391 337971 เกณฑ์ประเมนิ การเขยี นแผนผังความคิด เร่ือง การวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบเรือ่ งสัน้ วถิ ีไทย คณุ คา่ และขอ้ คดิ ที่พบในเรอื่ งส้นั เร่อื ง ปลาทู รายการประเมนิ ดีมาก คาอธิบายระดบั คุณภาพ /ระดบั คะแนน ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ (๔) (๓) (๒) (๑) ๑. การระบุ ระบอุ งคป์ ระกอบเรอื่ ง ระบอุ งคป์ ระกอบ ระบอุ งคป์ ระกอบ ระบุองคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบเรื่องสั้น สน้ั จากเรอ่ื ง ปลาทู เรอ่ื งสนั้ จาก เรอื่ ง เรื่องสนั้ จากเรอ่ื ง เรื่องส้ันจากเรอื่ ง จากเร่ือง ปลาทู ได้ถูกต้อง ปเรล่ือางทปู ลาทู ปเรลอ่ื างทปู ลาทู ปเรล่อื างทปู ลาทู ได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ ง เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางส่วน เพยี งเลก็ น้อย ๒. การตคี วามและ ตคี วามและประเมิน ตคี วามและประเมิน ตีความและประเมิน ตคี วามและประเมนิ ประเมินคุณคา่ วถิ ีไทย คุณคา่ วิถีไทยที่ไดจ้ าก คณุ คา่ วถิ ีไทยที่ได้ คุณคา่ วิถีไทยท่ีได้ คณุ ค่า วิถีไทยท่ีได้ ทีไ่ ดจ้ ากเรื่องสนั้ เรื่อง เรอื่ งสั้น เร่ือง ปลาทู จากเร่ืองส้นั เรอ่ื ง จากเร่ืองสั้นเรือ่ ง จากเรอ่ื งสั้น เรื่อง ปลาทู ไเรดือ่้ถงูกตป้อลงาทู ได้ถูกต้อง ปเรล่อื างทปู ลาทู ปเรลื่อางทปู ลาทู ปเรล่ือางทปู ลาทู มีตัวอย่างชัดเจน ได้ถูกต้อง มีตวั อย่าง ได้ถูกต้อง มตี ัวอยา่ ง ได้ถูกตอ้ ง แต่ไม่มี ชัดเจนเป็นสว่ นใหญ่ ชัดเจนเปน็ บางสว่ น ตวั อยา่ งประกอบ ๓. การเสนอแนะ เสนอแนะแนวทางใน เสนอแนะแนวทางใน เสนอแนะแนวทางใน เสนอแนะแนวทางใน แนวทางในการนา การนาข้อคดิ จากเร่อื ง การนาข้อคดิ การนาข้อคดิ จาก การนาข้อคดิ จาก ขอ้ คิดจากเรื่องไปใช้ ไปใช้แก้ปัญหาในชวี ิต จากเรือ่ งไปใช้ เรอ่ื งไปใชแ้ ก้ปัญหา เร่อื งไปใชแ้ ก้ปัญหา แกป้ ัญหาในชวี ติ ไดอ้ ย่างมีคุณภาพ แกป้ ัญหาในชีวติ ในชีวติ ได้ ในชวี ติ ได้ ได้อย่างมคี ุณภาพ อยา่ งมีคณุ ภาพ แตไ่ ม่มีคุณภาพ เปน็ สว่ นใหญ่ เป็นบางสว่ น ๔. ความถกู ต้องใน วเิ คราะหเ์ นอ้ื หา มีขอ้ บกพร่องใน มขี อ้ บกพร่องใน มีขอ้ บกพร่องใน การเขียนกรอบ เรียบเรยี งจดั หมวดหมู่ การเขียนผังความคดิ การเขียนผงั ความคดิ การเขียนผงั ความคิด แนวคดิ เนื้อหา วางประเด็น ๑ รายการ ๒ รายการ ต้ังแต่ ๓ รายการ หลกั ไว้กลาง ข้ึนไป หนา้ กระดาษ เขยี นประเด็นรองไว้ ตามหวั ข้อ ๕. การใช้ภาษา ใช้ภาษาถูกต้อง ใชภ้ าษาถูกต้อง ใชภ้ าษาถูกต้อง ใช้ภาษาถูกต้อง แต่ สละสลวย ไม่สับสน สละสลวย ไมส่ บั สน สละสลวย ไมส่ บั สน ไม่สละสลวย สบั สน วกวน อา่ นเข้าใจง่าย วกวน อ่านเข้าใจง่าย วกวน อา่ นเข้าใจง่าย วกวน อ่านเขา้ ใจยาก เป็นส่วนใหญ่ เป็นบางส่วน
392 337982 เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ระดับคุณภาพ ชว่ งคะแนน ดมี าก ๑๗ – ๒๐ ดี ๑๓ – ๑๖ พอใช้ ๑๐ – ๑๒ ต่ากวา่ ๑๐ ควรปรับปรงุ
393 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๔ พัฒนาพาที แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑๑ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เรื่อง นาไปปรบั ใชใ้ นชีวิตจริง ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ๑. เรอ่ื งสั้นทีน่ ักเรียนสบื คน้ และสนใจ คนละ ๑ เรอื่ ง ขอบเขตเนือ้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ๒. ใบงานเรอ่ื ง การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบ การอธบิ ายการนาความร้ทู ี่ไดจ้ ากการอา่ น ข้ันนา ของเรื่องสั้น วถิ ไี ทย คุณคา่ และข้อคิดที่พบ เรอื่ งสน้ั ทีน่ ักเรียนสืบค้นและสนใจคนละ ๑ เร่ือง ๑. นกั เรยี นสนทนาแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ เก่ยี วกับเรอ่ื งสั้น ในเรอ่ื งสัน้ ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ท่นี ักเรียนเคยอา่ นว่ามีเรื่องอะไรบา้ ง พร้อมท้ังบอกแรงจงู ใจว่า ภาระงาน/ช้นิ งาน จุดประสงค์การเรียนรู้ ทาไมนักเรียนจึงสนใจอา่ นเรอ่ื งส้นั เรอ่ื งนัน้ การทาคลปิ พดู นาเสนอการวเิ คราะห์เร่ืองสนั้ ดา้ นความรู้ ขน้ั สอน ท่นี กั เรียนสบื คน้ และสนใจ ท้ังองค์ประกอบ อธิบายการนาความรทู้ ่ีไดจ้ ากการอา่ นเรอื่ งสนั้ ท่ี ๑. นกั เรียนร่วมกันอธิบายหลกั การอา่ นเร่ืองส้ัน โดยครชู ี้แนะ เรอื่ งสั้น วถิ ไี ทย คณุ ค่า และข้อคดิ ที่พบใน นกั เรยี นสบื คน้ และสนใจไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จริง และอธิบายเพมิ่ เติม เรอ่ื งส้ันภายใน ๕ นาที ด้านทักษะ/กระบวนการ ๒. นกั เรียนอา่ นเร่อื งส้ันทนี่ ักเรยี นสบื คน้ และสนใจ พดู นาเสนอผลงานการวิเคราะห์องค์ประกอบ ๓. นกั เรียนวเิ คราะห์เรือ่ งส้ันท่ีนกั เรียนได้สืบค้นและสนใจเปน็ เร่ืองส้ัน วิถไี ทย คณุ ค่า และข้อคิดท่ีพบในเร่ืองส้ันที่ รายบุคคล ทงั้ เร่ืององค์ประกอบของเร่ืองสั้น วิถีไทย คุณค่าและ นกั เรยี นสบื คน้ และสนใจ ขอ้ คิดทพ่ี บในเรอ่ื งสัน้ ดา้ นคุณลกั ษณะ ๔. นักเรยี นทาคลิปพดู นาเสนอการวิเคราะห์เรื่องสนั้ ท่ีนักเรยี น ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ สบื คน้ และสนใจ ทัง้ องค์ประกอบเรอื่ งสน้ั วถิ ีไทย คุณคา่ และ ๒. มมี ารยาทในการอา่ น ข้อคิดทพี่ บในเร่อื งส้นั ภายใน ๕ นาที พร้อมส่งคลิปให้ครูทางอีเมล ๓. มีมารยาทในการพดู ขน้ั สรปุ ๔. ความรบั ผดิ ชอบ ๑. นักเรยี นร่วมกันสรปุ องค์ประกอบการอา่ นเรื่องสั้น วถิ ไี ทย คณุ คา่ และข้อคิดจากการอ่านเรอื่ งสน้ั โดยครชู ีแ้ นะเพมิ่ เติม ๒. นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคาถามท้าทายว่า หากนักเรียน จะแนะนาเรือ่ งส้ันให้เพ่ือนของนักเรยี นอา่ น นักเรียนจะแนะนา เรือ่ งสัน้ เร่อื งอะไร เพราะเหตุใด 337993
394 338904 การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการ เครือ่ งมือที่ใช้ เกณฑ์ สงิ่ ทตี่ ้องการวดั /ประเมนิ ดา้ นความรู้ อธบิ ายการนาความรู้ท่ีได้ ซักถาม ขอ้ คาถาม ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ จากการอ่านเรอื่ งสน้ั ทน่ี กั เรียน สืบค้นและสนใจไปประยุกต์ใช้ ในชวี ติ จริง ด้านทักษะและกระบวนการ พูดนาเสนอผลงาน ทาคลิปพดู นาเสนอ แบบประเมินการพูด ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ การวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลงานองคป์ ระกอบ เรอื่ งสน้ั วถิ ไี ทย คณุ ค่า และ เรื่องส้นั วิถีไทย คุณค่า ขอ้ คิดทพ่ี บในเรอื่ งสั้นท่ี และข้อคดิ ท่ีพบในเรือ่ ง นกั เรียนสืบคน้ และสนใจ ส้นั ทนี่ ักเรียนสืบคน้ และ สนใจ ด้านคุณลกั ษณะ ๑. ใฝ่เรียนรู้ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ ๒. มีมารยาทในการอ่าน ผ่านเกณฑ์ ๓. มีมารยาทในการพูด ๔. ความรบั ผดิ ชอบ ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่ือ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่.ี .........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริหารหรอื ผู้ท่ีได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่ือ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วนั ท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ.............
395 338915 ใบงานเร่อื ง การวเิ คราะห์องค์ประกอบของเร่ืองสน้ั วิถไี ทย คุณคา่ และขอ้ คดิ ทพี่ บในเรื่องสน้ั หน่วยที่ ๔ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๑๑ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ คาชีแ้ จง ให้นักเรียนอ่านเร่ืองสั้นที่นักเรยี นสืบคน้ และสนใจ ๑ เรือ่ ง จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มร่วมกนั วิเคราะห์ องคป์ ระกอบของเรื่องสนั้ วิถไี ทย คณุ คา่ และข้อคิดท่ีพบ แนวการวิเคราะห์เรอ่ื งส้นั ๒. แนวคดิ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. โครงเรอื่ งและเน้ือเร่ือง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๑ การเปดิ เรอ่ื ง………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒.๒ การดาเนินเรอื่ ง………………………………………………………………………………………………………………………. ๒.๓ การปิดเรอื่ ง…………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ตัวละคร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. บทสนทนา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ฉากและบรรยากาศ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. กลวิธกี ารเขียน/สานวนภาษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. วถิ ชี วี ิตท่พี บในเรอ่ื งส้นั ท่นี ักเรียนสืบค้นและสนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. คุณคา่ ข้อคดิ ท่ีนาไปประยุกตใ์ ช้ (ดา้ นวรรณคดี/เนือ้ หา/สังคม/การนาไปใช้) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
396 338926 เกณฑ์การให้คะแนนการพูดนาเสนอการวิเคราะห์เรือ่ งส้ันท่ีนักเรยี นสบื ค้นและสนใจ ทั้งองคป์ ระกอบเรอื่ งสัน้ วิถีไทย คุณค่า และข้อคิดท่ีพบในเรอ่ื งส้ัน ประเดน็ การประเมนิ ๓ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑ ๒ มกี ารลาดบั ความคิดในการ มกี ารลาดบั ความคดิ ใน ไมม่ ีระบบการลาดบั พูดนาเสนอทีเ่ ป็นระบบ การพดู นาเสนอทเี่ ปน็ ความคิดในการพูด เปน็ ไปตามขนั้ ตอนราบรนื่ ระบบไมม่ าก ไม่ค่อย นาเสนอ การพูดไม่เปน็ ไป ๑. การลาดับความคดิ ตลอดเร่ือง เป็นไปตามข้ันตอน สับสน ตามขั้นตอน สบั สนมาก เล็กนอ้ ย (น้อยกว่าร้อยละ (มากกว่าร้อยละ ๕๐ ๕๐ ของเนอื้ หา) ของเนื้อหา) ออกเสียงถูกต้องชดั เจน ออกเสียงถูกต้องชัดเจน ออกเสยี งถูกต้องชดั เจน ตามอักขรวิธี มนี ้าเสยี ง และมนี ้าเสยี งหนักเบา และมนี ้าเสียงหนักเบา ๒.การออกเสยี ง / การใช้ หนักเบาเหมาะสมกับ เหมาะสมกับเนอื้ หาทพ่ี ูด เหมาะสมกบั เนื้อหาท่ีพูด นา้ เสยี ง เนอ้ื หาที่พูด ตลอดการพูด เป็นส่วนใหญ่ (มากกวา่ เปน็ สว่ นน้อย (น้อยกว่า รอ้ ยละ ๕๐ ของเนอ้ื หา) ร้อยละ ๕๐ ของเนื้อหา) เนือ้ หาที่พูดมีความถูกตอ้ ง เนอื้ หาท่ีพดู มีความถูกต้อง เนอื้ หาที่พูดมีความถูกต้อง เหมาะสมนา่ เช่ือถือ และ เหมาะสมน่าเชื่อถือ และ เหมาะสมน่าเชื่อถือ และ ๓. ความถกู ต้อง เป็นไปได้ ตลอดเร่ือง เป็นไปได้ มากกว่า เป็นไปได้ น้อยกวา่ เหมาะสมของเน้ือหา ร้อยละ ๕๐ ร้อยละ ๕๐ ๔. บุคลกิ ลักษณะ/ มีบคุ ลกิ ภาพท่ีสุภาพ มีบุคลิกภาพท่สี ุภาพ มีบคุ ลิกภาพทส่ี ภุ าพ มารยาทการพดู เหมาะสมกบั เนือ้ หาทพี่ ูด เหมาะสมกบั เนือ้ หาทพี่ ูด เหมาะสมกบั เนอ้ื หาทพ่ี ูด ๕. การรักษาเวลา มมี ารยาทในการพดู มมี ารยาทในการพูด มมี ารยาทในการพูดนอ้ ย ตลอดเวลาการพูด มากกวา่ ร้อยละ ๕๐ ของ กวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ของเวลา ใช้เวลาการพูดตามท่ี เวลาการพูด การพดู กาหนด ใช้เวลาการพูดมากกวา่ ใชเ้ วลาการพูดมากกว่า และหรอื น้อยกวา่ เวลาที่ และหรือน้อยกวา่ เวลาท่ี กาหนด (บวกลบ ๕ นาท)ี กาหนด (บวกลบ ๑๐ นาที) เกณฑ์การประเมิน ดี ระดับคณุ ภาพ ๓ หมายถึง พอใช้ ๙ – ๑๒ คะแนน = ดี ๒ หมายถึง ปรับปรุง ๕ – ๘ คะแนน = พอใช้ ๑ หมายถึง ๑– ๔ คะแนน = ปรับปรุง
397 338937 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ บทกวีทชี่ น่ื ชอบ รหสั วิชา ท๒๓๑๐๑ รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ เวลา ๑๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….. ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมนี สิ ยั รักการอา่ น ม.๓/๓ ระบใุ จความสาคญั และรายละเอียดของขอ้ มลู ทส่ี นบั สนนุ จากเรอื่ งที่อ่าน ม.๓/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรอ่ื งที่อ่านโดยใช้กลวิธกี ารเปรียบเทียบเพ่ือใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจ ได้ดีขนึ้ ม.๓/๗ วจิ ารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดบั ความ และความเปน็ ไปไดข้ องเรอ่ื ง ม.๓/๙ ตีความและประเมินคุณค่าและแนวคิดที่ได้จากกงานเขียนอย่างหลากหลายเพ่ือนาไปใช้ แก้ปญั หาในชวี ิต มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศ และรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ม.๓/๗ เขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เห็น หรอื โต้แย้งในเรอื่ งตา่ งๆ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกใน โอกาสตา่ งๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ ม.๓/๕ พดู โนม้ นา้ วโดยนาเสนอหลกั ฐานตามลาดับเนื้อหาอย่างมเี หตผุ ลและน่าเช่อื ถือ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ ม.๓/๖ การแตง่ บทร้อยกรอง มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง ม.๓/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถ่นิ ในระดับทยี่ ากยงิ่ ขนึ้ ม.๓/๔ ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม ความสนใจและนาไปใชอ้ ้างอิง ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ๑.วรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง ผลงานที่เกิดข้ึนจากการใช้ภาษาโดยการพูดและการเขียนของกลุ่มชน ในแต่ละท้องถ่ิน ซึ่งในแต่ละท้องถ่ินก็จะใช้ภาษาพื้นบ้านในการถ่ายทอดเป็นเอกลักษณ์ วรรณกรรมที่ส่ือเร่ืองราว ด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหน่ึงโดยเฉพาะ เช่น จารีตประเพณี ชีวิตความเป็นอยู่ สภาพเศรษฐกิจและสังคม ทัศนคติ ค่านิยม ตลอดจนความเชื่อต่าง ๆ ของบรรพบุรุษ อันเป็นพื้นฐานของความคิดและพฤติกรรมของคน ในปัจจบุ นั
398 338948 ๒. การอ่านจับใจความ เป็นการสรุปความจากเรื่องท่ีอ่าน หลักสาคัญในการอ่าน คือ จับใจความสาคัญ ให้ได้ว่าในเรื่องน้ันมีใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไหร่ และการกระทานั้นๆเกิดผลอย่างไรบ้าง นอกจากนี้ยังม� ี ขอ้ คดิ อะไรจากเรื่องบา้ ง ๓. การว�ิจารณ์เ�ร่ืองท่ีอ่�าน จาเป็นต้องวิ�เคราะห์เ�ร�่ืองที่อ่�านว่ามีความสมเหตุสมผล การลาดับความ และความเป็นไปไดข้ องเรอ่ื งหรือไม่ ๔. การแสดงความคิดเห็นโ�ต้แย�้งเป็นการเ�ขียนแสดงความคิดเห็นลักษณะหนึ�่ง โดยมุ่�งท่ีจะโต้แย้�ง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตลอดจนโต้แย้งความคิดเห็นของผู้อ�่ืนด้วยความคิดเห็นในทาง สร้างสรรค์ ด้วย เหตุผล ข้อมูลสถิติและการอ้างความคิดเห็นของผู้รู้มาสนับสนุนความคิดเ�ห็นของตนเพ่ือคัดค้านความคิดขอ�ง อีกฝ่ายหนงึ่ ๕. การสรปุ เรือ่ ง เปน็ การเขยี นสรปุ ใจความสาคัญของเรือ่ งแล้วนามาเขยี นใหมโ่ ดยใชส้ านวนของตนเอง ๓. สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ ๑. วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ๑.๑ ความหมายของวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ๑.๒ ลกั ษณะของวรรณกรรมทอ้ งถิ่น ๑.๓ ประเภทของวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ๑.๔ คณุ ค่าของวรรณกรรมท้องถนิ่ ๒. การวิเคราะห์วจิ ารณแ์ ละประเมินเร่อื งที่อา่ น ๓. หลกั การอ่านตีความและประเมนิ คณุ คา่ จากเรอ่ื ง ๔. หลกั การเขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือโตแ้ ย้งในเรอ่ื งต่างๆ ๕. หลกั การแตง่ โคลงสี่สภุ าพ ทักษะ/กระบวนการ ๑. จบั ใจความสาคัญจากเรือ่ งทีอ่ ่านได้ถกู ตอ้ ง ๒. วิเคราะหว์ จิ ารณแ์ ละประเมนิ เรอื่ งที่อา่ นได้ถกู ต้อง ๓. วิจารณ์ความสมเหตุสมผลตามลาดบั ความและความเปน็ ไปได้ของเร่อื งอย่างถกู ต้อง ๔. สรุปความรู้และขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากเรื่องท่อี ่านไปประยุกต์ใชไ้ ด้ถูกต้อง ๕. บอกหลักการอา่ นตคี วามและประเมินคณุ ค่า ๖. ตคี วามและประเมินคุณค่างานเขียน ๗. บอกหลกั การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เห็นหรือโต้แย้งในเรือ่ งต่างๆ ๘. เขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรอื โตแ้ ยง้ ในเร่ืองต่างๆ ๙. บอกหลักการแต่งโคลงส่สี ุภาพ ๑๐. แต่งโคลงส่ีสภุ าพไดถ้ กู ตอ้ งตามฉนั ทลักษณแ์ ละมีความคิดสร้างสรรค์ เจตคติ ๑. มมี ารยาทในการอ่าน ๒. มีมารยาทในการเขียน
399 338959 ๓. มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู ๔. เห็นคุณค่าในบทอาขยาน ๔. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๕. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. มวี นิ ัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๔. รกั ความเป็นไทย ๖. การประเมนิ ผลรวบยอด ชนื้ งานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับการประเมิน ภาระงาน ๔๓ ๒ ๑ - สรุปเนอ้ื เรอ่ื งได้ - สรุปเนอื้ เรือ่ งได้ - สรปุ เนื้อเรื่องได้ - สรปุ เน้ือเรอ่ื งได้ ถกู ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน แต่บกพรอ่ งใน - วิเคราะห์ แต่บกพร่องใน องค์ประกอบอ่ืน ใบงาน องค์ประกอบของ องคป์ ระกอบอน่ื ๒ องค์ประกอบ เรอ่ื งได้อยา่ งถกู ต้อง ๑ องค์ประกอบ ครบถ้วน - นาเสนอไดอ้ ย่าง น่าสนใจ - มีความคดิ สร้างสรรค์ในการ นาเสนอ
400 348060 เกณฑ์การประเมินชน้ิ งาน ระดับการประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑ ภาระงาน - วิจารณ์เร่อื งทอี่ ่าน - วจิ ารณ์เร่อื งท่ีอ่านได้ - วิจารณ์เร่อื งทอี่ ่านได้ - วจิ ารณ์เรื่องที่ ไดค้ รบถ้วนตาม ครบถว้ นตามหัวข้อที่ ครบถว้ นตามหัวข้อที่ อา่ นได้ การวิจารณ์เรอ่ื งตาม หวั ขอ้ ท่ศี ึกษา ศึกษาแต่บกพร่องใน ศึกษา แต่บกพรอ่ งใน ความสมเหตุสมผล - เขยี นแสดงความรู้ องค์ประกอบอน่ื ๑ องคป์ ระกอบอืน่ และการลาดับความ ความคดิ เหน็ ได้ ๑องอคง์ปคร์ปะรกะอกบอบ ๒ องคป์ ระกอบ อย่างถูกต้อง เหมาะสม - มกี ารใหเ้ หตผุ ล หรอื ยกตัวอย่าง ประกอบการ วจิ ารณ์ได้ สมเหตสุ มผล - ใช้ภาษาถูกต้อง เหมาะสม สือ่ ความ ได้ชดั เจน
401 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๕ เรื่อง บทกวีทีช่ ื่นชอบ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่ือง การอา่ นจับใจความจากวรรณกรรมท้องถิน่ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ขอบเขตเน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ การอา่ นจบั ใจความ เป็นการสรุปความจากเรื่อง ข้ันนา ๑. ใบความรู้วรรณกรรมท้องถ่นิ เรอ่ื ง วังตาเพชร ทอี่ ่าน หลักสาคัญในการอา่ น คอื จับใจความสาคญั ๑. นกั เรยี นฟงั วรรณกรรมท้องถิ่นเรอื่ ง วังตาเพชรแแลล้วว้ รรว่ ว่ มมกกันนั ตตออบบคคาำ� ถาม ๒. ใบงานเร่อื ง วรรณกรรมท้องถนิ่ เร่ืองไกรทอง ใหไ้ ดว้ า่ ในเรื่องนัน้ มใี คร ทาอะไร ที่ไหน อยา่ งไร เน้อื หาของเรื่องว่าเป็นเร่ืองอะไร ใหแ้ ง่คิดอะไร นกั เรียนเคยฟังเร่ืองลกั ษณะนี้ ๓. ใบงานเรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่นเร่ืองบางแมห่ มา้ ย เมอ่ื ไหร่ และการกระทานนั้ ๆเกดิ ผลอยา่ งไรบ้าง จากท่ีใด ๔. ใบงานเรอื่ ง วรรณกรรมท้องถิ่นเร่ืองสองพี่น้อง นอกจากน้ยี ังมีขอ้ คดิ อะไรจากเร่ืองบา้ ง ขน้ั สอน ๕. ใบงานเรื่อง วรรณกรรมท้องถิ่นเรื่องวัดพนังเชิง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑ นักเรยี นศึกษาความหมายของวรรณกรรมท้องถ่ิน ๖. ใบงานเรื่อง วรรณกรรมท้องถน่ิ เร่ือง เขานมนาง ดา้ นความรู้ ๓. นักเรยี นแบง่ กลุม่ ๕ กลุม่ แล้วสง่ ตวั แทนจับสลากเนอ้ื เรื่องวรรณกรรม ๗. แบบทดสอบเรื่อง วรรณกรรมท้องถิน่ เรอ่ื งตานาน หลักการอา่ นจบั ใจความสาคัญวรรณกรรม ทอ้ งถน่ิ จานวน ๕ เรือ่ ง ดังน้ี ตะขาบกับเกาะช้าง ท้องถนิ่ เรือ่ งที่ ๑ ไกรทอง เรือ่ งท่ี ๒ บางแมห่ ม้าย ภาระงาน/ชน้ิ งาน ดา้ นทักษะและกระบวนการ เร่อื งท่ี ๓ สองพีน่ อ้ ง เร่อื งท่ี ๔ วดั พนังเชงิ เรือ่ งที่ ๕ เขานมนาง จับใจความสาคัญจากเรื่องท่ีอ่านได้ถูกต้อง และนกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันอ่านและจับใจความเนื้อเรื่องทตี่ นเองอา่ นตาม ด้านคณุ ลักษณะ ใบงานที่ไดร้ ับ ๑. ม่งุ ม่นั ในการทางาน ๔. ส่งตัวแทนออกมานาเสนอเนอ้ื เรื่องหน้าชน้ั เรยี น ๒. รักความเปน็ ไทย ขขั้นสรุป ๑. นกั เรียนทาแบบทดสอบเรอ่ื ง วรรณกรรมทอ้ งถ่ินเรอ่ื ง ตานานตะขาบกบั เกาะชา้ ง 3๓48๘07๗1
402 348082 การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เคร่อื งมือท่ใี ช้ เกณฑ์ สิง่ ทต่ี ้องการวัด/ประเมนิ ใชค้ าถาม คาถาม ผา่ นเกณฑ์เฉล่ยี ๘๐ % ด้านความรู้ ทดสอบ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์เฉล่ยี ๘๐ % ๑. ใจความสาคญั จากเร่ืองท่ี แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ ๒ อา่ น ตรวจแบบประเมิน คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ จับใจความสาคญั จากเรอ่ื งท่ี อา่ นได้ถกู ต้อง ดา้ นคณุ ลักษณะ ๑. ม่งุ มั่นในการทางาน ๒. รกั ความเปน็ ไทย ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................................. ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................... ................ ลงชอ่ื ......................................ผ้สู อน (.......................................................) วันท.่ี .........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วันท.่ี .........เดือน..........พ.ศ.............
403 348093 ใบความรู้เรอ่ื ง วรรณกรรมท้องถิ่นเร่ือง วงั ตาเพชร หน่วยที่ ๕ บทกวีทช่ี ื่นชอบ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง การอ่านจับใจความจากวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ เรอื่ ง วงั ตาเพชร นานมาแล้วมีชายแก่อยู่คนหน่ึงนามว่า ตาเพชร เป็นผู้ท่ีร่าเรียนวิชาเวทมนต์คาถา ตาเพชรอาศัย อยู่กับเมีย ท่ีบ้านคอวัง บางปลาม้า อยู่ด้วยกันสองตายาย วันหน่ึงตาเพชรจะพาเมียไปทาบุญ แกเองไม่มีเรือ แต่มีคาถาแปลงร่างเป็นจระเข้ แกจึงร่ายมนตแ์ ปลงร่างเป็นจระเข้ตังใหญ่มหึมา แล้วให้เมียเดนิ ทางข้ามไปฝาก โน้น เพื่อจะไปทาบุญท่ีวัด โดยทาพิธีเสกน้ามนต์ไว้ขันหนึ่ง บอกเมียแกว่า ระหว่างเดินข้ามไปให้ถือขันน้ามนต์ ไปด้วย และเม่อื ขา้ มถงึ อกี ยังฝากหน่งึ แลว้ ให้เอานา้ มนตร์ ดที่หัวจระเข้ แล้วตัวเองกจ็ ะกลบั กลายเป็นคนดังเดิม แต่คร้ันเมื่อเมียตาเพชรเดินมาถึงกลางแม่น้า ขันน้ามนต์เกิดหกลงเสียกลางแม่น้านั้น ตาเพชรก็เลยไม่สามารถ กลับกลายเป็นคนได้เช่นเดิม ต้องเป็นจระเข้ใหญ่วนเวียนอยู่ในบึงแห่งนั้นจนส้ินอายุไข ชาวบ้านจึงขนานนามว่า บึงตาเพชร จนถึงปัจจุบัน http://www.suphan.biz/wangtapet.htm ความหมายของวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ วรรณกรรมท้องถ่ิน หมายถึง วรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลกั ษณ์อักษรท่ีถ่ายทอดในกลมุ่ ชนหน่ึงกลุ่มชนใดในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหน่ึงมาเป็นเวลานาน ผู้เล่าหรือผู้เขียนเป็นคนในท้องถิ่นถ่ายทอดให้แก่ คนในทอ้ งถ่นิ เดียวกบั ตนโดยการบอกเล่าหรือเขียนบันทึกไวไว้ ้
404 349004 ใบงาน เรือ่ งวรรณกรรมท้องถิน่ เรื่องไกรทอง หน่วยที่ ๕ บทกวีที่ช่ืนชอบ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่องการอ่านจับใจความจากวรรณกรรมทอ้ งถิน่ รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ จุดประสงค์ จับใจความสาคัญจากเรอื่ งทอ่ี ่านได้ถกู ต้อง คาชแี้ จง นักเรียนอา่ นวรรณกรรมท้องถ่ิน เร่ือง ไกรทอง แล้วตอบคาถาม ไกรทอง(จ.พิจิตร) ชาละวันเป็นจระเข้เจา้ อาศัยอยู่ในถ้าทองใต้บาดาล ในถ้าทองจระเข้ จะกลายร่างเป็นคนได้ ชาละวนั ตอนกลายร่างเป็นคนจะเป็นหนุ่มรูปงาม โดยชาละวันเองมีเมียสาวสวยเป็นนางจระเข้ ๒ ตัวคือ วิมาลา และเล่ือมลายวรรณ ชาละวันเป็นหลานชายของ ท้าวราไพ ผู้เป็นจระเข้เจ้าที่อยู่ในศีลธรรม ไม่เคยจับสัตว์ หรือมนุษย์กินเป็นอาหารและจะกินแต่ซากสัตว์ท่ีตายแล้วเป็นอาหารเท่านั้น ชาละวันแม้อยู่ในถ้าทอง จะอิม่ ทิพยไ์ มต่ ้องกนิ เนื้อ แต่ดว้ ยความมีนิสัยทีเ่ ปน็ อันธพาล จงึ ชอบมาเมืองบนตามแม่น้าลาคลอง จับคนที่เป็น ชาวบา้ นและสัตวก์ นิ เพือ่ ความสนกุ สนาน ณณหหมมบู่ ู่บา้ ้านนดดงงเศเศรรษษฐฐี แี ขแวขงวเงมเือมงือพงิจพติ ิจริตมรพี ม่ีนีพอ้ ี่นงฝ้อางแฝฝาแดฝคหู่ดคนู่หงึ นม่ึงคี วมาีคมวงามงเปา็นมทเปเี่ ล็นอ่ื ทงี่เลลือื่องชลื่อือนาชง่ือตนะเาภงาตแะกเภว้ า ผแู้พกี่้วแผลู้พะี่นแาลงะตนะาเงภตาะทเอภงาผทู้นอง้อผงู้นท้อ้ังสทอั้งงสเปอง็นเปบุ็นตบรเุตศรรเษศรฐษีด�ฐำีคแาลแะลคะุณคนุณานยาทยอทงอมงามาวันวหันนหึ่งนน่ึงนางาตงตะะเภเภาาแแกก้ว้ว และนางตะเภาทองได้ลงไปเล่นน้าที่ท่าหน้าบ้าน ช่วงเวลานั้นเจ้าชาละวัน ซึ่งเป็นจระเข้ได้ออกมาว่ายน้า หาเหย่ือ เมื่อได้เห็นนางตะเภาทอง ก็ลุ่มหลงในความงาม จึงโผล่ข้ึนเหนือน้าเข้าไปคาบนางตะเภาทองแล้ว ดาด่ิงไปยงั ถา้ ทอง อันเป็นท่อี ยขู่ องเจ้าชาละวัน เมยี ของชาละวัน คอื วมิ าลา และเลื่อมลายวรรณ เห็นก็ไม่พอใจแต่กห็ ้ามสามีไม่ได้ เพราะเกรงกลัวจึง ต้องยอมใหผ้ ัวมีเมยี เปน็ มนุษย์อีกคน เมือ่ นางตะเภาทองฟ้ืนข้ึนมาเจ้าชาละวันกเ็ ก้ียวพาราสี แต่นางตะเภาทอง ก็ไม่สนใจ เจ้าชาละวันจึงจาต้องใช้เวทมนตร์สะกดให้นางตะเภาทองหลงรัก และยอมเป็นภรรยาตั้งแต่นั้นมา เศรษฐีคาและคุณนายทองมาโศกเศร้าเสียใจเป็นอย่างมาก ท่ีนางตะเภาทองบุตรสาวคนเล็กถูก เจา้ ชาละวนั คาบไป และคดิ ว่าบุตรสาวตนคงตายไปแลว้ ด้วยความรักในบุตรสาวและความแค้นในเจ้าชาละวัน จึงประกาศออกไปว่าใครที่พบศพนางตะเภาทอง และสามารถปราบจระเข้ตัวนี้ได้จะมอบสมบัติของตนเอง ให้คร่งึ หนึ่ง และจะใหแ้ ตง่ งานกับนางตะเภาแกว้ ดว้ ย แต่ก็ไม่มีหมอจระเข้คนไหนสามารถปราบเจ้าชาละวันได้ นอกจากกลายเป็นเหยื่อของเจ้าชาละวัน คนแลว้ คนเลา่ จนในทีส่ ุดกม็ ีชายหนุ่มรปู งามนามว่า ไกรทอง ซ่ึงได้รา่ เรียนวิชาการปราบจระเข้จากอาจารย์คง จนมีความเก่งกล้า ได้อาสามาปราบเจ้าชาละวัน แต่อาจารย์คงรู้ว่าเจ้าชาละวันเป็นพญาจระเข้มีอานาจมาก และหนังเหนี่ยว ฆ่าฟันไม่ตาย เน่ืองจากมีเขี้ยวเพชรทาให้อยู่ยงคงกระพัน จึงได้มอบหอกสัตตโลหะ, เทยี นระเบดิ น้า เส้ือยันต์และลกู ประคาปลุกเสก แก่ไกรทอง รุ่งเช้าตั้งพิธีบวงสรวงพร้อมอ่านคาถา ทาให้เจัาชาละวันเกิดร้อนลุ่มต้องออกจาก ถ้าขึ้นมาต่อสู้กับ ไกรทอง ไกรทองกระโดดข้ึนบนหลังจระเข้ และแทงด้วยหอกสัตตโลหะ ทาให้อาคมของเข้ียวเพชรเสื่อม หอกไดท้ ่ิมแทงเจ้าชาละวันจนบาดเจ็บสาหัส และได้หนีกลับไปท่ีถ้า แตไ่ กรทองก็ใช้เทียนระเบิดน้าตามไปต่อสู้ อีกในถ้า ระหว่างท่ีเข้าไปในถ้าไกรทองก็พบกับวิมาลา เมียของชาละวัน ด้วยความเจ้าชู้จึงเก้ียวพาราสี นางวิ มาลาจนนางใจอ่อนยอมเปน็ ชู้ และบอกทางไปชว่ ยนางตะเภาทอง
405 349015 ไกรทองตามมาต่อสู้กับเจ้าชาละวันในถ้าต่อจนเจ้าชาละวันตาย และไกรทองก็ได้พานางตะเภาทอง กลับข้ึนมา เศรษฐีดีใจมากจึงจัดงานแต่งงานให้ไกรทองกับนางตะเภาแก้ว พร้อมมอบสมบัติให้ครึ่งหนึ่ง แถมนางตะเภาทองให้อีกคน ไกรทองจอมเจ้าชกู้ ร็ ับไว้ ดว้ ยความยนิ ดี แต่ยังไม่จบแค่นั้นด้วยความเจา้ ชู้ของไกรทองแม้ชาละวันตายไป ไกรทองก็ยังหลงรสรักกับนางวิมาลา จึงไปหาสู่ท่ีถ้าทอง และคิดจะพานางวิมาลาไปอยู่กินด้วย โดยทาพิธีทาให้นางยังคงเป็มมนุษย์แม้ออกนอกถ้า ทอง นางตะเภาแก้วและนางตะเภาทองจับได้ว่า สามีไปมาหาสู่นางจระเข้ จึงไปหาเร่ืองกับนางในร่างมนุษย์ จนนางวิมาลาทนไม่ไหวกลับร่างเป็นจระเข้และไกรทองต้องออกไปห้ามไม่ให้เมยี ตีกนั และอาลาจากนางวิมาลา ด้วยใจอาวรณ์ ท่ีมา : www.kapook.com
406 349026 ๑. นกั เรียนอา่ นเรือ่ งไกรทอง แลว้ เล่าเร่อื ง ด้วยสานวนของตนเอง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒. บอกขอ้ คิดท่ีได้จากเรอ่ื ง แล้วสามารถนามาประยุกตใ์ ช้ไดอ้ ย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................. ................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................
407 349037 ใบงาน เร่ืองวรรณกรรมทอ้ งถิ่นเร่อื ง บางแม่หม้าย หน่วยท่ี ๕ บทกวที ่ีชืน่ ชอบ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรื่องการอา่ นจบั ใจความจากวรรณกรรมทอ้ งถิน่ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ จุดประสงค์จับใจความสาคัญจากเรอื่ งท่ีอา่ นได้ถกู ตอ้ ง คาชีแ้ จง นักเรียนอ่านวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ เรอื่ งบางแมห่ ม้าย แลว้ ตอบคาถาม บางแมห่ มา้ ย (จ.สพุ รรณบรุ ี) มีเรื่องเล่ากันว่ามีชายหนุ่มสองพี่น้องผูกสมัครรักใคร่สาวทางบ้านบางแม่หม้าย จนถึงได้สู่ขอและ กาหนดนัดวันแต่งงาน เมอื่ ถึงกาหนดฝา่ ยเจ้าบ่าวกเ็ คล่ือนขบวนสาเภาขันหมากมารับพวกมโหรที ี่บา้ นแห่งหน่ึง เรียกว่า บ้านบางซอซึ่งวงมโหรีได้บรรเลงเพลงมาตามทางอย่างสนุกสนาน แต่ท่ีสนุกท่ีสุดก็เมื่อเดินทางมาถึง ย่านน้าอันกว้างใหญ่ อุดมไปด้วยสัตว์น้าที่ดุรา้ ย คือ จระเข้ไไดด้เ้เกิดพายุใหญ่พดั จนนสส�ำาเเภภาาลลม่ ่มจงึ เรยี กสสถถาานนทที่แ่ีแหหง่ ่ง นัน้ ว่า บา้ นสาเภาล่ม หรอื สาเภาทะลายปจั จบุ นั เรยี ก บ้านสาเภาทอง เมื่อเรอื ล่ม บางคนกจ็ มนา้ ตาย บางคนก็ถูกจระเขค้ าบไป เจา้ บา่ วถกู จระเขค้ าบวา่ ยไปทางทิศเหนือ ถงึ บ้านเจ้าสาวเมื่อพวกเจ้าสาวเห็นก็จาได้จึงไปบอกเจ้าสาว.. เจ้าสาวเสียใจมากว่ิงตามตลิ่งตามดูเจ้าบ่าว ไปจนถึงที่แห่งหน่ึง ซ่ึงไม่อาจตามไปได้ทันท่วงทีจึงได้แต่แลมองไปจนสุดสายตาที่ที่เจ้าสาวยืนมองอยู่น้ี ต่อมา เรยี กวา่ วัดบ้านสุด แม้กระน้ันนางก็มิได้ท้อถอยมุ่งหน้าติดตามไปเรื่อย ๆ จนเหน่ือยอ่อนจึงน่ังพักที่โคกแห่งหน่ึงต่อมาได้ ชื่อว่า \"โคกนางอ่อน\" เม่ือหายเหน่ือย นางก็ตามต่อไปอีกจนถึงโพนางเซาต่อมานางได้ข่าวว่า มีจระเข้คาบ คนรักไปทางทิศใต้ จึงยอ้ นกลับมาและพบศพนางจึงนาศพมาฌาปนกิจทวี่ ัดต่อมาวนั น้นั ช่ือวา่ \"วดั ศพ\" ปัจจบุ นั เปลีย่ นช่ือเปน็ วัดประสบสขุ และบ้านเจ้าสาวจงึ ได้ชอ่ื ว่า \"บางแม่หม้าย\" มาจนทุกวนั น้ี ท่ีมา : www.kapook.com
408 349048 ๑. นกั เรยี นอ่านเร่ือง บางแมห่ มา้ ย แลว้ เลา่ เรอื่ ง ด้วยสานวนของตนเอง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒. บอกข้อคิดท่ีไดจ้ ากเรอื่ ง แลว้ สามารถนามาประยุกตใ์ ช้ไดอ้ ยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................................... ........................ .......................................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. .................................................
409 349059 ใบงาน เรือ่ งวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ เรอื่ ง สองพี่น้อง หน่วยที่ ๕ บทกวีท่ีชนื่ ชอบ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรือ่ งการอ่านจบั ใจความจากวรรณกรรมทอ้ งถิน่ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์จบั ใจความสาคัญจากเรือ่ งที่อ่านไดถ้ ูกต้อง คาชแี้ จง นกั เรยี นอา่ นวรรณกรรมท้องถน่ิ เรื่อง สองพน่ี อ้ ง แล้วตอบคาถาม สองพ่ีน้อง (จ.สพุ รรณบุรี) ทจี่ งั หวัดสุพรรณบุรีมีคลองอยู่คลองหน่ึง เรียกวา่ \"คลองสองพี่น้อง\" ปจั จบุ ันอยู่ในท้องที่อาเภอสองพ่ีน้อง เรอ่ื งนม้ี นี ิทานเลา่ กันมาแต่โบราณว่า สมัยหน่ึงมีชายสองคนพ่ีน้องอาศัยอยู่ที่คลองน้ี ทั้งสองมีอาชีพทาไร่ทาสวน ฐานะค่อนข้างมีอันจะกิน และรูปร่างหน้าตาก็หล่อเหลาเอาการ เป็นท่ีหมายปองของสาวในบ้านเดียวกัน แต่ชายหนุ่มทั้งสองหาสนใจไม่ ต่อมาไม่นานท้ังสองได้ข่าวว่ามีสาวงามสองคนอยู่ในตาบลท้องที่อาเภอบางปลาม้า หญิงท้ังสองน้ีสวยงามมาก ชายท้ังสองพ่ีน้องจึงคิดต้องการนางมาเป็นคู่ครองทั้งสองคน ต่อมาสองพ่ีน้องได้จัดเถ้าแก่ไปสู่ขอ พ่อแม่ ฝา่ ยหญงิ เมอ่ื ได้ฟังคุณสมบัติของฝ่ายชายก็ไม่รังเกียจ และเห็นวา่ ลกู สาวของตนอายสุ มควรทีจ่ ะมคี ู่ครองได้แล้ว จึงตอบตกลง \"เม่ือมาสู่ขอลูกสาวของฉันไปตกไปแต่งทั้งที ก็ขอให้สมกับหน้าตา ฐานะหน่อยหนึ่งจะได้ ไหม\" พอ่ ขอฝ่ายหญงิ กล่าวกับเถา้ แก่ ฝ่ายหญิงต้องการให้จดั ขบวนขันหมากลงเรือสาเภาให้ใหญ่โต จะได้เป็นที่ เชดิ หน้าชตู าของชาวบ้านแถวนี้ ครั้งถึงวันกาหนดนัด ฝ่ายชายก็จัดเครื่องขันหมากและเครื่องใช้ในการแต่งงานลงเรือสาเภา มีมโหรี ปี่พาทยค์ รบครนั เมอ่ื ไดฤ้ กษ์ขบวนขันหมากพร้อมทั้งเจ้าบ่าวทั้งสอง กเ็ ร่ิมเคลื่อนทจ่ี ากคลองสองพ่ีน้องออกไป ทางแมน่ ้าสุพรรณขน้ึ ไปทางเหนอื มุ่งหนา้ ไปบา้ นเจ้าสาว ขณะท่ีเรื่อแล่นไป นักดนตรีก็เล่นดนตรีดังไปตลอดทาง จนถึงตาบลหนึ่ง เมื่อนักดนตรีเปล่ียนเพลง มาเล่นซอ ชาวบ้านจึงเรียกท่ีแห่งนี้ว่า \"บางซอ\" เพราะนักดนตรีไปเล่นซอที่นั่น เม่ือแล่นไปอีกไม่นาน เสยี งดนตรกี ย็ งิ่ ดงั ครกึ คร้ืน สนกุ สนาน ผู้คนในเรือกร็ อ้ งรากันไมไ่ ดห้ ยดุ ท่แี หง่ นีจ้ ึงเรียกวา่ \"บา้ นสนุก\" เมื่อเรือขบวนขันหมากเลยบ้านสีสนุกไปได้ไม่นาน ก็เกิดเหตุการณ์อย่างไม่คาดคิดขึ้น คือ เรือสาเภา ท่ีบรรทุกท้ังคนทั้งเคร่ืองใช้ไม้สอยสาหรับงานแต่งานได้เกิดอุบัติเหตุอับปางล่มลง คนที่มากับขบวนขันหมาก และสิ่งของเคร่ืองใช้จมหายไปในน้าหมด ดังน้ัน ตรงที่เรือสาเภาล่มนั้นปัจจุบันจึงเรียกว่า \"สาเภาทลาย\" ส่วนเจ้าบ่าวสองพ่ีน้องจมน้าตายทั้งคู่ ฝ่ายเจ้าสาวทั้งสองสมกับเป็นเจ้าสาวรอขบวนขันหมากด้วยใจระทึก ต่างคนก็คิดถึงเจ้าบ่าวของตนเองว่าหน้าตาหล่อเหลาแค่ไหน แต่เมื่อมีคนมาส่งข่าวว่าขบวนเรือขันหมากของ สองพี่น้องล่มลงกลางแม่น้าเสียแล้ว และเจ้าบ่าวของเธอก็จมน้าตายด้วย หญิงทั้งสองเสียใจมาก เธอร้องไห้ ครา่ ครวญอย่างนา่ เวทนา ตอ่ มาชาวบา้ นจงึ เรยี กบ้านท่ีหญิงท้ังสองอย่วู ่า \"บ้านแมห่ ม้าย\" ซง่ึ ปจั จุบนั กข็ น้ึ อยู่กับ อาเภอบางปลาม้า จังหวดั สุพรรณบรุ ี ท่มี า : www.kapook.com
410 349160 ๑.นกั เรียนอ่านเรือ่ ง สองพน่ี ้อง แลว้ เล่าเรอื่ ง ด้วยสานวนของตนเอง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................ .................................................................................. ................................ ๒. บอกขอ้ คิดที่ไดจ้ ากเร่อื ง แล้วสามารถนามาประยุกตใ์ ช้ได้อย่างไร .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................
411 349171 ใบงาน เรอ่ื งวรรณกรรมทอ้ งถิ่นเรอ่ื ง วัดพนัญเชงิ หน่วยที่ ๕ บทกวีท่ีชื่นชอบ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรอื่ งการอา่ นจับใจความจากวรรณกรรมท้องถ่ิน รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์จับใจความสาคัญจากเร่อื งที่อ่านไดถ้ กู ตอ้ ง คาชีแ้ จง นักเรยี นอ่านวรรณกรรมท้องถน่ิ เร่ือง วัดพนัญเชิง แลว้ ตอบคาถาม วดั พนญั เชงิ (จ.อยุธยา) วัดพนัญเชิง เป็นวัดใหญ่ที่สาคัญวัดหนึ่งในจังหวัดอยุธยา ตั้งอยู่ท่ีแหลมบางกะจะ เป็นวัดท่ีมี พระพุทธรูปองค์ใหญ่ซึ่งชาวบ้านนับถือกันว่าศักดิ์สิทธ์ิกันมาก ตานานเกี่ยวกับการสร้างวัดพนัญเชิงนั้นมีมา เก่าแก่ก่อนสร้างกรงุ ศรีอยธุ ยา เร่ืองราวของพระเจ้าสายน้าผ้ึงกับพระนางสร้อยดอกหมากนั้น มีกล่าวไว้ในพงศาวดารเหนือ ฟังดู เหมือนเรื่องเลื่อนลอย แต่นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้ค้นคว้าแล้วปรากฏว่า พระเจ้าสายน้าผึ้งนั้น มีตัวจริง เคยเป็นกษัตริย์ซ่ึงครองเมืองเก่าที่ต้ังอยู่ท่ีหนองโสน ก่อนท่ีพระเจ้าอู่ทองจะสร้างกรุงศรีอยุธยา และเปน็ ผูส้ รา้ งวัดสาคญั คือ \"วัดพนญั เชิง\" และ \"วดั มงคลบพติ ร\" ซึ่งยังปรากฏอยู่ในปจั จบุ ัน ตานานเกย่ี วกบั พระเจ้าสายนา้ ผง้ึ และพระนางสร้อยดอกหมากเล่าวา่ ครั้งนนั้ กษัตริย์ครองกรุงอโยธยา สิ้นพระชนม์ลง ไม่มีรัชทายาทสืบสันติวงศ์ บรรดาอามาตย์จึงปรึกษากันหาคนดีมีบุญมาเป็นกษัตริย์ต่อไป โดยให้เส่ยี งทายเรือพระทนี่ ั่ง เรอื พระที่น่ังนั้นก็ลอยไปจอดกลางทุ่งนาแห่งหนึ่ง ซ่งึ เด็กเลีย้ งควายกาลังเล่นกนั อยู่ เด็กคนหนึ่งเล่นเป็นกษัตริย์ ตัดสินลงโทษประหารชีวิตเพื่อนอีกคนหน่ึงโดยใช้ไม่ไผ่ทาเป็นดาบ พอเพชฌฆาตลงดาบปรากฏวา่ เด็กชาวนานั้นคอขาดกระเด็นไปตามคาส่ัง บรรดาอามาตย์เหน็ เป็นเหตุอัศจรรย์ จึงเชิญเดก็ ชาวนาน้ันขึ้นเป็นกษัตริยค์ รองกรงุ อโยธยาสบื มา ทางฝ่ายพระเจ้ากรุงจีน มีธิดาบุญธรรมซึ่งกล่าวกันว่ามีกาเนิดจากจั่นหมาก จึงได้นามว่า \"สร้อยดอกหมาก\" มีสิริโฉมงดงาม ครั้นนางเจริญวัยโหรได้ทานายว่า นางจะได้เป็นคู่ครองของกษัตริย์แห่งเมือง งอโยธยา พระเจ้ากรุงจนี สง่ สาสน์มายงั พระเจา้ กรงุ อโยธยาถวายนางเป็นชายา พระเจ้ากรุงอโยธยาได้รับสาสน์นั้นก็มีความยินดี รีบจัดกระบวนเรือออกไปรับตัวนาง ขณะที่เรือ พระที่นั่งผ่านไปถึงวัดปากคลอง ได้ทอดพระเนตรเห็นรวงผ้ึงใหญ่เกาะอยู่ท่ีใต้ช่อฟ้า จึงทรงอธิษฐานว่าหาก พระองค์มีบุญญาธิการ จะได้ปกครองบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุข ขอให้น้าผึ้งหยดลงมาท่ีเรือ คร้ันหันหัวเรือ เข้าไป น้าผ้ึงก็หยดลงมาที่หัวเรือดังคาอธิษฐาน ผู้ที่เห็นเหตุการณ์จึงพากันขนานพระนามว่า \"พระเจ้า สายนา้ ผง้ึ \" เมอื่ พระองคเ์ สดจ็ ถงึ เมืองจีน พระเจา้ กรงุ จีนได้รับเสด็จและจัดการอภิเษกสมรสให้อย่างสมพระเกียรติ จากนั้นพระเจ้าสายน้าผ้ึงก็พาพระนางสร้อยดอกหมากเสด็จกลับกรุงอโยธยา คร้ันมาถึงบริเวณที่เป็นวัดพนัญ เชิงในปัจจุบัน พระเจ้าสายน้าผึ้งก็ให้พระนางสร้อยดอกหมากรออยู่ในเรือพระท่ีนั่ง ส่วนพระองค์เสด็จเข้า พระราชวงั เพอ่ื เตรียมรับเสดจ็ คร้ันเรียบร้อยแล้วก็ให้คนมาเชิญเสด็จพระนางสร้อยดอกหมากเข้าไปในวัง แต่พระนางสร้อย ดอกหมากเกิดความน้อยพระทัยที่พระเจ้าสายน้าผ้ึงไม่เสด็จออกมารับเอง จึงรับส่ังว่าถ้าไม่เสด็จออกมารับ
412 349182 ก็จะไม่เข้าไป คร้ันคนนาความไปกราบทูล พระเจ้าสายน้าผ้ึง ทรงเห็นเป็นเร่ืองขบขัน รับสั่งว่านางอุตส่าห์ มาจากเมอื งจีนจนมาถงึ ตรงน้ีแล้ว ถา้ ไม่ยอมขึน้ มาก็เชิญประทับอย่ใู นพระท่ีนงั่ นน้ั เถิด เมื่อพระนางสร้อยดอกหมากได้ทรงทราบความก็ย่ิงน้อยพระทัยมากถึง กับทรงกล้ันใจตาย เมื่อพระเจ้าสายน้าผ้ึงเสด็จออกไปรับและได้ทรงทราบก็เศร้าโศกเสียพระทัยย่ิงนัก จึงเชิญศพนางไป พระราชทานเพลิงศพและให้สร้างพระอารามข้ึนตรงบริเวณที่พระราชทานเพลิงศพ พระราชทานนามว่า \"วัดพระนางเชิง\" ซ่งึ ต่อมาเรยี กเพย้ี นไปวา่ \"วัดพนัญเชิง\" ทมี่ า : www.kapook.com
413 349193 ๑.นกั เรยี นอ่านเร่อื ง วัดพนัญเชิง แล้วเลา่ เรอื่ ง ดว้ ยสานวนของตนเองของ ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................... ............... ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ๒. บอกขอ้ คดิ ที่ไดจ้ ากเรอ่ื ง แล้วสามารถนามาประยุกตใ์ ช้ได้อยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. ............................. ...................................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ .......................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................
414 440104 ใบงาน เรื่องวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ เรือ่ ง เขานมนาง หน่วยท่ี ๕ บทกวีท่ีชนื่ ชอบ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื งการอ่านจบั ใจความจากวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์ จบั ใจความสาคัญจากเรอ่ื งที่อา่ นไดถ้ ูกตอ้ ง คาช้ีแจง นักเรยี นอา่ นวรรณกรรมทอ้ งถิน่ เรื่อง เขานมนาง แลว้ ตอบคาถาม เขานมนาง (จ.สพุ รรณบรุ ี) ตานานเรื่องเขานมนาง หรือ บางนางบวช เกิดในเขตจังหวัดสุพรรณบุรีและอ่างทอง กล่าวกันว่า ครั้งหน่ึง มีหญิงงามชื่อพิมสุราลัย มีรูปร่างหน้าตาสวยงามเป็นที่หมายปอง ของบรรดาชายหนุ่มหลายคน ชายหนุ่มเหล่านั้นพยายามแย่งชิงนาง จนเกดิ เป็นเรอ่ื งราวทะเลาะวิวาทกนั ทาให้นางพิมสุราลัยไม่พอใจ ในท่ีสุดนางก็ตัดสินใจหนีเข้าไปอยู่ในป่าตามลาพัง ทามาหากิน ด้วยการปลูกข้าวและทอผ้า แต่เคราะห์กรรมยังตามไปถึงในป่า มีพรานป่าคนหน่ึงชื่อตาลีนนท์ ได้เห็นนางเข้า และเกิดความรัก ตาลีนนท์เป็นคนมีเวทมนตร์จาแลงแปลงกายได้ จึงแปลงกายเป็นงูเข้าไปแอบซ่อนอยู่ใน กระท่อมของนางพิมสุราลัย ครั้นนางเข้าไปในกระท่อม งูแปลงก็เลื้อยเข้าไปรัดนางไว้ นางพิมสุราลัยตกใจ จงึ ควา้ มีดฟนั งนู น้ั จนตาย เมื่อสนิ้ ชวี ติ เวทยม์ นตร์กเ็ ส่ือมลงรา่ งของงูจึงกลบั คืนเป็นพรานป่า นางพมิ สรุ าลัยรตู้ ัว วา่ ฆ่าคนตายกม็ คี วามตกใจและเสยี ใจมาก นางคิดแค้นใจว่า ความสวยงามของนางเป็นเหตุให้เกิดเรื่องเดือดร้อนต่าง ๆ จน ต้องหนีมาอยู่ในป่า ก็ยังไม่พ้น จึงคว้าเอามีดมาตัดนมทั้งสองข้างขว้างทิ้งไป กลายเป็นเขา ๒ ลูก ชื่อ \"เขานม\" นางอยู่ในจังหวัด สุพรรณบุรี จากนั้นนางก็ซัดเซพเนจรไป ตามลาพังในกลางป่า ตกค่าก็อาศัยนอนในวัด วัดท่ีนางพิมสุราลัย ไปอาศัยนอนนั้น ต่อมาได้ช่ือว่า \"วัดนางนอน\" ท้ายท่ีสุด นางก็ได้ไปบวชอยู่บนเขาแห่งหนึ่ง เขานั้นจึง ไดช้ อ่ื ว่า \"เขาบางนางบวช\" นอกจากน้ัน ยังมีหมู่บ้านในแขวงเมืองอ่างทองที่เล่ากันว่านางเคยไปถือศีลอยู่ ชื่อว่า \"บ้านไผ่\" จาศีล สว่ นบ้านเดมิ ของนางพิมสุราลัยทจ่ี ังหวัดสุพรรณบรุ ีนน้ั ปจั จุบันชือ่ \"บา้ นเดิมบาง\" ทม่ี า : www.kapook.com
415 440115 ๑. นกั เรยี นอ่านเรอ่ื ง เขานมนาง แลว้ เล่าเรอื่ ง ดว้ ยสานวนของตนเอง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒. บอกขอ้ คิดที่ได้จากเรอ่ื ง แล้วสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................... .....................
416 440126 แบบทดสอบ เรื่องตานานตะขาบกบั เกาะชา้ ง หนว่ ยที่ ๕ บทกวีที่ช่ืนชอบ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรื่องการอา่ นจับใจความจากวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ จุดประสงค์ จบั ใจความสาคัญจากเรือ่ งที่อ่านได้ถกู ต้อง คาชีแ้ จง นกั เรยี นอา่ นวรรณกรรมท้องถิ่นเรือ่ ง ตานานตะขาบกบั เกาะชา้ ง แลว้ ตอบคาถาม ตานานตะขาบกบั เกาะช้าง แต่กอ่ นกาลนานโข ยงั มตี ะขาบยกั ษ์อาศัยอย่บู นเกาะกลางทะเลแห่งหน่ึง ในสมัยนน้ั ตะขาบยังไมม่ ีลาตัว เป็นปล้องๆ อย่างท่ีเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน อาหารของตะขาบยักษ์ ก็คือช้างท่ีอาศัยอยู่บนเกาะนั่นเอง มันกินช้าง ทุกวันๆ ละตัว เม่ือกินเน้ือหมดมันก็เอากระดูกและงากองไว้ในท่ีเดียวกัน นานวันเข้ากระดูกและงาช้างก็มีปริมาณ เพ่ิมขึ้นเป็นกองสูงปานภูเขาลูกเล็กๆ ทีเดียว มันหวงกระดูกและงาช้างมาก ไม่ยอมให้ใครมาขยบั เขยือ้ นเอาไปไหน โดยเดด็ ขาด วันหน่ึง มีพ่อค้าเรือสาเภาแล่นเรือมาเที่ยวและเห็นกระดูกและงาช้างก็คิดจะนาไปขายจึงได้หาคนมาช่วย ขนลงเรือจนหมดสิ้นแล้วแล่นเรือสาเภากลับไป ตะขาบยักษ์มาพบว่ากระดูกและช้างท้ังหมดหายไป จึงเกิด ความโมโห วิ่งวุ่นวนเวียนอยู่บนเกาะตามหาก็ไม่พบ คร้ันมองออกไปกลางทะเลเห็นเรือสาเภาบรรทุกงา และกระดูกไปจึงกระโดดลงน้าติดตามไปทันที ในท้องทะเลแห่งน้ัน ยังมีปูขนาดใหญ่ตัวหน่ึงซึ่งเป็นพญาปูยักษ์ ครองอานาจอยู่ในทะเลทุก ๆ ๗ วัน มันจะขึ้นมากินอาหาร ๑ ครั้ง วันนั้นเป็นวันครบกาหนดที่มันต้องขึ้นมาหา อาหาร วิธีการจับสัตว์กินเป็นอาหารก็คือ คอยอ้าก้ามใหญ่ไว้ พอสัตว์ว่ายผ่านน้ามาก็งับทันที ขณะอ้าก้ามอยู่นั้น ปรากฏวา่ เรอื สาเภาของพ่อคา้ แล่นรอดผ่านเข้าไป มันเหน็ ว่าเปน็ คนจึงไมง่ ับ พอเรอื สาเภาผ่านไปได้สักครู่ ตะขาบ ยักษ์ก็ไล่ติดตามมา แต่ตะขาบตัวใหญ่กว่าเรือสาเภามาก จึงรอดก้ามปูไม่ได้ก็พยายามคืบไปทีละนิด เม่ือตะขาบ ขยับเข้าไป ปูรสู้ กึ คับกา้ มจึงงบั ตะขาบ ตะขาบกด็ ิ้นคร้ังหน่ึง ตะขาบถูกปูงับก็พยายามด้ินรนใหห้ ลุดรอดไป ตะขาบ ดิ้นทหี นง่ึ ปูกง็ ับครง้ั หน่ึงเป็นอยา่ งนี้เร่ือยไป ตะขาบไม่ลดละความพยายามมันดิ้นไปทีละน้อย จนกระท่ังหลุดพ้นจากก้ามปู แต่ได้รับความเจ็บปวด รวดร้าวแสนสาหัสและหมดเรี่ยวแรงไม่อาจติดตามเรือสาเภาได้ ลาตัวของมันก็กลายเป็นปล้องๆ ด้วยความ เจ็บปวดจึงเดินทางกลับมาฟ้องพระฤๅษีว่าถูกปูหนีบระบมไปหมด ฤๅษีไม่อาจช่วยอะไรได้แล้วยังบอกว่า เจ้าตะขาบต้องตายโดยตายวันละปล้อง ตะขาบเสียใจมาก ล่าลาฤๅษีมานอนรอความตายที่เกาะของตน วันคืนล่วง ไปตะขาบก็ค่อยๆ ตายไปวันละปล้องๆ ตามรอยท่ีปูหนีบไว้ จนกระทั่งตายสนิท ตั้งแต่น้ันเป็นต้นมาตะขาบจึงมี ปล้องมาจนทุกวันน้ีเกาะที่ตะขาบอาศัยอยู่ มีช้างอยู่เป็นจานวนมากเม่ือไม่มีตะขาบคอยกินมันจึงเรียกเกาะน้ันว่า เกาะชา้ งมาจนทุกวนั นี้ ที่มา : เอกรัตน์ อุดมพร. (๒๕๕๑).รวมนทิ านพนื้ บา้ นภาคกลาง.กรงุ เทพฯ : พัฒนาศึกษา
417 440137 คาช้ีแจง นักเรยี นอ่านวรรณกรรมทอ้ งถิน่ เร่ือง ตานานตะขาบกับเกาะชา้ ง แล้วตอบคาถาม (๑๐ คะแนน) ๑. นกั เรียนอา่ นเรื่อง แลว้ เขยี นเลา่ เรอื่ ง ดว้ ยสานวนของตนเอง (๕ คะแนน) .................................................................................... ................................................................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... .........................................................................(อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครู)...................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................... ......... ๒. บอกข้อคิดท่ีได้จากเร่อื ง แลว้ สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างไร(๕ คะแนน) ............................................................................................................................................................................ ........ ........................................................................................................................... ......................................................... .........................................................................(อยู่ในดุลยพินจิ ของคร)ู ...................................................................... ............................................................................................................................................................. ....................... ........................................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................... ..................................................... ....................................................................................................................................................................................
418 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๕ บทกวที ่ชี นื่ ชอบ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เร่ืองการวิเคราะหแ์ ละวิจารณ์เรือ่ งจากวรรณกรรมท้องถ่นิ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย ขอบเขตเนือ้ หา กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ การวิจารณ์เรอื่ งท่ีอา่ น จาเปน็ ตอ้ งวิเคราะห์เร่อื ง ขั้นนา ๑. ใบความรู้เร่ือง นิทานพน้ื บ้าน:ตาม่องลา่ ย ทอ่ี ่านวา่ มีความสมเหตุสมผล การลาดบั ความ และ ๑. นกั เรียนบอกข้อคิดของวรรณกรรม ๕ เรอ่ื งท่ีได้ทากิจกรรม ๒. ใบความรู้ เร่ืองการวเิ คราะหว์ จิ ารณแ์ ละ ความเปน็ ไปไดข้ องเร่ืองหรือไม่ ชวั่ โมงท่ีผ่านมา ประเมนิ เรื่องจากการอา่ น จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สนทนาถึงประโยชนข์ องการอา่ น ๓. ใบงาน เรอื่ ง การวิเคราะห์วิจารณแ์ ละ ด้านความรู้ วรรณกรรมท้องถน่ิ ประเมินเรื่องจากการอ่าน แนวทางการวเิ คราะหว์ ิจารณแ์ ละประเมินเร่ือง ขน้ั สอน ๔. แบบทดสอบเรื่อง ตามอ่ งลา่ ย จากวรรณกรรมท้องถน่ิ ๑. นักเรยี นศึกษาใบความรู้เร่อื งการวเิ คราะห์วิจารณแ์ ละ ดา้ นทักษะและกระบวนการ ประเมนิ เร่ืองจากการอา่ น ภาระงาน/ช้นิ งาน วเิ คราะหว์ จิ ารณแ์ ละประเมินเรือ่ งจากวรรณกรรม ๒. นกั เรียนแบ่งกลุม่ ๆละ ๔-๕ คน เพ่อื วเิ คราะห์วิจารณแ์ ละ ใบงาน ท้องถน่ิ ได้ ประเมนิ เรื่องจากวรรณกรรมท้องถ่ินเรอื่ ง ตาม่องล่าย ดา้ นคุณลักษณะ ๓. นกั เรียนส่งตัวแทนนาเสนอการวเิ คราะห์วิจารณแ์ ละประเมิน ๑. มีวนิ ัย เร่ืองจากวรรณกรรมท้องถ่ินหนา้ ชนั้ เรียน ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๔. นกั เรียนและครูช่วยกันวิเคราะหว์ จิ ารณ์กลุ่มท่ีออกมา ๓. มุ่งมน่ั ในการทางาน นาเสนอวา่ มขี ้อบกพรอ่ งอยา่ งไร ๔. รักความเปน็ ไทย ๕. นักเรียนทาแบบทดสอบเร่อื งตาม่องลา่ ย ข้ันสรุป ๑. นกั เรยี นและครูช่วยกันสรุปหลกั การวเิ คราะหว์ จิ ารณ์และ ประเมินเรื่องจากการอา่ นวรรณกรรมท้องถิ่นแล้วบนั ทึกลงสมดุ 440148
419 440159 การวัดและประเมินผล ส่งิ ท่ีต้องการวดั /ประเมนิ วธิ กี าร เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ คาถาม ผา่ นเกณฑ์ ๘๐ % แนวทางการวเิ คราะหว์ ิจารณ์ ซักถาม และประเมนิ เรื่องจาก วรรณกรรมท้องถิน่ ได้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ใบงาน วิเคราะห์วิจารณ์และประเมิน ปฏิบัติ แบบทดสอบ ผา่ นเกณฑ์ ๘๐ % เรื่องจากวรรณกรรมท้องถ่ินได้ ดา้ นคุณลักษณะ ๑. มวี นิ ัย สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมิน คุณภาพระดบั ๒ ๒. ใฝ่เรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ๓. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๔. รกั ความเป็นไทย ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่ี..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผูบ้ รหิ ารหรือผู้ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ........................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ที่..........เดือน..........พ.ศ............
420 440260 ใบความรู้ เร่อื ง นทิ านพนื้ บา้ น : ตามอ่ งล่าย หน่วยท่ี ๕ บทกวีท่ชี ืน่ ชอบ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื งการวเิ คราะห์และวิจารณเ์ ร่ืองจากวรรณกรรมท้องถ่ิน รายวิชาภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ นิทานพ้นื บ้าน : ตามอ่ งลา่ ย กาลคร้ังหนึ่งนานมาแล้ว ณ หมู่บ้านแห่งหน่ึงในอาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีบ้านหลังหนึ่งต้ังอยู่ บนเนินเขาริมหนองน้า บ้านอ่าวน้อยเป็นที่พักอาศัยของครอบครัวตาม่องล่าย แกมีภรรยาช่ือนางราพึง ประกอบ อาชีพประมงและทาไร่ มีลูกสาวชื่อยมโดย มีความขยันขันแข็ง รูปร่างหน้าตาสวยงาม ยากจะหาสาวใดเปรียบได้ ความงามของนางเล่อื งลือทว่ั ละแวกอ่าวน้อยและบา้ นใกลเ้ คยี งจ้อเปน็ ทหี่ มายปองของหนุ่มทัง้ ใกลไ้ กล ชาวเรือประมงและพ่อค้าวาณนิชธท่ีจับปลาค้าขายผ่านไปมา ครั้นได้ยลโฉมของยมโดยก็ต้องตาพึงใจ กันท่วั หนา้ คาเล่าลอื เรอื่ งความงามของนางจงึ ขจรขจายไปทว่ั ทอ้ งถ่ินชายทะเลแถบนน้ั มีหมบู่ ้านหน่ึงใกลเ้ มืองเพชรบุรี ชาวบา้ นต้ังถ่นิ ฐานทามาหากิจอย่างอุดมสมบูรณ์ริมเขามีเจ้าบ้านปกครอง ดว้ ย ความรม่ เยน็ เป็นสุข เจา้ บ้านมีลกู ชายช่อื ลาย หนา้ ตาหล่อเหลาเป็นเลศิ ในทอ้ งถิ่นนนั้ เจ้าลายได้ยินกิติศัพท์ ความงามของผยมโดย จึงต้องการพิสูจน์ความจริง จึงปลอมตัวเป็นชาวประมงเที่ยว หาปลา และข้ึนฝั่งไปขายปลาท่ีหมู่บ้านอ่าวน้อย ชาวบ้านอ่าวน้อยเห็นความหล่อของเจ้าลายก็พูดเล่าขานจน กระท้ังรู้ไปถึงหูของยายราพึงและสาวยมโดย ท้ังสองจึงอยากถามเจ้าลายว่าจะหล่อสมคาเล่าลือหรือไม่ จึงออก อุบายให้ชาวบ้านแนะนาเจ้าลายให้นาปลามาขายที่บ้านของนาง เม่ือสาวยมโดยกับเจ้าลายพบหน้ากัน ต่างก็พอใจ กันกลายเป็นรักแรกพบ นับจากนั้น เจ้าลายก็ไปมาหาสู่อย่างสม่าเสมอ นาของฝากยายราพึง จนคุ้นเคยถูกใจ ยายราพึงยง่ิ ส่วนตาม่องล่ายไม่ชอบเจ้าลายนักในช่วงน้ีตาม่องล่ายกับยายราพึงโกรษกันจึงแยกกันอยู่คนละบ้าน กิตติศัพท์ความงามของยมโดยเลื่องลือไปเข้าหู “เจ้ากรุงจีน” พ่อค้าเรือสาเภาใหญ่พี่มาค้าขายจอดเรือท่ีบ้านอ่าว น้อยอยู่หลายครั้ง เจ้ากรุงจีนหาวิธีผูกมิตรกับตาม่องล่ายโดยนาของมาขาย ท่ีบ้านตาม่องล่าย เมื่อได้พบยมโดย กห็ ลงใหลพยายามแวะเวยี นมาเยยี่ มเยยี นบ่อยๆ พรอ้ มแกว้ แหวนเงินทองมาฝากตาม่องลา่ ยอย่เู สมอ ถึงคราวเกิดเหตุใหญ่เจ้าลายส่งผู้ใหญ่มาสู่ขอยมโดยยายราพึงก็ตกลงยกลูกสาวให้ โดยไม่ได้ปรึกษา ตาม่องล่าย ฝ่ายเจ้ากรุงจีนก็แต่งเถ้าแก่มาสู่ขอยมโดยกับตาม่องล่าย ตาม่องล่ายก็ยกลูกสาวให้เจ้ากรุงจีนโดยไม่ ปรึกษายายราพึง ท้ังสองฝ่ายนัดวันแต่งงานตรงกันขันหมากสองขบวนจึงเผชิญหน้ากัน ตาม่องล่ายกับยายราพึง ก็เลยทะเลาะกัน ต่างก็จะยกลูกสาวให้ตนท่ีตนพอใจ ยายราพึงโกรธจัดฉวยหมวกขว้างใส่ตาม่องล่ายหมวกลอย ไปมาบรเิ วณนน้ั กลายเปน็ “เขาลอ้ มหมวก” ตามอ่ งล่ายคว้ากระบงุ กว้างไปเต็มแรงกลายเปน็ “เกาะกระบุง” อยู่ใน ก่ิงอาเภอเกาะช้างจังหวัดตราด ยายราพึงคว้างอบกว้างกระเด็นไปตกเป็น “แหลมมงงออบง” ที่จันทบุรี ตาม่องล่าย บันดาลโทสะสุดขีดคว้าสากไล่ตียายราพึงว่ิงหนี ตาม่องล่ายเลยขว้างสากไปโดนเกาะชายทะเลทาให้เป็น “เกาะทะลุ” สากลอยไปชายทะเลตะวันออกกลายเปน็ “เกาะสาก” ในอาเภอบางละมงุ จังหวดั ชลบุรี
421 440271 ยายราพงึ หนี ตามอ่ งล่ายกลับไปบา้ นเดนิ ราพึงราพันจนตวั ตาย กลายเป็นเขาแม่ราพึงอยู่ใกล้อ่าว ไดช้ ื่อว่า อ่าวแม่ราพึง อยู่อาเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตาม่องล่ายขาดสติว่าเกิดเหตุเพราะผมโดยแท้ เพือ่ ไม่ใหเ้ สยี คาพูด จงึ จบั สาวยมโดยฉีกเปน็ สองซีกกว้างไปทางทิศเหนือให้เจา้ ลายไปตก กลายเป็น “เกาะนมสาว” ปัจจุบันอยู่ที่อาเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อีกซีกหนึ่งขว้างไปทางทิศตะวันออกบ้านเจ้ากรุงจีน ไปตกเปน็ “เกาะนมสาว” อยเู่ ขตอาเภอแหลมสงิ ห์ จังหวัดจนั ทบุรี ตาม่องล่ายไม่เหลือใครแล้วหยิบข้าวของในขบวนขันหมากขว้างกระจัดกระจายไปจนหมดส้ิน มวนพลู กลายเป็น “หอยมวนพลู” ขนมจนี เปน็ “สาหร่ายทะเล” หวกี ล้วยกลายเป็นตวั หวีกล้วยเกาะหินอยู่ใตน้ ้า ขันหมาก ตกบนพ้ืนดินเป็นเทือกเขาขันหมาก (เขาสามร้อยยอด) แก้วแหวนเงินทองกลายเป็นหอยต่างๆ ปูทอด กลายเป็น ปูหิน กระจกกลายเป็น “เขาซ่องกระจก” ตะเกียบกลายเป็นเขาตะเกียบ จานกลายเป็นเกาะจานอยู่ที่อาเภอ ทบั สะแก จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์แขกเหรอื่ เจ้าลาย เจา้ กรุงจนี ทผ่ี ากันแยกย้ายกลับ เจ้าลายเสียใจมากตรอมใจตาย กลายเป็น “เขาเจ้าลาย” อยู่ท่ีอาเภอชะอาจังหวัดเพชรบุรี ส่วนตาม่องล่าย เสียใจท่ีเสียลูกเสียภรรยา คว้าไหเหล้าไปนั่งด่ืมบนไหล่เขา จนตายกลายเป็นหินอยู่บนไหล่เขาที่ได้ชื่อว่า “เขาตาม่องลา่ ย” ปรากฎให้เห็นอยู่จนทกุ วนั นี้ (ตาม่องล่าย: งานฉลอง ๒๕ พทุ ธศตวรรษ เอกสารจงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์, ๒๕๐๐)
422 440282 ใบความรู้ เร่อื ง การวิเคราะห์ วิจารณ์และประเมนิ ค่าจากการอา่ น หน่วยที่ ๕ บทกวีที่ชื่นชอบ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่อื งการวิเคราะห์และวิจารณ์เร่อื งจากวรรณกรรมท้องถิ่น รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ จดุ ประสงคส์ ามารถวิเคราะห์วจิ ารณแ์ ละประเมินเรือ่ งจากวรรณกรรมท้องถนิ่ ได้ ๑. ความหมายของการวเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่า ๑.๑ ความหมายของการวเิ คราะหส์ าร วิเคราะห์ หมายความว่าใคร่ครวญ แยกออกเป็นส่วน ๆ สาร แปลว่า ส่วนสาคัญ ข้อใหญ่ ใจความ ถ้อยคา หนังสือ ดังน้ัน การวิเคราะห์สาร หมายถึง การแยกแยะเนื้อความ ถ้อยคาท่ีได้จากการฟัง การดู และ การอ่าน ออกเปน็ ส่วนๆ โดยพิจารณาอยา่ งละเอยี ด การวิเคราะห์สาร จดั วา่ เปน็ การแยกแยะความรู้ ความคิดท่ีไดจ้ ากการฟงั การดู และการอา่ นสาร น้ันๆ อันจะส่งผลให้ผู้วิเคราะห์มีความรอบรู้ มีเหตุมีผล สามารถนาประโยชน์ท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจาวัน และหนา้ ท่ีการงานได้ ๑.๒ ความหมายของการวิจารณ์สาร วิจารณ์ หมายความว่าให้คาตัดสินส่ิงท่ีเป็นศิลปกรรมหรือวรรณกรรม โดยผู้มีความรู้ควรเชื่อถือ ไดว้ ่ามคี ่าความงาม ความไพเราะดอี ยา่ งไร หรือมขี ้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง, ติชม สาร แปลว่า ส่วนสาคัญ ข้อใหญ่ ใจความ ถ้อยคา หนังสือ ดังนั้น การวิจารณ์สาร หมายถึง การค้นหาส่ิงดี ส่ิงไม่ดี และตดั สนิ เนอื้ ความ ถอ้ ยคาทีไ่ ด้จากการฟงั การดู และการอ่าน การวิจารณ์สาร เป็นเครื่องชี้ให้เห็นข้อบกพร่อง และเสนอแนะแนวทางแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้น การวจิ ารณท์ ่ีดีจึงควรเปน็ การวิจารณ์เพ่อื ก่อ มิใช่การวจิ ารณเ์ พ่อื ทาลาย ๑.๓ ความหมายของการประเมินค่าสาร ประเมิน หมายความวา่ กะประมาณค่าหรอื ราคาเทา่ ท่ีควรจะเปน็ สาร แปลวา่ ส่วนสาคัญ ข้อใหญ่ ใจความ ถอ้ ยคา หนังสือ ดังน้ัน การประเมินค่าสาร หมายถึง การตีความหรือประมาณค่าของสารท่ีได้จากการฟัง การดู และการอา่ นว่ามคี ณุ ค่าเพียงใด โดยอาศัยหลักเกณฑท์ ีถ่ กู ตอ้ ง การประเมินค่าสาร จาเป็นต้องอาศัยพื้นความรู้จากการวิเคราะห์และการวิจารณ์สารเข้าประกอบ เพ่ือให้การตีความสารทเ่ี หมาะสม ถูกตอ้ ง และมคี วามเปน็ ไปได้ ๒. วธิ กี ารวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ ค่าสาร โดยปกตกิ ารวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ คา่ สารจะกระทาต่อเนื่องกันไป เพราะจะทาให้เข้าใจสารน้ันได้ อยา่ งลกึ ซงึ้ และสามารถตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั สารน้ันได้ วิธีการวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ คา่ สารจงึ มีหลักดงั นี้ ๒.๑ พิจารณาสารอย่างละเอียด แล้วแยกแยะสารเพ่ือให้มองเห็นรูปแบบ ประเภท เนื้อเรื่อง สาระสาคัญ แงค่ ดิ และรายละเอยี ดอน่ื ๆ ท่เี ก่ียวกับสารนัน้ ๒.๒ วินิจฉัยลักษณะ คุณค่า ประโยชน์ ส่วนดี ส่วนบกพร่อง และองค์ประกอบอื่นๆ ตามลักษณะของสาร น้ันๆ โดยใช้หลักเกณฑ์ท่ีถูกต้องตามลักษณะของสารมาประกอบการวินิจฉัย เช่น การเปรียบเทียบ การยกตวั อย่าง การกล่าวถงึ สิง่ ทีเ่ คยเกดิ มาแล้ว เปน็ ตน้
423 440293 ๒.๓ ตคี วามและประเมินคา่ สารในหวั ข้อ ดี มีความสาคัญ มีประโยชน์ เกิดความงดงาม มีความเทยี่ งธรรม เป็นสงิ่ จาเป็น มคี า่ นิยมสูง หรือไมอ่ ยา่ งไร ในการวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่าสารเป็นเรื่องท่ีต้องใช้ความรู้ ความเข้าใจเฉพาะบุคคล รวมทั้ง ความรู้สึกนึกคิดของแต่ละบุคคลประกอบด้วยเหตุผลท่ีถูกต้องมาพินิจพิจารณา ดังน้ันในการวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่าสารจึงควรระมัดระวังเพ่ือมิให้เกิดความขัดแย้งกับความรู้สึกนึกคิดของคนส่วนใหญ่ในสังคมที่มีทั้ง ความถกู ต้องและความไมถ่ ูกต้อง การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่าสารจากการอ่าน สารที่ได้จากการอ่านมีหลายประเภท เช่น บทความ บทวิจารณ์ ข่าว เพลง บทร้อยกรอง เรื่องสั้น นวนิยาย นิทาน ฯลฯ การพิจารณาสารจึงต้องพิจารณาตามแนวทางการเขียนสารนั้นๆ เช่น บทความ มีลักษณะ การเขียนเป็น คานา เนื้อเร่ือง สรุป ส่วนข่าวมีลักษณะการเขียนเป็น พาดหัวข่าวหลัก หัวข่าวรอง สรุปข่าว และรายละเอียดของข่าว และท่ีสาคัญที่สุดคือต้องพิจารณาภาษาหรือถ้อยคาที่ใช้ด้วย เพราะงานเขียนแต่ละ ประเภทจะใช้ภาษาที่แตกตา่ งกนั ไป การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ ค่าสารจึงควรยึดหลักดังน้ี ๑. อ่านสารนนั้ อยา่ งครา่ วครั้งหนง่ึ กอ่ น ในคร้งั ต่อไป่ควรอา่ นสารอย่างละเอียด ๒. วเิ คราะห์ใหไ้ ดว้ ่าสารท่อี ่านเปน็ สารประเภทใด เช่น ข่าว บทวจิ ารณ์ คานา เพลง บทความ ๓. วิจารณ์แนวความคิดและการนาเสนอของผู้เขียนสารน้ันตามลักษณะการเขียนทั้งรูปแบบ เนื้อหา และการใชภ้ าษา ๔. ตีความและประเมินค่าสารอย่างมีเหตุผลตามลักษณะของสารแต่ละประเภทว่าดี มีคุณค่า มีประโยชน์ เหมาะสมหรอื ไม่เพยี งใด ตัวอยา่ งการวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินคา่ สาร เรอื่ งที่ ๑ รบั สมคั รพนกั งานประจาเรือ หากท่านเป็นคนหนึ่งท่ีชอบงานท้าทาย รายได้ดี ได้เดินทางไปต่างประเทศ เราขอเชิญชวนให้ท่านสมัคร เป็นพนักงานประจาเรอื ของเรา บรษิ ัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จากัด เป็นสว่ นหนงึ่ ของกลุ่มบริษัท โทรีเซน ซึง่ จดั เป็นกลุ่มบรษิ ัทเดินเรือชั้นนา ของไทยท่ีดาเนินธุรกิจเดินเรือแบบครบวงจร โดยปัจจุบันมีเรือสินค้าเดินทะเลระหว่างประเทศท่ัวโลก จานวน ๔๑ ลา และมีพนักงานประจาเรืออยู่ในความควบคุมดูแลกว่า ๑,๒๐๐ คน เพอ่ื รองรับการขยายตวั ของธรุ กจิ เราจึง มคี วามตอ้ งการรบั สมคั รพนกั งานประจาเรือเปน็ จานวนมาก ฝ่ายปากเรือ กปั ตัน ตน้ เรอื ผูช้ ว่ ยตน้ เรอื สร่งั ปากเรือ ช่างเชอ่ื มไฟฟ้า นายท้าย กลาสี กกุ๊ และบริกร ฝ่ายห้องเครอื่ ง ตน้ กล รองตน้ กล ผชู้ ่วยต้นกล ชา่ งไฟฟา้ ผู้ช่วยช่างไฟฟ้า สรั่งหอ้ งเครอ่ื ง และช่างน้ามัน เราต้องการเพศชายที่มีร่างกายสมบูรณ์ ขยัน มีวินัย และเมื่อผ่านการคัดเลือกเบ้ืองต้น ท่านจะต้องผ่าน หลักสตู รทก่ี าหนดโดยกรมเจ้าทา่ ผูส้ นใจกรุณาส่งจดหมายสมคั รงานพรอ้ มหลักฐานและรปู ถา่ ยมาที่บรษิ ัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จากัด (ฝ่ายพนักงานประจาเรือ) เลขท่ี ๒๖/๒๖-๒๗ อาคารอรกานต์ ชั้น ๑๐ ถนน ชถดินลนมชิดลลุมมพลนิ มุ ี ปพทินุมี ปวทนั มุ กวรันุงเกทรพงุ เฯทพ๑ฯ๐๓๑๓๐๐๓๓โ๐ทรโศทพั รทศพั.์ ..ท..์.............โ..ท..ร..ส...า..รโ…ทร…ส.า..ร............E..-..m....a..i.l.:อ…ีเม…ล…..…...…...…...…...…...…...…...…...….............
424 441204 การวเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ ค่าสาร เรอื่ งที่ ๑ เรื่องน้ีถ้าคนไม่คุ้นเคยอ่านคร้ังแรกจะรู้สึกว่าเป็นเรื่องแปลกท่ีนาน ๆ เราจะพบสักครั้งหนึ่ง เมื่ออ่านคร้ังท่ี สองอยา่ งละเอียดจึงเขา้ ใจว่าธุรกิจการเดนิ เรือสินค้ามีอยู่ท่ัวโลก และเป็นธรุ กจิ ทีน่ า่ สนใจและทา้ ทายความสามารถ ประเภทหนงึ่ เรื่องน้ีเป็นการโฆษณาสินค้าที่ใช้ภาษาจูงใจคนพร้อมกับมีภาพพนักงานใส่เคร่ืองแบบหรู ใบหน้าเปี่ยม ไปด้วยรอยย้มิ ท่ีมีความสขุ ประกอบดว้ ย ในการนาเสนอเร่ือง ได้ใช้หลักจิตวิทยาเก่ียวกับความสนใจของวัยรุ่นว่ามักสนใจเรือ่ งของตนเองก่อนเร่ือง ของคนอื่น รวมท้ังสนใจงานท่ีท้าทาย มีรายได้ดี ได้เดินทางไปต่างประเทศ หลังจากน้ันจึงเปิดตัวธุรกิจการเดินเรอื ว่ามีความจาเป็น มีความสาคัญ และเป็นอย่างไร เมื่อผู้อ่านเริ่มสนใจมากขึ้นแล้ว จึงบอกตาแหน่งที่จะรับว่า มอี ะไรบา้ ง หลังจากนนั้ จงึ ระบุคณุ สมบัตทิ ตี่ อ้ งการ และปดิ ท้ายดว้ ยวิธีการติดตอ่ ท่ลี ะเอียด โฆษณาช้ินนี้นับว่าเป็นโฆษณาที่ดีช้ินหนึ่ง ทั้งนี้เพราะคานึงถึงความรู้สึกของผู้อ่านก่อนเป็นอันดับแรก ภาษาที่ใช้สุภาพ ชวนอ่าน น่าติดตาม ไม่ห้วนและส้ันเหมือนโฆษณาทั่วๆ ไป ท่ีจากัดถ้อยคาเฉพาะที่เจ้าของ ตอ้ งการเท่านั้น เร่ืองที่ ๒ อมตพจนา สมเดจ็ ย่าของปวงชน \"ต้นไม้นี่มันคล้ายคน ต้นบานช่ืนนี้ฉันไม่ได้ปลูกด้วยเมล็ด แต่ไปซ้ือต้นเล็ก ๆ ท่ีเขาเพาะแล้วมาปลูก แต่มนั ก็งามและแขง็ แรงดี เพราะอะไรหรือ เพราะคนขายน้นั เขารูว้ ิธีวา่ จะเพาะอยา่ งไร ซ่งึ ฉันไมส่ ามารถทาได้เช่น เขา เมื่อฉันเอามาปลูกฉันต้องดูแลใส่ปุ๋ยเสมอ เพราะดินท่ีนี่ไม่ดี ต้องคอยรดน้าพรวนดินบ่อยๆ ต้องเอาหญ้าและ ตน้ ไมท้ ไ่ี ม่ดอี อก เดด็ ดอกใบที่เสียๆ ท้งิ คนเราก็เหมือนกัน ถ้ามีพันธ์ุดี เมื่อเป็นเด็กก็แข็งแรง ฉลาด เมื่อพ่อแม่คอยสั่งสอน เด็ดเอาของเสียออก และหาปยุ๋ ทีด่ ีใส่เสมอ เด็กคนน้ันก็จะเป็นคนที่เจริญและดี เหมอื นกบั ต้นและดอกบานชน่ื เหล่าน้ัน\" ทม่ี า : ชีวิตงาม เลม่ ๓ กองทนุ สบื อายพุ ระพทุ ธศาสนา วัดชลประทานรังสฤษฎ์ หนา้ ๓๑ การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่าสาร เรอื่ งที่ ๒ เรือ่ งนเ้ี ม่อื อา่ นคร้ังแรกก็เกิดความประทับใจ เม่ืออา่ นอีกครัง้ หน่ึงจะรู้สึกซาบซง้ึ ใจมากขึ้น เพราะพระองค์ ท่านตรัสสั่งสอนคน โดยการเปรียบเทียบว่าต้นไม้ดอกไม้เหมือนกับคนหรือเด็ก คนจะเจริญและดไี ด้ เพราะเกิดมาดี เหมอื นกบั คนขายต้นไม้ที่เพาะพันธุ์ไมม้ าดี พระองคท์ ่านดูแลรักษาต้นไม้ให้เจริญงอกงามอยู่เสมอเปรียบเสมือนกับ พ่อแม่เลยี้ งลกู ใหด้ ี อมตพจนาของพระองค์ท่านจงึ มีคุณค่า และมีคณุ ประโยชน์อยา่ งมหาศาลแกป่ วงชนชาวไทย
425 441215 ใบงาน เรอื่ ง การวเิ คราะห์ วิจารณ์และประเมินค่าจากการอา่ น หนว่ ยท่ี ๕ บทกวีท่ีชนื่ ชอบ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ เรื่องการวเิ คราะห์และวิจารณ์เรอ่ื งจากวรรณกรรมท้องถน่ิ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ จุดประสงคส์ ามารถวเิ คราะห์วจิ ารณ์และประเมนิ เรือ่ งจากวรรณกรรมท้องถิ่นได้ คาช้แี จง นกั เรียนอา่ นวรรณกรรมท้องถ่ินเร่ือง ตาม่องลา่ ย แล้ววิเคราะหว์ จิ ารณ์และแสดงความคิดเห็น จากการอ่านประเด็นทีก่ าหนดให้ ๑. นักเรยี นคดิ ว่าเพราะเหตใุ ด ครอบครวั ตามอ่ งล่ายจึงมคี วามขัดแย้งเกดิ ขนึ้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. จากวรรณกรรมท้องถน่ิ เร่ืองนี้ มเี หตกุ ารณ์ตอนใดบ้างที่นักเรียนเห็นวา่ ไมน่ า่ จะเปน็ เชน่ นัน้ ให้ยกตวั อยา่ งพร้อมบอกเหตุผลประกอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. นักเรยี นคดิ วา่ วรรณกรรมทอ้ งถ่ินเรอื่ งนน้ี ่าจะเกดิ ข้นึ ทีจ่ ังหวดั ใด และสถานที่ใดทีน่ ักเรยี นเคยไป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. วรรณกรรมท้องถ่ิน เร่ือง ตาม่องล่าย มีความสมเหตุสมผลเพยี งใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. นกั เรียนได้ข้อคิดอะไรจากการอา่ นเรื่องตาม่องลา่ ยบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
426 441226 เฉลยใบงาน เรอ่ื ง การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์และประเมินคา่ จากการอา่ น หนว่ ยท่ี ๕ บทกวีทช่ี ืน่ ชอบ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรือ่ งการวิเคราะห์และวจิ ารณ์เรอื่ งจากวรรณกรรมท้องถนิ่ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ จดุ ประสงคส์ ามารถวเิ คราะห์วจิ ารณ์และประเมินเรื่องจากวรรณกรรมท้องถน่ิ ได้ คาชแี้ จง นกั เรียนอ่านวรรณกรรมท้องถน่ิ เรื่อง ตาม่องล่าย แลว้ วเิ คราะห์วิจารณ์และแสดงความคดิ เหน็ จากการอ่านประเดน็ ทีก่ าหนดให้ ๑. นักเรียนคดิ วา่ เพราะเหตใุ ด ครอบครวั ตาม่องลา่ ยจึงมีความขัดแยง้ เกิดขึ้น ๑. การขาดการสื่อสารพูดคยุ กันเพ่อื ความเขา้ ใจกันในครอบครัวของตาม่องล่ายระหว่าง พอ่ แม่ ลกู ๒. การถือทิฐขิ องแตล่ ะฝ่ายตามอ่ งลา่ ยกบั ยายราพงึ ๒. จากวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ เร่ืองน้ี มีเหตกุ ารณ์ตอนใดบา้ งท่นี ักเรียนเหน็ ว่าไม่น่าจะเป็นเชน่ นน้ั ใหย้ กตัวอยา่ งพร้อมบอกเหตุผลประกอบ -อยู่ในดุลยพินจิ คร-ู ๓. นกั เรยี นคดิ ว่าวรรณกรรมท้องถิน่ เรอื่ งน้นี ่าจะเกดิ ขน้ึ ทจี่ ังหวัดใด และสถานที่ใดบ้างท่ีนักเรยี นเคยไป จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ๔. วรรณกรรมทอ้ งถ่ิน เร่ือง ตามอ่ งล่าย มีความสมเหตุสมผลเพยี งใด ความสมเหตสุ มผลในเรื่องความรกั ของหนมุ่ หญิงสาว ซง่ึ มีความพึงพอใจหน้าตา นิสัยใจคอ ไม่สมเหตสุ มผล เพราะการแต่งงานเปน็ เร่ืองใหญ่เปน็ ไปไม่ได้ทั้งสองฝ่ายจะไมท่ ราบข่าว การเตรียมจัดพธิ ี แต่งงานเปน็ เรื่องทเี่ กินความจรงิ ของการเกิดสถานท่ีต่างๆขนึ้ มา ๕. นกั เรยี นไดข้ อ้ คิดอะไรจากการอ่านเรื่องตาม่องลา่ ยบา้ ง การถือทฐิ ิมานะอดทน โดยไม่ยอมทาควาเข้าใจ ยอมรับฟงั เหตผุ ลซ่ึงกันและกัน ย่อมทาให้เกดิ ผลเสียตามมา
427 441237 แบบทดสอบ เรอื่ ง การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบของเรื่องตามอ่ งล่าย หน่วยท่ี ๕ บทกวที ี่ช่นื ชอบ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๒ เรือ่ ง การวเิ คราะห์และวจิ ารณ์เรือ่ งจากวรรณกรรม ทอ้ งถ่ินรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ คาชีแ้ จง นักเรยี นอา่ นนทิ านพ้ืนฐานเร่ืองตาม่องล่าย แล้วเขยี นตอบตามความคิด (๑๐ คะแนน) ๑. ชอื่ เรอ่ื ง……………………………………………………………….……………………………………………………………………………….. ๒. รูปแบบวรรณกรรม……………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. โครงเรื่อง…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. เน้ือเร่ืองย่อ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. ตัวละคร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. ฉาก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. กลวิธกี ารแตง่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. การใช้ภาษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙. ข้อคิดที่ได้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐. ทัศนะของผู้อา่ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
428 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๕ เร่ือง บทกวีท่ชี ่นื ชอบ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เรอื่ ง การอา่ นตีความบทกวี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเนือ้ หา รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ เร่ือง การแปลความ การวจิ ารณ์เรอ่ื งที่อา่ น จาเป็นต้องวิเคราะห์เรื่อง ข้นั นา ตคี วาม การวิเคราะหว์ ิจารณ์ ท่ีอา่ นว่ามีความสมเหตุสมผล การลาดบั ความ และ ๑. นกั เรียนรว่ มกิจกรรม “ตอบตามส่ัง” โดยครูจะสมุ่ เลขท่ีนกั เรียนให้จับ ๒. ใบงาน ความเป็นไปไดข้ องเร่ืองหรือไม่ คาถามเก่ยี วกบั บทกวี ซงึ่ ในคาถามน้ันจะมคี าสงั่ ว่าอ่านเนื้อความบทกวนี ้ใี ห้ใคร จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ตอบช่อื เรื่องของบทกวีที่อา่ นเพ่อื ใหน้ ักเรยี นรู้จักบทกวกี ่อนจะเช่ือมโยงเข้าสู่ ภาระงาน/ชนิ้ งาน ดา้ นความรู้ บทเรียน ขั้นสอน ๑. บอกหลักการตีความและประเมนิ คณุ ค่า ๑. นักเรียนศึกษาใบความรู้เร่ือง การแปลความ ตีความ การวเิ คราะห์วิจารณ์ ๒. การวิเคราะห์วจิ ารณ์ความเปน็ ไปได้ของเร่ือง ๒. นกั เรยี นจบั ครู่ ว่ มกันทาใบงาน การแปลความ ตีความ พิจารณาความ ด้านทกั ษะและกระบวนการ สมเหตสุ มผล การลาดบั ความและความเปน็ ไปได้จากบทกวี สามารถแปลความ ตคี วาม วเิ คราะห์วจิ ารณ์ ๓. ครนู กั เรียนรว่ มกันอภปิ รายการแปลความ ตีความ การวเิ คราะห์วิจารณ์ บทกวี บทกวีเรื่อง ดอกไม้จะบาน ดา้ นคุณลักษณะ ขัน้ สรปุ ๑. มีวนิ ยั ๑. นักเรยี นร่วมกันสรุปการแปลความ ตคี วาม พจิ ารณาความสมเหตุสมผล ๒. ม่งุ มนั่ ในการทางาน การลาดับความและความเป็นไปไดจ้ ากเรื่อง ลงสมดุ 441248
429 441259 การวดั และประเมนิ ผล วิธกี าร เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ เกณฑ์ สิ่งท่ีต้องการวัด/ประเมิน ใชค้ าถาม คาถาม ผ่านเกณฑ์ ๘๐ % ใช้คาถาม คาถาม ด้านความรู้ ๑. บอกหลกั การตคี วาม ตรวจใบงาน ใบงาน ผ่านเกณฑ์ ๘๐ % แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ ๒ และประเมินคุณค่า ประเมินพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ ๒. การวเิ คราะห์วิจารณ์ ความเป็นไปได้ของเรื่อง ดา้ นทักษะ/กระบวนการ แปลความ ตีความ วเิ คราะห์ วจิ ารณบ์ ทกวี ด้านคุณลกั ษณะ ๑. มวี นิ ัย ๒. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชือ่ ......................................ผ้สู อน (.......................................................) วันท.่ี .........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ........................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วันท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ.............
430 441360 ใบความรู้ เรอ่ื ง การแปลความ ตีความ การวเิ คราะหว์ ิจารณ์ หน่วยที่ ๕ บทกวีท่ีช่ืนชอบ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๓ การอ่านตีความบทกวี รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์ สามารถแปลความ ตีความ พจิ ารณาความสมเหตสุ มผล การลาดบั ความและความเปน็ ไปได้ จากเรือ่ งที่อา่ น การแปลความ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.๒๕๒๕ (๒๕๒๕:๕๔๐)ให้ความหมายว่า \"แปล\" ไว้ว่า \"ก.ถ่าย ความหมายจากภาษาหนึ่ง ทาให้เข้าใจความหมาย\" ชวาล แพรัตกุล(๒๕๑๘:๒๒๘-๒๒๙) ได้ให้ความหมาย ของคาว่า \"แปล\"ไว้ว่า หมายถึง การแปลเจตนา และรู้ความหมายของเรื่องราวน้ัน และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อ่ืน เข้าใจได้ด้วยถ้อยคาใหม่ สานวนใหม่พอสรุปความหมาย\"การแปลความ\"ได้ว่า หมายถึง การอ่านที่มุ่งให้เกิดความ เข้าใจกบั เนื้อหา เริม่ จากการแปลคาหรอื ศัพท์ที่ไม่รู้ความหมาย หรอื เป็นการแปลศัพท์จากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษา หนึ่ง การถอดคาประพันธ์ แปลความหมายรูปภาพ เคร่ืองหมายต่างๆ เช่นหหนน้า้าววังหรือจะส่งั ด้วยนนะะนนกกใในนแแนนบบออกก ของพ่ีว่าโหยไห้มมทิ ิทันสงั่ สกณุ นิ กบ็ นิ ไป ลงงจจับบั ใใกกลล้นน้ กกตตะะกกรรุมุมรรมิ มิ ววุ้มุ้มววนน การตคี วาม หมายถึง การอ่านที่พยายามหาสิ่งที่ซ่อนเร้นอยู่ในข้อเขียนหรืออากัปกิริยาท่าทาง สีหน้า แววตา น้าเสียง เพ่ือทราบความหมายหรือเจตนาท่ีแท้จริงที่แฝงเร้นอยู่ ถ้าเป็นการสื่อความธรรมดาก็คงไม่ต้องตีความ แต่ถ้าอากัปกิริยาท่าทางกับคาพูดขัดแย้งกัน ผู้อ่านจะต้องค้นหาความจริงว่า เจตนาท่ีแท้จริง หมายถึงอะไรแน่ การตีความควรจะตคี วามท้ังดา้ นเน้ือหาและด้านน้าเสยี งควบค่กู ันไป ตวั อยา่ งที่ ๑ \"ตาน้าพริกละลายแม่นา้ \" ตีความด้านเนื้อหา : น้าพริกท่ีมีปริมาณน้อย เม่ือตาแล้วเทละลายลงแม่น้าย่อมสูญเปล่า เพราะไม่เกิดรสชาติใดๆ เปรยี บไดก้ บั การทาอะไรก็ตามแล้วสูญเปล่า ตีความดา้ นนา้ เสียง : เตือนสติคนเราวา่ การจะทาอะไรต้องประมาณตนวา่ ส่ิงท่ีทาลงไปนน้ั จะไดผ้ ลคมุ้ ค่าหรือไม่ ตัวอยา่ งท่ี ๒ เหมือนบายศรีมีงานท่านถนอม เจิมแป้งหอมน้ามันจันทน์ให้หรรษา พอเสร็จงานเขาเอาทิ้งลงคงคา ต้องลอยมา ลอยไปเปน็ ใบตอง(นริ าศพระบาท - สนุ ทรภู)่ ตีความด้านเนื้อหา : สุนทรภู่เปรียบเทียบว่าชวี ิตคนเรานั้นเหมือนบายศรี เวลามีงานก็จะถนอมเป็นอย่างดี แต่พอ เสร็จงานก็ไมม่ ีประโยชน์ ไมม่ ีคณุ ค่าก็จะกลายเปน็ เพียงเศษใบตองเท่านน้ั ตีความด้านน้าเสียง : สุนทรภู่ต้องการสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตที่ผันแปรของคน ซ่ึงเม่ือก่อนเคยมีความสุข มีคน ยกยอ่ งให้เกียรติ แต่บดั นี้ต้องมาพบกับความทกุ ข์ ความขมขื่นตามลาพงั สรุปผลการตีความ : เตือนใจให้ผอู้ า่ นได้ย้ังคดิ ถึงชวี ิตของคนว่า ทุกอย่างไม่แน่นอน พึงเตรียมใจไว้สาหรับสจั ธรรม ข้อน้ีด้วย
431 441371 การขยายความ คือ การนารายละเอียดมาพูดหรืออธิบายเสริมความคิดหลักหรือประเด็นสาคัญของเร่ืองให้ชัดเจนแจ่มแจ้งข้ึน อาจเป็นการให้ข้อมูลเพิ่มเติม ให้เหตุผลยกตัวอย่างประกอบ หรือมีการอ้างอิงเปรียบเทียบให้ได้เน้ือความ กวา้ งขวางออกไป จนเป็นที่เขา้ ใจชัดเจนย่ิงขึน้ ตวั อย่าง ความโศกเกดิ จากความรัก ความกลัวก็เกดิ จากความรกั ผ้ทู ลี่ ะความรกั เสียได้ ก็ไม่โศกไมก่ ลัว (พทุ ธภาษิต) ขยายความได้วา่ เมื่อบุคคลมีความรกั ตอ่ สง่ิ ใด หรือคนใด เขากต็ อ้ งการให้สิ่งนัน้ คนน้นั คงอยูก่ บั เขาตลอดไป มนุษย์โดยทวั่ ไปยอ่ มจะ กลัวว่าสิ่งน้ันๆ หรือคนท่ีตนรักจะสูญหายหรือจากเขาไป ด้วยธรรมดาแล้วทุกส่ิงทุกอย่างย่อมเปล่ียนแปลง สญู สลายไปตามสภาพการณ์ ถ้าบคุ คลรู้ความจริงขอ้ น้ี เขาก็จะไมโ่ ศกไม่กลวั ต่อไป
432 441382 ใบงาน เรื่อง การแปลความ ตีความ การวิเคราะห์วจิ ารณ์ หน่วยที่ ๕ บทกวีท่ชี นื่ ชอบ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๓ การอา่ นตคี วามบทกวี รายวิชาภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ออหหงั ังกกาาขรอ์ขงอดงอดกอไกมไ้ ม้ สตรมี ีสองมือ ม่นั ยดึ ถอื ในแก่นสาร เกลียวเอ็นจกั เป็นงาน มใิ ช่รา่ นหลงแพรพรรณ สตรีมสี องตนี ไวป้ ่ายปนี ความใฝฝ่ นั ยดื หยดั อย่รู ่วมกัน มิหมายมั่นกนิ แรงใคร สตรมี ดี วงตา เพอ่ื เสาะหาชีวติ ใหม่ มองโลกอย่างกว้างไกล มิใชค่ อยชม้อยชวน สตรีมดี วงใจ เปน็ ดวงไฟไมผ่ ันผวน สร้างสมพลงั มวล ดว้ ยเธอล้วนก็คือคน สตรมี ชี วี ิต ล้างรอยผดิ ด้วยเหตุผล คุณคา่ เสรชี น มใิ ชป่ รนกามารมณ์ ดอกไม้มีหนามแหลม มิใช่แย้มคอยคนชม บานไว้เพื่อสะสม ความอุดมแหง่ แผ่นดิน! (ใบไม้ทีห่ ายไป : จิระนนั ท์ พิตรปรีชา)
441393 ใบงาน เรอ่ื ง การแปลความ ตคี วาม การวเิ คราะห์วิจารณ์ หน่วยที่ ๕ บทกวที ่ชี ื่นชอบ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๓ การอา่ นตคี วามบทกวี รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ จดุ ประสงค์ สามารถการแปลความ ตีความ การวิเคราะหว์ ิจารณ์ได้จากเรอ่ื งทีอ่ ่าน คาช้ีแจง นักเรยี นอ่านบทกวี เรือ่ งอหังกาาขรอข์ งอดงอดกอไกมไ้ ม้ แล้วตอบคาถามใหถ้ ูกต้อง ๑. บทกวเี รือ่ ง อหังการของดอกไม้ ถอดความไดว้ ่าอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ผู้แต่งเปรยี บผหู้ ญงิ เหมอื นกันผู้ชายในเรื่องอะไรด้านใดบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. นกั เรยี นจะนาข้อคดิ ที่ไดจ้ ากเรื่องนี้ไปใชใ้ นด้านใด เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
434 442304 ใบงาน เรือ่ ง การแปลความ ตคี วาม การวิเคราะห์วจิ ารณ์ หน่วยที่ ๕ บทกวีท่ีช่ืนชอบ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๓ การอา่ นตคี วามบทกวี รายวิชาภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ คาถามในกจิ กรรม ตอบตามส่ัง กติกา ๑. ครจู ับฉลากเลขท่นี ักเรยี นข้ึนมาแลว้ ให้นักเรยี นคนน้นั ฉับฉลากคาถาม ๒. นักเรียนอา่ นข้อความท่ีอยู่ในฉลากนัน้ ซึง่ มีคาสั่งให้ใครเป็นคนอา่ นบทกวแี ละให้ใครเปน็ คนตอบ ชอื่ เรอ่ื งของบทกวีน้ี ๓. เมอ่ื นกั เรียนตอบถูกไดร้ ับคาช่นื ชม แลว้ ครกู ็จับลากเลขที่นักเรียนต่อไป แต่ถา้ นกั เรยี นตอบผิดมีโอกาส เรียกตัวช่วยเปน็ เพอ่ื นได้ ๑ คนชว่ ยกันวเิ คราะห์บทกวี วา่ บทกวีนี้ควรมีช่ือว่าอะไร คาถาม ๑. ให้คนท่ถี ือกระดาษแผ่นนี้กรุณาอา่ นบทกวีต่อไปน้ี แลว้ ให้คนที่อยู่ด้านขวามือคนท่ี ๒ เป็นคนตอบ อูข่ า้ วอดขา้ วคราวน้ี เคยมีคดิ มั่นขนั หมาย เริดรา้ งห่างมอดวอดวาย ปรากฏอดตายใกลม้ า (ของ คุณ \"ทวีปวร\" หรอื ทวปี วรดิลก ศลิ ปนิ แหง่ ชาตพิ .ศ.2538) ๒. ให้คนท่นี ั่งดา้ นหลงั คณุ เป็นคนอ่านบทกวตี อ่ ไปน้ี แล้วให้คนอา่ นขอ้ ความนีเ้ ป็นคนตอบ มีตานานเกา่ เก่า เลา่ วา่ ณ เวิง้ น้าเว้งิ ฟา้ -ค้งุ น้าเขยี ว มีนกขาววา่ ยฟ้าฟ้อนปีกเรียว โฉบท่องบินเท่ยี ว อย่างเป็นไท (ของสถาพร ศรีสัจจัง ศิลปินแหง่ ชาติ พ.ศ. 2548) ๓. ใหผ้ ูช้ ายคนไหนก็ไดท้ ่ีคณุ เลือกอ่านบทกวตี ่อไปน้ี แลว้ ใหผ้ หู้ ญิงคนไหนก็ได้ท่ีคณุ เลือกเป็นคนตอบ ยามแสงจนั ทรน์ ้ันทอแสงอาบนที คือราตรีที่ดาราพาหลับใหล ถามฟ้าไปใจเจ้าเอ๋ยอยู่หนใด อีกเมื่อไหรน่ านเพียงใดจะกลับคอื (ของนางฟ้าสีน้าเงิน) ๔. ให้คนท่คี ุณคิดว่าสวยท่ีสดุ อา่ นบทกวตี ่อไปน้ี แลว้ ให้คนเลขทแ่ี รกเปน็ คนตอบ ดอกไม้ ดอกไม้จะบาน บรสิ ุทธิ์กลา้ หาญ จะบานในใจ สขี าว หนุม่ สาวจะใฝ่ แนว่ แน่แกไ้ ข จุดไฟศรทั ธา ผลิ (หนงั สอื ปฐมนิเทศนสิ ติ ใหม่จฬุ าฯ) ๒๕๑๖
435 442315 ๕. ให้นกั เรยี นคนทอ่ี ยดู่ ้านซา้ ยมือคนแรกเป็นคนอา่ นบทกวีนี้ แลว้ ให้คนที่อยดู่ ้านขวามือคนแรกเป็นคนตอบ ใบไม้น้อยลอยเคว้งคว้างกลางลมแผว่ สง่ เสยี งแวว่ เว้ิงวา้ งบนทางหนาว ใหโ้ ศกเหงาเศร้าชา้ น้าตาพราว ใบนน้ั ราวจะลารา่ งระโรยไกล (ของนางฟ้าสนี ้าเงิน) เฉลยคำตอบ ๑. อูข่ า้ ว อดขา้ ว ๒. นกั เดนิ เรือ ๓. ถามจันทร์ ๔. ดอกไมจ้ ะบาน ๕. เพลงดอกไม้
436 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ บทกวที ี่ชนื่ ชอบ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรือ่ ง การสรุปความรู้ข้อคิดจากบทประพนั ธ์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ขอบเขตเน้อื หา รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย การสรุปเรื่อง เปน็ การเขียนสรปุ ใจความสาคญั ของเร่ืองแลว้ นามาเขยี นใหม่เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจได้ง่ายข้ึน กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขน้ั นา ๑. ใบงาน เรอ่ื งการสรปุ ความรู้ข้อคิดจากบท ดา้ นความรู้ นกั เรียนยกตวั อย่างบทรอ้ ยกรองสั้นๆ แล้วร่วมกันสรปุ ความ ประพันธ์ ขน้ั สอน ๒. แบบทดสอบเร่ืองการสรปุ ความรู้ขอ้ คดิ การวเิ คราะห์คุณคา่ ในด้านความรู้และข้อคดิ จาก ๑. นกั เรียนอา่ นบทร้อยกรองเรือ่ งสนั ติภพ จากบทประพนั ธ์ บทประพันธ์ ๒. นักเรียนจับคู่และร่วมกันสรุปวิเคราะห์คุณค่าในด้านความรู้ ด้านทกั ษะและกระบวนการ และข้อคดิ ทไี่ ดจ้ ากเรอื่ ง สันติภพ ภาระงาน/ชนิ้ งาน ๓. ครูสุ่มกลุ่มนักเรียนออกมานาเสนอวิเคราะห์คุณค่าในด้าน ๑. สรุปความรแู้ ละข้อคดิ จากบทประพันธ์ ความร้แู ละขอ้ คิดสามารถกาหนดแนวทางการนาความรู้และข้อคิด ๒. กาหนดแนวทางการนาความรูแ้ ละข้อคิดจาก ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ บทประพันธ์ไปใช้ในชวี ิตจริง ข้นั สรุป ด้านคุณลกั ษณะ นักเรยี นทดสอบ ๑. มวี นิ ยั ๒. มงุ่ มัน่ ในการทางาน ๓. มมี ารยาทในการเขียน 424326
437 442337 การวัดและประเมนิ ผล วิธีการ เครื่องมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ ส่ิงทีต่ ้องการวดั /ประเมิน ใชค้ าถาม คาถาม เกณฑ์ผ่าน ๘๐ % ใบงาน ใบงาน ด้านความรู้ ทดสอบ การวเิ คราะห์คุณคา่ ในดา้ น แบบทดสอบ เกณฑผ์ า่ น ๘๐ % ความรูแ้ ละขอ้ คิดจากบท สังเกตพฤติกรรม ประพนั ธ์ แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ ๒ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ เกณฑผ์ า่ น สรุปความรู้และข้อคิดของ วรรณกรรมท้องถน่ิ จากบท ประพนั ธ์ ดา้ นคุณลักษณะ ๑. มีวินัย ๒. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่ือ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท.ี่ .........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอื่ ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วนั ท่ี..........เดือน..........พ.ศ.............
438 442348 ใบงาน เรอ่ื งการสรุปความรู้ข้อคดิ จากบทประพนั ธ์ หน่วยท่ี ๕ บทกวีท่ีช่ืนชอบ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๔ เร่ืองการสรปุ ความรขู้ อ้ คิดจากบทประพันธ์ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ จดุ ประสงค์ สรปุ ความรู้และข้อคิดจากบทประพันธ์ คาชี้แจง นกั เรยี นอา่ นบทประพนั ธ์แล้วตอบคาถาม สนั ติภพ เธอคือผู้อยู่กลางดงปอ๊ บปแี้ ดง ดอกไม้แห่งหวยหาญผ้ผู ่านศึก สุสานแห่งวรี กรรม การราลึก เปน็ บันทกึ แหง่ สงครามและความตาย ค้างภาพธงชาติคลุมเหนือหลุมศพ ให้ผ้มู าเคารพรู้ความหมาย วา่ ล้วนเหล่านกั รบผทู้ อดราย มีชีวติ วนั สดุ ทา้ ย ณ ทนี่ ้ี ประดับดว้ ยเหรยี ญตราความกล้าหาญ เปน็ ตานานอยู่เบ้ืองบาทวถิ ี ถึงวนั กม็ ผี ู้เขยี นคากวี สดดุ ีประดับภาพสามกุมภา ว่าการฆ่าหรอื ถูกฆา่ คือหนา้ ท่ี ไม่ต้องมีเหตุผลของคนฆา่ ไม่มีความแคน้ เคืองอันคา้ งรา และไมร่ ูเ้ ลยว่าฆา่ ทาไม ล้วนจารกึ อยู่ ณ ดงดอกไมแ้ ดง เรือ่ งราวแห่งการรบรว่ มสมยั ป๊อบป้แี ดงแยม้ ดอก ณ กาลใด คือคาไวอ้ าลัยแล้วกาลนัน้ คาอทุ ิศแด่มวลมนษุ ยชาติ ผู้ร่วมเขยี นประวตั ิศาสตร์สงครามนั่น เมอื่ ใดหนอจะได้คิดหยดุ ฆา่ กัน เพอื่ ลบวันทหารผา่ นศึกให้สิ้นภพ จากหนังสอื ออล แม็กกาซนี โดยอดลุ จันทรศักดิ์ กวีลีลา หนา้ ๙
439 442359 ใบงาน เรอื่ งการสรปุ ความรู้ข้อคิดจากบทประพนั ธ์ หน่วยที่ ๕ บทกวที ่ีช่ืนชอบ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๔ เรื่องการสรุปความร้ขู ้อคดิ จากบทประพันธ์ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ คาสงั่ จงอ่านเร่ืองสนั ติภาพ แลว้ ตอบคาถามต่อไปนี้ ๑. “เธอคอื ผู้อย่กู ลางดงป๊อบปี้แดง” คาวา่ “เธอ” หมายถึงใคร ............................................................................................................................. .................................. ๒. ดอกป๊อปปแี้ ดง เป็นสัญลกั ษณ์ของส่ิงใด ............................................................................................................................. ................................. ๓. “สดดุ ีประดบั ภาพ-สามกุมภา” วนั ที่ ๓ กมุ ภาพนั ธ์ ถกู กาหนดใหเ้ ปน็ วันทร่ี ะลึกถงึ ใครเปน็ วนั สาคัญทม่ี ี ชอ่ื ว่าวนั อะไร ............................................................................................................................. ................................ ๔. คาประพันธ์บทท๔ี่ ผปู้ ระพันธ์ต้องการใหผ้ อู้ ่านได้คิดเร่ืองใด ........................................................................................................................................ .................... ๕. เม่อื นกั เรยี นไดย้ ินคาว่า “สงคราม” นักเรยี นมีความคดิ ความรูส้ ึกอยา่ งไรบ้างจงอธบิ าย ....................................................................................................................................................... .... ๖. คาประพนั ธบ์ ทใดกระทบใจหรอื ใหค้ วามรสู้ กึ นักเรยี นมากท่ีสดุ จงอธบิ ายพร้อมเหตผุ ล (เปน็ ความรสู้ ึกด้าน บวกหรือลบก็ได้) ........................................................................................................................................ .................... ๗. นกั เรยี นคดิ ว่าคาประพันธน์ ้ีจะสรา้ งความสะเทือนใจให้กับบคุ คลกลุม่ ใดมากท่ีสดุ เพราะอะไร ................................................................................................................................................... ........ ๘. จงคัดลอกคาประพันธ์ท่ีใช้คาถามเชิงวาทศิลป์ .......................................................................................................................................................... ๙. ชือ่ เรอ่ื ง “สันติภพ” หมายความวา่ อย่างไร นกั เรียนคดิ วา่ เป็นชอ่ื เร่ืองท่ีเหมาะสมหรือไม่อยา่ งไร .......................................................................................................................................................... ๑๐. จุดมุง่ หมายหลักทีผ่ ู้เขยี นต้องการนาเสนอคืออะไร คาประพันธบ์ ทใดสนบั สนุนคาตอบของนักเรียน ............................................................................................................................. ...................................
442460 เฉลยใบงาน เรอ่ื งการสรุปความรูข้ ้อคดิ จากบทประพันธ์ หนว่ ยท่ี ๕ บทกวีท่ีช่นื ชอบ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔ เรอ่ื งการสรปุ ความรขู้ ้อคิดจากบทประพนั ธ์ รายวิชาภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ จุดประสงค์ สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิดของวรรณกรรมท้องถิน่ จากบทประพันธ์ ๑. “เธอคือผู้อยู่กลางดงป๊อบป้แี ดง” คาวา่ “เธอ” หมายถึงใคร .......ทหารผเู้ สียชวี ิตในสงคราม.................................................................................................. ๒. ดอกป๊อปปแ้ี ดง เป็นสัญลักษณข์ องสิง่ ใด ..................ทหารผ่านศึก/ทหารผกู้ ล้าทีเ่ สยี ชวี ิตในสนามรบ....................................................... ๓. “สดุดปี ระดับภาพ-สามกุมภา” วันที่ ๓ กุมภาพนั ธ์ ถกู กาหนดใหเ้ ปน็ วนั ทรี่ ะลึกถงึ ใครเป็นวนั สาคญั ทมี่ ี ชอ่ื ว่าวันอะไร ...............ทหารผู้เสียชวี ติ ในสงครา/วนั ทหารผา่ นศึก........................................................................ ๔. คาประพันธ์บทท๔ี่ ผู้ประพันธ์ตอ้ งการให้ผ้อู า่ นไดค้ ดิ เรือ่ งใด .................สงครามเป็นเร่ืองท่ีไมส่ มควรเกิดขึ้น.มแี ต่การสูญเสียทัง้ สองฝา่ ย..................................... ๕. เม่ือนกั เรียนไดย้ ินคาวา่ “สงคราม” นักเรยี นมีความคิดความรู้สกึ อยา่ งไรบ้างจงอธิบาย ..................อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของคร.ู .................... ๖. คาประพันธบ์ ทใดกระทบใจหรือใหค้ วามรู้สึกนักเรยี นมากท่ีสุด จงอธิบายพร้อมเหตผุ ล (เป็นความรสู้ ึกด้าน บวกหรอื ลบก็ได้) ..................อยู่ในดุลยพนิ จิ ของครู............................................ ๗. นักเรียนคดิ ว่าคาประพนั ธน์ ี้จะสรา้ งความสะเทือนใจให้กบั บุคคลกลุม่ ใดมากท่ีสดุ เพราะอะไร ...................ผู้ท่อี ยูใ่ นครอบครัวของผูส้ ูญเสีย เพราะทาให้ต้องพลัดพรากจากคนทเ่ี ป็นทรี่ ัก............... ๘. จงคัดลอกคาประพันธ์ท่ีใช้คาถามเชงิ วาทศลิ ป์ ..............”และไมร่ เู้ ลยว่าฆา่ ทาไม, เมือ่ ใดหนอจะได้คิดหยุดฆา่ กัน”................................ ๙. ช่อื เร่ือง “สันตภิ พ” หมายความว่าอย่างไร นักเรียนคดิ วา่ เป็นชอื่ เรอื่ งท่ีเหมาะสมหรอื ไม่อย่างไร.”” ดนิ แดนแห่งความสงบสขุ ../เหมาะสมเพราะเปน็ ใจความสาคญั ทีผ่ ู้เขยี นต้องการนาเสนอ.... ๑๐. จดุ มงุ่ หมายหลักทผ่ี ู้เขียนต้องการนาเสนอคอื อะไร คาประพนั ธบ์ ทใดสนบั สนนุ คาตอบของนักเรยี น สงั คมท่ีสงบสุข ไมม่ ีสงคราม คาประพันธ์บทสดุ ท้ายสนบั สนนุ คาตอบน้ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 496
Pages: