Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Published by elibraryraja33, 2021-08-25 03:55:52

Description: 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ภาษาไทย ม.3-05271359

Search

Read the Text Version

241 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๓ พินจิ คุณค่าวรรณคดี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เร่ือง ปฏิบตั ิการพดู โนม้ นา้ วใจ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ขอบเขตเนอื้ หา สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ การโน้มน้าวใจ คอื การใชค้ วามพยายามทจ่ี ะ กิจกรรมการเรยี นรู้ วีดทิ ัศนเ์ กีย่ วกบั การพูดโนม้ น้าวใจ ขนั้ นา ภาระงาน/ชิน้ งาน เปล่ียนความเช่ือ ทัศนคตคิ า่ นิยมและการกระทา พูดโนม้ นา้ วใจ ของบุคคลอน่ื ดว้ ยกลวิธที ่เี หมาะสมใหม้ ีผลกระทบ ๑. นกั เรียนชมวดี ิทศั น์เก่ียวกบั การพดู โนม้ นา้ วใจ ใจบคุ คลนั้น จนเกดิ การยอมรับและยอมเปลีย่ น ขนั้ สอน ตามทผ่ี ้โู น้มน้าวใจต้องการ ๑. นักเรียนเลอื กเรอื่ งท่สี นใจคนละ ๑ เรอ่ื ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ ๒. นกั เรยี นเขา้ กลุ่มเร่อื งทเ่ี หมอื นกนั ร่วมกนั รา่ งบทพูด ๓. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนออกมาพูด ๑ คน หนา้ ชั้นรียน การพดู โน้มนา้ วใจ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ โดยมีครูและเพ่ือนรว่ มติชม ข้นั สรปุ พูดโน้มน้าวใจไดถ้ ูกตอ้ ง ๑. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั ประเมนิ จดั อันดับการพูดโน้มน้าวใจ ดา้ นคณุ ลักษณะ ของเพ่ือน ๆ ๑. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๒. รกั ความเปน็ ไทย ๒. นกั เรยี นฝกึ พูดโน้นนา้ วใจเร่อื งท่ีตนสนใจ 222471

242 222482 ๗. การวัดและประเมินผล สงิ่ ท่ีต้องการวดั /ประเมนิ วิธีการ เคร่ืองมือท่ใี ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ หลกั การพูดโนม้ น้าวใจ คาถาม คาถาม เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ด้านทักษะ/กระบวนการ พดู โนม้ น้าวใจได้ถูกต้อง พดู โน้มนา้ ว แบบประเมนิ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๘๐ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ แบบประเมนิ ๑. มงุ่ ม่นั ในการทางาน สังเกตพฤตกิ รรม คณุ ลักษณะอนั พึง ระดบั คุณภาพ ๒ ๒. รักความเปน็ ไทย ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ๓. มีมารยาทนการพูด ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชอ่ื ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วันที่..........เดือน..........พ.ศ............. ๙. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผ้ทู ่ีไดร้ บั มอบหมาย .................................................................................................... ....................................................................... ลงชือ่ ......................................ผูต้ รวจ (.......................................................) วันท่ี..........เดอื น..........พ.ศ............

243 222493 ใบงาน เรื่อง การพดู โนม้ นา้ วใจ หน่วยที่ ๓ พินิจคณุ ค่าวรรณคดี แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๗ เรอ่ื ง หลักการพดู โน้มน้าวใจ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย รหัส ท ๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเลือกหวั ข้อเรื่องทีส่ นใจเพียง ๑ เรื่อง แลว้ ร่างบทพูดโนน้ นา้ วใจสน้ั ๆ เพือ่ ใช้พดู โนม้ น้าวใจ ๑. ประหยัดพลังงานลกู หลานยังมี ๖. สนิ ค้าไทยสร้างชาติไทย ๒. ออกกาลงั กายไดป้ ระโยชน์ ๗. ขา้ วแกงไทยใหค้ ณุ ค่า ๓. รักดแู ลสงิ่ แวดล้อม ๘. สวมหมวกกนั น็อคทุกที่ขับข่ปี ลอดภยั ๔. เลิกบุหรี่เลิกสุราพาเจริญ ๙. ปราบคอรปั ชัน่ บ้านเมอื งเจริญ ๕. เป็นคนไทยใช้ภาษาไทยให้ถกู ต้อง ๑๐. ชวี ติ ท่พี อเพยี ง ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

244 223404 เกณฑก์ ารให้คะแนนการพูดของนักเรยี นรายบคุ คล ประเดน็ การประเมนิ ๓ เกณฑก์ ารให้คะแนน ๑ มกี ารลาดับความคดิ ที่เปน็ ๒ ๑. การลาดับความคดิ ระบบเปน็ ไปตามขั้นตอน ไม่มีระบบการลาดบั ราบรื่นตลอดเรอื่ ง มกี ารลาดับความคิดที่เป็น ความคดิ การพดู ไมเ่ ป็นไป ๒.การออกเสยี ง / การใช้ ระบบไมม่ าก ไม่คอ่ ย ตามขั้นตอน สบั สนมาก นา้ เสยี ง ออกเสียงถูกตอ้ งชัดเจน เปน็ ไปตามขน้ั ตอน สบั สน (มากกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ของ ตามอักขรวิธี มีนา้ เสียง เลก็ น้อย(น้อยกว่าร้อยละ เน้อื หา) ๓. ความถูกตอ้ ง หนักเบาเหมาะสมกบั ๕๐ ของเนื้อหา) เหมาะสมของเนื้อหา เนือ้ หาที่พดู ตลอดการพูด ออกเสียงถูกต้องชดั เจน ออกเสียงถูกต้องชัดเจน และมีนา้ เสยี งหนักเบา ๔. บคุ ลิกลักษณะ/ เนื้อหาที่พดู มีความถูกต้อง และมนี ้าเสยี งหนักเบา เหมาะสมกับเน้อื หาทพี่ ูด มารยาทการพูด เหมาะสมน่าเชื่อถือ และ เหมาะสมกับเนอ้ื หาท่ีพูด เปน็ ส่วนนอ้ ย (นอ้ ยกว่าร้อย เปน็ ไปได้ ตลอดเรื่อง เป็นส่วนใหญ่ (มากกวา่ ละ ๕๐ ของเน้ือหา) ๕. การรกั ษาเวลา รอ้ ยละ ๕๐ ของเน้ือหา) มบี ุคลิกภาพทีส่ ุภาพ เนอื้ หาที่พดู มีความถูกตอ้ ง เหมาะสมกบั เนอ้ื หาที่พูด เนอื้ หาท่ีพูดมีความถูกต้อง เหมาะสมน่าเชื่อถือ และ มมี ารยาทในการพูด เหมาะสมน่าเชื่อถือ และ เปน็ ไปได้ น้อยกวา่ ร้อยละ ตลอดเวลาการพูด เปน็ ไปได้ มากกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ๕๐ ใชเ้ วลาการพูดตามที่ มีบุคลกิ ภาพทสี่ ุภาพ กาหนด มีบคุ ลกิ ภาพท่ีสุภาพ เหมาะสมกับเนื้อหาท่พี ูด มี เหมาะสมกบั เน้อื หาทพ่ี ูด มารยาทในการพดู น้อยกวา่ มมี ารยาทในการพูด รอ้ ยละ ๕๐ ของเวลาการ มากกวา่ ร้อยละ ๕๐ ของ กพาดู รพดู เวลาการพดู ใชเ้ วลาการพูดมากกวา่ และ หรอื น้อยกว่าเวลาท่ีกาหนด ใช้เวลาการพดู มากกวา่ (บวกลบ ๑๐ นาท)ี และหรอื น้อยกว่าเวลาที่ กาหนด (บวกลบ ๕ นาที) เกณฑ์การประเมิน ดี ระดบั คุณภาพ ๓ หมายถึง พอใช้ ๙ – ๑๒ คะแนน = ดี ๒ หมายถึง ปรับปรุง ๕ – ๘ คะแนน = พอใช้ ๑ หมายถงึ ๑– ๔ คะแนน = ปรับปรงุ

245 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๘ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ พนิ ิจคณุ คา่ วรรณคดี เรอื่ ง การพดู ในโอกาสตา่ งๆ : การโต้วาที เวลา ๑ ชั่วโมง กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ขอบเขตเน้ือหา การพูดในโอกาสตา่ งๆ : การโตว้ าที กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้นั นา ๑. วดี ที ศั น์ ตัวอย่างการพดู ดา้ นความรู้ ๑. นกั เรียนดู ตัวอย่างการพูดโต้วาที สน้ั ๆ ๓. ใบความรู้ มคี วามรู้ และ ความเขา้ ใจ ในการพูดโต้วาที ๒. นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ วา่ ชนื่ ชอบการพดู ของ ๔. แผนความคดิ ใบงาน ด้านทกั ษะและกระบวนการ พูดโต้วาที ได้อยา่ งถูกต้องรจู้ ักกาลเทศะและ ฝ่ายใด ๕. แบบประเมนิ การโต้วาที บุคคล ขนั้ สอน ภาระงาน/ชิน้ งาน ด้านคณุ ลักษณะ ๑. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ๆละ ๔- ๕ คน ศกึ ษาใบความรู้ ใฝ่เรยี นใฝร่ ู้ เรือ่ งการพดู ในโอกาสต่างๆ และการโตว้ าที มุ่งมน่ั ในการทางาน ๒. ทบทวนกตกิ าการโตว้ าที ๓. วางแผนการโตว้ าทีตามใบงาน ขนั้ สรุป ๑. นักเรียนชว่ ยกนั สรุปเนื้อหาการโตว้ าที เพื่อ วางแผนทดลองโตว้ าทนี อกเวลา ๒. อาจจับค่ชู นะโตว้ าทใี ห้นักเรยี นหอ้ งอ่ืนหรอื ระดับชั้นอนื่ ดนู อกเวลาเรียน 223415

246 223426 การวดั ผลประเมนิ ผล การประเมินจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สง่ิ ที่ต้องการวัดและประเมิน วธิ ีการ เคร่ืองมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ปฏบิ ัติ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์การ มีความรู้ และ ความเขา้ ใจ การโตว้ าที ประเมินร้อยละ ๘๐ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ปฏบิ ัติ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์การ พดู โตว้ าที ประเมนิ ร้อยละ ๘๐ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ แบบประเมนิ คุณลักษณะ คุณภาพระดับ ๒ ๑. ม่งุ มนั่ การทางาน ๒. รกั ความเป็นไทย สังเกตพฤติกรรม อนั พงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอุปสรรค ....................................................................................................................... ............................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ครูผู้สอน (.................................................................) วันท่ี............เดอื น............................พ.ศ.................. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ..................................................................................................................... ............................................................... ลงช่อื ผู้ตรวจ (.................................................................) ตาแหนง่ .................................................................................. วนั ที่............เดือน............................พ.ศ..................

247 223437 ใบความรู้ เรอื่ ง การพดู ในโอกาสต่างๆ : การโตว้ าที หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๘ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ การโต้วาที เปน็ การพูดโตแ้ ย้งหนา้ ทีป่ ระชุม โดยแบ่งผู้พดู เป็น ๒ ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายเสนอญตั ติ และฝา่ ย คดั ค้านญัตติ เรยี กส้นั ๆ ว่าฝา่ ยเสนอ และฝา่ ยตน้ มีผตู้ ัดสนิ ช้ีขาดใหฝ้ า่ ยใดฝ่ายหนึง่ ชนะ องค์ประกอบของการโต้วาที ๑. ผ้โู ตว้ าที มี ๒ ฝ่าย คอื ฝา่ ยเสนอและฝา่ ยค้าน แต่ละฝ่ายประกอบด้วย หัวหนา้ ๑ คน สมาชิกฝ่ายละ ๒-๓ คน หวั หนา้ ฝ่ายเสนอพูดคนแรก คนที่ ๒ คอื หัวหน้าฝ่ายคา้ น เม่อื ผู้พูดสลบั กนั จนครบทุกคน หวั หนา้ ฝา่ ยคา้ น สรปุ ประเดน็ ตอ่ หัวหนา้ ฝา่ ยเสนอ ๒. ญัตติ คือ หัวขอ้ ในการโต้วาที ทกี่ าหนดไว้ล่วงหน้า ญัตติที่ดีจะต้องเปน็ เรื่องท่ีใหป้ ระโยชนแ์ ก่ผ้ฟู ังอยู่ ในความสนใจของสังคมมีความเป็นกลาง และไม่ขดั ต่อศลี ธรรม ๓. ประธานหรอื ผดู้ าเนนิ การโตว้ าที ทาหน้าท่ีกล่าวนา ชแี้ จงญตั ติ อธบิ ายระเบยี บการโต้วาที กาหนดเวลาพดู เชิญผ้โู ต้วาทีฝ่ายเสนอและฝ่ายค้านสลบั กัน รวบรวมคะแนนจากคณะกรรมการ ประกาศผล และ กล่าวปิดการโต้วาที ๔. ผู้จับเวลา ใหส้ ญั ญาณก่อนหมดเวลาแต่ละคน ๑ นาที และให้สญั ญาณเมื่อหมดเวลา ๕. กรรมการตัดสิน คณะกรรมการตัดสินควรเป็นจานวนคล่ี นิยม ๓ หรอื ๕ คน เพอื่ ป้องกนั ปญั หา คะแนนเท่ากัน คณะกรรมการตอ้ งเท่ยี งธรรมในการตัดสนิ เหตุผลและวาทศลิ ป์ของท้ังสองฝ่าย ๖. ผฟู้ ัง อาจได้รับเชิญหรือเข้าฟังโดยอิสระปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้ฟังที่ดีมมี ารยาทในการฟงั ข้อปฏบิ ัติในการโตว้ าที ๑. ผู้โต้วาทีทุกคนเตรียมการพูด เตรยี มข้อมูลลว่ งหน้า หวั หนา้ ฝ่ายเสนอเปน็ ผู้อธิบายญัตติ ฝ่ายคา้ นมี หนา้ ทีห่ กั ล้างฝา่ ยเสนอ ยกเหตผุ ล ตวั อย่างให้เหน็ จริง ๒. มมี ารยาทในการพูด ไม่พูดส่อเสยี ด ขุดคุย้ เร่ืองสว่ นตวั หรอื ใช้กิรยิ าไม่สภุ าพ ใชส้ รรพนามแทนฝา่ ยตรง ขา้ มว่า “หวั หน้าฝา่ ย” “ผู้สนับสนุนฝา่ ย” ๓. ไม่ใช้ภาษาหยาบคาย หรือเลน่ สานวนโวหารเกนิ ไป ๔. พดู ให้มเี น้ือหาสาระทีม่ ีประโยชนต์ ่อผ้ฟู ัง ๕. ใชศ้ ิลปโน้มน้าวใจผฟู้ งั คล้อยตาม ๖. ตรงตอ่ เวลา นยิ มกาหนดเวลา ๓-๕ นาที ต่อผโู้ ต้วาที ๑ คน หัวหน้าจะได้รับเวลามากกว่าผู้สนับสนนุ ทัง้ นี้ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ จิ ๗. มีน้าใจนักกีฬารู้แพ้รู้ชนะรู้อภัย (พูดดีมอี นาคต : พิศวาส น้อยมณี)

248 223448 ใบงาน เรือ่ ง วางแผนโตว้ าที หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๘ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ คาชแ้ี จง ให้วางแผนดาเนนิ กิจกรรมโต้วาที กล่มุ ที่ ……………………………………… ๑. ญัตติ คือ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ประธาน คือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ฝ่ายเสนอ คือ ๑. หัวหน้าฝา่ ยเสนอ………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ผู้สนับสนุนฝา่ ยเสนอคนท่ี ๑………………………………………………………………………………………….. ๓. ผู้สนบั สนุ น…………..…………….……………………………………………………………………………………….. ๔. ฝ่ายคา้ น คือ ๑. หวั หนา้ ฝา่ ยคา้ น………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ผสู้ นบั สนุนฝา่ ยคา้ นคนท่ี ๑………………………………………………………………………………………….. ๓. ผสู้ นับสนนุ ฝ่ายค้านคนท่ี ๒………………………………………………………………………………………….. ๕. เวลาโต้วาที คอื หัวหนา้ พูด…………………….…..นาที หัวหน้าสรุป………………………..นาที ผู้สนบั สนุนคนละ………………..นาที ๖. ผู้จบั เวลา คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. คณะกรรมการตดั สิน คือ ๑…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ๒…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ๓…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ๘. การเตรยี มอปุ กรณ์ ๑. นาฬกิ าจับเวลา ผเู้ ตรียมคอื ……………………………………………………………………………………….. ๒. กริ่ง ผู้เตรียมคอื ………………………………………………………………………………………… ๓ แบบฟอร์มการให้คะแนน ผ้เู ตรียมคอื ………………………………………………………………………………………..

249 223459 โรงเรียนวงั ไกลกงั วล แบบประเมินการโต้วาที ญตั ติ…………………………………………………….. ผ้โู ต้วาที เสนอ-ค้าน ใช้ภาษา เหตผุ ลสนับสนุน บุคลกิ วาทศิลป์ รวมคะแนน ตรงประเด็น ถูกตอ้ ง หักล้าง มารยาท โนม้ นา้ ว ๑. หัวหนา้ ฝา่ ยเสนอ (๕) (๕) (๕) (๕) (๒๕) ๒. ผสู้ นับสนุนคนท่ี ๑ (๕) ๓. ผสู้ นบั สนุนคนที่ ๒ ๔. หวั หน้าฝ่ายเสนอสรปุ รวมคะแนน (๑๐๐) ๑. หัวหนา้ ฝา่ ยค้าน ๒. ผู้สนบั สนุนคนที่ ๑ ๓. ผสู้ นับสนุนคนท่ี ๒ ๔. หวั หน้าฝ่ายค้านสรปุ รวมคะแนน (๑๐๐) ลงช่อื ๑…………………………………………………กรรมการ ๒…………………………………………………กรรมการ ๓…………………………………………………กรรมการ

250 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๙ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ พินิจคณุ คา่ วรรณคดี เร่อื ง การพดู ในโอกาสต่างๆ : การโตว้ าที เวลา ๑ ชวั่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย รหสั ท๒๓๑๐๑ ขอบเขตเนอ้ื หา กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ การพดู ในโอกาสต่างๆ : การโตว้ าที ขัน้ นา -. แบบประเมนิ การโต้วาที จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. เตรียมการจดั สถานที่ ที่น่งั ฝา่ ยเสนอ ฝา่ ยค้าน ภาระงาน/ชิน้ งาน ดา้ นความรู้ และผู้ฟัง พดู โต้วาที มีความรู้ และ ความเขา้ ใจ ในการพดู โต้วาที ๒. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ การโตว้ าที ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ข้นั สอน พดู โต้วาที ได้อยา่ งถกู ต้องตามหลักการพดู โต้วาที ๑. ประธานคณะกรรมการดานินการโต้วาทีไป และเหมาะสม ตามลาดับ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๒. หลงั จากยตุ ิการโตว้ าทีแตล่ ะคู่ นกั เรียนร่วมกนั มวี นิ ัย แสดงความคิดเห็นและประเมินผล มุง่ ม่นั ในการทางาน ๓. รว่ มกันเสนอแนะเพื่อพัฒนาการโต้วาทใี นโอกาส ต่อไป ขนั้ สรุป ๑. ครูและนักเรียนช่วยกันสรปุ ผลการโต้วาที และ วางแผนทดลองโตว้ าทนี อกเวลา ๒. อาจจับค่ชู นะโต้วาทีให้นกั เรยี นหอ้ งอน่ื หรอื ระดบั ช้ันอนื่ ดนู อกเวลาเรยี น 223560

251 223571 ๗. การวดั ผลประเมนิ ผล การประเมนิ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น และ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สงิ่ ที่ต้องการวัดและประเมนิ วธิ ีการ เครือ่ งมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ จุดประสงค์การเรียนรู้ ทดสอบ ๑. มที ักษะการพูดโตว้ าที คาถาม ผ่านเกณฑ์การ ประเมินร้อยละ ๘๐ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ปฏิบัติ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์การ พูดโตว้ าที ประเมินร้อยละ ๘๐ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สงั เกตพฤตกิ รม แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ ๒ ๑. มุง่ มน่ั การทางาน ผา่ นเกณฑ์ ๒. รักความเปน็ ไทย

252 223582 ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................................ ........................ ....................................................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ....................................................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ ครูผูส้ อน (.................................................................) วันท่ี............เดือน............................พ.ศ.................. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ................................................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชือ่ ผู้ตรวจ (.................................................................) ตาแหนง่ .................................................................................. วนั ท่ี............เดอื น............................พ.ศ..................

253 223593 โรงเรียนวงั ไกลกงั วล แบบประเมินการโต้วาที ญตั ติ…………………………………………………….. ผ้โู ต้วาที เสนอ-ค้าน ใช้ภาษา เหตผุ ลสนับสนุน บุคลกิ วาทศิลป์ รวมคะแนน ตรงประเด็น ถูกตอ้ ง หักล้าง มารยาท โนม้ นา้ ว ๑. หัวหนา้ ฝา่ ยเสนอ ๒. ผสู้ นับสนุนคนท่ี ๑ (๕) (๕) (๕) (๕) (๕) (๒๕) ๓. ผสู้ นบั สนุนคนที่ ๒ ๔. หวั หน้าฝ่ายเสนอสรปุ รวมคะแนน (๑๐๐) ๑. หัวหนา้ ฝา่ ยค้าน ๒. ผู้สนบั สนุนคนที่ ๑ ๓. ผสู้ นับสนุนคนท่ี ๒ ๔. หวั หน้าฝ่ายค้านสรปุ รวมคะแนน (๑๐๐) ลงช่อื ๑…………………………………………………กรรมการ ๒…………………………………………………กรรมการ ๓…………………………………………………กรรมการ

254 224504 เกณฑ์การให้คะแนนการพดู โตว้ าที ประเดน็ การประเมิน ๓ เกณฑก์ ารให้คะแนน ๑ ๒ มกี ารลาดบั ความคิดที่เป็น มีการลาดบั ความคิดท่ีเป็น ไมม่ ีระบบการลาดบั ระบบเป็นไปตามขั้นตอน ระบบไมม่ าก ไม่ค่อย ความคิด การพดู ไม่เป็นไป ๑. การลาดบั ความคดิ ราบรืน่ ตลอดเรือ่ ง เปน็ ไปตามขน้ั ตอน สบั สน ตามข้นั ตอน สบั สนมาก เลก็ นอ้ ย(น้อยกวา่ ร้อยละ (มากกวา่ ร้อยละ ๕๐ ของ ๕๐ ของเนื้อหา) เนื้อหา) ออกเสยี งถูกตอ้ งชดั เจน ออกเสียงถูกตอ้ งชดั เจน ออกเสยี งถูกต้องชัดเจน ๒.การออกเสียง / การใช้ ตามอักขรวิธี มีน้าเสยี ง และมีนา้ เสียงหนักเบา และมีน้าเสียงหนักเบา น้าเสยี ง หนกั เบาเหมาะสมกับ เหมาะสมกบั เนอ้ื หาท่ีพูด เหมาะสมกับเน้ือหาทพ่ี ูด เนอื้ หาที่พูด ตลอดการพูด เป็นส่วนใหญ่ (มากกวา่ เปน็ ส่วนนอ้ ย (น้อยกวา่ ร้อย รอ้ ยละ ๕๐ ของเน้ือหา) ละ ๕๐ ของเนื้อหา) เน้ือหาที่พดู มีความถูกต้อง เนอ้ื หาที่พดู มีความถูกต้อง เนอ้ื หาท่ีพดู มีความถูกต้อง ๓. ความถกู ต้อง เหมาะสมน่าเช่ือถือ และ เหมาะสมนา่ เช่ือถือ และ เหมาะสมน่าเชื่อถือ และ เหมาะสมของเน้ือหา เปน็ ไปได้ ตลอดเรื่อง เป็นไปได้ มากกว่าร้อยละ เปน็ ไปได้ น้อยกวา่ ร้อยละ ๕๐ ๕๐ มบี ุคลกิ ภาพท่สี ภุ าพ มบี คุ ลิกภาพทส่ี ุภาพ มีบคุ ลกิ ภาพท่ีสุภาพ ๔. บคุ ลิกลกั ษณะ/ เหมาะสมกบั เนอ้ื หาท่ีพูด เหมาะสมกบั เนือ้ หาที่พูด เหมาะสมกับเน้อื หาที่พูด มี มารยาทการพดู มีมารยาทในการพดู มมี ารยาทในการพดู มารยาทในการพูดน้อยกว่า ตลอดเวลาการพูด มากกวา่ ร้อยละ ๕๐ ของ ร้อยละ ๕๐ ของเวลาการ เวลาการพดู กพาูดรพูด ใช้เวลาการพดู ตามที่ ใช้เวลาการพูดมากกว่า ใช้เวลาการพูดมากกว่าและ ๕. การรักษาเวลา กาหนด และหรอื น้อยกวา่ เวลาท่ี หรอื นอ้ ยกว่าเวลาทกี่ าหนด กาหนด (บวกลบ ๕ นาที) (บวกลบ ๑๐ นาท)ี เกณฑ์การประเมนิ ดี ระดบั คุณภาพ ๓ หมายถึง พอใช้ ๙ – ๑๒ คะแนน = ดี ปรบั ปรุง ๒ หมายถงึ ๕ – ๘ คะแนน = พอใช้ ๑ หมายถงึ ๑– ๔ คะแนน = ปรับปรงุ

255 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑๐ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ พนิ จิ คณุ ค่าวรรณคดี เรอ่ื ง การวเิ คราะหค์ ณุ ค่าวรรณคดี และวรรณกรรม เวลา ๑ ช่ัวโมง กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ขอบเขตเน้ือหา รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ การวเิ คราะห์คุณคา่ วรรณคดี กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขน้ั นา ๑. ใบความรู้การวิเคราะห์คณุ คา่ วรรณคดี ด้านความรู้ ๑. นกั เรียนสังเกตการใช้ภาษาข้อความ “มดื ส้นิ แสง และวรรณกรรม มคี วามรู้ ความเข้าใจการวิเคราะห์คุณคา่ วรรณคดี เทยี นประทีปส่อง กผ็ ่องแสงจันทร์กระจ่างสวา่ งส่ง” ภาระงาน/ชน้ิ งาน ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ การวเิ คราะห์วิถีไทยและคุณคา่ จากวรรณคดีและ ๒. นักเรียนรว่ มกันสนทนาเก่ยี วกับภาษาจากคา แผนผงั ความคดิ การวิเคราะหค์ ณุ คา่ วรรณคดี วรรณกรรม พร้อมยกเหตผุ ลประกอบได้ ประพันธ์ (การใชส้ มั ผสั การเล่นอักษร การเล่นคา) ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ข้นั สอน ๑. มวี ินัย ๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๖ กลุ่ม คละความสามารถ ๒. ใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน (เกง่ ปานกลาง อ่อน) จากน้ันให้นักเรยี นศึกษา ๓. มมี ารยาทในการเขยี นนวเิ คราะหว์ จิ ารณ์ หลักการวเิ คราะห์คณุ คา่ วรรณคดแี ละตัวอยา่ ง จากใบ ความรู้ โดยสรุปเป็นแผนผังความคดิ ลงในกระดาษ ร้อยปอนด์ ใหส้ วยงาม ตามประเดน็ ตอ่ ไปน้ี กลมุ่ ท่ี ๑ คณุ คา่ ดา้ นเน้อื หา กลุม่ ที่ ๒ คุณค่าดา้ นสงั คม กลุม่ ที่ ๓ คุณค่าด้านวรรณศิลป์(การเล่นคา สัมผสั ) กลุม่ ที่ ๔ คุณคา่ ด้านวรรณศิลป์(โวหารภาพพจน์) กลุ่มท่ี ๕ คณุ คา่ ด้านวรรณศิลป์(รสวรรณคดี) กลุ่มที่ ๖ คุณค่าดา้ นการนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ๒. ตัวแทนกลมุ่ นาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรียน 224515

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๓ พนิ จิ คณุ ค่าวรรณคดี แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๐ 256 กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย เรอ่ื ง การวิเคราะหค์ ณุ ค่าวรรณคดี และวรรณกรรม เวลา ๑ ชัว่ โมง รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ขัน้ สรุป ๑. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายการนาเสนอของแตล่ ะ กลุ่มแลว้ สรุปประเด็นสาคัญเก่ียวกบั การวิเคราะห์ คุณคา่ วรรณคดี แลว้ เขยี นผงั ภูมิ ๒. ครูประเมินความรู้ ความเข้าใจจากแผนผงั ความคดิ 224526

257 224537 การวัดผลประเมนิ ผล วิธีการวัด เครื่องมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ ทดสอบ แบบทดสอบ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สิ่งท่ีต้องการวดั และประเมิน รอ้ ยละ ๘๐ ดา้ นความรู้ แนวทางการวิเคราะห์คุณคา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ปฏบิ ัติ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์การประเมิน วิเคราะห์วรรณคดีด้านตา่ งๆ ร้อยละ ๘๐ คณุ ลกั ษณะ แบบประเมินคณุ ลักษณะ ระดับคุณภาพ ๒ ๑. มวี นิ ยั สังเกตพฤตกิ รรม อันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ๒. ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอื่ ครผู ู้สอน (.................................................................) วันที่............เดือน............................พ.ศ.................. ๙. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผูบ้ รหิ ารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ..................................................................................................................... ............................................................... ลงช่อื ผ้ตู รวจ (.................................................................) ตาแหน่ง.................................................................................. วนั ท่ี............เดือน............................พ.ศ..................

258 224548 ใบความรู้ เร่อื ง การวเิ คราะห์คณุ ค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรม หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๐ รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ขอ้ ความตวั อย่าง : ข้นั นา “อนิจจาแสงเดือนเพญ็ ทีผ่ ่องกระจ่างจับพระพักตร์อยูเ่ ม่อื ก้ี กจ็ างซดี ขมกุ ขมวั ลง ทอ้ งฟา้ สลวั มัวพยบั คร้ึม อากาศ เย็นเฉียบจับหัวใจ นา้ คา้ งหมดเพาะๆ ดิง่ หยาดนา้ ตกแหง่ สวรรค์ เกสรดอกรวั รว่ งพรู เป็นสายสหสั ธารา สรงพระ พุทธสรีระ จกั จ่นั เรไรสงดั เงยี บ ดูไมม่ ีแก่ใจจะทาเสียง ธรรมชาติรอบขา้ งตา่ งสลดหมดครามคะนองทุกส่ิงทุกอย่าง แลว้ จงึ มเี สยี งสะอนื้ ไห้ตามมา……..” (วาสฎิ ฐี : เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป) เหลอื บเห็นกวางขาดาขลบั งามสรรพสะพรงั่ ดัง่ เลขา งามเขาเป็นก่ิงกาญจนา งามตานิลรัตน์รูจี คอกง่ เป็นวงราววาด รูปสะอาดราวนางสาอางค์ศรี เหลยี วหนา้ มาดูภูมี งามดงั นารีชาเลอื งอาย ยามว่งิ วงิ่ เรว็ ดังลมสง่ ตัดตรงทุ่งพลนั ผนั ผาย ปนิ่ กษตั รยิ ์เรง่ รัดพรรณราย กระท่งั ถงึ ชายไพรวนั (ศกุนตลา : พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั )

259 224559 ใบความรู้ เร่อื ง การวเิ คราะห์คณุ คา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม หนว่ ยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๐ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ การวเิ คราะห์คณุ คา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม การวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของวรรณคดี/วรรณกรรมรอ้ ยกรอง ๑. รปู แบบคาประพนั ธ์ หมายถงึ ลกั ษณะรว่ มของงานประพนั ธ์อันเปน็ วถิ ที างทผ่ี ู้ประพันธเ์ ลอื กใชใ้ น การนาเสนอเนื้อหาไปสู่ผู้อ่านรูปแบบคาประพันธ์ได้ เช่น กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ เป็นต้น ลักษณะคา ประพันธ์แตล่ ะชนดิ กวจี ะเลอื กใชใ้ ห้เหมาะสมกบั เน้ือหาได้ ดังนี้ ๑.๑ กาพย์ เปน็ คาประพนั ธท์ ่ีกวมี กั ใช้แตง่ เปน็ ทานองเล่าเรอ่ื ง ๑.๒ กลอน เปน็ คาประพนั ธท์ ก่ี วมี กั ใชแ้ ต่งเพื่อ แสดงอารมณ์ แสดงความคดิ เหน็ เลา่ เรอ่ื งหรือสะทอ้ น ภาพสงั คม กลอนที่กวีแต่งพรรณนาคร่าครวญถึงบุคคลอันเป็นท่ีรัก ขณะเดินทางไปยังสถานที่ใดสถานท่ีหนึ่ง ลกั ษณะเชน่ นีเ้ รียก กลอนนริ าศกลอนท่ีนานทิ านมาแตง่ เรียก กลอนนทิ านหรือนิทานคากลอน กลอนท่ีนานิทานหรือการเล่าเรื่องมาใช้แสดงละคร เรียก กลอนบทละคร กลอนท่ีนาไปใช้แต่งเป็นบทร้องโต้ตอบ กัน เรียก กลอนสกั วา กลอนดอกสร้อย กลอนเสภา ๑.๓ ร่าย เปน็ ลกั ษณะคาประพันธท์ ี่ใชแ้ ตง่ เป็นเนือ้ เรื่องตลอด ๑.๔ โคลง กวีนยิ มแต่งโคลงเรือ่ งโดยใชโ้ คลงแต่งทงั้ เรื่อง ๑.๕ ฉันท์ เปน็ คาประพันธท์ ไี่ ด้แบบอยา่ งมาจากบาลีกวีมกั เลอื กใชฉ้ ันทใ์ ห้เหมาะสมกับลักษณะเนอ้ื เร่อื ง การพิจารณารูปแบบคาประพันธ์ ต้องพิจารณาดูว่า กวีเลือกใช้คาประพันธ์เหมาะสมกับเน้ือเรื่องและ การดาเนนิ เร่ืองหรือไม่ แตง่ คาประพนั ธน์ ั้นถกู ตอ้ งตามหลกั ฉันทลักษณห์ รอื เปลา่ เปน็ ตน้ ๒. เนือ้ หา คือ สาระสาคัญอนั เป็นสว่ นประกอบของเรือ่ งหรอื แนวคดิ สาคญั โครงเรอ่ื งฉากและตวั ละคร ๒.๑ แก่น เรื่องหรือแนวคิด คือ สาระข้อคิดเห็นหรือความตั้งใจของกวีท่ีต้องการจะสื่อมายังผู้อ่านกวี จะเชื่อมโยงโครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก บทสนทนา และส่วนประกอบต่างๆ ทัง้ หมดเข้าด้วยกันเพื่อแสดง แกน่ เรอ่ื งหรือแนวคดิ สาคญั ออกมา แกน่ เรอื่ งจะมีจดุ มุง่ หมายแตกต่างกนั ไป ๒.๒ โครง เรอื่ ง หมายถงึ การลาดับเหตกุ ารณ์ทผี่ ู้แตง่ วางจุดมุ่งหมายไว้ เหตุการณ์ คือเรื่องท่ีเกิดโดยทั่วไป เน้ือเร่ืองในวรรณคดีมักจะเป็นเร่ืองการรบ การผจญภัย ตัวละครเอกต้องผจญปัญหาและหาวิธีการ แก้ปญั หาต่างๆ และมักจบลงด้วยความสุขและความสาเร็จ เหตุการณ์ต่างๆที่สอดแทรกลงในตัวเร่ือง ทาใหเ้ กดิ เปน็ เร่ืองราวตา่ งๆ เปน็ เรื่องสาคัญ ผู้อ่านต้องพิจารณาว่ากวีกาหนดเหตุการณ์แต่ละขั้นตอน อย่างไร สอดคล้องสมั พันธ์กนั ตลอดเรือ่ งหรอื ไม่ เหตุการณใ์ ดสาคัญเหตุการณ์ใดไม่สาคัญเป็นเหตุเป็น ผลกับเน้ือเรอื่ งหรอื ไม่ เหตกุ ารณ์ตา่ งๆท่กี วีสร้างขึ้นมามคี วามสมจริงหรอื ไม่

260 224660 ๒.๓ ตัว ละคร คือผู้มีบทบาทในเนื้อเรื่อง กวีมักจะให้ตัวละครแสดงออกมาให้เห็นด้านอารมณ์ ด้าน ศลี ธรรมจรรยาโดยใชต้ ัวละครแสดงบทบาทต่างๆ เช่น ด้วยคาพูด หรือที่เรียกว่า บทสนทนาหรือด้วย การกระทาท่ีเรียกว่า บทบาท ควรพิจารณาว่าตัวละครมีพฤติกรรมอย่างไร พฤติกรรมท่ีแสดงออกดี หรอื ไม่ มคี วามสมจริงเพียงใด ๒.๔ ฉาก กวมี ักใช้ฉากท่ีเป็นบ้านเมือง สภาพความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณีรวมท้ังธรรมชาติต่างๆ มาสร้างเป็นเหตุการณ์ในเร่ือง ควรพิจารณาว่า กวีพรรณนาฉากได้ถูกต้องสมจริง ใช้ถ้อยคาให้เห็น ภาพหรือไม่ ฉากต่างๆ น้ัน สอดคล้องกับเน้ือเร่ืองและการดาเนินเรื่องหรือไม่ กวีมีความสามารถใน การพรรณนาฉากไดอ้ ยา่ งประณีต วิจติ รและงดงามเพียงใด ๓. กลวธิ ีการแต่ง วรรณคดีร้อยกรอง เรื่องหน่งึ ๆ กวจี ะใชก้ ลวิธีตา่ งๆ เพอื่ ทาให้วรรณคดหี รอื วรรณกรรมนน้ั ๆ มีคณุ ค่า น่าสนใจ กลวิธตี ่างๆ นั้น ไดแ้ ก่ ๓.๑ ความไพเราะของบทรอ้ ยกรอง คอื ความไพเราะอันเกดิ จากรสคาและความไพเราะ อันเกดิ จากรสความ ๓.๑.๑ ความไพเราะอนั เกดิ จากรสคา เกดิ จากการทีก่ วีเลอื กสรรคาทมี่ เี สยี งเสนาะ อันเกิดจากการ กใชา้ครใาชเล้คียำ� เนลเียสนียเงสธยี รงรธมรชรมาชตาิ คตาิ คท�ำี่เทลเี่นลเ่นสเียสงียวงรวรรณรณยุกยุกตต์ ค์ คาำ�ทที่เลเ่ี ล่น่นเสเสียียงงสสัมมั ผผัสัสคล้องจองกนั การรเเลล่น่นคคำ� าเสเสียียงง หนกั เบา การหลากคา การใชค้ าพ้องเสยี งและคาซ้า การใช้ลลี า จงั หวะของคาทาใหเ้ กิดความไพเราะได้ ๓.๑.๒ ความไพเราะอันเกดิ จากรสความเกิดจากการที่กวีเลือกใช้คาท่ีมีความหมายกระชับ ชัดเจน ใช้ คาถูกตอ้ งตามความหมายท่ีตอ้ งการ เลือกใช้คาท่เี หมาะสมแก่เน้ือเรื่อง ฐานะของบุคคลและอารมณ์ ในเนือ้ เรื่อง ๓.๒ กลวิธีการนาเสนอ กวีจะใช้วิธีนาเสนอเพื่อให้วรรณคดีและวรรณกรรมนัน้ ๆ น่าสนใจ นา่ ติดตามหรือ นา่ ประทับใจต่างๆ เช่น เสนอสาระสาคัญอย่างตรงไปตรงมา หรือ เสนอแบบให้ตีความหรือความ เปรยี บ เปน็ ต้น ๔. การใช้ภาษา/กวีโวหาร วรรณคดีร้อยกรอง กวีมักใช้ศิลปะในการนาถ้อยคา สานวน โวหารมาประกอบทาให้ ผู้อ่านเกิดจินตภาพและมีอารมณ์ร่วมหรือคล้อยตามไปด้วยกวี จะเลือกใช้คามาเปรียบเทียบด้วยลักษณะ ตา่ งๆ กนั ได้แก่ ๔.๑ อปุ มา กวใี ชเ้ ปรยี บเทียบสง่ิ หน่ึงเหมอื นกบั อกี สง่ิ หนึ่งโดยมคี าเชือ่ มโยง เชน่ ดุจ ประดุจ เหมอื น เชน่ ปาน ฯลฯ ตัวอย่างเชน่ อนั ความคิดวทิ ยาเหมือนอาวุธ ประเสริฐสดุ ซ่อนใสเ่ สียในฝัก สงวนคมสมนึกใครฮกึ ฮัก จึงค่อยชักเชือดฟนั ใหบ้ รรลยั (จากเพลงยาวถวายโอวาท: สนุ ทรภู่) กวไี ด้เปรียบเทยี บความคิดหรอื ความร้เู หมือนอาวธุ โดยใชค้ าวา่ เหมือน เปน็ คาเชือ่ ม

226611 242671 ๔๔..๒๒ ออุปุปลลักักษษณณ์ ์ เเปป็น็นกกาารรเเปปรรียียบบเเททียียบบสส่ิงิ่งหหนนึ่ง่ึงเเปป็น็นออีกีกสสิ่งิ่งหหนนึ่งึ่งกกววี ี จจะะใใชช้ก้กาารรเเปปรรียียบบเเททียียบบโโดดยยตตรรงง นนาาลลักักษษณณะะ เเดด่น่นขขอองงสสิ่งิ่งทที่ตตี่ อ้ อ้ งงกกาารรเเปปรรียยี บบเเททียยี บบมมาากกลล่าา่ ววททันนั ททีโีโดดยยไไมม่ม่มีคีคาาเเชชอ่ื ่อื มมโโยยงงบบาางงคครรั้ง้ังออาาจจใใชช้ค้คาาวว่า่า เเปป็น็น แแลละะ คคือือ เเชชอื่ ่อื มมโโยยงงกก็ไไ็ ดด้ ้ตตวั วั ออยยา่ ่างงเเชชน่ ่น ถถา้ ้าเเรราามมีนนี าาววาาททพิ ิพยยท์ ท์ าาดด้ว้วยยมมุกกุ ดดาา มมคี คี ววาามมปปรราารรถถนนาาเเปปน็ ็นใใบบมมคี ีคววาามมออาาเเภภออใใจจเเปป็น็นหหาางงเเสสืออื ((จจาากกกกาามมนนิตติ :: เเสสฐฐียียรรโโกกเเศศศศ–– นนาาคคะะปปรระะททีปีป)) กกววเี ีเปปรรยี ียบบคคววาามมปปรราารรถถนนาากกับบั ใใบบเเรรอื อื แแลละะคคววาามมออาาเเภภออใใจจกกบั บั หหาางงเเสสอื ือเเรรืออื โโดดยยใใชช้ ้ ““เเปปน็ ็น””เเปปน็ ็นคคาาเเชช่อื อ่ื มม ๔๔..๓๓ บบุคุคคคลลววัตัต หหรรือือ บบุคุคคคลลสสมมมมตติ ิ กกววีใีใชช้ก้กาารรสสมมมมุตุติสิส่ิง่ิงตต่า่างงๆๆ ทท่ีไ่ีไมม่ใ่ใชช่ม่มนนุษุษยย์ ์ ใใหห้ม้มีกีกิริริยิยาาออาากกาารร คคววาามมรรู้สู้สึกึก เเหหมมอื อื นนมมนนุษษุ ยย์ ์ตตวั วั ออยย่าา่ งงเเชชน่ น่ มมะะนนาาววนน้อ้อยยออยยา่ ่าพพลลออยยไไปปเเหหลลงิ งิ เเลลน่ น่ ตตะะววันันเเยย็น็นลลงงไไปปจจะะไไมมแ่ ่แจจ้ง้ง ผผักักชชียยี ี่หี่หรร่าา่ ไไยยตตาาแแดดงง ตตะะกกรร้าา้ เเกก่าา่ นนออนนตตะะแแคคงงเเฝฝ้าา้ คคออยยดดู ู ((จจาากก““รราารร้า้างงออยยา่ า่ งงแแรร้ง้งไไรร”้ ”้ :: แแรรคคาาปปรระะโโดดยยคคาา)) กกววใี ใี ชช้มม้ ะะนนาาวว ผผกั ักชชี ียยีห่ ห่ี รรา่ ่าตตะะกกรร้า้าใใหห้ม้มกี กี ิริริยยิ าาเเหหมมือือนนมมนนุษษุ ยย์ ์คคือือมมะะนนาาววททาากกิริรยิ ยิ าาเเหหลลงิ งิ เเลล่น่น ผผักกั ชชี/ี/ ยย่หี ห่ี รร่า่าททาากกริ ิรยิ ยิ าาตตาาแแดดงง ตตะะกกรรา้ ้าททาากกิริริยยิ าานนออนนตตะะแแคคงงเเฝฝา้ ้าคคออยยดดู ู ๔๔..๔๔ ออตตพิ พิ จจนน์ ์ กกววใี ใี ชชก้ ้กาารรกกลลา่ ่าววผผดิ ดิ ไไปปจจาากกทท่ีเี่เปปน็ ็นจจรริงิงโโดดยยกกาารรกกลล่า่าววใใหห้ม้มลี ลี กั กั ษษณณะะเเกกินินคคววาามมเเปป็นน็ จจรริงิง หหรรอื ือ นนอ้ ้อยยกกววา่ ่าจจรรงิ ิงเเพพือ่ ื่อใใหห้ถถ้ อ้ ้อยยคคาากกรระะททบบออาารรมมณณ์ขข์ อองงผผู้อ้อู า่ า่ นนใใหหม้ ม้ ีคีคววาามมรรู้สสู้ ึกกึ เเพพ่มิ ม่ิ ขข้ึนึน้ เเปป็นน็ สสาาคคัญัญเเชชน่ น่ เเออยี ียงงออกกเเธธออออกกออ้าา้ งง ออววดดอองงคค์ ์ ออรรเเออยย เเมมรรชุ ชุ บุ บุ สสมมทุ ทุ รรดดินินลลงง เเลลขขแแตต้ม้ม ออาากกาาศศจจักกั จจาารรผผจจงง จจาารรึกกึ พพออฤฤาา โโฉฉมมแแมม่ห่หยยาาดดฟฟ้าา้ แแยย้มม้ ออยยูร่ ู่รอ้ ้อนนฤฤาาเเหหน็ น็ ((จจาากกโโคคลลงงนนริ ริ าาศศนนรรินนิ ททรร์:์: นนาายยนนรรินนิ ททรร์ธ์ธิเเิบบศศรร์)์) กกววี ีใใชช้คค้ าาเเออยี ียงงออกกเเททแแททนนสส่ิงงิ่ ททอี่ ่ีอยยใู่ ่ใู นนใใจจใใชช้เ้เขขาาพพรระะสสเุ เุมมรรชุ ชุ ุบุบนนา้ า้ แแลละะดดินินแแททนนปปาากกกกาาเเขขียยี นนขขอ้ ้อคคววาามมใในน ออาากกาาศศซซ่งึ ่ึงลลว้ ว้ นนเเปปน็ ็นลลกั ักษษณณะะทที่เ่ีเกกนิ นิ คคววาามมเเปป็น็นจจรริงงิ ๔๔..๕๕ สสัททั พพจจนน์ ์ หหรรอื อื กกาารรเเลลียยี นนเเสสยี ียงงธธรรรรมมชชาาตติ ิกกววใี ใี ชช้กก้ าารรเเปปรรยี ยี บบเเททยี ียบบโโดดยยกกาารรใใชช้ค้คาาเเลลียียนนเเสสียียงงธธรรรรมมชชาาตติ ิ ททาาใใหห้ ้ เเสสยี ียงงไไพพเเรราาะะเเกกิดิดจจินนิ ตตภภาาพพไไดด้ชช้ ัดดั เเจจนน เเกกิดดิ คคววาามมรรู้สสู้ ึกึกคคลล้อ้อยยตตาามม ตตัวัวออยยา่ ่างงเเชช่น่น เเกกือือบบรรุง่ ุ่งฝฝงู ูงชช้าา้ งงแแซซ่ ่ แแปปรรน๋ ๋นแแปปรรน๋ ๋น กกรรววดดปปา่ ่ามมาาแแกกรร๋นน๋ แแกกรรน๋ น๋ เเกกรร่ิน่นิ หหยย้า้านน ฮฮูมมู ฮฮูมมู ออ่มู ูม่ อองึ งึ แแสสนน สสนนน่ั ัน่ รรออบบสนั่นรอบขขออบบแขแฮอฮบแฮ คคกึ ึกคคึกกึ ททึกึกเเสสททือือนนสสะะทท้า้านน ถถิน่ ิ่นไไมม้ไ้ไพพรรพพรรมม ((โโคคลลงงนนริ ริ าาศศสสุพพุ รรรรณณ:: สสนุ นุ ททรรภภู่)ู่) กกววีใีใชช้เ้เลลียียนนเเสสียียงงขขอองงชช้า้างงใในนคคาา แแปปรร๋น๋นแแปปรร๋น๋นแแกกรร๋น๋นแแกกรร๋น๋น ฮฮูมูมฮฮูมูม ททาาใใหห้เ้เกกิดิดจจินินตตภภาาพพไไดด้ช้ชัดัดเเจจนน

262 224682 ๔.๖ ปฏิพจน์กวใี ช้การเปรยี บเทยี บทเี่ กิดจากคาทีม่ คี วามหมายตรงกันข้ามกนั หรือขดั แย้งกันนามาแตง่ ให้ เขา้ คูก่ ัน เพ่อื ใหเ้ กดิ ความหมายขนานหรอื เกดิ ภาพตดั กันทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความร้สู ึกหรอื ใหจ้ ินตภาพทื่ ชัดเจนข้นึ ตวั อย่างเช่น รอยบุญเราร่วมพ้อง พบกนั บาปแบ่งสองทาทนั เท่าสรา้ ง เพรงพรากสตั วจ์ าผัน พลัดคู่ เขาฤา บญุ รว่ มบาปจาร้าง นุชร้างเรียมไกล (โคลงนริ าศนรินทร์ : นายนรนิ ทรธ์ ิเบศร์) กวีใช้คาบุญและบาปท่ีเป็นคาท่ีมีความหมายตรงกันข้ามมาใช้ก่อให้เกิดความรู้สึกอย่างชัดเจน กวียังมลี ีลาในการถา่ ยทอดอารมณค์ วามรู้สึกต่างๆ เชน่ อารมณร์ ัก อารมณโ์ ศกอารมณย์ นิ ดี มายยงั งั ผอู้ า่ นเพอ่ื สร้างอารมณร์ ่วมกับคาประพันธ์น้ัน ลลี าท่กี วใี ชใ้ หผ้ ู้อ่านเกิดอารมณ์น้นั ๆ มอี ยู่ ๔ แบบ คือ ๑. เสาวรจนีหรือชมโฉม เป็นลีลากวีใช้ถ้อยคาชมความงามของตัวละครชมความงามของสิ่งต่างๆ หรือ สถานที่ ตวั อย่าง เช่น เดอื นจรสั โพยมแจ่มฟ้า ผิบได้เห็นหนา้ ลอราชไซร้ดูเดือน ดุจแล ตาเหมือนตามฤคมาศ พิศคิว้ พระลอราช ประดจุ แก้วเกาทัณฑ์ ก่งนา พิศกรรณงามเพริศแพรว้ กลกลบี บงกชแก้ว อกี แก้มปรางทอง (ลิลิตพระลอ) ๒. นารีปราโมทยห์ รือบทโอ้โลม เป็นลีลาที่กวีใชถ้ ้อยคาแสดงความรักใคร่เก้ยี วพาราสกี นั หรอื พดู ใน เพลิดเพลิน ตัวอยา่ งเชน่ ประจงจูบลูบผมแลว้ ชมพกั ตร์ น่ารกั นวลเนือ้ เจ้านม่ิ น่ิม น้าตาคลอเป่ียมอยเู่ รียมริม เจ้าเยอ้ื นยิม้ สักหนอ่ ยเถิดกลอยใจ (ขนุ ช้างขุนแผน) ๓. พิโรธวาทังหรือบริภาษเป็นลีลาที่กวีใช้ถ้อยคาเพ่ือแสดงความโกรธขุ่นเคือง เยาะเย้ย ตัดพ้อต่อว่าเหน็บ แนมซ่ึงกนั และกนั ของตวั ละคร ตวั อย่างเช่น เสยี แรงลูกผูกใจจะไดพ้ ง่ึ พอ่ โกรธขง้ึ ส่ิงไรเป็นใหญห่ ลวง โอ้มพี ่อก็ไมเ่ หมอื นเพ่ือนท้ังปวง มแี ต่ลวงลกู รักไปหกั คอ รกู้ ระนมี้ อิ ยากเรยี กพ่อดอก จะไปบอกแมว่ ันทองให้ฟ้องพ่อ (ขนุ ช้างขนุ แผน)

263 224693 ๔. สลั ปงั คพิสยั หรือบทครา่ ครวญ เปน็ ลีลาทก่ี วใี ช้ถอ้ ยคาเพ่ือแสดงความโศกเศรา้ หวนไห้ อาลยั อาวรณ์ พร่าเพ้อ ตัวอยา่ งเช่น ลูกก็แลดแู มแ่ มด่ ลู ูก ต่างพนั ผูกเพียงวา่ เลือดตาไหล สะอ้ืนรา่ อาลาด้วยอาลยั แลว้ แข็งใจจากนางตามทางมา เหลยี วหลังยงั เห็นแม่แลเขม้น แมก่ เ็ หน็ ลกู น้อยละหอ้ ยหา แตเ่ หลยี วเหลียวเลยี้ วลบั วับวิญญาณ์ โอ้เปลา่ ตาตา่ งสะอืน้ ยนื ตะลงึ (ขุนชา้ งขุนแผน) นอก จากลีลาแบบต่างๆที่กวีแต่ง เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกต่างๆให้ผู้อ่านคล้อยตามแล้วกวียังมี วิธีการ ใช้ภาษาสื่อความคิดออกมาในรูปการใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ หมายถึง สิ่งหน่ึงใช้แทนอีกส่ิงหน่ึง วรรณกรรมรอ้ ยกรองกวีใช้สัญลักษณ์คาเดียว อาจมีความหมายกว้างเป็นที่เข้าใจได้ง่าย นับเป็นศิลปะการใช้ ภาษาของกวีอย่างหน่ึง เช่น แก้ว กวีจะใช้แทนความดี ความงาม ความวิเศษ ความมีคุณค่า น้าค้าง ใช้แทน ความบริสุทธ์ิ สะอาด ไฟ ใช้แทนความร้อน ยักษ์ ใชแ้ ทนความดรุ ้าย คนเลว แมลงภู่ ใชแ้ ทนผู้ชาย ดอกไม้ ใช้ แทนผู้หญิง เปน็ ต้น เหน็ แกว้ แวววบั ที่จบั จติ ไยไมค่ ดิ อาจเออ้ื มใหถ้ งึ ท่ี เมื่อไมเ่ อ้อื มจะได้อย่างไรมี อันมณฤี าจะโลดไปถงึ มือ (ทา้ วแสนปม: รัชกาลที่ ๖) แกว้ และมณีเปน็ สญั ลักษณแ์ ทนผหู้ ญิงท่ีงดงาม มคี า่ หรอื ผู้หญงิ ทีม่ ีฐานะสูงศกั ดิ์ “แมลงภภู่ ู่ ถึงแม้ความรักของมันจะอยู่ที่ดอกบัวหลวงก็ตามที เม่ือมันเห็นดอกมะลิเล้ือยและอยากดอก กลน่ิ หอมใหม่ มันจะยอมนิ่งทนไม่ไปหาละหรอื ” (ปรยิ ทรรศกิ า:รัชกาลท่ี๖) กวใี ชแ้ มลงภูเ่ ป็นสญั ลกั ษณแ์ ทนผู้ชายและดอกมะลิแทนผู้หญิง ทมี่ า : ฉันทนา ธูปตากอ้ ง. ๒๕๕๓. (ออนไลน์) แหล่งท่มี า:http:/www.kpsw.ac.th/teacher/chantana/page๑.htm%๒๐ http://www.oknation.net/blog/print.php?id=๗๕๘๖๗๐

264 225604 ใบงาน เร่ือง การวเิ คราะห์คุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๑๐ รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ คาชีแ้ จง ให้กลุ่มชว่ ยกนั เขียนแผนผงั ความคดิ แสดงความรู้ความเขา้ ใจ การวิเคราะห์คณุ ค่าวรรณคดี และ วรรณกรรมทศี่ ึกษาจากใบความรู้

265 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๑๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ พินจิ คุณค่าวรรณคดี เรื่อง การวเิ คราะห์คุณคา่ จากบทเพลงและบทร้อยกรอง เวลา ๑ ช่ัวโมง กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ขอบเขตเนอ้ื หา การวิเคราะหค์ ณุ ค่าจากบทเพลงและบทร้อยกรอง กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขน้ั นา ๑. ใบงาน ด้านความรู้ ๑. นกั เรยี นตอบคาถามครู นักเรยี นได้อะไรจากการ ๒. เพลงบทชวนรกั ชาติ มีความรู้ ความเขา้ ใจการวเิ คราะห์คุณค่าวรรณคดี กเราียรนเรวยี รนรวณรครณดี คนดอี นกอจกาจกาคกวคาวมาเมพเลพดิ ลเินพเลพินลนิ (ปรบั เปล่ยี นเพลงได้ตามความเหมาะสม) ด้านทกั ษะ/กระบวนการ การวิเคราะหว์ ิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดแี ละ ๒. นกั เรียนฟังครูยกตัวอย่างเพิม่ เติมเชน่ ไดร้ ู้ ๓. แบบทดสอบ วรรณกรรม พร้อมยกเหตุผลประกอบได้ ประวัติศาสตร์ วถิ ีชวี ิตคนในอดีต ความเช่ือ ฯลฯ ภาระงาน/ช้ินงาน ดา้ นคุณลักษณะ ขนั้ สอน การนาเสนอผลงานของแต่ละกลมุ่ ๑.รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๑. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ๖ กลมุ่ (ตามกลุ่มเดมิ ) แลว้ ๒.ใฝ่เรยี นรู้ ให้นกั เรียนฟังเพลง บทชวนรักชาติ (ครูสามารถเลอื ก ๓.มงุ่ ม่นั ในการทางาน เพลงไดต้ ามความเหมาะสม) ๔.รกั ความเปน็ ไทย ๒. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ วเิ คราะหค์ ณุ ค่าวรรณคดจี าก เพลงท่ีได้ฟังตามประเดน็ ต่อไปน้ี กลมุ่ ท่ี ๑ คุณค่าด้านเนื้อหา กลมุ่ ท่ี ๒ คุณคา่ ดา้ นสังคม กลมุ่ ที่ ๓ คุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์(รสคา) กลมุ่ ท่ี ๔ คุณคา่ ด้านวรรณศลิ ป์(โวหารภาพพจน์) กลุ่มท่ี ๕ คุณคา่ ดา้ นวรรณศิลป์(รสวรรณคดี) กลุ่มที่ ๖ คุณคา่ ด้านการนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน (แตล่ ะกลุ่มศกึ ษาประเด็นของตนเอง) 225615

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ พินจิ คณุ คา่ วรรณคดี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑๑ เวลา ๑ ช่ัวโมง กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย เร่ือง การวิเคราะห์คุณคา่ จากบทเพลงและบทร้อยกรอง ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นสอน ๓. ตวั แทนกลมุ่ แตล่ ะกล่มุ ออกมานาเสนอผลการ วิเคราะห์คุณคา่ วรรณคดใี นประเด็นของตนเอง ตามลาดับกลุ่มบนั ทึกลงแบบวเิ คราะหค์ ุณค่าให้ สมบรู ณ์ ขน้ั สรุป ๑. นกั เรยี นร่วมกันสรปุ ประเดน็ ที่ปรากฏจากเพลงท่ี ไดฟ้ งั ๒. นักเรยี นทาแบบทดสอบ 266 252 ๗. การวัดผล สิ่งทตี่ ้องก ดา้ นความรู้ แนวทางการ บทเพลง/บท ดา้ นทักษะ/ก วเิ คราะหค์ ุณ บทรอ้ ยกรอง คุณลกั ษณะ ๑.รกั ชาติ ศ ๒.ใฝเ่ รยี นร ๓.มุ่งมั่ในกา ๔.รกั ความเ

267 225637 ๗. การวัดผลประเมินผล วธิ ีการวัด เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์ การนาเสนองาน แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์การประเมิน ส่งิ ที่ต้องการจัดและประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ดา้ นความรู้ แนวทางการวิเคราะหค์ ุณคา่ บทเพลง/บทร้อยกรอง ด้านทกั ษะ/กระบวนการ แบบทดสอบ แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์การประเมิน วเิ คราะห์คุณค่าบทเพลงและ สงั เกตพฤติกรรม รอ้ ยละ ๘๐ บทรอ้ ยกรอง แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ผา่ นเกณฑ์ ๑.รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ประสงค์ ๒.ใฝเ่ รยี นรู้ ๓.ม่งุ มั่ในการทางาน ๔.รกั ความเป็นไทย

268 225648 ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................ ............................ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ครผู ้สู อน (.................................................................) วนั ท่ี............เดือน............................พ.ศ.................. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอ่ื ผตู้ รวจ (.................................................................) ตาแหนง่ .................................................................................. วันที่............เดอื น............................พ.ศ..................

269 225659 ใบงาน เร่ือง การวิเคราะหค์ ุณคา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม หน่วยที่ ๓ แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑๑ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ คาชแ้ี จง อ่านบทชวนรักชาติและเขียนวเิ คราะห์คุณค่าบทเพลงลงในแบบทก่ี าหนด บทชวนรักชาติ เรานีเ้ กดิ มาแลว้ ชาตหิ น่งึ ควรคานงึ ถึงชาติศาสนา ไมค่ วรใหเ้ สยี ทีที่เกิดมา ในหมปู่ ระชาชาวไทย แมใ้ ครต้ังจิตคิดรักตวั จะมวั นอนนง่ิ อยู่ไฉน ควรจะร้อนอกร้อนใจ เพือ่ ใหพ้ รงั่ พร้อมทัว่ ตน ชาติใดไรร้ ักสมัคสมาน จะทาการสงิ่ ใดก็ไรผ้ ล แมช้ าติย่อยยับอบั จน บคุ คลจะสุขอยู่อย่างไร ใครมาเปน็ เจา้ เขา้ ครอง คงจะต้องบงั คับขับไส เค่ยี วเขญ็ เย็นคา่ กราไป ตามวสิ ยั เชิงเชน่ ผู้เปน็ นาย เขาจะเห็นแกห่ นา้ ค่าชือ่ จะนบั ถือพงศพ์ ันธ์ุนั้นอยา่ หมาย ไหนจะต้องเหนื่อยยากลาบากกาย ไหนจะอายท่วั ท้งั โลกา เพราะฉะน้นั ชวนกนั สวามภิ กั ดิ์ จงรักร่วมชาตศิ าสนา ยอมตายไม่เสียดายชวี า เพ่อื รักษาอิสระคณะไทย สมานสามัคคีให้ดอี ยู่ จะสูศ้ ึกศตั รูทัง้ หลายได้ ควรคิดจานงจงใจ เป็นไทยจนสนิ้ ดนิ ฟา้ พระราชนิพนธ์ ร้อยกรองร้อยเรอื่ ง ใน พระบาทสมเด็จพระมงกฏุ เกล้าเจา้ อย่หู ัว (หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทยวิวิธภาษา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ : ปกหลงั )

270 225760 วิเคราะห์คณุ ค่าบทเพลง/บทรอ้ ยกรอง ๑. ช่ือเรือ่ ง………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ชอ่ื ผู้แตง่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. จุดม่งุ หมายของการแต่ง………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ลกั ษณะคาประพันธ์……………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. แนวคดิ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. เนือ้ หาโดยสรุป……………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. การใชถ้ ้อยคาภาษา……………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘. คณุ ค่าดา้ นตา่ งๆ ๘.๑…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘.๒…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘.๓…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘.๔…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘.๕…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๙. บทท่ีประทบั ใจ เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๐. ข้อคดิ และการนาไปใช้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

271 225771 แบบทดสอบ เรอื่ ง การวเิ คราะห์คุณคา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๑ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ เจา้ สาวใบตอง เธอเจ้าสาวใบตองในร่องสวน เคยขอนวลมาพอห่อข้าวขาว จะออกทุ่งออกทางทุกครงั้ คราว ต้องห่อขา้ วหอ่ ของแล้วทอ่ งไป จงึ ยามหิวแกะหอ่ ก็ขา้ วหอม ถึงกลางแดดแผดดอมก็หอมได้ ละคาเคยอิ่มหอมถงึ หัวใจ หอมแต่น้อยคุ้มใหญ่หอมไม่จาง รกั เจ้าสาวใบตองในร่องสวน เคยหวงนวลนกั หนามาจาหา่ ง กระแสลมโหมยุคท้งั รุกบาง จนเรดิ ทศิ แรมทางอยูร่ ้างโรย อยู่รา้ งโรยโดยทางของยคุ ใหม่ อย่เู หน็บหนาวกับสมยั ซึ่งไห้โหย อยรู่ วดร้าวกับรักกระอักโอย ดน้ั และด้นจานนโดยสถานเดียว พบเจา้ สาวพลาสติกระรกิ ระรี้ หวา่ งวถิ ที างแยกปลอมแปลกเปลี่ยว มากแตย่ ้ิมย่ัวใจใหล้ ดเล้ยี ว หลอกใหล้ ืมนวลเขียวเคยเคยี งครอง โอ้เจ้าสาวใบตองในรอ่ งสวน ยคุ ฉะนเี้ ขียวนวลคงด่วนหมอง ยินแตเ่ พลงพลาสติกระริกร้อง หรอื ส้นิ เพลงใบตองเสียแล้วเอย ไพวรินทร์ ขาวงาม

272 225782 วิเคราะห์คุณคา่ บทเพลง/บทรอ้ ยกรอง ๑. ชอ่ื เร่อื ง………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ช่อื ผแู้ ต่ง……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. จุดม่งุ หมายของการแต่ง………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ลกั ษณะคาประพันธ์……………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. แนวคิด………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. เน้อื หาโดยสรปุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. การใช้ถ้อยคาภาษา……………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘. คณุ ค่าดา้ นต่างๆ ๘.๑…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘.๒…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘.๓…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘.๔…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘.๕…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๙. บทที่ประทับใจ เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๐. ข้อคิดและการนาไปใช้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

273 225793 เฉลย ใบงาน เร่ือง การวิเคราะห์คณุ คา่ วรรณคดีและวรรณกรรม หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๑ รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๑. ชวนรกั ชาติ ๒. บทพระราชนิพนธข์ อง พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ หวั รชั กาลที่ ๖ ๓. ปลกุ จิตสานึกใหค้ นไทย รักชาติ ศาสนา ด้วยความสามัคคีและเสยี สละ ๔. กลอนสุภาพ ๕. คนไทยควรระลกึ ถงึ สถาบันชาติ ศาสนาเป็นสาคญั เพราะถ้าเราไมม่ ชี าติก็จะตก เป็นทาสของคนอนื่ ท้ังลาบากและนา่ อับอาย ๖. ในฐานะที่เราเกิดมาเป็นคนไทยต้องรกั ชาติ ศาสนา ถา้ รักตัวเองกต็ ้องหันสามัคคี เสยี สละปกปอ้ งบ้านเมือง ของตนเองอย่าให้ใครมารุกราน เพื่อจะได้ไม่ตอ้ งตกเปน็ ทาสของใคร รักษาไวซ้ งึ่ ความเป็นชาตบิ า้ นเมอื ง ตลอดไป ๗. มีการใช้ถอ้ ยคาที่ปลุกเร้าจติ สานกึ โนม้ นา้ วใจให้คนไทยใหร้ กั ชาติด้วยถอ้ ยคาท่เี ขา้ ใจงา่ ย ชัดเจน ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ โทษหากคนไทยไมร่ กั ชาติ ศาสนา และขาดความสามัคคี ไมค่ ิดปกป้องบา้ นเมอื งตนเอง ๘. คุณคา่ ดา้ นเนื้อหา ชี้ใหเ้ หน็ ถึงความสาคัญของความรักชาติ การมีชาติ ศาสนา ด้วยความสามคั คีและเสยี สละท่ี จะคิดปกปอ้ งบา้ นเมืองของตนเอง คุณค่า รสคา การใช้ถ้อยคาทป่ี ลกุ เรา้ อารมณ์ ความรู้สึก การใช้คาถามที่ไม่ตอ้ งการคาตอบเพ่อื กระตุ้นความ ความรู้สกึ ท่ีวา่ “แม้ชาติย่อยยับอบั จน บุคคลจะสขุ อยูอ่ ย่างไร” โวหารภาพพจนท์ ใี่ ช้ ไมป่ รากฏ รสวรรณคดี ไมป่ รากฏ การนาไปใช้ อยูใ่ นดลุ พนิ ิจ ๙. อยู่ในดุลพินิจครู ๑๐. ความรกั ในสถาบนั องค์กร โรงเรยี น ของตนดว้ ยความสามคั คี และเสียสละ จะทาให้เกดิ ความเจรญิ รุ่งเรอื ง

274 226704 เฉลย แบบทดสอบ เรือ่ ง การวเิ คราะห์คุณคา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๑๑ รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๑. เจา้ สาวใบตอง ๒. ไพวรนิ ทร์ ขาวงาม ๓. ตอ้ งชใี้ หเ้ ห็นคุณค่า ประโยชน์ของใบตองที่ใชแ้ ทนภาชนะในอดตี เม่ือยุคสมยั เปล่ยี นไปคนรกั ความสะดวก หันมานยิ มใชพ้ ลาสตกิ แทนคณุ คา่ ของใบตองกห็ ายไป ๔. กลอนสุภาพ ๕. การเปลีย่ นแปลงของยุคสมัยมกี ารพฒั นาวตั ถดุ ิบเครอื่ งใช้ทท่ี าให้เกิดความสะดวกสบายทาให้คนเราหลงลมื ไม่ เหน็ คา่ ของสิง่ ทม่ี ีประโยชน์ดั้งเดิม ดงั เชน่ ใบตอง แตก่ ลบั หันมาใช้พลาสตกิ ซงึ่ ไม่ตอ้ งไปเสยี เวลาไปตดั เกบ็ เอามาใช้ ๖. เราเคยใชต้ องห่ออาหารทาใหม้ กี ลิ่นหอม เพ่ิมรสชาติของอาหาร น่ากนิ ยง่ิ ใบตองแหง้ ก็ยง่ิ หอมช่นื ใจแตเ่ มือ่ ยุคสมัยเปลย่ี นคนกลับมาใชพ้ ลาสติก ทาให้คนก็ลืมไม่เห็นคุณคา่ ของใบตอง ๗. มกี ารเลือกสรรคามาใชไ้ ด้ไพเราะ เปรียบเทียบ ใบตอง และพลาสติกเป็นเจา้ สาว คนเหมอื นผชู้ ายทีห่ ลงลมื ความรักที่มีกับเจา้ สาวใบตอง ทาให้มองเหน็ ภาพของความผกู พนั ระหว่างใบตองกบั คนในอดตี คนในยคุ ปัจจุบนั ที่หนั มานิยมใช้พลาสตกิ คณุ คา่ เนอ้ื หา คุณคา่ ประโยชน์ของใบตอง วิถชี ีวติ ของคนที่เปลยี่ นมคี วามสะดวกสบายกบั การใช้พลาสติก ซ่งึ ไมม่ ีประโยชน์และยังมีโทษแทน การใช้คา มีการเลอื กใช้คาใหเ้ หน็ ภาพวิถีชีวิตท่งี ดงามระหวา่ งคนกบั ใบตอง เล่นสมั ผัสพยัญชนะท่ีไพเราะ จนเริศทิศแรมทางอยรู่ า้ งโรย ฯลฯ โวหารภาพพจน์ ทใ่ี ชเ้ ป็น บคุ คลวตั โดยให้ใบตอง กบั พลาสติก แทนลักษณะอาการของหญิงสาว รสวรรณคดี เสาวรจนีย์ ชืน่ ชมในความหอมของใบตอง “จึงยามหวิ แกะหอ่ ก็ข้าวหอม ถงึ กลางแดดแผดดอมก็หอมได้ ละคาเคยอมิ่ หอมถึงหัวใจ หอมแต่นอ้ ยคุ้มใหญห่ อมไม่จาง” สัลปังคพิสยั ซึ่งเปน็ บท ความร้สู กึ อ้างว้าง โดดเดีย่ ว เจบ็ ปวดของใบตองเมือ่ ถกู หลงลมื “อยู่ร้างโรยโดยทางของยุคใหม่ อยู่เหน็บหนาวกบั สมัยซึ่งไหโ้ หย อยู่รวดรา้ วกับรกั กระอักโอย ด้นั และด้นจานนโดยสถานเดียว” การนาไปใช้ อยู่ในดุลพินจิ ๙. อยู่ในดุลพนิ จิ ครู ๑๐. อยูใ่ นดุลพินจิ ครู

275 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑๒ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๓ พนิ จิ คณุ ค่าวรรณคดี เรอื่ ง อา่ นสรุป เน้อื หา ความรู้และข้อคดิ อิศรญาณภาษิต เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ขอบเขตเนือ้ หา วรรณคดเี รือ่ งอิศรญาณภาษิต กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ จดุ ประสงคก ารเรียนรู ขั้นนา ๑. ใบความรู้ ถอดคาประพันธ์อิศรญาณภาษติ ดานความรู ๑. นักเรียนตอบคาถามสภุ าษิตทน่ี กั เรียนยดึ ถือเปน็ ๒. ใบงาน มคี วามรู และ ความเขา ใจ เนื้อหาวรรณคดีเรื่อง แนวทางปฏิบตั ิ และเป็นผลดีอย่างไร ๓. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย วรรณคดี อิศรญาณภาษติ ๒. นกั เรยี นคิดวา่ สภุ าษิตมาจากไหน อภิปราย วจิ กั ษ์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ดา นทกั ษะ/กระบวนการ อา นสรุป เนือ้ หา ความรูและขอคิดอิศรญาณภาษิต ข้ันสอน ๔. แบบทดสอบ ได ๑. นักเรยี นอ่านบทวเิ คราะห์อศิ รญาณภาษติ ในหนงั สือ ภาระงาน/ช้นิ งาน ดานคณุ ลกั ษณะ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทยวรรณคดวี จิ ักษ์ชน้ั มัธยมศึกษา ๑. ซ่ือสัตยสุจริต ปีท่ี ๓ ในใจ ๕ นาที ๒. ใฝเ รียนรู ๒. นกั เรียนจบั คกู่ ันแลว้ จบั ฉลากถอดคาประพันธ์ ๓. มุง มั่นในการทาํ งาน คู่ละ ๑ บท ท้ังหมด ๒๖ บท เรยี บเรยี งให้สละสลวย ๔. รักความเปน ไทย ๓. นักเรยี นนาเสนอถอดคาประพนั ธ์หน้าห้องเรียน ครู คอยเพ่มิ เติมใหท้ ุกคนเข้าใจความหมายทุกบท ๔. นกั เรียนอา่ นอศิ รญาณภาษติ ทานองเสนาะพร้อมกัน ขนั้ สรปุ ๑. นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ถอดคาประพันธท์ ถ่ี ูกต้องให้ เข้าใจชดั เจนขึ้น ๒. ทดสอบความเขา้ ใจเน้ือความอิศรญาณภาษิต ๕ บท ๑๐ คะแนน 226715

276 226726 การวัดผลประเมนิ ผล วธิ ีการวัด เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์ ทดสอบ แบบทดสอบ สง่ิ ท่ีต้องการจัดและประเมิน ผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ด้านความรู้ ๑. ความรคู้ วามเขา้ ใจการ วิเคราะห์วิถไี ทยและคณุ คา่ วรรณคดี เรอื่ ง อิศรญาณภาษิต ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ปฏบิ ัติ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์การ อา่ นสรปุ เนอ้ื หา ความรู้และ ประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ข้อคิดอิศรญาณภาษิตได้ คุณลักษณะ สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ ๒ ๑. ซอื่ สัตยส์ จุ ริต อันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ๒. ใฝเ รยี นรู ๓. มงุ มน่ั ในการทาํ งาน ๔. รักความเปน ไทย

277 226737 ๙. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอุปสรรค ........................................................................................................................................................ ............................ ...................................................................................................... .............................................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ ครูผู้สอน (.................................................................) วันท่ี............เดอื น............................พ.ศ.................. ๑๐. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ผูต้ รวจ (.................................................................) ตาแหน่ง................................................................................. วันท่ี............เดือน............................พ.ศ..................

278 226748 เรื่อง อ่านสรปุ เนือ้ หา ความรูแ้ ละข้อคดิ อิศรญาณภาษิต หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๒ รายวชิ าภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ บทที่ ๑ อศิ รญาณชาญกลอนอกั ษรสาร เทศนาคาไทยใหเ้ ปน็ ทาน โดยตานานศภุ อรรถสวัสดี คาศพั ท์ ตานาน หมายถงึ คาโบราณ ศุภอรรถ หมายถึง ถ้อยคาและความหมายทีด่ ี สวัสดี หมายถงึ ความดี ความงาม ถอดความไดว้ ่า หมอ่ มเจ้าอศิ รญาณผู้ทรงเชี่ยวชาญในเชงิ กลอนทรงนพิ นธค์ ากลอนสภุ าษิตโบราณ สั่งสอนเตือนใจ ไว้เพ่อื เป็นทาน บทที่ ๒ สาหรับคนเจอื จิตจริตเขลา ดว้ ยมวั เมาโมห์มากในซากผี ตอ้ งหามา้ มโนมัยใหญ่ยาวรี สาหรบั ข่ีเปน็ ม้าอาชาไนย คาศพั ท์ เจือ หมายถงึ เอาส่วนทมี่ นี ้อยไปประสมลงไปในสว่ นมาก จรติ หมายถงึ กริ ิยาอาการ หรอื แสดงความประพฤติ โมห์ หมายถึง ความลุม่ หลง ซากผี หมายถึง ร่างกายของคนท่ีตายแล้ว อาชาไนย หมายถงึ กาเนดิ ดี พันธ์ุ หรือตระกลู ดี ฝึกหดั มาดแี ลว้ มา้ มโนมยั หมายถงึ ในบทนห้ี มายถึงใจทรี่ ู้เท่าทนั กเิ ลสจะได้เป็นพาหนะไปสู่ความสาเรจ็ ถอดความได้ว่า สาหรับคนท่ีโง่เขลาเบาปัญญาที่ไปลุ่มหลงในความช่ัวต้องฝึกใจให้รู้เท่าทันกิเลส คือ เอาใจเป็น นายบงั คับใจตัวเองให้อยูเ่ หนอื กิเลส เพ่อื จะ ได้เป็นพาหนะไปสคู่ วามสุข บทท่ี ๓ ชายข้าวเปลอื กหญิงขา้ วสารโบราณวา่ นา้ พงึ่ เรือเสือพง่ึ ปา่ อัชฌาสัย เรากจ็ ิตดเู ล่าเขาก็ใจ รกั กนั ไว้ดีกวา่ ชังระวังการ คาศพั ท์ อัชฌาสัย หมายถึง กริ ิยาดี นิสัยใจคอ ความรจู้ กั ผอ่ นปรน ถอดความได้ว่า ผู้ชายกับผู้หญิงนั้นต่างกันดังข้าวเปลือกกับข้าวสาร(โบราณเขาเปรียบเทียบว่า ผู้ชาย เปรียบเสมือน ข้าวเปลือกตกที่ไหนก็เจริญงอกงามท่ีนั่น ส่วน ผู้หญิงก็เปรียบเสมือนข้าวสาร ตกที่ไหนมันไม่

279 226759 สามารถเจริญงอกงามได้ข้าวสาร ก็เน่า แต่เมื่ออยู่ในสังคมเดียวกันก็ย่อมต้องพ่ึงพาอาศัยกันเป็นธรรมดา เราก็มี มิตรจติ เขากม็ มี ติ รใจฉะนัน้ เรารกั กันดีกวา่ เกลียดกนั สภุ าษติ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ชายขา้ วเปลือกหญงิ ขา้ วสาร , น้าพึง่ เรอื เสอื พึง่ ป่า , รักกันดีกวา่ ชังกนั , มติ รจติ รมติ รใจ บทที่ ๔ ผใู้ ดดีดตี อ่ อยา่ ก่อกจิ ผูใ้ ดผิดผ่อนพกั อยา่ หกั หาญ สิบดีกไ็ มถ่ ึงกบั กึง่ พาล เป็นชายชาญอยา่ เพ่อคาดประมาทชาย คาศัพท์ ผใู้ ดดีดีตอ่ อยา่ ก่อกจิ หมายถงึ อย่าก่อเรอ่ื ง ผ้ใู ดผิดผ่อนพักอยา่ หักหาญ หมายถงึ ผู้ทีท่ าไมถ่ กู ตอ้ งกไ็ มค่ วรโกรธหรอื ตัดรอนจนแตกหกั สบิ ดีก็ไม่ถงึ กับกึง่ พาล หมายถงึ ทาดสี ิบหนไม่เทา่ กับทาชวั่ เพียงคร่งึ หนความดีกจ็ ะหมดไป ถอดความได้ว่า ผู้ใดทาดีต่อเราเราก็ควรทาดีต่อเขาตอบ ผู้ใดท่ีทาไม่ดีต่อเราหรือทาไม่ถูกต้องก็ไม่ควรโกรธหรือ ตัดรอน จนแตกหัก ทาความดสี บิ ครงั้ กไ็ มเ่ ทา่ ทาความชวั่ ครึ่งคร้ัง คือ ความชั่วจะทาลายความดีลงจนหมดสิ้น เป็น ชายนน้ั ไมค่ วรดูถกู ชายดว้ ยกัน สุภาษิตทเ่ี ก่ียวข้อง คนล้มอย่าขา้ ม หมายถงึ คนท่ีตกตา่ ไม่ควรลบหลู่ดถู ูก เพราะอาจจะกลับมาเฟอื่ งฟไู ด้อกี บทที่ ๕ รกั สนั้ นนั้ ให้รอู้ ยู่เพียงส้นั รกั ยาวนัน้ อยา่ ให้เยน่ิ เกนิ กฎหมาย มใิ ชต่ ายแต่เขาเรากต็ าย แหงนดฟู า้ อย่าให้อายเทวดา คาศพั ท์ เยิ่น หมายถงึ ยาวนานออกไป ถอดความไดว้ า่ รกั จะอยดู่ ว้ ยกนั สัน้ ๆ ก็จงทาสิ่งไมด่ ีตอ่ ไป แต่ถ้าเราจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ จงทาความดี อย่าทาใน สิง่ ทีผ่ ดิ กฎหมายหรือทาช่วั ทุกคนต้องตาย ดว้ ยกนั ทัง้ นน้ั จงทาความดีไวเ้ ถิด เวลาที่แหงนดูฟา้ จะไดไ้ ม่อายเทวดา สภุ าษิตที่เก่ียวขอ้ ง รักยาวให้บ่ันรักสั้นให้ต่อ หมายถึง รักที่จะมีมิตรไมตรีต่อกันต้องตัดสิ่งท่ีไม่ดีออก อย่าไปพูดถึง แต่ถ้า จะคบกัน ในเวลาส้นั ๆ ใหพ้ ูดตอ่ ปากต่อคา ในที่น้ีต้องการเฉพาะส่วนแรกคือตัดสิ่งท่ีไม่ดีออกไป รักยาวให้บั่น รักส้ันให้ต่อ .. เป็นสานวนเก่าทปี่ ระกอบด้วยคาชวนให้สงสยั คอื คาท่ีมีความหมายขัดกันอยู่ ด้วยวรรคแรกสื่อความหมายว่า ชอบ ทางยาวแต่ให้บ่ัน คือตัดหรือทอนออกเสีย วรรคหลังบ่งว่า ชอบทางสั้น แต่กลับ ให้ต่อคือเพ่ิมออกไป การเรียบ เรียงขอ้ ความโดยใช้คาที่มคี วามหมายขัดกันน้นั ในทางภาษาถือเป็นกลวิธีอย่างหนึ่ง ท่ีทาให้ประโยคมีน้าหนัก ช่วย ให้เกิดรสสะดดุ ใจน่าฟงั รกั ยาว คือตอ้ งการใหเ้ ร่ืองเปน็ ไปโดยราบร่นื ไม่ติดขัด ไม่สะดุดจะเป็นการดาเนินธุรกิจ การคบเพื่อน การ ปฏิบัตงิ าน หรือเร่อื งอะไรก็ตาม

280 226860 ให้บ่นั คือใหต้ ัดหรอื ทอนส่วนทข่ี ัดข้อง ความกนิ แหนงแคลงใจเรือ่ เลก็ นอ้ ยนัน้ เสีย ไมต่ อ้ งถอื เป็นอารมณ์ รกั สนั้ คอื ต้องการใหเ้ ร่ืองสิ้นสุดแคน่ ้ัน แตกหักหรอื ดาเนินต่อไม่ได้ ใหต้ อ่ คือใหต้ อ่ ความยาวสาวความยืดตอ่ ไป ให้นามาพิจารณาให้ถกเถียง ให้ถือเอา ให้ว่ากันต่อไป หากรัก จะคบกันตอ่ ไป ก็ให้ตดั เรื่องราวนน้ั เสยี โดยไม่ถือโทษโกรธเคืองไม่โต้เถียงเป็นต้น ลักษณะนี้คือ รักยาวให้บั่น แต่ หากรักทางสน้ั ไม่ตอ้ งการคบกันอีก ต้องการใหแ้ ตกหกั กันเลยกใ็ ห้ตอ่ เรอื่ งออกไป ลักษณะนคี้ ือ รักส้นั ให้ต่อ บทที่ ๖ อยา่ ดถู ูกบุญกรรมวา่ ทานอ้ ย น้าตาลยอ้ ยหยดเท่าไรได้หนักหนา อยา่ นอนเปลา่ เอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทหี นง่ึ แล้วจงึ นอน คาศัพท์ อยา่ นอนเปล่า หมายถงึ อย่าเข้านอนเฉยๆ ในท่นี ้หี มายถงึ ใหค้ ดิ การกระทาของตน นา้ ตาลย้อยหยดเทา่ ไรได้หนกั หนา หมายถึง การสะสมความดีทลี ะน้อย ถอดความไดว้ ่า อย่าดถู กู ความดีหรือความชว่ั ว่าทาเพียงเลก็ นอ้ ยเพราะมนั จะสะสมไปเร่ือยๆ และมากขน้ึ ทุกที เวลาก่อนจะนอนให้สอ่ งกระจกดูหน้าตนเอง วา่ มสี ่ิงผดิ ปกตหิ รอื ไม่ เหมือนเป็นการให้สารวจจิตใจตนเองอยู่เป็นนิจ ว่าคิดใฝ่ดีอยู่หรือเปล่า เพ่ือจะได้เตือนตนไว้ได้ทัน (เป็นการเตือนให้เรารู้จักคิด พิจารณา สารวจตัวเองทุกๆ วัน) สุภาษิตทเี่ ก่ยี วขอ้ ง จงเตือนตนดว้ ยตนเอง บทท่ี ๗ เหน็ ตอหลักปักขวางหนทางอยู่ พเิ คราะหด์ ูควรท้ึงแล้วจึงถอน เหน็ เต็มตาแลว้ อยา่ อยากทาปากบอน ตรองเสยี กอ่ นแลว้ จงึ ทากรรมทัง้ มวล คาศัพท์ ปากบอน หมายถงึ นาความลบั หรือเรื่องที่ไมค่ วรพดู ไปบอกผู้อืน่ ท้งึ หมายถึง ดึง ถอน ถอดความได้ว่า เห็นส่ิงใดกีดขวางทางอยู่ จงพิจารณาให้รอบคอบก่อนที่จะเก็บ เพราะอาจเป็นอันตรายได้ และ เมื่อไป เห็นการกระทาของใคร อยา่ เที่ยวทาปากบอนไปบอกแกค่ นอื่น อาจนาผลร้ายมาสู่ตนเองได้ (สอนว่า ให้รู้จัก คดิ ใครค่ รวญ ไตรตรองกอ่ นจะพดู หรือทาสงิ่ ใด) สุภาษิต สานวน ท่เี ก่ียวข้อง คิดก่อนพูด แตอ่ ย่าพูดกอ่ นคิด คาศพั ท์ บทท่ี ๘ ค่อยดาเนนิ ตามไตผ่ ูไ้ ปหน้า ใจความวา่ ผู้มีคุณอยา่ หนุ หวน เอาหลงั ตากแดดเป็นนิจคดิ คานวณ ร้ถู ีถ่ ว้ นจึงสบายเม่อื ปลายมือ ผ้ไู ปหนา้ หมายถงึ คนท่ีเกิดก่อนยอ่ มมคี วามรแู้ ละประสบการณม์ ากกวา่ หนุ หวน หมายถงึ หวน เวยี นกลับ

281 226871 คดิ คานวณ หมายถึง คดิ ไตรต่ รอง หลังตากแดด หมายถงึ ก้มหน้าก้มตาทางานหนักอย่างชาวนา ทาให้หลงั ถูกแดด เม่ือปลายมอื หมายถึง ในภายหลัง ถอดความได้ว่า ให้ประพฤติปฏิบัติตนตามผู้ใหญ่ ซ่ึงเป็นผู้ท่ีเกิดก่อน ย่อมมีความรู้และประสบการณ์มากกว่า และอยา่ เปน็ คนอกตัญญู จงมคี วามขยนั หมั่นเพยี รทางานอย่เู สมอแล้วจะมคี วามสุขสบายในภายหลัง สภุ าษิตท่เี กีย่ วข้อง เดนิ ตามผใู้ หญ่หมาไม่กัด หมายถงึ ประพฤติตามอย่างผู้ใหญ่ย่อมปลอดภัย หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน หมายถึง ที่ต้องตรากตราทางานหนัก มักหมายถึงชาวไร่ชาวนาซึ่งในเวลาทาไร่ทานา หลังต้องสู้กบั แดด และหน้าตอ้ งก้มลงดนิ บทท่ี ๙ เพชรอยา่ งดีมคี ่าราคายงิ่ สง่ ให้ลิงจะรคู้ า่ ราคาหรือ ตอ่ ผดู้ ีมีปญั ญาจงึ หารอื ให้เขาลอื เสียวา่ ชายนขี้ ายเพชร คาศัพท์ หารือ หมายถงึ ขอความเห็น ปรึกษา ให้เขาลือวา่ ชายนี้ขายเพชร หมายถึง ใหเ้ ขาลือว่าตนเองมีปญั ญามากพอทจี่ ะอวดได้ ถอดความได้ว่า เพชรเป็นของที่มีค่ามีราคา อย่านาส่ิงที่มีค่าไปให้แก่ผู้ไม่รู้ค่าย่อมไร้ประโยชน์ ฉะนั้นควรไป ปรกึ ษาหารือ กับนักปราชญ์ หรอื ผู้รู้ เท่านัน้ เพอื่ ให้คนเขาร่าลอื ว่า ตนเองมปี ญั ญาราวกบั มีเพชรมากพอทจ่ี ะอวดได้ สุภาษิตท่เี ก่ยี วข้อง ย่นื แกว้ ใหว้ านร หมายถึง เอาของมีคา่ ใหก้ บั ผู้ท่ไี มร่ ู้คณุ คา่ ของ ของสิ่งนั้น ลงิ ไดแ้ ก้ว หมายถงึ ผู้ทไี่ ม่รคู้ ุณค่าของสิง่ มีคา่ ท่ไี ด้มาหรือทม่ี ีอยู่ มคี วามหมายเดียวกับคาว่า ไก่ได้พลอยและ หัวลา้ นไดห้ วี บทที่ ๑๐ ของสิ่งใดเจ้าว่างามตอ้ งตามเจา้ ใครใดเลา่ จะไมง่ ามตามเสด็จ จาไวท้ กุ สิ่งจริงหรอื เทจ็ พรกิ ไทยเม็ดนดิ เดยี วเดีย๋ วก็รอ้ น คาศพั ท์ เจา้ หมายถงึ พระเจ้าแผน่ ดิน หรอื ผู้เปน็ ใหญ่ ถอดความได้ว่า ของสิ่งใดก็ตามท่ีพระเจ้าแผ่นดินเห็นว่าเป็นสิ่งดีหรือสิ่งที่สวยงาม เราก็ต้องว่างามตามไปด้วย ไม่ วา่ จะจรงิ หรอื ไมจ่ ริง เราไมค่ วรไปคดั คา้ นเพราะทา่ น เปน็ ผู้มีอานาจเด็ดขาดอาจกริ้วได้ สุภาษิตทเ่ี ก่ียวข้อง เหน็ ดีเหน็ งาม หมายถงึ คดิ หรือรูส้ กึ คลอ้ ยตาม ลกู ขุนพลอยพยกั หมายถงึ ผทู้ ีค่ อยวา่ ตามหรือเห็นดว้ ยกบั ผู้ใหญ่เปน็ เชิงประจบสอพลอเป็นต้น

282 226882 นา้ ทว่ มปาก หมายถึง พดู ไมอ่ อกเพราะอาจจะมภี ยั แก่ตนเองและผ้อู ื่น บทที่ ๑๑ เกดิ เป็นคนเชิงดใู หร้ ูเ้ ท่า ใจของเราไมส่ อนใจใครจะสอน อยากใช้เขาเราต้องกม้ ประนมกร ใครเลยห่อนจะว่าตัวเปน็ ววั มอ คาศัพท์ ห่อน หมายถงึ ไม่ ไมเ่ คย มอ หมายถึง สมี ัวๆ อย่างสีดาเจอื เทา วัวมอ หมายถึง วัวตัวผู้ ใครเลยหอ่ นจะว่าตัวเป็นววั มอ หมายถงึ ไมม่ ีใครว่าตนเป็นวัวให้คนอน่ื เขาใชง้ าน ถอดความไดว้ ่า เกิดเปน็ คนต้องรเู้ ท่าทันใจของตนเอง คอื ตอ้ งสอนใจตนเองหรือเตือนตนเองได้ และถ้าจะขอความ ชว่ ยเหลอื จากผใู้ ด เราต้องอ่อนน้อมถ่อมตน เพราะไม่มีใครท่จี ะคิดว่าตนเป็นวัวให้คนอน่ื ใชง้ าน สุภาษติ สานวน ที่เกีย่ วข้อง จงเตอื นตนดว้ ยตนเอง บทท่ี ๑๒ เปน็ บ้าจน้ี ิยมชมวา่ เอก คนโหยกเหยกรกั ษายากลาบากหมอ อนั ยศศักดมิ์ ิใช่เหล้าเมาแต่พอ ถ้าเขายอเหมือนอย่างเกาให้เราคัน คาศพั ท์ บา้ จี้ หมายถงึ บา้ ยอ โหยกเหยก หมายถึง ไม่อยกู่ ับรอ่ งรอย ไม่แน่นอน ถอดความไดว้ า่ คนบ้ายอชอบใหค้ นเขานิยมยกยอ่ งเปรยี บเหมือนคนไม่อยู่กับร่องกับรอย ซึ่งแก้ไขได้ยาก อันว่า ยศ หรอื ตาแหน่ง นั้น มนั ไม่ใชเ่ หล้าจงเมาแตพ่ อควร อย่าไป ยึดติด หลงยศหลงตาแหน่ง คาป้อยต่างๆ นั้น ถ้าเรา หลงเช่อื อาจทาใหเ้ ราเดือดร้อนได้ บทที่ ๑๓ บ้างโลดเลน่ เต้นราทาเปน็ เจ้า เป็นไรเขาไม่จับผิดคดิ ดขู นั ผมี ันหลอกช่างผีตามทีมัน คนเหมือนกนั หลอกกันเองกลัวเกรงนกั คาศัพท์ ทาเป็นเจา้ หมายถึง ทาทวี า่ ถูกเจ้าเขา้ สิง ถอดความไดว้ ่า บางคนทาทีว่าถูกผีเข้าสิง คือพวกทรงเจ้าเข้าผี ทาไมไม่มีใครจับ ดูไปก็น่าหัวเราะถ้าเป็นผีจริงมัน หลอกก็ช่างมันเถิด แต่น่ีคนมาหลอกกันเองมันน่ากลัวท่ีสุด ฉะน้ันจึงควรแยกแยะให้ดี อย่าเชื่อในส่ิงท่ีตาไม่เห็น เพราะทีเหน็ นนั้ อาจไม่ใช่ความจรงิ ท้งั หมด สุภาษติ สานวน ที่เก่ียวขอ้ ง ผีหลอกกย็ ังพอทน แตค่ นหลอกคนมนั ช้าใจจนหลายเทา่ ด\"ู กาลามสตู ร\"

283 226893 บทท่ี ๑๔ สูงอย่าให้สูงกว่าฐานนานไปล้ม จะเรยี นคมเรยี นไปเถดิ อย่าเปดิ ฝัก คนสามขามปี ัญญาหาไว้ทกั ท่ไี หนหลักแหลมคาจงจาเอา คาศัพท์ สานวน คนสามขา หมายถงึ คนแกท่ ่ีถือไมเ้ ท้า เรยี นคม หมายถึง เรียนเพอ่ื หาวชิ าความรู้ อยา่ เปิดฝัก หมายถงึ อย่าโอ้อวด ถอดความได้วา่ จะสรา้ งสงิ่ ใดใหส้ ูงกอ็ ยา่ สร้างเกินวา่ ฐานท่ีจะรับนา้ หนกั ไว้ได้ เพราะจะทาให้ล้มง่าย (สอนให้รู้จัก ประมาณ ตน ไม่ให้ทาอะไรเกินฐานะของตนเอง) จะเรียนวิชาอะไรให้มีสติปัญญา เฉียบแหลม ก็เรียนเถิด แต่ให้ เก็บความรไู้ วใ้ ช้เมอื่ ถึงเวลาอนั สมควร (สอนใหเ้ ปน็ คนใฝร่ แู้ ต่อย่าอวดรู้) คนแก่มปี ระสบการณ์มากเราควรเชื่อฟังคา ทกั ท้วง (สอนใหเ้ หน็ ความสาคัญของผู้มอี าวโุ ส) สุภาษิตทีเ่ กีย่ วข้อง คมในฝัก หมายถงึ คนทีเ่ ขาฉลาดจรงิ ๆ เขาไม่โออ้ วด บทท่ี ๑๕ เดนิ ตามรอยผ้ใู หญห่ มาไมก่ ัด ไปพดู ขดั เขาทาไมขัดใจเขา ใครทาตงึ แล้วหย่อนผ่อนลงเอา นกั เลงเกา่ เขาไมห่ าญพาลนักเลง คาศัพท์ นักเลงเกา่ หายถึง ผู้ท่เี ปน็ นักเลง ถอดความได้ว่า ประพฤตติ นตามแนวทางท่ผี ู้ใหญ่เคยทามากอ่ นแล้วย่อมปลอดภัย ไม่ควรไปพูดขัดคอคน เพราะ จะทา ใหเ้ ขาโกรธไมพ่ อใจ ใหร้ ู้จักผ่อนหนักผอ่ นเบา นกั เลงเกา่ เขาไม่รงั แกหรอื ทาร้ายนักเลงด้วยกัน สภุ าษิตทเี่ ก่ยี วขอ้ ง เดินตามผู้ใหญห่ มาไมก่ ัด หมายถงึ ประพฤติตามอย่างผ้ใู หญย่ ่อมปลอดภยั รู้ยาวรสู้ ัน้ หมายถงึ รู้จกั ผ่อนปรน รู้จกั ผ่อนสั้นผ่อนยาว บทท่ี ๑๖ เปน็ ผูห้ ญงิ แมห่ มา้ ยท่ีไรผ้ วั ชายมักยั่วทาเลยี บเทียบข่มเหง ไฟไหมย้ ังไมเ่ หมือนคนท่ีจนเอง ทาอวดเบ่งกบั ข่ือคาว่ากระไร คาศัพท์ ทาเป็นเลียบ หมายถึง พดู จาแทะโลม คนทจ่ี นเอง หมายถงึ คนทท่ี าตวั ให้จนเอง ขอื่ คา หมายถึง เครื่องจองจานกั โทษ ทาด้วยไม้ มชี อ่ งสาหรับสอดมือเทา้ แล้วมลี ่มิ ตอกกากับกันข่ือหลดุ ถอดความได้ว่า ผู้ท่เี ป็นหญิงหม้ายมักถูกผู้ชายพูดจาแทะโลม เหมือนกับถูกข่มเหง คนที่จนเพราะถูกไฟไหม้ ยัง น่าสงสาร หรอื ดีกว่าตนเองที่ทาตวั เองให้จน (จนเพราะเล่นการพนัน) และอย่าอวดเก่งกับข่ือคาที่เป็นเครื่องจองจา (อย่า แสดงอานาจโอ้อวดทาส่ิงที่ท้าทายกับบทลงโทษ) สภุ าษิต สานวน ที่เกย่ี วขอ้ ง เลน่ กบั คุกกบั ตาราง

284 227804 บทท่ี ๑๗ อันเสาหนิ แปดศอกตอกเปน็ หลัก ไปมาผลักย่อยเข้าเสายงั ไหว จงฟงั หไู ว้หูคอยดไู ป เชอ่ื น้าใจดกี ว่าอย่าเชอ่ื ยุ คาศัพท์ ฟงั หูไวห้ ู หมายถงึ รบั ฟงั ไว้แตไ่ ม่เชือ่ ทั้งหมด เชือ่ นา้ ใจดีกวา่ อย่าเช่ือยุ หมายถงึ เปน็ คนหนักแนน่ ไมฟ่ งั คายแุ หย่ ถอดความไดว้ ่า แม้จะม่นั คงดงั เสาหินใหญส่ ูงแปดศอก แตเ่ มือ่ ถูกผลักบอ่ ย ๆ เขา้ เสาน้นั กอ็ าจคลอนแคลนได้ เปรียบ เหมอื นใจคนยอ่ มอ่อนไหวไปตามคาพดู ของผู้อืน่ ได้ ฉะน้ัน จงึ ควรฟังหูไวห้ ู และคดิ ให้ รอบคอบกอ่ นท่ีจะเช่ือใคร (สอนให้มใี จคอหนักแน่นไม่หลงเช่อื ยยุ งโดยงา่ ย ใหร้ จู้ ักไตร่ตรองให้ดี เสียก่อนที่ จะคล้อยตามคาพดู ของผอู้ น่ื ) สภุ าษติ ทเ่ี กี่ยวข้อง ฟงั หูไวห้ ู หมายถงึ รับฟงั ไวแ้ ตไ่ ม่เชอ่ื ท้ังหมด บทท่ี ๑๘ หญิงเรียกแมช่ ายเรียกพอ่ ยอไว้ใช้ มันชอบใจข้างปลอบไม่ชอบดุ ท่ีปิดท่ีชดิ ไขให้ทะลุ คนจักษเุ หล่หลิ่วไพล่พลว้ิ พลิก คาศพั ท์ ไพล่พลว้ิ พลกิ หมายถงึ ให้รูจ้ ักหลกี เลย่ี ง พดู ตรงทาให้เสยี น้าใจ หลิ่ว หมายถึง เดย่ี ว หน่ึง ถอดความได้วา่ เม่ือเวลาจะใช้ใครให้รู้จักพูดจาโดยใช้ถ้อยคาที่อ่อนหวาน ซึ่งใคร ๆ ก็ชอบ ไม่ควรใช้คาดุด่าว่า กล่าว ส่ิงใดท่ีปล่อยปละละเลย หรือฟุ่มเฟือยก็ต้องเข้มงวดกวดขันหรือประหยัดถี่ถ้วนขึ้นสิ่งใดท่ีเข้มงวดตระหน่ีถี่ เหนยี วจนเกนิ ไป จะตอ้ งแก้ไขทาใหส้ ะดวก หรือคล่องตวั ขึ้น และจงประพฤติตนตามที่คนสว่ นใหญ่เขาประพฤตกิ นั สุภาษติ ท่ีเก่ียวขอ้ ง นา้ ร้อนปลาเปน็ น้าเย็นปลาตาย บทที่ ๑๙ เอาปลาหมอเปน็ ครูดปู ลาหมอ บนบกหนออตุ ส่าหเ์ สอื กกระเดอื กกระดกิ เขายอ่ มว่าฆ่าควายเสียดายพรกิ รกั หยอกหยิกยบั ท้งั ตัวอย่ากลวั เล็บ คาศพั ท์ เอาปลาหมอเปน็ ครูดปู ลาหมอ หมายถึง มีความอดทนตอ่ ความยากลาบาก ถอดความไดว้ า่ จงดปู ลาหมอไวเ้ ป็นครูสอนใจเรา แมป้ ลาหมอจะถกู ปลอ่ ยไวบ้ นบก มันก็ยังกระเสือกกระสนเพ่ือ จะเอา ชวี ติ รอด ฉะน้ันคนเราจึงไมค่ วรพา่ ยแพแ้ กอ่ ุปสรรค ตอ้ งดน้ิ รนขวนขวายตอ่ สู้ชวี ติ ตอ่ ไป สุภาษติ ที่เกี่ยวขอ้ ง ฆ่าควายเสียดายพริก หมายถึง ทาการใหญ่ไม่ควรตระหน่ี ปลาหมอแตกเหงือก หมายถึง กระเสอื กกระสนด้ินรน บทท่ี ๒๐ มใิ ชเ่ นื้อเอาเป็นเนื้อกเ็ หลอื ปลา้ แตห่ นามคาเข้าสักนดิ กรีดยังเจ็บ อนั โลภลาภบาปหนาตณั หาเยบ็ เมยี รเู้ ก็บผวั รกู้ าพาจาเริญ

285 227815 คาศพั ท์ เนอ้ื (ในท่ีน)้ี หมายถงึ เน้อื คู่ ตณั หา หมายถึง ความทะยานอยาก ความใครใ่ นกาม ถอดความได้ว่า คนเราถ้าไม่ใช่เนื้อคู่กัน อยู่ไปก็เปล่าประโยชน์อาจจะมีเร่ืองราวกัน ไม่ผิดอะไรกับถูกหนามตา เข้านิดเดียว ก็เกิดอาการเจ็บปวด ความโลภเป็นบาปทาให้เกิดความอยาก สามีภรรยาคู่ใดถ้าภรรยารู้จักออมรู้จัก เก็บ สามี รจู้ ักทาหากนิ กจ็ ะทาให้ชีวิตท่ีสมบรู ณ์ สภุ าษิตท่เี กยี่ วขอ้ ง ผัวหาบเมยี คอน ชายหาบหญิงคอน บทที่ ๒๑ ถึงร้จู ริงจาไว้อย่าไขรู้ เตม็ ทค่ี ร่เู ดยี วเท่านน้ั เขาสรรเสริญ ไมค่ วรกา้ เกินหน้าก็อย่าเกนิ อยา่ เพลดิ เพลนิ คนชังนกั คนรกั น้อย คาศัพท์ กา้ เกนิ หมายถงึ ลว่ งเกนิ เกินเลย กา้ เกินหนา้ หมายถึง เดน่ กวา่ คนอ่นื ดกี วา่ คนอ่ืน ถอดความได้วา่ แม้ว่าเราจะรูจ้ ริง เรากไ็ มต่ อ้ งอวดว่าเรารู้ เดยี๋ วเขากจ็ ะสรรเสริญเอง ไม่ควรทาอะไรเกินหน้าเกิน ตาคนอน่ื เพราะคนเกลียดเรามีมากกวา่ คนรกั เรา สุภาษติ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง เกนิ หนา้ เกนิ ตา, คนรกั เทา่ ผนื หนังคนชงั เทา่ ผืนเสือ่ , คนชังมีนกั คนรกั มีนอ้ ย บทท่ี ๒๒ วาสนาไมค่ ู่เคยี งเถียงเขายาก ถงึ มีปากมเี สียเปลา่ เหมือนเต่าหอย ผเี รือนตวั ไม่ดผี ีอื่นพลอย พดู พลอ่ ยๆ ไม่ดีปากขี้ร้วิ คาศพั ท์ ผเี รือน หมายถงึ ผีทอ่ี ยปู่ ระจาเรอื น พูดพล่อยๆ หมายถงึ อาการที่พดู งา่ ย ๆ โดยไมต่ รติ รอง ปากข้รี ิว้ หมายถึง คาพูดท่ไี ม่สุภาพ ถอดความได้ว่า ถ้าไม่มียศถาบรรดาศักดิ์เสมอเขา ไปโต้เถียงกับเขาก็ไม่มีประโยชน์เพราะไม่มีใครเช่ือ คนใน บา้ นนั่นแหละเป็นใจชว่ ยให้คนนอกบา้ นเข้า มาทาความเสียหาย การพูดพล่อยๆ โดยไม่คิดเป็นส่งิ ทีไ่ มค่ วรทา สภุ าษติ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ผบี ้านไม่ดีผปี า่ ก็พลอย, ปลาหมอตายเพราะปาก บทที่ ๒๓ แต่ไมไ้ ผ่อันหนึง่ ตันอนั หนึง่ แขวะ สีแหยะแหยะตอกตะบนั เป็นควันฉวิ ชา้ งถบี อย่าวา่ เล่นกระเดน็ ปลิว แรงหรือหิวชั่งใจดูจะสชู้ า้ ง คาศพั ท์ แขวะ หมายถงึ เอาของมคี มแขวะคว้านให้กวา้ ง แหยะแหยะ หมายถงึ ช้าๆ ตะบนั หมายถึง ทม่ิ หรอื แทง หรือกดลงไป แรง หมายถงึ มีกาลงั

286 227826 หวิ หมายถึง ออ่ นแรง หมดแรง ถอดความได้ว่า แม้ไม้ไผ่อันหน่ึงตัน กับอีกอันหนึ่งผ่าคร่ึงออก เม่ือนามาสีกันเบา ๆ อาจเกิดควันได้ ฉะน้ัน จงอยา่ ได้ ประมาทการกระทาท่ีดูเหมือนจะไม่ เปน็ พิษเปน็ ภยั ช้างเปน็ สัตวท์ ี่มีพลังเมื่อมันถีบเรารับรองว่ากระเด็น แนน่ อน ฉะน้ันหากจะสู้กับชา้ งกค็ วรประเมินกาลงั ของเราเสียกอ่ นว่าอยู่ในภาวะใดมีกาลังหรืออ่อนแรงจะเตรียมสู้ หรือหนี ดใู หเ้ หมาะแกส่ ถานการณ์ สภุ าษิตท่ีเกีย่ วข้อง ไมซ้ ีกงัดไมซ้ งุ บทที่ ๒๔ ลอ้ งเู ห่าก็ไดใ้ จกล้ากลา้ แตว่ า่ อยา่ ยักเยอื้ งเข้าเบื้องหาง ตอ้ งว่องไวในทานองคลอ่ งท่าทาง ตบหวั ผางเดียวม้วนจึงควรลอ้ คาศพั ท์ ยกั เย้ือง หมายถงึ เล่ยี งไป ไม่ตรงไปตรงมา ถอดความได้ว่า การล้อเล่นกับงูเห่าซ่ึงเป็นสัตว์ท่ีมีอันตรายมาก ทาได้ แต่ต้องเป็นคนใจกล้า แต่อย่าไปเข้าข้าง หางเพราะอาจเกดิ อันตรายได้ และต้องทาดว้ ยความว่องไวอยา่ งเด็ดขาดทันที จงึ จะไมต่ กอยใู่ นฐานะท่เี พลย่ี งพล้า สุภาษิตทเ่ี กี่ยวข้อง จับงขู ้างหาง คือ ทาสงิ่ ท่ีเสี่ยงตอ่ อนั ตราย บทที่ ๒๕ ถึงเพ่อื นฝงู ทชี่ อบพอขอกนั ได้ ถ้าแม้ให้ทุกคนกลัวคนขอ พอ่ แม่เล้ยี งปิดปกเป็นกกกอ จนแลว้ หนอเหมอื นเปรตด้วยเหตจุ น คาศัพท์ ปดิ ปกเป็นกกกอ หมายถึง โอบอ้มุ ทะนุถนอมไว้ เปรต หมายถึง อมนษุ ยจ์ าพวกหนึง่ ถอดความได้ว่า การจะขออะไรกับเพ่ือนฝูงท่ีชอบพอกันก็สามารถขอกันได้ แต่จะให้ทุกคนท่ีขอคงไม่ได้พ่อแม่ เล้ียงดู ทะนถุ นอมมาเป็นอยา่ งดี ถ้าหากเปน็ คนจนกจ็ ะเหมือนเปรตทเ่ี ที่ยวขอสว่ นบุญ สภุ าษิตท่ีเกีย่ วขอ้ ง เปรตขอสว่ นบุญ, ตนเปน็ ท่ีพึง่ ของตน พึ่งลาแขง้ ตัวเอง บทที่ ๒๖ ถงึ บุญมีไมป่ ระกอบชอบไม่ได้ ตอ้ งอาศยั คิดดีจึงมีผล บุญหาไมแ่ ล้วอย่าไดท้ ะนงตน ปุถชุ นรักกบั ชังไมย่ ง่ั ยนื คาศัพท์ ปถุ ชุ น หมายถงึ สามญั ชน คนท่ียังมีกิเลส ถอดความไดว้ า่ ถงึ มีบุญวาสนา ไม่ทาการงานใดๆ ก็ไมด่ ีต้องเปน็ ผู้ทีค่ ิดดี ทาดีบุญจึงสง่ ผล เมอ่ื หมดบุญลงแลว้ อยา่ ทะนงตนวา่ เปน็ ผู้มบี ญุ บารมี ขอให้คนเราคิดวา่ ความรกั ความชังนน้ั เป็นสงิ่ ทีไ่ ม่จรี ังยั่งยืนเท่าการทาความดี สภุ าษติ ทเ่ี กยี่ วข้อง ทาดไี ด้ดี (http://www.trueplookpanya.com/true/blog_diary_detail.php?diary_id=4975)

287 227837 ใบงาน เรอื่ ง อ่านสรปุ เนือ้ หา ความรแู้ ละข้อคิดอศิ รญาณภาษิต หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๒ รายวิชาภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ คาช้ีแจง ให้จับคู่ตามที่นั่งและร่วมกันถอดคาประพนธ์บทประพันธ์ที่จับฉลากได้ และนาเสนอผลงานตามลาดับ เน้ือหาหนา้ ห้องเรยี น บทท…่ี ……………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ถอดคาประพนั ธ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

288 227848 แบบทดสอบ เรอ่ื ง อา่ นสรปุ เนอื้ หา ความรู้และข้อคดิ อิศรญาณภาษิต หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๒ รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย ท๒๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ คาชแี้ จง ให้อ่านอิศรญาณภาษติ ทก่ี าหนดใหถ้ อดคาประพันธ์และยกสานวนสุภาษิตท่ีสอดคล้อง (ข้อละ ๒ คะแนน ได้ ๖ คะแนนขึน้ ไปถือวา่ ผ่าน) ๑. บทที่ ๓ ชายข้าวเปลอื กหญิงข้าวสารโบราณวา่ น้าพึง่ เรอื เสือพึง่ ปา่ อชั ฌาสัย เราก็จติ คิดดเู ลา่ เขากใ็ จ รักกันไว้ดีกวา่ ชังระวังการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. บทที่ ๖ อยา่ ดถู ูกบญุ กรรมว่าทาน้อย น้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนกั หนา อย่านอนเปลา่ เอากระจกยกออกมา ส่องดูหนา้ เสยี ทหี่ น่ึงแล้วจงึ นอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. บทที่ ๘ ค่อยดาเนินตามไตผ่ ู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคณุ อย่าหุนหวน เอาหลงั ตากแดดเป็นนิจคดิ คานวณ ร้ถู ่ถี ว้ นจงึ สบายเม่อื ปลายมือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. บทท่ี ๑๗ อันเสาหนิ แปดศอกตอกเปน็ หลัก ไปมาผลักบอ่ ยเขา้ สายงั ไหว จงฟงั หูไว้หูคอยดูไป เชื่อนา้ ใจดกี ว่าอยา่ เชอื่ ยุ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. บทท่ี ๒๑ ถงึ รจู้ รงิ น่งิ ไว้อย่าไขรู้ เต็มท่คี รเู่ ดียวเท่านน้ั เขาสรรเสริญ ไม่ควรก้าเกินหนา้ ก็อยา่ เกนิ อย่าเพลดิ เพลนิ คนชงั นกั คนรกั น้อย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

289 227859 เฉลยแบบทดสอบ บทที่ ๓ ๑. ผู้ชายกับผู้หญิงน้ันต่างกันดังข้าวเปลือกกับข้าวสาร(โบราณเขาเปรียบเทียบว่า ผู้ชายเปรียบเสมือนข้าวเปลือก ตกท่ีไหนก็เจริญงอกงามท่ีนั่น ส่วนผู้หญิงก็เปรียบเสมือนข้าวสาร ตกที่ไหนก็ไม่สามารถเจริญงอกงามได้ข้าวสารก็ เน่า แต่เม่ืออยู่ในสังคมเดียวกันก็ย่อมต้องพึ่งพาอาศัยกันเป็นธรรมดา เราก็มีมิตรจิตเขาก็มีมิตรใจฉะน้ันเรารักกัน ดกี วา่ เกลยี ดกนั สอดคล้องกบั สานวนสภุ าษิตท่วี า่ ชายขา้ วเปลอื กหญงิ ข้าวสาร/รกั กนั ดีกว่าชงั กัน บทที่ ๖ ๒. อย่าดูถูกความดีหรือความช่ัว ว่าทาเพียงเล็กน้อยเพราะมันจะสะสมไปเร่ือยๆ และมากขึ้นทุกที เวลาก่อนจะ นอนให้ส่องกระจกดหู น้าตนเอง ว่ามีสง่ิ ผิดปกติหรือไม่ เหมอื นเป็นการให้สารวจจิตใจตนเองอยู่เป็นนิจว่าคิดใฝ่ดีอยู่ หรอื เปล่า เพอื่ จะไดเ้ ตือนตนไวไ้ ดท้ ัน สอดคลอ้ งกับสานวนสุภาษิตทีว่ ่า จงเตือนตนดว้ ยตนเอง บทที่ ๘ ๓. ให้ประพฤติปฏิบัติตนตามผู้ใหญ่ ซ่ึงเป็นผู้ที่เกิดก่อน ย่อมมีความรู้และประสบการณ์มากกว่า และอย่าเป็นคน อกตญั ญู จงมีความขยนั หม่ันเพียรทางานอยู่เสมอแล้วจะมีความสุขสบายในภายหลัง สอดคล้องกับสานวนสุภาษิต ทวี่ ่า เดนิ ตามผ้ใู หญ่หมาไมก่ ัด บทท่ี ๑๗ ๔. แม้จะมั่นคงดังเสาหินใหญ่สูงแปดศอก แต่เมื่อถูกผลักบ่อยๆ เข้า เสานั้นก็อาจคลอนแคลนได้เปรียบ เหมือนใจ คนย่อมอ่อนไหวไปตามคาพูด ของผู้อ่ืนได้ ฉะน้ัน จึงควรฟังหูไว้หู และคิดให้รอบคอบก่อนท่ีจะเชื่อใคร สอดคล้อง กับสานวนสุภาษติ ทว่ี า่ ฟงั หูไวห้ ู บทท่ี ๒๑ ๕. แม้ว่าเราจะรู้จริง เราก็ไม่ต้องอวดว่าเรารู้ เดี๋ยวเขาก็จะสรรเสริญเอง ไม่ควรทาอะไรเกินหน้าเกินตาคนอ่ืน เพราะคนเกลียดเรามีมากกว่าคนรักเรา สอดคล้องกับสานวนสุภาษิตที่ว่า เกินหน้าเกินตา/คนรักเท่าผืนหนังคนชัง เทา่ ผืนเสอ่ื

290 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑๓ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๓ พนิ ิจคณุ คา่ วรรณคดี เรือ่ ง การวิเคราะหค์ ณุ คา่ วรรณคดี เรอื่ ง อศิ รญาณภาษติ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ขอบเขตเนอ้ื หา รายวชิ าพ้นื ฐานภาษาไทย รหัส ท๒๓๑๐๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ การวเิ คราะหว์ ถิ ไี ทยและคุณคา่ วรรณคดี เร่ือง กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ อิศรญาณภาษิต ขน้ั นา ๑. หนังสือเรียนภาษาไทยช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ ๑. นักเรยี นทายปัญหาว่าอิศรญาณภาษิต แต่ละบท ชุด วรรณคดีวจิ กั ษ์ มีความรู้ ความเขา้ ใจการวเิ คราะห์วถิ ีไทยและ ตรงกบั สานวนสุภาษติ วา่ อะไร ๒. แบบทดสอบ คุณคา่ คุณค่าวรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษติ ๒. ครูนานักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ๓. กระดาษร้อยปอนด์ ด้านทักษะ/กระบวนการ คุณค่าของวรรณคดีหรือวรรณกรรม ให้นักเรียน ภาระงาน/ช้ินงาน การวิเคราะห์วิถไี ทยและคุณคา่ จากวรรณคดีเร่ือง ร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าการวิเคราะห์คุณค่าของ ๑. แผนผงั ความคดิ อิศรญาณภาษิต พร้อมยกเหตุผลประกอบได้ วรรณคดีและวรรณกรรมช่วยพัฒนาทักษะการอ่านได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ๑. มุ่งมน่ั ในการทางาน อยา่ งไร ให้นกั เรียนยกตวั อยา่ งประกอบความคดิ เหน็ ๒. รักความเปน็ ไทย ขั้นสอน ๓. อย่อู ยา่ งพอเพียง ๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น ๖ กลุ่ม อ่านอิศรญาณ ๔. มจี ติ สาธารณะ ภาษติ แลว้ แข่งขันกนั วเิ คราะหค์ ณุ คา่ ด้านต่างๆ ดงั นี้ กล่มุ ท่ี ๑ วเิ คราะห์คุณคา่ ด้านเน้อื หา กล่มุ ที่ ๒ วิเคราะห์คณุ คา่ ดา้ นสังคม กลมุ่ ที่ ๓ วิเคราะห์คณุ ค่าการเลือกใชค้ า กลมุ่ ที่ ๔ วเิ คราะห์คุณค่าดา้ นโวหารภาพพจน์) กลุ่มที่ ๕ วเิ คราะห์คุณคา่ ดา้ นวรรณศิลป์รสวรรณคดี กลุ่มที่ ๖ วเิ คราะห์คณุ คา่ ด้านการนาไปใชใ้ น ชีวติ ประจาวัน 227960


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook