Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Published by elibraryraja33, 2021-08-25 03:55:52

Description: 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Search

Read the Text Version

191 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๓ พนิ จิ คณุ ค่าวรรณคดี แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่อื ง การอ่านจบั ใจความสาคญั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ขอบเขตเนอ้ื หา รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ การอ่านจับใจความสาคัญ กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ ขนั้ นา จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๒. ใบงาน ดา้ นความรู้ ๑. นกั เรียนอา่ นขอ้ ความท่ีครูนาเสนอ “การซ่ึงใช้เงิน พระคลังขา้ งที่ ไม่ใช้เงนิ แผน่ ดินอยา่ งเชน่ เคยจ่ายใหเ้ จ้านาย ๓. แบบทดสอบ ระบใุ จความสาคัญและรายละเอียดของข้อมูล และบตุ รข้าราชการไปเล่าเรียนแต่กอ่ นนั้น เพราะเหน็ วา่ พ่อ ภาระงาน/ชิ้นงาน ทีส่ นบั สนุนจากเรื่องทอ่ี ่าน ๑. สรปุ ความจากหนังสือนอกเวลา เสน้ เลือดสึขาว ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ มลี ูกมากดว้ ยกัน การซ่งึ ให้มโี อกาสและใหท้ ุนทรพั ย์ซ่ึงจะได้ เล่าเรียนวชิ าน้ี เป็นทรัพยม์ รดกอันประเสริฐดกี วา่ ทรัพยส์ ิน อ่านจบั ใจความ และมีสมาธิในการอา่ นจบั ใจความ เงนิ ทองอน่ื ๆ ดว้ ยเป็นของตดิ ตวั อยไู่ ด้ไม่มีอนั ตราย ทจี่ ะ สาคัญ ด้านคณุ ลักษณะ เส่อื มสญู ลกู คนใดทีม่ ีสติปัญญาเฉลยี วฉลาดก็ดี หรือไม่มี ๑. มนี ิสัยรักการอา่ น สตปิ ัญญาเฉลียวฉลาดก็ดี ก็จะตอ้ งสง่ ไปเรียนวชิ าทกุ คน ๒. มีมารยาทในการอา่ น ตลอดโอกาสทีจ่ ะเปน็ ไปได้ เหมือนหนี่งไดแ้ บง่ ทรพั ย์มรดก ๓. มวี นิ ยั ให้แกล่ ูกเสมอ ๆ กันทกุ คน” พระบรมราโชวาท รชั กาลท่ี ๕ แลว้ ร่วมกนั ตอบคาถาม ว่า ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เม่ือไร ๔.มุ่งม่นั ในการทางาน อย่างไร ๕. มีจิตสาธารณะ ๒. ครเู ฉลย วา่ รชั กาลท่ี ๕ ทรงใช้เงินสว่ นพระองค์ส่ง ๖. ซ่ือสัตย์สจุ รติ พระโอรสไปเรียนต่างประเทศด้วยเห็นความสาคญั ของ ความรู้มากกวา่ ทรัพย์สนิ ใดๆ และบอกนักเรยี นวา่ วิธีตง้ั คาถามเหลา่ นจี้ ะชว่ ยในการอ่านจับใจความสาคัญละสรปุ ความได้ดีวธิ ีหน่งึ 117971

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ พนิ จิ คณุ คา่ วรรณคดี แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ 192 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรอื่ ง การอา่ นจับใจความสาคัญ เวลา ๑ ช่ัวโมง รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ขั้นสอน ๑. นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ หลกั การอา่ นจับใจความ สาคญั ๒. นกั เรียนทาใบงานการอ่านจับใจความสาคญั โดยใช้ การตง้ั คาถาม เพื่อหาใจความสาคญั และ พลความ ๓. ครสู ่มุ นกั เรยี นให้ออกมานาเสนอใบงาน ๔. ครเู ฉลยความถกู ต้องของใบงาน ขั้นสรปุ ๑. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปถงึ ประโยชน์ของการจับ ใจความสาคญั ในการนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั เช่น การ กเขาียรเนขยยี ่อนคยว่อาคมวามกากราจรดจบดนั บทันึกทคึกวคาวมารมู้ รฯู้ ลฯฯลฯ ๒. นกั เรียนทาแบบทดสอบ ๓. นักเรยี นอา่ นหนังสือนอกเวลา เรื่อง เส้นเลือดสีขาว แล้วสรุปเรื่องราวโดยใช้หลักการจับใจความ สาคญั ท่ไี ด้เรยี นไปแลว้ พรอ้ มบอกขอ้ คดิ ที่ได้ 117982

193 117993 การวดั ผลประเมนิ ผล รายการประเมนิ วิธวี ดั เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การตัดสิน ด้านความรู้ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ๑. มคี วามรู้ความเขา้ ใจวธิ ีการจับ ๑. ตรวจใบงาน ๑. ใบงาน -ร้อรยอ้ ลยะละ๘๐๘๐ ใจความสาคัญ ๒. ตรวจแบบทดสอบ ๒. แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ -ร้อรย้อลยะละ๘๐๘๐ ดา้ นทกั ษะ / กระบวนการ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๑. จับใจความสาคัญได้ ตรวจผลงานของ แบบประเมนิ ผลงานนักเรียน -ร้อรยอ้ ลยะละ๘๐๘๐ ๒. ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่านได้ นักเรียน ด้านลักษณะ ๑. มีนิสยั รกั การอ่าน มีความ สังเกตพฤติกรรมการ ๑. แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ ขยันหม่ันเพียร ใฝ่เรยี นใฝ่รู้ มีมารยาท เรียนรูข้ องนักเรียน ๒. แบบสังเกตพฤติกรรมการ ผา่ นเกณฑ์ ท่ีดีในการอ่าน รายบคุ คล เรยี นรู้ของนักเรยี นรายบุคคล ๒. มวี นิ ยั มีความรบั ผิดชอบ สามารถ ทางานรว่ มกับผู้อ่ืนได้ ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................................................... ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................................................................... ............. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................ ................................................................................................ ลงชอ่ื ครูผสู้ อน (.............................................................) วันที่............เดอื น............................พ.ศ.................. ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรอื ผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ผตู้ รวจ (.................................................................) ตาแหน่ง............................................................................ วันที่............เดือน............................พ.ศ.................

194 118904 ใบความรู้ เรอ่ื ง หลักการอ่านจับใจความสาคัญ หน่วยท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จดุ ประสงค์ ระบใุ จความสาคัญและรายละเอยี ดของข้อมูลทีส่ นบั สนนุ จากเรื่องที่อา่ น หลกั การอ่านจบั ใจความสาคัญ ความสาคัญ การอ่านเพอื่ จับใจความสาคญั เปน็ การอา่ นเพื่อความรู้ เป็นสง่ิ จาเป็นเพราะผอู้ ่านสามารถจบั ใจ ความสาคญั ของเร่อื งได้ จะทาใหเ้ ข้าใจเร่อื งไดอ้ ย่างรวดเร็ว ทั้งนีผ้ อู้ า่ นต้องเข้าใจความหมายของถ้อยคา และสานวนที่ปรากฏในเร่อื งและจดั ลาดบั เรื่องราวอยา่ งตอ่ เนือ่ ง จึงจะสามารถจับใจความสาคญั ได้อย่างครบถว้ น การอา่ นจับใจความ หมายถึง การอา่ นเพ่ือเก็บสาระสาคญั ของเรือ่ งท่ีอ่าน เชน่ เก็บจดุ มุ่งหมายสาคญั ของเรอื่ ง เกบ็ เนอ้ื เรือ่ งท่สี าคญั เกบ็ ความรูห้ รอื ขอ้ มูลท่ีน่าสนใจ ตลอดจนแนวความคดิ หรือทศั นะของผูเ้ ขยี น ใจความสาคัญ หมายถึง ใจความที่สาคัญและเด่นท่ีสุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้าท่ี สามารถ ครอบคลมุ เนื้อความในประโยคอนื่ ๆ ในยอ่ หนา้ นั้น ถา้ เอาใจความสาคัญออก ผู้รับสารจะรับสารไม่ตรงจุดมุ่งหมาย หรือทาให้ความหมายของเร่ืองบิดเบือนไป ในแต่ละย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญ เพียงประโยคเดียว หรือ อยา่ งมากไม่เกนิ ๒ ประโยค พลความ (พน-ละ-ความ) หรือใจความย่อย หมายถึง ใจความที่มีความสาคัญน้อย มีหน้าที่ขยายความ ประโยคใจความสาคญั เปน็ ใจความสนบั สนุนหรือให้ตัวอย่างให้ผู้รับสารเข้าใจเด่นชัดขึ้น แม้ไม่มีใจความย่อย ผู้รับ สารก็สามารถรบั สารไดต้ รงตามจดุ มุง่ หมายได้ หลักการอ่านเพ่ือจบั ใจความ ๑. ตั้งใจอ่าน มีสมาธิในการอ่าน ไม่ควรคิดถงึ เรื่องอ่นื ๆ ในขณะทีก่ าลังอา่ นหนงั สอื ๒. อ่านเรอ่ื งใหเ้ ขา้ ใจโดยตลอด แลว้ สรุปใจความไว้ ๓. ควรตง้ั คาถาม ถามตวั เองว่า เรื่องทอ่ี ่านนน้ั เป็นเรื่องอะไร กล่าวถึงใคร ทาอะไร ทไี่ หน เมอ่ื ไร อย่างไร ๔. ฝกึ สงั เกตใจความสาคัญของแตล่ ะตอน พรอ้ มท้ังสังเกตสว่ นขยายด้วย ๕. ควรมกี ารบนั ทึกขอ้ ความสาคญั ของเรือ่ ง เชน่ ช่อื บคุ คล สถานที่ เวลา ฯลฯ

195 118915 ใบงานที่ ๑ เรอื่ ง การอา่ นจบั ใจความสาคญั หนว่ ยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์ ระบใุ จความสาคัญและรายละเอยี ดของข้อมูลท่ีสนบั สนนุ จากเร่อื งท่ีอ่าน คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปนใ้ี ห้ถูกต้องสมบรู ณ์ทีส่ ดุ นกั เรียนอา่ นข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม มะนาวนอกจากจะใชป้ รุงอาหารให้รสชาตเิ ปรยี้ วจีด๊ จา๊ ดแซ่บถึงใจแลว้ เปลือกมะนาวยังนามาใช้ดับกลิ่น ได้ กลิ่นคาวท้ังหลาย ไม่ว่าจะเป็นกุ้ง หอย ปู ปลา หรืออาหารทะเล กล่ินเวลาปอกหัวหอม หัวกระเทียมก็ได้ เช่นกัน ด้วยเหตุนี้ ตามร้านอาหาร โดยเฉพาะร้านอาหารทะเล เม่ือรับประทานเสร็จจะมีโถใส่น้ามีเปลือก มะนาวลอยมาให้สาหรบั ใช้ล้างมอื เพราะนอกจากจะมาชว่ ยดับกลิ่นแล้ว ยังช่วยให้รสู้ กึ สดชืน่ อกี ด้วย (วิชาการ. ๒๕๕๒ : เว็ปไซต์) ใคร ทาอะไร ทไี่ หน เม่ือไหร่ อย่างไร ใจความสาคัญ คือ....................................................................................................................................... ใจความรอง (พลความ)คอื ......................................................................................................................... “จะประกอบงานใดต้งั ใจมั่น ไมแ่ ปรผันรวนเรทาเหหัน ตอ้ งม่งุ จิตคดิ ก้าวหน้าอยา่ ผดั วัน อยา่ มัวฝนั รอให้เขามาเอาใจ อย่าเพียงแต่หมายมั่นวันพรุง่ น้ี วา่ ฤกษ์ดฤี กษ์งามตามสมัย พรุ่งนเ้ี หมือนคนปล้นทรัพยไ์ ป โจรท่ไี หนจะมาเมตตาเอย” ใคร ทาอะไร ทไ่ี หน เมื่อไหร่ อย่างไร ใจความสาคัญ คอื ....................................................................................................................................... ใจความรอง (พลความ)คือ......................................................................................................................... ช่ือ.............................................. สกลุ .................................................ชน้ั .........................เลขท.่ี ...............

196 118926 แนวการตอบใบงานท่ี ๑ เรือ่ ง การอา่ นจบั ใจความสาคญั หน่วยท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ จดุ ประสงค์ ระบุใจความสาคัญและรายละเอยี ดของข้อมูลทีส่ นบั สนนุ จากเรอ่ื งทอ่ี ่าน ใคร ทาอะไร ท่ไี หน เม่ือไหร่ อยา่ งไร มะนาว ปรุงอาหาร ดับกลิ่น ใหค้ วามสดช่ืน ใจความสาคัญ คอื มะนาวนอกจากใชป้ รงุ อาหารแลว้ ยังชว่ ยดบั กลนิ่ ใจความรอง (พลความ)คอื ด้วยเหตุน้ี ตามร้านอาหาร โดยเฉพาะรา้ นอาหารทะเล เมื่อรับประทานเสร็จจะมโี ถ ใสน่ า้ มเี ปลอื กมะนาวลอยมาใหส้ าหรบั ใช้ล้างมือ เพราะนอกจากจะมาช่วยดบั กลน่ิ แล้ว ยงั ช่วยให้รสู้ กึ สดชื่นอีกด้วย “จะประกอบงานใดต้งั ใจมน่ั ไม่แปรผนั รวนเรทาเหหนั ตอ้ งมุ่งจิตคดิ ก้าวหน้าอยา่ ผดั วนั อย่ามวั ฝันรอให้เขามาเอาใจ อย่าเพียงแตห่ มายมัน่ วันพรุ่งนี้ วา่ ฤกษ์ดีฤกษง์ ามตามสมัย พรุ่งนี้เหมือนคนปล้นทรัพยไ์ ป โจรที่ไหนจะมาเมตตาเอย” ใคร ทาอะไร ท่ไี หน เม่ือไหร่ อย่างไร คน ทางาน ทันทไี มร่ ีรอ มุ่งม่นั ไมผ่ ัดวนั ใจความสาคญั คอื คนเราต้องต้งั ใจทางานด้วยความมุ่งมัน่ ไมผ่ ดั วนั ใจความรอง (พลความ)คอื การรีรอหรือผัดวันเหมือนกับคนทโี่ ดนโจรปล้นทรพั ย์ไป

197 118937 แบบทดสอบ เรื่อง การอา่ นจับใจความสาคญั หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบที่ถกู ต้องทสี่ ดุ เพียงข้อละหน่ึงคาตอบ อ่านข้อความต่อไปน้แี ล้วตอบคาถามข้อ ๑ – ๒ “เมอ่ื พูดถึงขยะท่ีเปน็ อนั ตราย เรามักนกึ ถึงขยะจากโรงงานอตุ สาหกรรม แต่มกั มองขา้ มขยะพิษจาก บา้ นเรอื น อนั ไดแ้ ก่ ถ่านไฟฉายแบตเตอร่ีแหง้ ทนี่ ิยมใชก้ นั อยา่ งกวา้ งขวาง” ๑. ข้อความใดเปน็ ใจความสาคญั ก. ขยะอันตราย คอื ขยะจากโรงงาน ข. ขยะอนั ตรายขยะพิษจากบ้านเรือน ค. ขยะที่เปน็ อนั ตราย ง. ถ่านไฟฉายหรอื แบตเตอรี่แหง้ ๒. ข้อความใดเป็นใจความรอง ก. ขยะอนั ตราย ข. ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม ค. ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอร่ีแห้ง ง. ขยะมีอนั ตรายทีร่ า้ ยแรงที่คนควรระมัดระวัง ๓. ควรเรียงลาดบั ข้อความต่อไปนอี้ ย่างไร จึงจะส่ือสารไดช้ ัดเจน (๑) กิจกรรมตอนเชา้ คือ ไปตกั บาตรท่ีตลาดบา้ นโพน (๒) ไม่ไดห้ มายความว่า ต้องใชท้ ัพพีตักข้าวจากขันใส่ลงในบาตรพระ (๓) เวลาอยบู่ ้านทเ่ี ชยี งใหม่ (๔) ยงั ยืนยนั ทจ่ี ะใชว้ ่า ตักบาตร เพราะแปลว่า เอาของใส่บาตรพระ (ตรงกบั ภาษาเขมรตกั แปลว่า วางลง) ก. ๑ – ๒ – ๓ – ๔ ข. ๔ – ๓ – ๒ – ๑ ค. ๒ – ๔ – ๑ – ๓ ง. ๓ – ๑ – ๔ – ๒ ๔. ข้อใด ไม่ใช่ จุดมงุ่ หมายของการอ่านจบั ใจความ ก. เมื่ออ่านแลว้ สามารถสรปุ หรอื ย่อเร่ืองได้ ข. เมอื่ อา่ นแล้วสามารถปฏบิ ตั ิตามคาส่ังและคาแนะนาได้ ค. เมื่ออา่ นแลว้ สามารถคาดการณ์ และหาความจรงิ แสดงข้อคดิ เหน็ ง. เม่อื อา่ นแลว้ สามารถจาคาประพนั ธ์ชนดิ ต่าง ๆ ได้ ๕. บุคคลในขอ้ ใด ไม่มี พ้นื ฐานในการอ่านจบั ใจความ ก. กอ่ นอา่ นหนังสอื ทุกครงั้ เก่งจะตอ้ งศึกษาส่วนประกอบต่าง ๆ ภายในหนงั สอื ข. น้อยไม่ชอบวรรณคดีไทยเมื่ออ่านเร่อื งพระอภยั มณีจงึ ไม่ค่อยเข้าใจ ค. แตงอ่านเร่ืองลูกชาวนาได้อย่างรวดเร็วและเข้าใจเพราะเคยช่วยปู่ทานา ง. อู่ได้ฉายาวา่ หนอนหนงั สือเพราะชอบอ่านหนังสือเกือบทุกประเภท

198 118948 ๖. ใจความสาคัญของข้อความต่อไปนค้ี ืออะไร “เด็กผู้ชายชอบเล่นฟุตบอล การเล่นฟุตบอลเป็นการออกกาลังกายท่ีดี และเป็นกีฬาที่ฝึกให้เด็กเล่นเป็นหมู่ ผูเ้ ลน่ ฟุตบอลต้องไม่ทะเลาะกัน ถ้าเราเลน่ ฟตุ บอลแพ้เรากต็ อ้ งยอมรับ และไม่โทษกันว่าใครเล่นไม่ดี เราจึงจะได้ ชอ่ื วา่ เป็นผู้มนี ้าใจนักกฬี า” ก. เดก็ ผู้ชายชอบเล่นฟตุ บอล ข.ผูเ้ ลน่ ฟตุ บอลต้องไม่ทะเลาะกัน ค. การเล่นฟตุ บอลเปน็ การออกกาลงั กายทด่ี ี และเปน็ กีฬาท่ีฝกึ ให้เด็กเลน่ เปน็ หมู่ ง. การเลน่ แล้วไมโ่ ทษกันแสดงถึงการเป็นผมู้ ีนา้ ใจนักกีฬา ๗. ใจความสาคัญของข้อความตอ่ ไปน้ีคืออะไร “ คนขยันชอบทางานและหม่ันหาความรู้ เพื่อจะได้ทางานด้วยความฉลาด และรอบคอบดังตัวอย่างป้าแช่ม ป้าแชม่ เปน็ คนขยนั จึงตนื่ นอนแตเ่ ชา้ ทาขนมกลว้ ย ขนมตาล และขา้ วเหนียวสังขยาไปขายที่ตลาดป้าแช่มบอกกับ ใคร ๆ เสมอวา่ ถา้ คนเราขยันทางานมรี ะเบียบ รวู้ ิธีทามาหากนิ กจ็ ะไมอ่ ดตาย” ก. ป้าแชม่ เปน็ คนขยันจึงต่ืนนอนแต่เชา้ ข. คนเราขยนั ทางานมีระเบยี บ รวู้ ธิ ีทามาหากิน ก็จะไม่อดตาย ค. ป้าแช่มทาขนมไปขายทีต่ ลาด ง. คนขยนั ทางานดว้ ยความฉลาดและรอบคอบ ๘. ใจความสาคญั ของข้อความตอ่ ไปน้คี ืออะไร “ยีราฟเป็นสตั ว์ป่า มขี ายาวจึงวิง่ เรว็ มนั มคี อยาวเหมอื นเสาไฟฟา้ จงึ มองเหน็ ได้ไกล ยรี าฟกินใบไม้ เปน็ อาหาร เรานายีราฟจากเมืองอื่นมาเลยี้ งไว้ ในสวนสตั ว์ เดก็ ๆ ชอบดูยีราฟในสวนสัตวเ์ พราะมีหนา้ ตาตลก” ก. ยีราฟเป็นสตั วท์ ม่ี ขี ายาว ข. ยรี าฟเป็นสัตวท์ ่ีมีหนา้ ตาตลก ค. ยรี าฟเป็นสตั วท์ ก่ี นิ ใบไม้เปน็ อาหาร ง. ยีราฟเปน็ สตั วป์ า่ ๙. ขอ้ สรุปของขอ้ ความน้คี ืออะไร “เนื่องจากชาวนาไทยมที ีด่ ินน้อย เฉลี่ยเพียงครอบครัวละเจ็ดแปดไร่เท่านั้น ในบางภาคการใช้วัวควายทานา จงึ น่าจะเหมาะสมกบั งานเพราะสะดวกที่จะทาเมื่อใดกไ็ ด้ และแล้วเสร็จไดใ้ นเวลาไมน่ าน ทง้ั ยังประหยดั กว่า การจา้ งรถไถนา” ก. ชาวนามที ดี่ ินนอ้ ย ข. การใช้วัวควายทานาควรให้เหมาะกับงาน ค. การใชว้ ัวควายประหยัดกว่าการจา้ งรถไถนา ง. การใชว้ ัวควายทาใหง้ านแลว้ เสรจ็ ในเวลาไม่นาน ๑๐. ควรสรปุ ข้อความต่อไปน้ีวา่ อย่างไร “การทางานของอวัยวะต่าง ๆ ต้องเปน็ ระบบและมรี ะเบยี บ รา่ งกายจงึ จะอยเู่ ปน็ ปกติและเจา้ ของรา่ งกาย จงึ จะรู้สกึ สบายดี เมอื่ อวยั วะต่าง ๆ เกิดความขดั ข้อง อาทิเกิดอุบตั เิ หตโุ ลหิตไหลออกนอกเส้นโลหิตสมอง เปน็ การไม่อย่ใู นระเบียบของการสบู ฉีดโลหิต เจา้ ของร่างกายกจ็ ะลม้ ป่วยเป็นอัมพาตหรอื ถงึ แก่ชวี ติ ได้” ก. เจา้ ของรา่ งกายจะสบายดีเมอ่ื การทางานของอวยั วะอย่ใู นระบบระเบยี บ ข. เจ้าของร่างกายจะสบายดีเมื่อเสน้ โลหติ ในสมองมิได้ถกู กระทบกระเทอื น ค. การเป็นอัมพาตหรือถึงแก่ชีวิตเกดิ เมื่อการทางานของอวยั วะไม่อยู่ในระบบระเบยี บ ง. ถ้าเกิดอบุ ัติเหตแุ ล้วโลหิตไหลออกนอกเสน้ โลหิตก็อาจทาให้เป็นอมั พาตหรือถึงแก่ชวี ิตได้

199 118959 เฉลยแบบทดสอบ เร่ือง หลักและกลวธิ ีการอา่ นจับใจความ ๑. ข ๒. ข ๓. ง ๔. ง ๕. ก ๖. ค ๗. ข ๘. ก ๙. ค ๑๐. ก

200 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๒ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๓ พินจิ คณุ คา่ วรรณคดี เร่อื ง การอา่ นเพื่อวเิ คราะหว์ จิ ารณ์ เวลา ๑ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ขอบเขตเนือ้ หา รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ การอา่ นวิเคราะห์วจิ ารณ์ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ข้นั นา ๑. ข่าวเหตกุ ารณจ์ ากหนงั สือพิมพ์ ด้านความรู้ ๑. ครใู หน้ กั เรียนส่งตัวแทน ๖ คน แจกหมวก ๒. ใบงาน การวเิ คราะห์วจิ ารณ์และประเมนิ เร่ืองท่ีอ่านโดยใช้ ให้นักเรียนคนละใบแต่ละคนจะได้สีหมวกท่ีแตกต่าง ๓. กระดาษเทาขาว กลวิธีการเปรียบเทยี บเพื่อให้ผู้อา่ นเข้าใจย่ิงขน้ึ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ กนั สขี าว สแี ดง สีเหลอื ง สีดา สีเขียว สีฟา้ ๔. สีเมจิก สไี ม้ อา่ นวเิ คราะห์ วจิ ารณเ์ ร่อื งท่อี า่ นโดยใช้ ครูเขียนข้อความ “ถ้าเลือกคบคนที่หน้าตา ก็จงอย่า กระบวนการคดิ เรียกร้องหาความดีจากคนๆนั้น” ครูให้นักเรียนสวม ภาระงาน/ช้ินงาน ด้านคณุ ลักษณะ ๑. มนี สิ ัยรกั การอ่าน หมวกสขี าวบอกว่าเปน็ เรอ่ื งเกย่ี วกับอะไร นักเรียน วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ เรือ่ ง ทีช่ อบโดยใช้วธิ ีคิดแบบ ๒. มมี ารยาทในการอา่ น ท่ีสวมหมวกสีแดง เราจะบอกความรู้สึกต่อข้อความ หมวก ๖ ใบ ๓. มวี ินัย เช่นสงสาร ดีใจ โกรธ ชอบ ไม่ชอบ ประทับใจ เศร้า ๔.มุง่ มั่นในการทางาน ฯลฯ นกั เรียนที่หมวกสเี หลอื ง ประโยชน์ของข้อความ ๕. มีจิตสาธารณะ นักเรยี นที่สวมหมวกสดี า บอกถึงจุดบกพร่องข้อความ ๖. ซ่อื สตั ย์สจุ รติ นกั เรียนท่ีสวมหมวกสีเขียว บอกถึงวิธีอ่ืนในท่ีสามารถ นาไปปฏิบัตไิ ดน้ อกเหนือจากข้อความ นักเรียนที่สวม หมวกสีฟ้า สรุปข้อคิด ความรู้ ประโยชน์ท่ีได้รับจาก เรื่องท่ีอ่าน ๒. ครูอธิบายว่าการท่ีเราจะวิเคราะห์หรือวิจารณ์เร่ือง ท่ีอ่านหรือสิ่งที่เราพบในชีวิตประจาวันน้ันเราสามารถ นาวธิ ีคดิ ๖ แบบมาใช้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 128060

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ พนิ จิ คณุ ค่าวรรณคดี แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ 201 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่ือง การอา่ นเพอื่ วิเคราะห์วจิ ารณ์ เวลา ๑ ชวั่ โมง รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ สอน ๑. นักเรียนอ่านข่าว “จับบริษัทลอยแพลูกทัวร์สูญ ๑๐ ล้าน” จากใบงาน พร้อมกันท้ังห้อง เม่ือจบแล้ว ครูหยิบ หมวกสีฟ้าขึ้นมา ครูถามว่าถ้าเราสวมหมวกสีฟ้า เราจะตั้ง คาถามข่าวนี้ว่าอย่างไรบ้าง (เรื่องน้ีสรุปได้ว่าอย่างไร หรือ ใจความสาคัญของเร่ืองนี้คือไร ประโยชน์หรือข้อคิดของเรื่อง น้ีคืออะไร เม่ือนักเรียนตั้งคาถามแล้ว ก็ช่วยกันตอบคาถาม นั้น ครูหยบิ หมวกสขี าว ครูถามนักเรียนว่าถ้าเราสวมหมวกสี ขาว เราจะตั้งคาถามว่า ควรตั้งชอ่ื ข่าวนวี้ า่ อย่างไร ข้อเท็จจริง ของข่าวนี้คืออะไรนักเรียนต้ังคาถาม พร้อมกับหาคาตอบ ครู หยิบหมวกสีแดง ครูถามว่าเราจะต้ังคาถามว่า...อ่านข่าว นี้แล้วเรารู้สึกอย่างไร นักเรียนตอบคาถาม ครูหยิบหมวกสี ดา นักเรียนต้ังคาถามว่า....สาเหตุหรือปัญหาของเรื่องน้ีคือ อะไร จะปรับปรุงหรือแก้ไขอย่างไร นักเรียนตอบคาถาม 128071

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ พินจิ คณุ คา่ วรรณคดี แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ 202 กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย เรือ่ ง การอา่ นเพ่อื วิเคราะห์วจิ ารณ์ เวลา ๑ ชั่วโมง รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสอน ครูหยิบหมวกสีเหลือง นักเรียนต้ังคาถามว่า “ข่าวน้ีมี พฤติกรรมที่ดีสมควรเอาเป็นแบบอย่างหรือไม่อย่างไร การใชภ้ าษาส่อื ความหมายเป็นอย่างไร” นักเรียนตอบ คาถาม ครูหยิบหมวกสีเขียว นักเรียนตั้งคาถามว่า “จากปัญหาท่ีเกิดขึ้นในข่าวนี้มีวิธีการแก้ไขอย่างไร” ครูพูดว่าเมื่อเราทุกดคนเข้าใจการต้ังคาถามตามสีของ หมวกแลว้ ๒. ครใู ห้นักเรียนแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ ๖ คน แบบคละ ความสามารถ ครูให้นักเรียนภายในกลุ่มแต่ละกลุ่ม จับสลากเป็นเจ้าของหมวกความคิดหกใบ คนละสี แต่ ถ้ากลุ่มใดนักเรียนมี ๗ คน ก็ให้นักเรียน ๑ คน เป็นผู้ สงั เกตและผลัดเปลี่ยนกับเพ่ือน การเป็นเจ้าของหมวก ในคร้ังนี้เพ่ือเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการคิดตาม ทิศทางของสีหมวก โดยสมาชิกคนอ่ืน ๆภายในก็ต้อง ร่วมกันเสนอความคิดเห็นเพิ่มเตมิ ได้จนสมบูรณ์ชัดเจน ท่ีสุด ของการคิดของหมวกแต่ละใบในแต่ละคร้ังแล้ว นาเสนอ โดยใช้แผนผังความคิดโดยภายในกลุ่มตกลง 128082

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ พนิ ิจคณุ คา่ วรรณคดี แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๒ 203 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่ือง การอา่ นเพ่ือวเิ คราะหว์ ิจารณ์ เวลา ๑ ช่ัวโมง รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสอน กันว่าจะทาแผนผังแบบใด ครูแจกกระดาษเทา ขาว ปากกาเมจิก สีไม้ ให้นักเรียนทุกกลุ่ม ตัวแทนกลุ่ม นาเสนอหน้าชั้นชน้ั เรียน ข้ันสรปุ ๑. ครูแสดงความชื่นชม แล้วเชอื่ มโยงใหเ้ หน็ ความสาคญั ของการอ่านในชีวิตประจาวนั นกั เรยี น ควรนาวิธีการตั้งคาถามของหมวกหกใบไปใช้ก่อให้เกิด ประโยชน์แกน่ ักเรียน ๓. นักเรยี น อ่านแล้วเลือกบทความ ข้อความที่ชอบ มากที่สุด ๑ เรอ่ื ง ทดลองใช้หมวกหกใบดว้ ยตนเอง 128093

204 129004 การวดั ผลประเมินผล รายการประเมนิ วิธีวดั เครอ่ื งมอื วดั เกณฑก์ ารตัดสนิ ดา้ นความรู้ ๑. บอกแนวทางการอา่ นจบั ใจความจากข่าว ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร- ้อรย้อลยะละ๘๐๘๐ ด้านทักษะ/กระบวนการ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ๑. บอกใจความสาคัญและลาดับเหตกุ ารณ์จาก ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ ร- ้อรย้อลยะละ๘๐๘๐ ข่าวไดถ้ ูกตอ้ ง หลังเรยี น ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ร-อ้ รย้อลยะละ๘๐๘๐ ๒. อา่ นจบั ใจความสาคัญและวเิ คราะหว์ ิจารณ์ ข่าว ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร-้อรยอ้ ลยะละ๘๐๘๐ ด้านคณุ ลักษณะ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ ๒ ๑. ใฝเ่ รยี นใฝ่รู้ ผ่านเกณฑ์ ๒. มงุ่ ม่ันในการทางาน ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................... ......................................................................... ลงช่ือ ครูผู้สอน (.................................................................) วันที่............เดอื น............................พ.ศ.................. ๙. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ ผูต้ รวจ (.................................................................) ตาแหนง่ .................................................................................. วันที่............เดอื น............................พ.ศ..................

205 129015 ใบงาน เร่ืองการอา่ นเพ่อื วิเคราะห์วจิ ารณ์ หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ (มติชน : ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๑๔๖๔๖ วนั ที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ หนา้ ๑๐)

206 129026 คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ีให้ถูกต้องสมบูรณ์ทสี่ ดุ ๑. ขอ้ มลู ท่อี า่ นมอี ะไรบา้ ง และอะไรเป็นข้อตกลงเบ้ืองตน้ (หมวกสีขาว) ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ๒. หลังจากอ่านข้อความแลว้ นักเรยี นมคี วามรสู้ ึกอยา่ งไร (หมวกสีแดง) .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ๓. นักเรียนจงบอกสว่ นดี จดุ เด่น ประโยชน์ คุณคา่ ที่พบ (หมวกสเี หลอื ง) ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ๔. จงบอกข้อเสีย ข้อบกพร่อง จุดด้อย ข้อผิดพลาดหรือสิง่ ไมด่ ีท่พี บ (หมวกสีดา) ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ๕. จงเสนอแนะทางออกของปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหาจากขอ้ ความ ท่ีคาดว่าจะเป็นไปได้มากทส่ี ุด (หมวกสีเขยี ว) ..................................................................................................................................................... ............................... ......................................................................................................... ........................................................................... ๖. จงสรปุ ผลจากข้อความจากการอา่ น โดยเขียนผงั ความคิด Mind Mapping (หมวกสีฟ้า) ........................................................................................ ....................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ....................................................... ช่ือ........................................................สกุล.................................................ช้ัน.........................เลขท.ี่ ................

207129037 แนวการตอบใบงาน เรอ่ื ง การอา่ นเพ่อื วเิ คราะหว์ ิจารณ์ หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๑. แนวคาตอบ : นางสาวธัญญรศั ม์ สารสังวาล และพวกถูกหมายศาล จังหวดั สตูล ออกหมายจับฐานความผดิ ร่วมกันฉ้อโกงประชาชนที่ซื้อแพคเกจทวั ร์ แล้วไม่ไดท้ ่องเท่ียวจรงิ ๒. โกรธที่ไมซ่ ่ือตรง คดโกงประชาชน ๓. การอา่ นขา่ วเป็นบทเรยี นใหร้ ะมัดระวงั ตัวในการเลอื กซื้อแพคเกจทัวร์ ๔. การควบคุมดแู ลของรฐั ไม่ทว่ั ถึง เจ้าของบรษิ ัทไรค้ ุณธรรม ๕. กฎหมายควรมีบทลงโทษใหแ้ รงพอทจี่ ะทาผดิ แนวน้ี หรือมีระบบดแู ลช่วยเหลือประชาชนให้ดกี ว่าท่ีเปน็ อยู่ ๖. จงสรุปผลจากข้อความจากการอ่าน โดยเขยี นผังความคิด Mind Mapping (หมวกสีฟ้า) สาเหตุ บรษิ ัททวั ร์ ด้อยคุณธรรม ประชาชน ผล ถกู โกง การแกป้ ญั หา - ประกันคุณภาพของบริษัททัวร์ - บังคับใชก้ ฎหมาย

208 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ พินจิ คุณคา่ วรรณคดี เรอื่ ง การอ่านวิจารณ์และแสดงความคิดเห็นจากการอา่ นบทความ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ การอ่านวจิ ารณ์และแสดงความคิดเหน็ จากการอ่าน ข้นั นา ๑. ใบความรู้ การอา่ นวิจารณ์และแสดงความคิดเห็น บทความ ๑. นกั เรียนอ่านข้อความที่ครูให้ชว่ ยกนั ตอบคาถามว่า จากการอ่านบทความ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ขอ้ ความน้ีเป็นเรือ่ งเกย่ี วกบั อะไร ใหข้ ้อคิดใด “เวลามี ๒. ใบงาน การอา่ นวจิ ารณ์และแสดงความคิดเหน็ จาก วเิ คราะหว์ จิ ารณป์ ระเมินคา่ เรื่องที่อา่ นความเปน็ ไปได้ ความศกั ด์สิ ิทธอ์ิ ย่ใู นตวั เวลาอาจจะเป็นยารักษา การอ่านบทความ ความสมเหตุสมผลของการลาดับความสามารถตีความ โรคภยั ไขเ้ จ็บให้หาย หรอื อาจเปน็ ยาพิษที่ฆ่าคนตาย ๓. แบบทดสอบ และบอกแนวคิดได้ เวลาอาจสรา้ งชัยชนะสรา้ งความความพา่ ยแพ้ ทาชัย ภาระงาน/ชน้ิ งาน ดา้ นความรู้ ชนะให้เปน็ การพ่ายแพ้ หรือทาความพา่ ยแพใ้ หก้ ลับ เข้าใจหลกั วิจารณ์ความสมเหตสุ มผลของการลาดบั เป็นชยั ชนะเวลาทาสงิ่ ซึ่งไม่เสมอภาคให้กลบั เสมอภาค ความและความเป็นไปได้ของเรอื่ ง หรอื ทาความเสมอภาคใหเ้ ปล่ียนเปน็ ความตา่ งกนั ” ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ขนั้ สอน สามารถวเิ คราะหว์ ิจารณเ์ รื่องท่ีอา่ นไดอ้ ย่าง ๑. นักเรยี นศึกษาใบความรู้การอา่ นวจิ ารณ์และแสดง สมเหตสุ มผลของการลาดับความ ความคิดเห็นจากการอา่ นบทความ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๒. นักเรยี นอา่ นบทความแนว PISA เร่อื ง ยาลด ๑. มวี ินยั ความอ้วน แลว้ จับคู่ตอบคาถาม ๒. นสิ ัยรกั การอ่าน ๓. นกั เรียนและครูเฉลยคาตอบ ๓. มมี ารยาทในการอ่าน ขนั้ สรุป ๑. ทดสอบอา่ นบทความแนว PISA เรอ่ื ง ทาก ๒. นักเรยี นค้นหาบทความที่ชอบแล้วบอกคณุ ค่าทีไ่ ด้ 129048

209 129059 ๗. การวัดผลประเมินผล รายการประเมิน วธิ ีวดั การวัด เกณฑ์การตัดสิน เครอื่ งมือ ด้านความรู้ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน แบบทดสอบ ๑. รอ้ ยละ ๘๐ ๑. หลกั การอ่านจบั ใจความจากบทความ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๒. รอ้ ยละ ๘๐ ได้ถูกตอ้ ง ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ๑. ร้อยละ ๘๐ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๑. จับใจความและตอบคาถามเรือ่ งท่ีอา่ น แบบทดสอบ ๒. ร้อยละ ๘๐ ได้ถูกต้อง ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมิน ๑. มีวินยั คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๒. นสิ ัยรักการอา่ น ๓. มีมารยาทในการอ่าน

210 129160 ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................ ............................ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ ครูผู้สอน (.................................................................) วนั ที่............เดือน............................พ.ศ......... ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ ครผู ู้ตรวจ (.................................................................) ตาแหน่ง..................................................... วนั ที่............เดอื น............................พ.ศ......

211 129171 ใบความรู้ เรื่อง การอา่ นวิจารณ์และแสดงความคิดเห็นจากการอา่ นบทความ หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๓ รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ จุดประสงค์ เขา้ ใจหลกั วจิ ารณ์ความสมเหตุสมผลของการลาดับความและความเปน็ ไปไดข้ องเร่ือง บทความ บทความเป็นงานเขียนท่ีมุ่งเสนอความคิดเห็นหรือความรู้ในเร่ืองท่ีคนกาลังสนใจอยู่ตามความคิดส่วนตัว ของผู้แต่งเพียงประเด็นใดประเด็นหนึ่ง บทความท่ัวไปจึงมีเนื้อหาท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองปัจจุบัน เหตุการณ์ทันสมัย และมีวิธกี ารเขียนโน้มน้าวใจใหเ้ หตุผลที่ผอู้ า่ นเช่ือถือได้ ลักษณะของบทความทีด่ ี ๑. มีสว่ นประกอบ ๓ สว่ น คอื ๑.๑ ส่วนนา เป็นส่วนข้ึนตน้ เพอ่ื ดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน มีลักษณะเป็นเชิงกล่าวนา หรือให้ความรู้ พ้ืนฐาน ในบางครงั้ อาจบอกเจตนาของผเู้ ขยี นในการเขยี นบทความนัน้ ๑.๒ ส่วนเน้อื หา เปน็ ส่วนสาคัญทีใ่ หค้ วามร้แู ละสาระแก่ผู้อ่าน ๑.๓ ส่วนสรุป เป็นส่วนท้ายของบทความ เพื่อสร้างความเข้าใจเป็นการสรุปเน้ือหาและสร้างความ ประทบั ใจในการอา่ น ๒. มีเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์ บทความทีม่ ีคณุ คา่ นัน้ ควรมเี นื้อหาสาระท่ีให้ความรู้และความคิด ที่เป็น ประโยชน์แกผ่ อู้ า่ น เนอื้ หาควรทนั เหตุการณ์ มีความถูกตอ้ ง และสามารถใชอ้ า้ งองิ ได้ ๓. ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม ถ้าเป็นบทความเชิงวิชาการควรใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน แต่ถ้าเป็น บทความประเภทอื่นที่ไม่ใช่บทความทางวิชาการ ควรใช้ภาษาพูด หรือภาษาก่ึงแบบแผนในการเขียนซึ่งจะทาให้ บทความน่าสนใจขน้ึ แนวทางการอา่ นบทความ ๑. ต้ังจุดมุ่งหมาย ผู้อ่านจะต้องต้ังจุดมุ่งหมายการอ่านก่อนว่าจะอ่านเพื่อความรู้ และจะวิจารณ์บทความ อย่างพนิ ิจพจิ ารณา ๒. ควรอ่านอย่างน้อย ๒ คร้ัง คร้ังแรกควรอ่านคร่าวๆ อ่านผ่านๆ ให้รู้เน้ือหาว่าเป็นเรื่องท่ีเกี่ยวกับอะไร แสดงความรู้และความคิดเรื่องใด ผู้เขียนมีเจตนาในการเขียนอย่างไรที่แสดงว่าเป็นการอ่านเพ่ือจับความคิด ส่วนการอ่านคร้ังท่ีสองเป็นการอ่านอย่างละเอียด อ่านอย่างพินิจพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีการเขียน ตามปกติ

212 129182 บทความจะแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนนา เป็นส่วนข้ึนต้นหรือการเปิดเรื่อง เพ่ือเป็นการปูพ้ืนฐานแก่ผู้อ่าน ให้สนใจที่จะติดตามอ่าน ส่วนเน้ือหาเป็นส่วนเรื่องราวท่ีมีความสาคัญ โดยจะให้สาระหรือความรู้แก่ผู้อ่าน และสรุปเป็นส่วนลงท้ายเพ่ือสร้างความเข้าใจ และประทับใจแก่ผู้อ่าน การอ่านบทความไม่ควรอ่านข้ามๆ แต่ควร อ่านเพ่ือจับใจความของเรื่อง แสดงความคิดเห็น ประเมินค่าและพินิจพิจารณา แล้วจึงเขียนวิจารณ์ตามแนวทาง วิจารณบ์ ทความ แนวทางการพิจารณาบทความ ผู้อา่ นควรมีหลักการพจิ ารณาบทความดงั น้ี ๑. ทราบลักษณะของบทความวา่ มีประเภทใด และมเี นอ้ื หาสาระอย่างไร ๒. บทความมสี ว่ นนา ส่วนเนื้อหา และสว่ นสรุปครบถ้วนหรอื ไม่ ๓. เนอ้ื หามคี วามถกู ตอ้ งและนา่ เชือ่ ถือหรือไม่ ถ้าเปน็ ส่วนแสดงความคิดเหน็ มเี หตุผลท่ีเหมาะสมหรอื ไม่ ๔. กลวิธีการเขียนบทความ ได้แก่ การเสนอเรื่องและความคิดเห็นให้เป็นไปตามลาดับ มีการเสนอ ความคดิ หลกั และขยายความคิดอย่างละเอียด นอกจากน้ีการเสนอเร่ืองจะต้องมีความเป็นเอกภาพ ไม่สับสนหรือ วกวน ทางดา้ นการใชภ้ าษาใชถ้ ้อยชดั เจนถูกต้อง ไม่มีคาต่าหรอื คาหยาบ และมกี ารใช้สานวนโวหารเพ่ือให้โน้มน้าว จิตใจของผ้อู า่ นใหเ้ ห็นด้วยกับบทความน้นั ๕. การประเมนิ คณุ คา่ ของบทความควรพิจารณาตามหัวข้อตอ่ ไปน้ี ๕.๑ บทความนา่ สนใจหรอื ไม่ ๕.๒ รปู ภาพ ตวั เลข สถิตทิ นั สมยั และเช่ือถอื ไดห้ รอื ไม่ ๕.๓ บทความให้ความรูห้ รือข้อคิดเห็นมากน้อยเพียงใด ๕.๔ ชอ่ื เรอื่ งและเนื้อหามคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมหรอื ไม่

213 129193 ใบงาน เรอ่ื ง การอ่านวิจารณ์และแสดงความคดิ เหน็ จากการอ่านบทความ หนว่ ยที่ ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ คาชแ้ี จง ให้นักเรียนอ่านขอ้ ความตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคาถาม ยาลดความอว้ น ในปัจจุบันความอ้วนดูจะเป็นปัญหาที่ทาให้หลายๆ คนวุ่นวายใจมากทีเดียว คนอ้วนนั้น นอกจากไม่ชวน มองแล้วยงั ถูกลอ้ เลยี นเสมอๆ และไม่มีความคล่องตัวมีแนวโน้มท่ีจะเป็นโรคบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง ปวดตามข้อได้มากกว่าคนผอม สาเหตุใหญ่ของความอ้วนมากจาการบริโภคอาหาร เกินความจาเป็นของร่างกาย อาหารท่ีรับประทานเข้าไปส่วนหน่ึงถูกนาไปใช้ในการทางาน เช่น การเดิน การว่ิง การคิด อีกส่วนหน่ึงถูกนาไปสร้างเสริมหรือซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอ และถ้ายังมีอาหารหลงเหลือจากประโยชน์ สองประการดังกล่าวแล้ว อาหารเหล่านี้ก็จะถูกเปล่ียนไปเป็นไขมันสะสมตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะ อยา่ งย่งิ ทท่ี อ้ ง ซึ่งวธิ นี ้ีเป็นวธิ กี ารสะสมอาหารไว้ในคราวจาเป็นของสง่ิ มชี ีวติ เราจะเห็นได้ว่าการตามใจปากเป็นสาเหตุที่สาคัญประการหนึ่งท่ีทาให้คนอ้วน เพราะฉะน้ันถ้าอยาก ลดความอ้วน สิ่งสาคัญประการแรกกค็ ือ กนิ ให้นอ้ ยลง แต่ดูเหมอื นจะเป็นไปได้ยาก ทั้งนี้ทั้งน้ันเพราะคนอ้วนมักจะ กินมากจนเป็นนิสัยจะให้กินน้อยลงจนถึงขนาดที่ไม่เกินความจาเป็นที่ร่างกายต้องการด้วยแล้วละก็ดูจะเป็นเร่ือง ลาบาก อย่างไรก็ตามคนอ้วนที่คิดอยากจะผอมก็พยายามหาวิธีการใหม่ วิธีการหน่ึงท่ีทากันมากก็คือใช้ยาลด ความอ้วน โดยคิดว่ายานี้จะไปช่วยละลายไขมันหน้าท้อง ช่วยลดส่วนเกินที่มีให้น้อยลงทาให้ผอมลงได้ แล้วด้วย ความเขา้ ใจผดิ อนั นี้ ทาใหห้ ลายคนคดิ จะผอมทางลดั โดยอาศยั การกินยาทีเดียวมากๆ ส่ิงท่ีเกิดขึ้นแทนท่ีจะผอมลง ดงั ใจ กลบั ไดร้ บั ผลรา้ ยจากพษิ ของยา บางรายถงึ ขัน้ ตายเลยกม็ ี ยาลดความอ้วนท่ีใช้กันส่วนใหญ่ คือ อนุพันธ์ของแอมเฟตามีน ซึ่งเป็นยาแก้ง่วง หรือยากระตุ้นที่รู้จักกัน ในท้องตลาดว่า “ยาบ้า” ยาเหล่าน้ีเป็นเพียงอนุพันธ์ของแอมเฟตามีน ผลข้างเคียงจึงน้อยกว่า อย่างไรก็ตาม ปัจจุบนั กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศให้ยาเหล่านี้เป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ร้านขายยาจะขายยาได้ ต่อเม่ือมีใบอนุญาตเฉพาะให้ขายมีเภสัชกรประจาตลอดเวลาทาการและขายได้ตามใบส่ังแพทย์เท่ าน้ันไม่สามารถ จะซื้อมารับประทานเองได้จึงไม่ควรซ้ือรับประทานเองควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด เพราะผลเสีย ของยาลดความอ้วนมีมาก ถ้าจะว่ากันไปแล้ว ยาลดความอ้วนจริงๆ นั้นไม่มี ท่ีมีขายหรือใช้กันอยู่นั้นเป็นเพียงยา ลดความอยากอาหาร ยาจะออกฤทธิ์ที่สมอง ตรงศูนย์ควบคุมความหิวและความอ่ิม ทาให้ศูนย์ควบคุมความหิว ทางานน้อยลง ศูนย์ควบคุมความอิ่มทางานมากขึ้น ทาให้เบื่ออาหาร ไม่หิว กินอาหารไม่อร่อย กระตุ้นให้สมอง

214 220104 ทางานมากข้ึน ประสาทตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา สามารถทางานได้เร่ือยๆ โดยไม่รู้สึกเหนื่อย ผู้ใช้ต้องเข้าใจว่าใน ระหว่างรับประทานยาน้ี เม่ือถึงเวลาอาหารแต่ละมื้อ ก็ควรรับประทานบ้างเล็กน้อย เพ่ือป้องกันไม่ให้กรดดัน กระเพาะเพราะท้องว่าง ยาประเภทน้ีปัจจุบันในท้องตลาดมีอยู่หลายชนิด มีทั้งเม็ดขนาดธรรมดา ซ่ึงต้อง รับประทานวันละ ๒-๓ เม็ดกับชนิดฤทธิ์เนิ่นคือมีตัวยามากกว่าอย่างแรกแต่สะดวกกว่าในการรับประทาน คือ รับประทานเพียงวันละเม็ด แต่ก็มีข้อเสียท่ีว่า ถ้ามีอาการข้างเคียงจะมีอาการอยู่นานถึง ๑-๒ วัน อาการข้างเคียง หรือผลเสียของยาลดความอ้วนทาให้อาการใจสั่นเหมือนมีอะไรมาบีบหัวใจ นอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูง ปวด ศีรษะ มึนงง สับสน หงุดหงิด ปากแห้ง ถ้ารับประทานยาติดต่อกันนานๆ จะมีอาการติดยา มีอาการของโรคจิต ซึมเศร้า ประสาทหลอนอาจถึงกับฆ่าตัวตายได้ ยาพวกนี้จะใช้ได้ผลชั่วระยะเวลาหน่ึงเท่าน้ัน ใช้ติดต่อกันนานๆ ก็ ไม่ไดผ้ ลสาหรับคนอ้วนจากกรรมพนั ธุ์ เมอ่ื รับประทานยาจะลดความอว้ นได้ แต่เม่ือหยุดยาก็จะอ้วนขึ้นอีกและยานี้ จะช่วยอะไรไมไ่ ดเ้ ลย ถ้าผใู้ ช้มนี ิสัยกนิ ไดต้ ลอดเวลาโดยไมห่ ิว สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคขอแนะนาผู้บริโภคว่า การจะลดความอ้วนได้อย่างแท้จริง และ ปลอดภัย อยู่ที่การควบคุมปริมาณอาหาร รับประทานอาหารพวกแป้ง และไขมันให้น้อยลง รับประทานพวก เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ให้มากข้ึน ออกกาลังกายแต่พอเหมาะสมและสม่าเสมอ การออกกาลังกายจะช่วยให้ไขมันที่ สะสมอยู่ลดลง เพราะถูกเปลี่ยนไปเป็นพลังงาน กล้ามเนื้อแต่ละส่วนจะเกิดการรัดตัวได้รูปทรง ถ้าปฏิบัติเพียง ๒ ประการนี้ก็เพียงพอท่ีจะลดความอ้วนได้ แต่เวลาปฏิบัติไม่ง่าย ดังท่ีบรรยายไว้ หากต้องการจะผอมจริงๆ จะต้อง เอาชนะใจตนเองให้ได้ ขึ้นกับว่าจะมีความอดทนแค่ไหน และยาลดความอ้วนนี้ออกฤทธ์ิต่อสมองโดยตรง ไม่ เหมาะสมกบั สตรีทต่ี ง้ั ครรภ์ เดก็ ที่อายตุ ่ากว่า ๑๒ ขวบ และผู้ที่มีความผิดปกติทางสมองอยู่แล้ว ข้อสาคัญประการ สุดทา้ ยคือตอ้ งไปปรกึ ษาแพทย์โดยเฉพาะถ้าหากจะตอ้ งใชย้ า คาถาม ๑. สาเหตุของโรคอ้วนคืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๒. คนอว้ นมีแนวโน้มว่าจะเป็นโรคอะไรได้อีกบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๓. การใชย้ าลดความอว้ นติดตอ่ กันเป็นเวลานานอาจเกิดผลขน้ั สดุ ท้ายอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๔. วิธลี ดความอ้วนที่ถูกต้องเหมาะสมและปลอดภยั คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๕. วธิ ซี ื้อยารับประทานท่ีปลอดภัยท่ีสุดคืออยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

215 220115 เฉลยคาตอบ ๑. รับประทานอาหารประเภทแป้งและไขมนั มากเกินจาเป็นหรอื กินอาหารเกินจาเปน็ หรือกรรมพันธุ์ ๒. โรคเบาหวาน หัวใจ ความดนั ปวดตามข้อ ๓. อาจเปน็ อันตรายถึงเสยี ชีวิต ๔. ควบคุมปริมาณอาหารหรือรบั ประทานแปง้ และไขมนั ให้นอ้ ยลงและหรือรบั ประทานเนื้อสตั ว์ ผกั ผลไม้ให้มากข้ึน ๕. ซอ้ื ยาตามแพทย์สงั่ และซื้อกับเภสชั กร

216 220126 แบบทดสอบ เรือ่ ง การอา่ นวิจารณ์และแสดงความคดิ เห็นจากการอ่านบทความ หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ คาชี้แจง ให้นกั เรียนอ่านเร่ือง แลว้ ตอบคาถาม ทากเป็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆ กล่มุ เดยี วกับไสเ้ ดอื นและปลิง แตก่ เ็ ปน็ ท่นี า่ เกลยี ดนา่ กลวั นา่ ขยะแขยงของหลายคน จนแทบไม่กล้าเขา้ ปา่ หน้าฝนเพราะกลัวไปเจอมนั คนไมร่ กั ทากมีเหตผุ ลวา่ ที่ได้รับไมไ่ ดก้ ต็ รงท่ากระดืบ คืบตัวไต่ตามแขน ขาหาจุดเหมาะๆ เพ่ือที่เจาะเนื้อที่ อ่อนนมุ่ แลว้ ดดู เลือดนแ่ี หละ….อ๋ึย !! ด้วยประการฉะนี้ ถา้ เหตุใครกลวั ทากมากกวา่ เสือกอ็ ยา่ วา่ เขา ในงานฉลองการเป็นมรดกโลกของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครนายก เมื่อสัปดาห์ก่อนมีเต็นท์ เลก็ ๆ แสดงนิทรรศการเร่ืองทาก ซ่ึงเป็นที่น่าสนใจของเด็กๆ มิใยคุณแม่จะร้องย้ี ทาจมูกย่นพยายามจูงหนีให้พ้นๆ แตก่ ไ็ มง่ า่ ย ข้อมูลที่นามาแสดงสว่ นใหญเ่ ป็นความรทู้ ีน่ ายอานวย อนิ ทรักษ์ ผอ.ศูนย์ฝึกอบรมเขาใหญ่ ๒ ซึ่งทาวิจัย เร่ืองชีววิทยาของทากในพน้ื ที่เขาใหญต่ อ่ เนอื่ งมาตง้ั แต่ปี ๒๕๔๑ โน่น ความรขู้ องนายอานวยทาให้เรารู้จักทากดีข้ึน รงั เกยี จมันนอ้ ยลง เพราะแท้จริง กแ็ ค่ขอแบ่งกินเลือดพออิ่ม แล้วก็ไม่วอแวอีก ไม่ได้ท้ิงเช้ือโรคท่ีทาให้บาดเจ็บ ล้ม ตายแต่อย่างใด ทากมีวงจรชวี ิตอยู่แค่ปีเดียว อาศัยอยู่ในป่าที่ช่ืนแฉะและสัตว์ป่าชุกชุม โดยฟักตัวในไข่ฟองเล็กๆ อยู่ ๑๕ วัน แล้วออกมาเปน็ ตวั ออ่ นยาว ๕ ซม. เพื่อกระดืบคลาน หาเกาะสตั วอ์ นื่ ดดู เลอื ดกนิ ไปตามประสา พอเข้าหน้าแล้ง ก็มดุ ซ่อนตัวอยู่ในดิน ซึง่ ไมม่ ีใครรู้ว่าช่วงนมี้ ันดาเนินชีวติ อยา่ งไร จนถงึ ฤดฝู นรอบใหม่ ก็ได้เวลาโตเตม็ วัย โผล่ขึ้นมา รอดูดเลือดอีกที รอบหลังนี้ถ้าได้กินเลือดจนตัวเป่งก็เท่ากับถึงจุดปรีด์ิเปรมของมันมีภารกิจอีกอย่างเดียวที่ต้องทา คอื สืบพนั ธแุ์ ลว้ วางไข่ใหเ้ สรจ็ ภายใน ๒ สปั ดาหแ์ ล้วก็สิ้นอายขุ ัยตายไป ทากมีท้ังเพศผู้และเพศเมียอยู่ในตัวเดียวกัน จงึ กาหนดช่วงเวลาสืบพนั ธไ์ุ ด้ไม่ต้องเสียเวลาหาคู่ หรอื ทะเลาะตบตีแย่งชงิ ใคร นายอานวยบอกว่า การดูดเลือดจากสัตว์หรือมนุษย์ท่ีเรารังเกียจน้ัน นักวิทยาศาสตร์เห็นประโยชน์ตรง การดูดเลือด ทากจะปลอ่ ยสารซ่งึ มีคณุ สมบตั ิทาใหเ้ ลอื ดไมแ่ ขง็ ตวั ทาใหเ้ ลอื ดของเหย่อื ไหลไม่หยุด ก็เลยเอาสารตัว นมี้ าทายาป้องกันเลอื ดแขง็ ตัว ในทางระบบนิเวศ หากเป็นตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของป่า มันจะอยู่ได้ในที่มีความช้ืนสูง และสัตว์ป่าชุกชุม เพราะมันเคลื่อนไหวช้า จานวนสัตว์ที่เป็นเหยื่อจึงต้องมีมากจะได้มีโอกาสเกาะดูดเลือดทัน แต่คนจะไม่ได้รับ อันตราย เห็นได้จากเจ้าหน้าที่ของอุทยาน ซึ่งมีอยู่เกือบ ๔๐๐ คน เดินเข้าออกป่าทุกวัน โดนทากดูดเลือดมาแล้ว เป็นร้อยคร้ังมาปรากฏว่ามีใครเจ็บป่วยด้วยโรคแปลกๆ เพราะทากแต่อย่างใด กระน้ันก็ไม่มีเหตุผลท่ีมนุษย์ผู้มี

217 220137 ความเจริญในวิทยาการจะหาเรอ่ื งไปให้ทากดูดเลือด นายอานวย ซ่ึงเช่ียวชาญเร่ืองทากได้แนะนาวิธีป้องกันที่แสน งา่ ยแคส่ วมถงุ กันทากทาจากผา้ ดิบทบั ถุงเทา้ คลุมขากางเกง แล้วคอ่ ยใสร่ องเท้าอกี ชั้นกอ่ นเดนิ เข้าป่า ทากชอบดูดเลือดตรงซอกน้ิวเท้า เม่ือสวมถุงป้องกัน มันก็จะไต่สูงขึ้นมาเร่ือย ถ้าสวมเส้ือยัดชายไว้ใน กางเกง มันก็คลานเกาะเส้ือผ้ามาถึงหู จึงต้องป้องกันอีกชั้นด้วยการทาสารเข้มข้นที่มันกลัวทุกชนิดไม่ว่าจะเป็น เกลอื สบู่ หรอื แม้แต่ยาสระผม ทาเคลือบถุงกันทากที่สวม แต่ต้องระวังเวลาโดนฝนโดนน้า มันจะจางก็ต้องทาใหม่ ทอี่ ุทยานทาน้ายากันทากไวเ้ หมอื นกนั ถามซอื้ ไดท้ ่ีรา้ นสวสั ดิการ คาถาม ๑. ทากมปี ระโยชน์และโทษอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๒. การเดนิ ปา่ ในฤดูฝนจะมีวิธปี อ้ งกันทากดูดเลือดไดอ้ ย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๓. จากบทความ ผ้เู ขียนต้องการช้เี ห็นประเด็นเร่ืองใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๔. จากบทความที่อา่ น ควรต้ังชอ่ื เร่ืองวา่ อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๕. เราจะพบทากอาศัยอยู่ในบริเวณใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๖. เราสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อยา่ งไรจงยกตวั อยา่ ง ............................................................................................................................. ....................................................... เฉลยคาตอบ ๑. มปี ระโยชน์เพราะสามารถนาสารในตวั ทากมาทายาป้องกนั เลือดแข็งตัว, มีโทษเพราะผู้ที่ถกู ทากดูดเลือดทาให้ เลือดไหลไม่หยุด ๒. สวมถุงผา้ ดบิ ทับถุงเท้าคลุมขากางเกง ทาเกลือ สบู่ หรือยาสระผมเคลือบถุงกันทาก ๓. ประโยชนข์ องทาก ๔. ประโยชน์ของทาก/วงจรชีวิตของทาก/จะป้องกนั ทากได้อยา่ งไร/ทากนา่ รังเกียจจริงหรือ/มารู้จักทากกันเถอะ (ชอ่ื ใดชื่อหนึ่ง) ๕. ในป่าทชี่ ื้นแฉะท่ีมีความชน่ื สงู บรเิ วณทม่ี ีสตั ว์ป่าชกุ ชุม ๖. อย่ใู นดุลยพินจิ ครู

218 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๔ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๓ พินจิ คณุ คา่ วรรณคดี เรอ่ื ง การอา่ นวิเคราะห์ วิจารณ์ การใช้ภาษาของสื่อสิง่ พิมพแ์ ละสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ การวิเคราะห์และวจิ ารณ์การใช้ภาษาของส่ือ ขน้ั นา ๑. ตวั อย่างการใชภ้ าษาจากส่ือส่งิ พิมพ์ สงิ่ พิมพแ์ ละส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ ๑. นักเรียนชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ ง ขอ้ ความ ที่นักเรียน ๒. ส่ือสง่ิ พมิ พ์และส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ช่ืนชอบ จากหนังสือพมิ พ์ นติ ยสาร หรอื จาก เฟซบุ๊ก ๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง การอ่านวเิ คราะห์ วิจารณ์ ด้านความรู้ ท่ีนักเรยี นเคยอ่าน การใช้ภาษาของส่ือสง่ิ พิมพแ์ ละสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ มีความรู้ความเขา้ ใจในการวิเคราะหเ์ ร่อื งที่อ่าน ๒. นกั เรียนกับครูสนทนาถึงขอ้ บกพร่องและข้อดี ๔. กระดาษรอ้ ยปอนด์ ความเป็นไปได้ ความสมเหตุสมผลของการลาดบั ความ ของการใชภ้ าษา ๕. แบบทดสอบ ดา้ นทกั ษะ / กระบวนการ ข้นั สอน ภาระงาน/ช้ินงาน คิด วิเคราะห์ วจิ ารณ์ เรื่องท่อี า่ นใน ชีวติ ประจาวัน ๑. นกั เรียนศึกษาการใช้ภาษาของสื่อส่ิงพิมพแ์ ละ ผังความคิดการประเมนิ การใช้ภาษาจากสอื่ สิ่งพิมพ์ ความเปน็ ไปได้ ความสมเหตุสมผลของการลาดับความ สื่ออิเลก็ ทรอนิกสจ์ ากใบความรู้ แล้วสรปุ ความรลู้ งใน ด้านคุณลักษณะ สมุดบันทกึ กิจกรรม ๑. รักความเป็นไทย ๒. นกั เรยี นจบั คูว่ ิเคราะห์และประเมินการใชภ้ าษา ๒. มีมารยาทในการอา่ น จากสือ่ สง่ิ พิมพ์และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ แล้วสรปุ เปน็ ๓. มวี ินัย แผนผงั ความคิดลงในกระดาษร้อยปอนด์ ๔.ม่งุ มั่นในการทางาน ข้นั สรปุ ๕. มจี ติ สาธารณะ ๑. นักเรียนร่วมกนั คดั เลือกผลงานของเพ่ือนแล้ว ๖. ซ่อื สัตย์สุจรติ นาเสนอ ตชิ ม แก้ไขข้อบกพร่อง นาผลงานตดิ ป้าย นิเทศหลงั ห้องเรียน ๒. นักเรียนทาแบบทดสอบ 220148

219 220159 การวัดผลประเมินผล การวัด เกณฑ์การตัดสนิ วธิ ีวดั เครื่องมือ รายการประเมิน ผ่านเกณฑ์การประเมิน แบบทดสอบ แบบทดสอบ ๒. ร้อยละ ๘๐ ดา้ นความรู้ ประเดน็ การวิเคราะห์วิจารณ์ แบบทดสอบ แบบทดสอบ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๒. รอ้ ยละ ๘๐ การใชภ้ าษาของส่อื สง่ิ พิมพ์และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ด้านทักษะ / กระบวนการ วิเคราะหว์ ิจารณ์ เร่อื งที่อา่ นใน ชีวิตประจาวันความเปน็ ไปได้ ความ สมเหตุสมผลของการลาดบั ความ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สังเกตคุณลักษณะ แบบประเมิน ระดับคุณภาพ ๒ ๑. รักความเปน็ ไทย อนั พึงประสงค์ คุณลักษณะอันพงึ ผ่านเกณฑ์ ๒. มีมารยาทในการอ่าน ๓. มีวนิ ัย ประสงค์ ๔.ม่งุ มัน่ ในการทางาน ๕. มีจิตสาธารณะ ๖. ซื่อสตั ย์สุจรติ

220 220260 ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอุปสรรค ........................................................................................................................................................ ............................ ...................................................................................................... .............................................. ................................ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ ครผู สู้ อน (.................................................................) วนั ที่............เดอื น............................พ.ศ........ ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ผูต้ รวจ (.................................................................) ตาแหน่ง...................................................... วันที่............เดือน.....................พ.ศ.............

221 220271 ใบความรู้เรอื่ ง การอ่านวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ การใช้ภาษาของสอื่ ส่ิงพิมพ์และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ หน่วยท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ สือ่ สง่ิ พมิ พ์ สื่อสิง่ พมิ พ์ หมายถึง ส่ือทเี่ ปน็ สงิ่ พิมพท์ กุ ประเภท ประเภทของสื่อสิ่งพมิ พ์ ๑. สง่ิ พิมพ์ประเภทหนังสือ ๒. สิง่ พิมพ์เพ่ือเผยแพรข่ ่าวสารไดแ้ ก่ ๒.๑ หนงั สอื พิมพ์ ๒.๒ นติ ยสาร ๒.๓ วารสาร ๒.๔ จลุ สาร ๒.๕ โบชัวร์ ๒.๖ ใบปลิว ๒.๗ แผน่ พบั ๒.๘ โปสเตอร์ ๓. สิง่ พมิ พ์เพ่ือบรรจุภัณฑ์ เชน่ กล่องหรือซองใสส่ นิ คา้ ๔. สิง่ พมิ พม์ ีค่า เช่น ธนบัตร พาสปอร์ต บตั รเครดติ ฯลฯ ๕. สิ่งพมิ พ์ลักษณะพิเศษ เชน่ บตั รอวยพร ปฏทิ นิ ฯลฯ ๖. สง่ิ พมิ พอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ วัสดทุ ่ีบันทึกสารสนเทศในรปู สัญญาณอเิ ลก็ ทรอนิกส์หรือดิจิตอล เวลาใชต้ อ้ งมี เคร่อื งแปลงสญั ญาณอิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นสญั ญาณภาพและเสียง ประเภทของสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ ๑. แผน่ ซีดี ๒. ซดี ีรอม ๓. แผน่ วีดที ศั น์ ๔. แผ่นดีวีดี

222 220282 ๕. บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน ๖. หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ การอา่ นสื่อสง่ิ พมิ พแ์ ละสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ การใชภ้ าษาของสื่อสิ่งพมิ พ์และส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ โดยเฉพาะภาษาหนงั สือพิมพแ์ ตกตา่ งจากภาษา มาตรฐาน มลี กั ษณะเฉพาะและเป็นภาษาในระดบั ท่ีไมเ่ ป็นแบบแผน ลกั ษณะการใช้ภาษาของหนงั สือพิมพ์ มีดงั น้ี ๑. ให้ถ้อยคางา่ ยๆ ภาษาปาก เพ่ือใหส้ ะดุดตา เชน่ ฝนถล่ม กรงุ เทพฯอว่ ม ๒. ไมเ่ ครง่ ครัดการสะกดคาและการใชล้ กั ษณนาม เชน่ ๒ นกั กีฬาไทยชนะงดงาม ๓. ใชค้ าคะนอง แสลง และอักษรยอ่ เช่น กสทช. ส่งั เยียวยา ๔. ใช้คาผดิ ความหมาย เชน่ สั่งนายตารวจออกตรวจ เพ่อื ปอ้ งกนั ความสงบ เรยี บรอ้ ย ๕. ใชค้ าฟุ่มเฟือย เช่น ถูกเผาทัง้ เป็นในเพลิง ๖. ใช้คาสานวนตา่ งประเทศ เช่น จับตา ‘ม.๔๔’ อุม้ ทวี ีดิจติ อล ๗. ใชค้ าโดยไม่คานงึ ถงึ ระบบไวยกรณ์ไทย เชน่ รบ.โชวแ์ ผน-โครงการยกั ษ์ ๘. ไมเ่ คร่งครดั แบบแผนของประโยค มกั ละประธาน คาขยาย เชน่ เรยี ก ๓ ค่ายเคลียร์ ๙. ใชส้ รรพนามลาดบั ญาติให้ฉายา เรียกชอื่ เลน่ ของบุคคลในขา่ ว เชน่ ลุงตู่, บก๊ิ ปอ้ ม ๑๐. ใช้เคร่ืองหมายแปลกๆ ประกอบการเขยี น ๑๑. ละคาเชือ่ มและส่วนขยายของประโยค เชน่ พายฝุ นถลม่ ทว่ มมติ รภาพ ๑๒. ละประธาน เชน่ สิ้นสุด ‘สงกรานต์’ ทยอยกลับ ๑๓. วางคาขยายผดิ ท่ี เชน่ ให้เกบ็ ขนมจากท้องตลาดทม่ี เี ชอ้ื รา ๑๔. ใช้ภาษากากวม เช่น นายสบิ ซอ้ มทหารเดนิ แถว

223 220293 ใบงาน เร่อื ง การอ่านวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ การใช้ภาษาของสอ่ื สง่ิ พมิ พ์และส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๔ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ คาช้แี จง ใหอ้ ่านเรอื่ ง “ลด…..อาหารขยะ” แล้ววเิ คราะห์วจิ ารณ์ตามหัวข้อท่ีกาหนด ลด…..อาหารขยะ

224 221204

225 221215 เขยี นผงั ความคิดวเิ คราะหว์ ิจารณ์การใชภ้ าษาของส่ือสิ่งพิมพ์ การใช้ถ้อยคา ประโยค ระดับของภาษา ลดอาหารขยะ ขอ้ คิด การนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน

226 221226 แบบทดสอบ เร่ือง การอา่ นวิเคราะห์ วิจารณ์ การใชภ้ าษาของสื่อสิง่ พมิ พแ์ ละส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๔ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ คาชแี้ จง ใหอ้ า่ นข่าวหนังสือพิมพ์ แล้วเขียนวิเคราะหว์ จิ ารณ์ ตามหัวขอ้ ที่กาหนดให้ (๑๐ คะแนน - ได้ ๖ ขึน้ ถือว่าผ่าน ข้อละ ๒ คะแนน ) (มตชิ น ๑๘ เมษายน ๒๕๖๑ : ๗)

227 221237 ๑. ผ้เู ขยี นขา่ วใชภ้ าษา ถ้อยคา และประโยค ลกั ษณะใด เหมาะสมหรือไม่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๒. จุดมุง่ หมายของผเู้ ขียนคืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๓. เน้ือหาโดยสรปุ ของขา่ วคืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๔. นกั เรยี นได้ประโยชนอ์ ะไรจากข่าวนี้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๕. นกั เรียนเห็นด้วยหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

228 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ พินจิ คณุ คา่ วรรณคดี เรื่อง การวิเคราะห์ วจิ ารณ์ เขยี นแสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ เก่ียวกบั เรื่องที่อ่าน เวลา ๑ ช่ัวโมง กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ขอบเขตเน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ เขียนแสดงความคดิ เหน็ ขั้นนา ๑. ใบความรู้การวิเคราะห์ วิจารณ์ เขยี นแสดง โตแ้ ยง้ เก่ียวกับเร่ืองท่ีอา่ นและเสนอความคิดใหม่อยา่ ง ๑. นกั เรียนแสดงความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ ความคดิ เหน็ โต้แย้งเก่ยี วกับเรอื่ งที่อ่าน มีเหตุผล “สงั คมวนุ่ วายเพราะผชู้ ายเป็นเหตุ” ๒. ใบงานการวิเคราะห์ วจิ ารณ์ เขียนแสดง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒. นักเรียนและครูรว่ มแสดงความคดิ เหน็ วา่ ความคดิ เห็นโตแ้ ย้งเก่ยี วกับเรือ่ งท่ีอา่ น ด้านความรู้ ลกั ษณะใดเป็นการโต้แยง้ ลักษณะใดเป็นการโตเ้ ถียง ๓. แบบทดสอบ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ เขียนแสดงความคดิ เห็นโต้แย้ง ขน้ั สอน ภาระงาน / ช้ินงาน เก่ยี วกบั เรอ่ื งทอี่ ่านและเสนอความคิดใหมอ่ ย่างมี ๑. นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ถึงวธิ ีการวิเคราะห์ หวั ข้อการนามาโตแ้ ยง้ เหตุผล วจิ ารณ์ และแสดงความคดิ เห็นโต้แย้ง ด้านทักษะ/กระบวนการ ๒. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม ๔ – ๕ แล้วฝึกเขยี นโต้แย้ง เขียนแสดงความคดิ เหน็ โตแ้ ย้ง เรอื่ งตา่ งๆใน ตามหวั ขอ้ ทก่ี าหนดแสดงความคดิ เห็นท่แี ตกตา่ งจาก ชวี ิตประจาวัน อกี ฝ่ายหนงึ่ โดยหาเหตุผล อ้างขอ้ มลู และหลกั ฐาน ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เพอื่ สนับสนนุ ความคิดตน ๑. มีมารยาทในการอา่ น ๓. นกั เรยี นทาใบงานการโต้แย้ง ๒. ซอ่ื สัตย์สุจรติ ข้นั สรุป ๓. มีวนิ ัย ๑. นกั เรยี นทาแบบทดสอบ ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๒. นกั เรียนและครูร่วมเฉลยแบบทดสอบและสรปุ ๕. มุ่งมน่ั การทางาน ถงึ หลักการเขยี นโตแ้ ยง้ ๓. นักเรยี นคิดหวั ข้อการโต้แย้งส่งคนละ ๒ หัวข้อ 221248

การวัดผลประเมนิ ผล 229 221259 รายการประเมิน การวัด วธิ วี ดั เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารตัดสิน ผ่านเกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรู้ ร้อยละ ๘๐ ๑. วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น แบบทดสอบ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ โต้แยง้ เกีย่ วกับเร่ืองท่ีอ่านและเสนอ ระดับคุณภาพ ๒ ความคดิ ใหม่อยา่ งมีเหตผุ ล ผ่านเกณฑ์ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ๑. คดิ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ โต้แย้ง การนาไปใช้ แบบทดสอบ แบบทดสอบ ในชวี ิตประจาวันได้ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. มีมารยาทในการอ่าน สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ ๒. ซื่อสัตย์สุจรติ คุณลักษณะ ๓. มีวินยั ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. มงุ่ ม่นั การทางาน

230 221360 ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................ ............................ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ ครผู สู้ อน (.................................................................) วันที่............เดอื น............................พ.ศ......... ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ผูต้ รวจ (.................................................................) ตาแหน่ง........................................................................ วนั ที่............เดือน............................พ.ศ..................

231 221371 ใบความรู้ เรือ่ ง การวิเคราะห์ วจิ ารณ์ เขยี นแสดงความคดิ เห็นโตแ้ ย้งเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอา่ น หนว่ ยที่ ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ จุดประสงค์ วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แยง้ เกีย่ วกับเรอ่ื งทีอ่ ่านและเสนอความคดิ ใหม่อย่างมีเหตุผล การอ่านสรุปความ การอา่ นสรุปความ คอื การอ่านแลว้ สามารถจับใจความสาคญั ในเรื่องท่ีอ่าน แล้วสรุปเป็นสาระสาคัญส้ันๆ และสามารถถา่ ยทอดใหผ้ ูอ้ ่ืนเขา้ ใจได้ การวิเคราะห์ การวเิ คราะห์ คอื การพจิ ารณาสิ่งใดสิง่ หนงึ่ ใหเ้ ขา้ ใจ โดยแยกแยะสิ่งน้ันออกเป็นส่วนๆ เพ่ือทาความเข้าใจ แตล่ ะสว่ นใหแ้ จ่มแจ้ง จุดหมายปลายทางของการวิเคราะหค์ ือเพ่อื ให้เกิดความเขา้ ใจ การวจิ ารณ์ การวจิ ารณ์ คอื การชี้ใหเ้ ห็นสว่ นดีและไมด่ ขี องส่ิงหน่งึ สง่ิ ใด แสดงเหตผุ ล และเสนอแนะการแก้ไขส่วนทไี่ มด่ ี การโตแ้ ย้ง การโต้แย้ง คือการแสดงทรรศนะท่ีแตกต่างกัน ระหว่างบุคคล ๒ ฝ่าย โดยแต่ละฝ่ายพยายามให้ข้อมูล สถติ ิ หลักฐานเหตผุ ล รวมทั้งการอ้างถึงทรรศนะของผรู้ ู้ เพอ่ื สนบั สนุนทรรศนะของตนเองและคัดค้านทรรศนะของ อีกฝ่ายหนึ่ง การโต้แยง้ ยุตลิ งได้ โดยการวินิจฉยั ของบุคคลทีโ่ ต้แย้งกันเอง ใครมเี หตุผลดกี ว่าทรรศนะน้ันก็เป็นท่ียอมรับ หรอื ผ้ทู ่ฟี ังการโตแ้ ยง้ เป็นผู้ตดั สนิ วินิจฉยั ก็ได้ เช่น ถ้าโต้แย้งในท่ีประชุม ทรรศนะใดเป็นท่ียอมรับก็จะกลายเป็นมติ ของท่ีประชุม การโตแ้ ยง้ มีได้ทกุ ระดับของสังคม เช่นบิดา มารดาโต้แย้งเร่ืองสถานท่ีเรียนของบุตร พรรคการเมืองต่างๆ โตแ้ ยง้ กัน โครงสรา้ งของการโตแ้ ย้ง ประกอบด้วยข้อสรุปและตัวเหตุผล กระบวนการในการโตแ้ ย้ง มี ๔ ข้อดงั น้ี ๑. การตงั้ ประเดน็ ในการโต้แยง้ ๒. การนยิ ามคาสาคญั ทอี่ ย่ใู นประเดน็ ของการโต้แย้ง ๓. การคน้ หาและเรียบเรยี งขอ้ สนบั สนุนทรรศนะของตน ๔. การชีใ้ ห้เห็นจุดอ่อนและความผิดพลาดของทรรศนะของฝา่ ยตรงขา้ ม

232 221382 ๑. การต้ังประเด็นในการโต้แย้ง ประเด็นในการโต้แย้ง คือจุดสาคัญต่างๆท่ีนามาเป็นข้อโต้แย้งกัน ต้องอยู่ใน ลกั ษณะที่เป็นรูปคาถาม การโตแ้ ย้งแบ่งออกเปน็ ๓ ประเภทคอื ๑. การโตแ้ ยง้ เกี่ยวกับข้อเสนอใหเ้ ปลีย่ นแปลงสภาพเดมิ ๒. การโต้แย้งเก่ียวกับขอ้ เทจ็ จริง ๓. การโตแ้ ยง้ เกี่ยวกับคุณคา่ ๒. การนยิ ามคาสาคัญทอี่ ยใู่ นประเด็นของการโตแ้ ย้ง การนิยามคาและกลุ่มคาสาคัญ ในประเด็นของการโต้แย้ง มีความสาคัญมาก มิฉะน้ัน การโต้แย้งอาจจะ ดาเนินไปคนละทศิ คนละทางกัน ๓. การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน ทรรศนะท่ีควรแก่การเชื่อถือจะต้องเป็นทรรศนะที่มีข้อสนับสนุนเพียงพอ ฉะนั้นผู้โต้แย้งจะต้องหาข้อมูล สถิติ และรายละเอยี ดตา่ งๆ ให้มากพอทจี่ ะให้อีกฝา่ ยหนึง่ เช่ือถอื ได้ ๔. การช้ใี หเ้ ห็นจดุ อ่อนของทรรศนะของฝ่ายตรงขา้ ม ผู้โต้แยง้ จะต้องช้ีให้เหน็ จุดเด่น ของทรรศนะตน และชี้ให้เหน็ จุดอ่อนของทรรศนะฝา่ ยตรงกันข้าม การวนิ จิ ฉยั เพอ่ื การตดั สินข้อโต้แยง้ ทาได้ ๒ แบบ ๑. พิจารณาเฉพาะเนื้อหาสาระ ที่แต่ละฝ่ายนามาโต้แย้งกัน ผู้วินิจฉัยจะไม่นาความรู้และประสบการณ์ ของตนเขา้ มาใชเ้ ลย เชน่ ตดั สินการโต้วาที การตัดสินของผูพ้ ิพากษาในคดตี ่างๆ ๒. วินิจฉัยโดยใชด้ ุลพินจิ ของตน เชน่ การตัดสนิ ใจเลือกพรรคการเมอื ง การตดั สินเพ่อื ลงมตใิ นทป่ี ระชุม ประโยชนข์ องการโต้แยง้ ทาให้เรามีโอกาสได้พิจารณา แง่มุมของเรื่องต่างๆ อย่างกว้างขวางรอบคอบข้ึนการโต้แย้งเป็น กระบวนการใช้ความคิดและวิจารณญาณท่ีอาศัยเหตุผล และหลักฐานเป็นสาคัญมีจุดมุ่งหมายที่จะเปล่ียนแปลง สภาพที่ไมพ่ งึ ประสงค์ ไปสูส่ ภาพท่ีพึงประสงค์ มารยาทในการโต้แย้ง ๑. ไม่ใชอ้ ารมณ์ คาว่าแพ้หรือชนะ ในการโต้แย้ง หมายถึงแพ้ชนะกันด้วยเหตุผล ผู้โต้แย้ง จึงต้องคอยคุม อารมณใ์ หส้ งบ วางจติ ใจให้เป็นกลาง มองดทู ่ีเหตผุ ลเป็นสาคัญ การโตแ้ ย้งใชเ้ หตผุ ล การโต้เถียงใช้อารมณ์ ๒. มีมารยาทในการใช้ภาษา โดยเฉพาะโต้แย้งกับผู้ท่ีมีอาวุโสกว่า หรือเป็นบุคคลที่ควรเคารพนับถือ เราต้องใชภ้ าษาดว้ ยความระมดั ระวงั ใหส้ ภุ าพ เพือ่ แสดงความออ่ นนอ้ ม ต่อบุคคลผู้นัน้ การโต้แย้งในท่ีสาธารณะ ไม่ว่าด้วยการเขียนหรือพูด ก็ตาม จาเป็นต้องระมัดระวังมารยาทของการใช้ ภาษาใหถ้ ูกต้อง เหมาะสมยิ่งข้นึ เป็นพิเศษ แม้ผโู้ ต้แย้งกันสนทิ สนมรใู้ จกนั ก็ตาม

233 221393 ใบงาน ๑ เรือ่ ง การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ เขยี นแสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ เกีย่ วกับเรื่องท่ีอ่าน หน่วยที่ ๓ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๕ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ นกั เรียนรว่ มกนั เขียนแสดงความคิดเห็นคลอ้ ยตาม และความคิดเห็นโต้แยง้ ลงตามคาถามในตาราง ในหัวข้อ “เรียนพิเศษเพ่ิมพูนปัญญากว่าเรยี นในระบบ” ความคิดเห็นคล้อยตาม ความคดิ เหน็ โตแ้ ย้ง ประเดน็ คือ................................................................... ประเด็นคือ................................................................... นิยามคาว่าเรียนพิเศษ.................................................... ขอ้ สนับสนนุ ................................................................... เรียนในระบบ.................................................... .......... ....................................................................................... ขอ้ สนบั สนุน................................................................... ..................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ..................................................................................... ...................................................................................... ....................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ขอ้ สรุป.......................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... ขอ้ สรุป.......................................................................... ................................................................................... .................................................................................... ................................................................................... สมาชิกกลุ่มที่ ......... ๑...................................................................... ๒....................................................................... ๓........................................................................ ๔........................................................................ ๕.........................................................................

234 222304 ใบงาน ๒ เรือ่ ง การวิเคราะห์ วิจารณ์ เขยี นแสดงความคิดเห็นโตแ้ ย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ นกั เรียนคิดเห็นอยา่ งไร กับข้อมลู ในภาพน้ี แล้วปฏบิ ัตติ ามใบงานทีก่ าหนดให้ อาชีพในฝันกับความเป็นจรงิ

235 222315 ๑. ให้นกั เรียนเลอื ก วงกลมล้อมรอบ ขอ้ ความที่กาหนดให้ เพยี ง ๑ ขอ้ ความ ความคดิ เหน็ คล้อยตาม ความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ ท้งั คล้อยตามและโต้แย้ง ๒. ใหน้ ักเรยี นเขียนอธบิ ายเหตุผล ที่สอดคลอ้ งความคดิ การเลอื กในข้อ ๑ ความคิดเห็นคล้อยตาม ความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ ช่อื ..........................................นามสกลุ ................................ช้นั ...............เลขท.ี่ ............

236 222326 แบบทดสอบ เรื่อง การวเิ คราะห์ วิจารณ์ เขยี นแสดงความคดิ เหน็ โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องทีอ่ า่ น หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขยี นวิเคราะหว์ จิ ารณแ์ ละแสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ “เดก็ ไทยใชเ้ ทคโนโลยีไม่ค้มุ ค่า” ตามหัวขอ้ ต่อไปน้ี ๑. นกั เรยี นนยิ ามคาวา่ เดก็ ไทย ....................................................................................................... เทคโนโลยี.................................................................................................... ๒. ประเด็นการโต้แย้งของนักเรียน.................................................................................................... ๓. ขอ้ สนับสนนุ ๑ ........................................................................................................................ เหตผุ ล...................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................... ขอ้ สนับสนุน ๒........................................................................................................................... เหตุผล............................................................................................................................. .......... ................................................................................................................................................ ๔. ขอ้ สรปุ ............................................................................................................................. ...... ............................................................................................................................. ...................... เฉลยใบงาน ๑ อยูใ่ นดลุ พนิ ิจครู เฉลยใบงานท่ี ๒ อยใู่ นดลุ พินิจครู เฉลยแบบทดสอบ ๑. เดก็ ไทยหมายถึง เยาวชนตงั้ แต่อายุ ........ ถึง......... เทคโนโลยี หมายถงึ คอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งมือสอื่ สาร อินเทอรเ์ น็ตทีน่ กั เรยี นเขา้ ไปในเว็บไซต์ ๒. เดก็ ไทยรู้จกั การใช้เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า ข้อ ๓ และ ข้อ ๔ อยู่ในดลุ พินจิ ครู

237 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ พนิ ติ คุณคา่ วรรณคดี แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เรอ่ื ง หลักการพูดโนม้ น้าวใจ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ ขอบเขตเน้ือหา ใบความรู้ เรือ่ งหลักการพูดโน้มนา้ วใจ การโนม้ นา้ วใจ คือ การใชค้ วามพยายามทจ่ี ะ กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นา ภาระงาน/ชนิ้ งาน เปลีย่ นความเชือ่ ทศั นคตคิ ่านิยมและการกระทา พูดโน้มน้าวใจ ของบุคคลอ่นื ด้วยกลวิธที ่เี หมาะสมให้มผี ลกระทบ นกั เรียนดตู วั อยา่ งข้อความโฆษณา เช่น “ถงุ เทา้ ตราแมว สวม ใจบุคคลนัน้ จนเกดิ การยอมรับและยอมเปล่ียน ใสแ่ ล้วไม่ตอ้ งซัก และผักสดปลอดสารพษิ เพือ่ ชีวติ ทีป่ ลอดภัย” ตามท่ีผูโ้ นม้ นา้ วใจต้องการ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ครูสนทนาเกยี่ วกับบทโฆษณาแลว้ โยงเข้าสู่บทเรียน ด้านความรู้ ขั้นสอน หลกั การพดู โน้มน้าวใจ ๑.นกั เรียน ศึกษาใบความรู้เรอ่ื งหลกั การพูดโนม้ นา้ วใจ ด้านทักษะ/กระบวนการ ๓. นกั เรยี นจบั คูร่ ว่ มกนั เขียนบทโฆษณา แลว้ ออกมาสาธิตหนา้ พูดโนม้ นา้ วใจ ด้านคณุ ลกั ษณะ ชนั้ เรยี น ๔. นกั เรยี นและครูร่วมกันอภิปรายความคิดทแ่ี ตล่ ะกลุ่มได้ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๒. มุ่งมน่ั ในการทางาน ออกมาสาธิตบทโฆษณา ๓. รกั ความเป็นไทย ข้ันสรุป นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ หลักการพดู โน้มนา้ วใจแล้วบนั ทึกลงสมุด 222337

การวดั และประเมนิ ผล วิธกี าร เคร่ืองมือทีใ่ ช้ 238 ส่ิงที่ต้องการวัด/ประเมนิ คาถาม 222348 ใชค้ าถาม แบบประเมนิ ด้านความรู้ เกณฑ์ อธบิ ายหลกั การพูดโนม้ น้าวได้ ปฏิบัติการพดู โนม้ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ด้านทกั ษะ/กระบวนการ นา้ ว ร้อยละ ๘๐ พดู โนม้ นา้ วใจได้ ผ่านเกณฑ์การประเมิน สงั เกตพฤตกิ รรม รอ้ ยละ ๘๐ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ระดับคุณภาพ ๒ ๒. มุ่งมั่นในการทางาน ผา่ นเกณฑ์ ๓. รกั ความเป็นไทย ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชอื่ ......................................ผ้สู อน (.......................................................) วนั ท่ี..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ......................................................................................................................................... .................................. ลงชื่อ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วันท่ี..........เดอื น..........พ.ศ............

239 222359 ใบความรู้ เรอื่ ง การพดู โนม้ นา้ วใจ หน่วยที่ ๓ พินจิ คณุ คา่ วรรณคดี แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๖ เรอื่ ง หลักการพูดโนม้ น้าวใจ รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์ พูดโนม้ น้าวใจได้ ความหมายของการพดู โนม้ นา้ วใจ การพูดโน้มน้าวใจ หมายถึง การพูดเชิญชวน เกล้ียกล่อม ชักจูงให้ผู้ฟังเกิด ความเชื่อถือ ศรัทธา มีความคิดเห็นคล้อยตาม และปฏิบัติตาม เช่น การพูดโฆษณา การพูดหาเสียง การพูดเชิญชวนให้ปฏิบัติตาม การพูดชักจูงให้เปลี่ยนแปลงทัศนคติ การพูดปลุกเร้าให้เกิดปฏิกิริยาต่างๆ ผู้พูดท่ีดีย่อมจะพูดโน้มน้าวใจให้ผู้ฟัง เปลยี่ นแปลงทัศนคติและความเชื่อไปในทาง ท่ีดีอันจะเป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคม โดยการใช้ความสามารถ ในการพูดชี้แนะให้ผู้ฟังเห็นส่ิงดีงาม ตระหนักถึงคุณค่าของส่ิงนั้น และช่วยกันรักษาสิ่งท่ีดีงามนั้นไว้ เช่น พูดเชิญ ชวนให้รักภาษาไทย ใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง พูดให้หันมานิยมรับประทานอาหารไทยแทนอาหารฟาสต์ฟูด ของต่างชาติ พดู แนะนาใหเ้ หน็ ความสาคญั ของการเกณฑ์ทหารเพ่ือรบั ใชช้ าติ การพูด โน้มน้าวใจให้ผู้ฟังเช่ือถือหรือกระทาตามนั้น ควรจะต้องเป็นไปโดยความสมัครใจหรือ ความยินยอมพร้อมใจของผู้ฟัง มิใช่การบีบบังคับหรือการใช้อุบายอย่างอื่น เช่น แจกเงินให้รางวัลหรือการข่มขู่ ท้ังน้ีเพราะความเช่ือท่ีถูกบังคับให้เช่ือหรือทาตามน้ัน เป็นความเช่ือท่ีอยู่ได้ไม่นาน ย่อมสลายหายไป เมื่อขาด แรงจูงใจ การพูดโน้มน้าวใจที่ดีและมีประสิทธิภาพ จึงไม่ควรบังคับ แต่จะต้องพูดให้ผู้ฟังตระหนักถึงความเป็นจริง แลว้ เกิดความเช่ือถอื ที่จะกระทาตามด้วยความสมัครใจ กลวิธีการโน้มนา้ วใจ ๑) แสดงให้เห็นความหนักแน่นของเหตุผลการแสดงเหตุผลเป็นส่วนหน่ึงในการจูงใจ ซึ่งสามารถดึงดูด ความสนใจ ทาให้เกดิ ความเชอ่ื ถือและคล้อยตามได้ การใหเ้ หตุผลจะต้องสมเหตุสมผล ๒) เรา้ ใหเ้ กิดความรู้สึกหรอื อารมณ์รว่ มกนั บุคคลทม่ี ีความรู้สกึ หรอื มีอารมณร์ ่วมกัน เปน็ แรงผลักดันสาคัญ ของมนษุ ยท์ ีจ่ ะนาไปสู่เป้าหมายหรอื ประสบผลสาเร็จร่วมกนั ๓) แสดงให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือของผู้โน้มน้าวใจบุคลิกภาพหรือชื่อเสียงของผู้พูดเป็นเคร่ืองมือหน่ึง ทีท่ าให้การโน้มน้าวใจสมั ฤทธิผล ๔) เสนอแนะเพอ่ื โนม้ นา้ วใจการโนม้ น้าวใจโดยการเสนอแนะเปน็ การเปิดโอกาสให้ผู้ฟัง ผู้อ่าน ใช้ความคิด กอ่ นท่จี ะเชอื่ ถือหรอื กระทาตาม

240 222460 ภาษาเพือ่ การโนม้ น้าวใจ ๑) ผู้โน้มน้าวใจควรใช้ภาษาท่ีมีน้าเสียงในเชิงเสนอแนะ ขอร้อง วิงวอน เร้าใจ โดยคานึงถึงจังหวะและ ความนมุ่ นวล ๒) ผู้พูด ต้องหาวิธีโน้มน้าวใจคนฟังให้เอนเอียงมาฝ่ายตน ให้ผู้ฟังเกิดศรัทธา ไม่ควรใช้คาพูดและน้าเสียง เด็ดขาด แข็งกระด้าง หรือกล่าวตรงไปตรงมาในเชิงตาหนิ ไม่ควรใช้น้าเสียงในลักษณะของคาส่ังหรือการแสดง อานาจซึง่ จะกระทบกระเทือนใจ ผู้รบั สาร ทาใหก้ ารโน้มน้าวใจไมบ่ รรลุผลตามตอ้ งการ มารยาทในการพูดโนม้ น้าวใจ ๑) ให้ความสนใจต่อผู้ฟังและเรอ่ื งท่เี กี่ยวกบั ผู้ฟังอยา่ งจรงิ ใจ ๒) สร้างความประทับใจให้แก่ผู้ฟงั ด้วยใบหน้าท่ยี ้ิมแยม้ แจ่มใส ๓) เปน็ นกั ฟังทีด่ ี ก่อนพูดเก็บข้อมูลเกย่ี วกบั ผู้ฟังให้มากท่สี ุด และนาข้อมูลที่ผู้ฟงั สนใจมาประกอบการพูด ๔) ทาใหผ้ ู้ฟงั รู้สึกวา่ เป็นคนสาคัญหรอื ชจี้ ดุ เด่นในตวั ผู้ฟงั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook