนิ เตะหนิ / ขอ้ สอบฉบับน้ีหนิ มาก” และสมุ่ ถามใหน้ กั เรยี นอธิบาย ๒. ใบงาน เรื่อง คาที่มีความหมาย การศกึ ษาคาทม่ี ีความหมายโดยตรงโดยนยั จะ ความหมายเพอื่ เชื่อมโยงเข้าสู่ความหมายโดยตรงโดยนยั โดยตรงและโดยนัย ช่วยให้นกั เรยี นเข้าใจความหมายของคาและใช้ ขัน้ สอน ๓. แบบทดสอบ เรอ่ื ง คาที่มี คาได้ถกู ต้องเหมาะสม ๑. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่ือง “คาท่ีมีความหมายโดยตรงและความหมาย ความหมายโดยตรงและโดยนัย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ โดยนัย ด้านความรู้ ๒. นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายวา่ คาทั้งสองประเภทมีความแตกต่างกันอย่างไร ควร เขา้ ใจความหมายของคาทีม่ คี วามหมายโดยตรง นาไปใช้ในโอกาสใด ภาระงาน/ช้นิ งาน และโดยนยั ๓. นักเรยี นทาใบงาน เรือ่ ง คาทม่ี ีความหมายโดยตรงและโดยนัย ๑ อภิปรายการใชค้ าความหมาย ดา้ นทักษะและกระบวนการ ๔. นักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานพร้อมกับอภิปรายความสาคัญของการนาคาท่ีมี โดยตรงโดยนัย แปลความตีความ และใช้คาได้ถูกต้องตรง ความหมายโดยตรงและโดยนยั ไปใช้ใหถ้ กู ตอ้ งตรงตามเจตนาของผ้สู ่งสาร ๒. ฝกึ ใหค้ วามหมายคาที่มี ความหมาย ขั้นสรุป ความหมายโดยนยั ด้านคณุ ลกั ษณะ ๑. นักเรียนทาแบบทดสอบ เรื่องคาที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย ๓. มอบหมายรวบรวมขอ้ ความทมี่ ี - ใฝ่เรยี นรู้ ครปู ระเมิน ความหมายโดยนยั - รกั ความเป็นไทย ๒. ให้รวบรวมข้อความที่ใช้คาท่ีมีความหมายโดยนัย คนละ ๕ ข้อความ แล้ว นามาแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับเพ่ือนในหอ้ งเรยี น 8904

95 8915 การวัดผลและการประเมินผล สิง่ ทป่ี ระเมิน วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ แบบทดสอบ ผ่านรอ้ ยละ ๘๐ ด้านความรู้ เข้าใจความหมายของคาท่ีมีความหมาย ตรวจแบบทดสอบ โดยตรงและโดยนยั ดา้ นทักษะ/กระบวนการ แปลความตีความ และใช้คาได้ถูกต้อง สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านร้อยละ ๘๐ ตรงความหมาย ด้านคณุ ลักษณะ - ใฝเ่ รยี นรู้ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ - รกั ความเปน็ ไทย คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ............................................. ปัญหาและอุปสรรค .......................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................ ลงชอ่ื ......................................................ผู้สอน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรอื ผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย .............................................................. ........................................................................................................ ........ ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... ลงชอ่ื ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

96 96 96 8926 ใบความรู้ เร่อื ง คาทมี่ ีความหมายโดยตรงและโดยนัย หน่วยท่ี ๒ แผในบกคาวราจมดั รกู้ เารรอื่ เงรยี คนารทูท้ ม่ี ่ี ีค๑วเารมอื่ หงคมาทยโ่ีมดีคยวตารมงหแมลาะยโดโดยยนตยั รงและโดยนัย หรนาย่ววยชิทา่ี ๒พนื้ แฐผานนกภาารษจาัดไกทายรเรหยี สันรททู้ ๒ี่ ๑๓๑เร๐ื่อ๑งคภาาทค่ีมเรคี ียวนามทห่ี ๑มาชยั้นโมดัธยยตมรงศแึกลษะาโปดีทย่ีน๓ัย การใชค้ าและกล่มุ คราายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ การใช้คาคแาลเะปกน็ ลสมุ่ าคราท่ีผู้พูดหรือผู้เขียนเจตนาส่ือไปยังผู้ฟังหรือผู้อ่าน คาทุกคาจึงมีความหมาย ซึ่งอาจจะมีความหมาย โดยตรง แคลาเะปคน็ าสทามี่ รคี ทว่ีผาู้พมหูดหมารยือโผดู้เยขนียนยั (เเจชตงิ นเปารสยี ื่อบไปเทยียังบผู้ฟหังรหอื รือนผัยู้อป่ารนะหควาดั ท)ุกคาจึงมีความหมาย ซ่ึงอาจจะมีความหมาย โดยตรง แ๑ล. ะคคาาทที่มม่ี ีคีคววาามหมายโดยนตยัรง(เชหงิ มเปารยียถบึงเทคียาทบ่ีมหีครวอื ามนหยั มปารยะหตวาัดม)ตัวอักษร ตัวอย่างคาท่ีมีความหมายโดยตรง เชน่ ก๑นิ . คาท่ีมีควาเคมี้ยหวมแาลยะโกดลยืนตลรงกหระมเาพยาถะึง คาที่มีความหมายตามตัวอักษร ตัวอย่างคาท่ีมีความหมายโดยตรง เช่น ดกาินว เสคง่ิ ีย้ทวเี่ แหล็นะเปก็นลืนดวลงมกีแระสเงพราะะยิบระยับในท้องฟา้ เวลากลางคนื ดหามวู สิ่งตั ทวี่เ์ หลี้ยน็ งเปลูกน็ ด้วยงมนีแมสเงทร้าะมยีกบิ บี รคะู่ยตับวั ใอนว้ ทนอ้ งฟ้าเวลากลางคนื หเพมชู ร วสัตถวุธเ์ ลายี้ตงุคลากู รด์บ้วอยนนมคี เวทาา้ มมแกี ขบี ็งคแู่กตรวั ่งอม้วนคี ่ามากใช้ทาเครื่องประดับ เบพา้ ชนรเล็ก วบัตา้ ถนุธทาี่มตีขคุ นาารดบ์ เอลน็ก มคี วามแขง็ แกร่ง มีคา่ มากใชท้ าเคร่อื งประดบั บย่นื้านซเอลงก็ ขาว สบง่ ้าซนอทงมี่จขีดนหามดาเยลสก็ ีขาวให้ผู้รับ ยนื่ ๒ซ.อคงขาาทวี่มีคสวง่ าซมอหงจมดาหยมโาดยยสนขี าัยวใหผ้มู้ราบั ยถึง คาท่ีมีความหมายไม่ตรงตามความหมาย ตามตัวอักษร แตม่ คี วาม๒ห.มคายาอทกี่มอีคยวา่ งาหมนห่ึงมซา่งึ ยผโูส้ ดง่ สยานรัยมเี จหตมนายส่งถไึงปยคังาผท้รู บั ี่มเีพค่ือวตาคีมวหามเาชยงิ ไเปมร่ตียรบงเทตียาบมเคอวงตาัวมอหยม่างาคยาตทา่ีมมีควตาัวมอหักมษายร แโดตยม่ นคี ัยวาเมชหน่ มายอกี อย่างหนง่ึ ซ่ึงผูส้ ่งสารมเี จตนาส่งไปยงั ผรู้ ับเพ่ือตคี วามเชงิ เปรยี บเทียบเองตัวอย่างคาที่มีความหมาย โดยนยั เชก่นิ ฉ้อราษฎรบ์ งั หลวงหรอื คอรปั ชนั่ ดกนิาว คฉอ้วารมาษเดฎ่นรบ์คงัวหามลวสงวหยรงือามคอรปั ชนั่ ดหามวู คงา่วยามเด่น ความสวยงาม หเพมชู ร สงา่ิงยทม่ี คี ่ามาก บเพ้าชนรเลก็ ภสิ่งรทรยม่ี าีคน่า้อมยาก บยืน่า้ นซเอลงก็ ขาว ไภลร่อรอยกาจนาอ้ กยงาน การเลือกยใน่ืชซ้คอาใงหข้ถาวูกต้อไงลต่อาอมกคจวาากมงหานมายและถูกต้องตามบริบทในการพูดและการเขียนเป็นเร่ืองสาคัญ เพ่ือจะให้การ กพาดู รแเละือกาใรชเ้คขายี ในหน้ถั้นูกบตร้อรงลตุสาจู่มดุคมวุ่งาหมมหามยายและถูกต้องตามบริบทในการพูดและการเขียนเป็นเร่ืองสาคัญ เพื่อจะให้การ พกาูดรแพลูดะแกลาระเกขายี รนเขนยี นั้ นบนร้ันรลบุสรร่จู ลดุ ุสมู่จงุ ดุหมงุ่าหยมาย ตวั อย่างประโยคการใช้คาความหมายโดยตรง/โดยนัย ตัวอ๑ยา่. งปพรวะกโเยราคคกวารรกใชนิ ค้อาหควาราเมชห้ามายโดยตรง/โดยนัย ๑๒. พฉันวกรมู้เราาวคา่ วพรวกกนิ นอ้ีกานิ หกานัรเทชัง้านัน้ เจา้ นายจงึ เลยเพ็งเลง็ พวกน้ีอยู่ ๒๓. ฉฟัน้าคร้มูนื านวดี้ ่าาพววสกวนยี้กเหนิ ลกือนั เทก้ังินนั้น เจ้านายจึงเลยเพง็ เล็งพวกน้ีอยู่ ๔๓. เฟมา้ อื่ คคืนนื นเดี้ธอาเวปสน็ วดยาเหวลขือเงกงินานเลยนะ ๔๕. เแมห่ือวคนนื วเงธนอ้ีเเพปช็นรดนา้าวงขาอมงจงราิงนๆเลยนะ ๖๕. โแรหงวเรนียวนงเนร้เีาพมชเี พรนชา้รงหาลมาจยรคงิ นๆโดยเฉพาะจากนักเรียนห้องน้ี ตวั อย๖่า.งปโรงะเโรยียคนทเรี่ ๑าม, เี๓พ,ช๕รหลาเยปค็นนกโาดรยใเชฉ้คพาาทะีเ่ จปาน็ กคนวักาเมรหียนมาหยอ้ โงดนย้ี ตรง ตัวอยา่ งประโยคท่ี ๒๑, ๓๔, ๖๕ เปน็ การใช้คาท่เี ป็นความหมายโดยนตรัยง ตัวอย่างประโยคท่ี ๒, ๔, ๖ เปน็ การใชค้ าท่เี ปน็ ความหมายโดยนัย

97 8937 ใบงาน เรื่อง คาที่มีความหมายโดยตรงและโดยนยั หนว่ ยที่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่องคาท่ีมคี วามหมายโดยตรงและโดยนัย รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ คาสงั่ จงเติมความหมายโดยนยั ของคาท่ีกาหนดให้ต่อไปน้ี ความหมายโดยนยั คา สุนัขจงิ้ จอก นกพริ าบ ถงั แตก นกฮูก จับกบ เต่า เสอื ซอ่ นเลบ็ หนอนหนงั สอื หมูสนาม แพะ ลงิ ผีเสอ้ื ราตรี พวกสมี ว่ ง ไม้ปา่ เดยี วกนั หม้อ นา้ ใต้ศอก ตกมัน กินเด็ก หวั เสธ เรือจ้าง ตนี แมว

98 8948 เฉลยใบงาน เร่ือง คาที่มคี วามหมายโดยตรงและโดยนยั หนว่ ยที่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรอ่ื งคาที่มคี วามหมายโดยตรงและโดยนัย รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ คา ความหมายโดยนยั สนุ ัขจิ้งจอก เจา้ เล่ห์ นกพิราบ สันตภิ าพ ถังแตก ไม่มเี งิน นกฮูก คนทท่ี ากจิ กรรมตอนกลางคนื จบั กบ หกล้ม เต่า ชา้ เสือซ่อนเลบ็ คนเกง่ แตไ่ ม่แสดงออก, ผ้มู ีเลห่ ก์ ล, ผเู้ ก็บความรูส้ กึ หนอนหนงั สอื คนชอบอ่านหนังสอื หมสู นาม แพง้ า่ ย, ไม่มฝี ีมือ แพะ ผทู้ ีต่ อ้ งรับผดิ แทนผูอ้ ่ืน ลิง ซกุ ซน ผีเสอื้ ราตรี หญงิ ท่ีมีอาชีพในสถานบนั เทิง ผ้ทู ช่ี อบเทีย่ วกลางคืน พวกสีม่วง พวกชอบเพศเดียวกนั ไมป้ า่ เดยี วกนั พวกชอบเพศเดยี วกนั หม้อ เจา้ ชู้ นา้ ใตศ้ อก จายอมเปน็ รองเขา ตกมัน โมโห (ใชล้ อ้ คนอ้วนเวลาโมโห) กินเด็ก มคี ู่รกั อายนุ ้อยกว่า หัวเสธ ความคดิ ฉลาด สติปญั ญาดี วางแผนเกง่ เรอื จา้ ง ครู ตีนแมว ขโมย

99 8959 แบบทดสอบ เรือ่ ง คาท่มี ีความหมายโดยตรงและโดยนัย หนว่ ยที่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื งคาที่มคี วามหมายโดยตรงและโดยนยั รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ คาส่งั จงใชค้ าที่กาหนดให้แต่งประโยคให้มีความหมายโดยนัย ( ๑๐ คะแนน ) ๑. งูเหา่ ............................................................................................................................. ...................................... ๒. หงส์ ....................................................................................... ............................................................................ ๓. ไมป้ ระดบั ............................................................................................................................. ...................................... ๔. เสอื ............................................................................................................................. ...................................... ๕. กา ................................................................................................................................................................... ๖. ดวงใจ ............................................................................................................................. ...................................... ๗. เกลอื ............................................................................................................................... .................................... ๘. ไฟเขยี ว ...................................................................................... ............................................................................. ๙. ตอ ............................................................................................................................. ...................................... ๑๐. ผ้าขาว ............................................................................................................................... ....................................

100 18060 เฉลยแบบทดสอบ เร่ือง คาที่มคี วามหมายโดยตรงและโดยนัย หนว่ ยท่ี ๒ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื งคาที่มีความหมายโดยตรงและโดยนยั รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑. งเู หา่ ถ้าฉนั รู้วา่ เธอจะเป็นงเู หา่ ฉันจะไม่ชว่ ยเหลอื เธอเลย ๒. หงส์ เธอสูงสง่ เปน็ หงส์ ไม่คู่ควรกับฉัน ๓๓.. ไไมม้ปป้ รระะดดบั บั ในงานนฉ้ี ันเปน็ แค่ประดับไม่ใช่คนสาคัญอะไร ๔. เสือ คุณพ่อบา้ นน้ีเป็นเสือนะเพ่ือน แกหวงลูกสาวมาก ๕. กา กาอย่างเธออย่าไปแข่งกับลูกสาวทา่ นเจา้ สัวเลย ๖. ดวงใจ ลูกๆเปน็ ดวงใจของแม่ ๗. เกลือ คณุ นายของเราคอื เกลอื ดีๆน่ีเอง เธอไมย่ อมเสียเปรียบใครงา่ ยๆ ๘. ไฟเขยี ว กิจกรรมนท้ี ่านผู้อานวยการไฟเขยี วแลว้ ๙. ตอ ฉนั ว่างานน้เี ราคงเจอตอแลว้ ละ่ ไม่อย่างนั้นคงไมช่ า้ เช่นนี้ ๑๐. ผา้ ขาว เดก็ ๆ ก็เปน็ ผา้ ขาวท่ีแล้วแต่พ่อแม่จะแตง่ แตม้ ใหเ้ ป็นเช่นไร หมายเหตุ ให้ครพู จิ ารณาการใช้ถอ้ ยคาความหมายโดยนยั ของนักเรยี นใหถ้ ูกต้องตามบริบททีใ่ ช้

101 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ ๒ เร่ืองพถิ ีพถิ ันสรา้ งสรรค์ความคดิ เร่ืองใจความสาคัญและข้อมูลสนับสนนุ เร่ืองท่ีอา่ น เวลา ๑ ชั่วโมง กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ขอบเขตเน้อื หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ การอ่านจะช่วยให้นักเรียนมีความรู้ ข้นั นา ๑. ใบความรู้ เรอื่ ง การอ่านจับใจความ ความเข้าใจในส่ิงที่อ่านได้ดี ถ้านักเรียน ๑. ครูสนทนาซกั ถามเรอื่ งความสาคญั ของการอา่ นจับใจความสาคัญ สาคญั สามารถจับใจความสาคญั และบอกได้ว่า ๒. ครูสร้างความตระหนักให้นักเรียนเข้าใจถึงการอ่านจับใจความสาคัญ ๒. ใบงาน แบบฝึก เร่ือง การอา่ นจบั ส่วนใดเป็นข้อความสนับสนุนใจความ สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวันได้ ใจความสาคญั สาคัญ ดังนั้นทักษะในการอ่านจับ ขน้ั สอน ๓. แบบทดสอบ เรือ่ ง การอ่านจับ ใจความสาคัญจึงจาเป็นที่นักเรียนต้อง ๑. นักเรยี นศึกษาใบความรู้ เรอ่ื งการอา่ นจับใจความสาคัญ ใจความสาคัญ ฝึกฝนให้เกิดความเข้าใจ และนาไปใช้ใน ๒. นักเรียนทาใบงานที่ ๑ เร่ืองแข่งขันกันตอบ (ตอบคาถามปากเปล่า การในชวี ติ ประจาวนั ได้ โดยแบ่งนักเรียนเป็น ๒ กลุ่ม เพื่อแข่งขันกันตอบใจความสาคัญ กลุ่มใด ภาระงาน/ช้นิ งาน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เร็วกว่าและถูกต้อง ได้ข้อละ ๑ คะแนน กลุ่มใดได้คะแนนสูงกว่าคือผู้ ๑. แขง่ ขนั จบั ใจความสาคัญจากบท ด้านความรู้ ชนะ) อ่านขอนา่ านดขสนัน้ าดส้นั อธิบายความหมายการจับใจความ ๓. นักเรียนทาใบงานที่ ๒ เร่ือง “ท่านมองตัวเองอย่างไร” จับใจความ ๒. ฝึกวิเคราะห์จบั ใจความสาคัญจาก สาคัญ และข้อมูลสนับสนุนจากเร่ืองท่ี สาคัญโดยเขยี นตอบ บทอ่าบนทขอนา่ านดขยนาวาดยาว อ่านได้ ขัน้ สรปุ ด้านทกั ษะและกระบวนการ ๑. ให้นกั เรยี นสรุปความรู้หลกั อ่านจบั ใจความและกลวธิ กี ารอา่ นลงสมดุ อ่านเร่ืองต่างๆ แล้วสามารถจับ ๒. นักเรียนทาแบบทดสอบการอ่านเพอ่ื จบั ใจความสาคัญ ใจความสาคญั ๓. ให้ฝึกจับใจความสาคัญด้วยตนเองเพ่ิมเติม โดยอ่านบทความ เร่ือง ดา้ นคุณลกั ษณะ เช้าฮาเย็นเฮ ในหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทยวิวิธภาษา ใฝเ่ รียนรู้ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ พร้อมเขียนใจความสาคัญท่ีได้จากการอ่านเป็น การบา้ น 81071

102 18082 การวัดผลและการประเมินผล ส่งิ ทป่ี ระเมนิ วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ ผา่ นร้อยละ ๘๐ การจับใจความสาคญั และข้อมูล สนบั สนนุ จากเร่ืองท่ีอา่ นได้ ตรวจสอบใบงาน ใบงานที่ ๑-๒ ผ่านรอ้ ยละ ๘๐ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ อา่ นเร่ืองต่างๆ แลว้ สามารถจบั สังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ระดบั คุณภาพ ๒ ใจความสาคญั ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นคุณลกั ษณะ ใฝ่เรยี นรู้ ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................................. ปญั หาและอุปสรรค .......................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ..................................................................................................................... ..................................................... ลงช่อื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ............................................................................... ........ ....................................................................................................................................................... .................... ลงชื่อ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

103 18093 ใบความรู้ เรอ่ื ง การอ่านจับใจความสาคญั หน่วยท่ี ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรือ่ งการอ่านจบั ใจความสาคัญ รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ การอ่านจบั ใจความสาคัญ การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การอ่านโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเก็บสาระสาคัญ ความรู้ ข้อมูลที่น่าสนใจ และแนวความคิดหรือทศั นะของผูเ้ ขยี นของเรื่องที่อ่าน ใจความสาคัญ ใจความสาคญั หมายถึงใจความท่ีเป็นแกน่ ของย่อหน้าท่สี ามารถครอบคลุมเนื้อความในย่อหนา้ นั้น จะเป็น ใจความหรือประโยคเดย่ี วๆ ได้โดยไม่ต้องมีประโยคอ่ืนประกอบ ในแต่ละย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญเพียง ประโยคเดียว อย่างมากไม่เกิน ๒ ประโยคเป็นใจความสาคญั และเดน่ ที่สุดในย่อหนา้ การพิจารณาใจความสาคญั ใจความสาคญั จะปรากฏอยูใ่ นตาแหนง่ ของข้อความดังต่อไปนี้ ๑. อยู่ในตาแหน่งตน้ ของยอ่ หน้าและมีรายละเอยี ดวางอยู่ในตาแหน่งถัดไป ตัวอยา่ ง การพัฒนาชนบทมคี วามจาเปน็ และสาคญั ยงิ่ สาหรับประเทศไทย เพราะสภาพชนบทของเรายังต้องการ พัฒนาในหลายๆ ดา้ น ไม่ว่าจะเปน็ เร่ืองทด่ี นิ ทากิน การประกอบอาชีพ ความเป็นอยู่ ปัญหาการขาดการศึกษาและ สาธารณสุขท่ี เหมาะสมซ่ึงเรื่องต่างๆเหล่าน้ีมีความสัมพันธ์กันอย่างย่ิงกับ ความยากจนและมักจะเป็นวงจรที่มี ปัจจัยหนึง่ เปน็ สาเหตขุ องอกี ปจั จยั หนงึ่ เสมอ... ใจความสาคญั คอื การพฒั นาชนบทมคี วามจาเป็นและสาคัญย่งิ สาหรบั ประเทศไทย ๒. อยใู่ นตาแหนง่ ทา้ ยของยอ่ หนา้ โดยกล่าวถึง รายละเอยี ดตา่ งๆ อยา่ งคลุมๆ ไวก้ ่อนในตอนตน้ ตัวอย่าง กากพืช เศษของพืช หญ้า ใบไม้ หรือต้นพืช เมื่อไม่ใช้อย่าท้ิงให้นามาหมักรวมกับปุ๋ยคอก โดยกองรวมกันไว้ให้มี ความชน้ื พอสมควรและตอ้ งกลบั กองหมักนี้สัปดาห์ละ ๑ คร้ัง ต่อจากน้ันประมาณ ๑ เดือน วัสดุต่างๆ เหล่าน้ีจะผุ พงั กลายเป็นอินทรียวตั ถุ การทาปุ๋ยหมกั วิธงี า่ ยๆ ก็แลว้ เสรจ็ ตามกรรมวธิ ี ใจความสาคัญ คอื การทาปยุ๋ หมักวิธีง่าย ๆ ๓. อยู่ในตาแหน่งตน้ และทา้ ยย่อหนา้ มีรายละเอยี ดอย่ตู รงกลาง ตวั อยา่ ง รถยนต์นับได้ว่าเป็นพาหนะท่ีจาเป็นสาหรับธุรกิจ เพราะนักธุรกิจไม่ต้องการใช้เวลามากในการเดินทาง การใช้เวลาน้อยหรือการเพิ่มความสะดวกรวดเร็วได้มากเท่าไรก็ย่ิงเป็นการเพิ่มกาไรเครื่องนุ่งห่ม อาจกล่าวได้ว่า รถยนต์ คอื ปจั จัยท่ี ๕ ของนกั ธุรกิจ ใจความสาคัญ คือ รถยนต์นับได้ว่าเป็นพาหนะท่ีจาเป็นสาหรับธุรกิจ อาจกล่าวได้ว่ารถยนต์ คือปัจจัย ที่ ๕ ของนกั ธรุ กจิ

104 19004 ๔. อยใู่ นตาแหนง่ กลางย่อหนา้ มรี ายละเอยี ดอยตู่ อนตน้ กับตอนท้าย ตวั อยา่ ง ในปจั จุบนั เรามักจะพบโฆษณาหรือประชาสมั พนั ธใ์ หค้ นด่มื เครือ่ งด่ืมท่เี ปน็ อาหารเสริมอยู่เสมอ ซึ่งมีหลาย ประเภทหลายผลิตภัณฑ์ มีความจาเป็นและไม่จาเป็นต่อร่างกาย เครื่องด่ืมนมก็เป็นเคร่ืองด่ืมอาหารเสริมชนิด หน่งึ ท่มี คี วามจาเปน็ ตอ่ รา่ งกาย เพราะมีส่วนประกอบของแร่ธาตุอาหารหลายอย่าง ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั เกลอื แร่ และวติ ามนิ แร่ธาตุอาหารดังกล่าวนี้จะไปช่วยเสริมสร้างและซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอของร่างกาย มี สว่ นทาให้ร่างกายเจรญิ เตบิ โตแข็งแรงและ มีพลานามยั สมบรู ณ์ยิ่งขน้ึ ใจความสาคัญ คือ เคร่ืองด่ืมนมเป็นเครื่องดมื่ อาหารเสริมชนดิ หนึง่ ทม่ี คี วามจาเป็นต่อร่างกาย วธิ ีค้นหาใจความ ใจความอาจไม่ปรากฏให้เห็นชัดเจน นักเรียนซ่ึงเป็นผู้อ่านต้องอาศัยการสังเกตจึงจะสามารถจับใจความ เร่ืองท่ีอ่านได้ถูกต้อง การสังเกตดังกล่าวต้องอาศัยหลักการคิดขั้นเข้าใจ เพ่ือช่วยให้ผู้อ่านสามารถค้นหาใจความ ของเร่อื งได้ ดังท่ี สุนนั ทา มั่นเศรษฐวทิ ย์ (๒๕๔๗) ไดก้ ล่าวถึงวิธคี น้ หาใจความไวด้ งั น้ี ๑) อ่านช่ือเร่ืองทุกถ้อยคา ทาความเข้าใจความหมายก่อนท่ีจะอ่านเนื้อเรื่อง โดยท่ัวไปชื่อเร่ืองจะให้ แนวทางเก่ยี วกบั เนอ้ื เรอ่ื ง แต่อาจมีบางเรื่องท่ีชื่อเรื่องไม่เก่ียวข้องกับเน้ือเร่ืองเลย ช่ือเร่ืองท่ีอ่านแล้วไม่เข้าใจ ควร ใชพ้ จนานกุ รมเปดิ หาความหมายให้เขา้ ใจกอ่ นอ่านเนื้อเรื่อง ๒) อ่านละเอียดทีละย่อหน้า เม่ืออ่านจบแต่ละย่อหน้าให้หาประโยคสาคัญของย่อหน้า ซ่ึงอาจปรากฏอยู่ ในตอนต้น ตอนกลางหรือตอนท้ายของย่อหน้าตอนใดตอนหน่ึง อาจเป็นประโยคสามัญ ประโยครวมหรือประโยค ซ้อน อยา่ งใดอย่างหนึ่งดว้ ยเช่นกัน ประโยคทเ่ี หลือของเราน่าจะเปน็ ประโยคพลความ ๓) จดบันทกึ ประโยคสาคัญของแตล่ ะยอ่ หนา้ ลงสมุด ส่วนท่เี ปน็ พลความไมต่ อ้ งบันทึก ๔) อ่านละเอียดประโยคสาคัญที่บันทึกไว้โดยเทียบเคียงกับเน้ือเรื่องท่ีอ่านท้ังหมดเพ่ือความแน่ใจว่า ประโยคต่างๆ ทบ่ี นั ทกึ ไว้ เป็นประโยคสาคญั ของแต่ละย่อหน้าอยา่ งแท้จริง ๕) นาประโยคสาคัญท้ังหมดท่ีบันทึกไว้มาเขียนเรียงลาดับให้เป็นใจความ โดยปรับภาษาให้สละสลวย และให้มีความเช่ือมโยงเกีย่ วข้องกนั ๖) อ่านละเอียดใจความท่ีปรับภาษาเพ่ือความถูกต้องชัดเจน พร้อมท้ังตรวจทานความถูกต้องของการ สะกดคา การเวน้ วรรคและหลกั ภาษา

105 19015 ใบงานท่ี ๑ เร่ือง แข่งขนั กันตอบ หน่วยที่ ๒ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่องการอ่านจบั ใจความสาคญั รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนอา่ นเร่ืองต่อไปนี้ แล้วแขง่ ขนั กันตอบปากเปล่า ว่าประโยคใดเปน็ ประโยคใจความสาคญั ขอ้ ที ๑ อริสโตเติล นกั ปรชั ญาชาวกรกี โบราณเคยเข้าใจว่า โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล มีดวงดาวต่างๆ รวมทั้ง ด้วยดวงอาทิตย์โคจรรอบๆ ส่วนสวรรค์อยู่นอกอวกาศ โลกอยู่ด้านล่าง น้าอยู่บนโลก ลมอยู่เหนือน้า และไฟอยู่ เหนือลมอีกทีหนงึ่ ข้อ ๒ รุไรเป็นชายหนุ่มท่ีรักธรรมชาติ ในตอนเช้าตรู่ของทุกวัน เขาจะเข้าป่าเพื่อไปชมธรรมชาติ ฟังเสียงนกร้อง เสียงนา้ ไหลจากนา้ ตก เสยี งลมพัดทาใหใ้ บไมไ้ หว เขาจะนัง่ ชมธรรมชาตอิ ยเู่ ช่นนีต้ ลอดวนั โดยมไิ ดท้ างานใดๆ เลย สนุ นั ทา มั่นเศรษฐวทิ ย์ : รายงานการวจิ ัย ขอ้ ๓ ฮูนากบั บาลานเป็นพีน่ ้องฝาแฝด อาศยั อย่ใู นป่า มีร่างกายแข็งแรงสามารถใช้หอกและธนูเป็นอาวุธ บิดาของ เขาเสียชีวิตต้ังแต่เขายังเล็ก หญิงหม้ายมารดาของเด็กชายฝาแฝดได้เล้ียงดูฮูนากับบาลานด้วยความยากลาบาก ครอบครวั ของเขามชี วี ติ อยดู่ ้วยการอาศัยพืชผักผลไม้จากในป่า ฮูนากับบาลานมีจิตใจไม่เคยทาร้ายสัตว์ ด้วยเหตุน้ี จึงมสี ตั วต์ ่างๆ เป็นเพอ่ื นเล่นจานวนมาก สนุ ันทา มนั่ เศรษฐวทิ ย์ : รายงานการวจิ ัย ข้อ ๔ แมม่ ีนา้ ใจกว้างขวาง จนภายหลังถงึ กับตอ้ งแหวกว่ายสายน้าตาของตัวเอง ชอบช่วยเหลือผู้อ่ืน รักญาติพ่ีน้อง ญาติคนใดเกิดขดั สนจนยากแม้จะเกิดจากความสมัครใจ ดาเนินตนในทางที่ผิดท่ีเห็นชัดๆ จนถึงกับคุณตา คุณยาย จะไว้ในประเภทผู้เป็นภัยสาหรับตระกูล วางอุเบกขาไม่ยอมยุ่งเกี่ยว พวกนี้มักจะหลบเล่ียงคุณตาคุณยาย เข้ามา พบปะแม่แล้วก็ไม่ผิดหวงั แพร เยอ่ื ไม้ : แม่ ขอ้ ๕ แมจ่ ากไปเม่อื ฉันเป็นเณรได้สองพรรษา ฉันคิดว่าความตายกรุณาแม่ช่วยปลดเปลื้องความทุกข์ทรมานให้แม่ แต่ฉันก็ต้องร้องไห้ ฉันร้องไห้อย่างมากมายพยายามระงับดับปลงอย่างไรก็ไม่ไหว พลอยให้ญาติหญิงคนหน่ึง สะอื้นไห้ และเผลอตวั เขา้ มาโอบประคอง ฉันร้องไหด้ ว้ ยคิดว่า ต่อแต่น้ีฉันจะต้องอยู่เพียงลาพัง หรือไม่ก็ถูกทอดท้ิง ให้อยกู่ ับคนแปลกหน้าไปชั่วชวี ติ แพร เยือ่ ไม้ : แม่ ขอ้ ๖ ตอนกลางคนื หน้าร้อนที่ตน้ ลาพมู ีหงิ่ ห้อยบินวนอยู่เตม็ ทุกตน้ หง่ิ ห้อยนี้เป็นแมลงเลก็ ๆ ทม่ี แี สงในตัวเอง เวลา มนั บนิ แลดู วบิ แว็บ วิบแวบ็ สวยมาก บรเิ วณอ่ืนมดื หมด ยกเว้นต้นลาพูที่มีหิ่งห้อยส่องแสงสว่างอยู่ระยิบระยับเรา กับงานวัดเฉลิม สวยน่าดูมาก โดยเฉพาะในเวลากลางคนื ขา้ งแรมทม่ี เี ดือนมดื ตน้ ลาพจู ะสว่างดีมาก ทพิ ยว์ าณี สนิทวงศ์ฯ : เมื่อคุณตาคณุ ยายยังเด็ก

106 19026 ข้อ ๗ พอ่ แมค่ ือผู้ทเี่ ราควรเคารพกราบไหว้ ทีน้ีเรามาวัดน้ีเรามาฉลองกันเสียทีให้รู้ว่าของดีของถูก แท้ท่ีจริงน้ันมัน อยู่ท่ีไหน คือใคร พ่อแม่เราน้ันแหละเป็นอะไรทุกอย่างให้เรา เป็นพระของเราเป็นเทวดาของเรา เป็นพระพรหม ของเรา เป็นครคู นแรกของเรา เปน็ ผู้ทีเ่ ราควรเคารพกราบไหว้บูชาสักการะทกุ ค่าเชา้ เขา้ นอน พระเทพวิสุทธิเมธี (ปญั ญานนั ทภิกข)ุ บุพการี กตญั ญูกตเวที ขอ้ ๘ ขวญั เปน็ ส่งิ ที่ไมม่ ตี ัวตน คนไทยเชอื่ กนั ว่าขวญั อยกู่ บั ตวั กเ็ ป็นสิริมงคล สุขสบาย จิตใจม่ันคง ประเพณีการทา ขวัญข้าวจึงสืบทอดกันมาในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทย ดังปรากฏให้เห็นอยู่เสมอ เช่นพิธีทาขวัญนาค พิธีทาขวัญ เรอื น พธิ เี รียกขวญั คบู่ ่าวสาว เพลงกลอ่ มเดก็ เรียกขวญั ข้อ ๙ ที่โรงเรียนฝรั่งแม่ชอบเรียนภาษาไทยมาก เพราะได้เรียนหนังสือดรุณศึกษา ที่ยกสุภาษิตหรือคาพังเพยมา สอนตอนท้ายบททุกบท และมีทายอะไรเอ่ยด้วย ท่ีแม่ชอบอีกอย่างหน่ึงคือ ภาษาอังกฤษ ครูให้นักเรียนท่องศัพท์ เป็นการบ้านทุกวัน วันละ ๑๐-๑๕ คา เพราะตอนเช้าก็ให้นักเรียนไปยืนท่องศัพท์ให้ฟังที่โต๊ะครู ใครท่องผิดก็ต้อง แบมือให้ครูตเี ผี๊ยะๆ ๓ ที แตแ่ มไ่ ม่เคยโดนตี หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนรู้พนื้ ฐาน : ววิ ิธภาษา ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ข้อ ๑๐ ความเสยี สละเป็นการเสยี อย่างเดยี วทีม่ ีคุณคา่ และไมเ่ สียหาย แตเ่ ปน็ การเสยี ทม่ี คี ณุ ประโยชน์ความดีอยู่ใน ตัวและมีผลดีเม่ือปฏิบัติเป็นเหตุให้บุคคลมีน้าใจช่วยเหลือกันและกัน เป็นเหตุให้บุคคลพูดจากันด้วยไมตรีใฝ่ ประโยชน์แก่กันและกัน และเป็นเหตุให้บุคคลไม่ถือยศถืออย่าง ด้วยความมานะถือตัวจัดสามารถลดความเห็นแก่ ตัวลงไดค้ วามเสียสละจึงมคี ณุ ค่าตอ่ สงั คมมาก พระราชวิสุทธโิ มลี

107 19037 ใบงานท่ี ๒ เรอื่ ง ทา่ นมองตัวเองอย่างไร หน่วยท่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๒ เรอ่ื งการอ่านจับใจความสาคัญ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ คาช้ีแจง จงอา่ นเรือ่ ง “ท่านมองตัวเองอยา่ งไร” แล้วตอบคาถามในกรอบข้างล่าง ทา่ นมองตัวเองอย่างไร สาวชาวไต้หวันผู้หน่ึง เป็นโรคสมองพิการแต่กาเนิด (cerebral palsy) ไม่สามารถเคลื่อนไหวตามปรกติ และพดู จาไม่ได้ แตด่ ้วยความมุ่งม่ันและศรัทธาเธอสามารถเรียนจบปริญญาเอกจากสหรัฐฯ แล้วแสดงทัศนคติของ เธอในทตี่ า่ งๆ เพือ่ ให้กาลังใจและช่วยเหลอื ผู้อืน่ คร้ังหนึ่ง เธอรับเชญิ ไปบรรยายดว้ ยการเขยี น (เธอพดู ไมไ่ ด้ต้องใชว้ ธิ เี ขยี น) หลังบรรยายเสรจ็ มีนักเรยี น คนหน่งึ ตง้ั คาถามวา่ “ท่านอยู่ในสภาพน้โี ดยกาเนดิ แล้วท่านไม่รู้สกึ น้อยใจหรือท่านมองตวั เองอยา่ งไร” คาถามอนั ละเอียดอ่อนนี้ สร้าง ความตะลึงแกท่ ี่ประชมุ ไม่น้อย ตา่ งเกรงว่าคาถามนจี้ ะทมิ่ แทงจิตใจของเธอ ปรากฏวา่ เธอหนั หน้าไปยังแผ่กระดาน เขยี นตัวหนังสอื อย่างไมส่ ะทกสะท้านว่า “ฉนั มองดตู ัวเองอยา่ งไร” เธอหันหนา้ ย้ิมใหผ้ ้รู ่วมประชุม แลว้ เขียน ๑. ฉนั น่ารักมาก ๒. ขาฉนั เรยี วยาวสวยดี ๓. คณุ พอ่ คณุ แมร่ กั ฉนั จัง ๔. พระเจา้ ประทานรกั แก่ฉัน ๕. ฉนั วาดภาพได้ ฉันแตง่ หนงั สอื ได้ ๖. ฉนั มีแมวที่นา่ รกั และ….ขณะนั้น ที่ประชุมเงียบกริบ ไม่มีเสียงพูดจาใดๆ เธอหันกลับมามองดูทุกคน แล้วเขียนคาสรุปบนแผ่น กระดานว่า “ฉันมองแต่ส่ิงที่ฉันมี ไม่มองสิ่งที่ฉันขาด” หลังจากนั้นไม่ก่ีวินาที เสียงปรบมือดังสนั่นในที่ประชุม พร้อมทั้งน้าตาท่ีสะเทือนใจจากหลายๆ คน ณ วันน้ัน ทัศนคติเชิงสุขนิยม และบทพิสูจน์ของเธอเพิ่มกาลังใจแก่ ผู้คนมากมาย ผู้เป็นโรคสมองพิการผู้น้ีคือ น.ส. หวางเหม่ยเหลียน ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตจาก UCLA ผู้เคยจัด นิทรรศการภาพเขียนส่วนตัวหลายครั้งในไต้หวัน “ฉันมองแต่ส่ิงท่ีฉันมี ไม่มองส่ิงท่ีฉันขาด” ฉันชอบทัศนคติต่อ ชวี ิตแบบนี้ ซึ่งถูกหลักสุขภาพจิตและสบายใจดว้ ย ความสขุ ไมไ่ ดอ้ ย่ทู คี่ ุณครอบครองส่ิงใดมากแค่ไหน แต่อยู่ท่ีคุณมี ทศั นคตอิ ยา่ งไรในการมองสงิ่ ตา่ งๆ ใจความสาคัญท่ีไดจ้ ากบทอา่ น คอื ............................................................................................................................. นกั เรยี นสามารถนาใจความสาคญั ท่ีได้น้ไี ปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั อย่างไร ระบุ มา ๒ ข้อ ๑................................................................................................................................................................................ ๒............................................................................................................................ ....................................................

108 19048 เฉลยใบงานที่ ๑ เร่อื ง แข่งขันกันตอบ หนว่ ยที่ ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒ เรือ่ งการอา่ นจบั ใจความสาคัญ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ข้อ ๑ อรสิ โตเติล นกั ปรชั ญาชาวกรีกเคยเข้าใจวา่ โลกเปน็ ศูนย์กลางของจักรวาล ข้อ ๒ รไุ รเปน็ ชายหนุม่ ทร่ี ักธรรมชาติ ขอ้ ๓ มารดาของฮนู าและฮาลานเลี้ยงดทู งั้ สองด้วยความยากลาบาก ขอ้ ๔ แม่มีน้าใจกวา้ งขวาง จนภายหลังตอ้ งเสยี ใจ เสียนา้ ตา ขอ้ ๕ แมจ่ ากเณรไปตัง้ แตเ่ ณรได้สองพรรษา ขอ้ ๖ ห่งิ หอ้ ยเป็นแมลงตัวเล็กๆ ท่มี แี สงสว่างในตัวเอง ขอ้ ๗ พ่อแม่คือผทู้ ่ีเราต้องเคารพกราบไหว้ ข้อ ๘ ขวญั เปน็ สิง่ ท่ีไมม่ ีตวั ตน ข้อ ๙ ท่โี รงเรียนฝร่ัง แม่ชอบเรยี นภาษาไทย และภาษาองั กฤษ ขอ้ ๑๐ ความเสียสละมีคุณคา่ ต่อสงั คมมาก เฉลยใบงานที่ ๒ เรื่อง ทา่ นมองตัวเองอย่างไร หน่วยท่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื งการอา่ นจับใจความสาคัญ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ใจความสาคญั ท่ีได้จากบทอา่ น คือ จงมองแตส่ ง่ิ ท่ีมอี ย่ามองสง่ิ ขาด / ความสขุ ไมไ่ ด้อยู่ที่คณุ ครอบครองส่ิงใดมาก แคไ่ หน แตอ่ ยู่ท่ีคณุ มีทัศนคติอยา่ งไรในการมองสง่ิ ต่างๆ นักเรียนสามารถนาใจความสาคัญท่ีได้นไ้ี ปใช้ในชวี ิตประจาวนั อยา่ งไร ระบุ มา ๒ ขอ้ ๑. เป็นข้อคิดเตอื นใจไม่ใหเ้ ราเลียนแบบใคร หรอื อยากมอี ยากเปน็ อย่างคนอืน่ พอใจในส่งิ ท่ีตนมี ตนเปน็ ๒. มมี มุ มองชวี ิตเป็นบวก ใชส้ ิ่งท่มี ีส่ิงท่เี ปน็ อยา่ งเห็นคณุ ค่า มีชีวิตอยา่ งพอเพยี ง ไมเ่ รียกร้อง โวยวาย (อยู่ในดุลยพนิ ิจของครู ให้คาตอบสัมพนั ธก์ ับใจความที่ไดจ้ ากการอา่ น)

109 19059 แบบทดสอบ เรอื่ ง การอา่ นจับใจความสาคัญ หนว่ ยที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่อื งการอา่ นจับใจความสาคญั รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ จงอ่านเรอื่ งตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคาถามขอ้ ๑-๑๐ การเล่นจาโต การเล่นจาโต คือ การเล่นหมากรุก ซึ่งมีมาต้ังแต่สมัยพระเจ้าชิยงท่ีปกครองเมืองบันนังชาเร็ง ปัจจุบันนี้ เป็นชื่อตาบลหนง่ึ อย่ใู นอาเภอเมือง จังหวัดยะลา พระเจา้ ชิยงเป็นพระราชาท่ีมีหน้าตาคลา้ ยหนมุ าน คือมีเขีย้ วและมหี างเร่อื งราวของพระองค์ มดี งั น้ี พระราชาองค์หนึ่งครองเมืองบังนังชาเร็ง พระองค์มีธิดาโฉมงามองค์หน่ึง เม่ือถึงวัยที่จะมีคู่ พระองค์จึง ประกาศวา่ ผทู้ ขี่ ้นึ ตน้ ชาเร็งไดส้ ูงสุดจะได้ครองเมืองบันนังชาเร็งและได้แต่งานกับนาง ต้นชาเร็งมีลักษณะคล้ายกับ ตน้ ตาลแตส่ ูงมาก ชายหนุ่มจานวนมากต่างอาสาข้ึนต้นชาเร็งแต่ก็ไม่สามารถข้ึนไปถึงยอดได้ จนกระท้ังถึงชายคนสุดท้ายที่ อาสา เขามีหนา้ ตาหนา้ เกลียดมีเข้ยี วและมีหาง พระราชาอนุญาตเพราะคิดว่าคงไม่สามารถจะข้ึนไปถึงยอดของต้น ชาเรง็ ได้ แต่ปรากกฏฏววา่ ่าชชาายยคคนนนนี้ขข้ี ้นึ น้ึ ไไปปถถงึ ึงพพรระะอองงคค์จ์จงึ จงึ จาำ�ตตอ้ อ้งยงยกกธิดธดิาแาแลลเมเมืออืงบงบันนั นังชงั าชเารเ็งรใ็งหให้คร้คอรบอบครคอรงองคือคอื พพระรเะจเ้าจชา้ ิ ยชงิยนงน้ั น้ัเอเองง พระเจา้ ชยิ งสรา้ งที่ประทับไว้สูงมากเพราะไม่ต้องการให้ผู้ใดเห็นหน้า ส่ิงท่ีพระองค์ โปรดปรานคือการกิน ตับและเนอ้ื มนุษย์ ซ่ึงอาจชว่ ยให้ร่างกายแข็งแรง ทหารต้องนามาถวายวันละ 1 คน จนกระทั้งราษฎรในเมืองเหลือ นอ้ ยลงทุกวนั มนตรีเป็นนามของอามาตย์ท่ีฉลาดท่ีสุดของเมืองน้ัน เขาคิดหาทางที่จะทาให้พระเจ้าชิยงหยุดกินเน้ือ มนุษย์ ได้วางแผนให้มีการแข่งขันการเล่นจาโตต่อหน้าพระเจ้าชิยง ซึ่งฝ่ายตรงข้ามมาจากเมืองอ่ืน การเล่นจาโต ระหวา่ งอามาตยม์ นตรกี ับฝ่ายตรงข้ามดาเนินไปอย่างเคร่งเครียด จนกระทั้งปรากฏว่า อามาตย์เหลือ “ขุน” เพียง ตัวเดยี ว “ขุน” ในความหมายนี้ แปลว่า “พระราชา” ในที่สุดอามาตย์มนตรีจนมุมไม่สามารถเดินต่อไปได้และพ่าย แพต้ อ่ ฝา่ ยตรงขา้ ม พระเจ้าชิยงจึงได้คิดว่า “ถ้าเรากินราษฎรหมดแล้ว จะสู้รบกับข้าศึกอย่างไร” ต้ังแต่น้ันมาพระ เจา้ ชิยงก็รกั ราษฎรและปกครองให้อยู่อย่างมีความสุข พระองค์ได้ให้รางวัลแก่อามาตย์มนตรีและฝ่ายตรงข้ามท่ีทา ใหพ้ ระองคค์ ดิ ได้ กีฬาจาโตจึงเป็นที่รู้จักอยา่ งกวา้ งขวางตงั้ แต่นนั้ เป็นต้นมา สนุ ันทา ม่ันเศรษฐวิทย์ : รายงานการวิจัยฯ

110 19160 คาส่ัง เขยี นกากบาท (X) ทบั บนตัวอกั ษรที่ตรงกบั ข้อถูกที่สดุ ในกระดาษคาตอบ ๑. จาโตคอื การเล่นกีฬาประเภทใด (รู้-จา) ก. หมากเกบ็ ข. หมากแยก ค. หมากฮอส ง. หมากรุก ๒. ข้อใดตรงกับข้อสรปุ ของเร่ืองน้ี (เข้าใจ) ก. ความพา่ ยแพ้การเล่นจาโตของอามาตย์มนตรีเป็นเหตุให้พระเจ้าชิยงเลิกกินมนุษย์ ข. พระเจา้ ชิยงกินเน้ือและตับของมนุษย์ เพอื่ ช่วยใหร้ ่างกายแข็งแรง ค. จาโตเปน็ กีฬาทนี่ ิยมเลน่ ในช้นั สูงมากกว่าจะเล่นกนั ในหม่ชู นทวั่ ไป ง. พระเจ้าชยิ งโปรดปรานการเล่นจาโตเทา่ กับการกินมนุษย์ ๓. พระเจ้าชิยงมลี กั ษะพิเศษท่แี ตกต่างจากมนุษยท์ ่ัวไปอย่างไร (เข้าใจ) ก. มเี ขยี้ วและหาง ข. มีหน้าตาน่าเกลียด ค. มีเขีย้ ว หาง และหน้าตานา่ เกลยี ด ง. มอี วัยวะขา แขน พิกลพิการ ๔. อะไรทนี่ ักเรียนไดจ้ ากเร่ืองน้ีและคดิ ว่าจะนาไปใช้ประโยชน์ไดใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ (นาไปใช)้ ก. การรจู้ ักเลอื กรบั ประทานอาหารท่ีอร่อย ข. การร้จู กั ใหค้ วามเมตตาและชว่ ยเหลอื ผู้อื่น ค. การรูจ้ ักเลอื กเล่นกีฬาทีเ่ หมาะสมกบั ความสามารถของตน ง. การบริหารร่างกายใหแ้ ข็งแรง ๕. การเสนอเรื่องนผี้ ู้เขยี นมีจุดมุ่งหมายใหผ้ ู้อ่านเข้าใจในเรื่องใดมากที่สุด (เข้าใจ) ก. ประวัติของพระเจ้าชิยง ข. ท่ีมาของการเล่นจาโต ค. วธิ เี ลน่ จาโต ง. ประเภทของจาโต ๖. ในการเล่นจาโต ตวั “ขุน” มีความสาคญั เกี่ยวข้องกบั ผูใ้ ด (เข้าใจ) ก. ขุนพลทน่ี าหนา้ กองทัพในการออกศึก ข. อามาตย์ที่มีสติปญั ญา เฉลียวฉลาด ค. พระราชาท่ีปกครองบา้ นเมือง ง. ผกู้ ลา้ หาญทช่ี ่วยเหลอื ผทู้ าความดี ๗. พระเจา้ ชยิ งมีลักษณะที่ดใี นข้อใด (วเิ คราะห)์ ก. มีน้าใจนักกีฬา ข. มรี ่างกายแขง็ แรง ค. บริจาคส่ิงของ ง. ชอบอยู่ในทสี่ งู

111 19171 ๘. อะไรท่ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ พระเจ้าชิยงมสี ตปิ ญั ญาเฉลยี วฉลาด (วิเคราะห์) ก. เอาชนะคูต่ อ่ สู้ทีแ่ ข็งแรงที่สุดในการแข่งขนั กีฬา ข. ต่อสกู้ ับข้าศึกจานวนมากจนได้รบั ชัยชนะ ค. การคดั เลอื กอามาตยท์ ่ฉี ลาดที่สดุ ในเมือง ง. การเข้าใจความหมายของตัวขุนทีอ่ ามาตยม์ นตรเี หลืออยเู่ พียงตัวเดียว ๙. วรรณคดีไทยเรอ่ื งใดทีใ่ ช้การแพช้ นะของกฬี ามาตดั สนิ ชะตากรรมของบา้ นเมืองคล้ายกบั เรอื่ งการเลน่ จาโต (สงั เคราะห์) ก. รามเกยี รติ์ ข. สงั ข์ทอง ค. ขนุ ช้าง ขุนแผน ง. พระอภัยมณี ๑๐. เมื่ออา่ นเร่ืองนแี้ ลว้ นักเรียนคิดวา่ อะไรท่ีเปน็ จริงตลอดไป (ประเมนิ ค่า) ก. การเลน่ จาโตมีอยทู่ ัว่ ไปทง้ั ในและต่างประเทศ ข. บนั นงั ซาเรง็ เปน็ เมอื งสาคัญของไทยในปัจจบุ ัน ค. ตบั เดก็ ยงั เปน็ อาหารทวี่ เิ ศษสาหรับคนบางกลมุ่ ง. ชาเร็งหรอื ตน้ ตาลมเี ฉพาะภาคใตเ้ ท่านัน้ เฉลย ๑. ง ๒. ก ๓. ค ๔. ข ๕. ข ๖. ค ๗. ก ๘. ง ๙. ข ๑๐. ก

112 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ หนว่ ยการเรยี นรู้ ๒ เรอื่ ง พิถีพิถนั สรา้ งสรรคค์ วามคิด เรือ่ ง คณุ คา่ วรรณกรรม เวลา ๑ ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเน้อื หา กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ การอ่านเร่ืองต่างๆ นอกจากจับใจความสาคัญได้ เข้าใจ ขั้นนา ๑. ใบงานที่ ๑ เร่อื ง สองพี่นอ้ ง เน้ือเร่ืองท่ีอ่านแล้ว การพัฒนาการอ่านให้ถึงขั้นการวิเคราะห์ ๑. ครสู นทนากบั นกั เรยี นเก่ียวกับการอ่าน ให้นักเรียนระบุช่ือ ๒. ใบงานที่ ๒ เรื่อง โคลงกลอน วิจารณ์ และประเมินเร่ืองท่ีอ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบ วรรณคดีและวรรณกรรมทเี่ คยอา่ นหรือทีร่ ู้จกั สอนใจ เพื่อให้ผู้อ่าน เข้าใจได้ดีขึ้น สามารถวิจารณ์ความสมเหตุสมผล ๒. ร่วมกันอภิปรายว่าการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมมี ๒. แบบทดสอบ เร่อื งการวิจารณ์และ การลาดับความ และความเป็นไปได้ของเรื่อง สามารถตีความ ประโยชน์ในชวี ิตประจาวันอยา่ งไร ประเมินค่าวรรณคดี และประเมินคุณค่า และบอกแนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่าง ขั้นสอน หลากหลายเพื่อ นาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต จะช่วยให้นักเรียนมี ๑. ครูหยิบยกชื่อวรรณคดีวรรณกรรมที่ได้จากการพูดคุยกับ ทักษะการอ่านข้ันสูงและนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน นักเรียน และให้นักเรียนจาแนกว่า เร่ืองใดเป็นวรรณคดี เรื่อง ภาระงาน ชีวติ ประจาวันไดม้ ากขึน้ ใดเป็นวรรณกรรม ( พระอภัยมณี ขนุ ช้างขุนแผน รามเกียรติ์ วิเคราะห์คุณคา่ วรรณกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ ชาวฮาเยน็ เฮ มหัศจรรย์แหง่ มะละกอ ฯลฯ ) ตอบปากเปลา่ ) ด้านความรู้ ๒. ครูตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบ พร้อมให้นักเรียน อธิบายหลักการวิเคราะห์ วิจารณ์และประเมินเรื่องท่ีอ่านได้ อธิบายความแตกต่างของวรรณคดีวรรณกรรม (แนะนาให้ อย่างสมเหตุสมผล ตคี วามและประเมนิ คณุ คา่ จากเร่ืองท่ีอ่านได้ ศึกษาใบความรู้เร่ืองหลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณกรรม ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ วรรณคดี วิเคราะห์วจิ ารณว์ รรณกรรมวรรณคดีไดต้ ามหลกั การ ๓. ครสู ่มุ ถามถึงสาระทไ่ี ดจ้ ากใบความรู้ ดงั น้ี ด้านคุณลกั ษณะ - วเิ คราะหว์ ิจารณ์ หมายความวา่ อย่างไร รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ - หลกั การวิเคราะห์วจิ ารณ์วรรณกรรมวรรณคดีมีอะไรบา้ ง รักความเป็นไทย - คุณคา่ วรรณคดวี รรณกรรมคือคณุ คา่ ด้านใดบ้าง - คณุ ค่าทางวรรณศลิ ป์ หมายความว่าอย่างไร - นักเรียนต้องมีความรู้เร่ืองใดจึงจะวิเคราะห์วิจารณ์คุณค่า ทางวรรณศิลปไ์ ด้ - การเขา้ ใจความรู้สกึ ตวั ละครเป็นประโยชนอ์ ยา่ งไร 19182

หน่วยการเรียนรู้ ๒ เร่ือง พถิ ีพิถันสร้างสรรค์ความคิด แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๓ 113 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรอ่ื ง คุณคา่ วรรณกรรม เวลา ๑ ชวั่ โมง รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๔. ใหน้ ักเรียนทาใบงานท๑ี่ เรอ่ื ง “สองพี่น้อง” และใบงานที่ ๒ เร่ือง “โคลงกลอนสอนใจ” เพื่อฝึกวิเคราะห์วิจารณ์ วรรณกรรม ๕. มอบหมายให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี โดย ให้เลือกวรรณคดีจากหนังสือเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ได้แก่ บทละครพูดเห็นแก่ลูก อิศรญาณภาษิต พระอภัยมณีตอนหนี นางผีเส้อื สมุทร พระบรมราโชวาท และบทพากย์เอราวัณ หรือ เร่ืองอ่ืนๆ ที่นักเรียนช่ืนชอบโดยให้อ่านบทวิเคราะห์ต้นเร่ือง เป็นแนวทางในการวเิ คราะหข์ องนกั เรียน ข้นั สรุป ๑. นักเรียนและครูสรุปร่วมกันถึงการวิเคราะห์ วิจารณ์และ ประเมินคุณค่าจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม การ นการไปนใ�ำชไป้ในใชใ้วี นิตชปวี ริตะปจราะวจนั �ำใวหนั เ้ ใกหดิ ้เปกดิระปโรยะชโนยช์ น์ ๒. นักเรียนทาแบบทดสอบเร่ืองการวิเคราะห์ วิจารณ์และ การประเมินคุณคา่ วรรณคดี 113 99

การวดั ผลและการประเมินผล 114110104 เกณฑ์ ด้านความรู้ ส่งิ ที่ประเมิน วิธกี าร เคร่อื งมือ ผา่ นรอ้ ยละ ๘๐ แบบทดสอบ อธบิ ายหลกั การวเิ คราะห์ วิจารณ์ ตรวจแบบทดสอบ ผา่ นรอ้ ยละ ๘๐ และประเมินเร่อื งท่ีอ่านได้อย่าง ใบงาน ระดับคุณภาพ ๒ สมเหตสุ มผล และตีความและ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ คุณคา่ จากเร่ืองที่อา่ นได้ คณุ ลกั ษณะ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ วเิวคิ เรคาะรหาว์ ะจิ าหร์ วณิ จ์วรารรณณก์รวรรมร ณ ก ร ร ม ตรวจใบงาน วรรณคดไี ด้ตามหลกั การ ดา้ นคณุ ลักษณะ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สงั เกตพฤตกิ รรม รักความเป็นไทย ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ............................................. ปัญหาและอุปสรรค .......................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ..................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ......................................................ผูส้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...................................................... ผูต้ รวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

115 110115 ใบความรู้ เรอ่ื ง หลักการวิเคราะห์วจิ ารณ์วรรณคดีวรรณกรรม หนว่ ยที่ ๒ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรอื่ งคุณคา่ วรรณคดี รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ความหมายของวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมหมายถึง งานหนังสือ ทุกชนิด ทุกรูปแบบ เช่น ข่าว บทความ บทกวี บทเพลง นวนิยาย เรื่องส้นั สารคดี ปาฐกถา เทศนา คาปราศรัย สุนทรพจน์ ส่ิงพิมพ์ ฯลฯ ส่วนวรรณคดีใช้ในความหมายเจาะจงว่า เป็นงานประพันธ์ในสมยั ก่อน ทม่ี คี ณุ ค่า มีผยู้ กยอ่ ง ความหมายของวเิ คราะหว์ ิจารณ์ วิเคราะห์ หมายถึง จาแนกแยกแยะออกเปน็ ส่วนๆ ส่วนวิจารณ์ หมายถึง ตชิ ม,ใใหห้ค้ค�ำาตตัดดั สสนิ นิ วว่าา่มมขี ีขอ้ ้อดดี ี ขอ้ เสีย มคี ุณค่ามีความงาม มีความไพเราะอย่างไรบ้าง โดยใชห้ ลักวชิ ามาสนบั สนุนการวิจารณ์ หลกั การวเิ คราะห์วจิ ารณว์ รรณคดี ๑.วเิ คราะห์รปู แบบ คือพจิ ารณาว่า วรรณกรรมวรรณคดีน้ันๆ เปน็ รอ้ ยแก้ว (ข่าว บทความ สารคดี เรอ่ื งสัน้ บท ลบะทคลระ)ครห)รหือรรือ้อรยอ้ กยรกอรงอง(โค(โลคงลงฉนัฉนัทท์ ก์ กาพาพยย์ ์ กกลลออนนร่ารย่า)ย ) ๒. วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของเรอ่ื ง ไดแ้ ก่ - โครงเรื่อง คอื เคา้ โครงเร่อื งท่ีแสดงปมปญั หาของเรอ่ื ง เช่น รามเกียรติ์ มโี ครงเรื่องท่ีเก่ียวกับความขดั แยง้ ระหว่างมนษุ ย์ซ่ึงเปน็ ตัวแทนของฝ่ายธรรมะกบั ฝา่ ยยักษ์ซึ่งเป็นตัวแทนของฝา่ ยอธรรม หรอื ขุนชา้ งขนุ แผน มีโครง เรือ่ งเกีย่ วกับวิถีชีวติ ครอบครวั ของสามญั ชนท่ีมปี มปญั หา ๑ หญิง ๒ ชายในรนุ่ พอ่ รุน่ แม่ และ ๑ ชาย ๒ หญิงในรุ่น ลกู เป็นตน้ - ตวั ละคร คอื ผู้มีบทบาทในเรื่อง อาจเป็น สตั ว์ มนุษย์ อมนุษย์ เทวดา นางฟา้ โดยวเิ คราะห์ถึงลักษณะนสิ ยั บุคลิกภาพ ความสมจริงความเป็นเหตเุ ปน็ ผลของบทบาทพฤติกรรม - ฉาก คอื สถานที่ เวลา บรรยากาศ สิ่งแวดล้อมตัวละครท่ีเกดิ ขึน้ ในเร่อื งนัน้ ๆ - การใช้ภาษา ความสวยงามไพเราะของการใชภ้ าษา งานวรรณคดที ี่นักเรยี นศกึ ษา นักเรยี นจะต้องใช้ความรเู้ รื่อง การเลน่ เสยี ง เล่นคา การใช้โวหารภาพพจน์ การใชภ้ าษาจินตภาพ มาเปน็ หลกั ในการวเิ คราะหค์ วามงามของภาษา ๓. วเิ คราะห์คุณคา่ ท่ไี ด้รบั ได้แก่ - คณุ คา่ ทางอารมณ์ คือ จาแนกแยกแยะอารมณข์ องตัวละคร และหรืออารมณ์ของตัวผู้อา่ นเอง - คณุ ค่าทางวรรณศิลป์ คือ เหน็ ความงามของการใช้ภาษา สามารถระบุแสดงให้เห็นได้ว่ามกี ารใช้ภาษาที่งดงาม อย่างไร - คณุ ค่าทางสังคมวฒั นธรรม คือ อธิบายไดว้ า่ วรรณคดีวรรณกรรมนั้นๆ สะท้อนความเป็นไปของสงั คม ท้งั ด้าน ความเป็นอยู่ ความเช่อื ค่านิยม การแต่งกาย อาหารการกนิ ฯลฯ น่ันคือแสดงวิถชี ีวติ ของสงั คมในท้องเร่ืองอย่างไร - คณุ ค่าทางสติปัญญา คอื ไดแ้ ง่คดิ คติธรรม คาสอน อยา่ งไร จากเร่ืองที่อ่าน เมอื่ วเิ คราะหต์ ามหลักการดังกลา่ วน้แี ล้ว ยอ่ มนาไปสู่การพจิ ารณาตัดสินหรือวิจารณ์ว่า วรรณคดีวรรณกรรมท่ี อา่ นนั้นๆ มีข้อติชมอยา่ งไรไดบ้ ้าง มีคุณค่าอย่างไร มหี ลักการใดมาสนบั สนุนการวิเคราะหน์ ้ัน คุณค่าทไี่ ด้น้ันเป็น ประโยชนต์ ่อการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั อยา่ งไร เป็นตน้ หมายเหตุ ข้อความรูท้ นี่ ักเรียนพงึ ทบทวน คือ เรอ่ื งของการเล่นเสยี ง เลน่ คา การใช้โวหารภาพพจน์

116 110126 ใบงานท่ี ๑ เร่ืองสองพ่ีนอ้ ง หนว่ ยที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอ่ื งคณุ คา่ วรรณกรรม รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ จงอา่ นเรอื่ งตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคาถามตามที่กาหนด นิทานเร่ือง “สองพีน่ ้อง” ครอบครัวชาวนาครอบครัวหนึ่งมีลูกชายสองคน ทั้งสองเป็นพี่น้องที่รักกันมาก จนกระท่ังพ่อแม่แก่เฒ่าและ สน้ิ อายุไขไป สองพ่ีน้องจึงแยกย้ายกันไปสร้างครอบครัวของตนเอง แต่ก็ยังปลูกบ้านอยู่ในหมู่บ้านเดียวกัน และไปมา หาสู่อย่างรกั ใครอ่ ยู่เสมอ สองพ่ีน้องยังคงยึดอาชีพชาวนาปลูกข้าวเล้ียงชีพเช่นเดียวกับพ่อแม่ และใช้ชีวิตครอบครัวอย่างสันโดษ พอเพียง แมจ้ ะไม่ไดม้ ีเงนิ ทองรา่ รวยอะไร แตก่ ็มีความสุขตามอัตภาพ มิไดล้ าบากยากแคน้ อะไรนกั อยู่มาปีหน่ึง ชาวนาคนพ่ีทานาได้ข้าวมากกว่าทุกๆ ปี จึงมีใจคิดถึงเผื่อแผ่ไปถึงน้องชาย เขากล่าวกับภรรยา ของตนในเยน็ วนั หน่งึ วา่ “เธอจะวา่ อย่างไร หากฉันจะเอาข้าวทเ่ี ราเกบ็ เก่ยี วไดใ้ นปีนไี้ ปแบ่งใหน้ ้องชายของฉันบ้าง” “ทาไมหรือจะ๊ นาของนอ้ งชายเธอไดข้ า้ วไม่ดีนักหรอื ” ภรรยาของชาวนาผูพ้ ี่เอย่ ถาม “เปล่าหรอกจ๊ะ นาของน้องชายฉันก็ได้ข้าวรวงสวยดีไม่แพ้ของเราหรอก แต่ฉันเห็นว่าครอบครัวของเขามี หลายปากหลายทอ้ งใหต้ อ้ งเลี้ยงดู ท้งั ตัวเขา เมยี เขาและลกู เลก็ ๆ อกี หลายคน ส่วนเรานน้ั มีกันแคส่ องคนผัวเมีย ซ่ึงฉัน คดิ ว่าแค่ข้าวเพียงไม่ก่กี ระสอบก็น่าจะทาใหเ้ ราสองคนอ่ิมท้องไปจนถงึ ปหี น้าไดแ้ ล้ว” ชาวนาผพู้ ีก่ ลา่ วแกภ่ รรยา “อมื ! ฉนั เหน็ ด้วยจ๊ะ น้องชายของเธอก็มีน้าใจกับเราสองคนเสมอมา เมื่อมีพืชผักผลไม้ดีๆ เกิดข้ึนในไร่นาเขา เขาก็นามาใหเ้ ราทกุ ครง้ั เมือ่ ข้าวของเรามีมากจนเหลอื กนิ เธอกจ็ ดั แบง่ ไปใหค้ รอบครวั ของน้องชายเธอบ้างเถิดจะ๊ ” เมื่อภรรยาสนับสนุนเป็นอย่างดีเช่นนั้น ชาวนาผู้พี่ก็จัดการบรรจุข้าวลงกระสอบขนาดใหญ่ แล้วรอจนมืดค่า จึงค่อยแบกกระสอบนั้นไปยังบ้านของน้องชาย และท้ิงกระสอบข้าวไว้นอกประตูบ้านอย่างเงียบเชียบ ที่ต้องทา เช่นน้ัน เพราะชาวนาผู้พ่ีเกรงว่า ถ้าเอาไปให้ตอนกลางวันและน้องชายรู้ น้องชายอาจจะปฏิเสธข้าวของเขาเพราะ ความเกรงใจก็เป็นได้ วันรุ่งขึ้น เมื่อชาวนาผู้พ่ีไปนับกระสอบข้าวที่เหลืออยู่ในยุ้งข้าวก็ต้องประหลาดใจ เพราะปรากฏว่า กระสอบ ขา้ วท้ังหมดยงั มีจานวนเท่าเดิม “เอ! เม่ือคืนเรานาข้าวไปให้น้องชายหน่ึงกระสอบ แล้วทาไมข้าวของเรายังมีอยู่เท่าเดิมเล่า หรือว่าเราจะนับ ผิด ถา้ อยา่ งนั้น เราเอาขา้ วไปใหน้ ้องอีกสกั หนง่ึ กระสอบดีกวา่ ” ชาวนาผ้พู ี่บอกกบั ตัวเอง คืนวันนั้น พอพลบคา่ ชาวนาผพู้ ีก่ ็แบกข้าวอกี หนึง่ กระสอบไปให้ทบ่ี า้ นของน้องชาย แต่พอเชา้ วนั ตอ่ มา เมอ่ื เขาเขา้ ไปนับกระสอบข้าวท่ีเหลอื อยู่ครบเท่าเดิมเหมอื นเมอ่ื ครั้งแรก “เอ๊ะ จะให้เชื่อได้อย่างไรนี่” ชายผู้พ่ีร้อง “ถ้าอย่างนั้นคืนนี้เราก็ต้องเอาข้าวไปให้น้องของเราอีกกระสอบ หน่งึ ” คนื น้ัน ชาวนาผพู้ ่จี ึงแบกกระสอบข้าวไปทีบ่ ้านนอ้ งชายอีกกระสอบหนง่ึ เป็นครง้ั ที่ ๓

117 110137 แสงจันทร์ส่องแสงเจิดจ้าในคืนวันน้ัน ชายผู้พ่ีมองเห็นร่างของใครคนหนึ่งกาลังแบกกระสอบข้าวเดินตรงมา ทางเขา ชายผูพ้ ี่เพ่งตามองอีกครัง้ จึงเหน็ ว่าร่างของคนๆ น้นั ก็คอื นอ้ งชายของเขานั่นเอง ชาวนาผู้พ่ีและชาวนาผู้น้องต่างหยุด วางกระสอบข้าวลงบนพ้ืน แล้วมองหน้ากันด้วยความงุนงงอยู่ครู่หนึ่ง แลว้ ทง้ั สองกร็ อ้ งขึ้นพรอ้ มกนั วา่ “เอะ๊ ! พเี่ องหรือท่ีเอาข้าวไปวางไว้หนา้ ประตูบา้ นของฉันน่ะ” “อะ๊ ! แกเองหรอื น้องรัก ทเ่ี อาข้าวมาวางไว้ในยงุ้ ข้าวของพ่ีทุกคนื ” แล้วทันใดนั้น ทั้งสองพ่ีน้องก็พากันหัวเราะด้วยความขบขันเป็นเวลานาน ต่างคนต่างก็รู้สึกรักและผูกพันกัน มากขึ้น โดยไมต่ อ้ งพดู จาอะไรมากไปกว่านั้นอกี แล้ว (อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา) คาถาม ๑. ชือ่ เรือ่ ง………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ชอ่ื ผู้แต่ง……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. รูปแบบวรรณกรรม………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔. เนือ้ หาโดยสรปุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. กลวธิ ีการประพนั ธ์ (การเปิดเร่อื ง-เดนิ เรือ่ ง-ปิดเร่ือง) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. ตัวละคร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. คณุ ค่าด้านตา่ งๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. สงิ่ ที่ประทบั ใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙. ขอ้ คดิ ทนี่ าไปใช้ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐. ความคิดเหน็ เพ่มิ เติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

118 110148 ใบงานที่ ๒ เรอ่ื งโคลงกลอนสอนใจ หนว่ ยท่ี ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เร่ืองคุณค่าวรรณกรรม รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ จงอ่านคาประพันธแ์ ละตอบคาถามที่กาหนดให้ ๑. หา้ มเพลิงไว้อย่าให้ มคี วนั ๒. พระสมุทรสุดลึกลน้ คณนา ห้ามสรุ ิยแสงจันทร์ ส่องไซร้ สายดิ่งทิ้งทอดมา หยัง่ ได้ หา้ มอายใุ หห้ นั คนื เล่า เขาสูงอาจวัดวา กาหนด หา้ มด่งั นีไ้ ว้ได้ จึงห้ามนนิ ทา จติ มนุษยน์ ้ไี ซร้ ยากแทจ้ กั หา (ประชุมโคลงโลกนิติ) (ประชุมโคลงโลกนิติ) ๓. คบกากาโหดให้ เสยี พงศ์ ๔. พระอนุชาว่าพ่ีนข้ี ี้ขลาด เป็นชายชาติชา้ งงาไม่กลา้ หาญ พาตระกลู เหมหงส์ แหลกด้วย แมช้ ีวันยังไม่บรรลัยลาญ กเ็ ซซานซอกซอนสญั จรไป คบคนช่วั จักปลง ความชอบ เสยี นา เผอ่ื พบพานบา้ นเมืองท่ีไหนม่ัง พอประทงั กายาอยูอ่ าศัย ตราบลกู หลานเหลนมว้ ย ไม่มว้ ยนินทา มคี วามรอู้ ยู่กับตวั กลวั อะไร ชวี ิตไมป่ ลดปลงคงได้ดี (ประชมุ โคลงโลกนิต)ิ (พระอภยั มณ)ี ๕. อันคดอ่ืนหม่ืนคดกาหนดแน่ ๖. ปากเป็นเอกเลขเป็นโทโบราณว่า เว้นเสยี แตใ่ นมนษุ ย์สุดกาหนด หนังสือตรีมปี ัญญาไม่เสยี หลาย ทงั้ ลวงลอ่ งอเง้ยี วทั้งเลีย้ วลด ถึงรมู้ ากไม่มปี ากลาบากตาย ถึงคลองคดกย็ ังไม่เหมือนใจคน มอี ุบายพูดไม่เปน็ เหน็ ป่วยการ (พระอภัยมณี) (วิวาหพระสมทุ ) คาถาม ๑ คาประพนั ธ์หมายเลขใดแต่งเปน็ โคลง..................................... คาประพนั ธ์หมายเลขใดแตง่ เป็นกลอน....................... ๒. คาประพนั ธห์ มายเลขใดมีการใช้คาซ้า...................................... และซ้าคาวา่ อะไร.................................................. ๓. “กา,หงส”์ ในคาประพันธ์หมายเลข ๓ คือการเปรียบเปรยถึงสงิ่ ใด..................................................................... ๔. จงอธิบายความงามของการเล่นเสยี งสมั ผัสทั้งสระและพยญั ชนะของคาประพนั ธ์บทใดบทหน่ึงมาพอใหเ้ ห็นจริง ............................................................................................................................. ..................................................... ๕. จงระบุคาสอนหรือขอ้ คดิ ที่ไดจ้ ากคาประพนั ธแ์ ตล่ ะขอ้ ขอ้ ๑ คือ.............................................................................................................................................. ....................... ขอ้ ๒ คือ..................................................................................................................................................................... ขอ้ ๓ คือ.......................................................................................................................... ........................................... ขอ้ ๔ คือ.................................................................................................................................... ................................. ข้อ๕ คือ..................................................................................................................................................................... ข้อ๖ คือ.......................................................................................................................... ........................................... ๖. ขอ้ คิดจากคาประพนั ธห์ มายเลขใดเป็นประโยชนต์ ่อการดาเนนิ ชีวิตของนักเรยี นมากที่สุด จงอธิบายพอให้เหน็ จรงิ ............................................................................................................................. ....................................................

119 110159 เฉลยใบงานที่ ๒ เร่ืองโคลงกลอนสอนใจ หน่วยท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เรื่องคณุ คา่ วรรณกรรม รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ จงอ่านคาประพนั ธแ์ ละตอบคาถามที่กาหนดให้ ๑. ห้ามเพลงิ ไวอ้ ยา่ ให้ มีควัน ๒. พระสมทุ รสดุ ลกึ ลน้ คณนา หา้ มสรุ ิยแสงจันทร์ ส่องไซร้ สายดิ่งทิ้งทอดมา หยง่ั ได้ ห้ามอายใุ หห้ ัน คืนเล่า เขาสงู อาจวดั วา กาหนด ห้ามด่งั น้ีไว้ได้ จึงห้ามนินทา จิตมนุษย์น้ีไซร้ ยากแทจ้ ักหา (ประชุมโคลงโลกนิติ) (ประชมุ โคลงโลกนิต)ิ ๓. คบกากาโหดให้ เสียพงศ์ ๔. พระอนชุ าวา่ พ่ีนข้ี ้ีขลาด เปน็ ชายชาติชา้ งงาไมก่ ลา้ หาญ พาตระกูลเหมหงส์ แหลกดว้ ย แมช้ ีวันยังไม่บรรลยั ลาญ กเ็ ซซานซอกซอนสญั จรไป คบคนชัว่ จักปลง ความชอบ เสยี นา เผอื่ พบพานบา้ นเมืองทไ่ี หนมั่ง พอประทังกายาอยอู่ าศยั ตราบลกู หลานเหลนม้วย ไมม่ ว้ ยนินทา มคี วามรอู้ ยู่กับตัวกลวั อะไร ชวี ติ ไม่ปลดปลงคงได้ดี (ประชมุ โคลงโลกนติ ิ) (พระอภยั มณ)ี ๕. อนั คดอืน่ หมน่ื คดกาหนดแน่ ๖. ปากเป็นเอกเลขเป็นโทโบราณวา่ เวน้ เสยี แตใ่ นมนุษย์สุดกาหนด หนงั สือตรีมปี ญั ญาไม่เสียหลาย ทั้งลวงล่องอเงี้ยวทงั้ เล้ยี วลด ถงึ รูม้ ากไม่มปี ากลาบากตาย ถึงคลองคดก็ยงั ไมเ่ หมือนใจคน มีอุบายพูดไม่เป็นเห็นปว่ ยการ (พระอภยั มณี) (ววิ าหพระสมุท) คาถาม ๑ คาประพนั ธห์ มายเลขใดแต่งเปน็ โคลง.......๑-๓................ คาประพันธ์หมายเลขใดแต่งเปน็ กลอน......๔-๖................. ๒. คาประพันธห์ มายเลขใดมีการใช้คาซ้า............๑.......................... และซ้าคาว่าอะไร...................หา้ ม............. ๓. “กา,หงส์” ในคาประพันธ์หมายเลข ๓ คือการเปรียบเปรยถงึ สิ่งใด......กา คือ คนต่าศักดิ์คนช่วั หงส์ คือสงู ศักดิ์ ๔. จงอธบิ ายความงามของการเลน่ เสยี งสมั ผสั ทัง้ สระและพยญั ชนะของคาประพนั ธ์บทใดบทหนง่ึ มาพอใหเ้ ห็นจริง ....เช่น บทท่ี๔ พี่-น้ี เปน็ สมั ผัสสระ ชายชาติชา้ ง เป็นตน้ (อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครูให้คาตอบสอดคล้องถูกต้อง) ๕. จงระบุคาสอนหรอื ขอ้ คดิ สาคัญท่ีไดจ้ ากคาประพนั ธแ์ ต่ละข้อ ข้อ๑ คือ ....ไม่สามารถห้ามการนินทาได้ ฉะน้ันอย่าใสใ่ จเรื่องการนินทา ขอ้ ๒ คือ ....ไมส่ ามารถล่วงรู้ใจคนได้ ฉะนนั้ อย่าไวใ้ จใครง่ายๆ ขอ้ ๓ คือ ....หากคบคนชว่ั คนเลวจะพาให้วงศต์ ระกลู เสยี หาย ข้อ๔ คือ ....คนทม่ี วี ิชาความร้ยู อ่ มดแู ลเล้ียงตนได้แมจ้ ะตกยากลาบากอยา่ งไรกต็ าม ขอ้ ๕ คือ ....จติ ใจคนไม่เท่ียงแท้ ไมซ่ ื่อตรง ฉะน้ันอย่าไว้ใจใครงา่ ยๆ ข้อ๖ คือ ....การพูดให้เปน็ เป็นส่งิ สาคัญ แม้มีความรคู้ วามคิดหากไมส่ ามารถใชค้ าพดู ถ่ายทอดไดก้ ็ไมเ่ ปน็ ประโยชน์ ๖. ขอ้ คดิ จากคาประพนั ธ์หมายเลขใดเปน็ ประโยชน์ต่อการดาเนนิ ชีวิตของนักเรียนมากท่ีสดุ จงอธบิ ายพอให้เหน็ จรงิ อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครู พจิ ารณาใหม้ เี หตุผลสอดคลอ้ งกนั

120 110260 แบบทดสอบ เร่อื งการวิจารณแ์ ละประเมินคา่ วรรณคดี หนว่ ยที่ ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เร่อื งการวิจารณ์และประเมนิ ค่าวรรณคดื รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ คาชี้แจง ให้นักเรยี นเลอื กคาตอบท่ีถูกต้องท่สี ดุ เพียงข้อเดียว ๑. การวิจารณ์วรรณคดีหมายความวา่ อยา่ งไร ก. การตเิ พื่อก่อ ข. การชนื่ ชมบทประพนั ธ์ ค. การหาเหตุผลสนับสนุน ง. การแสดงความคิดเหน็ ดว้ ยความรสู้ กึ ส่วนตัว ๒. คุณคา่ ของวรรณคดีไทยอยู่ท่ใี ด ก. ความงดงามและอรรถรสทางภาษา ข. เรื่องราวนา่ ต่ืนเต้นชวนติดตาม ค. ความวิจิตรพิสดารเหนอื ธรรมดา ง. ความกลมกลืนสอดคล้องของตัวละครและเร่ืองราว ๓. วรรณคดสี ะท้อนภาพลกั ษณข์ องสังคมไทยในสมัยใดมากท่ีสดุ ก. สมัยท่ผี ้แู ตง่ ได้แต่งเรื่องนนั้ ข้ึน ข. สมยั ทผี่ ูแ้ ตง่ สมมตุ เิ รื่องราวนนั้ ขึน้ ค. สมัยใดกไ็ ด้แลว้ แต่ผ้แู ตง่ กาหนดขึน้ ง. สมยั ท่ผี อู้ ่านอ่านวรรณคดีเรือ่ งนนั้ ๔. ข้อใดคือจุดหมายในการอา่ นวรรณคดไี ทย ก. อ่านเพื่อความบนั เทิง ข. อ่านเพ่ือให้รู้เรื่องราว ค. อา่ นเพื่อสนองความต้องการของอารมณ์ ง. อา่ นเพ่ือรับรสความงามไพเราะของคาประพนั ธ์ ๕. บทร้อยกรองแตกต่างจากรอ้ ยแก้วในเร่ืองใด ก. กฎระเบยี บการเรยี บเรยี งคา ข. ความสละสลวยของภาษา ค. ความสนกุ สนานในการอา่ น ง. การเกิดภาพพจน์และจินตนาการ ๖. ข้อใดถือเป็นคุณค่าดา้ นคุณธรรมของวรรณคดีไทย ก. การใชค้ าสมั ผัสสระและอักษร ข. ทาให้เกิดความเพลดิ เพลิน ค. สอดแทรกคตเิ ตือนใจ ง. สะท้อนภาพสังคมในปจั จุบัน อา่ นคาประพนั ธต์ ่อไปน้ีแล้วตอบคาถาม ข้อ ๗-๘ คณุ แมห่ นาหนักเพ้ียง พสุธา คณุ บิดรดจุ อา- กาศกวา้ ง คุณพ่ีพา่ งศขิ รา เมรมุ าศ คุณพระอาจารยอ์ ้าง อาจส้สู าคร ๗. คาประพันธ์บทนเ้ี ป็นการเปรียบเทยี บเรื่องใดเป็นสาคญั ก. พระคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ ข. ความกว้างของแผน่ ดินแผน่ ฟา้ ค. ความลกึ ของน้าในมหาสมุทร ง. ความใหญม่ หมึ าของภูเขา ๘. กวใี ช้คาใดเป็นการเปรียบเทยี บ ก. กว้าง หนัก สงู ลกึ ข. เพี้ยง ดุจ พ่าง สู้ ค. แผน่ ดนิ ทอ้ งฟ้า ภูเขา น้า ง. พอ่ แม่ พ่ี ครู

121 110271 ๙. จากบทประพันธ์ขา้ งลา่ งนี้แนวคดิ สาคญั คือข้อใด อันความคดิ วิทยาเหมือนอาวุธ ประเสริฐสุดซ่อนใส่เสียในฝัก สงวนคมสมนกึ ใครฮึกฮัก จงึ ค่อยชักเชือดฟันให้บรรลัย สนุ ทรภู่ “เพลงยาวถวายโอวาท” ก. อย่าอวดรู้ ข. รอู้ ะไรไมส่ ู้รู้วชิ า ค. มีความรู้เหมือนอาวธุ ง. มคี วามรู้ให้นามาใชเ้ มือ่ ถงึ เวลาจะเปน็ คุณ ๑๐. จากบทประพันธ์ข้างลา่ งนี้ใหค้ ณุ ค่าด้านสงั คมตรงกับข้อใด เป็นสาวแซ่แรร่ วยสวยสะอาด กห็ มายมาดเหมือนมณีอันมีค่า แม้นแตกร้าวรานร่อยถอยราคา จะพลอยพาหอมหายจากกายนาง ก. หญงิ งามมีคา่ ดุจมณี ข. หญิงสาวควรรกั นวลสงวนตัว ค. หญิงสาวควรวางตวั ใหเ้ หมาะสม ง. หญงิ ท่ีประพฤติไม่ดเี สื่อมเสียชอื่ เสียง เฉลยแบบทดสอบ ๑. ค ๒. ก ๓. ก ๔. ก ๕. ก ๖. ค ๗. ก ๘. ข ๙. ง ๑๐. ข

122 หน่วยการเรยี นรู้ ๒ เร่อื ง พิถพี ถิ นั สรา้ งสรรคค์ วามคิด แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เวลา ๑ ชั่วโมง เรอ่ื ง การเขยี นยอ่ ความ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเนือ้ หา กจิ กรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ การย่อความจากส่ิงท่ีอ่าน มีความจาเป็น ขั้นนา ๑. ใบความรู้ เร่อื งการเขยี นย่อความ อย่างย่ิง เพราะเป็นการอ่านที่ช่วยให้สรุป ๑. ขอนกั เรียนอาสาออกมาเลา่ ขา่ วจากสอ่ื โทรทศั น์ วิทยุ หรือ ๒. ใบงาน การเขยี นย่อความจากข่าว เร่ือง จับประเด็นสาคัญของเรื่อง แล้วนามา ส่อื ออนไลน์หน่ึงข่าว ๓. ใบงาน การย่อความจากบทร้อยกรอง เขียนเล่าเรื่องราวโดยสรุปได้ ดังน้ันการเขียน ๒. ถามเพือ่ นว่าผู้เล่าต้องใชห้ ลักการใดในการเล่าเร่ืองบ้าง ๔. ใบงาน การย่อความจาก เรอ่ื งเล่ารามเกยี รติ์ ย่อความ เป็นการเขียนจากการอ่านจับ ขนั้ สอน ๕. แบบทดสอบเรอื่ ง การเขยี นย่อความ จใบัจใคจวคาคมวาสมาสค�ำัญคัญขขอองงเเรร่ือ่ื ง แแลลว้ ้วนน�ำใาจใคจวคามวาม ๑.แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น ๓ กลุ่ม ร่วมกันศึกษาใบความรู้ท่ี สาคัญของเร่ืองมาเรียบเรียงใหม่ให้เป็น เรื่อง “การเขยี นย่อความ” จากเนอ้ื หาหลากหลายประเภท สานวนภาษาของผู้ยอ่ เอง โดยเขียนให้ถูกต้อง ๒. นักเรียนจบั ฉลากทาใบงาน การยอ่ ความจาก ข่าว ตามรูปแบบของย่อความ จึงเป็นส่ิงสาคัญ บทรอ้ ยกรอง และเรื่องเล่าวรรณคดี กลุ่มละ ๑ ประเภท ภาระงาน/ช้ินงาน ท่ผี ู้เรยี นต้องฝึกฝนอย่างส่าเสมอ ๓. นักเรียนทุกกลุ่มนาใบงานย่อความมาปิดท่ีปูายนิเทศแสดง กจิ กรรมกลมุ่ การย่อความ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ผลงานใหเ้ พือ่ นนกั เรยี นไดอ้ า่ น ด้านความรู้ ๔. สมาชิกแต่ละกลุ่มติดกระดาษรูปหัวใจคนละ ๑ ดวง เข้าใจหลักการเขียนย่อความจากเน้ือหา ใหย้ ่อความท่ีถูกตอ้ งตามรูปแบบและย่อความได้ดที ีส่ ุด หลากหลายประเภท ๕. นักเรียนร่วมกับครูนากระดาษรูปหัวใจมานับจานวนและ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ แจ้งในชั้นเรียนให้ทราบว่าย่อความของกลุ่มใดได้คะแนนโหวต เขียนย่อความได้ถูกต้องตามหลักการ มากที่สุด ๓ ลาดับ แล้วนาย่อความ ๓ ฉบับมาเป็นตัวอย่าง ยอ่ ความ ใหน้ กั เรียนอา่ น ๖. นักเรยี นและครูรว่ มกันประเมินผลงานของทกุ กล่มุ 110282

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔ 123 หน่วยการเรยี นรู้ ๒ เรือ่ ง พิถีพถิ ันสร้างสรรค์ความคดิ เรื่อง การเขยี นยอ่ ความ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ด้านคณุ ลักษณะ ขนั้ สรปุ - มีวนิ ัย ๑. นักเรียนชว่ ยกนั สรุปหลักการยอ่ ความท่ดี ีและบนั ทึกลงสมดุ - มีมารยาทในการเขยี น ๒. นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายถงึ ประโยชนข์ องการย่อความ 110293

การวดั ผลและการประเมนิ ผล วธิ ีการ เครื่องมือ 124 ส่ิงท่ีประเมนิ ประเมนิ ย่อความ แบบประเมนิ 111204 ย่อความ ด้านความรู้ เกณฑ์ เข้าใจหลกั การเขียนย่อความจาก ผ่านร้อยละ ๘๐ เนื้อหาหลากหลายประเภท ด้านทักษะ/กระบวนการ ตรวจสอบจากผลงาน แบบประเมนิ ผ่านรอ้ ยละ ๘๐ เขยี นย่อความจากเน้ือเร่อื ง ยอ่ ความ ระดับคุณภาพ ๒ หลากหลายประเภท ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นคุณลักษณะ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมิน มวี ินัย คณุ ลักษณะ มีมารยาทในการเขียน ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................................. ปญั หาและอปุ สรรค .......................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ............................................. ลงชื่อ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ....................................................................................................................................................... ...................... ลงช่ือ ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

125 111215 ใบความรู้ เร่อื งการเขยี นย่อความ หน่วยที่ ๒ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๔ เรอื่ งการเขียนย่อความ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ การย่อความ เป็นการจับใจความสาคัญของเร่ือง แล้วนาใจความสาคัญของเรื่องมาเรียบเรียงใหม่ ให้เปน็ สานวนภาษาของผยู้ อ่ เอง โดยเขียนให้ถกู ตอ้ งตามรูปแบบของย่อความ การย่อความท่ีดี ผู้ย่อต้องอ่านเร่ืองให้เข้าใจและจับใจความสาคัญให้ได้ แล้วนาใจความสาคัญ มาเรียบเรยี งใหมใ่ หส้ ัน้ ดว้ ยถอ้ ยคาทีส่ ละสลวย กระชบั เขา้ ใจงา่ ย ได้ใจความถกู ตอ้ งตามเนอื้ เรอ่ื งเดิม ใจความสาคัญคือ ประโยคหรือข้อความสาคัญของย่อหน้า ถ้าตัดส่วนข้อความน้ันออกจะทาให้เสียความ ประโยคใจความสาคญั อาจจะอยู่ตอนต้นของย่อหน้า กลางย่อหนา้ หรือท้ายยอ่ หนา้ พลความ คือ ข้อความท่ีเป็นส่วนขยายความ หากตัดข้อความส่วนน้ันออกก็ยังคงใจความสาคัญเดิม ลักษณะของพลความ จะเป็นการบอกรายละเอียดหรือคานิยามความหมาย การยกตัวอย่างประกอบ การเปรยี บเทียบด้วยสานวน โวหาร หรือการอ้างขอ้ มูลอ้างอิงเป็นสถิติ หลักฐาน ชนิดของการยอ่ ความและการสรปุ ความ โดยท่วั ไปแลว้ การย่อความและสรปุ ความ มี ๓ ชนิด คือ ๑. การย่อความและการสรปุ ความจากการอ่านบทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ฯลฯ ๒. การย่อความและการสรปุ ความจากการอ่านบทร้อยแก้ว คือ การย่อความและการสรุปความของความ เรยี งต่างๆ เชน่ บทความ เร่อื งส้ัน นิทาน จดหมาย เรอ่ื งเล่า และสารคดี ฯลฯ ๓. การย่อความและสรุปความทไ่ี ดจ้ ากการฟัง ท้ังบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง เช่น ย่อข่าว ย่อบทร้อยกรอง ย่อคาปราศรยั ย่อการอภปิ รายหรือการสัมมานา ย่อการฟงั เร่อื งเลา่ ต่างๆ จากบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง ฯลฯ หลักการย่อความ แบบของย่อความแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็นคานา เป็นส่วนท่ีเขียนในย่อหน้าแรก เพื่อให้ผู้อ่านทราบที่มาของเร่ือง ว่าเป็นเร่ืองประเภทใด หากไม่มีชื่อเรื่อง ผู้ย่อต้องต้ังช่ือเร่ืองด้วย ส่วนที่ ๒ เปน็ ใจความสาคัญของเรื่อง คอื ส่วนที่นาเน้ือหามาเรียบเรยี งแลว้ ตามวธิ กี ารเขียนย่อความ ต้องเขยี นให้เป็นย่อหน้าเดยี ว ๑. การย่อความต้องเก็บใจความ ๒. การเกบ็ ความสาคัญของเร่ืองจะต้องคานึงถึงสาระต่อไปนี้ใคร ทาอะไร ที่ไหน สาคัญของเรื่องให้ครบ และเรียบ เมื่อใด อย่างไร ใจความสาคัญคืออะไร แล้วนามาเขียนเป็นสานวนของตนเอง เรียงโดยใช้สานวนภาษาท่ถี กู ตอ้ ง เน้นการใช้คาทมี่ ีความหมายกระชับตรงไปตรงมาและไม่ใชอ้ กั ษรย่อ ๖. การย่อจดหมายซ่ึงมีรายละเอียด หลกั การย่อความ ๓. ข้อความท่ีมีเน้ือหาเป็นข้อๆ อยู่ท่ีข้อความท่ีเริ่มต้นแล้วให้ย่อแต่ ตอ้ งเรยี บเรยี งใหเ้ ป็นความเรยี ง ใจความของเนื้อหาจดหมาย ๔. เปลย่ี นสรรพนามในเร่ือง ๕. คาศัพท์หรือคาศัพท์เฉพาะ เช่น ฉัน ผม ข้าพเจ้า คุณ ทางวิชาการ ควรเปลี่ยนเป็นคา เธอ เปล่ียนเป็น พระองค์ ธรรมดาท่ีทุกคนเข้าใจยกเว้น ท่าน เขา ฯลฯ คาราชาศพั ท์ (กระทรวงศกึ ษาธิการ. ๒๕๔๙ : ๗๘)

126 111226 แบบของการเขยี นย่อความ ๑. การเขยี นคานาในย่อความ ๑.๑. ยอ่ ความจากบทร้อยกรอง บอกประเภทของคาประพันธ์ ช่ือเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ที่มาของเรื่อง(หนังสือ อะไร หน้าทเ่ี ทา่ ใด) รูปแบบดังน้ี ย่อความ.................(กลอนบทละคร กลอนสภุ าพ กาพย์ โคลง รา่ ย ฉนั ท)์ เร่อื ง....................................... ของ.......................ตอน..................................จาก..............................หนา้ ..............ความวา่ ๑.๒. ย่อความจากความเรียงร้อยแกว้ บอกประเภทของความเรียงร้อยแก้ว ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง จากหนังสือ อะไร หน้าท่ีเทา่ ใด รูปแบบดังน้ี ย่อความ (บทความ สารคดี นิทาน นยิ าย อื่นๆ) เร่อื ง..................................ของ........................................ จากวารสาร..............................................ปที .ี่ .........................ฉบับท่ี................... ..............หน้า........................ถึง หน้า.....................ความวา่ ๑.๓. ย่อความจากประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ ระเบียบคาส่ัง กาหนดการ บอกช่ือประเภทของ ประกาศ เรอื่ งอะไร ของใคร ให้แก่ใคร วนั เดือนปที อี่ อก ดงั นี้ ยอ่ ความ (ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ ระเบยี บคาสัง่ กาหนดการณ)์ เรือ่ ง..................................... ของ............................ลงวันท.ี่ ........................................ความว่า ๑.๔. ย่อความจากพระราชดารัส พระบรมราโชวาท โอวาท ปาฐกถา สุนทรพจน์ คาปราศรัย ระบุว่าเป็น พระราชดารัส พระบรมราโชวาท ของใคร แสดงแกใ่ คร เรื่องอะไร ในโอกาสใด แสดง ณ สถานท่ใี ด เมอื่ ใด เมือ่ ไร ดงั น้ี ยอ่ ความ (พระบรมราโชวาท โอวาท ปาฐกถา สนุ ทรพจน์ คาปราศรยั ) ของ........................................ พระราชทานแก่...............................เรอื่ ง............................ในโอกาส..........................ณ............................................. เมอื่ วันท่ี.............................................ความว่า ๑.๕. ย่อความทเี่ ป็นจดหมาย ระบวุ ่าเป็นจดหมายของใคร ถงึ ใคร เรอ่ื งอะไร ลงวันทีเ่ ท่าไร ดังน้ี ยอ่ ความจดหมายของ..................................ถงึ ..........................เรื่อง....................................ลงวั นที่ ......................................ความวา่ ๑.๖. ย่อความจากหนังสือราชการ ระบุว่าเป็นหนังสือราชการของใคร ถึงใคร เรื่องอะไร เลขท่ีเท่าไร ลงวันทเี่ ทา่ ไร ดงั น้ี ยอ่ ความหนังสอื ราชการของ.............................................ถึง.............................เรื่อง................................. เลขท่.ี ...................................ลงวันที.่ ...........................................ความว่า ๒. การย่อเน้ือเร่ือง อ่านเน้ือเรื่องให้จบจับใจความสาคัญไว้ท้ิงพลความไป โดยไม่เสียใจความหลักเกลา ความใหส้ ละสลวย หากผยู้ อ่ ต้องการความม่นั ใจในการค้นหาใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า อาจใช้หลัก ๕W ๑H กล่าวคือนาข้อความในเรอ่ื งมาตอบคาถามใหไ้ ดว้ า่ ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทาไมและอยา่ งไร หากเรื่องท่ีต้องการย่อเป็นร้อยกรองให้ถอดคาประพันธ์ก่อน แล้วหาคา ประโยค ข้อความ ท่ีเป็นใจความ สาคญั นามาเรียบเรียงให้สละสลวยตรงตามเรอ่ื งเดมิ ดงั ตวั อย่าง

127 111237 ไทยรวมกาลงั ตัง้ ม่นั ไทยรวมกาลงั ตั้งม่ัน จะสามารถปูองกนั ขนั แขง็ , ถึงแมศ้ ตั รผู มู้ แี รง มายทุ ธ์แย้งกจ็ ะปลาตไป ขอแตเ่ พียงไทยเราอย่าผลาญญาติ; ร่วมชาตริ ว่ มจิตเป็นขอ้ ใหญ่; ไทยอย่ามุ่งร้ายทาลายไทย, จงพร้อมใจพรอ้ มกาลงั ระวงั เมือง. ใหน้ านาภาษาเขานยิ ม ชมเกียรตยิ ศฟเู ฟื่อง; ช่วยกนั บารุงความรงุ่ เรือง ให้ชื่อไทยกระเดือ่ งท่ัวโลกา. ชว่ ยกันเต็มใจใฝุผดุง บารุงทัง้ ชาติศาสนา ให้อย่จู นสิน้ ดินฟาู วฒั นาเถิดไทย, ไชโย! (พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจา้ อยู่หัว ๒๕๓๗) ถอดความได้วา่ เม่ือใดท่ีคนไทยพร้อมใจกัน รวมกาลังให้ม่ันคง แข็งแรง อย่าแตกความสามัคคี อย่าทาร้ายคนไทย ด้วยกันเอง เม่ือนั้นคนไทยก็สามารถปูองกันข้าศึกท่ีจะเข้ามารุกรานประเทศได้ คนไทยต้องร่วมมือ รวมพลังใจ ให้เปน็ หนึ่งเดียว เป็นพลังหลกั อนั สาคัญของชาติ หมนั่ ทานุบารุงประเทศชาตแิ ละพระศาสนาใหเ้ จริญรุ่งเรืองก้องไป ท่ัวโลก นานาประเทศกจ็ ะสรรเสริญ ยกยอ่ ง ยอมรบั และชน่ื ชมชาวไทยและประเทศไทยไปตราบชัว่ กาลนาน หาคา ประโยค ข้อความ ที่เป็นใจความของข้อความน้ี จะได้ว่า คนไทยม่ันคงเข้มแข็ง อย่าแตก ความสามคั คี ทานุบารุงชาตแิ ละพระศาสนา เจรญิ รุ่งเรือง นานาประเทศสรรเสริญยกย่อง นามาเขียนเป็นใจความ ทส่ี ละสลวย สมบูรณ์ ตรงตามเนือ้ เร่ืองเดิมดังน้ี คนไทยต้องพร้อมใจกัน เข้มแข็ง มั่นคง อย่าแตกความสามัคคีกัน อย่าทาร้ายกันเอง คนไทยก็จะสามารถ ปูองกันข้าศึกใดๆ ท่ีเข้ามารุกรานได้ต้องรวมพลังใจให้เป็นพลังหลักอันสาคัญของชาติ ปูองกันชาติ หม่ันทานุบารุง ประเทศชาติและพระศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองไปท่ัวโลก นานาประเทศก็จะสรรเสริญ ยกย่องชาวไทยและประเทศ ไทยไปตราบช่วั กาลนาน เมื่อนาวิธีการตั้งและตอบคาถามว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน เม่ือไร ทาไม และอย่างไร มาช่วยในการหา ใจความ ของขอ้ ความนจี้ ะได้ดังนี้ ใคร คนไทย ทาอะไร เขม้ แขง็ ม่นั คง สามคั คี อยา่ ทารา้ ยกัน ทานุบารงุ ประเทศและพระศาสนาให้รุ่งเรอื ง ท่ไี หน ในประเทศไทย เมือ่ ไร ตลอดชวี ติ ของคนไทยทกุ คน อย่างไร คนไทยต้องเข้มแข็ง มั่นคง อย่าแตกความสามัคคีกัน อย่าทาร้ายกันเอง ต้องทานุบารุง ประเทศและพระศาสนาใหร้ ุ่งเรือง นานาประเทศจะสรรเสริญ ยกยอ่ ง ช่นื ชม ชาวไทยและประเทศไทยตลอดไป (คู่มือการเรยี นการสอนภาษาไทย คิดและเขยี นเชิงสร้างสรรค์ : เรียงความ ยอ่ ความและสรปุ ความ ช่วงชัน้ ที่ ๒-ชว่ งช้นั ท่ี ๔)

128 111248 ใบงานเร่อื งการเขียนย่อความจากข่าว หนว่ ยท่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่องการเขียนย่อความ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ จงยอ่ ความจากเรื่องทก่ี าหนดใหต้ ่อไปนี้ แนะ ‘ทรู’ เยียวยาลูกคา้ กสทช.นดั ๓3 ค่ายมือถือเคลียร์ 'เอสเอม็ เอส' ดูดเงนิ ลูกคา้ โดยไมไ่ ด้สมัครใจพร้อมเชิญ ‘ทร’ู ทาแผนเยียวยาผ้บู ริโภค กสทช.เรียก ‘๓3 ค่าย’ แก้ปมเอสเอม็ เอส เม่อื วันท่ี ๑1๖6 เมษายน นายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการกจิ การกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เปิดเผยว่า ในวันท่ี ๑1๗7 เมษายน เวลา1๑0๐..3๓0๐น. สานักงาน กสทช. ได้เรียกผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนท่ีทุกรายเข้าช้ีแจง กรณีท่ีมีข่าวเอสเอ็มเอสหรือข้อความส้ันดูดเงิน ประชาชนผ้ใู ชบ้ ริการโทรศพั ทเ์ คล่อื นที่ นายฐากรกล่าวว่า การเรียกผู้ประกอบการทุกรายชี้แจงคร้ังน้ีจะดาเนินการภายหลัง สานักงาน กสทช. ได้รับฟังการช้ีแจงของ บริษัท ทรู คอร์ปอเรช่ัน จากัด (มหาชน) หรือตัวแทน ท่ีนัดหมายในเวลา 0๐9๙.3.๓0๐ น. ของวนั ที่ ๑1๗7 เมษายน ถึงกรณกี ารปรากฏเป็นข่าวบนเว็บไซต์ว่าเกิดกรณีข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าของทรูมูฟ เอช รัว่ ไหลบนคลาวด์ (Cloud) เปน็ จานวนมาก “เร่ืองเอสเอ็มเอสดูดเงินประชาชนเป็นปัญหาท่ีสานักงาน กสทช. ให้ความสาคัญเพราะเป็นกรณีท่ีทาให้ ประชาชนผู้ใช้บริการต้องเสียเงินโดยไม่ได้สมัครใจ โอเปอเรเตอร์ต้องชี้แจงข้อมูลมาว่าเกิดอะไรข้ึน และจะแก้ไข ปญั หาเหล่านี้ยงั ไงประชาชนต้องไมเ่ จอกับปัญหาเอสเอ็มเอสดูดเงินเชน่ นอ้ี ีก” นายฐากรกลา่ ว ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สาหรับผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนท่ีในไทยหลักๆ จะมี 3๓ ค่าย ได้แก่ บริษัท เอไอเอส แอดวานซ์ อนิ โฟร์ เซอร์วสิ จากดั (มหาชน) กสทช.ขอฟังทรูเยยี วยาอย่างไร นพ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ (กสทช.) ด้านการคุ้มครองผ้บู รโิ ภคและสง่ เสริมสิทธเิ สรีภาพให้สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ถึงรายละเอียดการ เรียก ทรูมูฟเอช ชี้แจงข้อเท็จจริงกรณีข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าทรูมูฟเอชที่เรียกเก็บไว้บน Amazon S3๓ ซ่ึงเป็น บริการฝากข้อมูลบนระบบคลาวด์ โดยไม่มีการเข้ารหัส ทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูลกว่า 4๔.6๖ หม่ืนไฟล์ หรือพื้นท่ี ความจุกว่า 3๓2๒ GB ตั้งแต่ปี ค.ศ. ๒2๐0๑14๔-2๒0๐1๑8๘(พ(พ..ศศ.2๒5๕5๕7๗--2๒5๕6๖1๑))วว่า โดยหลักการแล้ว คงต้องให้ทรูชี้แจง ขอ้ เท็จจรงิ ต่างๆว่าเกิดอะไรขนึ้ มีข้อมลู ร่ัวไหลอย่างไรจานวนมากน้อยแค่ไหนและข้อมูลมีการร่ัวไหลต้ังแต่เม่ือไรถึง เม่ือไร ทง้ั น้ี ทรจู ะตอ้ งระบแุ นวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมไปถึงแนวทางการเยียวยา หากเกิดปัญหาต่างๆ ตามมาจะทาอย่างไรกับผู้บริโภค ซึ่งเข้าใจว่าข้อมูลที่รั่วไหลส่วนใหญ่น่าจะเป็นเรื่องการทาธุรกรรม เช่น การซ้ือ เคร่ือง สัญญาซื้อเคร่ืองและการลงทะเบียนซิม โดยต้องมาดูว่าธุรกรรมประเภทนั้น มีเอกสารอะไรประกอบบ้าง นอกจากตัวสัญญา โปรโมชน่ั บตั รประชาชนหรอื ไอดีการด์ (ต่อ)

111259 นพ.ประวิทย์กล่าวว่า สานักงาน กสทช. ได้กาหนดว่าการเก็บรักษาข้อมูลต้องได้มาตรฐานซ่ึงตามปกติแต่ ละค่ายจะตอ้ งขอการรับรองมาตรฐานจากหน่วยงานการรับรองมาตรฐานการรกั ษาความปลอดภยั ด้านข้อมูล แต่ใน กรณีน้ีเข้าใจว่าเป็นเรื่องของบริษัทลูกอีกทอดหน่ึง ซ่ึงเวลาที่ได้รับการรับรองมาตรฐานน้ัน จะรับรองมาตรฐาน เฉพาะบริษัทแม่ อาทิ บริษัท เอดับบลิวเอ็น ดีแทคไตรเน็ต และทรูมูฟเอช ล้วนแล้วแต่เป็นบริษัทลูกของบริษัท ที่ประกอบธรุ กจิ โทรคมนาคม ก็เลยทาใหบ้ รษิ ทั แม่อาจจะคาดไม่ถงึ ดังนน้ั ตอ่ ไปคงต้องกาชับให้ทุกค่ายรักษาความ ปลอดภยั ด้านข้อมลู ไปถงึ ตัวแทนจาหนา่ ยของตัวเองดว้ ย คงไมเ่ ฉพาะตัวบรษิ ทั แม่เพยี งอย่างเดยี ว

130 111360 ใบงานการยอ่ ความ จากบทรอ้ ยกรองเร่ือง การอ่านนน้ั สาคญั ไฉน หน่วยท่ี ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรื่องการเขยี นย่อความ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ คาสั่ง จงยอ่ ความจากบทร้อยกรองต่อไปนี้ การอ่านน้ันสาคัญไฉน อันคณุ ค่าการอ่านนีห้ ลายหลาก ย่ิงอา่ นมากย่ิงเพ่ิมค่ามหาศาล ยิ่งรู้เห็นย่งิ พานพบประสบการณ์ เหมือนดั่งทา่ นมโี ลกกว้างทางปัญญา เรียนร้มู ากจะชว่ ยตนพ้นปัญหา อันความรู้ในโลกน้มี หี ลายหลาก จะมคี ่าแกช่ วี ติ โปรดคิดดู แม้นวิเคราะห์แลว้ ประยุกต์ทุกเวลา แมน้ ต้งั จติ อ่านเรื่อยไปด้วยใจสู้ สือ่ การอา่ นมีมากมายหลายชนิด ส่ือหลายอย่างเปน็ เสมอื นเพื่อนและครู เสรมิ ความรูเ้ พ่ือชวี ิตนิจนริ นั ดร์ แมน้ เราอ่านอย่างขยันวันละนดิ ก็ชน่ื จติ คลายทกุ ขเ์ สรมิ สุขสันต์ คุณคา่ น้ันเหมือนขมุ ทรพั ย์ไม่อบั จน หรือจะอา่ นอย่างจรงิ จังทงั้ คนื วนั ล้วนเสรมิ สร้างชวี ติ ประสิทธิผล ส่อื ตาราวชิ าการด้านตา่ งๆ ให้หลุดพน้ ความโง่เขลาเบาปัญญา เสรมิ ปญั ญาพฒั นาอาชพี ตน ส่ือสัญลักษณป์ ัจจุบนั น้นั หลายหลาก ย่งิ อ่านมากความรไู้ ด้หลายสาขา ดา้ นสงั คมเศรษฐกิจสรรพวชิ า มคี ณุ ค่าด้านโลกทศั นน์ ่าอัศจรรย์ วทิ ยาการเทคโนโลยีมหี ลายอยา่ ง ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความคดิ จติ สรา้ งสรรค์ ชว่ ยพฒั นาอตุ สาหกรรมทส่ี าคัญ ใหโ้ ลกนน้ั พฒั นาก้าวหน้าไกล สวัสดิ์ สวุ รรณอักษร ประพนั ธ์

131 111371 ใบงานการยอ่ ความจากวรรณคดี เรอ่ื งเล่ารามเกียรต์ิ หน่วยท่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ เร่อื งการเขียนย่อความ รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ หิรัณยกศปิ ุท่ปี ระทับบนยอดเขาจักรวาลได้รับพลงั จากพระศิวะเทพเจ้าผู้ทรงอานาจให้ขับไล่มนุษย์ท่ีไม่อยู่ ในศลี กนิ ในธรรมและสรรพสตั ว์ใหพ้ ้นจากแผ่นดนิ โดยถลกแผ่นดินข้ึน พระนารายณ์จึงแปลงเป็นสุกรเผือกมาปราบ โลกมนุษย์จึงมีความสงบสันติสุข หลังจากนั้นเมื่อพระนารายณ์ประทับบนพระยานาคที่เกษียรสมุทร ดอกบัวผุด จากพระนาภีในดอกบัวเกิดท้าวอโนมาต้นมนุษย์คนแรกเป็นต้นวงศ์ของท้าวทศรถ ต่อจากน้ันพระอินทร์ทรงสร้าง กรงุ ศรีอยธุ ยาทวารวดี ให้ท้าวทศรถทรงครองอยู่อยา่ งเป็นสุข จากน้ันกล่าวถึงนนทุกผู้ต่าต้อยคอยล้างเท้าให้เทวดาที่เชิงบันไดเขาไกรลาส ถูกกดข่ีข่มเหงมาแล้วเป็น โกฏปิ ีจงึ ขอพรจากพระอิศวร พระอิศวรประทานนิ้วเพชรให้ แต่ก็นาไปใช้ผิดช้ีให้เทวดามนุษย์ตายไปท่ัว เดือดร้อน พระนารายณ์ออกอุบายไปปราบให้ช้ีนิ้วไปท่ีตัวของนนทุก นนทุกจึงตายแล้วไปเกิดเป็นโอรสของลัสเตียนกับมเหสี องคท์ ี่ ๕ มีช่ือวา่ ทศกัณฐค์ รองกรงุ ลงกา มพี ี่น้องรวม ๖ ตน รวมทั้งพิเภกมีนางกาลอัคคเี ปน็ มเหสีเอก กรงุ สาเกตมกี ารเสกนางอจั นาจากกองไฟ นางอัจนาให้กาเนิดลกู สาวชื่อสวาหะ รับพรจากพระอิศวรให้เกิด หนุมานในปีขาล วนั อังคาร เดอื นสาม พระอิศวรชุบเหง่ือไคลของพระองคใ์ ห้เป็นชมพพู าน ในขณะท่ีเมื่อถึงฤดูฝน นางมณีเมฆขลาผู้รักษามหาสมุทรร่อนลูกแก้ววาววับ รามสูรจึงขว้างขวานออกไป เกิดเปน็ ฟาู ร้องฟูาแลบฟูาผา่ ครง้ั หนงึ่ พระอรชนุ เทพแห่งยอดเขาจักรวาลเพล่ียงพล้าถูกรามสูรจับฟาดเขาพระสุเมรุ ทาใหเ้ ขาพระสเุ มรเุ อยี ง พระอศิ วรให้พญากากาศกับสุครีพยกเขาพระสุเมรุให้ต้งั ตรง สคุ รพี ใช้อุบายจ้ีตรงสะดือนาค ทรี่ ัดเขาพระสุเมรุอยู่ นาคตกใจสะดุ้งขดตัวทาให้เขาพระสุเมรุเคล่ือน พญากากาศก็ดันเขาพระสุเมรุให้กลับต้ังตรง ได้ นางมณโฑเดมิ เป็นนางกบ อาศยั อยูใ่ กลก้ บั อาศรมพระฤๅษี ๔ ตนมีโคนม ๕๐๐ ตัว จากปุามาหยดนมไว้ใน อ่างทุกเช้า เมื่อพระฤๅษีฉันแล้วก็ให้นมที่เหลือแก่นางกบ วันหนึ่งพระฤๅษีเห็นธิดานาคสมสู่กับงูดินจึงเอาไม้เท้า เคาะใหแ้ ยกจากกัน ธิดานาคโกรธคดิ แค้นจงึ มาคายพิษไว้ในอ่างนม นางกบเห็นเกรงว่าฤๅษีจะเป็นอันตราย ด้วยจิต กตญั ญูนางจึงยอมตายในอา่ งนมพิษ ก่อนกระโจนลงไปในอ่าง นางอธิษฐานขอให้ได้เกิดเป็นมนุษย์ในชาติใหม่ ฤๅษี เห็นนางกบตายก็โกรธ คิดว่านางกบละโมบอาหารแต่ด้วยความเมตตา จึงชุบชีวิตขึ้นมาแล้วสอบถาม นางกบเล่า เรื่องนาคมาคายพิษในอ่างนม พระฤๅษีเห็นนางมีใจกตัญญู จึงชุบให้เป็นหญิงงามกว่านางใดในสามโลก ให้ชื่อว่า มณโฑ ซ่งึ แปลว่า กบ แล้วนาไปถวายพระอิศวร ให้เป็นนางกานัลของพระอุมา นางมณโฑรับใช้พระอุมาด้วยความ จงรักภักดี พระอมุ าเมตตานางมาก จึงสอนเวทมนตต์ บะกิจพิธีให้ วันหน่งึ วิรูฬหกใช้สังวาลนาคขว้างตุ๊กแกจนเขาไกรลาศทรุด พระอิศวรบัญชาให้ทศกัณฐ์ยกเขาไกรลาศให้ ตัง้ ตรงดงั เดิม ทศกณั ฐท์ ลู ขอพระอมุ าเปน็ รางวัล พระอิศวรก็ประทานให้ แต่ทศกัณฐ์ไม่สามารถสัมผัสองค์พระอุมา ได้เพราะกายของนางร้อน ต่อมาพระนารายณ์ทาอุบายให้ทศกัณฐ์คืนพระอุมาและขอประทานนางมณโฑแทน ระหวา่ งทท่ี ศกัณฐน์ านางมณโฑกลับกรุงลงกา ขณะเหาะข้ามเมืองขีดขิน พาลีได้แย่งชิงนางมณโฑไปและนางได้อยู่ กบั พาลจี นตัง้ ครรภ์ ฝุายทศกัณฐเ์ ม่ือเสียนางมณโฑไปกเ็ สียใจมาก จึงไปขอใหพ้ ระฤๅษีอังคตซ่ึงเป็นอาจารย์ของพาลี ไปช่วยไกล่เกลี่ยขอคืนนางมณโฑจากพาลีมาได้ โดยนาโอรสของพาลีในครรภ์นางมณโฑมาใส่ไว้ในท้องนางแพะ เม่ือครบกาหนดพระฤๅษกี ผ็ า่ ท้องแพะนากุมารออกมาให้ช่อื วา่ องคต มีสีกายเป็นสีเขียวอย่างพาลีผู้เปน็ บดิ า

132 111382 ท้าวทศรถครองอโยธยาแต่ไม่มีโอรสจึงเชิญพระฤๅษี ๕ องค์ คือพระวสิษฐ์ พระสวามิตร พระวัชอัคคี พระภารทวาช และพระฤๅษีกไลโทฏทาพิธีขอพรให้มีผู้มีฤทธานุภาพมาเป็นโอรส โดยไปเฝูาพระอิศวรอัญเชิญ พระนารายณ์อวตารมาปราบยุคเข็ญ พระนางลักษมีมาเป็นนางสีดา อาวุธของพระนารายณ์คือสังข์ และบัลลังก์ นาคเกิดเป็นพระลักษมณ์ จักรเป็นพระพรต คทาเป็นพระสัตรุด ทวยเทพอาสาเป็นวานรพลบริวาร พระอิศวร ประทานมนต์สัญชีพ ทาพิธีขอโอรส บังเกิดกองอัคคี มีอสูรทูนถาดข้าวทิพย์ ๔ ปั้น ผุดขึ้นกลางกองไฟ กลิ่นข้าว ทิพยห์ อมไปถึงกรุงลงกา นางมณโฑอยากเสวย ทศกัณฐ์ให้นางกากนาสูรแปลงเป็นกาบินมาโฉบขา้ วทพิ ย์ไปคร่งึ ปั้น ท้าวทศรถประทานข้าวทิพย์แก่นางเกาสุริยา นางไกเกษี องค์ละ ๑ ปั้น ที่เหลือให้นางสมุทรเทวี นางเกาสุริยาประสูติพระรามกายสีเขียว นางไกเกษีประสูติพระพรตกายสีชมพู นางสมุทรเทวีประสูติพระลักษมณ์ กายสีเหลอื ง พระสตั รดุ กายสีมว่ ง นางมณโฑมเหสีของทศกัณฐ์ได้ประสูติธิดาคือนางสีดา เม่ือแรกประสูติร้องว่าผลาญราพณ์ ๓ ครั้ง พิเภก ได้ทานายว่า พระธิดาจะเป็นภัยแก่กรุงลงกา และทูลให้ทศกัณฐ์นาพระธิดาใส่ผอบทองไปลอยน้า ท้าวชนก แหง่ กรุงมถิ ลิ าซึง่ ถือพรตบวชอยู่เกบ็ ผอบได้ จึงนาไปเล้ียงเป็นบุตรีบุญธรรม แต่เนื่องจากยังถือบวชจึงนาผอบฝังดิน ฝากแม่พระธรณีคุ้มครอง ครั้นลาพรตจึงขุดผอบขึ้น เม่ือเปิดผอบก็พบว่านางเจริญวัยอายุได้ ๑๖ ปี เป็นหญิงงาม อยา่ งหาท่ีเปรยี บไมไ่ ด้ ทา้ วชนกให้นามพระธดิ าว่าสดี าและพานางกลับเมอื งมิถิลา พระโอรสทั้งสี่องค์ของท้าวทศรถได้เล่าเรียนวิชาความรู้จากพระฤๅษี พระวสิษฐ์ และพระสวามิตร เม่ือสาเร็จวิชาแล้วพระอาจารย์ต้ังพิธีบูชาไฟ พระอิศวรประทานศรพรหมาสตร์ อัครนิวาส พลายวาตเป็นอาวุธ พระพรตเสด็จไปเมอื งไกยเกษกับพระไอยกา พระรามพระลกั ษมณ์เสดจ็ กลับอโยธยา ปราบยักษ์ท่สี รา้ งความเดอื ดร้อนระหว่างทางได้เข้าร่วมยกธนูมหา โมลีทเ่ี มืองมถิ ิลาจนมชี ยั ชนะ ได้อภเิ ษกกบั นางสดี าแลว้ พานางกลบั เมอื งอโยธยา ท้าวทศรถประสงค์ยกกรุงอโยธยาให้พระราม นางไกเกษีทวงสัญญาขอให้มอบแก่พระพรต ท้าวทศรถ จาเป็นต้องถือสัตย์ที่ให้ไว้ นางไกเกษีอ้างโองการให้พระรามออกบวชไปถือพรตอยู่ในปุา ๑๔ ปี จึงจะคืนเมืองได้ พระรามกระทาการตามสัจจะของบดิ า พระลกั ษมณแ์ ละนางสดี าตามเสด็จดว้ ย พระพรตตกใจ ตามไปเชิญพระราม กลับไปครองเมือง พระรามรักษาสัจวาจา พระพรตอัญเชิญฉลองพระบาทพระรามไปไว้ในปราสาทแก้วแทน พระรามนางสดี าและพระลักษมณเ์ สด็จเขา้ ปาุ ลึกบาเพญ็ ภาวนา ไม่มใี ครทราบว่าประทับอยทู่ ่ใี ด นางสามนักขาน้องทศกัณฐ์เป็นหม้ายเน่ืองจากสามีของนางท่ีแลบล้ินปิดเมืองลังกาแทนทศกัณฐ์ ๗ วัน ถูกจักรทศกัณฐ์สังหารด้วยเข้าใจผิด นางสามนักขาออกเที่ยวปุา พบพระรามกาลังบาเพ็ญพรต ปรารถนา ไดม้ าเปน็ สามี ใช้เสนห่ เ์ ยา้ ยวนพระรามขับไล่ นางตามมาอาศรมพบนางสีดาจึงหึงหวงเข้าทาร้ายนางสีดา พระราม และพระลักษมณ์ลงโทษตัดแขนขาหูจมูก นางกลับไปฟูองทศกัณฐ์และพรรณนาความงามของนางสีดาให้ทศกัณฐ์ หลงใหล มารีศแปลงเป็นกวางทองให้พระรามออกติดตาม มารีศร้องเป็นเสียงพระรามให้พระลักษมณ์ออกไปช่วย สบโอกาสนางสดี าประทับอยูล่ าพงั พระองค์เดียวทศกัณฐ์จึงลักพานางสีดาไปกรุงลงกา นกสดายุมาต้านทานไว้แต่ก็ แทบเอาตวั ไม่รอด

133 111393 แบบทดสอบเร่อื ง การเขยี นย่อความ หน่วยท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เร่ืองการเขยี นย่อความ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอ่านขา่ วทก่ี าหนดให้แล้วเขยี นย่อความ จนี รุมสินคา้ ออรแ์ กนิคไทย กสอ.ขยายช่องทางปี’6๖2๒ นายกอบชัย สังสิทธสิ วัสด์ิ อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กล่าวว่า ขณะนี้สินค้าประกอบอินทรีย์ (ออร์แกนิค) และเครื่องสาอางของไทยได้รับความสนใจจากนักธุรกิจชาวจีนเป็นจานวนมาก ล่าสุด กสอ . ได้พา ผู้ประกอบการรายใหม่ๆ เข้าร่วมงาน “The China International Organic and Green Fook Industry Expo ๒2๐0๑18๘” ที่จัดขึ้นระหว่างวันท่ี ๘8-1๑0๐ เมษายน ๒2๕56๖1๑ ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งตลอด ๓3 วัน ได้รับ การตอบรับจากลูกค้ากลุ่มเปูาหมายท้ังค้าปลีก-ค้าส่ง รวมถึงธุรกิจออนไลน์ จากนักธุรกิจในประเทศจีนและ ต่างประเทศกว่า ๑1๕52๒ ราย ดังนั้น จึงตั้งเปูาหมายว่าภายในปี ๒2๕5๖62๒ จะเดินหน้าขยายช่องทางธุรกิจในประเทศจีน ต่อ พร้อมพัฒนามาตรฐานด้านออร์แกนิค เพื่อเสรมิ สร้างความเข้มแข็งในการขยายตลาดต่างประเทศอยา่ งต่อเนื่อง “การจัดงานในคร้ังน้ีถือเป็นผลความสาเร็จของกลุ่มบอน หรือกลุ่มผู้ประกอบการกลุ่มสินค้าสุขภาพและ เครื่องสาอางออร์แกนคิ ซึ่งเป็นกลุ่มเครอื ขา่ ยทเ่ี พงิ่ กอ่ ต้งั เป็นปีแรกทไ่ี ดร้ บั โอกาสและการสนับสนุนจาก กสอ.ในการ สรา้ งโอกาสและช่องทางการขยายธุรกจิ ในประเทศจนี โดยในปีตอ่ ไปกล่มุ บอนยังคงม่งุ มัน่ พฒั นาในมิติต่างๆ รวมถึง การพัฒนามาตรฐานทางด้านออร์แกนิคเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการขยายตลาดต่างประเทศอย่างต่อเน่ือง ” นายกอบชยั กลา่ ว (มติชน วันองั คารที่ ๑๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๑ ปีท่ี ๔๑ ฉบับท่ี ๑๔๖๔๖ หน้า ๖) ย่อความ …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………. …………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..………………..……………….

134 หน่วยการเรียนรู้ ๒ เร่ือง พิถพี ิถนั สรา้ งสรรค์ความคิด แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๕ เวลา ๑ ชว่ั โมง เร่ือง การเขียนเค้าโครงโครงงาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ขอบเขตเนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้ การเขียนเป็นทักษะอยา่ งหน่ึงที่ ขัน้ นา ๑. ใบความรู้ เรื่องการเขยี นเค้าโครงโครงงาน ต้องฝึกฝนเพื่อให้ชานาญ การเขยี น ๑. นกั เรยี นดูตัวอยา่ งรายงานการศึกษาค้นคว้า และรายงานโครงงาน ๒. ใบงาน เรอื่ งการเขียนเค้าโครงโครงงาน ในแต่ละรูปแบบจะมีความแตกตา่ ง ๒. ครูสนทนากับนักเรียนว่าใครมีประสบการณ์เขียนรายงานโครงงานมา กนั การเขียนรายงานการศกึ ษา บ้างรายวชิ าใด มีวิธีดาเนนิ การอย่างไร ภาระงาน / ชิ้นงาน คน้ คว้า เปน็ วิธีการหน่งึ ทฝ่ี กึ ให้ ๓. ครูแจง้ จดุ ประสงค์ในการเรยี นการเขยี นรายงานโครงงาน ฝกึ เขียนเค้าโครงร่างโครงงาน ผ้เู รียนไดร้ ายงานผลการศึกษา ขั้นสอน คน้ ควา้ ในเรือ่ งตา่ งๆ หลากหลาย ๑. ครอู ธบิ ายของประเภทของการเขียนรายงานโดยท่ัวไปมี ๒ อย่างคือ วิชา แล้วนาไปเขยี นบนั ทกึ เป็น ๑.๑ การเขยี นรายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ รปู แบบรายงานอย่างมหี ลักการ ใช้ ๑.๒ การเขยี นรายงานโครงงาน อา้ งองิ ผลการศึกษาคน้ ควา้ ได้ ๒. นกั เรียนศกึ ษารปู แบบการเขียนรายงานโครงงานอย่างละเอยี ด นา่ เชื่อถอื ๓. ครูนานักเรียนลาดับข้ันตอนการเขียนรายงานโครงงานต้ังแต่เริ่มต้น จนถึงเขียนรายงาน ดังนี้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ คิดหวั ข้อเรอ่ื งทีส่ นใจ ดา้ นความรู้ ๓.๒ เขยี นเคา้ โครงขออนมุ ัติ เข้าใจหลักการเขียนเค้าโครง ๓.๓ ดาเนนิ โครงงาน โครงงานและการเขยี นรายงาน ๓.๔ สรปุ รายงานโครงงาน ด้านทกั ษะและกระบวนการ ๔. ให้นกั เรียนระดมความคดิ เสนอหวั ข้อเรอื่ งทต่ี นสนใจ เช่น เขียนเค้าโครงโครงงานและ ๕.๑ สมุนไพรกบั การวจิ ยั สสู่ ากล รายงานได้ถูกต้องตามหลักการเขยี น ๕.๒ พฤตกิ รรมวัยรุ่นในการใช้โทรศัพทม์ ือถอื ๕.๓ โลกของยคุ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 112304

หนว่ ยการเรียนรู้ ๒ เรื่อง พถิ ีพิถนั สรา้ งสรรค์ความคิด แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๕ 135 เรื่อง การเขียนเคา้ โครงโครงงาน เวลา ๑ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ด้านคณุ ลกั ษณะ ๕.๔ อาชพี ท่ีรองรบั งานในยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐ - ใฝเ่ รยี นรู้ ๕.๕ อื่นๆ ท่นี ักเรียนสนใจและไดร้ ับอนมุ ตั ใิ ห้ทาได้ - มุง่ มน่ั การทางาน ๕. ให้กลุ่มระดมความคิดว่า เลือกเร่ืองใด เพราะอะไร มีวัตถุประสงค์ - มีมารยาทในการเขียน อยา่ งไร มวี ิธกี ารดาเนินอย่างไร ศกึ ษาแบบเค้าโครงโครงงานและวิธเี ขียน ขน้ั สรปุ ๑. สรุปหัวข้อเรื่องที่กลุ่มสนใจ และต้องการทาโครงงานภายในระยะเวลา ๑ เดอื น เขยี นแผนงานในแบบเค้าโครงโครงงานร่วมกัน ๒. ครตู รวจอนมุ ัติเคา้ โครงโครงงานของทุกกลุม่ ใหค้ าแนะนาเพิ่มเติม 112315

136 121326 การวดั ผลและการประเมินผล วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ ส่งิ ทีป่ ระเมิน ตรวจผลงานการเขยี น แบบประเมนิ การเขียน ผา่ นร้อยละ ๘๐ ดา้ นความรู้ เค้าโครงโครงงาน เข้าใจหลักการเขยี นรายงาน การศกึ ษาค้นควา้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ตรวจผลงานการเขยี น แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านรอ้ ยละ ๘๐ เขียนเคา้ โครงโครงงานและมี และสงั เกตการทางาน กระบวนการทางาน ดา้ นคุณลักษณะ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน คณุ ภาพระดับ ๒ - ใฝเ่ รยี นรู้ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ - มุ่งมั่นในการทางาน - มีมารยาทการเขียน ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ............................................. ปัญหาและอปุ สรรค ..................................................................................................................................................... ..................... ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ........................................ ลงชอ่ื ......................................................ผูส้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริหารหรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ...................................................... ผ้ตู รวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

137 112337 ใบความรู้ เร่ืองการเขยี นเค้าโครงโครงงาน หนว่ ยท่ี ๒ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๕ เรอ่ื งการเขียนโครงงาน รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ การเขียนโครงงาน โครงงานเป็นการทากิจกรรมท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นได้ศึกษา คน้ คว้า และลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง ภายใต้ การดูแล และให้คาปรกึ ษาของครูต้งั แต่การคดิ สรา้ งโครงงานเลือกเร่ืองทาโครงงานเลือกเรอ่ื งทาโครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบการลงมือปฏบิ ตั ิ สรุปผลและเขยี นรายงาน รวมทง้ั ร่วมกาหนดแนวทางในการ วกัดารผวลัดปผลระปเมระินเผมลนิ ผล การศึกษาคน้ คว้าตามความสนใจตามความถนดั และตามความสามารถของผู้เรียนเอง ภายใตก้ ระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์เพ่ือใหไ้ ด้มาซงึ่ คาตอบหรือผลงานซึ่งมคี วามสมบรู ณ์ ในตวั โดยผู้เรยี นเป็นผวู้ างแผนการศกึ ษา ค้นคว้า และดาเนินการดว้ ยตนเอง เพ่ือใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ มีเจตคติทีด่ ตี ่อกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ครเู ปน็ เพียงผ้ใู ห้คาปรึกษา (Adviser) เท่าน้ัน โครงงาน (Project) คือแผนการและกิจกรรมที่มีการกาหนดรูปแบบการทางานอย่างมีระบบ มีกระบวนการทางานท่ีชัดเจนเพื่อให้สามารถผลิตช้ินงานหรือผลงานท่ีสัมพันธ์กับหลังสูตรและนาไปใช้ประโยชน์ ในชีวติ จรงิ ได้ โดยอาจทาเปน็ รายบคุ คลหรอื กลุม่ ก็ได้ข้ึนอยู่กับขอบขา่ ยความยากงา่ ยของโครงงานน้ันๆ ประเภทของโครงงาน โครงงานสามารถแบง่ ตามลกั ษณะของกจิ กรรมได้ ๔ ประเภท ดังนี้ ๑. โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภทสารวจ เป็นโครงงานประเภทเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือหาสาเหตุ ของปัญหาหรือสารวจ ความคดิ เหน็ ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมไดบ้ างอยา่ งอาจเปน็ ปัญหาท่ีนาไปสกู่ ารทดลองหรือค้นพบสาเหตุของปัญหาท่ีต้องหา วิธแี กไ้ ขปรบั ปรุงร่วมกัน เช่น โครงงานการสารวจ คาทมี่ ักเขยี นผิด โครงงานสารวจการใช้คาคะนองในหนังสือพิมพ์ เป็นต้น ๒. โครงงานประเภทการทดลอง โครงงานประเภทการทดลอง เป็นโครงงานท่ีต้องออกแบบทดลอง เพื่อการศึกษา ผลการทดลองว่าเป็นไป ตามท่ีตั้งสมมติฐานไว้หรือไม่ โครงงานประเภทน้ีต้องสรุปความรู้ หรือผลการทดลองเป็นหลักการหรือแนวทาง การปฏิบัติไว้ เช่น โครงงานการทดลองยากันยุง จากพืชสมุนไพร โครงงานการทดลองปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ เป็นตน้ ๓. โครงงานประเภทสงิ่ ประดิษฐ์ โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นโครงงานท่ีประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์ เข้าสู่กระบวนการปฏิบัติ โดยอาศัยเครื่องมือ วสั ดุ อุปกรณ์ เพ่อื ประดษิ ฐ์ชิ้นงานใหม่ อาจเปน็ ของใช้ เครือ่ งประดับจากวัสดุเหลือใช้ หรือนา วัสดุท้องถ่ินที่มีมากมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น โครงงานประดิษฐ์ของท่ีระลึกผลิตจากไม้ลาดวน โครงงานการ

138 112348 ประดษิ ฐเ์ ครือ่ งจกั สาน จากผักตบชวา โครงงานการประดษิ ฐเ์ คร่อื งช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี เปน็ ต้น ๔. โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานท่ีมีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ เสนอความรู้ หรือหลักการใหม่ ๆ เก่ียวกับเร่ืองใด เรื่องหน่ึงท่ียังไม่มีใคร เคยคิด หรือคิดขัดแย้ง หรือขยายจากของเดิมท่ีมีอยู่ จากเน้ือหาวิชาการ หลักการ ทฤษฎีต่างๆ นามาปรับปรุง พัฒนา ให้สอดคล้องมีความชัดเจน มีผลงานท่ีเป็นรูปธรรม ซ่ึงต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการและเชื่ อถือได้ เช่น การใช้สมุนไพรในการปราบศัตรูพืช การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการถนอมอาหารและปรุงอาหาร เกษตร แบบผสมผสาน เทคนคิ การแกโ้ จทยป์ ัญหา ขน้ั ตอนการจัดทาโครงงาน การจัดทาโครงงานทั้ง ๔ ประเภทดังกล่าวมีรายละเอียด และข้ันตอนในการจัดทาแปลกแตกต่างกันบ้าง ตามคุณลักษณะของโครงงานในแต่ละประเภท แต่ข้ันตอนโดยรวมของการจัดทาโครงงานมีลาดับข้ันตอนสาคัญๆ ใน ๕ ขัน้ ตอน ดังน้ี ๑. กาหนดเน้ือหาสาระการทาโครงงานตามความสนใจ ๑.๑ สอดคล้องกับเนอ้ื หาทจ่ี ะศกึ ษา ๑.๒ ศึกษาและรวบรวมข้อมลู ๑.๓ กาหนดหวั ขอ้ เรอื่ งในการจดั ทาโครงงานโดย ๑.๓.๑ สอดคล้องกบั ความสนใจ ๑.๓.๒ เปน็ ไปตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น ๒. กาหนดประเดน็ การจดั ทาโครงงาน ๒.๑ คดั เลอื กประเด็นที่ตอ้ งการจะนาไปจดั ทาเป็นโครงงาน ๒.๒ กาหนดกรอบการศกึ ษาเฉพาะประเดน็ ท่ีตอ้ งการเรยี นรูห้ รือตอ้ งการคาตอบ ๒.๓ กาหนดประเภทของโครงงานท่สี อดคลอ้ งกบั ประเด็นทก่ี าหนดว่า เปน็ โครงงานประเภทใด ๒.๓.๑ โครงงานประเภทสารวจ ๒.๓.๒ โครงงานประเภทการทดลอง ๒.๓.๓ โครงงานประเภทสงิ่ ประดษิ ฐ์ ๒.๓.๔ โครงงานประเภททฤษฎี ๓. วางแผนในการจดั ทาโครงการ ๓.๑ กาหนดโครงเรอื่ งในการเขยี นโครงงาน ๓.๒ กาหนดกิจกรรม ๓.๓ กาหนดข้ันตอนการเขยี นโครงงาน ๓.๔ เขยี นโครงงาน ๓.๕ เสนอโครงงานให้ครูร่วมพจิ ารณาให้คาปรกึ ษาแนะนา ๔. ดาเนนิ กิจกรรมตามข้นั ตอนที่กาหนดไวใ้ นโครงงาน ๕. การเขียนรายงานโครงงาน สรปุ ผลท่ไี ดร้ บั จากการจัดทาโครงงาน

139 112359 ในการจัดทาโครงงานและเขียนรายงานโครงงานนน้ั ข้นั ตอนแรกคือ การเขียนเค้าโครงโครงงาน เพื่อเสนอ ขออนมุ ัติก่อน ส่วนประกอบของการเขยี นเค้าโครง โครงงาน ส่วนประกอบของการเขียนเคา้ โครงโครงงาน ๑. ชือ่ โครงงาน ๒. แนวคิด/ที่มา/ความสาคัญ ๓. วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษาค้นควา้ ๔. สมมติฐานของการศกึ ษาค้นควา้ (ถา้ มี) ๕. ขนั้ ตอนการดาเนินงาน ๖. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั ๗. รายชอ่ื ผู้รับผดิ ชอบโครงงาน ๘. อาจารยท์ ่ีปรึกษา ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผูอ้ นุมตั ิโครงงาน กระบวนการเขียนเค้าโครงโโคครรงงงงาานน การเขียนเค้าโครงโครงงาน เป็นขั้นตอนสาคัญเริ่มต้นการทาโครงงาน เป็นการวางแผนความคิดให้เข้าใจ ชัดเจนวา่ ผ้เู ขียนสนใจจะค้นคว้าเร่อื งใด ดังนน้ั จึงควรพจิ ารณาเขยี นแต่ละหัวข้อ ดงั น้ี ๑. การเลือกเรื่องและต้ังช่ือเร่ือง ควรเป็นเร่ืองใกล้ตัวเสริมความรู้ในสาขาวิชาใดวิชาหน่ึง และเป็นเรื่องท่ี ผเู้ ขยี นสนใจ มีประโยชน์ค้นคว้าได้สะดวก เหมาะสมกบั เวลา ๒. แนวคดิ ท่มี า/ความสาคญั เขยี นแสดงความคิดใหเ้ ห็นว่าเรอื่ งนี้มคี วามสาคัญอย่างไร นาไปใช้ประโยชน์ ไดอ้ ย่างไร ๓. วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาค้นควา้ กาหนดเป้าหมายหลัก ๑-๒ ขอ้ ไมต่ ้องมากมาย และเป็นสิ่งที่บรรลไุ ด้ ๔. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถา้ ม)ี เป็นการคาดคะเนคาตอบไวล้ ว่ งหนา้ ว่าการศึกษาค้นคว้าจะพบ คาตอบใด ๕. ขั้นตอนการดาเนินงาน ลาดับกิจกรรมก่อน-หลังตามลาดับเวลาในช่วงแผนงาน กาหนดระยะเวลา ปฏบิ ตั ิกิจกรรมน้ันและประมาณค่าใชจ้ ่ายลว่ งหน้า ๖. ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ เป็นการคาดคะเนล่วงหน้าว่าเม่ือดาเนินโครงงานแล้วเสร็จจะได้อะไรบ้าง ให้ สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ ๗. รายชื่อผู้รับผิดชอบโครงงาน ตามสภาพจริงใส่ข้อมูลละเอียด เพื่อให้ครูสะดวกในการติดตาม ประสานงาน

140 112460 ใบงาน เร่ืองการเขยี นเค้าโครงโครงงาน หน่วยที่ ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๕ เร่ืองการเขียนโครงงาน วชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ แบบเสนอเคา้ โครงโครงงาน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรียน……………………………………………………… ๑. ช่อื โครงงาน………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. แนวคดิ /ที่มา/ความสาคญั ………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. วตั ถปุ ระสงค์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน แผนงาน ระยะเวลาปฏิบัติ งบประมาณ ๕. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. รายช่ือผรู้ ับผิดชอบโครงงาน ๖.๑………………………………………………………… ช้ัน ม……./……… ๖.๒………………………………………………………… ชัน้ ม……./……… ๖.๓………………………………………………………… ชั้น ม……./……… ๗. อาจารยท์ ปี่ รึกษา ๗.๑……………………………………………………………………………….. ๗.๒……………………………………………………………………………….. ๘. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผอู้ นุมัติโครงงาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………………ผู้อนุมตั ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook