Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Published by elibraryraja33, 2021-08-25 03:55:52

Description: 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๓ พนิ จิ คุณคา่ วรรณคดี แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๑๓ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรอ่ื ง การวิเคราะห์คณุ ค่าวรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษิต ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นสอน โดยยกตัวอยา่ งคาประพนั ธใ์ หช้ ัดเจน แล้วส่งตัวแทน นาเสนอหน้าช้ันเรียน ให้นักเรียนและครูร่วมกัน ตรวจสอบความถูกต้อง กลุ่มใดวิเคราะห์ได้ชัดเจน ถกู ตอ้ ง ครบถว้ นตรงประเดน็ มากกว่าเปน็ ผ้ชู นะ ขนั้ สรปุ ๑. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ท่ีได้จากการ นาเสนอลงในใบงาน ๒. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ เรื่อง การวิเคราะห์ คุณค่าของอิศรญาณภาษิต แล้วร่วมกันตรวจสอบ ความถูกต้อง 291 277

292 227982 ๗. การวดั ผลประเมนิ ผล วธิ กี ารวดั เครื่องมือวดั เกณฑ์ ทดสอบ สิ่งท่ตี ้องการจัดและประเมนิ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรู้ รอ้ ยละ ๘๐ ๑. ความรู้ความเขา้ ใจการ วเิ คราะหว์ ิถไี ทยและคณุ ค่า วรรณคดี เร่ือง อิศรญาณภาษิต ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ผ่านเกณฑ์การประเมิน วิเคราะหว์ ถิ ีไทยและคุณคา่ รอ้ ยละ ๘๐ วรรณคดี เร่อื ง อิศรญาณภาษิต ทดสอบ แบบทดสอบ คณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ ๒ ๑.รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ๒.ใฝ่เรียนรู้ ๓.ม่งุ ม่ใั นการทางาน ๔.รกั ความเป็นไทย

293 227993 ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................................... .............................................................. ............................................................................................................................. . ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ...................................................................................................... ...................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................... ลงช่ือ ครูผู้สอน (.................................................................) วนั ที่............เดือน............................พ.ศ.................. ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................... ลงช่อื ผตู้ รวจ (.................................................................) ตาแหน่ง.................................................................................. วนั ท่ี............เดอื น............................พ.ศ..................

228904 ใบงาน เรอ่ื ง การวเิ คราะหค์ ุณคา่ วรรณคดี เร่ือง อศิ รญาณ หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑๓ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ จดุ ประสงค์ มีความรู้ ความเข้าใจการวิเคราะห์คณุ ค่าวรรณคดี เรอื่ ง อศิ รญาณภาษิต คาชี้แจง ให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ แสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั คุณค่าของอิศรญาณภาษิต ในด้านเน้ือหา ดา้ นวรรณศิลป์ ดา้ นสงั คมวัฒนธรรม โดยสรปุ เป็นแผนภาพความคดิ ลงในกระดาษร้อยปอนด์ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ด้านเนอ้ื หา ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม ________________ คุณคา่ ในอิศรญาณภาษติ ________________ ________________ ________________ ดา้ นวรรณศิลป์ การนาไปใช้ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________ ________________

295 228915 แบบทดสอบ เร่อื ง การวเิ คราะหค์ ณุ คา่ วรรณคดี เรอ่ื ง อิศรญาณ หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑๓ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ นักเรยี นเลือกคาตอบท่ถี กู ต้องเพียงคาตอบเดียว ๑. ขอ้ ใดเปน็ ลกั ษณะเดน่ ท่ีสุดของคาสอนเร่ืองอิศรญาณภาษิต ๑. สอนโดยการบอกตรง ๆ ๒. สอนโดยการบอกเปน็ นยั ๓. สอนโดยการประชดประชันเหน็บแนม ๔. สอนโดยการยกตวั อยา่ งประกอบชัดเจน ๒. ข้อใดไมใ่ ชจ่ ดุ มงุ่ หมายในการแตง่ อิศรญาณภาษติ ๑. เพ่ือสั่งสอนเป็นคตเิ ตือนใจ ๒. เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติตน ๓. เพื่อใหอ้ ย่รู ่วมกบั ผ้อู ่นื อยา่ งสงบสขุ ๔. เพ่ือเทดิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ๓. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลกั ษณะของกลอนเพลงยาว ๑. มีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสุภาพ ๒. ข้นึ ต้นด้วยคาวา่ “เอย๋ ” จบด้วยคาว่า “เอย” ๓. สามารถแต่งเป็นสภุ าษติ ได้ เพราะไมจ่ ากัดความยาวของบท ๔. สว่ นใหญม่ ักแต่งเปน็ จดหมายเกยี้ วพาราสีระหว่างชายกับหญงิ ๔. “จะเรยี นคมเรียนเถดิ อย่าเปิดฝัก” ตรงกบั สานวนไทยว่าอย่างไร ๑. มวี ิชาเหมอื นมีทรพั ย์ ๒. คมในฝัก ๓. รักเรยี นจงเพียรเถิด ๔. เกนิ หน้าเกนิ ตา ๕. “คนสามขามีปัญญาหาไว้ทกั ” คนสามขา หมายความว่าอยา่ งไร ๑. คนชรา ๒. คนท่มี ีกาลงั ๓. คนแปลกประหลาด ๔. คนที่มีพลังอานาจในตัว ๖. “อยากใช้เขาเราต้องก้มประนมกร ใครเลยหอ่ นจะวา่ ตวั เป็นวัวมอ” คาประพันธน์ ี้ต้องการจะสอนให้เป็นคนอย่างไร ๑. มือไว ๒. มอื หนงึ่ ๓. มืออ่อน ๔. มือใหม่

296 228926 ๗. “เป็นบ้าจ้นี ยิ มชมวา่ เอก คนโหยกเหยกรกั ษายากลาบากหมอ” “คนโหยกเหยก” ในที่นี้หมายถึงคนอย่างไร ๑. คนบา้ ๒. คนป่วย ๓. คนพิการ ๔. คนไม่อยู่กับร่องกบั รอย ๘.“เดนิ ตามรอยผ้ใู หญ่หมาไม่กัด” สะทอ้ นวถิ ีชีวิตของคนไทยในด้านใด ๑. การเอาตวั รอด ๒. การหาผ้คู ุ้มครอง ๓. การป้องกนั ตวั เอง ๔. การเคารพผอู้ าวโุ ส ๙. คาสอนใหร้ ู้จักพจิ ารณาตนเอง ตรงกับความในขอ้ ใด ๑. บญุ หาไม่แลว้ อย่าไดท้ ะนงตน ปุถชุ นรกั กับชังไม่ยงั่ ยืน ๒. ตาก็มัวหัวกข็ าวเป็นคราวครา่ หกู ซ็ ้าไม่ไดย้ นิ เอาส้นิ สวย ๓. มใิ ช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอยา่ ให้อายแกเ่ ทวดา ๔. อยา่ นอนเปล่าเอากระจกยกออกมา สอ่ งดหู น้าเสยี ทหี น่ึงแล้วจงึ นอน ๑๐. “เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคานวณ” มคี วามหมายวา่ อย่างไร ๑. ทนแดดได้นานไม่ร้อน ๒. ขยันทางานหนักตลอดเวลา ๓. ไม่ทางานทาการเอาแตเ่ ล่น ๔. ทนร้อนทนหนาวอย่ไู ด้ตลอด ๑๑. เหตกุ ารณใ์ ดสอดคล้องกับกลอนต่อไปนี้ “วาสนาไมค่ ู่เคยี งเถียงเขายาก ถงึ มีปากมเี สยี เปลา่ เหมือนเต่าหอย” ๑. สวรนิ ทร์รวู้ า่ จะโดนแฟนหลอกแต่ก็ยอมเพราะรักมาก ๒. เจศรินทรเ์ ช่ือคนที่พูดน่าเช่ือถือมากกวา่ คนท่พี ูดสาระปนอารมณ์ขัน ๓. วิธวินท์เจอทั้งคนดีและคนชว่ั ในสังคมจงึ รวู้ ่าไม่ควรเช่อื ใจใครง่าย ๆ ๔. นาวินเรียกร้องความเปน็ ธรรมเรื่องการลา่ สัตว์ป่าสงวนแตพ่ ูดไปกไ็ ม่เกดิ การเปล่ียนแปลง ๑๒. คาสอนในข้อใดสอนให้รู้จักประมาณตน ๑. ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน ๒. บุญหาไม่แล้วอย่าได้ทะนงตน ๓. สูงอย่าให้สูงกวา่ ฐานนานไปลม้ ๔. ตรองเสยี ก่อนจึงคอ่ ยทากรรมท้ังมวล ๑๓. “เพชรอยา่ งดีมีคา่ ราคายิง่ สง่ ให้ลิงจะรคู้ า่ ราคาหรือ” สานวนใดไม่เกยี่ วข้องกับกลอนขา้ งตน้ ๑. ไกไ่ ด้พลอย ๒. ลิงไดแ้ ก้ว ๓. ตาบอดไดแ้ วน่ ๔. กง้ิ ก่าไดท้ อง ๑๔. “อันเสาหนิ แปดศอกตอกเป็นหลัก ไปมาผลักบ่อยเขา้ เสายังไหว จงฟังหูไวห้ คู อยดูไป เชอื่ นา้ ใจดกี ว่าอย่าเช่อื ยุ” สานวนทข่ี ีดเสน้ ใตม้ ีความหมายว่าอยา่ งไร ๑. รับฟงั ไว้ แต่ยังไมเ่ ชือ่ ทง้ั หมด ๒. ฟงั อะไรไม่เข้าใจ แลว้ ก็คิดเดาเอาเองผดิ ๆ ๓. วเิ คราะห์คนฟงั ไม่เท่ยี วไปอวดดีสอนคนทเี่ ขารู้ดีกวา่ ๔. ฟงั อะไรเขา้ ใจยาก ถึงจะพูดอะไรให้ฟงั ก็เสยี เวลาเปล่า

297 228937 ๑๕. สานวนใดไม่ได้สอนเกี่ยวกบั การพดู ๑. ขวานผ่าซาก ๒. เข้าหซู ้ายทะลหุ ขู วา ๓. ปลาหมอตายเพราะปาก ๔. นา้ รอ้ นปลาเป็น นา้ เยน็ ปลาตาย ๑๖. “แต่ไม้ไผ่อนั หนงึ่ ตันอนั หนงึ่ แขวะ สีแหยะแหยะตอกตะบนั เป็นควันฉิว” คาประพันธน์ ส้ี อนใจเก่ยี วกบั เรื่องใด ๑. อยา่ ประมาทการกระทาที่ดเู หมอื นจะไม่เป็นพิษเป็นภัย ๒. อย่าประมาทสิง่ ทมี่ ีอานาจ ๓. อยา่ ประมาทสง่ิ ท่มี ีกาลังน้อย ๔. อย่าประมาทคนท่ีไมม่ ีปัญญา ๑๗. คาประพนั ธ์ข้อใดสอนใจให้รจู้ ักคิดพิจารณาไตร่ตรองก่อนจะพดู หรือทาสงิ่ ใด ๑. อย่านอนเปลา่ เอากระจกยกออกมา ส่องดหู น้าเสยี ทหี นึ่งแลว้ จงึ นอน ๒. เห็นตอหลกั ปักขวางหนทางอยู่ พเิ คราะห์ดคู วรทงึ้ แลว้ ถงึ ถอน ๓. ถึงรู้จรงิ น่งิ ไวอ้ ย่าไขรู้ เต็มที่คร่เู ดยี วเทา่ นัน้ เขาสรรเสริญ ๔. ผใู้ ดดีดตี ่ออยา่ ก่อกจิ ผูใ้ ดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ ๑๘“เอาปลาหมอเป็นครดู ูปลาหมอ บนบกหนออุตส่าห์เสือกกระเดือกกระดิก บคุ คลใดนาสานวนขา้ งตน้ มาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ไดถ้ ูกต้องที่สุด ๑. สรุ ชาสงสารปลาหมอท่ีกาลงั จะตายจึงจับไปปล่อยในแม่นา้ ๒. สุรยศเหน็ ปลาหมอตายเพราะปากตวั เองจึงคิดก่อนพูดเสมอ ๓. สวุ ิชัยศึกษาชวี ิตปลาหมอในสระทกุ เยน็ เพื่อเรยี นรู้วิถีชวี ติ ปลา ๔. สรุ ศัก ด์ิกาลงั ท้อแทจ้ ากปญั หาครอบครัวแตส่ ุดทา้ ยก็ฮึดสู้เพอื่ อนาคตที่ดี ๑๙. “ลอ้ งเู หา่ ก็ได้ใจกลา้ กล้า แต่วา่ อยา่ ยักเยื้องเข้าเบือ้ งหาง ตอ้ งวอ่ งไวในทานองคล่องทา่ ทาง ตบหัวผางเดียวม้วนจึงควรลอ้ ” คาประพันธ์นส้ี อนใจเร่ืองใด ๑. ล้อผู้มีอานาจได้ต้องใจกลา้ และม่ันใจวา่ จะชนะ ๒. เล่นกับศัตรูไดห้ ากใจกลา้ และไมเ่ ปน็ ฝ่ายแพ้ ๓. ตัดสนิ ใจสูก้ ับผู้มีอานาจใจตอ้ งกล้า และมน่ั ใจตนเอง ๔. ตัดสินใจตอ้ งเด็ดขาด ควบคมุ สถานการณ์ไม่ใหต้ กเป็นฝา่ ยเพลี่ยงพล้า ๒๐. วนั วาเลนไทน์ท่ผี ่านมา ปยิ ะพนั ธ์ทะเลาะกับแฟนเพราะแฟนขอเล่อื นนัดรบั ประทานอาหารเพื่ออา่ นหนงั สอื สอบ ปลายภาค หากนักเรยี นเปน็ เพอื่ นทรี่ ู้สถานการณด์ ังกลา่ ว จะนากลอนบาทใดสอนปิยะพันธ์ ๑. ถึงเพ่ือนฝงู ทช่ี อบพอขอกนั ได้ ถา้ แมใ้ หเ้ สียทกุ คนกลวั คนขอ ๒. รกั ส้นั น้นั ใหร้ ู้อยู่เพยี งสัน้ รกั ยาวนน้ั อยา่ ให้เยิ่นเกนิ กฎหมาย ๓. ไมค่ วรก้าเกนิ หน้าก็อย่าเกิน อย่าเพลิดเพลินคนชงั นักคนรักนอ้ ย ๔. เห็นเต็มตาแลว้ อย่าอยากทาปากบอน ตรองเสยี ก่อนจงึ คอ่ ยทากรรมทัง้ มวล

298 228948 เฉลยแบบทดสอบ เรื่อง การวิเคราะหค์ ุณค่าวรรณคดี เรอ่ื ง อศิ รญาณ หน่วยท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๑๓ รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ขอ้ คาตอบ ๑๓ ๒๔ ๓๒ ๔๒ ๕๑ ๖๓ ๗๔ ๘๔ ๙๔ ๑๐ ๒ ๑๑ ๔ ๑๒ ๓ ๑๓ ๔ ๑๔ ๑ ๑๕ ๒ ๑๖ ๑ ๑๗ ๒ ๑๘ ๔ ๑๙ ๔ ๒๐ ๒

229999 282959 หหนนว วยยกกาารรเเรรียียนนรรทู ูที่ ี่ ๔๔ ชช่อื ่อื หหนนว วยยกกาารรเเรรียยี นนรรู ู พพัฒัฒนนาาพพาาทที ี รรหหัสัสววชิ ิชาา ทท๒๒๓๓๑๑๐๐๑๑ รราายยววชิ ิชาาพพ้นื ้นื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย กกลลมุ ุมสสาารระะกกาารรเเรรยี ียนนรรภู ภู าาษษาาไไททยย ชชนั้ ัน้ มมัธธั ยยมมศศึกึกษษาาปปทท ี่ ่ี๓๓ ภภาาคคเเรรียียนนทที่ ่ี๑๑ปปกก าารรศศึกกึ ษษาา๒๒๕๕๖๖๒๒ เเววลลาาเเรรียียนน ๑๑๑๑ ชช่วั ่วั โโมมงง ๑๑.. มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรยี ยี นนรร/ู /ู ตตัววั ชช้วี ้ีวัดดั สสาารระะทที่ ่ี ๑๑::กกาารรออาา นน มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรียยี นนรรู ู มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรียียนนรรู ู ทท ๑๑..๑๑ ใใชชกกรระะบบววนนกกาารรออาานนสสรราางงคคววาามมรรูแูแลละะคคววาามมคคิดิดเเพพื่อื่อนนําําไไปปใใชชตตัดัดสสินินใใจจ แแกกปปญญหหาาใในนกกาารรดดําําเเนนินิน ชชีวีวติ ติ แแลละะมมนี ีนิสสิ ัยัยรรักกั กกาารรออาานน ตตวั ัวชชี้ว้ีวดั ัด มม..๓๓//๓๓รระะบบใุ ใุ จจคคววาามมสสาํ ําคคัญญั แแลละะรราายยลละะเเออียยี ดดขขอองงขขออ มมลู ูลทท่สี สี่ นนับับสสนนุนุน จจาากกเเรรอ่ื อ่ื งงทที่ออี่ า า นน มม..๓๓//๕๕ววเิ เิคครราาะะหห ววิจจิ าารรณณ แแลละะปปรระะเเมมินินเเรรือ่ ือ่ งงททอี่ ีอ่ าา นนโโดดยยใใชชกกลลววิธธิ กี กี าารรเเปปรรยี ียบบเเททียยี บบเเพพ่ือ่ือใใหหผ ผูอูอาานนเเขขา า ใใจจไไดดด ด ีขีขน้ึ ้ึน มม..๓๓//๗๗ววิจจิ าารรณณคคววาามมสสมมเเหหตตุสสุ มมผผลลกกาารรลลาํ าํ ดดับับคคววาามมแแลละะคคววาามมเเปปนนไไปปไไดดข ข อองงเเรรอื่ อ่ื งง มม..๓๓//๘๘ววเิ เิคครราาะะหหเ เพพ่อื ื่อแแสสดดงงคคววาามมคคดิ ดิ เเหหน็ น็ โโตตแ แยยงง เเกกี่ยีย่ ววกกับบั เเรรื่ออ่ื งงทท่ีอี่อา า นน มม..๓๓//๙๙ตตคี ีคววาามมแแลละะปปรระะเเมมินินคคุณุณคคาาแแลละะแแนนววคคิดิดทท่ีไี่ไดดจจาากกงงาานนเเขขียียนนออยยาางงหหลลาากกหหลลาายยเเพพื่อ่ือนนําําไไปปใใชชใ ในนกกาารรแแกกปปญญหหาาใในนชชวี ีวิตติ สสาารระะทท่ี ่ี ๒๒::กกาารรเเขขยี ยี นน มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรยี ียนนรรู ู มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรียียนนรรู ูทท ๒๒..๑๑ ใใชชกกรระะบบววนนกกาารรเเขขียียนน เเขขียียนนสสอ่ื ่อื สสาารร เเขขียียนนเเรรียียงงคคววาามม ยยออคคววาามมแแลละะเเขขยี ียนนเเรรอื่ ่ืองงรราาววใในนรรูปูปแแบบบบ ตตา า งงๆๆเเขขียยี นนรราายยงงาานนขขออ มมลู ลู สสาารรสสนนเเททศศแแลละะรราายยงงาานนกกาารรศศกึ ึกษษาาคคนนคคววาาออยยา า งงมมปี ปี รระะสสทิ ิทธธิภิภาาพพ ตตัววั ชชีว้ ้วี ัดัด มม..๓๓//๖๖ออธธบิ บิ าายยชช้ีแ้ีแจจงงแแสสดดงงคคววาามมคคิดิดเเหหน็ น็ แแลละะโโตตแ แ ยยง งออยยา างงมมเี ีเหหตตุผุผลล มม..๓๓//๑๑๐๐มมีมมี าารรยยาาททใในนกกาารรเเขขยี ยี นน สสาารระะทที่ ี่ ๓๓::กกาารรพพูดูด มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรยี ียนนรรู ู มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรียียนนรรู ู ทท ๓๓..๑๑ สสาามมาารรถถเเลลือือกกฟฟงงแแลละะดดูอูอยยาางงมมีวีวิจิจาารรณณญญาาณณ แแลละะพพูดูดแแสสดดงงคคววาามมรรู ู คคววาามมคคิดิด คคววาามมรรูสูสึกึก ใในนโโออกกาาสสตตาางงๆๆออยยาางงมมวี วี จิ ิจาารรณณญญาาณณแแลละะสสรรา า งงสสรรรรคค  ตตวั วั ชชี้วีว้ ัดดั มม..๓๓//๑๑แแสสดดงงคคววาามมคคิดดิ เเหห็นน็ แแลละะปปรระะเเมมนิ นิ เเรรอ่ื ื่องงจจาากกกกาารรฟฟง ง แแลละะกกาารรดดู ู มม..๓๓//๔๔พพดู ูดใในนโโออกกาาสสตตาางงๆๆไไดดต ต รรงงตตาามมววัตตั ถถุปปุ รระะสสงงคค  มม..๓๓//๖๖มมมี ีมาารรยยาาททใในนกกาารรฟฟง ง กกาารรดดู ูแแลละะกกาารรพพูดูด สสาารระะทที่ ่ี๔๔::หหลลักกั กกาารรใใชชภภาาษษาาไไททยย มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรยี ยี นนรรู ู

มาตรฐานการเรยี นรู้ 300 238060 มาตรฐานการเรียนรู ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปนสมบัติของชาติ ตัวชวี้ ดั ม.๓/๒ วเิ คราะหโ ครงสรางประโยคซับซอน สาระท่ี ๕ : วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามา ประยกุ ตใ ชใ นชีวิตจริง ตัวชี้วดั ม.๓/๑ สรปุ เนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถ่ินในระดับท่ยี ากขึ้น ม.๓/๒ วเิ คราะหว ิถไี ทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน ม.๓/๓ สรุปความรูและขอคิดจากการอาน เพ่ือนาํ ไปประยุกตใชในชวี ิตจรงิ ๒. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด ๑. การอานจับใจความสําคัญเปนการอานเพ่ือเก็บสาระสําคัญของเร่ืองท่ีอาน เก็บจุดมุงหมายสําคัญของเรื่อง เก็บเน้ือเรื่องท่ีสําคัญ เก็บความรูหรือขอมูลท่ีนาสนใจ ตลอดจนแนวคิดหรือทรรศนะของผูเขียน ผูอานจึงควรฝกฝน ใหเกดิ ความชาํ นาญ ๒. การเขียนแสดงความคิดเห็นเปนการเขียนที่ประกอบดวยขอมูลซึ่งเปนขอเท็จจริงและการแสดงความคิดเห็น ตอ เรอื่ งใดเรื่องหน่งึ ผูเขยี นจึงควรรูหลกั การเขยี นและวิเคราะหว ิจารณอยางมีเหตผุ ล มมี ารยาทในการเขยี น ๓. การพูดแสดงความคิดเห็นเปนการพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็นของตนตอเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง จากการอา น การฟง และการดู โดยผูพดู จะตองแสดงความคิดเหน็ อยางมเี หตุผลและสรา งสรรค ๔. การพูดอภิปรายเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน และเปนการฝกใหนักเรียนรูจักแสดงความ คดิ เหน็ อยา งมเี หตผุ ล พดู ไดตรงวตั ถุประสงค และมมี ารยาทในการพูด ๕. ประโยคในภาษาไทยมี ๓ ชนิด ไดแก ประโยคสามญั ประโยครวม และประโยคซอ น ๖. ประโยคซับซอนเกิดจากประโยคและสวนขยายมาเรียบเรียงเขาดวยกัน ถาผูอานหรือผูฟงสามารถวิเคราะห โครงสรางในประโยคไดก จ็ ะเขา ใจใใจจคคววาามมขขอองปงประรโะยโคยซคับซซับอ ซน้ออนยอา งยช่าัดงชเจัดนเจน ๗. การอา นเร่ืองสน้ั ตองวเิ คราะหอ งคประกอบของเรื่องสัน้ จงึ จะเขา ใจจุดมงุ หมายของผเู ขียนวา ตอ งการส่ืออะไร เร่อื งสั้นแตละเรื่องจะสอดแทรกวิถีไทยและคุณคา ในเรอื่ ง ๓. สาระการเรียนรู ความรู (K) ๑. การจบั ใจความสาํ คญั จากสอื่ ตา ง ๆ (สารคดีเชงิ ประวัติ) ๒. การเขยี นแสดงความคิดเหน็ ๓. การพูดแสดงความคิดเห็น ๔. การพดู ในโอกาสตา ง ๆ (การพดู อภิปราย)

301 238071 ๕. ประโยคซบั ซอ น ๖. การสรปุ เนอ้ื หาจากการอานเรื่องส้ัน ๖. การวเิ คราะหว ถิ ีไทยและคุณคา จากเรือ่ งส้ัน ๘. การสรปุ ความรูและขอคิดจากการอานเพ่ือนําไปประยุกตใ ชในชวี ติ จริง ทกั ษะ/กระบวนการ (P) ทักษะการอา น ทักษะการเขียน ทกั ษะการฟง การดู และการพูด ทกั ษะการคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ ทักษะการคดิ สรางสรรค ทักษะการสืบคนขอ มลู ทกั ษะการนาํ เสนอ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห สงั เคราะห ทักษะการประเมินคา เจตคติ (A) รักการอา น รกั การเขียน ตระหนกั ถงึ คุณคา ภาษาไทย มีจติ อาสา รับผิดชอบ ๔. สมรรถนะสําคัญของผเู รียน - ความสามารถในการสอ่ื สาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแกป ญหา - ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ - ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ๕. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค - รักชาติ ศาสน กษัตรยิ  - ซื่อสตั ยส ุจริต - มวี นิ ยั - ใฝเรียนรู - อยูอ ยา งพอเพียง - มุงมนั่ ในการทํางาน - รักความเปน ไทย - มีจิตสาธารณะ ๖. การประเมินผลรวบยอด - การประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน - การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค

302 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ พัฒนาพาที แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๑ เวลา ๑ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่ือง ใจความสาคญั นั้นสาคญั ไฉน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ขอบเขตเนอ้ื หา สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ๑. สารคดีเรื่อง เพลงนม้ี ีประวัติ จากหนงั สือ การอ่านจับใจความสาคัญจากสารคดที ี่อ่าน กิจกรรมการเรยี นรู้ เรียน รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ววิ ธิ ภาษา จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ขั้นนา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ หน้า ๕๔ – ๕๕ ดา้ นความรู้ ๒. ใบความรเู้ รอ่ื ง การอา่ นจบั ใจความสาคญั ๑. นกั เรียนและครูรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นตามประเด็นดงั น้ี ๓. ใบงานเรอ่ื ง การอ่านจับใจความสาคญั จาก ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดของขอ้ มลู - นักเรียนชอบอา่ นสารคดหี รอื ไม่ จสากรสคาดรเี รคื่อดงีเรเ่อืพงลงเพนลี้มงีปนรี้มะปีวัตระิ วตั ิ ทสี่ นบั สนุนจากเรอ่ื งท่อี ่าน - สารคดีท่นี ักเรียนชอบอา่ น คือเรื่องอะไร ๔. ใบงานเรื่อง การอ่านจบั ใจความสาคญั จาก ด้านทักษะ/กระบวนการ - ทาไมถึงชอบเร่ืองน้ี เพราะเหตุใด จสากรสคาดรเี รคือ่ดงีเรเ่อืมง่ือเดม็กือ่ สเดา็กวอสเามวรกิกลันากยลเปาน็ยเแปมน็ ่ แม่ ของเด็กเนปาล ๕๓ คน ๑. อา่ นจบั ใจความสาคัญจากสารคดีที่อ่าน ขัน้ สอน ภาระงาน/ชิน้ งาน ๒. พูดนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน เร่อื ง การอ่าน ๑. นักเรียนร่วมกันศกึ ษาใบความรู้เร่อื ง การอ่านจับใจความ จบั ใจความสาคญั จากสารคดีท่อี ่าน เร่อื ง เพลงนี้ มปี ระวตั ิ สาคัญ ด้านคณุ ลักษณะ ๒. นักเรียนอ่านสารคดีเรื่อง เพลงนม้ี ีประวัติ ในหนังสอื เรยี น ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. รกั ความเป็นไทย รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย วิวิธภาษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๓. จิตอาสา หน้า ๕๔ – ๕๕ ๓. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ ๔ คน รว่ มกนั ทาใบงาน เรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญจากสารคดเี รื่อง เพลงนี้มปี ระวตั ิ ๔. อาสาสมัครนกั เรยี นจานวน ๕ คนนาเสนอผลงาน หนา้ ชั้นเรยี น โดยครูคอยชีแ้ นะ ตรวจสอบความถกู ต้อง ข้ันสรุป ๑. นกั เรียนบอกประโยชน์และการนาหลักการอา่ น จับใจความสาคัญไปใชใ้ นชีวติ จริงเป็นรายบุคคล โดยครอู ธิบาย เพ่ิมเติม 238082

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ พัฒนาพาที แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรือ่ ง ใจความสาคัญน้นั สาคัญไฉน ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั สรุป (ต่อ) ๒. ใหน้ กั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปหลกั การอ่านจบั ใจความสาคญั จากสารคดี พร้อมท้ังสรุปประโยชนข์ องการอ่านสารคดี ๓. ให้นกั เรียนทาใบงานเรือ่ ง การอา่ นจับใจความสาคัญจาก สารคดเี รอ่ื ง เมื่อเด็กสาวอเมริกนั กลายเป็นแมข่ องเด็ก เนปาล ๕๓ คน 303 289

304 239004 การวดั และประเมนิ ผล สิ่งท่ีต้องการวดั /ประเมิน วธิ ีการ เครื่องมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ระบใุ จความสาคัญและ ทาใบงาน ใบงาน ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ รายละเอยี ดของข้อมูล สอบถาม ขอ้ คาถาม ท่ีสนับสนนุ จากเรอื่ งท่อี ่าน ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ๑. อา่ นจับใจความสาคัญ ทาใบงาน ใบงาน ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ จากสารคดีท่ีอ่าน ๒. พดู นาเสนอหนา้ ชั้นเรียน พดู นาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น แบบประเมิน เร่อื ง การอา่ นจบั ใจความ การพูดนาเสนอ สาคัญจากสารคดีท่ีอ่าน เรือ่ ง หนา้ ชั้นเรยี น เพลงนมี้ ปี ระวัติ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๑. ใฝเ่ รียนรู้ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ระดับคุณภาพ ๒ ๒. รักความเปน็ ไทย ผา่ นเกณฑ์ ๓. จิตอาสา ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่.ี .........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย .......................................................................................................................................................................... . ลงชอื่ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วนั ที่..........เดือน..........พ.ศ............

305 239015 ใบความรู้เรือ่ ง การอ่านจบั ใจความสาคัญ หน่วยท่ี ๔ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ การอา่ นจบั ใจความสาคญั ความหมายของการอา่ นจบั ใจความสาคัญ การอา่ นจับใจความสาคัญ คอื การอ่านเพือ่ เก็บสาระสาคัญของเรื่องที่อ่าน ทาหนา้ ท่ีคลุมใจความของ ข้อความอนื่ ๆ ในตอนนนั้ ๆ หรือยอ่ หน้านัน้ ๆ สว่ นมากจะมีเพียงประเดน็ เดยี ว มีลกั ษณะเปน็ ประโยค และส่วนมากจะปรากฏอยู่ตน้ ข้อความ การพิจารณาใจความสาคญั ใจความสาคญั จะปรากฏอยูใ่ นตาแหน่งของข้อความดังตอ่ ไปนี้ ๑. ใจความสาคญั ท่ปี รากฏอยใู่ นแต่ละยอ่ หนา้ ดังน้ี ๑.๑ ใจความสาคัญอยู่ในตาแหนง่ ตน้ ของย่อหนา้ และมีรายละเอียดวางอยู่ในตาแหนง่ ถดั ไป ๑.๒ ใจความสาคัญอย่ใู นตาแหนง่ ท้ายของยอ่ หนา้ ๑.๓ ใจความสาคัญอยู่ในตาแหนง่ ต้นและท้ายย่อหนา้ มรี ายละเอยี ดอยู่ตรงกลาง ๑.๔ ใจความสาคัญอย่ใู นตาแหนง่ กลางยอ่ หน้า มีรายละเอียดอยตู่ อนตน้ กับตอนท้าย ๒. อา่ นจับใจความสาคัญทป่ี รากฏรวมอยใู่ นหลาย ๆ ย่อหนา้ การอา่ นเพ่ือจบั ใจความสาคญั แบบน้ี มีหลกั สาคัญของการปฏบิ ัติตามลาดับขนั้ ตอนดังนี้ ๒.๑ อา่ นอยา่ งคร่าว ๆ พอเข้าใจ ๒.๒ อา่ นให้ละเอยี ด ๒.๓ อ่านแล้วถามตวั เองวา่ เรอ่ื งนีม้ ใี คร ทาอะไร ทไ่ี หน เมอ่ื ไร อยา่ งไร ทาไม อน่ึง การต้ังคาถามไม่จาเป็นต้องเหมือนกันท้ังหมด อาจจะต้องเปล่ียนไปตามเง่ือนไขของงานเขียน เช่น เรอ่ื งอะไร ใครเป็นผูเ้ ขยี น ใจความสาคญั วา่ อย่างไร ๓. รวบรวมคาตอบจากข้อ ๒.๓ มาเรียบเรียงให้สละสลวย เหมาะสมตามลาดบั ความสาคัญของเน้อื ความ หลักการอ่านเพ่ือจับใจความสาคัญ ๑. อ่านจากบนลงลา่ งแทนการอ่านจากซ้ายไปขวาทีละตวั และอย่าอา่ นทุกตัวอักษร เพราะจะทาให้อ่าน ชา้ ๓. ฝกึ กวาดสายตา เพือ่ ใหอ้ ่านได้ทีละประโยค ๆ ซ่ึงจะช่วยให้อา่ นได้รวดเร็ว ๔. พยายามเกบ็ ความของแต่ละตอน เม่ืออา่ นจบตอนหนึ่งแลว้ โดยรจู้ กั แยกใจความสาคัญและใจความ ทนี่ ามาประกอบในแต่ละข้อความออกจากกันให้ได้ ๕. ขณะที่อ่านต้องนึกไวเ้ สมอว่าเรอ่ื งท่กี าลังอา่ นอยูน่ ั้นเปน็ เรื่องอะไร มีจุดม่งุ หมายเพื่ออะไร เมื่ออ่านจบ แลว้ จะไดต้ อบปัญหาที่ตงั้ ไว้ได้ ๖. พยายามใหค้ วามสนใจในสิ่งท่ตี ้องการเพยี งอยา่ งเดยี ว เม่ือตอ้ งการจะอ่านเพื่อตอบปัญหา หรอื จบั ใจความกไ็ มค่ วรพะวงอยกู่ ับเร่ืองหลกั ภาษาหรอื เรื่องราวอื่น ๆ ทไี่ ม่อยใู่ นความต้องการ ๗. อยา่ อา่ นซ้าเพราะจะทาให้เสียเวลา ในบางคร้งั เราอาจจะได้ทราบความหมายจากประโยคถัดไปได้ ๘. ฝึกอา่ นอย่างสม่าเสมอ อ่านหนังสอื หลาย ๆ ประเภท เพ่ือให้เกิดความชานาญ

306 239026 ใบงานเรือ่ ง การอ่านจับใจความสาคญั จากสารคดที ี่อา่ นเรอ่ื ง เพลงนี้มปี ระวัติ หน่วยท่ี ๔ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรยี นอา่ นสารคดีเร่ือง เพลงนม้ี ีประวตั ิ ในหนงั สือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ววิ ธิ ภาษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ หน้า ๙๑ – ๙๖ จากน้นั บอกใจความสาคัญและรายละเอียดของเร่อื งใหถ้ ูกต้อง ๑. ใจความสาคัญ คือ ................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................................................ ........ ........................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ๒. รายละเอยี ดของเร่อื ง คือ .................................................................................................................. .................... .............................................................................................................. ...................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................... ................................................. .................................................................................. .................................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................. ..

307 239037 เฉลยใบงานเรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญจากสารคดีท่ีอ่านเรือ่ ง เพลงนม้ี ปี ระวัติ หน่วยท่ี ๔ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ คาชแ้ี จง : ใหน้ กั เรียนอา่ นสารคดีเรอ่ื ง เพลงนม้ี ปี ระวัติ ในหนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ววิ ธิ ภาษา ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ หน้า ๕๔ – ๕๕ จากนน้ั บอกใจความสาคัญและรายละเอียดของเรือ่ งใหถ้ ูกต้อง ๑. ใจความสาคัญ คือ เพลงลาวดวงเดอื นเป็นเพลงที่พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพิไชยมหนิ ทโรดม ทรงนิพนธ์ขึ้น สาเหตุท่ี ทรงนพิ นธ์คือ พระองคท์ รงผิดหวงั กบั ความรกั ทผ่ี ู้ใหญท่ ั้งสองฝ่ายทดั ทานจึงทรงนิพนธ์เพลงน้ี เพ่ือสะท้อนความรัก ความคิดถึง รวมท้ังความทกุ ข์ระทมทีเ่ กิดจากความผิดหวงั ตอ่ มาเพลงนีจ้ งึ ได้รับความนิยมมาจนปจั จบุ นั น้ี (ขึน้ อยู่ในดุลยพนิ ิจของคณุ ครู) ๒. รายละเอยี ดของเรอื่ ง คือ - พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหม่นื พไิ ชยมหินทโรดม มีพระนามเดมิ วา่ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ - สาเหตทุ ท่ี าให้ทรงนิพนธเ์ พลงลาวดวงเดือน คือ เม่ือพระองค์มพี ระชันษา ๒๑ ปี ได้พบรักกบั เจ้าชมชืน่ ธิดาของเจ้าราชสมั พันธวงศก์ ับเจ้าคายน่ ทรงขอให้พระยานริศราชกจิ เป็นเถา้ แก่สู่ขอเจา้ ชมชน่ื แตท่ รงถกู ทัดทาน จากทกุ ฝ่าย ทาให้ความรักคร้ังแรกของพระองคจ์ ึงตอ้ งยตุ ิลงดว้ ยความผิดหวงั - เพลงนีไ้ ด้รบั ความนิยมตัง้ แต่แรก จงึ มผี ู้นาไปขบั ร้องในระยะหลังไม่ทราบประวัตแิ ละที่มาของเพลง เห็นวา่ เน้อื เพลงขน้ึ ตน้ ด้วยความวา่ “ดวงเดอื นเอย” จึงได้เรียกชื่อวา่ “ลาวดวงเดือน” ฯลฯ (ข้นึ อยู่ในดลุ ยพินจิ ของครู) (ขึน้ อย่กู ับดลุ ยพินจิ ของคร)ู

308 239048 ใบงานเรื่อง การอา่ นจบั ใจความสาคญั จากสารคดีที่อา่ น เร่อื ง เมื่อเด็กสาวอเมรกิ ันกลายเปน็ แม่ของเด็กเนปาล ๕๓ คน หน่วยที่ ๔ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ คาช้แี จง : ใหน้ กั เรียนอา่ นสารคดีเรอ่ื ง เม่ือเด็กสาวอเมริกันกลายเป็นแม่ของเดก็ เนปาล ๕๓ คน จากน้นั บอกใจความสาคัญและรายละเอยี ดของเร่ืองให้ถูกต้อง เม่อื เดก็ สาวอเมริกนั กลายเป็นแม่ของเดก็ เนปาล ๕๓ คน ในปี ๒๐๐๕ Maggie Doyne วัย ๑๙ ปเี พ่งิ เรยี นจบจากไฮสคูลในนวิ เจอร์ซี เธอตดั สินใจพกั การเรยี นไว้ ชัว่ คราวเพือ่ เดนิ ทางแบบแบ็คแพ็คเกอร์มาทางานด้านจติ อาสาทปี่ ระเทศอินเดยี ณ ท่นี ั้น เธอไดร้ ้จู ักกับเด็กหญิงวยั ๑๓ ปซี ง่ึ เปน็ ผู้ลภี้ ัยสงครามกลางเมืองในเนปาล เม่อื สงครามสิ้นสดุ ลง เดก็ หญงิ คนน้นั จึงชวนแม็กกี้ไปดูหม่บู า้ น Surkhet ทอ่ี ยหู่ ่างจากกาฐมาณฑุไปทางทศิ ตะวนั ตก ๖๐๐ กโิ ลเมตร เมื่อมาถึงหมบู่ ้าน ระหวา่ งที่แม็กกเ้ี ดนิ ผา่ นแม่น้าอนั แห้งเหือดในเทือกเขาหิมาลัย ภาพท่ีเธอไดเ้ ห็น คอื เดก็ นับร้อยคนกาลังนงั่ กะเทาะหนิ เด็กเหล่านี้กะเทาะหินท้ังวนั เพอ่ื แบกมนั ขนึ้ หลงั แล้วนาไปขายแลกกบั เงิน ๑๐๐ รูปี หรอื ๔๕ บาท แม็กกีอ้ ดสะท้อนใจไมไ่ ด้วา่ ทาไมชีวติ คนเราจงึ ต่างกันไดถ้ ึงเพียงน้ี เธอเองมาจาก ประเทศทรี่ า่ รวยมีกินมใี ช้จนเดินทางขา้ มน้าข้ามทะเลมาได้ ขณะทีเ่ ด็ก ๆ เหล่านีต้ ้องใชแ้ รงงานอย่างหนัก เพียงเพื่อให้มีอาหารประทังชีวิต เธอได้พบกับเด็กหญิงตวั น้อยวยั ๕ ขวบนาม “ฮมิ า” (Hima) ทย่ี ิ้ม ยกมือไหวแ้ ละทักทายเธอวา่ “นมสั เต ดดี ี้” ซง่ึ แปลวา่ “สวัสดีค่ะ พี่สาว” ในวนิ าทีน้นั แม็กกี้บอกตัวเองวา่ ถ้าเธอไมล่ งมอื ทาอะไรสักอยา่ ง ภาพนี้คงติดตาเธอไปชั่วชวี ิต แมก็ ก้ีจึง ตดั สินใจอุปการะฮมิ า พาเธอไปสมคั รเรียน ซ้อื ชุดนกั เรยี นใหเ้ ธอ และซื้ออุปกรณเ์ ครอื่ งเขียนใหเ้ ธอ จากน้นั แม็กกี้กร็ บั อปุ การะเด็กคนแล้วคนเลา่ บางคนมีบ้านอยูใ่ นสลัม บางคนไม่มบี า้ นจงึ ต้องมาอาศยั อยู่ กับแม็กกี้ จาก ๑ เป็น ๕ จาก ๕ เป็น ๑๐ จาก ๑๐ เป็น ๒๐ จนหอ้ งพักทีเ่ ธอมีคับแคบเกนิ ไป โชคดีทล่ี ะแวกนน้ั มที ด่ี ินผืนหนึ่งกาลงั ประกาศขายในราคา ๓๕๐,๐๐๐ รูปี หรอื ราว ๕,๐๐๐ ดอลลารส์ หรฐั สมัยเรยี นไฮสคูล แมก็ กี้เคยรับจอ๊ บเปน็ พ่เี ลี้ยงเดก็ (babysitter) อยหู่ ลายปีจนมเี งินเก็บ ๕,๐๐๐ ดอลลาร์ เธอจงึ โทรศพั ท์กลับไปหาพ่อแมท่ ี่นิวเจอร์ซเี พ่ือขอใหโ้ อนเงินที่เธอเก็บไว้มาให้เธอนาไปซื้อที่ดนิ ผนื นี้ เม่อื ไดท้ ด่ี ินมา แม็กก้ีจึงสร้าง Kopila Valley Children’s Home เพ่ือเปน็ ที่คอยดแู ลเด็กดอ้ ยโอกาส ใหม้ ชี ีวิตที่ดขี นึ้ แม็กก้ีกลายเป็นแม่บญุ ธรรมของเด็กชาวเนปาลรว่ ม ๕๓ คน เด็กทกุ คนจะไดก้ นิ อิม่ นอนอุ่น ไปโรงเรยี นและมีคนดแู ลยามป่วยไข้

309 239059 เม่ือไดพ้ ดู คยุ กับชาวบ้านในละแวกนั้น แมก็ กี้กต็ ระหนกั ว่าสิ่งทจ่ี ะสร้างความแตกตา่ งอย่างยงิ่ ให้แก่คนใน พนื้ ทน่ี ีค้ ือ โรงเรยี นประจาหมู่บา้ น เธอจงึ เร่มิ ระดมทุนอกี คร้ังจากคนในพ้ืนที่และคนที่รบั ทราบเรื่องราวของเธอ ในอเมริกาจนสามารถเปิดโรงเรียน Kopila Valley School ซงึ่ รองรบั เด็กได้ ๒๑๐ คนในปี ๒๐๑๐ เด็กนกั เรียน สว่ นใหญ่เปน็ คนแรกของตระกูลท่ีอา่ นออกเขียนได้ แถมเม่ือมีการสอบระดบั ประเทศในปี ๒๐๑๒ เด็กชน้ั ม.๒ ทกุ คนในโรงเรียนนีส้ อบติดอันดับทอ็ ปเท็นของประเทศอกี ด้วย แมก็ กเ้ี ชื่อว่า ความรักความเอื้ออาทรไม่ควรมีเช้ือชาติ ศาสนา หรือสีผิวมาแบง่ กน้ั เราทุกคนคือ “ครอบครวั มนุษย์” (human family) ถ้าบังเอิญเราโชคดไี ด้เกดิ ในประเทศทมี่ ีทรัพยากรอุดมสมบรู ณ์ ได้เรยี น หนงั สอื ไดม้ โี อกาสทดี่ ีกวา่ คนอื่น เรากค็ วรจะแบง่ ปนั โอกาสนนั้ ให้แกค่ นที่ไม่ไดโ้ ชคดเี ท่ากบั เรา แมก็ กก้ี ่อตัง้ มูลนิธิ BlinkNow ขนึ้ ด้วยความเช่อื ทวี่ ่า เพยี งเราลงมอื เราก็อาจสรา้ งความแตกตา่ งให้แก่ คนบางคนได้ในพรบิ ตา เหมือนกบั ท่ีเธอเปล่ียนทิศทางชวี ิตของเด็กหญงิ ฮิมาเม่อื ๑๓ ปที ่ีแล้ว แม็กกี้เลา่ ใหฟ้ ังวา่ ตอนทเ่ี ธอตัดสนิ ใจช่วยฮมิ านัน้ เธอเคยต้ังปณธิ านเอาไวว้ า่ วนั หนึง่ ข้างหน้าเมอื่ เธอเดิน ผา่ นแม่นา้ อันเหือดแห้งสายนั้น เธอจะไม่เหน็ เดก็ มาน่ังกะเทาะหินอีกต่อไป วนั นป้ี ณธิ านของเธอเปน็ จรงิ แลว้ รมิ แม่นา้ สายเกา่ ไมม่ เี ด็กมานง่ั กะเทาะหนิ อีกต่อไป เพราะส่วนใหญ่ กลายเปน็ นกั เรียนของโรงเรียนเธอเรยี บร้อยแลว้ แคล่ งมือ เรากส็ ร้างความแตกตา่ งให้แก่คนได้อย่างมากมายจริง ๆ (ออล แมก็ กาซนี : อานนทวงศ์ มฤคพทิ ักษ)์ ๑. ใจความสาคญั จากสารคดเี ร่อื ง เมื่อเดก็ สาวอเมริกันกลายเปน็ แม่ของเด็กเนปาล ๕๓ คน คือ ............................. ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .............................................................................................................................................................................. ...... ............................................................................................................................. ....................................................... ๒. รายละเอยี ดของเร่ือง คอื ............................................................................................................................. ......... ......................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .............................................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................. ....................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................................................

310 239160 จงตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. เพราะเหตใุ ดแม็กก้ีจงึ รับอุปการะเด็กชาวเนปาลร่วม ๕๓ คน ตอบ ............................................................................................................................. .............................................. ๒. แมก็ กพ้ี ัฒนาเดก็ ชาวเนปาลในพน้ื ท่ที ่ีอาศัยอยู่อยา่ งไรบ้าง ตอบ ................................................................................................................................................ ........................... ....................................................................................................... ............................................................................. ๓. “แม็กก้ีเล่าใหฟ้ ังว่า ตอนที่เธอตัดสินใจช่วยฮิมาน้ัน เธอเคยตั้งปณิธานเอาไว้ว่า วันหน่ึงข้างหนา้ เม่ือเธอเดินผ่าน แมน่ า้ อนั เหอื ดแห้งสายน้ัน เธอจะไม่เหน็ เด็กมานั่งกะเทาะหนิ อีกตอ่ ไป” ข้อความข้างต้น หมายถงึ อะไร ตอบ ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ๔. คาว่า “เราทกุ คนคอื “ครอบครวั มนษุ ย์” (human family)” ในความคิดของนักเรียน หมายถึงอะไร ตอบ ........................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. ................................... ๕. คณุ ธรรมท่ีนกั เรยี นได้จากการอ่านสารคดีเรอ่ื งน้มี ีอะไรบา้ ง นกั เรียนจะนาไปปรับใชใ้ นชวี ิตจรงิ อย่างไร ตอบ ........................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

311 239171 เฉลยใบงานเรื่อง การอา่ นจับใจความสาคัญจากสารคดีทอ่ี า่ น เรื่อง เมื่อเดก็ สาวอเมรกิ นั กลายเป็นแมข่ องเด็กเนปาล ๕๓ คน หน่วยที่ ๔ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๑ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ คาช้ีแจง : ให้นกั เรียนอา่ นสารคดเี ร่อื ง เม่อื เด็กสาวอเมริกันกลายเป็นแม่ของเด็กเนปาล ๕๓ คน จากนนั้ บอกใจความสาคัญและรายละเอยี ดของเรื่องให้ถูกต้อง เมื่อเดก็ สาวอเมรกิ ันกลายเป็นแมข่ องเดก็ เนปาล ๕๓ คน ในปี ๒๐๐๕ Maggie Doyne วัย ๑๙ ปเี พิ่งเรยี นจบจากไฮสคูลในนวิ เจอร์ซี เธอตดั สนิ ใจพกั การเรยี นไว้ ชวั่ คราวเพื่อเดนิ ทางแบบแบ็คแพ็คเกอร์มาทางานด้านจติ อาสาท่ีประเทศอนิ เดยี ณ ทน่ี น้ั เธอได้รู้จักกับเด็กหญิงวยั ๑๓ ปีซ่งึ เปน็ ผ้ลู ภี้ ยั สงครามกลางเมืองในเนปาล เมอื่ สงครามสนิ้ สุดลง เด็กหญิงคนน้ันจึงชวนแมก็ ก้ีไปดหู มู่บ้าน Surkhet ท่ีอยู่หา่ งจากกาฐมาณฑุไปทางทิศตะวันตก ๖๐๐ กโิ ลเมตร เม่อื มาถึงหมบู่ ้าน ระหวา่ งท่แี ม็กกี้เดินผา่ นแมน่ า้ อันแหง้ เหือดในเทือกเขาหิมาลยั ภาพท่ีเธอไดเ้ ห็น คือ เดก็ นับร้อยคนกาลงั นั่งกะเทาะหนิ เด็กเหล่านี้กะเทาะหินท้งั วนั เพ่อื แบกมันขึน้ หลังแล้วนาไปขายแลกกบั เงนิ ๑๐๐ รูปี หรือ ๔๕ บาท แม็กก้ีอดสะท้อนใจไม่ไดว้ ่าทาไมชวี ิตคนเราจงึ ตา่ งกนั ไดถ้ ึงเพยี งน้ี เธอเองมาจาก ประเทศทร่ี า่ รวยมกี ินมีใชจ้ นเดินทางขา้ มน้าขา้ มทะเลมาได้ ขณะท่เี ด็ก ๆ เหล่านี้ต้องใช้แรงงานอย่างหนัก เพยี งเพ่ือให้มีอาหารประทังชวี ติ เธอได้พบกับเด็กหญิงตวั น้อยวยั ๕ ขวบนาม “ฮมิ า” (Hima) ทย่ี ้มิ ยกมือไหว้และทักทายเธอว่า “นมัสเต ดดี ้ี” ซึ่งแปลว่า “สวัสดีคะ่ พ่สี าว” ในวนิ าทีน้นั แม็กก้บี อกตัวเองว่า ถ้าเธอไมล่ งมือทาอะไรสกั อย่าง ภาพนี้คงตดิ ตาเธอไปช่ัวชีวติ แมก็ ก้จี ึง ตดั สนิ ใจอปุ การะฮมิ า พาเธอไปสมัครเรยี น ซือ้ ชดุ นักเรยี นให้เธอ และซื้ออปุ กรณเ์ ครอ่ื งเขยี นใหเ้ ธอ จากน้นั แม็กกี้ก็รบั อุปการะเด็กคนแลว้ คนเล่า บางคนมบี ้านอยใู่ นสลมั บางคนไม่มบี า้ นจงึ ตอ้ งมาอาศยั อยู่ กบั แม็กกี้ จาก ๑ เป็น ๕ จาก ๕ เป็น ๑๐ จาก ๑๐ เปน็ ๒๐ จนห้องพกั ทเ่ี ธอมีคับแคบเกนิ ไป โชคดีท่ีละแวกน้นั มีทด่ี นิ ผืนหน่ึงกาลังประกาศขายในราคา ๓๕๐,๐๐๐ รปู ี หรือราว ๕,๐๐๐ ดอลลารส์ หรฐั สมัยเรียนไฮสคลู แมก็ กเี้ คยรับจ๊อบเป็นพเ่ี ลี้ยงเดก็ (babysitter) อยหู่ ลายปีจนมีเงนิ เก็บ ๕,๐๐๐ ดอลลาร์ เธอจึงโทรศัพทก์ ลับไปหาพ่อแมท่ ่นี ิวเจอร์ซเี พอื่ ขอให้โอนเงินท่ีเธอเก็บไว้มาให้เธอนาไปซื้อท่ีดนิ ผนื น้ี เมือ่ ได้ท่ดี นิ มา แม็กก้จี งึ สร้าง Kopila Valley Children’s Home เพื่อเป็นที่คอยดแู ลเด็กดอ้ ยโอกาส ใหม้ ีชีวติ ที่ดีขนึ้ แม็กก้ีกลายเป็นแมบ่ ุญธรรมของเด็กชาวเนปาลร่วม ๕๓ คน เด็กทกุ คนจะได้กนิ อ่มิ นอนอุน่ ไปโรงเรยี นและมีคนดแู ลยามปว่ ยไข้

312 239182 เมอ่ื ไดพ้ ูดคยุ กับชาวบ้านในละแวกนน้ั แมก็ กกี้ ็ตระหนักว่าส่ิงท่ีจะสรา้ งความแตกต่างอยา่ งย่ิงให้แก่คนใน พืน้ ที่น้คี ือ โรงเรียนประจาหมู่บ้าน เธอจึงเริ่มระดมทนุ อีกครัง้ จากคนในพืน้ ที่และคนที่รับทราบเร่อื งราวของเธอ ในอเมริกาจนสามารถเปดิ โรงเรยี น Kopila Valley School ซ่ึงรองรบั เด็กได้ ๒๑๐ คนในปี ๒๐๑๐ เด็กนักเรียน ส่วนใหญเ่ ป็นคนแรกของตระกูลทีอ่ ่านออกเขียนได้ แถมเม่ือมีการสอบระดบั ประเทศในปี ๒๐๑๒ เด็กชั้น ม.๒ ทกุ คนในโรงเรียนน้ีสอบตดิ อันดับทอ็ ปเทน็ ของประเทศอีกด้วย แมก็ กเี้ ชือ่ ว่า ความรกั ความเอื้ออาทรไม่ควรมีเชอื้ ชาติ ศาสนา หรอื สผี วิ มาแบ่งกน้ั เราทุกคนคือ “ครอบครวั มนุษย์” (human family) ถ้าบงั เอิญเราโชคดีไดเ้ กิดในประเทศทม่ี ีทรพั ยากรอุดมสมบูรณ์ ได้เรยี น หนงั สอื ไดม้ ีโอกาสทด่ี ีกวา่ คนอ่นื เราก็ควรจะแบง่ ปนั โอกาสนั้นใหแ้ ก่คนที่ไม่ไดโ้ ชคดีเทา่ กับเรา แมก็ กีก้ ่อตั้งมลู นิธิ BlinkNow ขนึ้ ดว้ ยความเชอ่ื ท่ีว่า เพียงเราลงมือ เราก็อาจสร้างความแตกตา่ งให้แก่ คนบางคนไดใ้ นพริบตา เหมือนกบั ท่เี ธอเปล่ยี นทศิ ทางชีวติ ของเด็กหญิงฮมิ าเมื่อ ๑๓ ปีที่แลว้ แมก็ กี้เล่าใหฟ้ ังว่า ตอนท่ีเธอตัดสนิ ใจช่วยฮมิ าน้ัน เธอเคยต้ังปณธิ านเอาไวว้ า่ วันหนึง่ ขา้ งหนา้ เมอ่ื เธอเดนิ ผา่ นแมน่ า้ อันเหือดแห้งสายน้ัน เธอจะไม่เหน็ เดก็ มาน่ังกะเทาะหนิ อีกต่อไป วันน้ปี ณิธานของเธอเปน็ จริงแลว้ ริมแม่น้าสายเกา่ ไม่มีเด็กมานง่ั กะเทาะหนิ อีกต่อไป เพราะสว่ นใหญ่ กลายเป็นนกั เรยี นของโรงเรียนเธอเรยี บรอ้ ยแล้ว แคล่ งมือ เราก็สรา้ งความแตกต่างใหแ้ ก่คนได้อยา่ งมากมายจริง ๆ (ออล แมก็ กาซีน : อานนทวงศ์ มฤคพทิ ักษ์) ๑. ใจความสาคญั จากสารคดีเรอ่ื ง เม่ือเด็กสาวอเมรกิ นั กลายเป็นแม่ของเด็กเนปาล ๕๓ คน คือ แม็กกี้ไดเ้ ดินทางแบบแบ็คแพ็คเกอร์มาทางานด้านจติ อาสา ไดพ้ บเด็กชาวเนปาลหลายคนตกทกุ ขไ์ ด้ยาก แมก็ กจ้ี ึงช่วยเหลือเดก็ เหลา่ นั้นให้มคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดีขึ้น โดยรบั อุปการะเป็นแมบ่ ตุ รธรรมร่วม ๕๓ คน ตลอดจน สรา้ งโรงเรยี นประจาหมู่บ้าน Kopila Valley School ก่อตง้ั มูลนธิ ิ BlinkNow เพื่อชว่ ยเหลือมนุษยใ์ ห้มชี วี ิตทด่ี ีข้นึ (ขึน้ อยู่ในดุลยพินิจของคร)ู ๒. รายละเอยี ดของเรือ่ ง คอื - แม็กกเ้ี ดนิ ผา่ นแมน่ า้ ในเทือกเขาหิมาลยั พบเดก็ นับรอ้ ยคนกาลังนั่งกะเทาะหินทั้งวัน เพอ่ื แบกหินที่ กะเทาะแล้วทง้ั หมดขน้ึ หลังแล้วนาไปขายแลกกบั เงนิ ๑๐๐ รปู ี หรือ ๔๕ บาท แมก็ กจี้ ึงสงสารและคิดต่อไปวา่ ทาไมชีวติ คนเราจึงตา่ งกันเพยี งนี้ เด็ก ๆ เหล่านี้ต้องใชแ้ รงงานอย่างหนกั เพ่ือจะได้มีอาหารประทังชวี ิต - แม็กกสี้ รา้ ง Kopila Valley Children’s Home เพ่อื เป็นสถานทด่ี แู ลเด็กดอ้ ยโอกาสให้มชี ีวติ ทด่ี ขี นึ้ เพอ่ื ให้เดก็ ทุกคนอยู่ดมี ีสุข ได้รับการศกึ ษา และมสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง - แม็กกแี้ สดงความคดิ เห็นว่า มนุษย์ทุกคนในโลกควรมคี วามรกั และความเออ้ื อาทรต่อกัน เปน็ เพ่ือนแท้ ร่วมโลกใบเดยี วกนั หากเราได้เกดิ ในประเทศท่ีอุดมสมบรู ณ์ มีโอกาสดีกว่าคนอนื่ เราควรแบ่งปันโอกาสนัน้ ให้แก่ คนทีไ่ มไ่ ด้โชคดีเท่ากบั เรา ฯลฯ (อยู่ในดลุ ยพินิจของครู)

313 239193 จงตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. เพราะเหตใุ ดแม็กกจ้ี งึ รับอุปการะเด็กชาวเนปาลรว่ ม ๕๓ คน ตอบ เพราะแม็กก้สี งสารและอยากช่วยเหลอื เดก็ ชาวเนปาลที่มคี วามเปน็ อยู่ลาบาก มคี ุณภาพชวี ิตทไี่ มด่ ี ๒. แมก็ กพ้ี ฒั นาเดก็ ชาวเนปาลในพื้นทท่ี ี่อาศัยอยู่อยา่ งไรบ้าง ตอบ สร้าง Kopila Valley Children’s Home เพ่ือดแู ลเดก็ ด้อยโอกาสใหม้ ชี ีวติ ทดี่ ีขึ้น สรา้ งโรงเรียนประจาหมบู่ า้ น Kopila Valley School เพือ่ ให้เดก็ ชาวเนปาลมกี ารศึกษา อ่านออกเขยี นได้ กอ่ ตง้ั มลู นธิ ิ BlinkNow เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของชาวเนปาลใหม้ ีความเปน็ อยู่ท่ดี ีข้นึ ๓. “แม็กกี้เล่าให้ฟังว่า ตอนทเี่ ธอตัดสินใจช่วยฮิมานน้ั เธอเคยต้ังปณิธานเอาไว้ว่า วันหน่ึงข้างหน้าเม่ือเธอเดินผ่าน แม่นา้ อันเหือดแหง้ สายนนั้ เธอจะไม่เหน็ เดก็ มานง่ั กะเทาะหนิ อีกตอ่ ไป” ขอ้ ความข้างต้น หมายถงึ อะไร ตอบ เธอจะพฒั นาเด็กชาวเนปาลให้มคี วามเปน็ อยู่ทดี่ ขี นึ้ ไม่ยากจนแร้นแคน้ ต่อไปอีก ๔. คาว่า “เราทกุ คนคอื “ครอบครวั มนษุ ย์” (human family)” ในความคิดของนกั เรียน หมายถงึ อะไร ตอบ เราทุกคนเปน็ เพื่อนแท้ในโลกใบเดยี วกนั ดังน้ันเราจึงควรชว่ ยเหลือและแบ่งปนั โอกาสใหท้ ุกคนมีชวี ิตท่ีดีขึน้ (อยู่ในดลุ ยพินิจของครู) ๕. คณุ ธรรมท่ีนักเรยี นไดจ้ ากการอา่ นสารคดีเรอื่ งน้ีมีอะไรบ้าง นกั เรียนจะนาไปปรับใชใ้ นชีวิตจรงิ อยา่ งไร ตอบ การชว่ ยเหลือ การแบ่งปนั จะนาไปปรับใชโ้ ดยการรู้จกั เสยี สละ มนี า้ ใจแกเ่ พ่ือน ๆ ทุกคนทุกชนช้ัน จติ อาสา จะนาไปปรบั ใชโ้ ดยการรู้จกั อาสาช่วยเหลือเพ่ือนมนษุ ยท์ ี่ตกทกุ ข์ไดย้ าก (อยู่ในดุลยพินจิ ของครู)

314 330104 แบบประเมินการพดู นาเสนอผลงาน คาชี้แจง ใหค้ รปู ระเมินการพูดนาเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการท่ีกาหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ งท่ตี รงกับ ระดบั คะแนน ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน ๑ เนอ้ื หาทีน่ าเสนอชดั เจนและละเอยี ด ๔ ๓ ๒๑ ๒ เนอ้ื หาทน่ี าเสนอถูกตอ้ ง ๓ ใช้ภาษาทเี่ ขา้ ใจง่าย ๔ ประโยชนท์ ี่ไดจ้ ากการนาเสนอ ๕ วิธีการนาเสนอผลงาน รวม ลงช่อื ..................................................................... ผปู้ ระเมนิ ........................ / ....................... / .......................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๔ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งบางสว่ น ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งมาก เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน ดมี าก ๑๘ – ๒๐ ดี ๑๔ – ๑๗ พอใช้ ๑๐ – ๑๓ ปรับปรุง ตา่ กว่า ๑๐

315 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๔ พัฒนาพาที แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เวลา ๑ ชัว่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่ือง การเขียนแสดงความคดิ เหน็ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ขอบเขตเนื้อหา รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย การเขยี นแสดงความคิดเห็น จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ ดา้ นความรู้ ขนั้ นา ๑. บทความแสดงความคดิ เห็นเรื่อง ที่เรยี กวา่ ๑. นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ จากคาถามกระตนุ้ ความคิดทว่ี า่ ก้าวหน้า ในหนงั สือเรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน อธิบาย ชีแ้ จง แสดงความคิดเหน็ และโต้แย้ง ทาอย่างไรจึงจะเกิดความกา้ วหนา้ ในชวี ิต ภาษาไทย ววิ ิธภาษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ อย่างมเี หตผุ ล ๒. อาสาสมคั รนักเรยี นตอบคาถามดังกล่าว พร้อมทั้ง หนา้ ๑๐๒ – ๑๐๖ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ให้นักเรียนในชั้นเรยี นร่วมกนั อภปิ รายตามประเด็นต่อไปน้ี ๒. ใบความรู้ เรือ่ ง ลักษณะของการเขยี น - การตอบคาถามของเพื่อนเปน็ การพูดลกั ษณะใด แสดงความคดิ เหน็ เขียนแสดงความคิดเห็นจากเรอ่ื งทอี่ ่านหรือฟัง ดหี รือไม่ เพราะเหตุใด ๓. ใบงานเร่ือง การเขียนแสดงความคิดเหน็ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ - การตอบคาถามของเพ่ือนเปน็ การพดู แสดงความคิดเห็น “ทเ่ี รียกว่าก้าวหนา้ ” หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ๔. ใบงานเร่อื ง การเขียนแสดงความคดิ เห็น ๑. ใฝ่เรยี นรู้ - นอกจากการพูดแสดงความคดิ เห็นแล้ว เรายังใช้ทักษะ ภาระงาน/ชิน้ งาน ๒. มีมารยาทในการเขียน การส่ือสารใดบ้างที่แสดงความคดิ เห็น ข้ันสอน ๑. นักเรยี นศึกษาใบความรู้เรื่อง หลกั การเขยี นแสดง ความคดิ เหน็ จากใบความรู้ โดยครูอธิบายและชี้แนะเพม่ิ เติม ๒. นกั เรยี นอ่านบทความแสดงความคดิ เหน็ เร่ือง ที่เรยี กวา่ กา้ วหน้า ในหนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย วิวิธภาษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ หน้า ๑๐๒ – ๑๐๖ ๓. นักเรียนรว่ มกนั สรปุ ใจความสาคญั จากเร่ืองที่อา่ น วา่ เน้ือหาเป็นอย่างไร มตี ัวละครใดบ้าง ตัวละครแต่ละตัวแสดง ความคิดเหน็ อย่างไร 330115

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๔ พัฒนาพาที แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๒ 316 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เร่ือง การเขยี นแสดงความคดิ เหน็ เวลา ๑ ช่วั โมง ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ สอน (ต่อ) ๔. นกั เรยี นวเิ คราะห์การใชภ้ าษาแสดงความคดิ เหน็ ของ ตัวละครท้ัง ๓ ตัวในบทความทีอ่ ่านรว่ มกนั วา่ แสดงความคิดเห็น อยา่ งไร มเี หตผุ ลและเปน็ ไปในทางสรา้ งสรรค์หรอื ไม่ อยา่ งไร ๕. นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายหลกั การเขียนแสดงความคิดเหน็ ท่ดี ี รว่ มกนั โดยครูคอยชแ้ี นะและตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๖. นักเรียนเขียนแสดงความคดิ เหน็ เรื่อง ท่ีเรียกวา่ กา้ วหนา้ คอื อยา่ งไร ในทศั นะของนักเรียนเปน็ รายบคุ คลลงในใบงาน ท่กี าหนด พร้อมทง้ั แลกเปลีย่ นกันอา่ น และสมุ่ นักเรียนนาเสนอ หน้าชั้นเรยี น ข้ันสรุป ๑. นักเรียนรว่ มกันสรุปหลกั การเขียนแสดงความคดิ เห็น ว่าการเขียนแสดงความคิดเห็นท่ดี ีตอ้ งมเี หตผุ ลประกอบและ เปน็ ไปทางสรา้ งสรรค์ ไม่จาเป็นต้องเหมือนกัน เพราะเป็น เร่อื งเฉพาะบคุ คล ๒. นกั เรยี นทาใบงานเรอ่ื ง การเขยี นแสดงความคิดเหน็ ท่ี ครกู าหนด 330126

317 330137 การวัดและประเมินผล ส่งิ ทตี่ ้องการวัด/ประเมิน วิธีการ เครอื่ งมือที่ใช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ขอ้ คาถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ อธบิ าย ชี้แจง ซักถาม แสดงความคิดเหน็ และโต้แยง้ อยา่ งมเี หตุผล ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ เขียนแสดงความคิดเหน็ จาก ใบงาน ทาใบงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ เรื่องท่ีอ่าน แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ ดา้ นคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ สังเกต ๒. มีมารยาทในการเขยี น ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................... ....................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วันท่ี..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผูบ้ รหิ ารหรือผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอ่ื ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วนั ท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ.............

318 330148 ใบความรู้เร่อื ง การเขียนแสดงความคดิ เหน็ หน่วยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๒ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ การเขยี นแสดงความคิดเหน็ การเขียนแสดงความคิดเห็น คอื งานเขยี นทผี่ เู้ ขียนเสนอความคดิ เห็นตอ่ เรื่องใดเร่ืองหน่ึง เรื่องที่นามาเขยี นเป็นควรเป็นเรอื่ งทเ่ี ป็นที่สนใจของสังคม เป็นเรื่องทนั สมยั หรือเปน็ เรื่องใดกไ็ ดไ้ ม่มีข้อจากัด เช่น เรอ่ื งเกี่ยวกบั การศึกษา การทามาหากิน ความประพฤติของคนในสังคม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แตท่ ง้ั น้ีผเู้ ขยี นจะต้องมคี วามรู้และเข้าใจเร่อื งที่ตนจะแสดงความคิดเห็นเป็นอย่างดี เพื่อที่จะแสดงความคดิ เห็น ไดอ้ ยา่ งลกึ ซ้ึง ลักษณะการเขียนแสดงความคดิ เห็นทดี่ ี ผ้เู ขยี นควรเขียนแสดงความคิดเหน็ บนพ้นื ฐานของข้อมูล ทีเ่ ป็นข้อเทจ็ จริง มีเหตุผลประกอบและเป็นไปในทางสร้างสรรค์ งานเขยี นแสดงความคิดเห็นมกั พบในบทความ ตามส่อื สิ่งพิมพต์ า่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ หนังสือพมิ พ์ วารสาร นิตยสาร เป็นต้น การใช้ภาษาในการเขียนแสดงความคิดเหน็ ผูเ้ ขียนควรใช้ภาษาอยา่ งสละสลวย กระชบั ชดั เจน มีการใช้สานวนโวหารอย่างเหมาะสมกบั เร่ือง นอกจากนัน้ ยังต้องใชถ้ ้อยคาทสี่ ่อื ความหมายไดต้ รงตามอารมณแ์ ละ ความรู้สึกของผเู้ ขยี น ท้ังนีค้ วรหลีกเล่ียงการใช้ถ้อยคาทีแ่ สดงอารมณร์ นุ แรง ซ่งึ อาจก่อใหเ้ กดิ ความขดั แย้งภายหลงั

319 330159 ใบงานเรือ่ ง การเขียนแสดงความคดิ เห็นเร่อื ง ท่เี รยี กวา่ กา้ วหน้า หนว่ ยท่ี ๔ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๒ รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ คาช้ีแจง อ่านบทความเรอ่ื ง ทเี่ รียกวา่ กา้ วหน้า แล้วสังเกตการเขียนแสดงความคิดเห็นของตัวละครท้งั ๓ ตวั จากนนั้ เขยี นแสดงความคิดเห็นของผู้อ่านในข้อ ๔ ในหัวข้อทว่ี า่ “ที่เรยี กวา่ ก้าวหน้า คืออยา่ งไร” ทเี่ รยี กวา่ กา้ วหน้า คืออย่างไร ๑. ลักษมี “สาหรบั ฉนั ความกา้ วหน้าคอื ความมีชือ่ เสียง เกียรติยศปรากฏเป็นท่ีรู้จกั ของคนทว่ั ไป คนเราถ้าเกิดมา เป็นเพยี งคนเล็กๆ คนหนง่ึ ท่ไี ม่มใี คร กลา่ วขวญั ถึงอยา่ งยกยอ่ งแล้ว ก็นับวา่ เสยี ชาตเิ กดิ ” ๒. วณี า “ความกา้ วหน้าของฉนั อยู่ที่เงนิ ฉันไมเ่ ห็นแครว์ า่ จะมีช่ือเสยี งหรอื เปลา่ มีใครรจู้ ักหรือไม่ ขอให้ฉันได้ทางาน ในหนา้ ท่ดี ๆี และมหี วังจะได้เงนิ เพ่มิ ขึน้ เรือ่ ยๆ ก็พอแล้ว เพราะเงินคือหลักฐานที่ม่นั คงสาหรับประกนั ชวี ติ ในอนาคต ถ้าเงนิ ไม่เพียงพอเราจะมีชีวิตอยู่ได้อย่างไร” ๓. ผู้เขียน “ข้าพเจา้ คิดว่าความกา้ วหน้าอยทู่ ี่การแสวงหาความรู้เพิ่มเติมไม่มที ีส่ ิ้นสุด เพอื่ ใหต้ นเองเปน็ คนทันสมัย และทนั โลกอยู่เสมอ และเพ่ือถ่ายทอดความรูใ้ หผ้ ้อู ่นื อีกด้วย ชอ่ื เสียงและความสรรเสริญ เยนิ ยอ ข้าพเจา้ ไมป่ รารถนา แต่ต้องการทางาน เพื่ออุดมคติมากกว่าเพ่ือเงิน แมเ้ งินจะน้อย แต่ถา้ มโี อกาสก้าวหน้าทางความรู้ ขา้ พเจ้าก็พอใจแลว้ ” ๔. ผู้อา่ น “……………………………………..……………………………………..……………………………………..……………………………………..………………… ……………………………………..……………………………………..……………………………………..……………………………………..…………………………. ……………………………………..……………………………………..……………………………………..……………………………………..…………………………. ……………………………………..……………………………………..……………………………………..……………………………………..…………………………. ……………………………………..……………………………………..……………………………………..……………………………………..…………………………. ……………………………………..……………………………………..……………………………………..……………………………………..………………………….”

320 330260 เฉลยใบงานเร่อื ง การเขียนแสดงความคิดเหน็ เร่ือง ทเี่ รียกวา่ ก้าวหนา้ หน่วยที่ ๔ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ คาชี้แจง อา่ นบทความเร่อื ง ทเี่ รียกวา่ ก้าวหน้า แลว้ สังเกตการเขียนแสดงความคิดเหน็ ของตวั ละครทงั้ ๓ ตัว จากนัน้ เขียนแสดงความคิดเห็นของผู้อ่านในข้อ ๔ ในหวั ข้อท่วี ่า “ทีเ่ รียกวา่ ก้าวหนา้ คอื อย่างไร” ทีเ่ รยี กวา่ กา้ วหน้า คืออย่างไร ๑. ลักษมี “สาหรบั ฉนั ความกา้ วหนา้ คือความมีชือ่ เสยี ง เกยี รตยิ ศปรากฏเปน็ ทีร่ จู้ ักของคนท่ัวไป คนเราถา้ เกิดมา เป็นเพียงคนเล็กๆ คนหนง่ึ ทไี่ ม่มใี คร กล่าวขวญั ถึงอย่างยกย่องแล้ว กน็ บั วา่ เสยี ชาตเิ กดิ ” ๒. วณี า “ความกา้ วหนา้ ของฉันอยู่ทีเ่ งนิ ฉันไม่เหน็ แครว์ ่าจะมีช่ือเสยี งหรือเปลา่ มีใครรจู้ กั หรือไม่ ขอใหฉ้ ันได้ทางาน ในหนา้ ทด่ี ีๆ และมหี วังจะไดเ้ งนิ เพิ่มข้นึ เรื่อยๆ กพ็ อแล้ว เพราะเงินคือหลกั ฐานที่ม่ันคงสาหรบั ประกันชีวิต ในอนาคต ถ้าเงนิ ไมเ่ พยี งพอเราจะมชี วี ิตอยู่ไดอ้ ย่างไร” ๓. ผูเ้ ขยี น “ข้าพเจา้ คดิ วา่ ความกา้ วหน้าอยู่ท่ีการแสวงหาความรเู้ พ่ิมเตมิ ไมม่ ีทส่ี น้ิ สุด เพอื่ ให้ตนเองเป็นคนทนั สมยั และทนั โลกอยู่เสมอ และเพ่ือถ่ายทอดความรใู้ หผ้ อู้ ่ืนอีกด้วย ช่อื เสียงและความสรรเสรญิ เยินยอ ขา้ พเจ้าไม่ปรารถนา แตต่ ้องการทางาน เพื่ออดุ มคติมากกว่าเพ่ือเงิน แม้เงินจะน้อย แต่ถา้ มโี อกาสก้าวหนา้ ทางความรู้ ขา้ พเจ้าก็พอใจแล้ว” ๔. ผอู้ า่ น “ความก้าวหน้าของขา้ พเจ้า คอื การได้ทางานทีต่ นรัก มีโอกาสแสวงหาความรู้เพิ่มเติมเพอ่ื ให้เปน็ คนทันสมยั และทนั โลก ความก้าวหน้าของข้าพเจา้ จึงอยู่ท่คี วามสุขและความภมู ใิ จท่ีได้เปน็ ครูถ่ายทอดวชิ าความรู้แก่ลกู ศษิ ย์ จานวนมาก ได้ศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ความรู้ในระดับท่สี งู ขน้ึ และมีผลงานเปน็ ที่ยอมรับของบุคคลในวงการอาชพี ของตน” (อยู่ใในนดดลุ ลุ ยยพพินินจิ ิจขของอคงรคู)ร)ู

321 330271 แบบทดสอบเรอื่ ง การเขยี นแสดงความคดิ เหน็ หน่วยท่ี ๔ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๒ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ โทรศัพท์มอื ถือจดั เป็นปัจจยั ทหี่ า้ ในยุคปัจจุบนั ๑. จากคากล่าว นักเรียนเหน็ ด้วยหรอื ไมเ่ พราะเหตใุ ด (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ให้เขยี นเป็นข้อ ข้อละ ๑ คะแนน) ๑.๑ เหน็ ดว้ ย เพราะ ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ๑.๒ ไมเ่ หน็ ดว้ ย เพราะ ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ๒. ปญั หาและอปุ สรรคการใช้โทรศัพท์มอื ถือในปัจจบุ นั มอี ะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ๓. ใหน้ กั เรียนเสนอแนวคิดแกป้ ญั หาในข้อ ๒ อยา่ งน้อย ๒ วิธี ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………….

322 330282 เฉลยแบบทดสอบเรอ่ื ง การเขียนแสดงความคดิ เหน็ หนว่ ยท่ี ๔ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ คาชี้แจง นกั เรียนดูภาพ อ่านขอ้ ความแลว้ เขียนตอบ โทรศพั ท์มือถือจัดเป็นปจั จัยทีห่ า้ ในยคุ ปจั จุบัน ๑. จากคากล่าว นักเรียนเหน็ ด้วยหรอื ไม่เพราะเหตุใด (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ใหเ้ ขยี นเป็นข้อๆ ข้อละ ๑ คะแนน) ตอบ เหน็ ด้วย เพราะ ๑. นกั เรยี นสามารถสืบคน้ ขอ้ มูลเรือ่ งต่างๆจากอินเตอรเ์ นต็ ได้ทกุ เวลาที่ครูมอบหมายงาน ๒. ครูใช้ตดิ ต่อกบั นักเรียนเร่ืองการติดตามงาน มอบหมายงาน การสง่ งาน ๓. โทรศพั ทม์ ีแอพพลิเคชัน่ บางอยา่ งท่ีสืบค้นข้อมูลได้เฉพาะเช่น พจนานุกรม การแปลศพั ท์ ๔. ครใู ชเ้ กมเปน็ ส่อื การสอนทบทวนเนอื้ หาบทเรียน ไม่เหน็ ดว้ ย เพราะ ๑. เปน็ อุปกรณท์ ีท่ าให้เดก็ นกั เรียนไมส่ นใจการเรียนการสอน ๒. ปฏสิ ัมพนั ธ์ในครอบครัวลดลง ๓. ทาลายสุขภาพ ๔. สายตา กล้ามเนือ้ กระดูก เส่ือมโทรม ๕. ส้ินเปลอื งทั้งค่าเครื่องและคา่ โทรศัพท์ ๖. มีผลกระทบทาให้เด็กสมาธิสน้ั ก้าวร้าว ฯลฯ

323 330293 ๒. ปญั หาและอุปสรรคการใช้โทรศัพท์มือถอื ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง ๒.๑ ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในการปอ้ งกันอนั ตรายจากการใช้ ๒.๒ ใช้เทคโนโลยีไม่คุม้ ค่า ๒.๓ กฎหมายควบคมุ ไม่ถึง ๒.๔ บทลงโทษยงั ไม่แรงพอให้เข็ดหลาบ ๒.๕ ผใู้ ช้ขาดคุณธรรม ฯลฯ ๓. ใหน้ กั เรยี นเสนอแนวคิดแก้ปญั หาในข้อ ๒ อยา่ งน้อย ๒ วิธี ๓.๑ ผทู้ เ่ี ก่ียวข้องกบั เทคโนโลยี ระดมความคดิ ออกกฎหมายคุม้ ครอง ๓.๒ ผใู้ ชศ้ ึกษาหาความรู้อยา่ งดีก่อนใช้ ๓.๓ มหี น่วยงานดูแลการใช้เทคโนโลยโี ดยเฉพาะ ฯลฯ

324 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๔ พัฒนาพาที แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ เวลา ๑ ชว่ั โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เร่อื ง ปฏิบัติการพดู แสดงความคดิ เห็น ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ขอบเขตเน้อื หา สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ๑. สือ่ วดี ทิ ัศนเ์ กี่ยวกับการพดู แสดง แสดงความคิดเหน็ จากการฟังและการดู กจิ กรรมการเรยี นรู้ ความคดิ เหน็ ตามส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้นั นา ๒. ใบความรู้เร่ือง การพดู แสดงความคดิ เห็น ด้านความรู้ ๓. โครงร่างบทพูดแสดงความคิดเห็น ๑. นกั เรียนดวู ีดทิ ศั นเ์ ก่ยี วกับการพดู แสดงความคดิ เหน็ ตาม ภาระงาน/ช้นิ งาน หลักการพดู แสดงความคดิ เห็น สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ จากนน้ั ให้นักเรียนและครูรว่ มกนั สังเกตและ การพูดแสดงความคิดเหน็ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ แสดงความคดิ เหน็ ข้นั สอน พูดแสดงความคดิ เห็น ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ๑. นักเรียนศึกษาใบความรู้เรือ่ ง การพูดแสดงความคดิ เห็น ขอ้ ควรปฏิบัติในการพูดแสดงความคิดเหน็ โดยครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ๑. มีมารยาทในการพูด ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๒. นกั เรียนแบง่ กลุม่ กลุ่มละ ๕ คน รว่ มกนั กาหนดหัวข้อ ๓. มีวินัย การพูดแสดงความคิดเหน็ วางแผน และร่วมกนั กาหนดโครงร่าง บทพูดแสดงความคดิ เห็น ๓. นักเรียนนาเสนอการพดู แสดงความคดิ เห็นหนา้ ชนั้ เรยี น โดยครแู ละเพื่อน ๆ ในช้ันเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นและ ประเมนิ การพดู ขัน้ สรปุ ๑. นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรุปหลักการพดู แสดงความคดิ เหน็ ทดี่ ี มารยาทของผู้พูด และมารยาทของผฟู้ ังท่ีดี ๒. ครใู ชค้ าถามท้าทายกบั นักเรยี นทีว่ ่า หากเพอ่ื นพดู แสดง ความคดิ เห็นท่ีไม่มเี หตผุ ลประกอบและไมส่ ร้างสรรค์ เราจะชแี้ นะ เพ่อื นอยา่ งไร 331204

การวัดและประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมือทใ่ี ช้ 325 สิ่งทีต่ ้องการวดั /ประเมนิ สอบถาม ข้อคาถาม 331215 ปฏิบัติ แบบประเมินการพูด ด้านความรู้ สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมิน เกณฑ์ หลกั การพดู แสดงความคดิ เหน็ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ด้านทกั ษะและกระบวนการ ระดับคุณภาพ ๒ พดู แสดงความคิดเหน็ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ๑. มีมารยาทในการพดู ๒. ใฝ่เรยี นรู้ ๓. มวี นิ ยั ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .............................................. ลงชือ่ ......................................ผ้สู อน (.......................................................) วันที่..........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรอื ผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ท.่ี .........เดอื น..........พ.ศ.............

326 331226 ใบความรเู้ ร่ือง ปฏิบตั กิ ารพูดแสดงความคดิ เห็น หน่วยที่ ๔ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๓ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ การพดู แสดงความคดิ เหน็ การพดู แสดงความคิดเห็น คือ การพดู แสดงความรสู้ ึกและความคิดเหน็ ของตนต่อเรื่องใดเร่อื งหนง่ึ จากการอา่ น การฟัง และการดู โดยผู้พูดจะต้องแสดงความคดิ เห็นอย่างมเี หตผุ ลและเป็นไปในทางสร้างสรรค์ ข้อควรปฏบิ ตั ิในการพดู แสดงความคิดเห็น ๑) อา่ น ฟัง หรือดเู รอ่ื งทเี่ ราจะพดู แสดงความคิดเหน็ อย่างตง้ั ใจ ๒) ศกึ ษาเน้ือเรื่องท่ีจะพูดใหล้ ะเอียด ชัดเจน และหาข้อมลู เพ่มิ เติม ๓) ควรแสดงความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลประกอบเพ่ือสรา้ งความนา่ เชอื่ ถือ ๔) ไม่ควรอคติ มีความยตุ ิธรรม และไมน่ าอารมณ์ส่วนตวั มาเก่ยี วขอ้ งกบั การพูดแสดงความคดิ เห็น ๕) การพดู ควรใช้คาทีส่ ภุ าพ และมมี ารยาทในการพดู ๖) ควรกาหนดโครงร่างการพูดแสดงความคิดให้เป็นลาดับขน้ั ตอน พดู ตรงประเด็น และรจู้ ักเรียงลาดับ เร่อื งท่ีพดู เพ่ือไม่ให้เกดิ ความสบั สน

327 331237 โครงรา่ งบทพูดแสดงความคิดเหน็ หน่วยท่ี ๔ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ โครงร่างบทพดู แสดงความคดิ เหน็ หวั ขอ้ เรอ่ื ง .................................................................................. เนื้อหาหรือขอ้ มลู ท่ีนามาพูดแสดงความคดิ เหน็ ............................................................................................................................. ......................................... ........................................................................................................................................................................... ......... .......................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ...................................................................................... การแสดงความคดิ เหน็ จากเนอ้ื หาหรอื ขอ้ มลู ท่นี าเสนอ - การแสดงความคิดเห็นพร้อมเหตุผลประกอบข้อที่ ๑ ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... - การแสดงความคิดเห็นพร้อมเหตุผลประกอบข้อที่ ๒ ....................................................................................................................................... ............................... .................................................................................................... ................................................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... - การแสดงความคดิ เหน็ พร้อมเหตผุ ลประกอบข้อท่ี ๓ ............................................................................................................................. ......................................... .................................................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................. ................................................................... ข้อสรุป ............................................................................................................................. ......................................... .......................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................................

328 331248 เกณฑป์ ระเมนิ การพูดแสดงความคิดเหน็ รายการประเมิน ดีมาก คาอธบิ ายระดับคุณภาพ /ระดับคะแนน ๑. การตงั้ ช่ือเร่อื ง (๔) ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ๒. โครงสร้าง ตง้ั ชื่อเรื่องได้น่าสนใจ (๓) (๒) (๑) ๓. กลวิธีการพดู และสอดคลอ้ งกบั ต้งั ชื่อเรือ่ งไดค้ ่อนข้าง ตง้ั ชือ่ เร่ืองได้ ตงั้ ชื่อเร่ือง เนื้อหา/ข้อมลู ท่ี นา่ สนใจและ น่าสนใจและ ไม่นา่ สนใจ ๔. การใชภ้ าษา นาเสนอ สอดคลอ้ งกับเนื้อหา/ สอดคลอ้ งกบั ไม่สอดคล้องกับ ๕. การเขียนบท มโี ครงสรา้ ง ขอ้ มลู ที่นาเสนอ เน้อื หา/ข้อมลู เนือ้ หา/ข้อมูล โครงรา่ งการพดู แสดง ครบ ๓ ส่วน คือ ทมี่ า ท่ีนาเสนอพอสมควร ที่นาเสนอ ความคดิ เห็น ข้อสนบั สนุนและ มโี ครงสรา้ ง มโี ครงสร้าง ไมม่ โี ครงสรา้ งของ ข้อสรปุ หรือ ปดิ เร่ือง ความคดิ เหน็ ความคดิ เหน็ เพยี ง ความคดิ เห็นปรากฏ พูดเสนอ ๒ สว่ น คอื ทีม่ าและ ๑ ส่วน ความคิดเหน็ ขอ้ สนบั สนุน ที่เปน็ กลางและ พูดเสนอ พดู เสนอ พูดเสนอ แนวทางปฏบิ ัติ ความคดิ เห็นค่อนขา้ ง ความคดิ เห็น ความคิดเห็น ที่เปน็ ทางเลือก เปน็ กลางและ เป็นกลางพอสมควร ไม่เปน็ กลางและแนะ มากกว่า ๒ วธิ ี แนวทางปฏบิ ตั ทิ ี่เป็น และแนะแนว แนว มเี หตุผลประกอบ ทางเลอื ก ๒ วิธี ทางปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ ทางปฏิบตั ิที่เปน็ และเปน็ ไปในทาง มีเหตผุ ลประกอบ ทางเลอื ก ๑ วธิ ี ทางเลอื ก ๑ วธิ ี สร้างสรรค์ มีเหตุผลประกอบ ใชภ้ าษาสอื่ ความหมายชดั เจน ใชภ้ าษาส่ือ ใช้ภาษาสอ่ื ใช้ภาษาส่ือความ ลาดับความ ความหมายค่อนข้าง ความหมายชดั เจน ไม่ชดั เจน ไม่วกวน และมี ชัดเจน ลาดบั ความ พอสมควร และมี ลาดบั ความวกวน มารยาทในการพดู ไมว่ กวน และมี มารยาทในการพูด ไมเ่ ขยี นบทร่าง เขยี นบทร่างการพูด มารยาทในการพดู เขียนบทรา่ งการพูด การพูดแสดง แสดงความคดิ เห็น เขียนบทรา่ งการพูด แสดงความคดิ เหน็ ความคดิ เห็น ชัดเจน มีมารยาทใน แสดงความคดิ เหน็ ชัดเจนพอสมควร การเขียน คอ่ นข้างชัดเจน มมี ารยาทใน มีมารยาทใน การเขียน การเขียน

329 331259 เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน ดมี าก ๑๗ – ๒๐ ดี ๑๓ – ๑๖ พอใช้ ๑๐ – ๑๒ ตา่ กวา่ ๑๐ ควรปรับปรงุ

330 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๔ พัฒนาพาที แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๔ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เรอ่ื ง การพูดอภิปราย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเน้อื หา สือ่ /แหล่งเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ๑. วีดทิ ัศนเ์ รื่อง การพูดอภปิ รายจาก การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ : การพดู อภปิ ราย กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ จุดประสงค์การเรียนรู้ ขั้นนา ๒. ใบความร้เู รอ่ื ง หลกั การพูดอภปิ ราย ดา้ นความรู้ ๓. ใบงานเรอ่ื ง การวางแผนอภิปราย ๑. นกั เรียนศึกษาวีดิทัศน์ท่ีครเู ปิดเก่ียวกบั การพดู อภิปรายจาก ภาระงาน/ช้ินงาน มีความร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับหลักการพูดอภปิ ราย สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ ๑. การพูดนาเสนอหนา้ ชน้ั เรียนเรือ่ ง บทรา่ ง ด้านทกั ษะ/กระบวนการ การพดู อภปิ ราย ๒. นกั เรียนสงั เกตและแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ จากวดี ทิ ัศน์ วางแผนการพดู อภปิ ราย ข้นั สอน ดา้ นคุณลกั ษณะ ๑. นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้เร่ือง หลกั การพูดอภิปราย ๑. มมี ารยาทในการพูด โดยครูคอยชแ้ี นะ อธบิ ายเพิ่มเติมเกยี่ วกบั ความหมาย จุดมุ่งหมาย ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ประเภท บทบาทผดู้ าเนนิ การอภิปราย บทบาทผรู้ ่วมอภิปราย และมารยาทของผู้ฟงั ๒. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุม่ ละ ๕ คน พร้อมทง้ั ร่วมกาหนดหัวข้อ อภปิ ราย วางแผนการสาธติ การอภปิ ราย เขียนผงั ทีน่ ่งั ของผรู้ ่วม อภปิ ราย ๓. ผูด้ าเนนิ การอภปิ รายและผู้รว่ มอภปิ รายแต่ละกลุม่ เขยี นรา่ งบทพูดเตรียมพร้อม วางแผนการอภปิ รายในใบงาน ท่ีครูกาหนด ๔. ให้แตล่ ะกลุ่มพดู นาเสนอเกีย่ วกบั บทร่างการพดู อภปิ ราย โดยครคู อยชแี้ นะ พร้อมทงั้ สอดแทรกและปลูกฝังมารยาทใน การพูดและการฟงั ของนกั เรยี น 331360

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๔ พัฒนาพาที แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๔ 331 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เรอ่ื ง การพดู อภปิ ราย เวลา ๑ ช่ัวโมง ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ขน้ั สรปุ ๑. นักเรียนและครูสรปุ หลักการพูดอภปิ ราย และหลกั การเขยี นรา่ งบทพดู อภิปรายร่วมกัน ๒. นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปประโยชน์ท่ไี ด้รับจาก การเขียนรา่ งบทพดู อภิปรายว่ามีประโยชน์ต่อการพดู อยา่ งไร 331 317

332 331382 การวัดและประเมินผล ส่งิ ท่ตี ้องการวดั /ประเมนิ วธิ กี าร เครอ่ื งมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ซักถาม ข้อคาถาม ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ มีความร้คู วามเขา้ ใจ ทาใบงาน ใบงาน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ เก่ยี วกบั หลักการพดู อภิปราย พูดนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ ด้านทกั ษะและกระบวนการ การพูดหนา้ ชนั้ เรียน วางแผนการพูดอภปิ ราย ดา้ นคุณลกั ษณะ สังเกต แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ ๒ ๑. มีมารยาทในการพดู ผ่านเกณฑ์ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .......................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอื่ ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วันที่..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผูบ้ รหิ ารหรือผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วันที่..........เดอื น..........พ.ศ.............

333 331393 ใบความรู้เรอื่ ง การพดู ในโอกาสต่าง ๆ : การพดู อภปิ ราย หน่วยท่ี ๔ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๔ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ความหมายของการอภปิ ราย การอภปิ ราย คือ การที่บุคคลคณะหน่ึงซงึ่ มีความรแู้ ละความสนใจในดา้ นตา่ ง ๆ มาร่วมกันพดู เสนอความรู้ ความคิดเหน็ ท่ีมสี ารประโยชน์บนเวที และเปดิ โอกาสให้ผู้ฟังรว่ มแสดงความคิดเหน็ หรือซักถามในตอนท้าย ทาให้ เกิดการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ซึ่งกันและกันจนกระทั่งหาข้อยตุ ิ เพื่อตัดสนิ ใจแก้ปัญหาหรือสรุปผลในเรือ่ งนั้นได้ จุดมงุ่ หมายของการอภิปราย การอภิปรายโดยทัว่ ไป มีจุดมุ่งหมายดงั ต่อไปน้ี ๑) เพื่อใหค้ นกลุ่มหน่ึงได้มีโอกาสรว่ มแสดงความคิดเหน็ แลกเปล่ยี นทศั นะกันอย่างมีเหตุผล ๒) เพือ่ คน้ หาข้อเท็จจริงเก่ยี วกบั ปัญหาท่นี ามาอภปิ ราย ๓) เพื่อแลกเปลย่ี นความรู้ ความคดิ และเหตุผลในเร่ืองทีอ่ ภิปราย ๔) เพื่อหาขอ้ ยุติ ข้อวนิ จิ ฉัยในเร่ืองนัน้ ๆ ๕) เพื่อเผยแพร่ความรู้ ขอ้ เสนอแนะทเี่ กดิ จากการอภิปรายสู่สาธารณชน ประเภทของการอภปิ ราย การอภปิ รายมรี ปู แบบดงั น้ี ๑) การอภิปรายเปน็ คณะ ประกอบดว้ ยผู้คณะอภิปราย ๒ – ๕ คน เปน็ ผ้เู ช่ยี วชาญเรอ่ื งที่อภปิ ราย นงั่ บนเวที มีผดู้ าเนินการอภิปรายกล่าวทาใหผ้ ู้ร่วมอภิปรายแสดงความรู้และความคิด ผฟู้ ังมโี อกาสแสดง ความคดิ เห็นและซกั ถามในตอนท้าย ๒) การอภิปรายแบบปาฐกถาหมู่ ประกอบด้วยคณะผูบ้ รรยาย ๒ – ๕ คน มีผดู้ าเนินการอภิปราย ผรู้ ่วม อภปิ รายแต่ละคนพูดเฉพาะส่วนทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย บรรยากาศเป็นวิชาจริงจังมากกว่าการอภิปรายเป็นคณะผูฟ้ ัง มีโอกาสซักถามและแสดงความคดิ เห็นอย่างกว้างขวาง อาจแยกทบ่ี รรยายเป็นพิเศษ เมื่อผูด้ าเนนิ การอภปิ รายเชญิ กล็ กุ ออกมายืนพูด เมอ่ื พูดเสร็จกลับไปนง่ั ท่ีเดมิ ๓) การอภปิ รายซักถาม เปน็ รูปแบบทีป่ รับปรงุ มาจากการอภปิ รายเปน็ คณะ ผู้อภปิ รายมี ๒ กลุ่ม กลมุ่ หนง่ึ เป็นวิทยากร ๒ – ๔ คน อีกกลุ่มหนง่ึ เปน็ ตวั แทนผู้ฟงั ๒ – ๔ คน น่ังหันหนา้ หากัน มผี ู้ดาเนินการ อภิปรายอยตู่ รงกลาง เม่ือเป็นการอภิปรายแล้ว เปิดโอกาสให้ตวั แทนผฟู้ งั และผู้ฟังซักถาม วิทยากรเปน็ ฝ่ายตอบ ๔) การเปดิ อภิปรายท่ัวไป เป็นการอภิปรายท่ผี ู้ฟงั มสี ่วนร่วมอภิปราย อาจเป็นการตง้ั กระทู้ถามในเร่ืองท่ี สงสัย กล่าวสนบั สนนุ กล่าวขดั แยง้ กล่าวประนปี ระนอม หรือตั้งข้อสังเกตแสดงความคดิ เห็นได้ตงั้ แต่เริ่มต้น จนถงึ การอภิปรายเสรจ็ ส้นิ

334 332304 บทบาทผดู้ าเนนิ การอภิปราย ผู้นาการอภิปราย มบี ทบาทดังนี้ ๑) ประสานงาน นัดหมายผู้อภิปราย วางแผนล่วงหน้า แจง้ กาหนดการ จุดประสงค์ โครงเรอื่ ง เนอื้ หา วิธีอภปิ ราย สถานท่ี เวลา และอ่ืน ๆ ๒) กลา่ วนาการอภิปราย บอกสาเหตุทน่ี าเรื่องนี้มาอภิปราย ความหมายขอบเขตของเร่ืองใช้เวลาเทา่ ใด รอบแรกผู้อภิปรายพดู คนละกี่นาที รอบสองกน่ี าที ผู้ฟังมเี วลาซักถามกนี่ าที ฯลฯ ๓) กล่าวแนะนาผรู้ ว่ มอภปิ รายตามลาดับ ช่ือ ตาแหน่ง ความสามารถ แนะนาตนเองเป็นคนสุดทา้ ย บอกเฉพาะช่อื และนามสกลุ ๔) กล่าวนาประเด็นท่ีจะอภปิ รายเพือ่ ใหผ้ ฟู้ ังและผรู้ ว่ มอภปิ รายเขา้ ใจตรงกัน ๕) เชญิ ผูร้ ่วมอภปิ รายแสดงความคดิ เห็น ผดู้ าเนินการอภปิ รายบันทึกประเดน็ สาคญั ไว้สรุปและเช่อื มโยง ให้ผรู้ ว่ มอภิปรายคนถดั ไปสามารถพูดต่อไดจ้ นครบทกุ คน ๖) ช่วยสรา้ งบรรยากาศที่เป็นมติ ร แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ตลอดการอภิปราย ๗) สรุปทา้ ยอภปิ ราย เชญิ ผฟู้ ังซักถามกลา่ วสรปุ ขอบคุณและปิดอภปิ ราย บทบาทผ้รู ่วมอภปิ ราย ๑) ศกึ ษาเร่ืองและจดุ มุ่งหมายในการอภิปราย ๒) ปรกึ ษาและวางแผนการอภิปรายร่วมกันระหว่างผรู้ ว่ มอภปิ ราย ๓) เตรียมค้นคว้าขอ้ มูล เขียนโครงรา่ งการพดู ลว่ งหนา้ ๔) เตรยี มส่อื โสตทัศนูปกรณ์ลว่ งหน้า ๕) ใช้เวลาพดู ใหเ้ หมาะสม ตรงประเดน็ ภาษาสภุ าพ บรรยากาศเปน็ มิตร แทรกอารมณ์ขัน ๖) ขณะทผี่ อู้ ภิปรายอื่นพดู ต้ังใจฟงั ตลอด เพื่อเชอ่ื มโยงเน้ือหา ๗) หากจะแสดงความคิดขดั แยง้ ผอู้ ื่น ควรมีวาทศลิ ป์ที่สภุ าพและมเี หตุผล ๘) ตอบคาถามอยา่ งกระตือรือรน้ ได้สาระ บทบาทผู้ฟัง ๑) มีมารยาทในการฟงั ฟงั อย่างต้งั ใจตลอดการอภปิ ราย ๒) ใหเ้ กียรติผู้อภิปราย ต้องปรบมือเมื่อผูด้ าเนนิ การอภิปรายแนะนาผู้ร่วมอภิปราย ผอู้ ภิปรายแตล่ ะคน พดู จบ และเมอื่ การอภิปรายจบส้ิน ๓) จดบันทึกสาระความรขู้ ณะฟัง แสดงถึงความใฝร่ ้ขู องผู้ฟงั ๔) ขณะฟังคดิ ตามไปด้วย ไม่แสดงอาการเบือ่ หน่าย ไมน่ ่ังหลบั ไม่คุย ๕) ให้ความร่วมมือโดยการซักถามหรือแสดงความคดิ เหน็ อย่างเหมาะสม (พดู ดีมีอนาคต : พิศวาท น้อยมณ)ี

335 332315 ใบงานเรอ่ื ง การวางแผนการพูดอภปิ ราย หน่วยท่ี ๔ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนวางแผนดาเนนิ กิจกรรมการพดู อภิปราย กลมุ่ ท่ี ................................... ๑) หวั ข้ออภิปราย ............................................................................................................................. ......................... ๒) ให้เวลาอภปิ รายรวม ........................... ชว่ั โมง ๓) สถานท่ี .................................................................................................................................................................. ๔) ผู้ฟงั คอื ................................................................................................................................................................ ๕) ผดู้ าเนินการอภปิ ราย คือ ...................................................................................................................................... ๖) ผูร้ ่วมอภิปราย คือ ................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ๗) หัวข้อยอ่ ยทีผ่ รู้ ว่ มอภิปรายได้รบั มอบหมาย คือ ๑. ........................................................................................................................ ...................................... ๒. .............................................................................................................................................................. ๓. ........................................................................................................................ ...................................... ๘) เปิดโอกาสใหผ้ ู้ฟงั รว่ มแสดงความคดิ เห็นและซักถาม ประมาณ ........................ นาที ๙) แผนผังที่นงั่ อภปิ รายบนเวที ๑๐) ผ้ฟู ังจะได้รับประโยชนอ์ ะไรบ้าง ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................

336 323326 เฉลยใบงานเรอ่ื ง การวางแผนการพูดอภิปราย หน่วยที่ ๔ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๔ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ คาชแี้ จง ให้นกั เรียนวางแผนดาเนนิ กิจกรรมการพูดอภิปราย กลมุ่ ที่ ................................... ๑) หวั ข้ออภิปราย ...................................................................................................................................................... ๒) ให้เวลาอภิปรายรวม ........................... ชว่ั โมง ๓) สถานท่ี .................................................................................................................................................................. ๔) ผู้ฟงั คือ ................................................................................................................................................................ ๕) ผดู้ าเนนิ การอภิปราย คือ ...................................................................................................................................... ๖) ผู้ร่วมอภิปราย คือ ................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ............................................................................ ๗) หวั ขอ้ ย่อยทผี่ ูร้ ว่ มอภิปรายได้รบั มอบหมาย คือ ๑. ........................................................................................................................ ...................................... ๒. ........................................................................................................................ ...................................... ๓. ............................................................................................................................. ................................. ๘) เปดิ โอกาสให้ผู้ฟังรว่ มแสดงความคิดเห็นและซักถาม ประมาณ ........................ นาที ๙) แผนผงั ทน่ี ัง่ อภิปรายบนเวที ๑๐) ผู้ฟังจะไดร้ บั ประโยชนอ์ ะไรบ้าง ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... (อ(ยอู่ใยนดู่ ดลุ ลุยยพพนิ ินจจิขขอองคงรคู)ร)ู

337 332337 แบบประเมินการพูดนาเสนอผลงาน คาชแี้ จง ใหค้ รปู ระเมินการพดู นาเสนอผลงานของนกั เรยี นตามรายการที่กาหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่องท่ตี รงกับ ระดบั คะแนน ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน ๑ เนื้อหาที่นาเสนอชดั เจนและละเอียด ๔ ๓ ๒๑ ๒ เนอื้ หาท่นี าเสนอถูกตอ้ ง ๓ ใช้ภาษาทีเ่ ขา้ ใจงา่ ย ๔ ประโยชน์ท่ีไดจ้ ากการนาเสนอ ๕ วิธกี ารนาเสนอผลงาน รวม ลงชื่อ ..................................................................... ผ้ปู ระเมนิ ........................ / ....................... / .......................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ ๔ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องบางสว่ น ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ ๑ คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องมาก เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ดีมาก ๑๘ – ๒๐ ดี ๑๔ – ๑๗ พอใช้ ๑๐ – ๑๓ ปรับปรงุ ต่ากว่า ๑๐

338 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๔ พฒั นาพาที แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๕ เวลา ๑ ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เรอ่ื ง ปฏบิ ตั ิการพูดอภปิ ราย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเนอื้ หา รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ : การพดู อภปิ ราย กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ขัน้ นา ๑. วดี ิทศั นเ์ ร่ือง การพดู อภปิ ราย จากสอื่ ด้านความรู้ ๑. นักเรยี นดูวดี ทิ ัศนเ์ กย่ี วกับการพดู อภปิ รายตามส่ือ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จากนน้ั ให้นักเรียนและครรู ว่ มกันสังเกตและแสดง ภาระงาน/ชนิ้ งาน หลักการพูดอภิปราย ความคดิ เห็น การพูดอภิปราย ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ขั้นสอน ๑. นักเรยี นรว่ มกันอธบิ ายเรอ่ื ง การพูดอภปิ ราย ข้อควรปฏิบัติ พดู อภปิ ราย ในการพูดอภปิ ราย โดยครูคอยชแี้ นะและอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ๒. นกั เรียนแบง่ กลุม่ กลุม่ ละ ๕ คน รว่ มกนั วางแผนการสาธิต อภปิ ราย ตามโครงร่างบทพดู เตรียมพร้อมจากชั่วโมงที่แล้ว ๑. มมี ารยาทในการพูด ๓. นักเรียนนาเสนอการพูดอภปิ รายหนา้ ชน้ั เรยี น โดยครูและ ๒. มีมารยาทในการฟัง เพ่ือน ๆ ในชั้นเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นและประเมนิ การพูด ๓. ใฝเ่ รยี นรู้ ขน้ั สรุป ๑. นกั เรยี นและครูร่วมกันสรปุ หลักการพดู อภิปราย ประโยชน์ ของการพดู อภิปราย มารยาทของผู้พดู และมารยาทของผฟู้ ังทด่ี ี ๒. นักเรยี นร่วมกันตอบคาถามท้าทายทว่ี า่ หากเพ่ือนพูด อภปิ รายเราจะชี้แนะเพ่ือนอย่างไร 332348

339 332359 การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ ส่งิ ที่ต้องการวัด/ประเมนิ สอบถาม ข้อคาถาม ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ปฏบิ ัติ แบบประเมินการพูดอภิปราย ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ดา้ นความรู้ สังเกต แบบประเมิน ระดับคุณภาพ ๒ หลักการพูดอภปิ ราย พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ ด้านทักษะและกระบวนการ พดู อภิปราย ด้านคณุ ลกั ษณะ ๑. มีมารยาทในการพดู ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. มีวนิ ยั ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วนั ที่..........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ......................................ผ้ตู รวจ (.........................................................) วันท.่ี .........เดอื น..........พ.ศ.............

340 332460 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการพดู อภิปรายของนักเรียน ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑ ๑. การลาดับความคิด ๓๒ ไม่มีระบบการลาดบั มกี ารลาดับความคดิ ในการ มกี ารลาดบั ความคดิ ใน ความคิดในการพูด ๒.การออกเสยี ง /การใช้ กพาดู รอพภดู ิปอรภาปิ ยรทาี่เยปท็น่ีเประน็ บระบบบ การพดู อภิปรายทเ่ี ป็น อภิปราย การพดู ไมเ่ ปน็ ไป นา้ เสียง เปน็ ไปตามขน้ั ตอนราบรน่ื ระบบไม่มาก ไม่คอ่ ย ตามข้ันตอน สบั สนมาก ๓. ความถูกต้อง ตลอดเรอื่ ง เป็นไปตามขนั้ ตอน สับสน (มากกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ เหมาะสมของเนื้อหา เล็กน้อย (น้อยกว่า ของเน้ือหา) ๔. บุคลกิ ลักษณะ/ รอ้ ยละ ๕๐ ของเน้ือหา) ออกเสียงถูกตอ้ งชัดเจน มารยาทการพูด ออกเสยี งถูกตอ้ งชัดเจน ออกเสยี งถูกต้องชดั เจน และมนี า้ เสียงหนักเบา ๕. การรักษาเวลา ตามอักขรวธิ ี มีน้าเสยี ง และมีนา้ เสยี งหนักเบา เหมาะสมกบั เนือ้ หาทพี่ ูด หนักเบาเหมาะสมกับ เหมาะสมกบั เนอื้ หาที่พูด เปน็ ส่วนนอ้ ย (น้อยกวา่ เนื้อหาที่พูด ตลอดการพูด เปน็ ส่วนใหญ่ (มากกว่า รอ้ ยละ ๕๐ ของเน้อื หา) รอ้ ยละ ๕๐ ของเนื้อหา) เนอ้ื หาที่พดู มีความถูกตอ้ ง เนอื้ หาท่ีพดู มีความถูกต้อง เน้ือหาที่พดู มีความถูกตอ้ ง เหมาะสมนา่ เช่ือถือ และ เหมาะสมนา่ เชื่อถือ และ เหมาะสมน่าเชื่อถือ และ เป็นไปได้ น้อยกว่า เป็นไปได้ ตลอดเร่ือง เปน็ ไปได้ มากกว่า รอ้ ยละ ๕๐ ร้อยละ ๕๐ มีบุคลกิ ภาพท่สี ุภาพ เหมาะสมกับเนอื้ หาทพี่ ูด มบี ุคลิกภาพท่ีสุภาพ มบี ุคลกิ ภาพทสี่ ภุ าพ มีมารยาทในการพดู น้อย เหมาะสมกับเนอื้ หาทีพ่ ูด เหมาะสมกบั เนอื้ หาท่พี ูด กวา่ ร้อยละ ๕๐ ของเวลา มมี ารยาทในการพดู มีมารยาทในการพดู การพดู ตลอดเวลาการพูด มากกว่าร้อยละ ๕๐ ของ ใช้เวลาการพดู มากกว่า ใชเ้ วลาการพดู ตามท่ี เวลาการพูด และหรือน้อยกวา่ กาหนด ใชเ้ วลาการพูดมากกวา่ เวลาท่กี าหนด และหรือน้อยกว่าเวลาที่ (บวกลบ ๑๐ นาที) กาหนด (บวกลบ ๕ นาท)ี เกณฑก์ ารประเมนิ ดี ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง พอใช้ ๙ – ๑๒ คะแนน = ดี ๒ หมายถงึ ปรับปรุง ๕ – ๘ คะแนน = พอใช้ ๑ หมายถงึ ๑ – ๔ คะแนน = ปรบั ปรุง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook