Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Published by elibraryraja33, 2021-08-25 03:55:52

Description: 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Search

Read the Text Version

41 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ จับใจจับตาหาความสาคัญ แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๓ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรอื่ ง การท่องจาบทอาขยาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ขอบเขตเนอ้ื หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ การท่องจาบทอาขยาน ขน้ั นา 1. บทอาขยาน เร่ือง พระอภัยมณี ตอนพระ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงบทอาขยานทนี่ ักเรยี นชืน่ ชอบและ พอรภะัอยภมัยณมีหณนีหีนนาีนงาผงีเผสเี ื้สอ้ือสสมมุทุทรร จากหนังสือเรียน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ อยใู่ นความทรงจาว่าเพราะเหตุใดเราจึงชื่นชอบและจดจาบทอาขยาน ภาษาไทยวรรณคดวี ิจกั ษ์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ดา้ นความรู้ นั้น ๆ ได้ จากนน้ั ครจู งึ กลา่ วเชือ่ มโยงเข้าสูบ่ ทเรยี น 2. ใบความรู้เรอื่ ง การทอ่ งจาบทอาขยาน 1. บอกความหมายของอาขยานได้ ๒. ครอู ธบิ ายจดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลให้ ๓. ใบงาน เร่ือง การคัดลายมือ 2. บอกวัตถุประสงค์ของการท่องอาขยานได้ นกั เรยี นทราบ ภาระงาน/ชิน้ งาน 3. อธิบายประโยชนข์ องการทอ่ งจาบทอาขยาน ข้นั สอน ทอ่ งจาบทอาขยาน เรอื่ ง พระอภัยมณี ตอน 1. นักเรยี นศึกษาใบความรู้ เร่ือง การท่องจาบทอาขยาน พระอภัยมณหี นีนางผเี ส้ือสมุทร ด้านทักษะ/กระบวนการ 2. ครสู ่มุ ถามนักเรียนในประเด็นดังตอ่ ไปนี้ ท่องจาบทอาขยาน เรอ่ื งพระอภัยมณี ตอน - ความหมายของอาขยาน พระอภัยมณหี นีนางผเี สื้อสมุทร - วัตถปุ ระสงคข์ องการท่องอาขยาน - ประโยชน์และคณุ ค่าองการทอ่ งจาบทอาขยาน ด้านคณุ ลักษณะ 3. ครูติดบทประพนั ธจ์ ากเร่อื ง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนาง ๑. มีวนิ ัย นผีเาสงือ้ผสเี สมื้อทุ สรมบุทนรกบรนะกดราะนดดานังนด้ีงั นี้ ๒. ใฝ่เรียนรู้ “พระโฉมยงองค์อภัยมณีนาถ เพลนิ ประพาสพิศดหู มมู่ ัจฉา ๓. มุ่งมัน่ ในการทางาน เหล่าฉลามล้วนฉลามตามกนั มา คอ่ ยเคล่ือนคลาคลา้ ยคล้ายในสายชล ๔. รกั ความเป็นไทย ฉนากอยูค่ ่ฉู นากไมจ่ ากคู่ ขน้ึ ฟอ่ งฟพู ่นฟองละอองฝน ฝงู พิมพาพาฝูงเข้าแฝงวน บา้ งผดุ พ่นฟองนา้ บ้างดาจร กระโหเ้ รียงเคยี งกระโห้ข้ึนโบกหาง ลอยสล้างกลางกระแสแลสลอน มงั กรเกี่ยวเล้ยี วลอดกอดมงั กร ประชุมซอ่ นแฝงชลขนึ้ วนเวียน ฝงู มา้ น้าทาทา่ เหมือนมา้ เผ่น ข้ึนลอยเลน่ เลย้ี วลดั ฉวดั เฉวยี น ตะเพยี นทองท่องนา้ นาตะเพยี น ดาษเดียรดูเพลินจนเกนิ มา 2471

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ จับใจจับตาหาความสาคญั แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ 42 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรอ่ื ง การทอ่ งจาบทอาขยาน เวลา ๑ ชั่วโมง รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ เหน็ ละเมาะเกาะเขาเขยี วชอุ่ม โขดตะคมุ่ เคียงเคียงเรยี งรกุ ขา จะเหลยี วซา้ ยสายสมุทรสุดสายตา จะแลขวาควนั คลมุ้ กลุ้มโพยม จะเหลียวดสู รุ ยิ ์แสงเข้าแฝงเมฆ ใหว้ ิเวกหวาดองค์พระทรงโฉม ฟงั สาเนยี งเสยี งคลน่ื ดงั ครนื้ โครม ยิง่ ทุกข์โทมนสั ในฤทยั ทวี” 4. นกั เรียนอ่านบทประพันธ์เปน็ ทานองธรรมดา 1 รอบ 5. นักเรียนอา่ นบทประพันธ์เปน็ ทานองเสนาะ 1 รอบ 6. ครูเสนอแนะทว่ งทานองการแบ่งวรรคตอนการอ่านทานองเสนาะ การอ่านรวบคา การอ่านเอื้อสัมผสั และการเออ้ื นเสียงเพ่ือใหเ้ กดิ ความ ไพเราะ นกั เรยี นแบง่ กลุม่ เป็น ๕ กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน เลือกประธาน และเลขานุการกล่มุ ๗. นักเรยี นฝึกท่องจาบทอาขยาน เร่อื งพระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณี หนนี างผีเสอ้ื สมุทร ๘. นักเรยี นทาใบงาน เรือ่ ง การคัดลายมอื ๙. ขณะทีน่ กั เรยี น ทากิจกรรมกลุ่ม ครูสังเกตพฤตกิ รรมการทางาน กลุ่มและบันทึกลงแบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุม่ ๑๐. ครูแจง้ กาหนดการสอบท่องจาบทอาขยานหลักให้นกั เรียนทราบ ขัน้ สรุป ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรปุ ในประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ - ความหมายของอาขยาน - วัตถปุ ระสงค์ของการท่องอาขยาน - ประโยชน์ของการทอ่ งจาบทอาขยาน 2482

43 2493 ๗. การวัดผลและประเมนิ ผล วธิ กี าร เคร่อื งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ ๑. ถามคาถาม สงิ่ ทต่ี ้องการวัด/ประเมนิ ๒. ถามคาถาม ๑. แบบประเมินการ ๑. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรู้ กตาอรตบอคบาถคาำ� มถาม ร้อยละ ๘๐ ๑. บอกความหมายของอาขยาน ๓. ถามคาถาม ได้ ๒. แบบประเมนิ การ ๒. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ๒. บอกวตั ถุประสงค์ของการ กาตรอตบอคบาคถำ� าถมาม รอ้ ยละ ๘๐ กทาอ่ รงทออ่ างขอยาาขนยไาดน้ ได้ ๓. แบบประเมินการ ๓. ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๓. อธิบายประโยชน์ของการ กตาอรตบอคบาถคา�ำมถาม ร้อยละ ๘๐ กทาอ่ รงทจอ่ างบอทาอขายขานยาไดน้ ได้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ การประเมนิ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ท่องจาบทอาขยาน การทอ่ งจาบทอาขยาน ร้อยละ ๘๐ เรอ่ื งพระอภยั มณี ตอนพระอภัย สงั เกตคณุ ลักษณะอนั มณีหนีนางผเี สอ้ื สมุทร พงึ ประสงค์ แบบสังเกตคุณลักษณะ ระดบั คุณภาพ ๒ อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ด้านคณุ ลกั ษณะ ๑. มีวินัย ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. มงุ่ มนั่ ในการทางาน ๔. รักความเปน็ ไทย ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่ือ ......................................ผู้สอน (.................................................) วนั ที.่ .........เดือน..........พ.ศ.......... ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ......................................ผู้ตรวจ (...............................................) วนั ท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ.........

44 3404 ใบความรเู้ รื่อง การทอ่ งจาบทอาขยาน หนว่ ยท่ี ๑ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๓ เรือ่ ง การทอ่ งจาบทอาขยาน รายวชิ า พน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาท่ี ๓ การทอ่ งจาบทอาขยาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕4 ให้นิยามคาว่า “อาขยาน” ไว้ว่า บทท่องจา การบอกเล่า การบอก การสวด เร่ือง นิทาน “อาขยาน” อ่านออกเสียงได้ ๒ อย่าง คือ อา - ขะ - หยาน หรือ อา - ขะ -ยาน กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายกาหนดให้มีการท่องอาขยานอย่างจริงจังในสถาน ศึกษาตั้งแต่ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๒ เปน็ ต้นไป โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ของการทอ่ งอาขยาน ดังนี้ ๑. เพอื่ ให้นกั เรยี นตระหนักในคุณคา่ ของภาษาไทยและใหซ้ าบซ้ึงในความไพเราะของบทร้อยกรอง ๒. เพื่อเปน็ พน้ื ฐานในการแตง่ คาประพนั ธ์ ๓. เพอ่ื เปน็ สื่อในการถา่ ยทอดคุณธรรม คติธรรม และข้อคิดที่เปน็ ประโยชนแ์ ก่เยาวชน ๔. เพ่ือส่งเสริมใหม้ จี ิตสานึกทางวัฒนธรรมของคนในชาติในฐานะ “รากรว่ มทางวัฒนธรรม” ประโยชน์ของการทอ่ งจาอาขยาน การท่องจาบทอาขยานเปรียบเสมือนเปน็ บันไดขั้นแรกท่ีนาไปส่กู ารคิด เม่ือมีข้อมูลตัวอย่างท่ีดีซ่ึงเปน็ คลังความรู้ท่ีเราเก็บไว้กับตัว ต้องการใช้เมื่อใดเราก็สามารถนาออกมาใช้ได้ทันที นอกจากน้ันการท่องจา บทอาขยานยังเป็นพ้ืนฐานท่ีนาไปสู่การเลือกจาบทประพันธ์ท่ีมีคุณค่าท้ังในเชิงภาษาและเนื้อหาท่ีเราได้พบ ในชวี ติ ประจาวันอีกด้วย การทอ่ งจาบทอาขยานมีประโยชน์ สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. ชว่ ยให้เกดิ ความซาบซึ้งในเร่อื งที่อ่าน 2. ฝึกการคดิ วิเคราะห์และประเมนิ ค่าเร่อื งที่อ่าน 3. เป็นตวั อย่างการใช้ภาษาท่ีไพเราะ 4. ชว่ ยให้มคี ตปิ ระจาตวั สอนใจให้ได้ระลกึ ถงึ คณุ ธรรมทไี่ ด้จดจา 5. ชว่ ยกลอ่ มเกลาและจรรโลงใจใหม้ คี วามประณตี มากขน้ึ 6. เปน็ ตัวอยา่ งการแตง่ คาประพันธต์ ามรปู แบบทไ่ี ดท้ ่องจา 7. ไดร้ ับความเพลิดเพลนิ สนุกสนาน 8. สามารถนาไปใช้อา้ งอิงในงานต่าง ๆ ได้ ปรบั ปรงุ มาจาก www.thaigoodview.com

45 3415 ใบงานเรอื่ ง การคัดลายมือ หนว่ ยท่ี ๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เร่ือง การท่องจาบทอาขยาน รายวชิ า พ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมัธยมศึกษาท่ี ๓ คาชีแ้ จง ให้นกั เรยี นคัดลายมอื ตวั บรรจงคร่ึงบรรทัดบทอาขยานทก่ี าหนดให้ต่อไปน้ี “พระโฉมยงองค์อภัยมณนี าถ เพลนิ ประพาสพิศดูหมู่มจั ฉา เหลา่ ฉลามลว้ นฉลามตามกนั มา ค่อยเคลื่อนคลาคลา้ ยคลา้ ยในสายชล ฉนากอยู่คู่ฉนากไมจ่ ากคู่ ขน้ึ ฟ่องฟูพ่นฟองละอองฝน ฝงู พิมพาพาฝงู เข้าแฝงวน บา้ งผุดพน่ ฟองน้าบ้างดาจร กระโห้เรยี งเคียงกระโห้ขน้ึ โบกหาง ลอยสลา้ งกลางกระแสแลสลอน มังกรเกย่ี วเลย้ี วลอดกอดมงั กร ประชมุ ซอ่ นแฝงชลข้ึนวนเวียน ฝงู ม้าน้าทาท่าเหมือนมา้ เผน่ ขนึ้ ลอยเล่นเลีย้ วลัดฉวัดเฉวียน ตะเพยี นทองทอ่ งนา้ นาตะเพียน ดาษเดยี รดูเพลนิ จนเกนิ มา เหน็ ละเมาะเกาะเขาเขียวชอุ่ม โขดตะคุ่มเคียงเคียงเรียงรุกขา จะเหลียวซา้ ยสายสมุทรสดุ สายตา จะแลขวาควันคลุ้มกลุ้มโพยม จะเหลยี วดูสุรยิ ์แสงเข้าแฝงเมฆ ให้วิเวกหวาดองค์พระทรงโฉม ฟงั สาเนยี งเสยี งคลื่นดังครนื้ โครม ย่ิงทกุ ข์โทมนัสในฤทัยทวี” ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................

46 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ จับใจจบั ตาหาความสาคญั เรือ่ ง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสอื้ สมุทร เวลา ๑ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ขอบเขตเน้อื หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ ๑. การสรปุ เนอื้ หาจากเรื่องพระอภัยมณี ตอน พระ ขัน้ นา ๑. หนงั สอื เรียนวรรณคดวี ิจักษ์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ อพภระัยอมภณยั ีหมนณีนหี านงผีนเีาสง้ือผสเี สม้ือุทสรมทุ ร ๑. ครูเขียนคาประพนั ธ์บนกระดานดา ๒. ใบงานเรอ่ื ง การถอดคาประพันธ์ “ถงึ บางพูดพูดดเี“ปถน็ ึงบศราศีงพักดู พ์ิ ูดดเี ปน็ ศรศี กั ดิ์ ๓. เกมถามไปตอบมา จุดประสงค์ มีคนรกั รสมถีคอ้นยรอกั ร่อสยถจ้อติยอรอ่ ยจิต ดา้ นความรู้ แมน้ พดู ชแัว่ มตน้ วั พตาดู ยชทว่ั าตลัวาตยามยิตทร�ำลายมติ ร ภาระงาน/ช้นิ งาน ๑. หลักการสรปุ เนอ้ื หาจากเร่ืองท่ีอา่ น จะชอบผจดิ ะในชอมบนผษุ ิดยใเ์ นพมรานะษุ พยดู เ์ พจาร”าะพดู จา” ๒. อธิบายความหมายของคาศพั ท์จากวรรณคดเี ร่ือง ครใู หน้ ักเรียนอ่านคาประพันธ์บนกระดานดา ครูถามนักเรียนวา่ พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณีหนนี างผีเสื้อสมุทร คาประพนั ธข์ า้ งตน้ นกั เรียนเคยได้ยินไดฟ้ งั หรอื ไม่และนักเรยี น ๓. หลกั การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อย ทราบหรือไมว่ า่ เปน็ ผลงานของใคร มาจากวรรณคดเี รือ่ งใด กรอ้ รอยกง รอง (ผลงานของสนุ ทรภู่ จากวรรณคดีเร่อื ง นิราศภูเขาทอง) ครู ด้านทกั ษะและกระบวนการ อธบิ ายเช่อื มโยงเข้าสู่เนื้อหา ๑. สรุปบทนาเรอ่ื งพระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณี ๒. ครูอธิบายจุดประสงค์การเรียนรู้และวิธีการวัดและ หนีนางผเี สอ้ื สมุทร ประเมนิ ผลให้นกั เรียนทราบ ๒. บอกความหมายของคาศัพท์จากวรรณคดีเร่ือง ขนั้ สอน พระอภัยมณตี อนพระอภัยมณหี นีนางผีเส้อื สมุทร ๑. นักเรียนศกึ ษาบทนาเรื่องพระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณี ๓. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ จากบทนาเรื่องและอ่าน หนีนางผีเสื้อสมุทร โดยครูกาหนดให้นักเรียนศึกษา ความ ออกเสยี งบทร้อยกรองจากวรรณคดเี รอื่ งพระอภัย คเปวา็นมมเปาน็ ปมราะปวรัตะิผวตัู้แิผตแู้ ่งตง่ลักลกัษษณณะะคคาำ� ประพนั นธธ์ ์จจากานก้นั ใ้ันหใ้ ห้ มณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผเี ส้อื สมทุ ร นักเรียนตั้งคาถามจากเนื้อหาที่อ่านคนละ ๒ คาถาม พร้อม ท้งั หาคาตอบ 3426

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ จับใจจับตาหาความสาคัญ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔ 47 กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เร่อื ง พระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสอ้ื สมทุ ร เวลา ๑ ชั่วโมง ดา้ นคุณลักษณะ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ๒. มงุ่ มั่นในการทางาน ๒. นักเรียนเล่นเกม “ถามไปตอบมา” ครูแบ่งนักเรียน ออกเป็น ๒ กลุ่ม ตามที่น่ังของนักเรียน จากน้ันให้นักเรียน สลับกันถามคาถามและตอบคาถามจากเรื่องท่ีอ่านโดยให้ สมาชิกชว่ ยกันตอบคาถาม กลุ่มใดตอบได้ทุกคาถามกลุ่มน้ัน คือผชู้ นะ ๓. นกั เรยี นฝึกอา่ นทานองเสนาะเร่อื งพระอภยั มณี ตอนตอน พพรระะออภภัยยั มมณณหี หี นนีนนี าางงผผเี สเี ส้อื อื้ สสมมทุ ทุ รร ๔. ครูอธิบายหลักการถอดคาประพันธ์ นักเรียนจับคู่กับ เพื่อนทาใบงานท่ี ๑ เรื่องการ ถอดคาประพันธ์ เสร็จแล้วให้ นักเรียนร่วมกนั เฉลย ครูอธิบายเพิม่ เตมิ ในส่วนทขี่ าด ขนั้ สรุป ๑. นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปเรอื่ งพระอภัยมณีตอนพระ อภัยมณหี นนี างผีเส้ือสมุทร ๒. นกั เรียนจดบนั ทึกคาวามรู้ทีไ่ ด้จากการเรียนและการทา กิจกรรมลงในสมุด 33 47

48 3448 ๗. การวดั ผลและการประเมินผล ส่ิงที่ต้องการวดั /ประเมนิ วิธีการ เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ๑. ถามคาถาม ๑. หลกั การสรุปเนื้อหาจาก ๑. คาถาม ๑. ผา่ นเกณฑก์ าร เร่ืองท่ีอา่ น ๒. คาถาม กปารระปเมระินเรม้อนิ ยรล้อะยล๘ะ๐๘๐ ๒. อธบิ ายความหมายของ ๒. ถามคาถาม ๒. ผา่ นเกณฑก์ าร คาศัพท์จากวรรณคดเี รื่อง กปารระปเมระนิ เรม้อนิ ยรลอ้ ะยล๘ะ๐๘๐ พระอภัยมณี ตอน พระอภยั มณีหนนี างผเี สือ้ สมุทร ๓. อธบิ ายหลกั การอา่ นออก ๓. ถามคาถาม ๓. คาถาม ๓. ผา่ นเกณฑก์ าร อเสอียกงเบสียทงรบ้อทยรแ้อกยว้ แแกลว้ ะแบลทะรอ้ ย ปกราะรเปมรินะรเม้อนิยลรอ้ะย๘ล๐ะ ๘๐ บกรทอรง้อยกรอง ด้านทักษะและกระบวนการ ๑. คาถาม ๑. ผา่ นเกณฑ์การ ๑. สรปุ บทนาเรอ่ื งพระอภยั มณี ๑. ถามคาถาม ปกราะรเปมรินะรเม้อินยลรอ้ะย๘ล๐ะ ๘๐ ตมอณนี ตพอรนะอพภรยั ะมอณภัยหี มนณี ีหนี นางผีเสื้อสมทุ ร ๒. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ ๒. ถามคาถาม ๒. คาถาม ๒. ผา่ นเกณฑก์ าร จากบทนาเรื่องและอา่ นออก สงั เกตคุณลักษณะอัน แบบประเมิน ปกราะรเปมรินะรเม้อนิยลรอ้ะย๘ล๐ะ ๘๐ อเสอยี กงเบสยีทงรบอ้ ทยรก้อรยอกงจรอากงจาก วรรณคดเี ร่อื งพระอภัยมณี พึงประสงค์ คณุ ลักษณะอนั พงึ ระดับคุณภาพ ๒ ตอน พระอภยั มณีหนีนาง ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ผเี ส้อื สมุทร ดา้ นคุณลกั ษณะ ๑. ใฝเ่ รียนรู้ ๒. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

49 3459 ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอ่ื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันที.่ .........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ................................................................................................................................... ........................................ ลงช่ือ ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วันที่..........เดือน..........พ.ศ...............

50 3560 ใบงานเร่ือง การถอดคาประพันธ์ หนว่ ยท่ี ๑ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๔ เรอ่ื ง พระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณหี นนี างผเี สื้อสมทุ ร ๑ รายวิชา พื้นฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาที่ ๓ คาชีแ้ จง ให้นักเรียนถอดคาประพันธจ์ ากเร่อื งพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนนี างผเี สอื้ สมุทร ทีก่ าหนดให้ต่อไปน้ี พระโฉมยงองค์อภยั มณนี าถ เพลนิ ประพาสพิศดหู มู่มจั ฉา เหล่าฉลามลว้ นฉลามตามกันมา คอ่ ยเคลื่อนคลาคล้ายคลา้ ยในสายชล ฉนากอยู่ค่ฉู นากไม่จากคู่ ขน้ึ ฟ่องฟูพน่ ฟองละอองฝน ฝูงพิมพาพาฝงู เข้าแฝงวน บ้างผดุ พ่นฟองน้าบา้ งดาจร กระโหเ้ รียงเคียงกระโห้ขนึ้ โบกหาง ลอยสลา้ งกลางกระแสแลสลอน มงั กรเกีย่ วเลีย้ วลอดกอดมังกร ประชมุ ซอ่ นแฝงชลขน้ึ วนเวียน ฝูงมา้ นา้ ทาท่าเหมือนมา้ เผ่น ขึ้นลอยเล่นเลย้ี วลัดฉวัดเฉวยี น ตะเพียนทองทอ่ งนา้ นาตะเพยี น ดาษเดียรดูเพลนิ จนเกนิ มา เห็นละเมาะเกาะเขาเขียวชชออุ่มุ่ม โขดตะคุ่มเคียงเคียงเรยี งรุกขา จะเหลยี วซา้ ยสายสมทุ รสุดสาตยตาา จะแลขวาควนั คลุม้ กลุ้มโพยม จะเหลียวดูสุรยิ ์แสงเขา้ แฝงเมเมฆฆ ใหว้ เิ วกหวาดองค์พระทรงโฉม ฟงั สาเนียงเสียงคล่ืนดังครนื้ โครม ยง่ิ ทกุ ข์โทมนสั ในฤทยั ทวี ถอดคาประพนั ธ์ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

51 3571 เฉลยใบงานเรอ่ื ง การถอดคาประพันธ์ หนว่ ยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เร่อื ง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณีหนีนางผีเส้ือสมุทร ๑ รายวิชา พื้นฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาที่ ๓ เฉลยถอดคาประพันธ์ พระอภัยมณีระหว่างเดินทางกลางมหาสมุทรก็เพลิดเพลินกับการชมฝูงสัตว์ต่าง ๆ แหวกว่าย อย่างสนุกสนาน มองไปทางซ้ายเห็นมหาสมุทรท่ีไม่มีวันส้ินสุด จะมองทางขวาก็เห็นกลุ่มควันเต็มไปหมด มองเหน็ พระอาทิตย์ทม่ี ีเมฆบดบงั ฟงั เสียงคลืน่ ท่ีซดั สาดก็ทาใหจ้ ิตใจวา้ เหว่

52 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ จับใจจับตาหาความสาคัญ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๕ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรื่อง พระอภัยมณี ตอน พระอภยั มณีหนนี างผเี ส้ือสมทุ ร ๒ ขอบเขตเน้อื หา รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ การสรุปเนอื้ หาวรรณคดี ขนั้ นา ๑. หนังสอื วรรณคดเี ร่ือง พระอภยั มณีฉบบั สมบูรณ์ จุดประสงค์ ๑. ครนู าหนงั สือเร่ืองพระอภัยมณฉี บับสมบูรณ์มาให้ ๒. คาประพันธจ์ ากเรื่องพระอภัยมณี ด้านความรู้ นกั เรยี นได้ดู ครนู านักเรียนสนทนาเกยี่ วกบั เร่ืองพระ ๓. หนงั สอื เรียนวรรณคดีวจิ ักษ์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ อพภระัยอมภณยั เี มพณ่ือทเี พบ่ือททวบนทคววนาคมวราู้ขมอรงขู้ นอักงเนรกัียเนรียน ๔. ใบงาน เรอ่ื ง คาศัพท์จากวรรณคดี หลักการสรุปเนือ้ หาวรรณคดี ๒. ครูอธบิ ายจุดประสงค์การเรยี นรแู้ ละวิธีการวดั และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ประเมินผลใหน้ ักเรียนทราบ ขน้ั สอน ภาระงาน/ชิน้ งาน เขียนสรุปเนือ้ หาวรรณคดี เร่ือง พระอภัยมณี ๑. นักเรยี นอ่านบทกลอนที่ครูแสดงบทกระดานดา ๑. เขยี นสรุปเนอ้ื หาเรอ่ื งพระอภยั มณี ตอน พระอภยั ตอน พระอภยั มณหี นีนางผเี ส้ือสมุทร ถึงมว้ ยสน้ิ ดินฟ้ามหาสมุทร พมรณะีหอนภนียั มางณผีหเสนือ้ ีนสามงุทผรีเส้อื สมุทร ด้านคุณลกั ษณะ ไม่ส้ินสดุ ความรักสมัครสมาน ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ แม้เกิดในใตห้ ลา้ สธุ าธาร ๒. มุ่งมัน่ ในการทางาน ขอพบพานพิศวาสไม่คลาดคลา แม้เนือ้ เยน็ เป็นหว้ งมหรรณพ พขี่ อพบศรีสวสั ดิเ์ ปน็ มัจฉา แม่เป็นบวั ตัวพ่ีเป็นภมุ รา เชยผกาโกสุมประทุมทอง เจ้าเป็นถา้ อาไพขอให้พี่ เปน็ ราชสหี ์สิงส่เู ปน็ ค่สู อง 3582

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ 53 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ จับใจจับตาหาความสาคญั เร่อื ง พระอภัยมณี ตอน พระอภยั มณีหนนี างผีเสื้อสมุทร ๒ เวลา ๑ ช่ัวโมง กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ จะติดตามทรามสงวนนวลละออง เปน็ คคู่ รองพศิ วาสทุกชาตไิ ป ๒. ครูแนะนาหลกั การถอดคาประพนั ธ์และการสรปุ เนื้อหาจากเรื่องที่อ่าน (ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ อย่างไร) นกั เรยี นรว่ มกนั ถอดคาประพนั ธท์ ค่ี รูแสดงบน กระดาน ๓. นักเรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละ ๔ – ๕ คน จากนน้ั ให้แตล่ ะ กลุ่มตั้งช่ือกลมุ่ โดยใช้ช่ือตัวละครจากเรอื่ งพระอภยั มณี ครูแจกกระดาษเทาขาวให้นักเรียนกล่มุ ละ ๑ แผน่ พร้อมปากกาเคมีกลมุ่ ละ ๓ สี ครูมอบหมายใหแ้ ตล่ ะ กลุม่ ร่วมกันสรุปเนื้อหาเรอ่ื งพระอภัยมณี ตอน พระอภัย พมณระีหอนภนี ัยามงณผีเหสนอื้ ีนสามงุทผรีเสใ้อืนสสมว่ ทุนรทไ่ี ใดนร้ สับ่วมนอทบไี่ หด้รมบัายมอกบลห่มุ มลาะย กปลระุ่มมลาะณปร๑ะ๐มบาณท จ๑าก๐นนั้บใทห้เขจียานกสนรั้นุปใลหง้เใขนียกนระสดราุปษลทงี่ ใน กคระแู ดจากษทีค่ รูแจก ๔. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงานตามที่กลุม่ ของ นกั เรียนไดร้ บั มอบหมายหน้าชน้ั เรยี น โดยเรียง ตามลาดบั เนอ้ื หาของเรอ่ื ง ครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง และช่วยแก้ไขในส่วนที่ขาด นักเรยี นนากระดาษไปตดิ บรเิ วณหนา้ หอ้ งและหลังห้องเรยี นเพื่อเผยแพร่ความรู้ ให้กบั ผทู้ ่สี นใจได้ศึกษาเพม่ิ เติม 3593

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ จับใจจบั ตาหาความสาคญั แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๕ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย เรือ่ ง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณหี นนี างผเี ส้อื สมทุ ร ๒ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ๕. นักเรยี นทาใบงานเร่ือง คาศัพทจ์ ากวรรณคดี นักเรยี น รว่ มกันเฉลย ๖. ครมู อบหมายให้นักเรียนวาดภาพเหตกุ ารณ์ในเร่ือง พระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณหี นีนางผเี ส้อื สมุทร พร้อมทงั้ เขยี นสรุปเร่ืองย่อ ครกู าหนดวันสง่ งานพร้อมท้ัง ชแ้ี จงรายละเอียดวธิ ีการวัดและประเมนิ ผลใหน้ ักเรยี น ทราบ ข้นั สรปุ ๑. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปหลักการและวธิ กี ารสรปุ เนือ้ หาของวรรณคดีและการนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ นกั เรยี นจดบนั ทึกลงในสมดุ ๒. นักเรยี นเขยี นความรทู้ ี่ไดจ้ ากการศึกษาและการลงมือ ปฏบิ ัติในช่ัวโมงนี้ลงในสมุด ความยาวประมาณ ๓ บรรทัด 54 40

55 4515 ๗. การวัดผลและการประเมินผล ส่ิงท่ตี ้องการวัด/ประเมนิ วิธีการ เครื่องมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ถามคาถาม คาถาม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๑. หลักการสรุปเนื้อหา วรรณคดี รอ้ ยละ ๘๐ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ถามคาถาม คาถาม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๑. สรปุ เนื้อหาวรรณคดเี ร่ือง สังเกตคณุ ลักษณะอัน แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ พระอภัยมณี ตอน พระอภยั คุณลกั ษณะอนั พึง พมรณะหีอนภีนัยมางณผหี เี สนือ้ ีนสามงผุทีเรสอ้ื สมดุ พงึ ประสงค์ ระดบั คุณภาพ ๒ ดา้ นคุณลกั ษณะ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๒. มงุ่ มั่นในการทางาน ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่ือ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่ี..........เดือน..........พ.ศ. ............ ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ................................................................................................. .......................................................................... ลงช่อื ......................................ผูต้ รวจ (.......................................................) วันท.่ี .........เดือน..........พ.ศ. ...........

4526 56 ใบงานเรอ่ื ง คาศพั ท์จากวรรณคดี หน่วยที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณีหนนี างผีเสื้อสมุทร ๒ รายวชิ า พืน้ ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ มัธยมศึกษาท่ี ๓ คาชีแ้ จง จบั คู่คาและความหมายดว้ ยการนาตวั อักษรหน้าความหมายมาเติมลงในช่องวา่ ง ................๑. กมุ ภา ก. ภูเขาใหญ่ ................๒. พระภมู ี ข. อยรู่ ่วมกันโดยผูกพนั ใกล้ชิด ................๓. เจียระบาด ค. ความอ่อนโยนน่ารัก, มารยาทดี ................๔. ขุนไศล ง. การพลัดพราก ................๕. อัชฌาสัย จ. เร่อื งราวตามทไี่ ดย้ นิ ................๖. เกรียงไกร ฉ. เทวดา ................๗. วโิ ยค ช. เต็มแนน่ ไปหมด ................๘. สบสมาน ซ. จระเข้ ................๙. ผลา ฌ. เกง่ กล้ายิ่ง ................๑๐. อารกั ษ์ ญ. ผ้เู ป็นใหญ่ในแผ่นดนิ ................๑๑. กิตติศพั ท์ ฎ. ผ้าคาดเอว ................๑๒. พะเนิน ฏ. เคล่อื นไปอยา่ งสงา่ ................๑๓. ขนดั ฐ. ปา่ ที่มตี น้ ไม้เตยี้ ๆ ปกคลุม ................๑๔. ซ่อง ฑ. ปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหน่ึง ................๑๕. ตะโกรง ฒ. ความผกู พนั รักใคร่ ................๑๖. ละเมาะ ณ. ผลไม้ ................๑๗. ลลี าศ ด. หญงิ ผเู้ ปน็ ที่รกั ................๑๘. ฉนาก ต. ลมพายุ ................๑๙. กิจกรรม ถ. นา่ เกลียด ................๒๐. สลาตัน ท. เล่หเ์ หลย่ี มวิธลี วง ................๒๑. ประดิพทั ธ์ ธ. ติเตียน ................๒๒. เพทบุ าย น. คาพูดท่ีไพเราะ ................๒๓. พษิ ฐาน บ. ทะเยอทะยาน ................๒๔. ปรารมภ์ ป. ถา้ ................๒๕. ตรชี า ผ. สถานทีร่ วมผ้คู นซ่งึ มุ่งแตจ่ ะทาความช่วั ................๒๖. กาก ฝ. ความเกือ้ หนุน, ชว่ ยอนเุ คราะห์ ................๒๗. พจนารถ พ. การทาหนา้ ท่ีที่ควรทา ................๒๘. อนุกลู ฟ.ตง้ั จิตมัน่ ม่งุ ในส่งิ ท่ดี ีงาม ................๒๙. สมร ภ. หว่ งใย ................๓๐. หุบหอ้ ง ม. ค้อนขนาดใหญ่สาหรบั หิน เรียกอีกอย่างว่า “คอ้ นปอนด์” เฉลย 1.ซ ๒.ญ ๓.ฎ ๔.ก ๕.ค ๖.ฌ ๗.ง ๘.ภ ๙.ณ ๑๐.ฉ ๑๑.จ ๑๒.ม ๑๓.ช ๑๔.ผ ๑๕.บ ๑๖.ฐ ๑๗.ฏ ๑๘.ฑ ๑๙.พ ๒๐.ต ๒๑.ฒ ๒๒.ท ๒๓.ฟ ๒๔.ข ๒๕.ธ ๒๖.ถ ๒๗.น ๒๘.ฝ ๒๙.ด ๓๐.ป

57 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เร่ือง จับใจจับตาหาความสาคญั เรื่อง พระอภัยมณี ตอน พระอภยั มณีหนีนางผเี สื้อสมุทร ๓ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรยี นรู้ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ การวเิ คราะห์คุณคา่ วรรณคดี ขัน้ นา ใบงาน เรอื่ ง การวเิ คราะห์คณุ ค่าวรรณคดี 1. ครูถามนักเรียนว่านักเรียนรู้จักวรรณคดีไทยเร่ืองใดบ้าง จุดประสงค์ (รามเกียรต์ิ อิเหนา ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี) ครูถามนักเรียนต่อ ภาระงาน/ช้ินงาน ดา้ นความรู้ ว่า เพราะอะไรจึงเรียกเร่ืองเหล่าน้ีว่าวรรณคดี วรรณคดีมีลักษณะ หลักการวเิ คราะหค์ ณุ คา่ วรรณคดี พิเศษอย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ครูอธิบายความหมายของวรรณคดเี พอื่ เช่อื มโยงเขา้ สเู่ นื้อหา ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 2. ครูอธิบายจุดประสงค์การเรียนรู้และวิธีการวัดผลประเมินผลให้ วเิ คราะห์วิถไี ทยและคณุ ค่าวรรณคดีเร่อื ง พระ นกั เรียนทราบ พอรภะัยอมภณยั ีมตณอีนตอพนรพะรอะภอยัภมยั ณมณหี หีนนี นีางาผงผีเสเี สอ้ื อื้ สสมมทุ ทุ รร ขนั้ สอน 1. ครอู ธิบายหลักการวิเคราะห์คณุ ค่าวรรณคดี ด้านคณุ ลกั ษณะ 2. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๔ คน ครูแจกกระดาษให้นกั เรียนกลุ่มละ 1. ใฝ่เรียนรู้ ๑ แผ่น ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี 2. มงุ่ มนั่ ในการทางาน เรื่องพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเส้ือสมุทร ในด้าน 3. รกั ความเป็นไทย ต่าง ๆ ตามหัวข้อดังนี้ คุณด้านเนื้อหา คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคมวัฒนธรรม จากน้ันให้แต่ละกลุ่มเขียนสรุป ในดา้ นต่าง ๆ ลงในกระดาษทค่ี รแู จก 3. ตัวแทนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลการวิเคราะห์คุณคา่ วรรณคดี หนา้ ชั้นเรยี น ครูอธิบายเพ่มิ เติมในสว่ นทีข่ าด นักเรียนทาใบงาน เร่ือง การวิเคราะห์คณุ คา่ วรรณคดี จากน้นั ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั เฉลย 4537

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๖ 58 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง จับใจจบั ตาหาความสาคัญ เร่ือง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนนี างผเี สือ้ สมทุ ร ๓ เวลา 1 ชั่วโมง กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ขัน้ สรปุ ๑. ครูใช้คาถามนาการอภิปรายกับนักเรียนว่า “จากการวิเคราะห์ คุณค่าของเรื่องพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ท่ีวรรณคดีสโมสรยกย่องให้พระอภัยมณีเป็น สุดยอดของนทิ านคากลอน” ๒. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรุปหลักการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี และ การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ นักเรียนจดบันทึกความรู้ท่ีได้จาก การศึกษา เรือ่ ง การวิเคราะหค์ ุณค่าวรรณคดีลงในสมดุ 58 44 ๗. การวดั ผลแ ส่งิ ทีต่ ้องก ด้านความรู้ หลกั การวเิ ครา ดา้ นทักษะ/กร วเิ คราะหค์ ุณค อภัยมณี ตอน ผเี สือ้ สมุทรได้อ สอดคล้องกบั เ ดา้ นคณุ ลักษณ ๑. มีวินัย ๒. มุ่งมั่นในกา ๘. บันทกึ ผลหล ผลการเรีย ......................... ปัญหาและ ....................... ข้อเสนอแน ......................... ๙. ความคิดเหน็ .........................

59 4559 ๗. การวัดผลและการประเมินผล วธิ ีการ เคร่ืองมือท่ีใช้ เกณฑ์ ถามคาถาม คาถาม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สง่ิ ท่ตี ้องการวดั /ประเมิน ดา้ นความรู้ รอ้ ยละ ๘๐ หลักการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านทกั ษะ/กระบวนการ คาถาม รอ้ ยละ ๘๐ วเิ คราะห์คุณค่าวรรณคดีเร่อื ง พระ ถามคาถาม อพภรยัอมภณัยีมตณอีนตพอรนะพอภระยั อมภณัยหี มนณนี ีาหงนี แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ ผนีเาสง้ือผสีเมสุทื้อรสไดม้อุทยรา่ ไงถดูก้อตย้อ่างงถูกต้อง คุณลกั ษณะอันพงึ ผ่านเกณฑ์ สสออดดคคลลอ้้องงกกบัับเเนนื้ออื้ เหราอ่ื ง ดา้ นคณุ ลักษณะ ประสงค์ ๑. มวี ินยั สงั เกตคุณลักษณะ ๒. มุ่งมัน่ ในการทางาน อันพงึ ประสงค์ ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชอื่ ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วนั ที.่ .........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วันท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ.............

60 4660 ใบงานเรอื่ ง การวเิ คราะห์คุณคา่ วรรณคดี หนว่ ยท่ี ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณีหนนี างผีเสื้อสมทุ ร $ รายวชิ า พนื้ ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาที่ ๓ คุณคา่ ดา้ นเน้ือหา คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์ คุณค่าด้านสังคม ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................... ........................... ........................... การวเิ คราะห์คุณค่าเรื่อง พระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณหี นีนางผีเสื้อสมทุ ร ข้อคิดจากเรื่อง การนาไปประยกุ ต์ใช้ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ...........................

61 4671 ใบงานเรอื่ ง การวเิ คราะหค์ ุณค่าวรรณคดี หนว่ ยที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๖ เร่ือง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผเี สื้อสมุทร ๓ รายวชิ า พน้ื ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมัธยมศึกษาท่ี ๓ คาชีแ้ จง ให้นักเรียนอา่ นบทรอ้ ยกรองเรื่อง พระอภัยมณี ตอน พระอภยั มณหี นีนางผเี ส้ือสมุทรแลว้ ตอบคาถามต่อไปนี้ ๑. เพราะเหตุใดนางผเี ส้ือสมุทรจงึ จับพระอภยั มณีไปขังไวใ้ นถา้ ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ๒. เพราะเหตใุ ดพระอภัยมณีจึงคดิ หนนี างผีเส้ือสมุทร ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ๓. พระอภยั มณีไดร้ บั การชว่ ยเหลือจากใคร โดยวธิ ีใด ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ๔. สนิ สมทุ รตัดสินใจอย่างไร เมือ่ พระอภยั มณใี หก้ ลบั ไปอยกู่ ับมารดา ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ๕. นางผเี สอ้ื สมทุ รทาอย่างไรกบั เงอื กผวั เมยี ที่พาพระอภยั มณหี นอี อกจากถ้า ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ************************** (อยู่ในดุลยพินจิ ของครู)

62 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๗ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จับใจจบั ตาหาความสาคัญ เร่อื ง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณหี นนี างผีเส้ือสมทุ ร ๔ เวลา 1 ช่ัวโมง กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ การสรุปความรู้และข้อคดิ จากเรอ่ื งพระอภยั มณี ข้นั นา ๑. กระดาษเทาขาว ตอน พระอภัยมณหี นนี างผีเส้ือสมทุ ร 1. ครูเล่านิทาน เรื่อง หงส์กับห่าน ๒. ปากกาเมจิก “คร้งั หนึ่งไดม้ เี ศรษฐีคนหนึ่งซื้อห่านหน่ึงตัวและ จดุ ประสงค์ หงส์หนง่ึ ตวั มาจากตลาด เขาเลี้ยงดตู วั หนง่ึ ไว้เพ่ือเป็น ภาระงาน/ชิน้ งาน ดา้ นความรู้ อาหาร และเล้ียงอีกตวั ไวฟ้ ังเสียงรอ้ งเพลงของมัน เมื่อถงึ หนงั สอื เล่มเล็ก เร่ือง พระอภัยมณี ตอนพระอภยั มณี หลักการสรุปความรู้และข้อคิดที่ได้จากเร่ืองท่ีอ่าน เวลาฆ่าห่าน พอ่ ครวั เข้าไปจบั มันในตอนกลางคนื ความ หนีนางผเี ส้ือสมุทร เพือ่ นาไปประยุกต์ใช้ คมวดื าทมามใหืดเ้ทข�ำาใแหย้เกขไามแ่อยอกกไมว่อาตอวักไวห่านตเัวปไ็นหตนัวเปไห็นนตัวเขไหาจนงึ คเขวา้ จึง คหวง้าสห์แงทสน์แหท่านนหหา่ นงสหท์ งกี่ สา์ทลีก่ ังำ�จละงัถจกู ะฆถ่ากู ตฆา่ายตราะยเบระดิ เบสดิียงเสรยี้องรอ้ ง ด้านทักษะ/กระบวนการ เพลงทันที พ่อครวั จาเสียงของมันได้มนั จึงรอดชวี ิตดว้ ย ๑. สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ ได้อย่างเหมาะสม เสียงเพลงของมนั ” สอดคลอ้ งกับเรื่องที่อา่ น ครใู หน้ กั เรียนรว่ มกันวิเคราะหแ์ สดงความ ๒. อธิบายการนาความร้ไู ปประยุกต์ใช้ได้อย่าง คิดเหน็ ว่าเร่อื งนีม้ ีข้อคิดสอนใจอยา่ งไร เหมาะสม 2. ครกู ลา่ วนาเขา้ สู่บทเรยี นวา่ วรรณคดีกเ็ หมือนกบั ๓. กระบวนการการทางานกล่มุ นทิ าน ซ่ึงนอกจากให้ความบันเทงิ ความสนุกสนานแลว้ ยงั สอดแทรกข้อคิดสะท้อนและค่านิยมของคนในสมัยน้ัน คณุ ลักษณะ ผา่ นเร่อื งราวและตวั ละครไดเ้ ช่นเดียวกบั นทิ าน 1. ใฝ่เรียนรู้ ๓. ครูอธิบายจุดประสงค์การเรียนรู้และวิธีการวัดและ 2. ม่งุ มน่ั ในการทางาน ประเมินผลกจิ กรรมใหน้ ักเรียนทราบ 3. รักความเปน็ ไทย 4682

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 จับใจจับตาหาความสาคญั แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๗ 63 กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เร่ือง พระอภัยมณี ตอน พระอภยั มณหี นีนางผีเส้ือสมทุ ร ๔ เวลา 1 ชั่วโมง ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ขนั้ สอน 1. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเนื้อเร่ือง ของเรื่องพระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเส้ือ สมทุ ร ๒. นักเรียนศึกษาใบความรู้เร่ือง การวิเคราะห์คุณค่า วรรณคดี ๓. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๓ – ๔ คน ครูแจก กระดาษเทาขาวให้นักเรียนกลมุ่ ละ ๑ แผ่น พรอ้ ม พร้อม ปปากากกาารเมจิก ๓ สี จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ คุณค่าที่สะท้อนวิถีไทยจากเร่ืองพระอภัยมณี ตอน พระ พอรภะัยอมภณยั มีหณนหีนนางีนผาีงเสผื้อีเสสือ้ มสุทมรุทรนนักกัเรเรียยี นนแแตต่ลล่ ะกลุ่มออกกมมาา นาเสนอผลงานหน้าช้ัน ครูอธิบายเพมิ่ เติมในส่วนทข่ี าด ๔. ครูมอบหมายให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการเรียน เรือ่ งพระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณหี นนี างผีเสอ้ื สมุทร มาจัดทาเป็นหนังสือเล่มเล็ก ครูกาหนดรูปแบบและ ส่วนประกอบของหนังสือเล่มเล็กพร้อมทั้งนัดหมายการ หกเสลานง่ ม่งรงั าเสสลนอื่ง็กงเคใลาหร่มนนู้อเลกัธคบิก็เรรใาียหูอยน้นธเกทิบักณรเารายฑียบเ์วนกิธทณกี ราฑารบ์ววิัดธีกแลาระวปัดระแเลมะินปผรละหเนมังินสผือล 4693

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 จับใจจบั ตาหาความสาคญั แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๗ 64 กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เรอ่ื ง พระอภัยมณี ตอน พระอภยั มณหี นีนางผเี สื้อสมทุ ร ๔ เวลา 1 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ขน้ั สรปุ ๑. นักเรียนและครรู ่วมกันสรุปความรูแ้ ละข้อคดิ จากเรอื่ ง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเส้ือสมุทร และ คุณค่าท่ีสะท้อนวิถีไทยตลอดจนให้นักเรียนร่วมกันแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนาข้อคิดไปปรับประยุกต์ใช้ใน การดาเนินชวี ติ ๒. นักเรียนเขยี นสรุปความรู้ท่ีได้จากการเรยี นเร่ือง การ กสารรุปสครวุปาคมวราแู้ มลระูแ้ ขล้อะคขิด้อจคาิดกจวารกรวณรรคณดคี ลดงี ใลนงใสนมสุดมุด 64 50 ๗. การวัดผลและ ส่ิงทต่ี ้องก ดา้ นความรู้ การสรปุ ความรแู้ พระอภัยมณี ตอ นางผเี สอื้ สมุทร ดา้ นทักษะ/กระ ๑. สรปุ ความรู้แล ทอี่ า่ นเพอ่ื นาไปป ๒. อธิบายการนา ได้อยา่ งเหมาะสม ๓. กระบวนการก ด้านคณุ ลักษณะ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมนั่ ในการท ๓. รกั ความเปน็ ไ ๘. บันทึกผลหลัง ผลการเรียนร ............................ ปญั หาและอ ........................... ขอ้ เสนอแนะ ............................ ๙. ความคดิ เห็น/ ............................

65 5615 ๗. การวัดผลและการประเมินผล ส่งิ ทต่ี ้องการวดั /ประเมิน วธิ กี าร เครอื่ งมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ การสรปุ ความรู้และข้อคดิ จากเร่ือง ประปเมรนิะเมนิ การ แแบบบบปปรระะเเมมินินกกาารรสสรรุปปุ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณีหนี กานรนาเ�ำสเสนนออผผลลงางานน คคววาามมรร้แู ู้แลละะขข้อ้อคคิดิดจจาากก รอ้ ยละ ๘๐ นางผเี สื้อสมทุ ร เรือ่ งทเอ่ี รา่ือนงท่ีอ่าน ด้านทักษะ/กระบวนการ ๑. สรปุ ความรูแ้ ละขอ้ คิดที่ได้จากเรือ่ ง ๑. ถามคาถาม ๑. คาถาม ๑. ผา่ นเกณฑ์ ท่ีอ่านเพอื่ นาไปประยุกต์ใช้ การประเมินรอ้ ยละ ๘๐ ๒. อธบิ ายการนาความร้ไู ปประยกุ ต์ใช้ ๒. ถามคาถาม ๒. คาถาม ๒. ผา่ นเกณฑ์ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ ๓. กระบวนการการทางานกลุ่ม ๓. สงั เกตการ ๓. แบบประเมิน ๓. ระดบั คุณภาพ ๒ กทารงทาน�ำงกาลนมุ่ กล่มุ กระบวนการการ ผ่านเกณฑ์ กทาารงทาำ�นงกาลนมุ่ กลุม่ ดา้ นคุณลกั ษณะ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ สสงั งัเกเกตตลคกั ุณษลณักะษณะ แคปบณุรคะบลสุณปักแงรลษบคปะักณบ์ เรษมปะะณินรอสะะันงเคอพม์ันนิึงพงึ รผะา่ ดนรับเกะคณดผณุ บั า่ฑภนค์ าุณเกพภณ๒าฑพ์ ๒ 2. ม่งุ ม่ันในการทางาน อันอพนั งึ ปพรงึ ปะสรงะคส์งค์ ๓. รกั ความเป็นไทย ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................... ...................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ......................................ผสู้ อน (.................................................) วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ.......... ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ......................................ผ้ตู รวจ (...............................................) วนั ท่ี..........เดอื น..........พ.ศ.........

66 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๘ เวลา ๑ ชัว่ โมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ จับใจจับตาหาความสาคัญ เร่ือง การวจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผลและประเมินความถูกต้องของเร่ืองที่อา่ น กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ การวิจารณ์ความสมเหตสุ มผลและประเมนิ ความ ขน้ั นา ๑. หนังสอื เรียนวชิ าภาษาไทยวิวธิ ภาษา ถคกูวาตม้อถงูกขตออ้งเงรข่ือองงทเรี่อือ่ า่ งนท่ีอ่าน 1. ครสู นทนากบั นักเรยี นเก่ยี วกบั บทความโฆษณาทางโทรทศั น์ เรือ่ ง คาขวญั โน้มจติ จดุ ประสงค์ และทางวิทยุ จากนน้ั ครูเขียนบทโฆษณาชวนเชอ่ื บทกระดาน “ครีม ๒. ใบความรู้เรื่อง การวเิ คราะห์วจิ ารณ์ ด้านความรู้ ออรา่ หน้าใส ใช้แลว้ ขาวข้ึนใน ๗ วนั ” หรอื “ผลิตภัณฑเ์ สริม วรรณคดีและวรรณกรรมตามความ 1. วิเคราะห์รายละเอียดเร่ืองตามความ อาหารวนั ดีเพียงวนั ละ ๑ เมด็ หุน่ เพรียวจนคุณต้องแปลงใจ” สมเหตุสมผล สคมวาเหมตสมสุ เมหผตลุสแมลผะลกแาลระลกาาดรบั ลคำ� วดาบั มความ จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ความเปน็ ไป ๒. วิจารณค์ วามเป็นไปได้ของเรอ่ื ง ไดข้ องข้อความโฆษณาในขา้ งตน้ ครูอธบิ ายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการรบั ภาระงาน/ช้ินงาน ด้านทกั ษะ/กระบวนการ สารหรอื เรอ่ื งราว ผรู้ ับสารจาเป็นต้องวเิ คราะห์ว่าสารท่ีได้รับมี ๑. พูดวจิ ารณเ์ รื่องตามความสมเหตสุ มผล ความสมเหตุสมผลมากน้อยเพียงใดและมีความเปน็ ไปได้หรอื ไม่ ๒. ประเมินความถูกต้องของเรอ่ื งท่ีอา่ น ๒. ครอู ธบิ ายจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั และประเมินผลให้ ๓. กระบวนการการทางานกลุ่ม นักเรียนทราบ ดา้ นคณุ ลักษณะ ขัน้ สอน 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 1. นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายถึงโฆษณาชวนเชอื่ ท่ีนักเรยี นเคยพบ 2. มคี วามรับผดิ ชอบ เห็นในชวี ติ ประจาวนั ครใู ห้นักเรยี นร่วมกันวจิ ารณค์ วาม สมเหตสุ มผลและความเป็นไปได้ ๒. ครใู ห้นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ๆ ละ ๓ – ๔ คน ศึกษาใบงานเรื่อง การวเิ คราะห์วจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผล ครอู ธิบายเพ่ิมเติม 5626

67 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ จับใจจบั ตาหาความสาคัญ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๘ เวลา ๑ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เร่ือง การวจิ ารณค์ วามสมเหตสุ มผลและประเมนิ ความถกู ต้องของเร่ืองที่อ่าน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ๓. นกั เรียนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่อง คาขวญั โน้มจติ แลว้ ให้นักเรียน รว่ มกนั วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ถึงความสมเหตุสมผลและลาดับความ เปน็ ไปได้ของเรอื่ งทอี่ ่าน ๔. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอตามหลักการ วเิ คราะห์วิจารณ์ความสมเหตุสมผลจากเรอ่ื งที่อ่านหน้าชัน้ ๕. นกั เรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายจากส่ิงทีแ่ ต่ละกลมุ่ ออกมา นาเสนอครูเนน้ ย้าเรื่องการมวี ิจารณญาณในการอา่ นและการ ปการระปเมรนิะเคมวนิ าคมวถาูกมตถ้อูกงตขอ้ องงขเอรงือ่ เงรทื่อีอ่งทา่ น่ีอา่ น ๖. นักเรียนทาใบงานเร่ือง การวิจารณค์ วามสมเหตสุ มผลและ ประเมินความถูกตอ้ งของเร่อื งที่อา่ น ขน้ั สรปุ 1. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรูเ้ ก่ยี วกบั การวเิ คราะห์วจิ ารณ์ วรรณคดแี ละวรรณกรรมตามความสมเหตุสมผล การลาดบั ความ เป็นไปได้และความถูกตอ้ งของข้อมูล ๒. นกั เรยี นจดบนั ทกึ ความรู้ที่ไดจ้ ากการศึกษาเรื่องการวเิ คราะห์ วิจารณค์ วามสมเหตสุ มผลของเรอื่ งที่อ่านและการนาประ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ 5637

68 5648 ๗. การวดั ผลและการประเมินผล สงิ่ ทีต่ ้องการวัด/ประเมิน วธิ ีการ เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ เกณฑ์ คาถาม ด้านความรู้ ถามคาถาม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ร้อย 1. หลักการวจิ ารณเ์ รอื่ งตาม ๑. แบบประเมนิ ละ ๘๐ ความสมเหตสุ มผล การพูดวจิ ารณ์ ๒. แนวทางการประเมนิ ความ ๒. คาถาม ๑. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ถูกต้องของเรื่องที่อา่ น ๓. แบบประเมนิ การ ร้อยละ ๘๐ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ทากจิ กรรมกลุ่ม ๑. พูดวิจารณ์เร่ืองตามความ ๑. พดู วิจารณ์ ๒. ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน รอ้ ยละ ๘๐ สมเหตุสมผล ๒. ประเมินความถูกต้องของเรอื่ ง ๒. ถามคาถาม ๓. ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ ทอี่ ่าน ๓. กระบวนการการทางานกลุ่ม ๓. การทางานกลุม่ ระดับระคดุณับภคาุณพภ๒าพ ๒ ผ่านเกณผฑ่าน์ เกณฑ์ ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตคณุ ลกั ษณะอัน แบบแปบรบะปเมรนิะเมิน 1. ใฝ่เรยี นรู้ พึงปรพะึงสปงรคะ์ สงค์ คณุคณุ ลักลษักษณณะอะันอันพพงึ ึง 2. มคี วามรบั ผดิ ชอบ ประสงปคร์ ะสงค์ ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .......................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ..................................................................................................... ...................................................................... ลงชื่อ ......................................ผู้สอน (.................................................) วนั ที.่ .........เดือน..........พ.ศ........... ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ...................................................................................... ..................................................................................... ลงช่อื ......................................ผู้ตรวจ (...................................................) วนั ท.ี่ .........เดือน..........พ.ศ..........

69 5659 ใบความรู้เรื่อง การวิจารณ์ความสมเหตุสมผล หน่วยที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๘ เรอ่ื ง การวิจารณค์ วามสมเหตุสมผลและประเมินความถกู ตอ้ งของเร่อื งที่อา่ น รายวิชา พน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาที่ ๓ หลักการวิเคราะห์วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมเบ้ืองต้น ๑. ความหมายของการวเิ คราะหว์ รรณกรรม การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาตรวจตรา แยกแยะและประเมินค่า ซ่ึงจะเกิดประโยชน์ ต่อผู้วิเคราะห์ในการนาไปแสดงความคิดเห็น อภิปรายข้อเท็จจริงให้ผู้อ่ืนทราบ ด้วยว่าใครเป็นผ้แู ต่ง เป็นเรื่อง เกี่ยวกับอะไร มีประโยชน์อย่างไร ต่อใครบ้าง ผู้วิเคราะห์มีความเห็นอย่างไร เรื่องที่อ่านมีคุณค่าด้านใดบ้าง และแตล่ ะด้านสามารถนาไปประยุกต์ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ชวี ติ ประจาวันอย่างไรบา้ ง ๒. แนวในการวเิ คราะหว์ รรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมมหี ลักเกณฑ์การปฏบิ ัตอิ ย่างกว้าง ทัง้ นี้เพื่อให้ ครอบคลุมงานเขียนทุกประเภท แต่ละประเภทผู้วเิ คราะห์ต้องนาแนวการวเิ คราะห์ไปปรับใช้ ใหเ้ หมาะสมกบั งานเขยี นแต่ละชน้ิ งานซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไป ซ่ึงประพนธ์ เรืองณรงค์และคณะ (๒๕๔๕ : ๑๒๘) ไดใ้ ห้ หลกั เกณฑ์กวา้ ง ๆ ในการวิเคราะหว์ รรณกรรม ดังนี้ ๒.๑ ความเป็นมาหรอื ประวตั ิของหนังสือและผู้แต่ง เพื่อชว่ ยให้วิเคราะห์ในส่วนอ่นื ๆ ๒.๒ ลักษณะคาประพันธ์ ๒.๓ เรือ่ งยอ่ ๒.๔ เน้อื เรอื่ ง ใหว้ ิเคราะห์เร่ืองในหวั ขอ้ ต่อไปนี้ตามลาดบั โดยบางหัวข้ออาจจะมหี รือไม่มกี ็ได้ตาม ความจาเปน็ เชน่ โครงเร่ือง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง่ ลักษณะการเดินเร่อื ง การใชถ้ ้อยคา สานวนในเร่อื ง ท่วงทานองการแต่ง วธิ ีคิด สร้างสรรคท์ ศั นะหรอื มุมมองของผเู้ ขียน ๒.๕ แนวคิด จดุ มงุ่ หมาย เจตนาของผู้เขยี นทฝี่ ากไวใ้ นเรือ่ ง ซ่ึงต้องวเิ คราะหอ์ อกมาก ๒.๖ คณุ ค่าของวรรณกรรม โดยปกติแบง่ ออกเปน็ ๕ ดา้ นใหญ่ ๆ และกวา้ ง ๆ เพือ่ ความครอบคลุม ในทกุ ประเด็น ซ่ึงผู้วเิ คราะห์ต้องไปแยกหวั ข้อย่อยให้สอดคลอ้ งกบั ลักษณะของหนงั สือที่จะวเิ คราะห์นน้ั ๆ ตามความเหมาะสม ๓. การวเิ คราะหค์ ุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาองค์ประกอบทุกส่วน โดยวิธีแยกแยะรายละเอียดต่าง ๆ ตั้งแต่ถ้อยคาสานวน การใช้คา ใช้ประโยค ตลอดจนเนื้อเรื่องและแนวคิด ทุกอย่างท่ีปรากฏอยู่ในข้อเขียนน้ัน เม่อื วิเคราะห์สว่ นประกอบได้ แลว้ จึงวิจารณต์ ่อไป การวิจารณ์ หมายถึง การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีท่ีแสดงออกมาน้ันให้เห็นว่าน่าคิด น่าสนใจ น่าติดตาม มีช้ันเชิง ยอกย้อนหรือตรงไปตรงมา องค์ประกอบใดมีคุณค่า น่าชมเชย องค์ประกอบใดน่าท้วงติง หรอื บกพรอ่ งอยา่ งไร การวิจารณ์ส่งิ ใดจงึ ต้องใชค้ วามรู้ มีเหตุผล มีหลกั เกณฑ์ และมีความรอบคอบดว้ ย การวิจารณง์ านประพันธ์ หมายถงึ การพจิ ารณากลวธิ ีต่าง ๆ ทกุ อย่างทปี่ รากฏในงานเขยี น ซ่ึงผ้เู ขยี น แสดงออกมา อย่างมีช้ันเชิง โดยผู้วิจารณ์จะต้องแสดงเหตุผลท่ีจะชมเชยหรือชี้ข้อบกพร่องใด ๆ ลงไป วิธีวิเคราะห์และวิจารณ์งานประพันธ์ ตามปกติแล้วเมื่อจะวิจารณ์สิ่งใดจาเป็นต้องเริ่มวิเคราะห์องค์ประกอบ ต่าง ๆ ให้เข้าใจชัดเจนเสียก่อนแล้วจึงวิจารณ์ แสดงความเห็นออกมาอย่างมีเหตุผล ให้น่าคิด น่าฟัง และเป็นคาวิจารณ์ท่ีน่าเชื่อถือได้ ประเด็นท่ีใช้ในการวิเคราะห์และวิจารณ์คุณค่าของงานวรรณคดี และวรรณกรรม การวเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์งานประพันธ์เท่าที่พบเห็นท่ัว ๆ ไป นักวจิ ารณ์นยิ มพจิ ารณากว้าง ๆ ๔ ประเด็น

70 5760 ๑) คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความไพเราะของบทประพันธ์ซึ่งอาจทาให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึก และจินตนาการ ตามรส ความหมายของถ้อยคาและภาษาท่ผี ู้แต่งเลอื กใช้ เพอื่ ให้มคี วามหมายกระทบใจผูอ้ ่าน ๒) คุณค่าด้านเน้ือหาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนาเสนอท้ัง ๒ ประเด็นนี้จะอธิบาย และ ยกตัวอย่างประกอบพอเขเข้าา้ ใใจจ โดยจะกล่าวควบกนั ไปท้งั การวิเคราะห์และการวจิ ารณ์ ๓) คุณค่าด้านสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะท้อนให้เห็นสภาพของสังคมและวรรณคดีท่ีดี สามารถจรรโลงสังคม ไดอ้ ีกด้วย ๔) การนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวันผู้อ่านสามารถนาแนวคิดและประสบการณจ์ ากเร่ืองที่อ่าน ไปประยุกตใ์ ช้หรอื แก้ปญั หาในชวี ติ ประจาวนั ได้ ๓.๑ การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ วรรณศิลป์เป็นองค์ประกอบที่สาคัญซ่ึงช่วยส่งเสริมให้ วรรณกรรมมีคุณค่าน่าสนใจ คาว่า “วรรณศิลป์” หมายถึง ลักษณะดีเด่นทางด้านวิธีแต่ง การเลือกใช้ถ้อยคา สานวน ลีลา ประโยค และความเรียงต่าง ๆ ที่ประณีต งดงาม หรือมีรสชาติเหมาะสมกับเน้ือเรื่องเป็นอย่างดี วรรณกรรมที่ใช้ วรรณศิลป์ช้ันสูงน้ันจะทาให้คนอ่านได้รับผลในทางอารมณ์ความรู้สึก เช่น เกิดความสดช่ืน เบิกบาน ขบขนั เพลิดเพลิน ขบคิด เศรา้ โศก ปลกุ ใจ หรืออารมณ์อะไร ก็ตามท่ผี ู้เขียนต้องการ สร้างใหเ้ กิดขึ้น ในตัวผ้อู า่ น น่ันคอื วรรณศลิ ปใ์ นงานเขียน ทาใหผ้ ู้อ่าน เกิดความรู้สกึ ในจติ ใจและเกดิ จนิ ตนาการสร้าง ภาพคดิ ในสมองได้ดี ๓.๒ การวิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิด และกลวิธีนาเสนอ งานประพันธ์ที่มีคุณค่า น่าสนใจนั้นนอกจากจะมีวิธีใช้ถ้อยคาภาษาและแสดงช้ันเชิง การแต่งอย่างดีแล้ว ยังต้องวิเคราะห์ถึงเน้ือหา สาระและแนวความคิดที่มีประโยชน์ตอ่ คนอ่านอีกด้วย เนื้อหาสาระที่ดีน้ันอาจเป็นในแง่การให้ความรู้ใหค้ วาม คิดเห็น คติคาสอน ข้อเตือนใจ ช้ีช่องให้มอง เห็นความจริง ความดีช้ีทางแก้ปัญหา แนะสิ่งที่ควรปฏิบัติ หรือส่ิงท่ีควรละเว้น กลวิธีการเขียนอาจช้ีแนะโดยตรงหรือทางอ้อมก็ได้แล้วแต่กลวิธีของผู้เขียน ว่าจะทาได้ แนบเนียนน่าสนใจเพียงใด ข้อที่น่าสังเกตคือ งานเขียนท่ีดีน้ันไม่จาเป็นต้องสอนศีลธรรมหรือคุณธรรมโดยตรง ผู้เขียนอาจใช้กลวิธีต่าง ๆ เพื่อให้คนอ่านเกิดความคิดได้ด้วยตนเอง ดังน้ันก่อนการวิจารณ์ ผู้อ่านจึงต้อง พยายามทาความเขา้ ใจ จบั ความหมายและสรุปแนวความคดิ ทงั้ หลายของผเู้ ขียนให้ได้เสยี ก่อน หลกั สาคัญมีอยู่ อย่างหนึง่ ว่า งานประพนั ธท์ ีด่ คี วรมเี นอ้ื หาสาระมุง่ สร้างสรรค์ มิใชม่ งุ่ ทาลาย ๓.๓ การพิจารณาคุณค่าด้านสังคม การพิจารณาคุณค่าด้านสังคมจากวรรณกรรม ผู้อ่านต้องค้นหา สาระก่อนว่าผู้เขียน ต้องการเสนอ “สาระ” อะไรให้กับผู้อ่านเป็นด้านดีหรือด้านเสียของสังคมและผู้อ่านต้อง พิจารณาว่าพึงปฏิบัติอย่างไรหรือได้แนวคิดอะไรบ้างจากการอ่านวรรณกรรมนั้น วรรณกรรมทุกเร่ือง จะสะท้อนภาพชีวิตและสังคม ตัวอย่างเช่น วรรณกรรมเรื่องน้าพุ จะสะท้อนภาพสังคมวัยรุ่นท่ีไปเกี่ยวข้อง กับยาเสพติด จนเสยี ชีวิตในทสี่ ดุ ๓.๔ การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน งานประพันธ์ย่อมประกอบด้วยถ้อยคา เน้ือหาสาระ และกลวิธีการเขียนแบบต่าง ๆ ซึ่งสามารถนางานประพันธ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เช่น ในแง่จดจาถ้อยคา สานวนไปใช้เพ่อื ความสนุกสนาน ความไพเราะ สว่ นเนอื้ หาสาระอาจนาไปใชใ้ นแง่ไดค้ ติข้อเตอื นใจ ไดค้ วามคิด เห็นท่ีมีประโยชน์ ต่อชีวิต ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ การนาคุณค่าของงานประพันธ์ไปใช้ได้มากน้อย เพียงใดข้ึนอยู่กับความสามารถและประสบการณ์ของผูอ้ ่าน ท่ีจะวิเคราะห์เพ่ือเลือกจดจา คิดและนาไปใช้ตาม กาลังความคิดของตน ตัวอย่างแนวการวิเคราะห์วรรณกรรมประเภทร้อยกรอง การอ่านอย่างวิเคราะห์จะ สามารถแยกข้อดี ข้อเสยี และประเมินค่าของวรรณกรรมได้

71 5771 ใบงานเรือ่ ง การวิเคราะหค์ วามสมเหตุสมผล หนว่ ยที่ ๑ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๘ เร่อื ง การวจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผลและประเมนิ ความถกู ต้องของเรื่องท่ีอ่าน รายวิชา พน้ื ฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาท่ี ๓ คณุ ติดคุก ครั้งน้ี ช่ัวชวี ิต คุณทาผดิ คิดรกั ตวั อักษร คุณถูกขัง ต้ังแต่เช้า จนเข้านอน คณุ วงิ วอน ไมย่ อมให้ ใครประกนั คุกหนังสอื คอื โซท่ อง ท่คี ลอ้ งลา่ ม คกุ หนงั สอื คอื ความงาม แหง่ ความฝนั คกุ หนังสอื คือดนตรี กล่อมชวี ัน คุกหนังสอื คือความฝัน กักกนั คุณ แคน สังคีต คาถามเพ่อื การวเิ คราะห์ความสมเหตสุ มผล ความเปน็ ไปไดแ้ ละความถกู ต้องของเร่ืองทีอ่ า่ น ๑. บทรอ้ ยกรองเร่ืองน้ีควรตั้งชอ่ื วา่ อะไร ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ๒. บทร้อยกรองนี้มีเนือ้ หาโดยสรปุ ว่าอยา่ งไร ........................................................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ๓. แคน สงั คตี ผ้เู ขียนบทรอ้ ยกรองนป้ี ระกอบอาชพี อะไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ๔. นกั เรียนเห็นดว้ ยหรือไม่วา่ ผูเ้ ขยี นเหมอื นคนตดิ คุก เพราะเหตใุ ด .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๕. ผอู้ า่ นได้ข้อคิดอะไรจากบทร้อยกรองนี้ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... (เฉลยตามดุลยพนิ ิจของครู)

72 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๙ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 จับใจจบั ตาหาความสาคญั เรื่อง ระดับภาษา ๑ เวลา 1 ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ขอบเขตเนือ้ หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ การใชร้ ะดับภาษา ขน้ั นา ใบความรู้ เรอ่ื ง ระดับภาษา ๑. นักเรียนสังเกตและร่วมกันแสดงความคิดเห็น จุดประสงค์ ขอ้ ความต่อไปนว้ี ่าใช้ภาษาระดับใด ภาระงาน/ช้ินงาน ดา้ นความรู้ ๑๑) บอยพาพ่อกบั แมไ่ ปเทีย่ วเมอื งชล ใชภ้ าษาสื่อสารได้ถูกต้องตามระดบั ๒๒) ถ้าเราช่วยกันคนละไม้คนละมือเราก็จะแก้ไข ปลดเปลอ้ื งความทกุ ข์ยากให้คนในชาติได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ๓ การเลือกสรรและเรียบเรียงถ้อยคาเป็น อธิบายใช้ระดับภาษาได้ถูกต้อง ลักษณะสาคัญของการแตง่ วรรณคดี ครูใหข้ ้อเสนอแนะ และอธบิ ายเชือ่ มโยงเขา้ สู่เนือ้ หา ๒. ครูอธิบายจุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ ด้านคณุ ลกั ษณะ ประเมนิ ผลใหน้ ักเรียนทราบ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มคี วามรบั ผิดชอบ ข้ันสอน 1. ครอู ธบิ ายหลกั การใชร้ ะดับภาษาและหลักการสังเกต ๒. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๓ คน ระดมความคิด ร่วมกันทาใบงาน เรื่อง การใช้ระดับภาษา จากน้ันให้ นักเรียนรว่ มกันเฉลย ๓. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับหลักการใช้ ระดับภาษา ขอ้ ควรคานึงและการนาไปประยกุ ตใ์ ช้ 5782

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 จับใจจับตาหาความสาคัญ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๙ 73 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรือ่ ง ระดับภาษา ๑ เวลา 1 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ข้ันสรปุ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการใช้ระดับ ภาษาและการนาไปประยุกต์ใช้เพ่ือการสื่อสารใน ชีวิตประจาวัน นักเรียนสรุปความรู้ท่ีได้จากการเรียน เรื่อง การใชร้ ะดบั ภาษาลงในสมุด 73 59

74 6704 ๗. การวัดผลและการประเมินผล ส่งิ ท่ีต้องการวัด/ประเมนิ วธิ ีการ เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ถามคถำ� าถมาคมาถาม คำ� ถามคาถาม ผ่านเกณฑ์การประเมนิ อธบิ ายหลักการใช้ระดบั ถามคถำ� าถมาคมาถาม ร้อยละ ๘๐ ภาษาได้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ คำ� ถามคาถาม ผ่านเกณฑ์การประเมิน อธิบายการใชร้ ะดับภาษาได้ รอ้ ยละ ๘๐ ถูกต้อง ด้านคุณลักษณะ สงั เกตคุณลักษณะอัน ปคแคบุณรณุ แะบลลบสปกัปกังบรษรคษปะะณ์ณเรสมะะะงินอเคอมัน์นั ินพพงึ ึง ระดรบัะดคบัณุ คภุณาพภา๒พ ๒ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ อนั พึงพปงึ รปะรสะงสคง์ ค์ ผ่านเกผณ่าฑนเ์ กณฑ์ ๒. มุ่งมัน่ ในการทางาน ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่ือ ......................................ผ้สู อน (.......................................................) วนั ที่..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรือผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่ือ ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วนั ที่..........เดือน..........พ.ศ...............

75 6715 ใบความรูเ้ รือ่ ง ระดบั ภาษา หนว่ ยที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๙ เร่ือง ระดับภาษา ๑ รายวิชา พ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาที่ ๓ ระดับของภาษา หมายถึง ความลดหลั่นของถ้อยคาและการเรียบเรียงถ้อยคาท่ีใช้โดยพิจารณา ตาม โอกาส หรือ กาลเทศะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลท่ีเป็นผู้สื่อสาร และตามเน้ือหาที่สื่อสารการศึกษา เรื่องระดับของภาษาเป็นส่ิงสาคัญเพราะทาให้บุคคลแต่ละกลุ่มเข้าใจภาษาของกันและกัน ไม่เกิดปัญหา ด้านการสื่อสาร เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล รวมทั้งยังทาให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจถึงลักษณะเฉพาะ และววิ ัฒนาการของภาษาไทยอกี ด้วย การศึกษาเร่ืองระดับภาษาอาจพิจารณาไดห้ ลายวิธตี ามหลกั เกณฑต์ า่ งๆ เช่น พิจารณาตามฐานะของ บคุ คล ตามเนื้อหา และตามกาลเทศะทส่ี อื่ สาร ระดับภาษาสามารถจาแนกตามประเภทของการใชไ้ ด้ ดังน้ี ๑. ภาษาระดบั พธิ ีการ เปน็ ภาษาท่สี มบรู ณ์แบบ รปู ประโยคถกู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ มีความประณีต งดงาม อาจใช้ประโยคท่ีซับซ้อนและใช้คาระดับสูง ภาษาระดับน้ีจะใช้ในโอกาส สาคญั ๆ เชน่ งาน ราชพิธี วรรณกรรมชน้ั สงู เป็นตน้ ๒. ภาษาระดับทางการ หรือ อาจเรยี กว่า ภาษาทางการ / ภาษาราชการ เปน็ ภาษาที่ สมบูรณแ์ บบ รูปประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ เน้นความชดั เจน ตรงประเด็นเปน็ สาคญั ใช้ในโอกาส สาคญั ทีเ่ ปน็ ทางการ เชน่ หนังสือราชการวทิ ยานิพนธ์ รายงานทางวชิ าการ การกลา่ วปราศรัย การกลา่ วเปดิ งานสาคัญ ๆ เปน็ ตน้ ๓. ภาษาระดับกึ่งทางการ เป็นภาษาท่ียังคงความสุภาพแต่ไม่เคร่งครัดแบบภาษาทางการ บางครั้งอาจใช้ภาษาระดับสนทนามาปนอยู่ด้วย มันใช้ในการติดต่อธุรกิจการงาน หรือใช้ส่ือสารกับบุคคล ท่ีไม่คุ้นเคย หรือ มีคุณวุฒิ และ วัยวุฒิสูงกว่า หรือการบรรยาย การประชุมต่างๆ รวมทั้งใช้ในงานเขียนท่ีไม่ เป็นทางการเพอ่ื ใหง้ านเขยี นน้ันดไู มเ่ ครียดจนเกนิ ไป เช่น สารคดี บทวจิ ารณ์ เก่ยี วกบั บนั เทงิ คดตี ่าง ๆ ๔. ภาษาระดับไมเ่ ปน็ ทางการ ภาษาท่ไี ม่เคร่งครดั ตามแบบแผน มกั ใชใ้ นการสือ่ สารทว่ั ไป ในชวี ิตประจาวนั หรือ โอกาสทัว่ ๆ ไปทไ่ี ม่เปน็ ทางการ แบง่ เป็น ๕. ภาษาระดบั กนั เองหรือภาษาปาก เปน็ ภาษาพูดทใ่ี ช้สนทนากับบคุ คลทสี่ นิทคุ้นเคยมกั ใช้ สถานที่ส่วนตัวหรือในโอกาสท่ีต้องการความสนุกสนานครื้นเครง การทะเลาะวิวาท ภาษาที่ใช้เป็นภาษาพูด ที่ไม่เคร่งครัด อาจมีคาตัด คาสแลง คาต่า คาหยาบปะปน โดยทั่วไปไม่นิยมใช้ในภาษาเขียน ยกเว้นงานเขียน ประเภท เช่น เรื่องสั้น นวนยิ าย ภาษาข่าวหนงั สอื พิมพ์ การเขยี นบทละคร ฯลฯ การใช้ภาษาผิดระดับย่อมก่อให้เกิดอุปสรรคในการส่ือสาร ผู้รับสารอาจเห็นว่าผู้ส่งสาร ไม่รู้จักกาลเทศะขาดความจริงใจ เสแสร้ง การแบ่งภาษาออกเป็นระดับต่าง ๆ นั้นมิได้แบ่งกันอย่างเด็ดขาด ภาษาระดับหน่งึ อาจเหลื่อมลา้ กบั ภาษาอีกระดับหน่งึ หรอื ใชป้ ะปนกนั ได้ การพจิ ารณาระดบั ภาษาระดับภาษา อาจตอ้ งพจิ ารณาจากขอ้ ความโดยรวมในการส่ือสารนั้น ตัวอยา่ งการใช้ภาษาระดบั ต่าง ๆ (๑) “...ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแห่งสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราช จงคุ้มครองประเทศชาติ และประชาชาวไทยให้ผ่านพ้นสรรพอุปัทวพิบัติท้ังปวง อริราชศัตรูภายนอกอย่าล่วงเข้าทาอันตราย ได้ ศัตรูหมูพ่ ศาัตลรภูหายมใู่พนาใหลว้ ภอาดยวใานยใพห่า้วยอแพดภ้วาัยยตพัว ่าบยันแดพาล้ภคัยวตาัวมสบขุ ันคดวามลมคน่ั วคางมใหสบุ้ขงัคเวกาดิ มทมั่วทันุกคภงมูใหิม้บณังฑเลกิดบทนั ่ัวดภาลูมคิมวณามฑล รบม่ ันเยด็นาลแกอ่ เนคกวนามิกรม่ชเนยค็นรแบกคอ่ าเนมเกขนติกขรอชบนขคัณรบฑคสามี มาเ.ข..”ตขอบขัณฑสีมา...” (ภาวาส บุนนาค, “ราชาภิสดุด.ี ” ในวรรณลักษณวจิ ารณเ์ ล่ม ๒ หนา้ ๑๕๙.)

76 6726 (๒) “... บทละครไทยเป็นอีกรูปแบบหน่ึงของวรรณกรรมไทยเป็นวรรณกรรมที่ประพันธ์ข้ึนท้ังเพ่ืออ่าน และเพ่ือแสดงรูปแบบท่ีนิยมกันมาแต่เดิมคือบทละครราต่อมามีการปรับปรุงละครราให้ทันสมัยขึ้น ตามความนยิ มแบบตะวันตกจึงมีรูปแบบใหม่เกิดข้ึน ไดแ้ ก่ ละครดึกดาบรรพ์ ละครพนั ทาง เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีการรับรูปแบบละครจากตะวันตกมาดัดแปลงให้เข้ากับสังคมไทยและวัฒนธรรมไทย ทาให้การละครไทย พัฒนาขนึ้ โดยมีกระบวนการแสดงท่แี ตกต่างไปจากละครไทยท่ีมีอยู่มาเปน็ ละครรอ้ ง ละครพูดและละครสงั คม” (กันยรัตน์ สมิตะพันทุ, การพัฒนาตัวละครในบทละครพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลา้ เจา้ อยู่หัว ในบทความ วิชาการ ๒๐ ปี ภาควชิ าภาษาไทย หนา้ ๑๕๘) (๓) “... ฉะนั้นในช่วงเรียนอยู่ระดับมัธยม ผู้ท่ีขยันมุ่งม่ันจะเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้จะไม่สนใจส่ิงแวดลอ้ มรอบ กายทั้งสิ้นยกเว้นส่ิงท่ีเขาคิดว่าจะสามารถทาให้เขาสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ชีวิตนักเรียนมัธยมจึงมีแต่ติวติว และติว กีฬาฉันไม่เล่น กิจกรรมฉันไม่มีเวลาทา และย่ิงห้องสมุดฉันไม่ทราบว่าจะเข้าไปทาไมเพราะเวลา ท้ังหมดจะต้องใช้ท่องตาราอย่างเดียวแล้วก็มักจะประสบความสาเร็จตามที่คิดเสียด้วย คือ สอบเข้า มหาวทิ ยาลยั ได.้ ..” (เปล่งศรี อิงคนินนั ท์ ต้องขอให้อาจารยช์ ่วย กา้ วไกล ปีท่ี ๒ ฉบับที่ ๔ หนา้ ๒๗) (๔) “...จากกรณีที่หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ เกจิดังแห่งวัดบ้านไร่ ต.กุดพิมาน อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา ได้อาพาธลงอย่างกะทันหัน มีอาการอ่อนเพลียอย่างหนักเน่ืองจากต้องตรากตราทาพิธีปลุกเสกวัตถุมงคล และเคาะหัวให้กับบรรดาศิษยานุศิษย์จนไม่มีเวลาพักผ่อนเกิดอาการหน้ามืดจ นกระท่ังลูกศิษย์ต้องห าม สง่ โรงบาลมหาราช นายแพทยเ์ จ้าของไขไ้ ดต้ รวจร่างกายแล้วแจง้ ให้ทราบว่าเป็นไข้หวดั ” (เดลนิ วิ ส์ ๒๗ มนี าคม ๒๕๓๙) (๕) “.... มึงจะไปไหนไอ้มั่นกูสั่งให้ปล่อยมันไว้อย่างน้ันไม่ต้องสนใจกูอยากนั่งดูมันมองมันตายช้า ๆ เลือดไหลออกจนหมดตัวและหยดุ หายใจในทสี่ ดุ ถึงจะสมกับความแค้นของกู…” (วราภา, นางละคร, สกุลไทย ปีท่ี ๔๒ ฉบบั ที่ ๒๑๖๒ หนา้ ๑๐๗) (๖) “... บ๊ิกจา เตรียมเดินเครื่องวางงานกีฬายาวจะเสนอเป็นคณะกรรมาธิการวุฒิสภาการกีฬาดันงบ หนุนซีเกมส์ เอเชียนเกมส์ หร้อยกับความเป็นเจ้าเหรียญทองส่วนสมาคมตะกร้อรับว่าแตกเป็นเส่ียง ให้พสิ ูจนก์ ันในตะกร้อคงิ ส์คพั หนที่ ๑๒ ใครผลงานดไี ด้พจิ ารณามาทาทมี ชาติ” (เดลนิ ิวส์ ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๙) ***********************************************************

77 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 จับใจจับตาหาความสาคญั แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 10 เวลา 1 ชวั่ โมง กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรือ่ ง ระดับภาษา ๒ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ขอบเขตเนอ้ื หา สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ การใชร้ ะดับภาษา รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ใบงานที่ ๑ เรอื่ ง ระดบั ภาษา จดุ ประสงค์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ใบงานท่ี ๒ เรื่อง การใชร้ ะดบั ภาษา ดา้ นความรู้ ขั้นนา ภาระงาน/ชนิ้ งาน ใชภ้ าษาสือ่ สารได้ถกู ต้องตามระดับ ๑. นักเรียนสังเกตและร่วมกันแสดงความคิดเห็น ดา้ นทักษะและกระบวนการ ข้อความต่อไปน้วี า่ ใชภ้ าษาระดับใด ใช้ระดับภาษาไดถ้ ูกตอ้ ง ดา้ นคุณลักษณะ ๑) บอยพาพ่อกบั แมไ่ ปเท่ียวเมอื งชล 1. ใฝเ่ รียนรู้ ๒) ถ้าเราช่วยกันคนละไมค้ นละมือเราก็จะแก้ไข 2. มีความรบั ผิดชอบ ปลดเปล้ืองความทกุ ข์ยากให้คนในชาติได้ ๓) การเลือกสรรและเรียบเรียงถ้อยคาเป็น ลกั ษณะสาคัญของการแต่งวรรณคดี ครูใหข้ ้อเสนอแนะ และอธิบายเชื่อมโยงเขา้ สเู่ นื้อหา ๒. ครูอธิบายจุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดและ ประเมนิ ผลให้นักเรียนทราบ ขน้ั สอน 1. นักเรยี นศึกษาใบความร้เู ร่ือง ระดบั ภาษา ๒. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๓ คน ระดมความคิด ร่วมกันทาใบงาน เรื่อง การใช้ระดับภาษา จากน้ันให้ นกั เรยี นร่วมกนั เฉลย ๓. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับหลักการใช้ ระดับภาษา ข้อควรคานงึ และการนาไปประยกุ ต์ใช้ 6737

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จับใจจับตาหาความสาคัญ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 78 กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เรอื่ ง ระดับภาษา ๒ เวลา 1 ชัว่ โมง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ข้นั สรปุ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย 78 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการใช้ระดับ เวลา 1 ช่วั โมง ภาษาและการนาไปประยุกต์ใช้เพื่อการสื่อสารใน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ชีวิตประจาวัน นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการเรียน เรือ่ ง การใชร้ ะดับภาษาลงในสมุด หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 จับใจจับตาหาความสาคญั แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 10 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ระดับภาษา ๒ ข้ันสรุป รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการใช้ระดับ ภาษาและการนาไปประยุกต์ใช้เพื่อการส่ือสารใน ชีวิตประจาวัน นักเรียนสรุปความรู้ท่ีได้จากการเรียน เรื่อง การใช้ระดบั ภาษาลงในสมดุ 78 64

7695 79 ๗. การวัดผลและการประเมินผล สง่ิ ท่ีตองการวัด/ประเมนิ วิธีการ เคร่ืองมือท่ใี ช เกณฑ ดา นความรู ถามถคาำ� มถคาาํมถาม คำ� ถาคมําถาม ผา นเกณฑการประเมิน อธบิ ายหลักการใชร ะดบั ถามถคาำ� มถคาาํมถาม รอ ยละ ๘๐ ภาษาได ดา นทักษะและกระบวนการ ค�ำถาคมําถาม ผา นเกณฑการประเมิน ใชร ะดบั ภาษาไดถ ูกตอ ง รอ ยละ ๘๐ ดา นคณุ ลกั ษณะ สพสังงึงั เปเกกรตตพะคคึงสปุณณุ งรคลละัก์ักสษษงณคณ ะะออนั ัน คแปคุณบุณแรละบบลปักสบปกัรษงประษคณะรสณ์ ะเะงมเคะอมินอนั นิ นัพพึง งึ ผระา่ รดนะบัเดผกคบัาณนณุคฑุณเภก์ภณาพาฑพ๒๒ ๑. ใฝเรยี นรู ๒. มุงมั่นในการทาํ งาน ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู ............................................................................................................................. ................................................ ปญ หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอเสนอแนะและแนวทางแกไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชอื่ ......................................ผสู อน (.......................................................) วันท่ี..........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เห็น/ขอ เสนอแนะของผูบริหารหรอื ผูท่ไี ดรับมอบหมาย ................................................................................................... ........................................................................ ลงชื่อ ......................................ผตู รวจ (.......................................................) วนั ท.่ี .........เดือน..........พ.ศ...............

6860 80 ใบงานเรือ่ ง การใชร ะดับ หนวยท่ี 1 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 10 เร่ือง ระดบั ของภาษา ๒ รายวชิ า พน้ื ฐานภาษาไทย รหสั ท23101 ภาคเรียนที่ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 จากคาํ กลาวรายงาน ของประธานโครงการ จะเหน็ ไดว า ในปจจบุ ันนเ้ี ทคโนโลยสี ่ือมัลติมีเดียไดมี ความสาํ คญั ในชวี ติ ประจําวัน อีกท้ังยังเปนการผลักดันใหวงการศกึ ษาทเี่ ก่ยี วกับดานเทคโนโลยมี ลั ติมีเดียในยคุ ปจจุบนั ซง่ึ สว นใหญเ ก่ียวของกบั ขอมูลขาวสารและการผลิตสื่อมัลติมีเดียมกี ารเติบโตของวงการศึกษาและภาค ธุรกจิ เทคโนโลยมี ลั ตมิ เี ดีย ดงั นัน้ จึงมกี ารจดั กิจกรรมสัมมนาวิชาการในวนั นขี้ ึน้ วเิ คราะหร ะดบั ภาษาเรอื่ งท่ี 1 .................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... เรยี น คณุ ครปู ระจําช้ันประถมศึกษาปที่ ๖/๓ เน่อื งจากกระผมปว ยเปนลาํ ไสอักเสบ จึงไมสามารถมาเรยี นได จึงขอลาปวยเปน เวลา ๕ วัน คอื ตั้งแตว นั จนั ทรท ี่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เม่ือกระผมหายแลว จะมาเรียนตามปกติ ดวยความเคารพอยางสงู ด.ช. ชัยพดิ ิช นามสมมตุ ิ วเิ คราะหร ะดับภาษาเร่อื งท่ี ๒ .................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... จากขาวหนงั สอื พมิ พ/ บทความในหนังสือพมิ พ ใครทไ่ี ดด ูละครเร่ือง บุพเพสันนิวาส คงจะชื่อชอบเหมือนแฟนละครหลายๆคน ทัง้ โปป และ เบลลา แสดงไดด จี นคนดสู นุกสนานเพลดิ เพลิน อินกับละครขนาดลกุ ขนึ้ มาพูดภาษาอยธุ ยา หาหนังสือประวตั ิศาสตร อาน เทย่ี วโบราณสถานท่ีเกีย่ วขอ ง ชวนกันสวมชดุ ไทยยอนยคุ กันจนรานเชาชดุ รํา่ รวยกันท่ัวหนา วิเคราะหร ะดับภาษาเรื่องที่ ๓ ................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

6871 81 บทสนทนาในครอบครวั / เพ่ือนสนทิ “แมจ าวันนม้ี ีอะไรกนิ บา ง” เสียงตะโกนนาํ มากอนเดนิ เขา ครวั แมย ้มิ อยา งเอน็ ดรู อจนลูกสาวเดนิ มาถึง “เปน สาวแลวพูดจาใหเ รียบรอยหนอยซิคะ” “แหม ! อยูในบานเราเองขอหนสู บายๆเถอะคะ” “ไมทําใหเ คยชินเดี๋ยวก็ไปพูดอยา งนน้ี อกบานหรอก” วิเคราะหร ะดับภาษาเรอ่ื งที่ ๔ .................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... บทสนทนาในท่ีสาธารณะ “ขางบนจะมีจุดชมวิวมองลงมาดไู ฟในเมืองหรือถา ฟาเปด ก็ดดู าวบนยอดเขาอันหนาวเหน็บ บางคนื อากาศขางบนหนาวจนติดลบ เจาหนาท่เี ปดกระตกิ เทโกโกรอ นใหด่มื ท่ีสําคญั กอนข้ึนไปควรสวมชดุ กนั หนาว ใหหนาๆ หรอื ชุดเลนสกขี น้ึ ไปดีที่สดุ ครับ เพราะไมเ ทอะทะ ทนความหนาว มีถงุ มือและรองเทา ใหพ รอม” (บทความออนไลน.กอ นเมฆเลาเรอ่ื ง “อยากเลนหมิ ะไมตองสกี มีอะไรบา ง”) (http://www.dailynews.co.th/article/635641) วเิ คราะหร ะดับภาษาเร่อื งที่ ๕ ................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... “ศักยภาพความรวมมือดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมระหวางไทยกับเบลเยี่ยม เปนประเด็นที่ไดรับการหยิบยกข้ึนหารือในทุกโอกาสเนื่องจากเบลเย่ียมมีจุดแข็งคือความเปนเลิศ ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมซึ่งเปนเครือ่ งมือสําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถทางเศรษฐกจิ และมีรูปแบบความรวมมือระหวางภาครัฐ มหาวิทยาลัย และเอกชนท่ีสงเสริมการตอยอดผลการวิจัย ในเชิงพาณิชย ระดับแนวหนาโดยเฉพาะดา นชวี เภสัชกรรม” วเิ คราะหระดบั ภาษาเร่ืองท่ี ๖ .................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

688822 8822 เเรร่่ืออื งง กกแแาาบบรรบบใใชชททภภดดาาสสษษออาาบบใใหหเเรรเเื่ออื่หหงงมมาากกะะาาสสรรมมววิิเเคครราารรยยาาะะววหหิิชชรราาะะภภดดาาบับั ษษขขาาออไไงงททภภยยาาษษรรหหาาััสส ททหห22นน33วว 11ยย00ทท11ี่ี่ 11ภภาาแแคคผผเเนนรรียียกกนนาารรททจจี่่ี 11ดััดกกชชาานน้ั้ัรรเเมมรรธัธัีียยยยนนมมรรศศูททู กึึกี่่ี 11ษษ00าาปปทท ่่ีี 33 คคาํําชช้แ้ีแี จจงง ใใหหนนักักเเรรยียี นนเเขขยยีี นนบบนัันททกึกึ ถถงึึงคครรูู ขขออเเลลืื่ออ่ นนเเววลลาาสสออบบททอองงบบททออาาขขยยาานนโโดดยยสสมมมมตติขขิ ออมมููลลตตาามมคคววาามมเเหหมมาาะะสสมม .....…............…...….……..................…..….......…....................…..…..…………….…………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………................................

83 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง จับใจจับตาหาความสาคญั แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 11 เรอ่ื ง การเขียนคาขวัญ ๑ เวลา 1 ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ขอบเขตเนือ้ หา กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ 1. ความหมายของการเขียนคาขวัญ ขน้ั นา ใบความรู้ เร่ือง การเขยี นคาขวญั 2. ลกั ษณะสาคัญของการเขยี นคาขวัญ 1. ครถู ามนกั เรียนว่า นักเรียนทราบหรอื ไมว่ า่ คาขวัญวันเดก็ แหง่ ชาติ 3. ขัน้ ตอนการเขยี นคาขวัญ ประจาปี ๒๕๖๑ ใชค้ าขวญั ว่าอะไร“รู้คิด รู้เท่าทัน สรา้ งสรรค์ ภาระงาน/ช้ินงาน เทคโนโลยี” ครูสนทนากบั นักเรยี นเกยี่ วกับลักษณะของคาขวัญ จุดประสงค์ เชอื่ มโยงเข้าสู่เน้ือหา ดา้ นความรู้ ๒. ครูอธบิ ายจุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลกใหาร้ ให้ อธบิ ายหลกั การเขียนคาขวญั ได้ นกั เรียนทราบ ขน้ั สอน ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 1. นกั เรียนศึกษาใบความร้เู รื่อง การเขยี นคาขวญั ครอู ธิบายหลกั การ วเิ คราะหล์ ักษณะของคาขวญั ได้ เขยี นคาขวัญเพิ่มเติม 2. นกั เรียนร่วมกนั กาหนดหวั ขอ้ การแตง่ คาขวญั นักเรยี นจับคู่กบั ดา้ นคณุ ลักษณะ เพือ่ น ครูมอบหมายให้นักเรียนแตล่ ะคู่ร่วมกนั เขียนคาขวญั ตามหัวขอ้ 1. ใฝเ่ รียนรู้ ทีน่ กั เรียนรว่ มกันกาหนด 2. มคี วามรบั ผิดชอบ ๓. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะคู่สง่ ตัวแทนมาเขยี นคาขวัญบนกระดานดาจน 3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน ครบทุกคู่ ๔. นกั เรยี นร่วมกันพิจารณาคาขวัญบนกระดานดา โดยสังเกต วธิ ีการใช้ภาษา ความไพเราะและความเหมาะสม และคัดเลอื กคา ขวญั ทีด่ ที ่ีสุด ครชู มเชยเจา้ ของคาขวญั ที่ได้รบั คัดเลอื ก 6893

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 11 84 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอื่ ง จบั ใจจับตาหาความสาคญั เรอื่ ง การเขียนคาขวญั ๑ เวลา 1 ช่ัวโมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ๕. นกั เรยี นทาใบงานเร่ืองการเขียนคาขวญั เสรจ็ แลว้ ใหน้ ักเรียน รว่ มกนั เฉลย ข้ันสรุป นักเรยี นรว่ มกนั สรุปความหมายและลกั ษณะสาคญั ของการเขยี นคา ขวญั นักเรยี นจดบันทึกความรลู้ งในสมดุ 84 70

7815 85 ๗. การวัดผลและการประเมินผล ส่งิ ทต่ี องการวัด/ประเมนิ วิธีการ เครือ่ งมอื ทใี่ ช เกณฑ ดา นความรู ถามคาํ ถาม คําถาม ผานเกณฑการประเมิน หลกั การเขยี นคําขวญั ได คาํ ถาม รอ ยละ ๘๐ ผานเกณฑการประเมนิ ดา นทักษะ/กระบวนการ ถามคาํ ถาม แบบประเมิน รอยละ ๘๐ วเิ คราะหล ักษณะของคาํ ขวัญได คุณลกั ษณะอันพึง ระดรบั ะคดุณับคภุณาพภา๒พ ๒ ผ่านเกณผา ฑน์เกณฑ ดานคุณลกั ษณะ สังเกตคุณลักษณะอนั ประสงค ๑. ใฝเรยี นรู พงึ ประสงค ๒. มุงมัน่ ในการทํางาน ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู ............................................................................................................................. ................................................ ปญ หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ เสนอแนะและแนวทางแกไ ข ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ......................................ผูสอน (.......................................................) วนั ท่ี..........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เห็น/ขอเสนอแนะของผบู ริหารหรือผูท่ีไดรับมอบหมาย ................................................................................................................................... ........................................ ลงช่ือ ......................................ผตู รวจ (.......................................................) วันท.ี่ .........เดือน..........พ.ศ...............

7826 86 ใบความรูเ รอื่ ง การเขียนคําขวัญ หนวยที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๑๑ เรอ่ื ง การเขยี นคําขวัญ ๑ รายวชิ า พ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาท่ี ๓ คําขวัญ หมายถึงถอยคําที่ดีเปนสิริมงคล บํารุงจิตใจ ใหขอคิดในการปฏิบัติ และสงเสริมกิจการ ไปในทางท่ีดี คําขวัญทั่วไป เปนคําขวัญท่ีหนวยงาน สถาบัน หรือองคการตาง ๆ คิดขึ้นใชเพ่ือเปนคติเตือนใจ ใหขอคิด เชิญชวนใหปฏิบัติหรือละเวน มักเปนขอความกะทัดรัด มีสัมผัสคลองจอง ทําใหจดจําไดงาย เชน คาํ ขวญั วันเดก็ คาํ ขวญั ประจาํ จังหวดั คําขวัญประจาํ สถาบัน คาํ ขวญั ประจาํ หนวยงาน คําขวัญวนั เด็ก เชน เด็กไทยคือหัวใจของชาติ เดก็ ฉลาดชาติเจรญิ คําขวัญประจําจังหวัด เชน กรุงเทพฯ ดุจเทพสราง เมืองศูนยกลางการปกครอง วัด วัง งามเรืองรอง เมอื งหลวงของประเทศไทย คาํ ขวญั ประจําหนวยงาน เชน การสื่อสารแหงประเทศไทย เครอื ขายทัว่ ไทย โยงใยทว่ั โลก คําขวัญประจําสถาบัน เชน คําขวัญของโรงเรียนสตรีวดั ระฆังใชว า “เรยี นเดน เลน ดี มีวนิ ยั ใจกุศล” ท่มี า : บทวิทยุรายการ “รู รัก ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวิทยกุ ระจายเสยี งแหงประเทศไทย เมอ่ื วนั ที่ ๑เม๘่อื พวันฤทษ่ี ภ๑า๙คพมฤพษ.ภศา.ค๒ม๕พ๕.๖ศ.เ๒วล๕า๕๖๗.เ๐ว๐ลา-๗๗.๓.๐๐๐-น๗..๓๐ น. การเขียนคําขวญั การเขียนคําขวัญเปนงานเขียนท่ีตองใชความสามารถในแงของการใชถอยคําที่กระชับ รัดกุม และมีความหมายเดน แปลก และตองคลองจองเพ่ือจดจําไดงายการเขียนคําขวัญเน่ืองในโอกาสใดโอกาสหนงึ่ ผูเขียนตองแสดงความคิดเห็นท่ีเดนชัดในเร่ืองนั้นขึ้นมา เลือกคําท่ีมีนํ้าหนัก มีความหมายกระชับ นํามาผูก เปนประโยคสน้ั ๆ และใหมีคําสมั ผสั จะทาํ ใหคําขวัญมคี วามนา สนใจ ตรงจุดมงุ หมายความหมาย หลักการใชภ าษาในการเขยี นคําขวัญ การเขียนคําขวญั ใหนา สนใจ ควรคํานึงในประเดน็ ตอไปนี้ 1. ใชถอ ยคาํ ส้นั กะทัดรดั มีความหมายลึกซึ้ง ใชคําต้ังแต 2 คําขึน้ ไป แตไมควรเกนิ 16 คาํ แบง เปน วรรคได ต้ังแต 1 - 4 วรรค เชน - ทกุ ขท ี่ไหน กาชาดไปท่ีนัน่ - หอ งสมุด ดจุ ขมุ คลงั แหง ปญญา - เด็กฉลาด ชาตเิ จริญ 2. เขียนใหต รงจุดมุงหมาย แสดงความคดิ ในเร่ืองใดเร่ืองหนง่ึ อยางเดนชัดหรือมใี จความสาํ คญั เพยี งอยางเดียว เพอ่ื ใหจาํ งาย เชน - แสดงพลงั ประชาธิปไตย ดว ยการไปใชส ทิ ธเิ ลือกตง้ั - หลายชวี ิต รอโลหติ จากทาน - ขบั รถถูกกฎ ชวยลดอบุ ัตเิ หตุ - ท้ิงขยะไมเลอื กที่ หมดราศีไปทงั้ เมือง - นาํ้ มคี ุณคามหาศาล อยา ลา งผลาญโดยไมจําเปน

7837 87 3. จัดแบงจงั หวะคําสมํา่ เสมอ เชน - ยอมลาํ บากเมื่อหนุม ดีกวากลมุ เมอ่ื แก - ประเทศเปน บาน ทหารเปนรวั้ - ยามศึกเรารบ ยามสงบเราเตรยี ม - กตญั รู ะลกึ อยใู นจติ สุจรติ ระลกึ อยใู นใจ 4. เลน คาํ ทงั้ เสียง และสัมผัสและการซํ้าคํา ชวยใหจาํ งา ย เชน - เดก็ ดีเปนศรีแกชาติ เด็กฉลาดชาตเิ จริญ - ยามศึกเรารบ ยามสงบเราเตรียม - ขบั เรว็ ชดิ ขวา ขับชาชดิ ซาย - สะอาดกายเจริญวัย สะอาดใจเจริญสุข 5. เปนคําตักเตอื นใหป ฏบิ ัติในทางที่ดี เชน - เลือกคนดีเขาสภา เพอ่ื พัฒนาทองถ่นิ - เลือกตั้งเปนหนา ที่ เลือกคนดีมาปกครอง - ทาํ ดใี หคนเกรง ดกี วาเปนนกั เลงใหคนกลัว ลักษณะของคาํ ขวญั ท่ีดี ๑. เขียนตามวตั ถปุ ระสงค ๒. ใชถอยคาํ ถกู ตองตามหลักภาษาไทย ๓. คาํ ขวญั นิยมใชค ําสมั ผัสคลองจอง ๔. ใชสํานวนโวหารเปรียบเทียบ นอกจากไพเราะสละสลวยแลว คําขวัญตองเปรียบเทียบไดเหมาะสมตองคม ในดา นความคดิ ๕. คําขวัญ ตองมีขนาดไมยาวไมสั้นเกินไป มีความกระชับ กะทัดรัดชัดเจน เปนไปตามเกณฑกติกา ทก่ี าํ หนดดวย ๖. แนวความคดิ เชงิ สรางสรรค ควรเขียนในเชิงบวก การเขียนคาํ ขวญั อยาใหรสู กึ ไมดี หรอื นา กลัว ******************

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 จับใจจับตาหาความสาคัญ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 12 ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ เวลา 1 ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรื่อง การเขียนคาขวัญ ๒ ตวั อยา่ งคาขวญั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ขอบเขตเน้อื หา รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย ภาระงาน/ชนิ้ งาน การเขยี นคาขวัญ กิจกรรมการเรยี นรู้ จดั ปา้ ยนิเทศคาขวัญ ขั้นนา จดุ ประสงค์ ๑. ครแู สดงคาขวญั บนกระดานดา “ทรัพยากรนามีวนั ดา้ นความรู้ หมด ใช้ทกุ หยดอย่างรู้คุณค่า” นักเรียนรว่ มกันพจิ ารณา อธิบายหลกั การเขยี นคาขวัญได้ คาขวัญ ลกั ษณะเด่น ครอู ธิบายเชอ่ื มโยงเขา้ ส่บู ทเรยี น ด้านทักษะ/กระบวนการ ๒. ครูอธิบายจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั และ เขยี นคาขวญั สร้างสรรค์ตามหัวข้อท่กี าหนดได้ ประเมินผล ดา้ นคณุ ลักษณะ ข้ันสอน 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 1. นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายหลกั การเขยี นคาขวญั 2. มีความรบั ผิดชอบ ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ 3. มุ่งม่นั ในการทางาน ๒. นกั เรยี นเขียนคาขวัญรณรงค์ สร้างความตระหนกั และเชิญชวนตามหัวข้อต่อไปนี คนละ ๒ คาขวญั - การอนุรกั ษป์ ่าไม้ - การใช้นาอย่างรู้คุณคา่ - การมีนาใจในการใช้ถนนหรือปฏิบตั ิตาม กฎจราจร - การรณรงค์ใช้ถงุ ผ้า นักเรยี นรว่ มกันเลือกคาขวญั ทด่ี ที ี่สดุ นาไปจัดป้ายนิเทศ ๘๘ 7848

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 12 เวลา 1 ช่ัวโมง หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 จับใจจบั ตาหาความสาคัญ เรื่อง การเขยี นคาขวญั ๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ขั้นสรปุ นักเรยี นร่วมกันสรปุ หลกั การการเขยี นคาขวญั และ ยกตัวอย่างการนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ นักเรยี นจด บันทึกความรู้ท่ไี ด้จากการเรียนเร่ือง การเขียนคาขวญั ลง ในสมดุ 7859

๙๐ 7960 ๗. การวัดผลและการประเมินผล ส่งิ ทต่ี องการวดั /ประเมิน วิธกี าร เคร่อื งมอื ที่ใช เกณฑ ดานความรู ถามคถำ� าถมาคมําถาม อธบิ ายหลักการเขยี นคาํ ขวัญ ค�ำถาคมาํ ถาม ผา นเกณฑการประเมนิ ได รอ ยละ ๘๐ ดานทกั ษะ/กระบวนการ ประเมนิ การเขยี นคํา แบบประเมนิ การ ผา นเกณฑการประเมิน เขยี นคําขวญั สรางสรรค ค�ำขวญั ขวัญ การเขเขียียนนคคํา�ำขขววญั ญั รอยละ ๘๐ ตามหวั ขอ ทกี่ าํ หนดได ดานคณุ ลักษณะ สังเกตคณุ ลักษณะอนั แบบแปบรบะปเมรินะเมนิ ระดรับะดคับณุ คภุณาภพาพ๒ ๒ ๑. ใฝเรยี นรู พงึ ปรพะึงสปงรคะ์สงค คณุ คุณลกัลษักษณณะะออนั นั พพงึ งึ ผา่ นเกผณา นฑเ์กณฑ ๒. มุงมั่นในการทาํ งาน ประสงปคร์ ะสงค ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู ............................................................................................................................. ................................................ ปญ หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอเสนอแนะและแนวทางแกไ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชือ่ ......................................ผสู อน (.......................................................) วันท่.ี .........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเหน็ /ขอเสนอแนะของผบู รหิ ารหรอื ผูทไี่ ดรับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่ือ ......................................ผตู รวจ (.......................................................) วนั ที่..........เดือน..........พ.ศ...............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook