Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Published by elibraryraja33, 2021-08-25 03:55:52

Description: 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Search

Read the Text Version

442471 แบบทดสอบ เร่ืองการสรุปความรู้ข้อคิดจากบทประพนั ธ์ หน่วยที่ ๕ บทกวที ่ีชนื่ ชอบ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๔ เร่ืองการสรุปความร้ขู ้อคิดจากบทประพันธ์ รายวิชาภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ จุดประสงค์ สรุปความร้แู ละข้อคิดจากบทประพันธ์ คาชี้แจง นักเรียนอ่านบทประพนั ธแ์ ล้วตอบคาถาม ความรกั ความรักมิใช่เรือ่ งน่ารงั เกยี จ หากร้เู จยี ดหัวใจใหเ้ หมาะสม มิใหร้ กั ชักพาเผลออารมณ์ จนเกนิ ขม่ ความใคร่ก่อนวยั งาม ความรกั มิใชเ่ หตุเทวษทุกข์ ถ้ามิชัว่ ชิงสกุ เสียก่อนห่าม ถ้ารจู้ ักพิทกั ษไ์ ฟมิใหล้ าม รกั จะพาฝ่าข้ามขวากหนามร้าย ความรักมิใช่จบทเี่ ตียงนอน แต่จะเออื้ อาทรซ่อนความหมาย เพียงบปุ ผาค่าคุณกรนุ่ กาจาย ถ้ามิดว่ นทาลายก่อนเวลา ความรกั มิใชข่ องทดลองเลอื ก เบอื่ ก็ถอดเช่นเกือกแลว้ ซอกหา ความสาสอ่ นใชท่ ักษะเสรมิ ชวี า ราคะใช่ราคาของชีวี หนุ่มเอยสาวเอยเพ่งิ เคยรัก จงค่อยฟมู ค่อยฟกั ให้ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ อยา่ ใหส้ ตปิ ัญญาเธอมดื มิด เช่อื วา่ รักจักวิจติ รทกุ ดวงใจ ศิวกานต์ ปทมุ สตู ิ,๒๕๔๖

442482 คาสั่ง จงอ่านเรือ่ งความรกั แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ ( ข้อละ ๒ คะแนน คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน) ๑. ผปู้ ระพันธม์ มี ุมมองเก่ียวกบั ความรักอยา่ งไรบ้าง ใหน้ ักเรียนระบเุ ปน็ ข้อๆ ................................................................................................ .................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................................................. ๒. จงหยบิ ยกมุมมองของผปู้ ระพันธท์ ่ีนักเรยี นเหน็ ดว้ ยและไม่เห็นด้วย อธิบายพร้อมเหตุผล มมุ มองทเี่ ห็นด้วย คือ............................................................................................................................................... ..................................................................................................................... ............................................................ .................................................................................... ............................................................................................. . มมุ มองท่ีไม่เหน็ ดว้ ย คือ ................................................................................................................................................................................. .................................................................................... ............................................................................................. ๓. นกั เรยี นคดิ วา่ วยั ของนกั เรียนเหมาะสมกับการมคี วามรักหรือไม่อยา่ งไร จงอธิบายพรอ้ มเหตผุ ลประกอบ ....................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ๔. สานวน “ชงิ สกุ ก่อนหา่ ม” และคาสอน “รักนวลสงวนตวั ” มคี วามสัมพันธ์ กบั คาประพันธน์ อ้ี ยา่ งไร ....................................................................................................................................................................... ............. ...................................................................................................................... .............................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................ ................................................................................ .... ๕. นกั เรยี นสามารถนาแนวคิดที่ได้จากคาประพันธน์ ้ีไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งไร ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................ .................................................................................

443 442493 เฉลยแบบทดสอบ เร่ืองการสรุปความรู้ข้อคิดจากบทประพนั ธ์ หนว่ ยท่ี ๕ บทกวีที่ชื่นชอบ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอื่ งการสรปุ ความรู้ข้อคิดจากบทประพนั ธ์ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๑. ผ้ปู ระพนั ธม์ มี ุมมองเกย่ี วกับความรกั อยา่ งไรบา้ ง ให้นักเรียนระบุเป็นข้อๆ ๑. ความรกั ไมใ่ ชเ่ ร่ืองนา่ รงั เกียจ ๒. ความรกั ไม่ใชส่ าเหตุของความทกุ ข์ ๓. เราสามารถฟนั ฝา่ อปุ สรรคได้ดว้ ยความรกั ๔. ความรกั ไม่ใช่สงิ่ เผ่ือเลอื ก ๕. ความรกั ไม่ใช่ความใคร่/ความรักไม่ใชเ่ รือ่ งของเพศสมั พันธ์ ๒. จงหยบิ ยกมมุ มองของผูป้ ระพันธท์ ่ีนักเรียนเห็นด้วยและไมเ่ หน็ ด้วย อธิบายพร้อมเหตุผล มมุ มองทเ่ี หน็ ด้วย คือ ความรกั ไม่ใช่ความใคร่ ความรกั ไม่จาเป็นต้องจบด้วยการมีเพศสัมพันธ์ เพราะ ความรักเป็นความรสู้ กึ ทลี่ ะเอียดอ่อน เป็นความรูส้ ึกท่ีดที างใจ มีความเอ้ืออาทร หว่ งใย ปรารถนาดีตอ่ กนั ช่วยเหลอื เก้ือกลู กนั (อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน) มมุ มองที่ไมเ่ หน็ ด้วย คือความรกั ไมใ่ ชส่ าเหตขุ องความทุกข์ เพราะโดยธรรมชาตเิ มือ่ เรามคี วามรสู้ ึกรักใคร แลว้ เราก็จะคอบหว่ งหาพะวงหาอยากใกล้ชดิ อยากเป็นที่หนึง่ ของคนท่ีเรารกั ซ่ึงความรสู้ กึ เหลา่ นีท้ าให้เป็นทกุ ข์ไมม่ ีความสขุ มีความกระวนกระวาย เม่ือไมไ่ ด้ดัง ใจปรารถนา ดังคากล่าวที่ว่า “ทใ่ี ดมีรักท่นี น่ั มีทุกข์”(อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครูผู้สอน) ๓. นักเรียนคดิ ว่าวยั ของนักเรียนเหมาะสมกบั การมีความรักหรือไม่อย่างไร จงอธิบายพร้อมเหตุผลประกอบ (อย่ใู นดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน) ๔. สานวน “ชงิ สกุ กอ่ นหา่ ม” และคาสอน “รักนวลสงวนตัว” มคี วามสมั พนั ธ์ กบั คาประพันธน์ ้อี ย่างไร ชิงสุกก่อนหา้ ม มคี วามสัมพันธค์ อื ในคาประพันธ์สอนให้ รักอยา่ งมสี ติ รู้จักยับยงั้ ช่งั ใจซึ่งตรงกับ ความหมายของสานวน (อยู่ในดุลยพินิจของครูผูส้ อน) รักนวลสงวนสงวนตัว เปน็ คาสอนทส่ี ัมพันธ์กับคาประพันธ์คอื เสนอว่าความรกั ไมใ่ ช่เรือ่ งเพศสัมพันธ์ ความรักเปน็ ความเอ้ืออาทร ฉะนน้ั เพื่อป้องกนั ไมใ่ ห้ความรักจบทเ่ี ตียงนอนผู้หญิงควรรกั ตัวไมป่ ล่อยตวั ปลอ่ ยใจให้เกินเลย ต้องมสี ติในการรัก (อยูใ่ นดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน) ๕. นกั เรยี นสามารถนาแนวคิดท่ีได้จากคาประพันธ์น้ีไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้อย่างไร (อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน)

444 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๕ บทกวีท่ีชน่ื ชอบ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๕ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เร่ือง การเขยี นวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความรู้ ความคดิ เห็นหรือโต้แย้งบทประพันธ์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ขอบเขตเน้อื หา กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ โตแ้ ยง้ ขั้นนา ๑.ใบงานเร่ือง บทประพนั ธ์ เร่ืองอหังการ์ของดอกไม้. วรรณกรรมเปน็ การฝึกทักษะการคิดอย่างมีเหตผุ ลคิดรอบคอบ ๑. ครสู นทนาซักถามนักเรียนเกยี่ วกบั วรรณกรรมทนี่ กั เรียนชอบ ๒.ใบงานเรื่อง บทประพนั ธเ์ ร่ือง ละเอียดถ่ีถว้ นและนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ อา่ น สันติภพ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๓.ใบงานเร่อื ง บทประพันธเ์ รื่อง ด้านความรู้ ๒. สรปุ ประเภทวรรณกรรมและประโยชนท์ ไี่ ด้รบั อขู่ า้ ว-อดขา้ ว ขน้ั สอน ๔.ใบงานเรื่อง บทประพันธ์เรื่อง ๑. บอกหลกั การเขยี นวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ กระดูกสันหลงั ความคิดเหน็ หรือโตแ้ ย้งในเรื่องตา่ งๆได้ ๑. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม ๔ กลมุ่ จบั ฉลากเลอื กเขียนวิเคราะห์ ภาระงาน/ชิ้นงาน วจิ ารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ วรรณกรรม ๒. เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น - คาประพนั ธ์เรื่องอหังการ์ของดอกไม้ หรอื โต้แย้งในเรื่องต่างๆได้ - คาประพันธเ์ รื่องสนั ติภพ ด้านทกั ษะและกระบวนการ - คาประพนั ธเ์ ร่ืองอู่ข่าว-อดข้าว - คาประพันธเ์ ร่ืองกระดกู สนั หลัง เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคดิ เห็นหรือโตแ้ ยง้ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๒. นกั เรยี นเขยี นวจิ ารณ์วรรณกรรมทีเ่ ลือกตามใบงาน ๓. ผู้แทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอข้อคดิ ที่ไดจ้ ากการอภิปราย ๑. ม่งุ ม่ันในการทางาน ๒. รักการอ่าน ภายในกลุ่ม ๓. มีมารยาทในการเขียน ขัน้ สรปุ ๑ นักเรยี นและครูร่วมกนั สรุปกลวธิ ี การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือโตแ้ ย้ง แลว้ บันทึกลงสมุด 443404

445 443415 การวดั และประเมนิ ผล วิธกี าร เครือ่ งมือท่ีใช้ เกณฑ์ ส่ิงทต่ี ้องการวดั /ประเมิน ใช้คาถาม คาถาม เกณฑ์การผ่าน ๘๐ % ดา้ นความรู้ เขยี นตอบ หลักการเขียนวิเคราะห์ สังเกตพฤติกรรม ใบงาน เกณฑ์การผ่าน ๘๐ % วิจารณ์ และแสดงความรู้ ระดบั คุณภาพ ๒ ความคิดเหน็ หรือโตแ้ ย้งใน เรอื่ งต่างๆ ได้ แบบประเมิน เกณฑ์การผา่ น ดา้ นทักษะ/กระบวนการ เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรอื โตแ้ ย้งในเรื่องต่างๆ ได้ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๑. มุ่งม่ันในการทางาน ๒. รักความเปน็ ไทย ๓. มีมารยาทในการเขียน ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วนั ท.่ี .........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผูบ้ รหิ ารหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย ................................................................................................................................... ........................................ ลงช่ือ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วนั ท่ี..........เดอื น..........พ.ศ.............

443426 ใบงาน เรอื่ ง บทประพันธเ์ รอ่ื งอหงั การของดอกไม้ หนว่ ยท่ี ๕ บทกวีทชี่ ื่นชอบ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๕ เรื่อง การเขยี นวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือ โต้แย้งบทประพนั ธ์ รายวิชาภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคดิ เห็นหรอื โตแ้ ยง้ ได้ คาชี้แจง นักเรียนอ่านเรอื่ ง อหังกาขร์ของอดงอดกอไกมไ้ม้ แล้ววเิ คราะห์วจิ ารณ์และ แสดงความคดิ เหน็ จากการอา่ นประเดน็ ท่กี าหนดให้ สตรีมสี องมือ มน่ั ยึดถอื ในแก่นสาร เกลยี วเอ็นจกั เปน็ งาน มิใชร่ า่ นหลงแพรพรรณ สตรมี ีสองตีน ไวป้ ่ายปีนความใฝฝ่ ัน ยดื หยดั อยรู่ ่วมกนั มหิ มายมน่ั กินแรงใคร สตรมี ดี วงตา เพือ่ เสาะหาชวี ติ ใหม่ มองโลกอย่างกวา้ งไกล มิใชค่ อยชม้อยชวน สตรีมดี วงใจ เปน็ ดวงไฟไมผ่ นั ผวน สรา้ งสมพลงั มวล ดว้ ยเธอลว้ นก็คอื คน สตรีมชี วี ิต ลา้ งรอยผดิ ด้วยเหตผุ ล คณุ ค่าเสรชี น มิใชป่ รนกามารมณ์ ดอกไมม้ ีหนามแหลม มิใชแ่ ยม้ คอยคนชม บานไว้เพ่ือสะสม ความอุดมแห่งแผน่ ดิน! จิระนันท์ พิตรปรชี า. ใบไม้ท่ีหายไป. นกั เรยี นรว่ มกันหาคาตอบ ๑. เพราะเหตุใดจงึ ใช้คาวา่ ออหหงั ังกกาาร์ ๒. ข้อคดิ ท่ีไดจ้ ากเร่ือง ๓. นักเรียนอธิบายแสดงความคดิ เหน็ ว่าเห็นดว้ ยหรือโตแ้ ย้งกบั เนอื้ หาของบทประพันธ์

447 443437 ใบงาน เรื่อง บทประพนั ธ์เรอ่ื ง สันติภพ หน่วยท่ี ๕ บทกวที ชี่ ่ืนชอบ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๕ เร่ือง การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือ โต้แย้งบทประพันธ์ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์ เขียนวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือโต้แย้งได้ คาช้แี จง นักเรยี นอ่านเรอื่ ง สันติภพ แลว้ วเิ คราะห์วิจารณแ์ ละแสดงความคิดเห็นจากการอ่านประเด็น ท่ีกาหนดให้ เธอคอื ผู้อยู่กลางดงป๊อบปี้แดง ดอกไมแ้ หง่ หวยหาญผู้ผ่านศึก สสุ านแหง่ วีรกรรม การราลกึ เปน็ บันทึกแห่งสงครามและความตาย ค้างภาพธงชาตคิ ลุมเหนือหลุมศพ ใหผ้ มู้ าเคารพรคู้ วามหมาย วา่ ล้วนเหลา่ นักรบผู้ทอดราย มีชวี ติ วนั สดุ ท้าย ณ ทน่ี ี้ ประดบั ด้วยเหรียญตราความกล้าหาญ เปน็ ตานานอยู่เบ้ืองบาทวิถี ถงึ วนั ก็มผี ู้เขียนคากวี สดุดปี ระดบั ภาพสามกุมภา วา่ การฆ่าหรอื ถูกฆ่าคือหนา้ ที่ ไม่ต้องมีเหตุผลของคนฆา่ ไมม่ ีความแคน้ เคืองอนั ค้างรา และไมร่ ูเ้ ลยวา่ ฆ่าทาไม ลว้ นจารึกอยู่ ณ ดงดอกไมแ้ ดง เรอื่ งราวแห่งการรบร่วมสมัย ปอ๊ บปี้แดงแยม้ ดอก ณ กาลใด คอื คาไว้อาลยั แล้วกาลนนั้ คาอทุ ิศแด่มวลมนุษยชาติ ผูร้ ว่ มเขียนประวตั ิศาสตรส์ งครามน่นั เม่อื ใดหนอจะได้คิดหยดุ ฆา่ กัน เพื่อลบวนั ทหารผ่านศึกใหส้ นิ้ ภพ จากหนงั สือ ออล แม็กกาซีน โดยอดลุ จนั ทรศกั ดิ์ นกั เรียนรว่ มกันตอบคาถาม ๑. นักเรยี นบอกความหมายของดอกปอบปี้ ในบทประพนั ธ์ ๒. ข้อคิดในบทประพันธ์ ๓. นักเรยี นอธิบายแสดงความคดิ เหน็ วา่ เห็นดว้ ยหรือไมเ่ ห็นดว้ ยกบั เนื้อหาของบทประพนั ธ์

448 443448 ใบงาน เร่อื ง บทประพนั ธเ์ ร่อื ง อูข่ ้าว – อดข้าว หนว่ ยที่ ๕ บทกวีทชี่ ื่นชอบ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๕ เรอื่ ง การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรอื โต้แย้งบทประพนั ธ์ รายวชิ าภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ จุดประสงค์ เขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรอื โต้แย้งได้ คาช้ีแจง นักเรียนอ่านเร่อื ง อู่ขา้ ว – อดข้าวแล้ววิเคราะห์วิจารณแ์ ละแสดงความคดิ เหน็ จากการอา่ นประเดน็ ทกี่ าหนดให้ อขู่ า้ วอดขา้ วคราวเรนิด้ี รา้ งหอา่ งขู่ ม้าอวอดดวอขดา้ ววคายรา วนเค ้ี ยม ีคดิ มั่นขันหมปเคารยยามกีคฏิดอมดั่นตขานัยใหกมลาม้ ยา เริดร้า งหา่ งม อดวอดวาย เมอื งข้าวอดขา้ วข่าวใหญ ่ ป ราก ฏอดตายใกนลาม้ ไาร่แลโรยโหยหา เมืองข ้าวอด ขา้ วขา่ วใหญ่ เปลี่ยนคนเปน็ ควายไถนา น าไร่แ ลโรยโหยหกานิ หญา้ แทนขา้ วข่าวดี เไปชโลยี่ยโ นหค่รนอ้ งเปก ็น้อคงกวกึายไถนานไอชขู่งั โนา้ยวุงโอยหุ่งด่รยข้อิ่ง้างสวกงิคอ้ ครงลาก ีวกึ ย าก กอึกิน ทห ึกญอา้ ู่เแปทลน่าขข้า้าววคชอขหอกึนา่นวกทมี ดชึกขี ี�้ำอ้าลวูเ่ ปำ�หบลมาา่ดกขอเา้ ดหวตลหาอืนยหี ลาย นงั นงุ ย่งุ ยง่ิ ส งิ คลี ในน�ำ้ มีปลานา่ สบาย คนม ขี า้ วหมดอดตอาับยอายข้าวไรใ้ นนา อู่ขา้ ว อดข้าว คราวยาก ชาตนิ ี้เกดิ มาอาภัพ ชอก ช้าลา้ บากเหรลอื กหลลบั าเยกดิ ใหมช่ าตหิ น้า ใชนานตา้นิ ม้เี กีปิดลมาาน อ่าาสภบพั าย อตข้าขู่่นื วา้เชหวา้อมทดดำ�ขอไ้าดรว่ไตคถารนยาาใวจ ยคาอก อรอับกอ ลาบัยขเกา้ ิดวใไหรใ้มน่ชนโทจาลาตกัรกิกรหบอรนา้รชา้ หมาตนลิห�ำา้ บมนาืดา้ กฝบลดืา้ ูกแคพลอ้วอ่ ! ตื่นเช้าท า้ ไรไ่ ถน า โล กบา้ หน า้ มดื ฝดื คอ อขู่ ้าวอดข า้ วคราว ยาก ทร กรรมล า้ บากลูกพ่อ “ทวีปวร” หรือทวปี วรดลิ ก ๒๔๘๙ ข้าว หมดอดตายใจคอ จักรอชาตหิ นา้ บา้ แล้ว! \"ทวปี วร\" หรอื ทวีป วรดลิ ก ๒๔๘๙ นักเรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม ๑. นกั เรียนบอกความหมายของคาว่า อ่ขู ้าว -อดขา้ ว ในบทประพันธ์ ๒. ขอ้ คิดในบทประพันธ์ ๓. นักเรียนอธบิ ายแสดงความคิดเหน็ ว่าเห็นดว้ ยหรอื ไมเ่ ห็นดว้ ยกับเน้ือหาของบทประพันธ์

449 443459 ใบงาน เรอ่ื ง บทประพนั ธ์เร่อื งกระดกู สนั หลัง หนว่ ยที่ ๕ บทกวีทชี่ ื่นชอบ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕ เร่ือง การเขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเห็นหรอื โต้แยง้ บทประพนั ธ์ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ จุดประสงค์ เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรอื โตแ้ ยง้ ได้ คาชี้แจง นกั เรยี นอา่ นเรอื่ ง กระดูกสันหลงั แลว้ วิเคราะห์วจิ ารณ์และแสดงความคิดเห็นจากการอ่านประเดน็ ทกี่ าหนดให้ ข้าแต่สูเจ้าชาวนา ข้าขอบูชา วา่ สูเลิศมนษุ ย์สดุ แสวง รูปรา่ งกายาดาแคง เจา้ เปน็ หัวแรง กระดูกสนั หลงั รฐั เรา เลีย้ งเทศเลย้ี งไทยไมเ่ บา ด้วยข้าวปลาเอา แลกเปล่ยี นสนิ ค้าควรเมือง ครั้งกิจพาณิชยร์ งุ่ เรือง เจ้าไม่ฝืดเคือง วัดวาอารามจาเรญิ กนิ บา้ งเล่นบา้ งอย่างเพลิน ทาบญุ เหลือเกนิ กบั วดั กับพระดะไป ยามยากยงั พอทนได้ ทองสะสมไว้ ขายหมดจานองไร่นา โอ้สผู พู้ ร่องศกึ ษา อดทนนักหนา โทษใดไป่โทษโทษกรรม สูไม่มากปากมากคา สูเปน็ คนทา ทาได้เทา่ ไรทาไป ขาดแคลนแสนเขญ็ เป็นไฉน สเู จ้าอยู่ได้ ด้วยดวงหน้ายม้ิ พร้ิมพราย อมิ่ ประโยชนโ์ ปรดคนทัง้ หลาย เอือมกายใจสบาย ฤๅพ่อเพอ่ื นยากแห่งสยาม เปน็ ไฉนอยา่ งไรก็ตาม เจา้ ยอดพยายาม เป็นผูค้ คู่ วรบชู า เจ้าพระยาธรรมศกั ดิ์มนตรี ครูเทพ เล่ม ๒ นักเรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม ๑. นักเรยี นบอกความหมายของคาวา่ กระดูกสันหลงั ในบทประพันธ์ ๒. ข้อคดิ ในบทประพันธ์ ๓. นกั เรยี นอธิบายแสดงความคดิ เหน็ ว่าเหน็ ด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับเนอ้ื หาของบทประพันธ์

450 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ บทกวที ี่ชน่ื ชอบ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๖ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรื่อง การแต่งโคลงสีส่ ุภาพ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ขอบเขตเนือ้ หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ฉนั ทลกั ษณข์ องโครงสสี่ ุภาพ และการแต่ง ขัน้ นา ๑. ใบความรู้ เร่อื งการแตง่ โคลงส่สี ุภาพ โคลงส่สี ุภาพใหถ้ ูกต้องตามข้อบงั คับ ๑. นักเรยี นฟังครอู า่ นบทประพนั ธโ์ คลงสส่ี ุภาพและสนทนาซักถาม ๒. ใบงาน เรอ่ื งการแต่งโคลงสสี่ ุภาพ จุดประสงค์การเรียนรู้ เกยี่ วกบั ลกั ษณะคาประพนั ธ์ ๓. Power Pointเรือ่ งโคลงสี่สุภาพ ด้านความรู้ ขน้ั สอน ๑. หลักการแต่งโคลงส่สี ภุ าพได้ ๑. นักเรียนศกึ ษาโคลงส่สี ุภาพจาก Power Point ท่คี รอู ธบิ ายและช่วยกนั ภาระงาน/ช้นิ งาน ๒. การแตง่ โคลงส่สี ุภาพได้ถูกต้องตาม วเิ คราะหห์ ลักการแตง่ โคลงสี่สภุ าพ โคลงส่ีสุภาพกล่มุ ละ ๑ บท ฉนั ทลกั ษณ์และมคี วามคดิ สร้างสรรค์ ๒. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ละ ๔ คน แลว้ ศกึ ษาใบความรู้ จากนั้นทาใบงานการ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ กแาตรง่ แโคตลง่ โงคสรสี่ งภุสา่สี พุภาพ การแต่งบทรอ้ ยกรอง โคลงส่สี ุภาพ ๓. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอการแตง่ โคลงสี่สภุ าพของตนเองหน้าชั้น ด้านคณุ ลักษณะ เรียน ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๔. นกั เรียนและครูร่วมกันอภปิ รายการแต่งโคลงสีส่ ุภาพของแต่ละกลุ่ม ๒. มุ่งมน่ั ในการทางาน ขั้นสรปุ ๓. รักความเปน็ ไทย ๑. นกั เรยี นและครูประเมินงานของทุกกล่มุ แลว้ จัดลาดบั ตามคุณภาพงาน ๔. มีมารยาทในการเขียน 443560

451 443571 การวัดและประเมินผล สงิ่ ท่ีต้องการวดั /ประเมิน วิธีการ เคร่อื งมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ใช้คาถาม หลกั การแตง่ โคลงสี่สภุ าพได้ ใชค้ าถาม คาถาม เกณฑ์การผา่ น ๘๐ % ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ปฏิบัติ แต่งโคลงส่สี ภุ าพได้ถกู ต้องตาม สังเกตพฤตกิ รรม คาถาม เกณฑ์การผา่ น ๘๐ % ฉนั ทลักษณ์และมีความคดิ สร้างสรรค์ ใบงาน ดา้ นคุณลกั ษณะ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ ๒. มงุ่ ม่นั ในการทางาน เกณฑ์การผ่าน ๓. รักความเปน็ ไทย ๔. มีมารยาทในการเขยี น ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชอ่ื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย .................................................................................................. ......................................................................... ลงชื่อ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วันที่..........เดอื น..........พ.ศ.............

452 443582 ใบความรู้ เร่ือง การแต่งโคลงสส่ี ุภาพ หน่วยท่ี ๕ บทกวีท่ชี ื่นชอบ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๖ เรอ่ื ง การแต่งโคลงสีส่ ุภาพ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ จดุ ประสงค์ แตง่ โคลงส่สี ภุ าพได้ถูกตอ้ งตามฉนั ทลักษณแ์ ละมคี วามคิดสร้างสรรค์ ความร้เู รือ่ งโคลงสส่ี ุภาพ ตวั อยา่ ง จากมามาล่ิวล้า ลาบาง บางยี่เรอื ราพลาง พี่พร้อง เรือแผงชว่ ยพานาง เมียงม่าน มานา บางบ่รบั คาคล้อง คลา่ วนา้ ตาคลอ ตัวอย่างท่ียกมาน้ีเป็นโคลงบทท่ี ๒๒ ในนิราศนรินทร์ ซึ่งถือกันว่าเป็น “โคลงครู” หมายความว่าเป็น โคลงส่ีสุภาพท่ีถูกต้องสมบูรณ์แบบทุกประการ กล่าวคือ ใช้คาท่ีมีรูปวรรณยุกต์ กากับเฉพาะคาที่บังคับ รูปวรรณยุกตเ์ อกและรูปวรรณยุกต์ตามแผนผังเทา่ นัน้ ส่วนคาอ่นื ๆ ไม่มีรปู วรรณยุกตเ์ อกและรปู วรรณยุกต์โท กากบั อย(ู่ ซึง่ เรียกวา่ คาสุภาพ) ตามแผนผงั ทกุ ประการ การแต่งโคลงสี่สุภาพให้ถูกต้องสมบูรณ์เหมือนโคลงครูดังกล่าวแต่งได้ค่อนข้างยาก เพราะบางครั้ง ต้องรักษาเน้ือความไว้ จึงอนุโลมให้ใช้คาที่บังคับรูปวรรณยุกต์เอกหรือโทตรงตามแผนผังฉันทลักษณ์อย่าง เคร่งครัด ส่วนคาอน่ื ที่มิไดบ้ งั คบั รูปวรรณยุกต์จะใช้คาทีม่ รี ปู วรรณยุกต์หรือไมก่ ็ได้ ขนึ้ อยกู่ ับเนอื้ ความในโคลง โคลงนิราศนรินทร์ เป็นวรรณกรรมคาโคลงช้ันยอดเรื่องหนึ่งในบรรดาโคลงส่ีสุภาพท่ีแต่งเป็นนิราศ เปลื้อง ณ นคร กล่าวยกย่องโคลงเร่ืองน้ีว่า “โคลงทุกบทเปรียบเสมือนเพชรที่นายช่างเจียระไนแล้ว อยา่ งงดงาม และหากจะฝกึ เขยี นกลอนตลาดใหไ้ ดด้ ี ควรอ่านเร่ืองพระอภยั มณีให้จบเกือบข้ึนใจฉันใด ถา้ จะฝึก เขยี นโคลงสสี่ ุภาพใหไ้ ด้ดี ก็ควรอา่ นโคลงนิราศนรินทรใ์ ห้เกือบขนึ้ ใจฉันน้ัน ขอ้ บังคบั ของโคลงสีส่ ภุ าพ จานวนคา ๑. โคลงบทหนงึ่ มี ๔ บาท ๒. บาทหน่ึงมี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คา และวรรคหลังของบาทที่ ๑ บาทท่ี ๓ และบาทท่ี ๓ มีวรรค ละ ๒ คา สว่ นวรรคหลงั ของบาทท่ี ๔ มี ๔ คา

453 443593 คาเอก คาโท ๑. บงั คับใหใ้ ช้คาทมี่ รี ูปวรรณยุกตเ์ อกกากับ ๗ ตาแหน่ง และคาท่ีมีรูปวรรณยุกต์โทกากับ ๔ ตาแหน่ง - คาทม่ี รี ปู วรรณยกุ ตเ์ อกกากบั น้นั อาจเป็นเสียงวรรณยุกตเ์ อกหรอื เสยี งวรรณยุกต์โทกไ็ ด้ เช่น รปู เอก เสียง เอก : กวา่ ปี่ กู่ ใหญ่ เข่ีย เป็นต้น รูปเอก เสยี ง โท : นา่ คู่ โล่ เร่อื ย เป็นตน้ - คาทีม่ ีรูปวรรณยุกตโ์ ทกากบั อาจเปน็ เสียงวรรณยุกตโ์ ทหรือเสยี งวรรณยุกต์ตรีกไ็ ด้ เช่น รูปโท เสยี ง โท : กล้า ให้ ขัน้ บ้าน เปน็ ต้น รูปโท เสียง ตรี : เล้ือย ค้าน โน้น ช้ัน เปน็ ต้น ดังนั้น ในการแต่งโคลงตรงคาทีบ่ งั คบั เอก หรือคาท่บี ังคบั โท ก็ไมจ่ าเป็นต้องเป็นเสยี งเอก หรอื เสยี งโท พยี งอย่างเดียวดังกล่าวแล้ว ๒. ตาแหน่งคาเอกและคาโท ในวรรคหนา้ บาทท่ี ๑ (คาท่ี ๔ และ ๕) สลบั กนั ได้ ดังนี้  () ๓. ตาแหนง่ คาเอกอาจใชค้ าตาย (คอื คาท่ีประสมสระเสยี งสัน้ ในแม่ ก กา หรือมตี วั สะกดในแม่ กก กด กบ) เช่น ดุ ติ จาก ตัด เก็บ หรือใช้คาเอกโทษแทนได้ (คาเอกโทษ คือคาท่ีใช้วรรณยุกต์เอกในตาแหน่งบังคับ เชน่ หนา้ เขียนเปน็ นา่ เพื่อใหไ้ ด้คาทบ่ี ังคบั รูปวรรณยกุ ต์เอกตามแผนผังฉันทลักษณ์) ตาแหน่งโท อาจใช้คาโทโทษแทนได้ (คาโทโทษ คือคาท่ีใช้วรรณยุกต์โทในตาแหน่งบังคับ เช่น เลน่ เขียนเปน็ เหล้น ท่วม เขียนเป็น ถ้วม เพื่อให้ได้คาทบี่ งั คับรูปวรรณยกุ ต์โทตามแผนผงั ฉันทลักษณ์) ตวั อยา่ ง ผวิ ขาวใบน่าหย้ิง ขาวนวล นา่ เปน็ คาเอกโทษ ท่ีถูกต้องคอื คา หนา้ (ใบหนา้ ) แต่ต้องการใช้รูปเอกในตาแหน่งท่บี งั คบั เอก หยง้ิ เป็นคาโทโทษ ทถี่ ูกต้องคอื คา ยง่ิ แต่ตอ้ งการใช้รปู โทในตาแหน่งทบี่ ังคับโท สมั ผัส ๑. สัมผสั บังคบั - คาสดุ ทา้ ยวรรคหลงั ในบาทที่ ๑ ส่งสมั ผสั ไปยงั คาสุดท้ายวรรคหนา้ ในบาทที่ ๒ และคาสุดทา้ ย วรรคหน้าในบาทท่ี ๓ - คาสดุ ท้ายวรรคหลังในบาทท่ี ๒ สง่ สมั ผัสไปยงั คาสุดท้ายของวรรคหน้าในบาทท่ี ๔ - คาสดุ ทา้ ยของบทที่ ๑ ส่งสัมผสั ไปยงั คาที่ ๑, ๒ หรือ ๓ ของบทต่อไป คาทส่ี ง่ และรับสัมผสั ไม่ นยิ มใช้คาทม่ี ีรปู วรรณยุกต์ ๒. สัมผัสไม่บังคับ (สัมผัสพิเศษหรือสัมผัสใน) ถ้ามีก็จะช่วยเพ่ิมความไพเราะให้โคลง ได้แก่ การใช้ สมั ผสั พยญั ชนะในแตล่ ะวรรค

454 444504 ใบงาน เรือ่ ง การแต่งโคลงสี่สภุ าพ หน่วยท่ี ๕ บทกวีที่ชื่นชอบ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๖ เร่ือง การแต่งโคลงสสี่ ุภาพ รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นทบทวนความร้เู กี่ยวกบั โคลงสสี่ ุภาพ ๑. ให้เติมวรรณยุกตเ์ อก ( ) วรรณยกุ ต์โท ( ) และโยงสัมผสั ตามข้อบงั คับของโคลงสส่ี ุภาพในแผนภูมิ ตอ่ ไปนี้ 00000 00 (00) 00000 00 00000 00 00000 00000 ๒. ให้นกั เรยี นเตมิ คาลงในช่องว่างให้ถกู ต้องตามข้อบงั คบั ของโคลงส่ีสุภาพ ๒.๑ หนึ่งบทมี .......................... บาท ๒.๒ แต่ละบาทมี ...................... วรรค ๒.๓ วรรคหน้ามี ....................... คา ๒.๔ วรรคหลงั บาทที่ ๑, ๒ และ๓ มีวรรคละ ................. คา ๒.๕ วรรคหลงั บาทที่ ๔ มี ......................... คา ๒.๖ คาเอกมี ......................... แหง่ ๒.๗ คาโทมี ......................... แห่ง ๒.๘ คาสร้อยมีท้ายบาทท่ี ...................... และ บาทที่ ......................... ๒.๙ คาท้ายบาทท่ี ๑ สมั ผัสกบั คาทา้ ยวรรคหน้าบาทท่ี ......................... และบาทท่ี .................... ๒.๑๐ คาทา้ ยบาทที่ ๒ สมั ผัสกบั คาทา้ ยวรรคหน้าบาทที่ ....................... ๓. ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั แต่งโคลงส่ีสุภาพ ๑ บท โดยเลอื ก ๑ เรือ่ ง จากเร่ืองท่ีกาหนดให้ ๓.๑ เพ่อื นรกั ๓.๒ โทรศัพท์ ๓.๓ บพุ เพสนั นวิ าส ๓.๔ หนงั สอื คอื สมบัติ ๓.๕ ประหยดั พลงั งาน ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ............................................................................................................................ ..................................................

455 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ บทกวีท่ีชนื่ ชอบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย เรอ่ื ง การแต่งโคลงส่ีสภุ าพ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ขอบเขตเนื้อหา ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย แบบทดสอบ แต่งโคลงสสี่ ภุ าพให้ถูกต้องตามข้อบงั คับ กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ขนั้ นา ภาระงาน/ช้ินงาน ด้านความรู้ โคลงสีส่ ุภาพคนละ ๑ บท ๑. เชิญนกั เรยี นกลมุ่ ท่ีผลงานอยูล่ าดบั ที่ ๑ ถึง ๓ อา่ นโคลงส่สี ภุ าพใหเ้ พื่อน การแตง่ โคลงสี่สุภาพให้ถูกต้อง ฟงั อีกคร้งั ดา้ นทักษะและกระบวนการ ขั้นสอน แต่งโคลงส่ีสภุ าพ ๑. นักเรียนและครูรว่ มกันทบทวนฉันทลกั ษณโ์ คลงสี่สุภาพ ด้านคณุ ลักษณะ ๒. ให้นักเรียนจับค่กู ัน เลือกเรอื่ งท่ีสนใจและช่วยกันแตง่ โคลงส่ีสภุ าพ ๑ บท ๓. ครูสุ่มใหน้ ักเรียนแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ผลงานของกันและกนั ๑. มีมารยาทในการเขียน ๔. ครปู ระเมินผลงาน ๒. มงุ่ ม่ันในการทางาน ขนั้ สรปุ ๑. สะท้อนข้อมลู เพ่ือพัฒนาตอ่ ไป ๒. นกั เรียนฝกึ แตง่ โคลงสีส่ ุภาพเร่ืองทส่ี นใจ 455 441

456 444526 การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เคร่อื งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ สิ่งทต่ี ้องการวัด/ประเมนิ ใช้คาถาม ปฏบิ ตั ิ คาถาม ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ ดา้ นความรู้ สงั เกต ฉนั ทลักษณโ์ คลงสสี่ ภุ าพ แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ด้านทักษะ/กระบวนการ แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ ๒ แตง่ โคลงสส่ี ุภาพ ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ๑. มีมารยาทในการเขยี น ๒. มุ่งม่ันในการทางาน ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ......................................ผูส้ อน (.......................................................) วนั ท่.ี .........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย ........................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วนั ท่.ี .........เดือน..........พ.ศ.............

457 444537 แบบทดสอบ เรือ่ ง การแต่งโคลงสีส่ ภุ าพ หนว่ ยที่ ๕ บทกวีทีช่ ่นื ชอบ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๗ เรอ่ื ง การแต่งโคลงสี่สภุ าพ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ จดุ ประสงค์ แต่งโคลงสีส่ ภุ าพได้ถูกตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณแ์ ละมีความคิดสรา้ งสรรค์ คาช้ีแจง นกั เรยี นแตง่ โคลงสี่สุภาพเรอ่ื งท่นี ักเรียนสนใจจานวน ๑ บท เรอื่ ง ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................ .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

458 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๕ บทกวีท่ชี ่ืนชอบ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๘ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่ือง การฝึกอ่านคิดวิเคราะหเ์ ขียนเพ่ิมเตมิ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ขอบเขตเนอ้ื หา รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย อา่ นจับใจความคิดวเิ คราะห์เนอื้ หาเพ่ือ เป็นแนวทางการเขยี นบทความของตนเอง กิจกรรมการเรยี นรู้ สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ข้นั นา ๑. ใบควารเู้ รื่องการเขียนบทความ ด้านความรู้ ๑. สนทนาเกีย่ วกบั นกั เขยี นบทความท่ีมชี ่อื เสยี งและผลงานท่วั ไป ๒. ใบงาน ๒. ใชค้ าถาม ใครตอ้ งการเปน็ นักเขยี บทความบา้ งและคิดวา่ จะต้องเตรียมตวั บอกหลกั การเขยี บทความได้ อยา่ งไรจึงจะเป็นได้ ภาระงาน/ช้ินงาน ดา้ นทักษะและกระบวนการ ขนั้ สอน อา่ นบทความทว่ั ไป ๑. นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง การเขียนบทความ และร่วมกันอภิปรายถงึ เขยี นแผนงานการเขยี นบทความได้ การเตรยี มตัวเป็นนักเขยี นบทความที่ดี เพ่ิมเตมิ จากใบความรู้ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๒. สรปุ รายงานและเตรียมตวั เปน็ นักเขียนบทความตามใบงาน ๓. ประเมินตนเองวา่ จะเป็นได้เพียงใด ๑. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ขัน้ สรุป ๑. กาหนดแผนการเขียนบทความของตนเอง 444548

459 444559 การวัดและประเมนิ ผล สง่ิ ทตี่ ้องการวดั /ประเมิน วธิ ีการ เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ใชค้ าถาม บอกหลักการเขยี บทความได้ ปฏบิ ัติ คาถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ สงั เกต แบบประเมิน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ เขยี นแผนงานการเขียนบทความได้ แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ ๒ ด้านคุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ . ม่งุ ม่ันในการทางาน ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วนั ที่..........เดอื น..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ......................................ผูต้ รวจ (.......................................................) วนั ท.ี่ .........เดือน..........พ.ศ.............

460 444660 ใบความรู้ เรือ่ ง การเขยี นบทความ หนว่ ยท่ี ๕ บทกวีท่ีช่ืนชอบ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๘ เรอ่ื ง การฝกึ อา่ น คิดวเิ คราะห์เขียนเพิ่มเติม รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ จุดประสงค์ เขียนแผนงานการเขียบทความได้ การเขยี นบทกคาวราเมขยี นบทความ บทความ (article) ความหมายของบทความ บทความ คือ ความเรียงที่เขียนขึ้นโดยมีหลักฐานข้อเท็จจริง และในเน้ือหานั้น ผู้เขียนได้แทรก ข้อเสนอแนะเชงิ วิจารณ์ หรอื สร้างสรรค์เอาไวด้ ้วย ลกั ษณะของบทความทว่ั ไป ๑. ต้องเป็นเร่ืองที่ผู้อ่านส่วนมากกาลังสนใจอยู่ในขณะน้ัน อาจเป็นปัญหาที่คนกาลังอยากรู้ว่าจะดาเนินต่อไป อย่างไร หรอื มีผลอยา่ งไร หรอื เป็นเรื่องที่เข้ายคุ เข้าสมัย ๒. ตอ้ งมีแก่นสาร มีสาระ อา่ นแล้วได้ความรู้ หรือความคิดเพ่มิ เตมิ มิใชเ่ ร่อื งเล่อื นลอยไร้สาระ ๓. ต้องมีข้อทรรศนะ ขอ้ คิดเห็น ตลอดจนข้อเสนอแนะของผู้เขียนแทรกดว้ ย ๔. มีวธิ ีเขียนชวนใหอ้ ่าน อา่ นแล้วทา้ ทายความคดิ และสนุกเพลดิ เพลิน จากความคดิ ในเชิงถกเถียงโต้แย้งนั้น ๕. เน้ือหาสาระและสานวนภาษาเหมาะสมสาหรับผอู้ ่านที่มีการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ดี เพราะผู้อ่านที่มีการศึกษา น้อยนยิ มอ่านขา่ วสดมากกว่าบทความ จดุ ม่งุ หมายของการเขยี นบทความ ๑. เพื่อให้ข่าวสาร (To Inform) ในการเสนอข่าวสารของหนังสือพิมพ์นั้น บางครั้งข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ ที่นาเสนออาจยังไม่ให้รายละเอียดเท่าท่ีควร กล่าวคือ การเสนอข่าวจาเป็นต้องดาเนินการอย่างรีบเร่ง จึงอาจมีข้อเท็จจริงท่ีไม่ละเอียดพอเพียงหรือเหตุการณ์บางเหตุการณ์ มีแง่มุมประเด็นของข่าวซับซ้อน หรือมีเงื่อนงา การเสนอข่าวสารเพิ่มเติมในเชิงบทความย่อมจะเป็นการสนองความต้องการของผู้อ่าน หรอื เปน็ หนา้ ทีห่ นึ่งของหนังสอื พมิ พพ์ ึงจะกระทาได้ 2. เพอ่ื การอธิบาย (To Interprete) ขอ้ เทจ็ จรงิ ถึงเหตุการณน์ ้นั โดยละเอยี ด พร้อมทง้ั เสนอเบื้องหน้าเบือ้ งหลัง ของเหตุการณ์ เพือ่ ให้ผ้อู า่ นทส่ี นใจสามารถมีความรูค้ วามเข้าใจในสถานการณ์ เหตุการณ์หรือขอ้ เทจ็ จรงิ ได้ 3. เพ่ือแสดงความคิดเห็น (To Give an Opinion) โดยอาศัยข้อเท็จจริงท่ีมีสาระ และใช้หลักเหตุผล รวมทัง้ หลักฐานประกอบการอ้างองิ ทน่ี ่าเชื่อถือ นาเสนอสรุปเป็นแนวคดิ แก่ผอู้ ่าน ๔.อย่างไรก็ดีความคิดเห็นดังกล่าวน้ันเป็นความคิดเห็นท่เี ปน็ ไปได้ในทางปฏิบัติ ไม่ใช่เปน็ ความคดิ เหน็ ลักษณะ เพ้อฝัน ๕. เพ่ือสร้างทัศนคติที่ดี (To Give an Attitude) การสร้างทัศนคติท้ี่ดีแก่ผู้อ่านต่อสถานการณ์ เหตุการณ์ ข้อเท็จจริง ตัวบุคคล หรือกลุ่มบุคคล รวมท้ังสถานที่ เพราะว่าบทความบางประเภทมุ่งเสนอข้อมูล ในทางสรา้ งสรรค์ ๖. เพื่อการโน้มน้าวใจ (To Persuasive) ในการเสนอบทความบางประเภท มีจุดประสงค์เพ่ือชักชวนชักจูง ให้ผู้อ่านกระทาตามกิจกรรมบางอย่าง เช่น บทความเชิงกระตุ้นจิตสานึก อาจนาเสนอให้ผู้อ่านกระทาความดี งดด่มื สรุ า ในวนั วิสาขบูชา หรือวนั สาคญั ทางศาสนาควรงดเวน้ การกระทาความชั่ว

461 444671 ๗. เพ่ือให้ความบันเทิง (To Entertain) บทความบางประเภทได้ให้ความเพลิดเพลินแก่การอ่าน เพื่อคลาย ความตงึ เครยี ดของสงั คมท่ีสบั สนได้ ประเภทของบทความ 1. บทความเชิงบรรยาย (Narrative Article) เป็นบทความที่บรรยายประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในลักษณะ แปลกใหม่ ต้องบอกแก่ผู้อ่านเท่าท่ีตนทราบ โดยบอกได้อย่างถูกต้อง ไม่น่าเบ่ือ กล่าวคือการบรรยายให้ผู้อ่าน สนใจ ประทับใจ เขียนให้เหน็ จรงิ เห็นจัง โดยละเอยี ด ใช้ภาษาเรยี บ ง่าย ไมก่ ากวม ไม่วกวน ๒. บทความเชิงสัมภาษณ์ (Interview Article)เป็นบทความแสดงความคิดเห็นของบุคคลต่อปรากฏการณ์ใด โดยปกติบทความประเภทนี้มักจะมีคาถาม คาตอบสลับกัน แทนรูปแบบการเขียนลักษณะร้อยแก้ว เหมือนกบั บทความประเภทอ่ืน ๆ ๓. บทความเชิงสาธิตวิธีการ (How-to-do-it Article) เป็นบทความที่เขียนเพ่ืออธิบายการกระทาตามข้ันตอน หรอื กระบวนการอยา่ งใดอย่างหนึ่ง โดยเรม่ิ ต้ังแตต่ ้นจนส้นิ สดุ ขัน้ ตอน หรือครบกระบวนการ เพื่อผ้อู า่ นอา่ นจน สามารถนาไปปฏิบัติได้ การเขียนบทความประเภทนี้จะต้องเขียนให้รายละเอียดมากกว่าการเสนอเพียงข้อมูล เท่าน้ัน ๔. บทความเพื่อให้ข่าวสาร (Information Article) เป็นบทความที่มุ่งให้ข้อมูลเพ่ิมเติมจากข่าว แต่การเขียน รปู แบบต่างกบั การเขยี นข่าว กล่าวคือ เขยี นตามเน้อื หาสาระตามลาดับทีผ่ ้เู ขียนตอ้ งการใหผ้ อู้ ่านไดท้ ราบ 5. บทความเพื่อแสดงความเห็น (Opinion Article) เป็นบทความทเ่ี สนอควาคดิ เห็นของผ้เู ขียนในเร่ืองใดเร่ือง หนึ่ง ด้วยเหตุผล และข้อเท็จจริงแก่ผู้อ่าน ความคิดเห็นดังกล่าวจะต้องแปลกกว่าท่ีเคยมีมา และเป็นในทาง สร้างสรรค์มีความเป็นไปได้ น่าสนใจ แต่ต้องไม่ใช่ความคิดเห็นเป็นลักษณะโฆษณาชวนเช่ือ (propaganda) ประการสาคญั ความคดิ เหน็ นน้ั จะต้องมากจากการบรู ณการของข้อเทจ็ จริง ๖. บทความเพ่ือการอธิบาย (Interprete Article) เป็นบทความท่ีมีลักษณะที่ใกล้เคียงกับบทความเพ่ือการให้ ข่าวสาร และบทความเพื่อแสดงความเห็น แต่มีความแตกต่างกันตรงที่ บทความเพ่ือการอธิบายจะให้แง่มุมท่ี ลึกซึ้งกว่า โดยเฉพาะจะเป็นการตอบคาถามของคาถามเหล่านี้ คือ ใคร อะไร เม่ือไหร่ ท่ีไหน ทาไม และ อยา่ งไร ซงึ่ จะเน้นตอบคาถามอยา่ งไรมากกวา่ ๗. บทความชวนขัน (Humorous Article) เป็นบทความทีค่ ่อนขา้ งเขยี นยากเพราะว่า การเขียนบทความ ชวนขัน ในที่นี้ไม่ใช่เป็นการเขียนมุขตลกขบขัน แต่เป็นการเขียนจากข้อเท็จจริง โดยใช้ข้อมูลในบางเร่ือง อาจ เป็นข้อเทจ็ จริงทห่ี นักสมองแตน่ ามาเขยี นให้ชวนขัน จะเรม่ิ ต้นจากการเขียนที่มีลลี าท่ีสภุ าพเร่ือยไปจนกระทั่งมี บางตอนบางแหง่ หรอื หลายแหง่ จะมถี อ้ ยคาหรือข้อความเป็นลักษณะหยิกแกมหยอก ยว่ั ยุ เสียดสี ฯลฯ โดยใช้คา ชวนขัน ๘.บทความกระตุ้นจิตสานึก (Inspirational Article) เป็นบทความที่ผู้เขียนมุ่งเสนอประสบการณ์ของตนเอง หรือผู้อื่นเกี่ยวกับความเชื่อ ศาสนา การตัดสินใจ ความมานะ พยายาม ความอดทน ความเจ็บป่วย ฯลฯ เพื่อ กระตนุ้ หรอื ปลกุ ระดมใหผ้ อู้ า่ นมีความสานกึ ในบางเรอ่ื งบางสถานการณ์ ๙. บทความเชิงโต้แย้ง (Controyersial Article) เป็นบทความท่ีมีประเด็นปัญหาท่ีแตกต่างกันในเชิงความคิด ผู้เขียนเสนอข้อเท็จจริงและเหตุผลให้มีความสมดุลระหว่างประเด็นท่ีแตกต่างกัน แล้วปล่อยให้ผู้อ่านได้ พจิ ารณาตัดสินเอง ๑๐. บทความเชิงวิจารณ์ (Critical Article) เป็นบทความท่ีเก่ียวกับวรรณกรรมหรือศิลปกรรม บทความ ประเภทน้ีมี 2 ลักษณะ ลักษณะแรก เป็นการเขียนแนะนาให้ทราบแม้จะมีการวิจารณ์ก็ไม่ค่อยจะรุนแรงมาก ส่วนอีกลักษณะเป็นการเขียนวิจารณ์ที่รุนแรงเพื่อวินิจฉัยคุณค่าของผลงานนั้น ๆ การวิจารณ์อาศัยหลักและ กฎเกณฑท์ ง้ั ทางทฤษฎแี ละเหตุผลขอ้ เท็จจรงิ เปน็ หลัก เพ่ือการประเมนิ คณุ ค่าอยา่ งเป็นธรรม

462 444682 ๑๑. บทความเชิงสารคดี (Feature Article) เป็นบทความที่เขียนแบบสารคดีมีการวิเคราะห์วิจารณ์ควบคู่กัน ไป ทาให้มีสาระมากกว่าบันเทิง กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การเอาข้อเท็จจริงท่ีมีสารมาเขียนในรูปแบบของสารคดี นน่ั เอง 1๒. บทความเชิงวิชาการ (Academic Article) เป็นบทความทม่ี ุ่งเสนอความรเู้ รื่องใด เร่ืองหนง่ึ โดยตรง ได้ แก่ รายงานทางวิชาการ รายผลการวิจัย รายงานการประชุมเชิงวิชาการเป็นต้น บทความประเภทนี้มีการเสนอ สาระอย่างตรงไปตรงมา แต่บางคร้ังอาจมีการอธิบายเพิ่มเติมเพ่ือความกระจ่างแก่ผู้อ่านในบางส่วนเท่าท่ี จาเป็นกไ็ ด้ การวางแผนเขียนบทควม ๑. การเลือกเร่ือง ควรพจิ ารณาส่ิงตอ่ ไปนี้ - อย่ใู นความสนใจของประชาชน - มขี อ้ มลู มากและหาภาพประกอบได้งา่ ย - มคี วามชัดเจนและแน่นอน - ไมก่ ระทบกระเทอื นกฎหมายและศีลธรรม - มเี น้อื หาทนั สมยั อยู่เสมอ - อยู่ในความตอ้ งการของตลาดในวงกวา้ ง - ไม่ยาวเกินไป เขียนได้ภายในระยะเวลาอันสมควร - ผู้เขียนมคี วามรู้พนื้ ฐาน - ผเู้ ขียนมีความพอใจทจี่ ะเขยี น ๒. การตง้ั ชือ่ เรือ่ ง - ส้ันกระทดั รัด จาง่าย - สอื่ ความหมายได้ชดั เจน - ครอบคลมุ เน้ือหาท้งั หมด - จูงใจใหอ้ ่าน - แปลกใหม่ คมคาย - ถูกหลักไวยกรณ์ ๓. การรวบรวมข้อมลู ผู้เขียนบทความ ต้องเปน็ นกั อ่าน นักดูและนักฟัง สะสมข้อมูล จดบันทึก จดั ระบบ อ้างอิงให้เป็นหมวดหมู่ ๔. การวางเค้าโครงเรอื่ ง บทความไม่ยาววางเค้าโครงว่าจะขึ้นตน้ อยา่ งไร ดาเนินเร่อื งอยา่ งไร และจบอยา่ งไร มตี วั อย่าง ภาพประกอบ ข้อเสนอแนะอะไรบา้ ง ๕. การเขยี นความนา-จบเร่ือง เขนี ตามทกี่ าหนดไว้ในโครงเร่อื ง ตวั เร่อื งใช้วิธยี อ่ หน้าบ่อยๆ สรุปเรือ่ งให้ตรง ประเด็น พสิ จู น์ขอ้ สงสัยให้ชัดเจน ขอ้ เสนอแนะเป็นไปได้และมีประโยชนต์ ่อสว่ นรวม ๖. การตรวจแก้และทบทวนกอ่ นส่งโรงพิมพ์ เปน็ ขัน้ ตอนสาคญั ในการปรบั แกส้ านวนภาษาและข้อผิดพลาด ครั้งสดุ ท้าย ข้อมูล จาก www.trueplookpanya.com www.bloggang.com

463 444693 ใบงาน เร่อื ง การเขยี นบทความ หนว่ ยท่ี ๕ บทกวีทชี่ ่นื ชอบ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๘ เร่ือง การฝกึ อ่าน คดิ วเิ คราะห์เขยี นเพิ่มเติม รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ จุดประสงค์ เขียนแผนงานการเขียบทความได้ เรอ่ื ง แผนการเตรยี มตวั เปน็ ักเขยี นบทความ คาชีแ้ จง นกั เรยี นตอบคาถามใหถ้ ูกตอ้ ง ๑. ความมุ่งหมายในการเขียนบทความมีอะไรบ้าง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................. ๒. ประเภทบทความที่นักเรยี นชอบเขียน ใหน้ ักเรยี นยกตวั อย่าง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................... ..................................... ๓. ให้นักเรียนบอกข้นั ตอนในการเตรยี มข้อมลู ในการเขยี นบทความ ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................. ................................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................ .................................................................................... ................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ๔. ระยะเวลาในการเขียนบทความ ........................................... วนั ๕. ตอ้ งการให้ผอู้ ่านาไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวันอย่างไร ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................. ...

464 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๕ บทกวีท่ชี ่นื ชอบ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๙ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรอื่ ง การฝกึ อ่าน คิดวเิ คราะหเ์ ขียนเพิม่ เติม ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ขอบเขตเนื้อหา สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ๑. ใบความรกู้ ารวเิ คราะหต์ วั อย่าง การอา่ นวเิ คราะห์ตามประเภทงานเขียน กิจกรรมการเรยี นรู้ ของบทความ วิเคราะหเ์ นอ้ื หา แตล่ ะย่อหน้า และกลวธิ ี ขน้ั นา ๒. ใบงาน การเขยี ยน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นทบทวนความรใู้ นช่วั โมงท่ีผา่ นมาเรอื่ งการวางแผนเป็นนักเขยี น ภาระงาน/ช้ินงาน ดา้ นความรู้ บทความ โดยครูใช้คาถามคณุ สมบตั ขิ องการเปน็ นักเขียน และลกั ษณะของ บทความทีจ่ ะเขยี นแล้วโยงเข้าสูก่ ารวเิ คราะหบ์ ทความ แนวทางการวิเคราะห์บทความ ขั้นสอน ด้านทกั ษะและกระบวนการ ๑. นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องการวเิ คราะห์บทความและศกึ ษาตวั อย่าง บอกแนวทางการวเิ คราะหบ์ ทความได้ แลว้ รว่ มกนั อภิปรายวเิ คราะห์บทความท่ีอา่ น ด้านคณุ ลักษณะ ๒. นกั เรยี นแบง่ กล่มุ ฝึกทาใบงานแลว้ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ชั้น ๑. มวี นิ ัย ๓. ครใู หค้ ะแนนพร้อมเฉลย นักเรยี นร่วมแสดงความคดิ เหน็ ๒. มงุ่ ม่นั ในการทางาน ขั้นสรุป นกั เรยี นสรุปแนวทางการวเิ คราะหบ์ ทความแล้วบนั ทึกลงสมดุ 464 450 การวัดและป สง่ิ ทตี่ ด้านความร แนวทางกา ดา้ นทกั ษะ บอกแนวทา ดา้ นคณุ ลกั ๑. มีวินัย ๒. มุ่งม่ันใน ๘. บันทกึ ผล ผลการเ .................... ปญั หาแ ................... ข้อเสนอ .................... ๙. ความคดิ ....................

465 445615 การวดั และประเมนิ ผล สิง่ ทต่ี ้องการวดั /ประเมิน วธิ ีการ เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ แนวทางการวิเคราะห์บทความ ใชค้ าถาม คาถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ บอกแนวทางการวิเคราะห์บทความได้ ปฏบิ ัติ แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ดา้ นคุณลักษณะ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ ๑. มวี นิ ยั สังเกต ผา่ นเกณฑ์ ๒. มุ่งมั่นในการทางาน ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................................................ ............... ลงช่อื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่ี..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอ่ื ......................................ผูต้ รวจ (.......................................................) วันที่..........เดอื น..........พ.ศ.............

445626 ใบความรู้ เรื่อง การอา่ นวเิ คราะห์ หน่วยท่ี ๕ บทกวที ่ีชน่ื ชอบ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๙ เรอ่ื ง การฝึกอา่ น คดิ วเิ คราะห์เขียนเพ่ิมเติม รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ การวิเคราะห์ เป็นการแยกแยะสิ่งท่ีจะพิจารณาออกเปน็ สว่ นยอ่ ยท่มี ีความสัมพนั ธก์ นั เพื่อทาความ เขา้ ใจแตล่ ะส่วนให้แจ่มแจ้ง รวมทง้ั การสบื คน้ ความสมั พันธข์ องส่วนตา่ ง ๆ เพ่ือดูวา่ ส่วนประกอบปลกี ย่อยนั้น สามารถเข้ากันไดห้ รือไม่ สมั พันธเ์ ก่ียวเนอื่ งกนั อยา่ งไร ซึง่ จะช่วยใหเ้ กดิ ความเข้าใจต่อส่ิงหนึ่งส่ิงใดอย่างแทจ้ รงิ โดยพ้ืนฐานแลว้ การวเิ คราะห์ถือเปน็ ทักษะที่มนุษยฝ์ กึ ได้ (วิกพิ ีเดีย สารานุกรมเสร)ี ตวั อยา่ งบทความ เร่ือง ชีวิตอนั ยิ่งใหญ่ของนกอนิ ทรี ทาไมใคร ๆ จงึ ยกย่อง ขนานนามว่าพญาอนิ ทรี ทาถามน้ีคงมคี าตอบ ใหน้ าคน้ หาว่า นกอินทรนี ั้นทา ตนอยา่ งไร มีคุณสมบัตเิ ดน่ พิเศษเฉพาะตนทนี่ า่ สนใจเพยี งใดจงึ ขนั้ ไดร้ ับการคดั เลอื กให้เป็นถึงขั้นพญานก เป็น ใหญ่ในบรรดานกทั้งปวง นกอินทรีจัดเปน็ สตั ว์เลือดอนุ่ มีรปู ร่างใหญใ่ กลเ้ คยี งกับเหยี่ยว แข็งแรง มีตาโต คอส้ัน จะงอยปากงอ เปน็ ตข้อปีกและหางกวา้ งใหญ่ บนิ เร็ว บนิ ได้สูงถงึ ๒๑๐๐ เมตร ถา้ ท่าบนิ สวยงาม ขนตามลาตัวมีสีตา่ ง ๆ ขา แข็งแรง มีขนปรกครมุ ในประเทศไทยมีนกอนิ ทรี ๖ ชนดิ เช่นอนิ ทรหี ัวนาก อนิ ทรดี า และอินทรีปีกลาย เป็นต้น ลเปกั ็นษตณ้นะเลดัก่นษพณิเศะษเดขอ่นงพนเิ กศอษนิ ขทอรงียน์คกอือนิ มทสี ราีคยตือามคีสมาดยีเยต่ียามคมเปดน็ีเยนี่ยกั มล่าเปตน็ัวยนงกั ขลณา่ ตะัวบยินงสขงู ณมะันบสินามสาูงรมถนั มสอางมเหารน็ ถเหมยอ่ืองเไหด็นไ้ กล ตเหั้งแยตื่อ่พไดน้ื ้ไรกาลบตจ้งั นแถตงึ พ่ เห้นื ยรอ่ืาทบ่อี จยนสู่ ถงู งึ ๆเหเยหอื่ยทอ่ื ีอ่ขยอสู่งมงู ันๆไดเ้แหกย่่ือปขลอางงมู ันหไนดู ้แแกละปนลกาทงม่ี ู ขี หนนาู ดแเลละ็กนกกวท่า ่ีมมขีันนลาา่ ดทเงั้ ลตก็ วั กนวก่าแมลันะลา่ ไทขง้ั น่ ตกัวนก และไข่นก นกอนิ ทรีจะมีการอบยพในช่วงฤดูผสมพนั ธ์ มันจับค่ผู สมพันธเ์ พยี งตัวเดยี วเท่านั้นจนตลอดชวี ิต ตัว เมียจะตกไข่ได้ราว ๑ - ๗ ฟองและอกไขฝ่ กั ไขเ่ อง ตัวผมู้ ีหน้าท่ีหาอาหารมาให้ วธิ กี ารสรา้ งรังของนกอนิ ทรีน้ัน มคี วามนา่ ท่ึงน่าติดตามเปน็ อย่างย่ิงมันสร้างรังใหล้ กู นกอาศยั ตาม โพรงหน้าผ่าสูงชัน มันจะพธิ ีพิถนั เปน็ พิเศษ เพราะการสร้างรงั นับเปน็ บทเรยี นที่ใช้สอนลูกนกต้งั แต่เกดิ จน แยกตัวออกไป

467 445637 มันจะเร่มิ ข้ันตอนของการสร้างรังตง้ั แตข่ นั้ ที่ ๑ - ๕ คือ นาอฐิ หินมาปเู สยี ก่อน ตอ่ จากนั้นจะนาหินเลก็ มาวางทับอีกชั้นหนง่ึ ชน้ั ตอ่ ไปจะนาหนามแหลมเล็กใหญ่ จากต้นไม้มาปูทับก่งิ ไม้อีกทีหน่งึ ชัน้ ท่ี ๔ จงึ นาใบไม้ ใบหญา้ มาวางทับลงบนหนาม และชั้นที่ ๕ มนั จงึ สลดั ขนมาปูรองทบั ใบไม้หญา้ แหง้ อกี ชนั้ หนงึ่ เมอ่ื ลกู นกเกดิ มา ก็จะไดน้ อนบนขนอ่อนนุ่ม ตอ่ มาสกั ระยะก็จะรน้ื ขนน่มุ ออก เหลือเพยี งใบไม้ หญา้ แห้ง ถดั ไปสักระยะหนึ่ง ก็จะเอาหญา้ แห้งออก ลูกนกจะต้องนอนบนหนามเลก็ หนามใหญ่ เจบ็ ปวดกต็ ้องทนไดเ้ ปน็้ การฝกึ อดทนแก่ลกู นก กจ็ ะนาหนามออกไป นอนบนกง่ิ ไม้ และขนั้ สุดทา้ ยน ลูกนกจะต้องนอนบนหนิ ทนตอ่ อากาศร้อนเย็้นให้ได้ วธิ ีการดงั กล่าวเปน้ การสอนให้กับลกู อดทน พยายามต่อสู้ เอาชนณะะใจตนองใหไ้ ด้ เมอ่ื ลกู นกอายุครบ ๑ ปีไปแล้ว แม่นกกจ้็ ะสอนให้ลกุู นกฝึกบิน แม่นกพาลกู นกบนิ ข้ึนพาไปให้สงู ๆ แล้วจงึ ปล่อยให้ลูกนกร่อนลงมาโดยแม่นกกช็ ่วยประคองให้ลูกนกไปใหต้ รงทาง ใหท้ รงตวั ได้ ฝกึ บินไปตาม เส้นทางจนลกู นกบนิ ได้แขง็ แล้วจงึ ปล่อยให้ลูกนกบนิ ไปได้ตามลาพังอย่างปลอดภัย กวา่ จะเป็นพญาอนิ ทรไี ด้นน้ั ลกู นกอนิ ทรแี ต่ละตัวจะได้รับการปลูกฝังสั่งสอน ฝกึ ปรือ ใหร้ ้คู วามรู้จกั ความอดทน ช่วยเหลอื ตนเองใหไ้ ด้ทนต่อความเจบ็ ปวด ความร้อนหนาว ความแขง็ แกรง่ มาอยา่ งหกนกั จน สามารถเผชญิ โลกกวา้ งเพยี งลาพงั อยา่ งปลอดภยั พอ่ แม่นกอินทรีมรี ักเดียวใจเดียว อบรมส่ังสอนลกู ดว้ ยวิธกี าร สร้างรังอยา่ งชาญฉลาด นับเปน็ อุทาหรณส์ อนมนุษย์ใหร้ ู้จักกวา่ พึ่งพาตนเองได้อยา่ งดี และเปน็ วิธที างแหง่ การ สอนอกี วี ิธหี น่งึ ที่น่าสนใจและนา่ ศกึ ษาโดยแท้จรงิ

468 445648 แผนภาพโครงเรื่อง เรือ่ ง ชีวิตอันยงิ่ ใหญข่ องนกอนิ ทรี รูปรา่ งลักษณะ กกาารรสสรร้า้างงรรังงั แแลละะกกาารรสสออนนลลูกูก ชีวิตอนั ยงิ่ ใหญ่ ททอี่ ี่อยยู่อู่อาาศศัยยั อาหาร ของนกอินทรี การสบื พนั ธุ์ ประโยชน์และโทษ

469 445659 ใบงาน เร่อื ง การอ่านคิดวิเคราะห์ หนว่ ยท่ี ๕ บทกวที ่ีชนื่ ชอบ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๙ เร่อื ง การฝึกอา่ น คิดวิเคราะหเ์ ขียนเพิ่มเติม รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ กรอบข้อความทก่ี าหนดให้อ่าน ชาล้นถว้ ย ในยคุ ทีพ่ ุทธศาสนานกิ ายเซนร่งุ เรืองในญป่ี ุ่นนน้ั คนญี่ปุ่นแทบทกุ ชนั้ วรรณะต่างพากนั สนใจศึกษาเซน กล่าวกันว่า ความสนใจเซนในยุคนั้นมีอยู่อย่างแพร่หลายถึงขนาดที่ว่าแม้แต่ขอทานบางคน ก็ยังเป็น ผูร้ อบรู้เร่ืองเซนอยา่ งลกึ ซ้งึ ถงึ ข้นั เป็นอาจารยข์ องศิษย์มากมาย บ่ายวันหน่ึงศาสตราจารย์ผู้มีช่ือเสียงคนหน่ึง เกิดอยากจะศึกษาพุทธศาสนานิกายเซนขึ้นมาบ้าง เขา จึงเดินทางไปหาอาจารย์เซนระดับปรมาจารย์คนหน่ึง เมื่อไปถึงสานักแล้ว อาจารย์เซนได้รินชาต้อนรับ ศาสตราจารย์คนน้ันอย่างสงบ ศาสตราจารย์ผู้มากด้วยความอหังการคิดว่าตนก็เป็นหน่ึงในบรรดาปัญญาชน ของยุคสมัยเหมือนกันเฝ้ามองถ้วยชาของพระผู้เฒ่าเงียบๆ แล้วก็สังเกตเห็นความผิดปกติ คือ แม้จะรินจนช า ล้นถ้วยแล้ว ทว่าอาจารย์เซนก็ยังคงรินไม่หยุด เขาจึงโพล่งถามออกไปหมายจะเตือนสติอาจารย์เซนว่า “อาจารย์ ชาลน้ ถว้ ยแลว้ ขอรับ” อาจารยเ์ ซนเงยหน้าข้นึ มาจากป้านชาพลางเอย่ ขน้ึ ว่า “คุณก็ไม่ต่างอะไรกับชาถ้วยนี้ ตราบใดที่สมองของคุณยังล้นไปด้วยความคิด ทฤษฎี คุณจะศึกษาเซน อย่างไรได้ จงทาถ้วยของคณุ ใหว้ า่ งเสียก่อนสิ” ศาสตราจารยไ์ ดฟ้ ังแลว้ ก็พลนั เกดิ อาการต่นื รู้ขึ้นมาในฉับพลนั ทนั ที (ไทยประกนั ชีวติ “ชาล้นถ้วย” ผาสกุ ๓๑ : ๑๕๘ , ม.ค. - ม.ี ค. ๒๕๕๐)

บทนา 470 445760 ............................................. ย่อหนา้ ๑ ............................................. ............................................. ............................................. ย่อหน้าจบเรือ่ ง เรือ่ ง ย่อหน้า ๒ ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ย่อหนา้ ๔ ย่อหน้า ๓ ............................................. ............................................. ............................................. .............................................

471 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ บทกวที ี่ช่ืนชอบ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๑๐ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรอ่ื ง การฝึกอา่ น คดิ วิเคราะห์เขยี นเพิ่มเติม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ขอบเขตเน้ือหา สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ๑. ใบความรู้เรอ่ื งตวั อย่างบทความ เข้าใจแนวทางการเขยี นคิดวิเคราะห์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. ใบงาน วจิ ารณ์และแสดงความคดิ เห็นหรอื โตแ้ ย้ง ขัน้ นา ภาระงาน/ช้นิ งาน ในเร่อื งต่างๆ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. ครูสนทนากับนักเรียนถงึ นักเขยี นที่มชี ่อื เสยี งและท่นี ักเรียนรจู้ กั และชน่ื ดา้ นความรู้ ชอบ แนวทางการเขียนคิดวิเคราะหว์ จิ ารณ์ ขนั้ สอน และแสดงความคิดเหน็ หรือโต้แย้งในเร่อื ง ๑. นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้ตัวอยา่ งบทความแลว้ ร่วมกันอภิปราย ต่างๆ ๒. ครูสนทนาวธิ กี ารเขยี นบทความ ด้านทักษะและกระบวนการ ๓. นกั เรียนฝึกเขยี นบทความจากใบงาน เขยี นบทความ ขั้นสรปุ ดา้ นคุณลกั ษณะ ๑. ครชู ่ืนชมผลงานนกั เรียน ๒. นักเรียนนาผลงานไปติดปา้ ยนเิ ทศ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๒.ม่งุ มนั่ ในการทางาน 445771

472 445782 การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เคร่อื งมือที่ใช้ เกณฑ์ สง่ิ ทต่ี ้องการวดั /ประเมนิ ใชค้ าถาม คาถาม ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ดา้ นความรู้ ใช้ใบงาน แนวทางการเขยี นคิดวเิ คราะห์ แบบประเมิน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ วจิ ารณแ์ ละแสดงความคดิ เห็นหรือ โต้แยง้ ในเรือ่ งต่างๆ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ เขียนบทความ ดา้ นคุณลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ ๒ ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ สังเกต แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ ๒. มงุ่ ม่ันในการทางาน ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่ือ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่.ี .........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผูบ้ รหิ ารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ................................................................................................... ........................................................................ ลงชื่อ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วนั ท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ.............

473 445793 ใบความรู้ เรอื่ ง การอา่ นคิดวเิ คราะห์ หน่วยที่ ๕ บทกวีที่ชน่ื ชอบ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๐ เร่ือง การฝึกอ่าน คิดวิเคราะหเ์ ขยี นเพ่มิ เติม รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ จดุ ประสงค์ เขียนบทความได้ ตัวอยา่ งบทความเรอื่ ง อนาคตประเทศไทย “ไม่อยากอยู่แล้วประเทศน้ี อยากลาออกจากความเป็นคนไทย” เคยได้ยินคานี้ออกจากปากคนบาง คน บางสถานการณ์ เพราะอาจจะคบั แค้นใจในการดาเนินชีวิตที่ไม่ได้อย่างที่คดิ หวงั ไว้ เลยคดิ ว่า เพราะเปน็ คน ไทย อยู่ประเทศไทย ถึงได้เป็นแบบน้ี ประเทศไทยอาจจะไม่ใช่ประเทศท่ีดีที่สุด ปลอดภัยที่สุด น่าอยู่ท่ีสุด แลว้ มีประเทศใดในโลกท่ดี ีท่สี ดุ ปลอดภัยที่สดุ นา่ อยู่ทสี่ ดุ บา้ ง ทกุ ประเทศมดี ี ๆ รา้ ย ๆ สลบั กนั ไปทุกประเทศ บางคนอยู่ต่างประเทศ อัดคลิปด่าคนไทย รังเกียจประเทศไทย โดยใช้ ภาษาไทยล้วน ๆ เกิดประเทศ ไทย เติบโตกินข้าวไทยท่ีประเทศไทย จนได้ไปอยู่เมืองนอกเมืองนา กลับหันกลับมาด่าประเทศตัวเอง คน ประเภทนี้ ไม่น่ากาเนิด เสียชาติที่เกิดเป็นคนไทย อยู่ในประเทศใด ก็เหมือนอาศัยอยู่ในบ้าน ถ้าบ้านท่ีอยู่ หลังคาร่ัว น้าท่วมบ้าน น้าไม่ไหล ไฟไม่สว่าง ผนังบางด้านผุ หรือหนักขึ้นไปจนถึงไฟไหม้บ้าน คนอยู่ในบ้าน หลังน้ัน ย่อมรู้ดีว่าหน้าท่ีต้องช่วยกันแก้ไข ไม่ใช่ว่าพอมีปัญหา หลังคาร่ัว ย้ายบ้านหนี ไฟไม่ติด เปลี่ยนท่ีอยู่ บ้านใหม่ หรือพอไฟไหม้ ออกไปยืนเท้าเอวหัวเราะอยู่นอกบ้าน บ้านท่ีเคยคุ้มกะลาหัว ตั้งแต่เล็กจนเติบใหญ่ พอบา้ นไม่ได้อย่างใจ กลบั หนไี ป ไมส่ นใจบา้ นตัวเอง รักประเทศไทย ตอ้ งรว่ มใจร่วมมือกัน เพอ่ื ใหป้ ระเทศนดี้ ีข้ึน บางคนคดิ ว่า เราคนเดยี วตวั เล็ก ๆ จะไป ช่วยอะไรได้ แค่ทาหน้าท่ีของตัวเองให้เต็มท่ี ไม่สร้างความเดือดร้อนให้สังคมก็ช่วยได้มากแล้ว บางคนคิดว่า เราไมใ่ ช่ผูน้ า ไมใ่ ช่ตวั แทนคนส่วนใหญ่จะไปกาหนดอะไรได้ ถ้ากาหนดไม่ได้ กเ็ ลือกคนดี ๆ ไปกาหนดประเทศ ได้ เช่นถ้ามีการเลือกต้ังก็เลือกคนดี ๆ ไม่ใช่คนที่ให้สตางค์ เลือกคนท่ีเป็นตัวแทน ไม่ใช่คนไปแก้แค้นแทนเรา เลอื กผแู้ ทนเป็นคนยังไง คนเลอื กกเ็ ป็นคนเชน่ นน้ั เลอื กคนไม่มีคุณภาพคนเลือกก็ไม่มีคุณภาพ เลือกคนดีไปทา หนา้ ที่แสดงว่าคนเลอื กกเ็ ป็นนดี แต่ถ้าไมเ่ ลอื กใครไปเป็นตัวแทนของเราเลย กอ็ ยา่ มาโวยวาย ว่าทาไมไดแ้ ต่คน ไม่ดี ถ้าไม่ได้เลือก ก็ต้องยอมรับไป ไม่อยากได้ แล้วทาไมไม่ไปเลือก อนาคตประเทศไทย จะออกมาเป็นยังไง ข้ึนอยู่กับคนไทยทุก ๆ คน ถ้าอยากเห้นอนาคตประเทศน้ีดีกว่าเก่า คนไทยเราก็ต้องร่วมมือ ร่วมใจ พัฒนา ประเทศใหก้ า้ วไกล หยุดทาเพ่ือตวั เองและพวกพ้องใคร ประเทศไทยจะดขี นึ้ ผดิ หผู ิดตา (จตพุ ล ชมภูนชิ : all รว่ มสร้างสังคมอดุ มปัญญา หน้า ๒๕)

446704 ใบงาน เร่ือง การอา่ นคดิ วิเคราะห์ หนว่ ยที่ ๕ บทกวที ่ชี ื่นชอบ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑๐ เร่ือง การฝกึ อา่ น คิดวเิ คราะหเ์ ขียนเพม่ิ เติม รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ จุดประสงค์ เขียนบทความได้ ใบงาน เรอ่ื ง กาหนดโครงเร่ืองบทความ นาเรื่อง ……………………………………………………………………………………………………………………………. หวั ข้อแรก ……………………………………………………………………………………………………………………………. หวั ข้อทส่ี อง ……………………………………………………………………………………………………………………………. หวั ข้อที่สาม ……………………………………………………………………………………………………………………………. สรปุ จบเรื่อง …………………………………………แบ…บ…ท…ด…ส…อบ……เร…่ือ…งเ…ข…ียน…บ…ท…ค…วา…ม……………………………………….

475 446715 เร่อื ง............................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................. ............................................. ...................................................................................... ........................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................... ...................................

476 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๕ บทกวีทชี่ ่ืนชอบ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๑ เวลา ๑ ช่ัวโมง ชั่วโมง เรอ่ื ง ประมวลผลรวบยอด : ระบสุ งิ่ ทีช่ อบ-ไม่ชอบ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ขอบเขตเน้อื หา รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ๑. หนังสือเรยี น กิจกรรมการเรียนรู้ ๒. สมดุ งาน สรุปเนอ้ื หาทผ่ี ่านมาท้ังหมด ประเมนิ ผล ขนั้ นา ๓. ใบงาน รวบยอดตนเองว่าชอบ-ไม่ชอบสงิ่ ใด ภาระงาน/ชน้ิ งาน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. ครูตั้งคาถามรายบุคคลกบั นักเรยี นถงึ เร่ืองเน้ือหาที่เรยี นมาตลอด ๑ โคลงสี่สุภาพกลุม่ ละ ๑ บท ด้านความรู้ ภาคเรียน สาระการเรียนร้ภู าคเรยี นท่ี ๑ ด้านทักษะและกระบวนการ ขั้นสอน ๑. นักเรียนรว่ มกันสรุปสาระการเรียนรู้ทงั้ หมดของภาคเรียนที่ ๑ สรปุ คิดคัดสรรสิ่งท่ชี อบ-ไม่ชอบ ๒. นักเรียนประเมินผลตนเองวา่ ชอบ-ไมช่ อบเร่ืองใด สาระการอา่ น สาระ ดา้ นคณุ ลักษณะ การเขยี น สาระการฟัง ดูและการพูด สาระหลักภาษาและการใช้ภาษา และสาระวรรณคดแี ละวรรณกรรม ระบเุ รื่องทีช่ อบลงในใบงาน ๑. มีวินัย ๓. แบ่งกลมุ่ นักเรยี นใหเ้ ข้ากลุม่ ตามสาระที่ชอบ อภปิ รายวา่ ชอบอะไร ไม่ ๒. มงุ่ มัน่ ในการทางาน ชอบอะไร เพราะเหตุใด ขัน้ สรปุ ๑. เสนอแนวคดิ ว่าจะต้องปรับปรงุ อยา่ งไรจงึ จะชอบเรื่องที่ไมช่ อบหรือชอบ มากขน้ึ จากเร่อื งทีช่ อบอยู่แล้ว 446726

477 446737 การวดั และประเมินผล วิธีการ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ สิง่ ทีต่ ้องการวดั /ประเมิน ใช้คาถาม ปฏบิ ตั ิ คาถาม ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ดา้ นความรู้ สงั เกต สาระการเรียนรภู้ าคเรยี นที่ ๑ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ สรุปคดิ คดั สรรสงิ่ ท่ีชอบ-ไม่ชอบ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๑. มวี ินัย ๒. ม่งุ มน่ั ในการทางาน ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงช่ือ ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วันที่..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรือผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. .............................................. ลงชือ่ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ท.่ี .........เดอื น..........พ.ศ.............

478 446748 ใบงาน เรอ่ื ง ระบสุ ิ่งทช่ี อบ-ไมช่ อบ หน่วยที่ ๕ บทกวที ี่ช่ืนชอบ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑๑ เรื่อง ประมวลผลรวบยอดระบสุ ิ่งที่ชอบ-ไม่ชอบ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย รหสั ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จดุ ประสงค์ สรุปคิดคดั สรรสิ่งท่ชี อบ-ไม่ชอบ สิ่งทช่ี อบ สิ่งทไ่ี ม่ชอบ

479 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๕ บทกวีทชี่ ื่นชอบ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๑๒ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรอื่ ง ประมวลผลรวบยอด : นาเสนอผลงาน ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ขอบเขตเนือ้ หา สื่อ/แหล่งเรียนรู้ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย ๑. หนงั สอื เรียน การสรปุ องคค์ วามร้ทู เ่ี กดิ จากการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ๒. สมดุ งาน ทีภ่ าคภมู ใิ จท่ีสุดแลว้ นาเสนอผลงาน ขน้ั นา ๓. ใบงาน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ ครสู นทนากบั นักเรยี นถึงประโยชนข์ องการประเมนิ ผลเพอื่ พัฒนาตนเอง ภาระงาน/ชนิ้ งาน รูปแบบการสร้างผลงาน ขั้นสอน นิทรรศการแสดงผลงาน ดา้ นทักษะและกระบวนการ ๑. นกั เรียนทาใบงานและหาผลงานดีเด่น สรปุ องค์ความรู้โดยการนาเสนอผลงาน ๒. นกั เรยี นจัดกลุม่ ผลงานตามสาระการเรียนรู้ ได้ ๓. นักเรยี นรว่ มกนั นาผลงานตนเองมาจัดนิทรรศการ ด้านคุณลักษณะ ๔. นักเรยี นชมนทิ รรศการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ขั้นสรปุ ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ ๑. นักเรยี นร่วมกันสรุปผลงานของห้องเรียน ๒. ม่งุ มนั่ ในการทางาน ๒. ทุกคนเสนอแนวคดิ ว่าควรพัฒนาการเรียนรูแ้ บบใดเพื่อให้สามารถสร้าง ผลงานไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ 446759

480 446860 การวดั และประเมินผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ สิ่งทตี่ ้องการวดั /ประเมนิ ใชค้ าถาม ปฏิบัติ คาถาม ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ ด้านความรู้ รปู แบบการสร้างผลงาน สงั เกต แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ สรปุ องค์ความรู้โดยการนาเสนอ แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ ๒ ผลงานได้ ผา่ นเกณฑ์ ด้านคุณลกั ษณะ ๑. มวี นิ ยั ๒. มุง่ มนั่ ในการทางาน ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชือ่ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่ี..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วนั ที่..........เดอื น..........พ.ศ.............

481 446871 ใบงาน เรอื่ ง การนาเสนอผลงาน หนว่ ยท่ี ๕ บทกวที ่ีชื่นชอบ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑๒ เร่อื ง ประมวลผลรวบยอด : นาเสนอผลงาน รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ จดุ ประสงค์ สรุปองค์ความรู้โดยการนาเสนอผลงานได้ ๑.สาระการอ่าน ผลงานท่ภี าคภมู ิใจ ๒. สาระการเขยี น ๓.สาระการฟงั ดูและการพดู ๔. สาระหลกั ภาษาและการใช้ภาษา ๕. วรรณคดแี ละวรรณกรรม ผลงานที่ภาคภมู ใิ จนาเสนอคือ.............................................

482 468 บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธิการ. หนังสือเรียนรายวบชิ รารพณน้ื าฐนากุ นรมภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓. กระทรวงกศรึกงุ ษเทาพธกิฯา: รโร. งหพนมิ งั พส์ ือสเกรสียคน,ร๒า๕ยว๔ิช๔า.พ้นื ฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวจิ กั ษ์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓. กองเทพกเครุงลเือทบพพฯณ: โชิ รกงพุล.มิ กพา์ สรใกชสภ้ คา,ษ๒า๕ไ๔ท๔ย.. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๒. จกนฉจฉนตอัตฤตตัฤุพงรมพุรมเววลลลทลรรพณุวุณวชชัชัชเมมวควตตพงพงลันศนัศนููนือ์.น์น.ชิบิช“ะ“ะ..พจรจร(ณ“ตั๒าตัาอนกนก๕ิชนห.์ห์.ก๖าหนหุลน๒คล.งัลงั )ตสักก.สักปอื“วาอืวรรเอาเาละลใทนทชม่เม่ กาทกภ้โโคาศาปปาตรรไรษร.ทป.ดดาพพยรขขไะ”มิิมทออเ,พพทงยงa์คฉค์ฉศ.lรันรันไกl้งัทง้ั รรททเเยุงรว่ร่๒ี๒่ีเ”่อือ่ืมท,งงสนพนaรนพนฯพlา้ lททรรง:ะรบะบสโว่มมุรอรุงั มห:ีี:หเคดสโโามารียรรชชองงน้านพนพุดงสกมิกมมิสโตพปพงัฉฉรคส์ัญ์สบบ,์มงงบัญับ๒เเอคคกก๕าดุ รราา.๔มาารร๑ะะป๒ต์ต์ หห๓ญั.ูนูน์หห์(””๑ญญญ๐ผาผงิิง).ปลปล:๑งางาา๒กาก๓นนเ๕เ(กก๑เเ,รรรร๐๒ยี็ดยี็ด)ง,๕ง,ค:ค๒๒๖๒วว๕๕๒าา๕๕๕.มม.๑๑ชช..นนะะ การประกวดหนังสือเลม่ โปรดของฉนั , ๒25๕5๕8๘. . พิศวาท น้อยมณี. “พูดดมี อี นาคต”. เอกสารอัดสำ� เนา. ม.ป.ท., ม.ป.ป. วิพุธ โสภวงศ์ (หผศน.งั )สือหเนรังียสนือภเารษยี นาไภทายษารไาทยยวชิ รายทว๒ิช๓า๑ท๐๒๑๓.๑ก๐าร๑อ.า่ กนาแรลอะา่ พนิจแาลระณพาจิ วารรณณากวรรมณ.กกรรรุงมเท. กพรฯุงเ:ทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภา,. ๒๕๔๔. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. การวัดและประเมินผลองิ มาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลกั สตู ร การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน. พทุ ธศักราช ๒๕๔๔. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค, ๒๕๔๘. . คมู่ อื การเรยี นการสอนภาษาไทยคิดและเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ : เรยี งความ ยอ่ ความ และสรุปความ ชว่ งชน้ั ท่ี ๒ – ช่วงชั้นท่ี ๔. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การคา้ ของสำนักงานคณะกรรมการ สกสค. ๒๕๕๑ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. . ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๑.กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .จตจุ กั ร,๒๕๕๓ . หนังสอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทยวิวิธภาษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๕. . หนงั สือเขียนรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย วรรณคดีวจิ ักษ์. (พมิ พ์ครั้งท่ี ๘) กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๘. . ค่มู ือการเรยี นการสอนภาษาไทยสรา้ งเดก็ ไทยใหอ้ ่านเกง่ อา่ นเรว็ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว, ๒๕๕๘. . คมู่ ือการจัดกิจกรรมหนงั สืออ่านนอกเวลาวชิ าประวตั ิศาสตร์ไทยและหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๘. . บทอาขยาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ๒๕๖๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๘. . เรียนรู้เขา้ ใจวรรณคดีของชาติ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ บริษัท เอกพมิ พ์ไท จำกัด, ๒๕๖๐. อดุล จัทรศกั ดิ์. (๒๕๖๒). “สนั ติภพ”, all รว่ มสร้างสงั คมอดุ มปัญญา. ๑๓(๑๐) : ๙.ฮุ่งอะลุน แดนวิไล. . หนังสอื รวมเร่ืองสน้ั ชุด “รอยยิ้มทไ่ี ม่มีกล่นิ เหล้า”. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พน์ านมีบุค๊ ส์, ๒๕๕๑.

469 คณะจดั ทำคู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น เพ่อื การเรยี นการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทปี่ รึกษา ๑. รองศาสตราจารย์ นราพร จนั ทร์โอชา รองประธานกรรมการบริหาร มลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ๒. พลอากาศโท ภกั ดี แสง-ชโู ต เลขาธกิ าร มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๓. นายอนุสรณ์ ฟเู จริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ๔. รองศาสตราจารย์ เฉลียวศรี พบิ ูลชล กรรมการบรหิ ารมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ๕. นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ๖. นางสาวนจิ สุดา อภนิ นั ทาภรณ์ ผอู้ ำนวยการสำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ๗. นางสาวรัตนา แสงบัวเผื่อน ผอู้ ำนวยการกลุม่ พัฒนาหลักสตู รและมาตรฐานการเรียนรู้ สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ๘. นางผานติ ทวศี ักด์ิ ผู้อำนวยการกลมุ่ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะจดั ทำค่มู อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๑ ๑. นางพิศวาท นอ้ ยมณี ขา้ ราชการบำนาญ ๒. นางสาวดวงใจ บุญยะภาส ๓. นายเชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ศกึ ษานิเทศก์ สพม. เขต ๔๒ ๔. นางสาวอรอร ฤทธก์ิ ลาง ๕. นางวาสนา เหมะ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ๖. นางเอมอร นามมนตรี โรงเรียนวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ๗. นางสาวฟารดี ะห์ เบญญากาจ โรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ๘. นางสาวแรมเดือน บุญชู โรงเรียนวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ๙. นางธรี สุต ฉำ่ ทรัพย์ โรงเรยี นวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๑๐. นางนันทพร มนั่ ทัพ โรงเรยี นวงั ไกลกังวล ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม. เขต ๕ ๑๑. นางนิรัชชา วิเชยี รตนนท์ ๑๒. นางวรันธร ดีชาติ โรงเรียนวงั นำ้ คู้ศึกษา โรงเรียนบา้ นพซุ าง ๑๓. นายสิทธิพงศ์ กาศโอสถ โรงเรยี นลองวิทยา ๑๔. นายประสงค์ โสมรตั นานนท์ โรงเรยี นสริ ินธร ๑๕. นายวชั เรศ ฉนุ หอม โรงเรยี นฤทธยิ ะวรรณาลัย

470 ๑๖. นางสาวทิพยส์ ุคนธ์ หรี่จินดา โรงเรียนตราษตระการคุณ ๑๗. นางนิภาพร คล้ายยวงทอง โรงเรยี นปทุมคงคา ๑๘. นางสาวโสภา ทองประเสรฐิ โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย นครศรธี รรมราช ๑๙. นางสาวปยิ นุช แหวนเพชร ๒๐. นางศุภนนั ทา บวั รตั นกาญจน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย เพชรบรุ ี ๒๑. นายสธุ นะ พามนตรี โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย ปทุมธานี ๒๒. นายประเสรฐิ อ้ยุ คชั ชะ โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย ๒๓. นางสาวอรณชิ เกิดแก้ว ๒๔. นางพานี นาคเสน โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสน)ี สมุทรปราการ ๒๕. นางกิตยิ า ชาวหนอง โรงเรียนบดินทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสน)ี สมุทรปราการ ๒๖. นางสาวสรุ รี ัตน์ เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา โรงเรยี นปากคาดพทิ ยาคม ๒๗. นางสาวสุนารี บุญรตั น์ โรงเรยี นปากคาดพทิ ยาคม โรงเรยี นป้อมนาคราชสวาทยานนท์ โรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสน)ี สมุทรปราการ คณะปรับปรุงคู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี ๑ ๑. นางพศิ วาท น้อยมณี ขา้ ราชการบำนาญ ๒. นางสาวอรอร ฤทธ์กิ ลาง นกั วชิ าการศกึ ษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ๓. นางสาวแรมเดือน บญุ ชู ครู โรงเรียนวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๔. นางสาวฟารดี ะห์ เบญญากาจ ครู โรงเรียนวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ๕. วา่ ทีร่ ้อยตรหี ญงิ นิสาชล รงุ่ เนย ครู โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๖. นายประจักษ์ นอ้ ยเหน่อื ย ครู โรงเรยี นมัธยมวัดสิงห์ สพม.เขต ๑ ๗. นางนิภาพร คล้ายยวงทอง ครู โรงเรียนปทุมคงคา สพม.เขต ๒ ๘. นายโยธิน นลิ คช ครู โรงเรยี นทา่ เรือ “นิตยานุกูล” สพม.เขต ๓ ๙. นายวชิ ญ์ วิชญปัญญากลุ ครู โรงเรยี นธัญบุรี สพม.เขต ๔ ๑๐. นางสาวธฐิ กิ าญจน์ มุ่งเบียดกลาง ครู โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวิทยาลยั รงั สิต สพม.เขต ๔ ๑๑. นางงามพิศ ล้ิมสวสั ด์ิ ครู โรงเรียนดดั ดรุณี สพม.เขต ๖ ๑๒. นายอนสุ รณ์ กะดามัน ครู โรงเรยี นวดั ราชบพธิ สพม.เขต ๑ ๑๓. นางช่อทิพย์ ก้อนทองคำ ครู โรงเรยี นเทพศริ ินทร์ สมุทรปราการ สพม.เขต ๖ ๑๔. นางสาวมนัสนนั ท์ เบญ็ พาด ครู โรงเรียนแปลงยาวพิทยาคม สพม.เขต ๖ ๑๕. นายอภชิ า พมุ่ พวง ครู โรงเรียนพูลเจรญิ วิทยาคม สพม. เขต ๖ ๑๖. นางทศั นา โพธเ์ิ งิน ครู โรงเรียนราชวินติ บางแก้ว สพม. เขต ๖ ๑๗. นางสาวพชั ราภรณ์ พานทอง ครู โรงเรียนบอ่ พลอยรชั ดาภิเษก สพม.เขต ๘ ๑๘. นางสาวขวัญชนก ทองทพั ไทย ครู โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร สพม. เขต ๑๘ ๑๙. นางสาววรนุช รกั ธรรม ครู โรงเรียนเกาะโพธถ์ิ ว้ ยงามวทิ ยา สพม.เขต ๑๘

471 ๒๐. นายสุภัทรพงษ์ รวงผ้ึงรงุ่ โรจน์ ครู โรงเรยี นแกลง “วทิ ยสถาวร” สพม.เขต ๑๘ ๒๑. นางรชั นีกร ผิวสว่าง ครู โรงเรียนบงึ กาฬ สพม.เขต ๒๑ ๒๒. นางสาวอนุสรา กมทุ ชาติ ครู โรงเรียนหว้ ยยาวพิทยาคม สพม.เขต ๔๑ ๒๓. นางวรันธร ดชี าติ ครู โรงเรียนบ้านพซุ าง สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๑ คณะตรวจปร๊ฟู /พิมพ์ และจัดทำรูปเล่มคู่มือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑. นายอนุสรณ์ ฟเู จริญ ผชู้ ่วยเลขาธกิ าร ประธานกรรมการ มลู นิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๒. นางราตรี ศรไี พรวรรณ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ กรรมการ ๓. นายธรี ะพล เข่งขวา รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ มธั ยมศกึ ษา กรรมการ โรงเรยี นวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ๔. นางวิภา ตัณฑุลพงษ์ รองหวั หน้าสำนกั งาน กรรมการ มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๕. นางสาวอรอร ฤทธก์ิ ลาง นักวชิ าการศกึ ษา สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทำงาน ๖. นางสาวศรนิ ทิพย์ บญุ เตมิ โรงเรียนพระยาประเสรฐิ สนุ ทราศรยั (กระจ่าง สงิ หเสน)ี คณะทำงาน ๗. นางสาวปวณี า โคว้ จำรัส โรงเรยี นพระยาประเสริฐสนุ ทราศรยั (กระจา่ ง สงิ หเสน)ี คณะทำงาน ๘. นางสาวชุตมิ า จงใจงาม โรงเรยี นพระยาประเสรฐิ สนุ ทราศรัย (กระจา่ ง สงิ หเสน)ี คณะทำงาน ๙. นางสาวณฐั กานต์ ขันทะสิทธ์ิ โรงเรยี นพระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจา่ ง สงิ หเสน)ี คณะทำงาน ๑๐. นางสาวกมลชนก ผา่ นสำแดง นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ เลขานกุ าร มูลนิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ๑๑. นางสาวชอ่ เพชร งามลาภ นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ ผู้ช่วยเลขานกุ าร มลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ๑๒. นางสาววรรณวิษา ภพู านทอง นักวิชาการศึกษา ผชู้ ่วยเลขานกุ าร มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ๑๓. นางสาวกมลชนก ดวงคำ นกั วิชาการศกึ ษา ผู้ช่วยเลขานกุ าร มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๑๔. นางสาวณัฐพร เผือดจนั ทึก นกั วิชาการศกึ ษา ผ้ชู ่วยเลขานุการ มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook