Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

Published by elibraryraja33, 2021-08-04 07:18:20

Description: 64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง ย้อนรอยไทย ๑๐๐๗ เกณฑ์การวัดและประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นรายกลุม่ (Rubric) ประเด็นการ ดมี าก (๔) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ต้องปรับปรุง (๑) ประเมนิ ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การ ร่วมมือและชว่ ยเหลือ รว่ มมือและ ร่วมมือและ ไม่ให้ความร่วมมือ ปฏสิ มั พันธก์ นั เพอ่ื นในการทำ ชว่ ยเหลือเพือ่ นเปน็ ชว่ ยเหลอื เพ่อื นใน ในขณะทำ กิจกรรม สว่ นใหญ่ในการทำ การทำกจิ กรรมเปน็ กจิ กรรม กจิ กรรม บางครง้ั ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเดน็ สนทนาไม่ตรง เร่อื งที่กำหนด ครอบคลุมเนื้อหา ครอบคลุมเน้ือหา ประเด็น บางส่วน ๓. การติดตอ่ มีการปรึกษาครูและ มีการปรกึ ษาครูและ มีการปรึกษาครูและ ไมม่ ีการปรกึ ษาครู สือ่ สาร เพ่อื นกลมุ่ อ่นื ๆ เพอ่ื นกลมุ่ อื่น ๆ เพ่อื นกลุม่ อนื่ ๆ และเพื่อนกลุ่มอ่ืน ๆ เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางครง้ั ๔. พฤตกิ รรม มีการวางแผนอย่าง มีการวางแผนอย่าง มกี ารวางแผนอยา่ ง ไม่มีการวางแผน การทำงาน เป็นระบบ และแบ่ง หน้าท่ขี องสมาชกิ เป็นระบบ และแบ่ง เปน็ ระบบ และแบง่ อยา่ งเป็นระบบ ในกลุ่ม หน้าทขี่ องสมาชิก หน้าทข่ี องสมาชกิ และไมม่ กี ารแบ่ง ในกลุ่มเป็นสว่ นใหญ่ ในกลุ่มเปน็ บางครง้ั หน้าท่ขี องสมาชกิ ในกลุ่ม

๑๐๐๘ คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชแ้ี จง ใหผ้ ูส้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียนแลว้ ขดี ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน รายการ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดับการปฏบิ ัติ ประเมิน ๓๒๑ ๑. มวี ินยั ๑.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของครอบครวั รบั ผดิ ชอบ และโรงเรยี น มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวนั มคี วามรบั ผดิ ชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๒.๑ ตั้งใจเรยี น ๒.๒ เอาใจใส่ในการเรียนและมีความเพยี รพยายามในการเรยี น ๒.๓ เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ต่าง ๆ ๒.๔ ศึกษาคน้ คว้า หาความรูจ้ ากหนงั สอื เอกสาร สิ่งพมิ พ์ ส่ือ เทคโนโลยตี ่าง ๆ แหล่งการเรียนร้ทู งั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น และ เลือกใชส้ ่ือได้อย่างเหมาะสม ๒.๕ บนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางส่งิ ทีเ่ รยี นรู้ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ ๒.๖ แลกเปล่ียนความรู้ ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ และนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน ๓. มุ่งม่นั ใน ๓.๑ มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานท่ีได้รับมอบหมาย การทำงาน ๓.๒ มีความอดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออุปสรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ ลงช่ือ................................................................ผ้ปู ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ๐ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครง้ั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดงั นี้ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดีมาก นักเรียนที่ไดร้ ะดบั คณุ ภาพผา่ นข้นึ ไป ถือว่า ผา่ น ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผา่ น ๐-๗ ไม่ผ่าน

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง ย้อนรอยไทย ๑๐๐๙ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คำชแี้ จง ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี นแล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมนิ พฤติกรรมการแสดงออก ระดับการปฏบิ ัติ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มคี วามสามารถในการรับ–ส่งสาร การส่ือสาร ๑.๒ มีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด ๒. ความสามารถใน ความเข้าใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอยา่ งเหมาะสม การคิด ๒.๑ มที ักษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์ ๓. ความสามารถใน ๒.๒ มคี วามสามารถในการคิดอยา่ งมรี ะบบ การใช้ทักษะชวี ติ ๓.๑ สามารถทำงานกลุ่มร่วมกบั ผู้อื่นได้ ๓.๒ นำความร้ทู ่ไี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวัน ลงช่อื ................................................................ผู้ประเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครง้ั เกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ดงั นี้ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๑๖-๑๘ ดีมาก นกั เรียนท่ีได้ระดบั คุณภาพผ่านขึน้ ไป ถือว่า ผ่าน ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผา่ น ๐-๙ ไมผ่ า่ น

๑๐๑๐ คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ ตนเอง ชอ่ื : _________________ สกลุ : _________________วนั ____ เดือน____________พ.ศ._____ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย คำชี้แจง ๑. ระบายสีลงใน ของแต่ละกิจกรรมทีน่ กั เรียนคดิ ว่าทำได้ตามระดบั การประเมินเหล่านี้ เพื่อประเมนิ การเรยี นรู้ของนักเรยี น ปรับปรงุ พอใช้ คอ่ นข้างดี ดี ดมี าก กจิ กรรม ระดับความสามารถ บอกวธิ ีการนับและเทยี บศกั ราชได้ สามารถคิดและเทยี บทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ การเปรยี บเทยี บลกั ษณะสำคัญการแบง่ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ทกั ษะการวิเคราะห์เหตุการณ์ในยคุ สมยั ต่าง ๆ ทางประวตั ิศาสตร์ไทย บอกความหมายและความสำคัญของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ สามารถจำแนกประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ การสืบค้นเรือ่ งราวในท้องถิ่นด้วยวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ ๒. นับจำนวนดาวจากตารางข้างบนเพื่อบนั ทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียน ดงั น้ี จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. สรปุ : วงกลมรอบผลการเรยี นร้ขู องนักเรยี น โดยนับจากข้อทีไ่ ดด้ าวมากท่สี ุด ปรับปรุง พอใช้ ดี ค่อนข้างดี ดีมาก ๓. กาเคร่ืองหมาย ✓ลงใน  ท่นี ักเรียนวางแผนจะทำเพ่ือพัฒนาการเรยี นในครั้งต่อไป (เลือกไดม้ ากกว่า ๑ ข้อ)  _______________________  ______________________  _______________________  ______________________

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง ย้อนรอยไทย ๑๐๑๑ บันทึกการเรยี นรู้ (Learning logs) ชอ่ื : __________________ สกลุ : _________________วัน____ เดือน_______________ พ.ศ. _____ สิง่ หนึ่งทฉี่ นั ไดเ้ รยี นร้จู ากการเรียนวิชาน้ีในครึง่ ภาคเรียน คอื ………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….… ฉนั น่าจะเรียนรไู้ ด้ดีกว่านห้ี าก……………………………………………………...……………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….… สง่ิ ทีฉ่ นั อยากจะบอกคณุ ครู คอื …………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….… สง่ิ ท่ฉี นั ควรปรบั ปรงุ ตัวเองใหด้ ขี ึ้น คือ………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….… ปัญหาในการเรียนของฉัน คอื ……………………………………………………………..……………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….…

๑๐๑๒ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ ภมู ิใจในท้องถิ่น

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เร่ือง ภมู ิใจในท้องถ่ิน ๑๐๑๓ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๒ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ภูมใิ จในทอ้ งถิน่ รหสั วิชา ส๑๔๑๐๒ รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๑๐ ช่วั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระ ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณอ์ ย่างต่อเนื่อง ตระหนกั ถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกดิ ข้ึน ตัวชี้วดั ป.๔/๑ อธบิ ายการต้ังหลักแหล่งและพัฒนาการของมนษุ ยย์ ุคก่อนประวตั ศิ าสตรแ์ ละยคุ ประวตั ิศาสตรโ์ ดยสังเขป ป.๔/๒ ยกตัวอยา่ งหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ทพี่ บในท้องถน่ิ ทีแ่ สดงพัฒนาการของมนษุ ยชาติใน ดนิ แดนไทย ๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การต้ังถิ่นฐานและการดำเนินชีวิตของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในยุคแรกจะมีชีวิตแบบเร่ร่อน เคล่ือนย้ายท่ีอยู่ไปตามแหล่งอาหาร อาศัยอย่ตู ามถ้ำเพิงผา หลักฐานท่พี บในยุคนีจ้ ะเปน็ เคร่ืองมือเคร่อื งใช้ที่ทำ จากหิน ต่อมาพัฒนาเป็นเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ท่ีทำจากโลหะ โดยพบร่องรอยการต้ังถ่ินฐานได้ทั่วทุกภาคของ ประเทศไทย ส่วนการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในสมัยประวัติศาสตร์ เร่ิมอยู่รวมกันเป็นชุมนุม พัฒนาจากชุมนุม เปน็ เมือง แควน้ และอาณาจักรของไทยในเวลาตอ่ มา ซึง่ มีความเจริญก้าวหนา้ เปน็ รากฐานของวฒั นธรรมไทย ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ๑. การตั้งหลกั แหล่งและพัฒนาการของมนุษยชาติยุคก่อนประวตั ศิ าสตรแ์ ละยุคประวัติศาสตร์ ๒. พัฒนาการของมนษุ ย์ยุคก่อนประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนไทย ๓. พฒั นาการของมนษุ ย์สมัยประวัตศิ าสตร์ในดนิ แดนไทย ทักษะ/กระบวนการ ๑. นำความรู้เรื่องพฒั นาการของมนุษยชาตแิ ต่ละยุคสมยั นำไปปรบั ใช้ในการศึกษาพฒั นาการ ของมนุษยใ์ นสมัยต่าง ๆ ๒. ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ในการศึกษาแคว้นโบราณในดนิ แดนไทย ๓. การสบื ค้นดว้ ยวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์

๑๐๑๔ คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) เจตคติ ๑. เหน็ ประโยชนข์ องการศึกษาพฒั นาการของมนุษย์ โดยใชห้ ลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์และ การสบื คน้ การดำรงชีวิตของคนในอดตี และปัจจุบนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องและมเี หตุผลโดยใช้ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรใ์ นการสบื คน้ ๒. ตระหนกั ในความสำคัญของบรรพบุรุษไทยในยุคประวัติศาสตรส์ มัยตา่ ง ๆ ๔. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๕. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. มวี นิ ยั ๓. ใฝ่เรยี นรู้ ๔. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ๕. รกั ความเป็นไทย ๖. การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน ๑. ใบงานท่ี ๑ เร่ือง การตงั้ ถ่นิ ฐานและการดำเนินชีวติ ของมนุษยส์ มยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ ๒. ใบงานที่ ๒ เรื่อง หลกั ฐานเครอ่ื งมือเครือ่ งใช้ของมนษุ ยย์ ุคหินในภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย ๓. ใบงานท่ี ๓ เรื่อง พฒั นาการของมนุษย์สมัยประวตั ิศาสตร์ในดินแดนไทย ๔. ใบงานที่ ๔ เร่ือง แควน้ โบราณในดนิ แดนไทย ๕. ใบงานท่ี ๕ เรื่อง แคว้นโบราณในดนิ แดนไทย (แคว้นทวารวดี แควน้ ละโว)้ ๖. ใบงานที่ ๖ เรอ่ื ง แควน้ โบราณในดินแดนไทย (แควน้ ลังกาสุกะ แควน้ ศรวี ิชยั แควน้ ตามพรลิงค)์ ๗. ใบงานท่ี ๗ เรื่อง แคว้นโบราณในดินแดนไทย (แควน้ โคตรบูรณ์ แควน้ หริภุญชัย) ๘. ใบงานท่ี ๘ เรอ่ื ง การตง้ั ถน่ิ ฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของคนสมยั สโุ ขทัย ๙. ใบงานที่ ๙ เรอ่ื ง การตั้งถน่ิ ฐานและการดำเนินชีวิตของคนสมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี ๑๐. ใบงานท่ี ๑๐ เรอ่ื ง การตั้งถ่นิ ฐานและการดำเนินชวี ิตของคนสมัยรตั นโกสินทร์

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรอ่ื ง ภูมิใจในท้องถ่นิ ๑๐๑๕ เกณฑ์การประเมนิ ผลชน้ิ งานหรือภาระงาน ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรบั ปรุง) ๑. การบรรยาย บรรยายเกย่ี วกบั บรรยายเก่ยี วกับ บรรยายเกยี่ วกับ บรรยายเกย่ี วกับ จดุ ประสงค์ จุดประสงค์ใน จดุ ประสงค์ใน จุดประสงค์ใน จดุ ประสงค์ใน การสร้างสรรค์ผลงาน การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน การสรา้ งสรรค์ การสร้างสรรคผ์ ลงาน ได้ถูกต้องชัดเจน ได้ถูกตอ้ งเปน็ ส่วน ผลงานได้ถูกต้อง ได้ถูกต้องเพยี งส่วน ใหญ่ เป็นบางส่วน น้อย ๒. ความครอบคลมุ การนำเสนอเปน็ ไป การนำเสนอเป็นไป การนำเสนอเป็นไป การนำเสนอเปน็ ไป ของเนื้อหา ตามลำดับขน้ั ตอน ตามลำดับข้นั ตอน ตามลำดับขั้นตอน ตามลำดบั ขั้นตอน ความถูกต้องของ ความถูกต้องของ ความถูกต้องของ ความถูกต้องของ เน้อื หา ร้อยละ ๑๐๐ เน้อื หา ร้อยละ ๘๐ เน้อื หา ร้อยละ ๗๐ เนื้อหา ร้อยละ ๕๐ ๓. ความสวยงาม ใชเ้ ครอ่ื งหมาย ใช้เครือ่ งหมาย ใช้เครอ่ื งหมาย ใช้เครอื่ งหมาย การตกแต่งชนิ้ งาน รูปภาพ สมการ รปู ภาพ สมการ รูปภาพ สมการ รปู ภาพ สมการ สัญลักษณแ์ ทนกฎ สัญลักษณ์แทนกฎ สญั ลกั ษณแ์ ทนกฎ สญั ลกั ษณแ์ ทนกฎ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลักการ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลักการ นยิ ามต่าง ๆ ได้ นิยามต่าง ๆ ได้ นยิ ามตา่ ง ๆ ได้ นยิ ามต่าง ๆ ได้ ถูกต้องและครบถ้วน ถูกต้องและครบถ้วน ถูกต้อง ถกู ต้อง ๔. ความถูกตอ้ ง ใช้สีทีช่ ว่ ยจดจำ เพลิน ใชส้ ที ชี่ ่วยจดจำ ใชส้ ที ชี่ ่วยจดจำ ไมใ่ ช้สีทีช่ ว่ ยจดจำ ตาสีเดียวตลอด แตล่ ะ เพลนิ ตา สีเดียว เพลินตา สเี ดียวตลอด เพลินตา สีเดียว สีไมซ่ ้ำกัน ตลอด แต่ละสีซ้ำกัน แตล่ ะสีซำ้ กัน ตลอด ๕. ความตรงต่อ ส่งงานครบถว้ นตรง ส่งงานครบถ้วนตรง ส่งงานครบถว้ นตรง ส่งงานครบถว้ นแต่ เวลา ตามเวลาท่ีกำหนด ตามเวลาที่กำหนด ตามเวลาที่กำหนด ชา้ กว่ากำหนด ๕ วนั ๑-๒ วนั ๓-๔ วนั ข้ึนไป เกณฑ์การตัดสิน คะแนน ๑๖–๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๒–๑๕ หมายถงึ ดี คะแนน ๑๐–๑๑ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๐–๙ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผา่ น ตั้งแตร่ ะดบั ๑๐ คะแนน ข้ึนไป

๑๐๑๖ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง การตั้งถ่ินฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของมนุษย์สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง ภูมใิ จในท้องถ่นิ เวลา ๑ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ในด้านความสมั พันธแ์ ละ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเน่ือง ตระหนักถงึ ความสำคัญและสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกดิ ขึ้น ตัวชว้ี ัด ป.๔/๑ อธิบายการต้ังหลักแหล่งและพฒั นาการของมนุษย์ยคุ ก่อนประวัติศาสตรแ์ ละ ยุคประวตั ิศาสตร์โดยสังเขป ๒. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การศึกษาการต้ังหลักแหล่งและการดำเนนิ ชีวติ พัฒนาการของมนษุ ย์สมัยกอ่ นประวัติศาสตรใ์ นดนิ แดน ไทยจะทำใหเ้ ข้าใจเกย่ี วกับการดำเนินชีวติ ของมนุษย์ในสมยั เริ่มแรกซ่ึงสั่งสมความเจริญมาจนถงึ ปัจจุบนั ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) อธบิ ายการตัง้ ถนิ่ ฐานและการดำเนินชีวติ ของมนุษยส์ มัยก่อนประวัตศิ าสตรไ์ ด้ ๓.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จำแนกหลักฐานการตงั้ หลักแหล่งและการดำเนินชวี ิตของพัฒนาการของมนุษยส์ มยั ก่อน ประวตั ิศาสตร์ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) เหน็ ความสำคญั ของการศึกษาพฒั นาการของมนุษย์ในดินแดนไทย ๔. สาระการเรียนรู้ การต้ังถน่ิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ิตของมนษุ ย์สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ๕. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ๑. ความสามารถในการคิด ๒. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต ๖. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน ๗. กิจกรรมการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรื่อง ภูมใิ จในท้องถนิ่ การจดั กิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง การตั้งถนิ่ ฐานและ รายวิชาประวตั ศิ าสต ลำดบั ท่ี จดุ ประสงค์ ขนั้ ตอนการจัด เวลาท่ี แ ๑. การเรียนรู้ การเรียนรู้ ใช้ กจิ กรรมคร ข้ันนำ ๑๐ ๑. ครูใหน้ กั เรียนดภู าพ นาที มนุษย์สมัยก่อนประวัต ๒. ครตู ง้ั ประเด็นคำถา นกั เรยี นร่วมอภิปรายแ คิดเหน็ ๑) นกั เรยี นคิดว่ามน สมยั กอ่ นประวัตศิ าสต บริเวณใด ๒) ประเทศไทยมีกา หลักฐานการต้งั หลักแห มนษุ ยย์ คุ ก่อนประวตั ิศ หรอื ไม่ ๓) นกั เรียนศกึ ษาข้อ หลักแหล่งของมนษุ ย์ย ประวตั ิศาสตร์ได้อยา่ ง

๑๐๑๗ รู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ะการดำเนนิ ชีวิตของมนุษย์สมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ ตร์ จำนวน ๑ ชั่วโมง แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมิน รู กจิ กรรมนกั เรียน การเรียนรู้ - การสงั เกต พของ ๑. นักเรยี นดูภาพความ - PowerPoint ติศาสตร์ เปน็ อยขู่ องมนุษย์สมยั ก่อน ภาพของมนษุ ย์ ประวตั ิศาสตร์ สมัยกอ่ น ามให้ ๒. นักเรยี นตอบคำถาม ประวัติศาสตร์ แสดงความ นุษย์ ๑) แนวคำตอบ อาศยั อยู่ ตร์อาศยั อยู่ ตามถำ้ ารพบ ๒) แนวคำตอบ มี /ไม่มี หลง่ ของ ศาสตร์ อมลู การตง้ั ๓) แนวคำตอบ ยุคก่อ โบราณสถาน โบราณวัตถุ งไร

๑๐๑๘ ค่มู ือคร ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ขัน้ ตอนการจัด เวลาที่ แ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ใช้ กจิ กรรมคร ๒. ๑. อธบิ ายการตัง้ ขน้ั สอน ๒๐ ๑. ครใู ห้นักเรยี นจบั คู่ ถน่ิ ฐานและการ นาที นกั เรยี นศึกษาเนื้อหาจ ดำเนินชีวิตของ ใบความรู้ เร่ือง การตั้ง มนษุ ย์สมยั ก่อน และการดำเนินชวี ติ ของ ประวตั ศิ าสตร์ได้ ก่อนประวัติศาสตร์ในด ๒. จำแนกหลักฐาน ๒. ครูใหน้ กั เรียนร่วมก การตั้งหลักแหลง่ สรปุ องค์ความรู้จากกา และการดำเนนิ เนอื้ หาจากใบความรู้ ก ชีวติ ของพัฒนาการ ฐาน การดำเนนิ ชีวิตข ของมนษุ ย์สมัยก่อน สมัยก่อนประวัตศิ าสต ประวตั ิศาสตร์ อธิบายเตมิ เต็มใหเ้ ขา้ ใ ๓. ครจู ัดทำแถบประโ การตง้ั หลักแหลง่ และการดำเนนิ ชวี ิตขอ สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสต นักเรียนร่วมกนั จำแนก ประโยคใดเป็นการตง้ั ห และการดำเนนิ ชวี ติ ขอ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์

รูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ รู กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ และ ๑. นักเรยี นจบั คศู่ กึ ษาเน้อื หา - ใบความรู้ท่ี ๑ จาก จากใบความรู้ เรื่อง การต้ัง เรอ่ื ง การตั้งถิ่น - การสังเกต งถ่นิ ฐาน ถนิ่ ฐานและการดำเนินชีวติ ฐานและการ - การประเมนิ งมนุษย์สมยั ของมนุษย์สมัยก่อน ดำเนินชีวติ ของ ดนิ แดนไทย ประวตั ิศาสตร์ในดนิ แดนไทย มนุษยส์ มยั กนั อภิปราย ๒. นักเรยี นรว่ มกนั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ ารศึกษา อภปิ รายสรุปองค์ความรู้ ในดินแดนไทย การตัง้ ถ่ิน จากการศึกษาเนือ้ หาจาก - แถบประโยค ของมนุษย์ ใบความรู้ - แบบสงั เกต ตร์โดยครู - แบบประเมิน ใจย่ิงขึ้น โยคเกี่ยวกบั ๓. นกั เรยี นร่วมกนั จำแนก วา่ แถบประโยคใดเปน็ องมนุษย์ การตั้งหลักแหลง่ และ ตร์เพื่อให้ การดำเนินชีวติ ของมนษุ ย์ กวา่ แถบ ยคุ กอ่ นประวัติศาสตร์ หลกั แหลง่ องมนุษย์ยคุ

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ภูมิใจในท้องถ่ิน ลำดบั ท่ี จดุ ประสงค์ ขัน้ ตอนการจดั เวลาที่ แ ๓. การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ใช้ กิจกรรม ตัวอย่างแถบประโ - อาศัยอย่ตู ามถ้ำ - เกบ็ ของปา่ ลา่ ส - เครอ่ื งมือเคร่ืองใ โลหะ - ตดิ ตอ่ คา้ ขายระห - อยู่รวมกนั เปน็ ชมุ - เคร่ืองมือหินกะเ - จารกึ อักษรลงบน - สง่ ออกสนิ คา้ - ภาชนะท่ที ำจาก ขนั้ ปฏบิ ตั ิ ๑๐ ๕. ครูให้นกั เรียนท นาที เร่ือง การต้ังถน่ิ ฐาน การดำเนินชวี ิตของ สมยั กอ่ นประวตั ศิ า

๑๐๑๙ แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ มครู กิจกรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ โยค สัตว์ ใชท้ ่ีทำจาก หวา่ งชุมชน มชน เทาะ นศิลา กดนิ เหนียว ๕. นกั เรยี นทำใบงาน - แบบสงั เกต - การสงั เกต ทำใบงาน นและ เร่ือง การตง้ั ถิ่นฐานและ - แบบประเมนิ - การประเมิน งมนุษย์ าสตร์ การดำเนนิ ชวี ิตของ - ใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง มนุษย์สมยั ก่อน การตง้ั ถน่ิ ฐานและ ประวัติศาสตร์ การดำเนนิ ชีวิตของ มนุษยส์ มยั ก่อน ประวัตศิ าสตร์

๑๐๒๐ ค่มู ือคร ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ขั้นตอนการจดั เวลาท่ี กจิ กรรม การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ใช้ ๔. ๓. เห็นความสำคัญ ขัน้ สรุป ๑๐ ๑. ครูสมุ่ ตัวแทนนัก ของการศึกษา นาที ๓ คู่ ออกมานำเสน พฒั นาการของมนุษย์ เรื่อง การตง้ั ถ่ินฐาน ในดินแดนไทย การดำเนนิ ชีวติ ของ สมัยกอ่ นประวัตศิ า ๒. ครูและนกั เรียน ตรวจสอบความถูก ๓. ครูและนกั เรียน องค์ความรู้

รแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมิน มครู กิจกรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ กเรียน ๑. ตัวแทนนกั เรยี น - แบบสังเกต นอใบงาน ๓ คู่ ออกมานำเสนอ - แบบประเมนิ - การตรวจงาน นและ ใบงาน เรอื่ ง การตั้ง - การสังเกต งมนุษย์ ถน่ิ ฐานและการดำเนิน - การประเมิน าสตร์ ชีวติ ของมนษุ ยส์ มยั ก่อน ประวัตศิ าสตร์ นร่วมกนั ๒. นักเรียนรว่ มกัน กต้อง ตรวจสอบความถูกตอ้ ง นรว่ มกันสรุป ๓. นักเรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้ การศึกษาการตง้ั ถ่ินฐานและการดำเนนิ ชีวิตของมนษุ ย์สมัยก่อน ประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดน ไทย จะทำให้เข้าใจถงึ พัฒนาการของมนษุ ย์ ตง้ั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ ัน

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่อื ง ภมู ใิ จในท้องถ่นิ ๑๐๒๑ ๘. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้ ๑. แถบข้อความ ๒. ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง การตัง้ ถิ่นฐานและการดำเนินชีวติ ของมนษุ ย์ก่อนประวตั ิศาสตร์ ๓. ใบความรู้ท่ี ๑ เร่ือง การตั้งถ่ินฐานและการดำเนินชีวิตของมนุษยส์ มัยก่อนประวตั ิศาสตร์ในดนิ แดนไทย ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้นิ งานหรอื ภาระงาน ใบงานท่ี ๑ เรื่อง การตง้ั ถิ่นฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของมนุษยส์ มัยก่อนประวัติศาสตร์ การวดั และประเมนิ ผล ประเด็นการวดั วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน และประเมินผล ด้านความรู้ - ตรวจใบงาน - ใบงานท่ี ๑ เร่ือง การตั้ง ผ่านเกณฑ์การประเมนิ - การสังเกต ถ่นิ ฐานและการดำเนิน รอ้ ยละ ๖๐ - การประเมิน ชวี ิตของมนษุ ย์สมัยก่อน ประวตั ิศาสตร์ - แบบสังเกต - แบบประเมนิ ดา้ นทกั ษะ กระบวนการ - การสังเกต - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมิน - การประเมนิ - แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดบั พฤตกิ รรม คุณภาพพอใชข้ นึ้ ไป ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประเมิน รักชาติ ศาสน์ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับ ประสงค์ กษัตรยิ ์ ใฝ่เรียนรู้ อนั พงึ ประสงค์ คุณภาพพอใชข้ ้นึ ไป มงุ่ ม่ันในการทำงาน สมรรถนะสำคญั ประเมนิ ความสามารถ แบบประเมนิ สมรรถนะ ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดบั ของผู้เรียน ในการคดิ ความสามารถ สำคัญของผู้เรยี น คุณภาพพอใชข้ ้นึ ไป ในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชวี ติ

๑๐๒๒ คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) ๑๐. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... .......... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ขอ้ จำกดั การใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………...………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงชื่อ……………………………………………………….ผู้สอน (…...........………………………………………….) วนั ท่ี……………เดอื น……………………………พ.ศ……………… ๑๑. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารหรือผูท้ ไี่ ด้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………….ผู้ตรวจ (…...........………………………………………….) วนั ท…ี่ …………เดอื น……………………………พ.ศ………………

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ภูมิใจในท้องถน่ิ ๑๐๒๓ ใบความรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง การต้ังถิ่นฐานและการดำเนินชีวติ ของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดนิ แดนไทย หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เรอ่ื ง ภมู ใิ จในทอ้ งถิ่น แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๑ เร่อื ง การต้งั ถนิ่ ฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของมนุษย์สมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ รายวิชาประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ การต้ังถนิ่ ฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของมนุษยส์ มยั กอ่ นประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนไทย สมัยก่อนประวัติศาสตร์ หมายถึง ระยะเวลาในอดีตที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการบันทึกเร่ืองราวต่าง ๆ ไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร เนื่องจากเป็นสมัยท่ียังไม่พบหลักฐานเป็นตัวหนังสือ หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ แบ่งย่อยเปน็ ๓ ประเภท ดังน้ี ๑. โบราณสถาน ไดแ้ ก่ แหล่งที่อยู่อาศยั เช่น ถ้ำ เพิงผาหิน เปน็ ดินใกล้แหลง่ นำ้ ๒. โบราณวัตถุ ได้แก่ เครื่องมือหนิ กะเทาะหยาบ เครื่องมือหนิ ขัด เครอื่ งสำริด และเหล็ก เครอื่ งปน้ั ดินเผา ลกู ปดั ที่ทำดว้ ยดนิ เผาและหินสี เปลอื กหอย โครงกระดูกมนษุ ย์และสตั ว์ ๓. โบราณศลิ ปกรรม ได้แก่ ภาพเขียนสแี ละภาพจำหลัก ซ่ึงลว้ นแล้วไดท้ ำข้ึนบนผนงั ถ้ำหรือเพงิ ผา การตั้งถนิ่ ฐานชุมชนก่อนประวัตศิ าสตร์ ชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ในจังหวัดตรัง มีโบราณวัตถุประเภทเครื่องมือหิน ได้แก่ เครื่องมือหิน กะเทาะทำจากสะเก็ดหินปูนขนาดใหญ่ และทำจากหนิ ควอรต์ ไซต์ (Quartzite) เครอื่ งมือหินขัดท้ังขวานหินไม่ มีบ่าและมีบ่า โบราณวัตถุประเภทดินเผาท้ังแบบเรียบและแบบลายเชือกทาบ และโบราญวัตถุประเภท ภาพเขียนสีทผ่ี นังถ้ำ ขวานหนิ ขดั ทั้งประเภทไม่มีบ่าและมบี ่า สามารถพบได้ทั่วไปในถ้ำตามภเู ขาลูกโดด แถบลุ่มแมน่ ้ำตรัง แม่น้ำปะเหลียนและคลองนางน้อย หรืออาจพบได้ตามริมตล่ิงตะพังแม่น้ำ ชาวบ้านใช้ขวานหินเหล่านี้เป็น ประโยชน์เชิงคติชน โดยนำไปวางไว้บนลอมข้าวในยุ้งฉาง เชื่อว่าป้องกันหนูมิให้มากินข้าว บ้างก็แช่น้ำไว้ใน กะละออมน้ำดื่มเพื่อป้องกันโรค อันเกิดจากการด่ืมน้ำได้ หมอสวดบ้านพลีเรือน เรียกว่า หินผ่านฟ้า หรือหิน ขวานฟ้า ใช้ประกอบพิธีสวดบ้านพลีเรือน ขับไล่อุบาทว์ฟ้าดินได้ท่ีหน้าผาเขาแบนะ อุทยานแห่งชาติหาดเจ้า ไหม มีภาพเขียนสี ดูออกชัดเจนว่าเป็นภาพปลากระบอกที่ชาวบ้านเรียกว่าปลาหล้อบัน และหัวสัตว์ป่าคล้าย เสอื คงเป็นเสอื ปลาชนิดหนึ่ง แหล่งโบราณคดีถ้ำซาไก ถ้ำหนา้ เขา เป็นชุมชนเขาป่าเขาอันเป็นตน้ น้ำ ถำ้ เขา ไม้ แถว ถำ้ เขาปินะ ถ้ำเขาสามบาตร เป็นชุมชนเขตทุ่งราบลุ่มน้ำ ส่วนเขาเจา้ ไหม เขาแบนะ เปน็ ชุมชนเขตชายฝั่ง ทะเลความเป็นหมู่ตรังเขา ตรังทุ่ง ตรังเล จึงมีมาแต่สมัยดึกดำบรรพ์ ซึ่งเทียบอายุกับถ้ำซาไกได้ว่า “เป็นยุค กอ่ นยคุ หินใหม่ (Pre-neolithic) และควรมอี ายอุ ยู่ในระหวา่ ง ๖,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ ปี ล่วงมาแล้ว การศึกษาทางโบราณคดี ผ่านเคร่ืองมือเครื่องใช้ ภาชนะดินเผา และร่องรอยวัฒนธรรมอื่น ๆ ในยุค ก่อนประวัติศาสตร์จากการขุดค้นแหล่งโบราณคดีในจังหวัดตรัง แล้วศึกษาเปรียบเทียบกับแหล่งอ่ืน ๆ ในจังหวัดตรังและต่างประเทศ “สรา้ งมติ ิใหม่ให้กบั วงการโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในเอเชียตะวันออก

๑๐๒๔ คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เฉียงใต้ เพราะเป็นการค้นพบข้อมูลการอยู่อาศัยและการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ยุคหินเก่าตอนปลายถึงปลายยุคหินใหม่ ซ่ึงเป็นช่วงระยะเวลาต่อเน่ืองตั้งแต่ ๒๕,๐๐๐ ถึง ๔,๓๐๐ ปี ล่วงมาแล้ว” การศึกษาถ้ำซาไก ของสุรินทร์ ภู่ขจร และคณะ เป็นต้นแบบให้ผู้สนใจได้ศึกษาวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับแหล่งโบราณคดีอ่ืน ๆ ซ่ึงจะได้นำมาเสนอสรุปให้เห็นภาพวิถีของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในจังหวัดตรัง เครื่องมือหินกะเทาะ (Stonetool) เป็นขวานหิน ในช้ันวัฒนธรรมท่ี ๑ ซ่ึงใช้กันในยุคหินเก่าตอน ปลาย (LaetPalaeolithic) มีจำนวน ๑๐๒ ชิ้น เครื่องมือสะเก็ดหิน (Flake) จำนวน ๗๒๑ ชิ้น และสะเก็ดหิน (Wasteflake) จำนวน ๓๖๗ ช้ิน เคร่ืองมือหินเหล่านี้ใช้ล่าสัตว์ เช่น ควายป่า หมูป่า เก้ง โดยตรง และยังใช้ เป็นเคร่ืองมือเพื่อทำเครื่องมือล่าสัตว์อ่ืน ๆ เช่น ไม้ซาง หรือบอเลา–ลูกดอก ตลอดถึงเครื่องดักจับสัตว์ต่าง ๆ อนั เปน็ เคร่อื งมือไม้ (Wood Working) ผลการวิเคราะห์กระดูกสัตว์และเปลือกหอยท่ีพบในถ้ำซาไก ทำให้รู้ว่ามนุษย์บุพกาลบริโภคเนื้อสัตว์ ต่าง ๆ เป็นอาหาร ได้แก่ ค่าง นาก บ่าง กระรอก อ้น เม่น ปลา ลิง หมูป่า หมูหร่ิง พญากระรอกดำ กระรอก บินเล็กแก้มขาว เต่า หอยโล่ หอยน้ำพริก หรือหอยลาย หอยกาบน้ำจดื หอยโขง่ หอยกัน หอยภูเขา หอยเบ้ีย หอยบก หอยแมลงภู่ สรุ ินทร์ ภู่ขจร และคณะ ตคี วามว่า คนยุคก่อนประวัติศาสตรล์ ่าสัตวเ์ ลก็ ๆ ที่อยูบ่ นตน้ ไม้ เช่น ลิง ค่าง พญากระรอกดำ กระรอกบินเลก็ แก้มขาว โดยใช้เครื่องมือไม้ เช่น ไม้ซาง ท่ีชนกลุ่มน้อยเผ่าซาไก นยิ มใชล้ ่าสัตวเ์ หลา่ น้ันในปัจจบุ นั ส่วนหมหู ริง่ และหมูป่า อาจจะใช้วิธีล่าโดยใช้เครือ่ งมือดกั จบั สัตว์เช่นเดยี วกัน กับชนกลุ่มนอ้ ย เผา่ ซาไกในปจั จบุ ัน และหอยต่าง ๆ ทก่ี ล่าวมาทง้ั หมดยกเวน้ หอยจากทะเล เชน่ หอยเบยี้ และ หอยแมลงภู่แลว้ น่าที่จะตีความโดยใช้พฤติกรรมการล่าสัตว์และจับสัตว์ของชนกลุ่มน้อยเผ่าซาไกมาอธิบายได้ ว่า เป็นการจับหอยต่าง ๆ โดยใช้มือจับหรืองมจากแม่น้ำลำธาร หรือหนองบึง เป็นต้น ส่วนหอยเบ้ียน้ันเป็น หอยหายากและพบในปริมาณน้อย ซึ่งได้ถูกนำมาทำเป็นเครื่องประดับทุกช้ิน และน่าสังเกตว่าคนยุคก่อน ประวัติศาสตร์ในห้วงเวลาน้ลี า่ สตั วใ์ หญ่เพียงเล็กนอ้ ย หรือเกือบจะไม่ได้ล่าสตั ว์ใหญเ่ ลย นอกจากพบตัวอย่างเมล็ดพืชจำนวนมากในกองไฟที่ถ้ำซาไกแล้ว ยังพบแกลบที่ถ้ำแกลบ เขาปินะ แสดงว่าคนสมัยนั้นบริโภคธัญพืชด้วย ถ้ำต่าง ๆ เป็นท่ีอยู่อาศัยช่ัวคราว (Temporary camp) และโยกย้าย เปลี่ยนท่ีอยู่ใหม่ตลอดเวลาตามลักษณะฤดูกาลของแหล่งอาหาร (Food seasonality) และในกรณีที่มีสมาชิก ตาย หลังจากฝังศพโดยใส่เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ของผู้ตายในพิธีกรรมฝังศพแล้วก็จะอพยพโยกย้ายไปทันที ภาพเขียนสี เขาแบนะ รูปปลาแสดงโครงร่างภายในลักษณะเดียวกับรูปปลาที่เขาเขียน ตำบลเกาะปันหยี จังหวัดพังงา และรูปปลาแสดงโครงร่างภายนอกตกแตง่ ด้วยลายเส้นภายในที่ถ้ำผหี ัวโต อำเภออ่าวลึก จงั หวัด กระบี่ เศษภาชนะดินเผาหม้อสามขา จากถ้ำเขาปินะ ถ้ำเขาสามบาตร แสดงอารยธรรมมนุษย์ยุคก่อน หม้อ สามขายังเป็นเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ประจำยุคสมัย โดยที่สามารถใช้ไม้ฟืนก่อกองไฟใต้ก้น หม้อ ระบายความร้อนออกทางรูขาหม้อเพ่ือป้องกันการแตกร้าว ขาหม้อยังใช้แทนก้อนเส้าได้เป็นอย่างดีอีก ต่างหาก ชนกลุ่มน้อยที่ใช้ชีวิตเร่ร่อน หาของป่าล่าสตั ว์ อันเป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์หมู่ตรัง เขา สามารถศึกษาได้จากชนเผ่าซาไก ซ่ึงเร่ร่อนไปตามฤดูแห่งผลผลิตจากป่า เทือกเขาบรรทัด เขตอำเภอ

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถ่นิ ๑๐๒๕ ปะเหลียน นับว่าเป็นคุณค่ามหาศาลต่อแวดวงวิชาการก่อนประวัติศาสตร์ เพราะวิถีชีวิตซาไก ทำให้เห็น ร่องรอยมนุษย์ยุคบุพกาล ซ่ึงทะลุมิติข้ามมาถึงปัจจุบันอย่างน่าประหลาดใจนัก ถิ่นฐานก่อนประวัติศาสตร์ แบง่ ได้ ๔ ลักษณะ ตามสถานทตี่ ั้ง คอื - หมู่เขา ไดแ้ ก่ ถำ้ ซาไก ถำ้ หนา้ เขา - หมู่ทงุ่ ชายเขา ไดแ้ ก่ ถำ้ เขานำ้ พราย ถ้ำตรา ถ้ำหมูดนิ ถำ้ เขาหญ้าระ - หม่ทู ุง่ ราบรมิ แม่น้ำ ได้แก่ ถ้ำเขาปนิ ะ ถำ้ เขาสามบาตร ถ้ำเขาไม้แกว้ - หมู่เล ได้แก่ ถำ้ เขาเจา้ ไหม เขาแบนะ ถำ้ เขาโตะ๊ แนะ เมื่อพิจารณาหลักฐานทางโบราณคดี อธิบายวิเคราะห์ได้ว่าแหล่งชุมชนทั้งหมด มีท้ังในยุคก่อนยุคหิน ใหม่ (Pre-Neolithic) ยุคหินกลาง ยุคหินใหม่ บุรพชนเหลา่ น้ันอาศยั ถ้ำเป็นแหล่งพักพิงช่วั คราว ตามฤดูกาลที่ ธรรมชาติให้ผลผลิต พวกเขาบริโภคท้ังสตั ว์บกและสัตว์น้ำ โดยเฉพาะหอย ผลไม้ เมลด็ ธัญพชื และหัวพืชใต้ดิน ซ่ึงมนุษย์ปัจจุบันก็ยังบริโภคอยู่อย่างน้ัน การกำหนดแหล่งชุมชนหมู่เขา หมายถึง ผู้ท่ีอยู่ตามยอดน้ำในเขตป่า เขา เทอื กเขาบรรทัด ส่วนหมู่ทงุ่ ชายเขา ได้แก่ แหล่งชมุ ชนชายเขาถดั ลงมาจากหม่เู ขา หมู่ทุ่งราบรมิ แม่น้ำเป็น แหลง่ ชุมชนในที่ราบลมุ่ แมน่ ้ำ และหมูเ่ ล เปน็ แหลง่ ชมุ ชนชายฝง่ั ทะเล ส่วนถ้ำที่อยู่ในหมู่เขาเป็นถ้ำภูเขาเทือกบรรทัด ถ้ำท่ีอยู่ในหมู่ทุ่งชายเขาและหมู่ทุ่งราบริมแม่น้ำ เป็น ถำ้ ในภูเขาเทอื กส้ัน ๆ ชายเทือกเขาบรรทัด และถ้ำในภูเขาลูกโดดกลางทุ่ง ส่วนถำ้ ท่ีอยู่ในหมู่เล เป็นถ้ำในภูเขา ริมทะเล การยึดเอาถ้ำพำนัก นอกจากอบอุ่นสบายในยามค่ำคืน เย็นสบายในเวลากลางวัน ยังเป็นทำเล เหมาะสมในการหลบภัยธรรมชาติ เช่น พายุ ฝน อุทกภัย ตลอดท้ังอันตรายจากสัตว์ร้าย ทุกถ้ำที่สำรวจแล้ว ล้วนวา่ เปน็ แหล่งพักพงิ มนษุ ย์ก่อนประวตั ศิ าสตร์ อยู่เหนอื ระดับนำ้ ทะเล ๑๐๐–๕๐๐ เมตร แม่น้ำทว่ มในภาวะ ปกติ ถิ่นพำนักอันเป็นธรรมชาตนิ ีก้ ็ชว่ ยใหม้ นษุ ย์พ้นภยั ธรรมชาตไิ ด้ดว้ ย

๑๐๒๖ คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) ใบงานท่ี ๑ เรื่อง การต้ังถิน่ ฐานและการดำเนินชวี ิตของมนษุ ยส์ มัยก่อนประวัติศาสตร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรือ่ ง ภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง การตั้งถิ่นฐานและการดำเนินชวี ติ ของมนษุ ย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ รายวชิ าประวัติศาสตร์ รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ คำช้แี จง ให้นกั เรยี นวเิ คราะห์การตงั้ ถ่ินฐานและการดำเนินชีวติ ของมนุษยส์ มัยก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นหัวข้อ ท่กี ำหนดให้ สรปุ ความรู้พัฒนาการ มนษุ ยย์ งั ตอ้ ง อาศยั ธรรมชาติ สรุปความร้พู ัฒนาการ มนุษยเ์ ร่ิม ตัง้ ถิน่ ฐาน สรปุ ความรพู้ ัฒนาการ มนุษยเ์ ริม่ พัฒนา เปน็ ชุมชน ชื่อ-นามสกุล…………………………………………………………………………………..ชั้น…………………..เลขที…่ …………..

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่อื ง ภมู ิใจในท้องถิน่ ๑๐๒๗ เฉลยใบงานท่ี ๑ เร่ือง การต้ังถ่นิ ฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของมนุษย์สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรอื่ ง ภูมิใจในท้องถน่ิ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๑ เรอ่ื ง การตงั้ ถนิ่ ฐานและการดำเนนิ ชีวิตของมนษุ ย์สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ รายวิชาประวตั ิศาสตร์ รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ คำตอบอยู่ในดุลพนิ ิจของครู คำชี้แจง ให้นกั เรียนวิเคราะห์การต้งั ถ่ินฐานและการดำเนินชวี ิตของมนุษยส์ มัยก่อนประวัตศิ าสตรใ์ นหัวขอ้ ทีก่ ำหนดให้ สรปุ ความรู้พัฒนาการ มนุษยย์ งั ตอ้ ง อาศัยธรรมชาติ สรปุ ความรู้พัฒนาการ มนุษยเ์ ริ่ม ตัง้ ถน่ิ ฐาน สรปุ ความรู้พัฒนาการ มนุษย์เรม่ิ พัฒนา เปน็ ชมุ ชน

๑๐๒๘ คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมินการนำเสนอหน้าชัน้ เรยี น เกณฑ์ ดมี าก (๔) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (๑) การประเมนิ ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การถ่ายทอด คล่องแคลว่ ไม่ติดขดั คลอ่ งแคล่วไม่ ไมค่ ล่องแคล่ว ตดิ ขัด หยุดชะงัก เน้ือหา ทำใหเ้ ขา้ ใจประเด็นได้ ติดขดั ทำใหเ้ ข้าใจ มีการหยดุ ชะงักบ้าง ในหลายจงั หวะ ง่ายและเรว็ การพูดมี ประเดน็ ได้ง่าย บางคร้งั จงั หวะพดู พูดเร็วหรอื ช้า การเวน้ จงั หวะและ การพดู มกี ารเวน้ ชา้ จบั ประเด็นไม่ได้ เกนิ ไป เนน้ คำ เน้นสาระ จังหวะอย่าง สำคัญอย่างเหมาะสม เหมาะสม ความเร็ว เพอ่ื ใหผ้ ู้ฟังติดตาม ในการพูดอย่ใู น การนำเสนอ ความเร็ว ระดับเหมาะสม ในการพูดอยใู่ นระดบั เหมาะสม ๒. บคุ ลิกภาพ มีความม่นั ใจ สบสายตา สบสายตาผฟู้ งั สบสายตาผ้ฟู ังน้อย กม้ หน้าไมส่ บตา ผฟู้ ังตลอดเวลาเพอ่ื พอสมควร น้ำเสียง น้ำเสยี งสน่ั ขาด และน้ำเสยี งส่นั ดึงดดู ให้ผ้ฟู ังสนใจใน สะท้อนถงึ ความ ความมัน่ ใจ เสยี ง และเบา เนื้อหาทีถ่ ่ายทอด ม่ันใจ เสยี งดัง เบาและดังสลบั ไป เสียงดังพอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใช้ภาษา คลอ่ งแคล่ว เชน่ ยก แสดงกริยาทา่ ทาง ใช้ภาษากาย ไม่ใช้ภาษากาย กายในการส่ือสาร มอื /ผายมือ แสดงกรยิ า ประกอบการ สอื่ สารนอ้ ยคร้ัง สอ่ื สาร ท่าทางประกอบการ นำเสนอพอสมควร นำเสนอเพ่ือดึงดูดความ สนใจ ๔. ความเหมาะสม ใช้เวลาในการนำเสนอ ใชเ้ วลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ เสนอเกนิ เวลาท่ี เสนอเกินเวลาที่ กบั เวลา เหมาะสม เสนอเกนิ เวลาท่ี กำหนด ๔-๕ นาที กำหนด มากกว่า ๕ นาทขี ึ้นไป กำหนด ๑-๓ นาที เกณฑก์ ารให้คะแนน ดมี าก คะแนน ๑๓–๑๖ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน ๙–๑๒ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕–๘ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง คะแนน ๑–๔ คะแนน หมายถึง เกณฑก์ ารผ่าน ต้งั แต่ ๕ คะแนน ขนึ้ ไป

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ เร่อื ง ภูมใิ จในท้องถ่ิน ๑๐๒๙ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคณุ ภาพ ๑. การรว่ มกิจกรรม ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ๒. การรบั ฟังความ คิดเห็นของผู้อนื่ มคี วามกระตือรือรน้ ใน มีความกระตือรือร้นใน ไมม่ ีความกระตอื รือรน้ ๓. ความรับผิดชอบ การรว่ มกจิ กรรมอยา่ ง การร่วมกิจกรรมใน ในการร่วมกิจกรรม ๔. ขยนั หมัน่ เพียร สมำ่ เสมอ บางครั้ง ๕. ตรงต่อเวลา รับฟงั ความคิดเหน็ ของ รับฟงั ความคดิ เห็นของ ไมร่ ับฟังความคิดเห็น ผูอ้ ืน่ อย่างสม่ำเสมอ ผอู้ น่ื เปน็ บางครั้ง ของผู้อ่ืน มคี วามรบั ผดิ ชอบในงาน มีความรบั ผิดชอบในงาน ไม่มีความรบั ผิดชอบใน ท่ไี ดร้ ับมอบหมายอยา่ ง ทีไ่ ด้รับมอบหมายใน งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย สมำ่ เสมอ บางครั้ง มคี วามขยนั หม่นั เพยี ร มีความขยนั หมั่นเพยี ร ไมม่ ีความขยันหม่นั เพยี ร พยายามทำงานให้สำเรจ็ พยายามทำงานใหส้ ำเร็จ พยายามทำงานให้สำเรจ็ อยา่ งสม่ำเสมอ เป็นบางครง้ั ส่งชนิ้ งานภายในเวลาที่ ส่งผลงานเสรจ็ ตรงเวลา สง่ ผลงานชา้ กว่าเวลา กำหนด กำหนด เกณฑก์ ารให้คะแนน ดี คะแนน ๑๑–๑๕ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๖–๑๐ คะแนน หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน ๑–๕ คะแนน หมายถึง เกณฑ์การผา่ น ตัง้ แต่ ๖ คะแนน ขนึ้ ไป

๑๐๓๐ คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ ใบงาน คำช้ีแจง ใหค้ รูผู้สอนประเมนิ ใบงานของนักเรยี นแลว้ ให้ทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ ชอื่ –สกลุ การร่วม การรับฟัง ความ ขยนั หมนั่ เพียร ตรงต่อเวลา รวม กิจกรรม ความคดิ เห็น รบั ผดิ ชอบ ๒๐ คะแนน ของผู้อน่ื ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑๔๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงช่ือ................................................................ผ้ปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ นักเรยี นที่ไดร้ ะดบั คุณภาพพอใชข้ น้ึ ไป ถือว่า ผ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรบั ปรุง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถ่ิน ๑๐๓๑ แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี นรายบุคคล ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ วนั ท.่ี ......................เดือน.......................................พ.ศ......................... เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับที่ ชอ่ื –สกลุ ความ ความสนใจ การ มีส่วน รวม ระดับ ตั้งใจใน และการ ตอบ ร่วมใน (๑๖) คุณภาพ การเรยี น ซักถาม คำถาม กจิ กรรม (๔) (๔) (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่อื ........................................................ผ้ปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมินในการสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล ดังน้ี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นักเรียนที่ได้ระดับคณุ ภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรุง

๑๐๓๒ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล (Rubric) ประเด็น เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ตอ้ งปรับปรุง (๑) ๑. ความตั้งใจใน สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น ไม่สนใจใน การเรียน ไม่คยุ หรือเลน่ กนั คยุ กันเลก็ น้อย คุยกนั และเล่นกนั การเรียน คุยและ ในขณะเรียน ในขณะเรียน ในขณะเรียนเปน็ เล่นกันในขณะ บางครั้ง เรียน ๒. ความสนใจและ มีการถามในหัวข้อท่ี มีการถามในหวั ข้อ มีการถามในหัวข้อ ไมถ่ ามในหวั ข้อที่ การซักถาม ตนไม่เข้าใจทุกเรื่อง ที่ตนไมเ่ ขา้ ใจเป็น ทีต่ นไมเ่ ข้าใจเปน็ ตนไม่เข้าใจและ และกลา้ แสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางคร้งั และไม่ค่อย ไม่กล้าแสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก ๓. การตอบคำถาม ร่วมตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ไม่ตอบคำถาม เรื่องท่ีครูถามและ เรื่องท่ีครูถามและ เรอ่ื งที่ครถู ามเป็น ตอบคำถามถูกทุกข้อ ตอบคำถาม บางครั้งและตอบ สว่ นมากถกู คำถามถูกเป็น บางครงั้ ๔. มสี ว่ นร่วมใน ร่วมมอื และ ร่วมมือและ รว่ มมือและ ไม่มีความรว่ มมือ กิจกรรม ช่วยเหลอื เพอื่ นใน ช่วยเหลือเพื่อน ชว่ ยเหลือเพ่อื นใน ในขณะทำ การทำกิจกรรม เป็นส่วนใหญ่ใน การทำกิจกรรม กจิ กรรม การทำกิจกรรม เปน็ บางครงั้

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เรือ่ ง ภมู ใิ จในท้องถนิ่ ๑๐๓๓ แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ วนั ท.ี่ ......................เดือน......................................พ.ศ.............................. เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับท่ี ช่ือกลุ่ม การ การสนทนา การ พฤติกรรม รวม ระดับ ปฏสิ ัมพนั ธ์ เรื่อง ติดต่อสื่อสาร การทำงาน (๑๖) คุณภาพ ๑ ๒ กนั ท่กี ำหนด กลุ่ม ๓ ๔ (๔) (๔) (๔) (๔) ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่ือ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ดงั นี้ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรุปผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นักเรียนท่ไี ด้ระดบั คณุ ภาพพอใช้ขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรงุ

๑๐๓๔ คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียนรายกลุ่ม (Rubric) ประเด็น เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ตอ้ งปรับปรุง (๑) ๑. การ ร่วมมือและช่วยเหลือ ร่วมมือและ รว่ มมอื และ ไมใ่ หค้ วามร่วมมือ ปฏสิ มั พันธ์กนั เพ่อื นในการทำ ช่วยเหลือเพื่อนเปน็ ชว่ ยเหลอื เพ่อื นใน ในขณะทำ กิจกรรม สว่ นใหญ่ในการทำ การทำกจิ กรรมเปน็ กิจกรรม กิจกรรม บางครง้ั ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเด็น สนทนาไม่ตรง เร่ืองท่ีกำหนด ครอบคลุมเนอ้ื หา ครอบคลุมเน้ือหา ประเดน็ บางส่วน ๓. การตดิ ตอ่ มีการปรกึ ษาครแู ละ มกี ารปรึกษาครูและ มีการปรึกษาครแู ละ ไมม่ ีการปรกึ ษาครู สื่อสาร เพอ่ื นกลุ่มอื่น ๆ เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ และเพ่ือนกลุ่มอื่น ๆ เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางคร้ัง ๔. พฤติกรรม มีการวางแผนอยา่ ง มกี ารวางแผนอย่าง มีการวางแผนอยา่ ง ไมม่ ีการวางแผน การทำงาน เป็นระบบ และแบ่ง เป็นระบบ และแบง่ เป็นระบบ และแบง่ อย่างเปน็ ระบบ หน้าที่ของสมาชกิ หน้าที่ของสมาชกิ หนา้ ที่ของสมาชกิ และไมม่ กี ารแบง่ ในกลมุ่ ในกลมุ่ เป็นส่วนใหญ่ ในกลุ่มเปน็ บางครั้ง หน้าทข่ี องสมาชิก ในกลมุ่

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ เรือ่ ง ภมู ใิ จในท้องถนิ่ ๑๐๓๕ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คำชี้แจง ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียนแลว้ ขีด ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน รายการ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏิบตั ิ ประเมิน ๓๒๑ ๑. มวี ินัย ๑.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครวั รับผดิ ชอบ และโรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ใน ชีวติ ประจำวันมีความรบั ผิดชอบ ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๒.๑ ตง้ั ใจเรยี น ๒.๒ เอาใจใสใ่ นการเรยี นและมีความเพยี รพยายามในการเรียน ๒.๓ เขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนร้ตู า่ ง ๆ ๒.๔ ศึกษาคน้ คว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สง่ิ พิมพ์ สอื่ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น และ เลือกใชส้ ่อื ได้อยา่ งเหมาะสม ๒.๕ บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางสิง่ ทเ่ี รยี นรู้ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ ๒.๖ แลกเปลีย่ นความรู้ ดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ และนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ๓. มุ่งม่ันใน ๓.๑ มีความตัง้ ใจและพยายามในการทำงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย การทำงาน ๓.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือใหง้ านสำเรจ็ ลงช่ือ................................................................ผู้ประเมิน ...................../..................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครง้ั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดังนี้ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดีมาก นักเรียนท่ไี ดร้ ะดบั คุณภาพผา่ นขึ้นไป ถือวา่ ผา่ น ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผา่ น ๐-๗ ไม่ผ่าน

๑๐๓๖ คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คำช้ีแจง ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียนแล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน รายการประเมิน พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มคี วามสามารถในการรับ–สง่ สาร การสือ่ สาร ๑.๒ มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ๒. ความสามารถใน ความเขา้ ใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม การคดิ ๒.๑ มีทกั ษะในการคิดนอกกรอบอยา่ งสร้างสรรค์ ๓. ความสามารถใน ๒.๒ มคี วามสามารถในการคิดอยา่ งมรี ะบบ การใชท้ กั ษะชวี ติ ๓.๑ สามารถทำงานกลมุ่ รว่ มกบั ผู้อื่นได้ ๓.๒ นำความรู้ท่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน ลงชอ่ื ................................................................ผู้ประเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้งั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง เกณฑก์ ารให้คะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ดงั น้ี ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรุปผลการประเมิน ๑๖-๑๘ ดีมาก นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คุณภาพผ่านขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผ่าน ๐-๙ ไมผ่ ่าน

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรื่อง ภูมิใจในท้องถิ่น ๑๐๓๗ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรื่อง หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ่แี สดงพฒั นาการของมนษุ ย์ทีพ่ บในท้องถิ่น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรือ่ ง ภมู ิใจในท้องถน่ิ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาประวัตศิ าสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถงึ ปจั จุบัน ในด้านความสมั พนั ธแ์ ละ การเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์อยา่ งต่อเน่ือง ตระหนกั ถงึ ความสำคัญและสามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ ตวั ชว้ี ดั ป.๔/๑ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ทีพ่ บในท้องถิน่ ทแี่ สดงพฒั นาการของมนุษยชาติ ๒. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เรื่องราวของมนษุ ยส์ มัยก่อนประวัตศิ าสตร์สามารถศึกษาได้จากหลกั ฐานต่าง ๆ เชน่ เครื่องป้ันดินเผา เคร่ืองประดับ ภาพเขยี นสีตามผนงั ถำ้ โครงกระดกู ทขี่ ุดพบในท้องถ่นิ ต่าง ๆ ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) อธบิ ายลักษณะหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่แสดงพฒั นาการของมนุษย์ยคุ หินท่ีพบในท้องถน่ิ ได้ ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) วเิ คราะห์ลกั ษณะความคล้ายคลึงและแตกต่างของเครื่องมือเครื่องใช้ในสมยั ปัจจุบันกบั ยุคหนิ ๓.๓ ด้านคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) เห็นความสำคญั ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของมนุษย์ยคุ หิน ๔. สาระการเรียนรู้ หลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ี่แสดงพฒั นาการของมนุษยท์ ี่พบในท้องถ่นิ ๕. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน ๑. ความสามารถในการคิด ๒. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ๖. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้

๑๐๓๘ คู่มือคร การจดั กิจกรรมการเรยี นร แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง หลักฐานทางประว รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ลำดับที่ จดุ ประสงค์ ข้นั ตอนการจัด เวลาที่ แ ๑. การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ใช้ กิจกรรมครู ขั้นนำ ๑๐ ๑. ครนู ำภาพหลกั ฐาน นาที ประวัตศิ าสตร์ยุคก่อน ประวัตศิ าสตร์มาใหน้ กั ๒. ครตู งั้ ประเด็นคำถา นกั เรียนร่วมอภิปรายแ ความคิดเหน็ ๑) หลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ในภาพเ ยุคใด ๒) สิ่งใดเปน็ หลักฐาน ประวัติศาสตรใ์ นภาพบ ความเปน็ อยู่ของคนใน ๓. ครอู ธิบายเพิ่มเติมว หลักฐานทางโบราณคด นัน้ แสดงพฒั นาการขอ ทีพ่ บในท้องถนิ่

รแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) รู้ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ วัติศาสตรท์ ่ีแสดงพัฒนาการของมนษุ ยท์ ีพ่ บในทอ้ งถ่ิน จำนวน ๑ ช่วั โมง แนวการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมนิ กิจกรรมนกั เรียน การเรียนรู้ - การสงั เกต นทาง ๑. นกั เรียนดูภาพหลักฐาน - PowerPoint - การประเมิน น ทางประวัติศาสตร์ยคุ ก่อน ภาพหลักฐานทาง กเรยี นดู ประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตรย์ คุ ามให้ ๒. นักเรียนตอบคำถาม หิน แสดง ๑) แนวคำตอบ ยุคหนิ เกดิ ข้นึ ใน นทาง ๒) แนวคำตอบ การนำหนิ มา บอกถึง ทำเปน็ เครื่องประดบั นยุคน้นั ว่า ๓. นักเรียนฟังครูอธบิ าย ดีที่พบ เพ่มิ เติม องมนุษย์

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรือ่ ง ภมู ิใจในท้องถิน่ ลำดบั ที่ จดุ ประสงค์ ข้ันตอนการจดั เวลาที่ แ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ใช้ กจิ กรรมครู ๒. ๑. อธบิ ายลักษณะ ขั้นสอน ๑๐ ๑. ครูให้นักเรยี นศกึ ษา หลกั ฐานทาง นาที หลักฐานทางโบราณคด ประวตั ิศาสตร์ที่ พัฒนาการของมนษุ ย์ย แสดงพัฒนาการ พบในท้องถิน่ จาก ของมนษุ ยย์ ุคหนิ PowerPoint ที่พบในท้องถิน่ ได้ ๒. ครใู ห้นักเรียนร่วมก ขอ้ มลู เกยี่ วกบั หลักฐาน โบราณคดีท่ีแสดงพัฒน ของมนษุ ยย์ ุคหินที่พบ ทอ้ งถนิ่ โดยครอู ธิบาย ให้เขา้ ใจยิ่งขน้ึ ๓. ๒. อธิบายลักษณะ ขน้ั ปฏิบตั ิ ๒๐ ๑. ครูใหน้ ักเรียนติดแถ หลักฐานทาง นาที ขอ้ ความของหลกั ฐานท ประวตั ศิ าสตร์ท่ี รอ่ งรอยการต้ังหลกั แห แสดงพฒั นาการ มนษุ ย์ยุคหินว่าพบอยใู่ ของมนุษย์ยุคหิน ไหนของดินแดนไทย เ ที่พบในทอ้ งถิ่นได้ - เคร่ืองมือหนิ กะเทา ๓. วเิ คราะห์ แมท่ ะ (ภาคเหนอื ) ลักษณะความ - เครอื่ งมือหิน บริเวณ

๑๐๓๙ แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมิน กิจกรรมนกั เรียน การเรียนรู้ - แบบสังเกต า เรื่อง ๑. นักเรียนศึกษาข้อมลู - แบบประเมนิ - การสังเกต ดีทีแ่ สดง เกี่ยวกับหลกั ฐานทาง - การประเมิน ยุคหนิ ที่ โบราณคดีทีแ่ สดงพัฒนาการ ของมนุษยย์ คุ หินที่พบใน ทอ้ งถ่ินจาก PowerPoint กนั สรุป ๒. นกั เรียนรว่ มกนั สรปุ นทาง เกีย่ วกบั หลกั ฐานทาง นาการ โบราณคดีทีแ่ สดงพัฒนาการ บใน ของมนษุ ย์ยคุ หนิ ทีพ่ บใน ยเพมิ่ เติม ทอ้ งถิ่น ถบ ๑. นกั เรยี นตดิ แถบข้อความ - PowerPoint - การสงั เกต ทีเ่ ป็น ของหลักฐานทเี่ ป็นร่องรอย - แถบข้อความ - การประเมนิ หล่งของ การตง้ั หลักแหล่งของมนุษย์ - แบบสงั เกต ในภาค ยุคหินว่าพบอยู่ในภาคไหน - แบบประเมนิ เชน่ ของดินแดนไทย าะ ทบี่ า้ น ณฝงั่

๑๐๔๐ ค่มู อื คร ลำดบั ที่ จุดประสงค์ ขนั้ ตอนการจดั เวลาที่ แน การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ใช้ กิจกรรมครู คล้ายคลงึ และ แมน่ ำ้ โขง (ภาคอีสาน/ แตกตา่ งของ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ) เครือ่ งมือ - เศษภาชนะดนิ เผา บร เครอื่ งใช้ในสมยั แมน่ ้ำแควน้อย (ภาคตะ ปัจจุบนั กับยคุ ๒. ครใู ห้นักเรียนรว่ มก หนิ อภปิ รายวิเคราะห์เคร่อื เครอ่ื งใช้ในยุคปจั จบุ นั มีลักษณะคล้ายคลงึ แล แตกตา่ งกับยุคหินหรือ อยา่ งไร ๓. ครใู ห้นกั เรยี นจับคู่ ให้นกั เรียนทำใบงาน เ หลกั ฐานเครื่องมอื เคร ของมนษุ ยย์ ุคหินในภูม ตา่ ง ๆ ของประเทศไท

รแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) นวการจัดการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน กิจกรรมนักเรียน การเรยี นรู้ ริเวณ ๒. นักเรียนรว่ มกนั อภิปราย - ใบงานที่ ๒ เรอื่ ง - การตรวจ ะวนั ตก) วเิ คราะหว์ ่าเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ หลกั ฐานเครื่องมอื งาน กนั ในยุคปัจจุบนั กับยุคหิน เครอื่ งใชข้ องมนุษยย์ ุค - การสงั เกต องมอื มีลกั ษณะ ดังน้ี หินในภมู ภิ าค - การประเมนิ น คล้ายคลงึ : ทำจาก ต่าง ๆ ของประเทศไทย ละ ทรพั ยากรธรรมชาติ อไม่ แตกตา่ ง : สมัยปจั จุบันผลติ จากวัสดุท่หี ลากหลาย ยุคหนิ แลว้ ทำจากหินเท่าน้ัน เร่ือง ๓. นักเรยี นจบั คู่ แลว้ ทำ ร่ืองใช้ ใบงาน เร่ือง หลักฐาน มิภาค เครื่องมอื เครอื่ งใชข้ องมนษุ ย์ ทย ยคุ หินในภมู ิภาคต่าง ๆ ของ ประเทศไทย

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เร่อื ง ภูมิใจในท้องถนิ่ ลำดับที่ จุดประสงค์ ข้นั ตอนการจดั เวลา แน การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรมครู ๔. ๔. เหน็ ความสำคญั ข้ันสรปุ ๑๐ ๑. ครูส่มุ ตัวแทนนกั เรียน ของหลกั ฐานทาง นาที ออกมานำเสนอใบงาน เร ประวัตศิ าสตร์ ของมนษุ ยย์ ุคหนิ หลกั ฐานเครือ่ งมอื เครอ่ื งใ ของมนษุ ยย์ คุ หนิ ในภูมภิ า ตา่ ง ๆ ของประเทศไทย ๒. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง ๓. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั องค์ความรู้

๑๐๔๑ นวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ น ๓ คู่ ๑. ตัวแทนนักเรยี น ๓ คู่ออกมา - แบบสังเกต ร่ือง นำเสนอผลงาน ใช้ - แบบประเมิน าค - ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง - การตรวจ น ๒. นักเรียนรว่ มกันตรวจสอบ ความถูกต้อง หลกั ฐานเคร่ืองมือ งาน นสรุป ๓. นักเรียนรว่ มกนั สรปุ เครื่องใช้ของ - การสงั เกต หลักฐานทางโบราณคดีที่เปน็ เครอื่ งมอื เครอ่ื งใชข้ องมนุษย์ มนษุ ย์ยคุ หินใน - การประเมนิ ยคุ หนิ สว่ นใหญท่ ำจากหนิ พบ ท่วั ทกุ ภาคในประเทศไทย ภมู ภิ าคต่าง ๆ การพบร่องรอยหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตร์ของมนุษยย์ คุ หิน ของประเทศไทย ทำใหท้ ราบเร่ืองราวในอดีต และ ววิ ัฒนาการของมนุษย์ในอดตี - แบบสงั เกต - แบบประเมิน

๑๐๔๒ คูม่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) ๘. สอ่ื การเรยี นรู/้ แหล่งเรยี นรู้ ๑. PowerPoint เร่ือง หลักฐานทางโบราณคดีทีแ่ สดงพัฒนาการของมนษุ ย์ยุคหินท่พี บในท้องถน่ิ ๒. แถบขอ้ ความ ๓. ใบงานที่ ๒ เรอื่ ง หลักฐานเครื่องมอื เคร่ืองใชข้ องมนษุ ยย์ ุคหินในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ชนิ้ งานหรือภาระงาน ใบงานท่ี ๒ เร่ือง หลกั ฐานเครื่องมือเคร่ืองใช้ของมนุษย์ยุคหินในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย การวัดและประเมนิ ผล ประเด็นการวัด วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ และประเมินผล ด้านความรู้ - ตรวจใบงาน - ใบงานท่ี ๒ เรื่อง ผ่านเกณฑ์การประเมิน - การสงั เกต หลกั ฐานเครอ่ื งมือ รอ้ ยละ ๖๐ - การประเมนิ เครอ่ื งใช้ของมนษุ ย์ยุค หนิ ในภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย - แบบสังเกต - แบบประเมนิ ด้านทักษะ กระบวนการ - การสังเกต - แบบสังเกต ผา่ นเกณฑ์การประเมิน - การประเมนิ - แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ประเมนิ ระดบั คุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป ดา้ นคณุ ลักษณะ ประเมิน รักชาติ ศาสน์ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับ อนั พึงประสงค์ กษัตรยิ ์ ใฝ่เรยี นรู้ อนั พึงประสงค์ คณุ ภาพพอใชข้ ้นึ ไป มุง่ ม่ันในการทำงาน สมรรถนะสำคัญ ประเมินความสามารถ แบบประเมนิ สมรรถนะ ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับ ของผู้เรียน ในการคิด ความสามารถ สำคญั ของผู้เรยี น คุณภาพพอใชข้ ้นึ ไป ในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ ในทักษะชวี ติ

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง ภูมใิ จในท้องถนิ่ ๑๐๔๓ ๑๐. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... .......... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ข้อจำกดั การใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………...………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงชอื่ ……………………………………………………….ผู้สอน (…...........………………………………………….) วันท่ี……………เดือน……………………………พ.ศ……………… ๑๑. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารหรือผ้ทู ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ……………………………………………………….ผ้ตู รวจ (…...........………………………………………….) วนั ท…่ี …………เดือน……………………………พ.ศ………………

๑๐๔๔ คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) ใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง หลกั ฐานเครือ่ งมือเคร่ืองใช้ของมนุษยย์ ุคหนิ ในภมู ิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรือ่ ง ภูมใิ จในท้องถิ่น คำชแี้แผจนงกรใาาหรยจน้วดัชิกั กาเารปรยี รเรนะียววนาตั รดศิ ูท้ ภาี่ สา๒ตพเรรร์อื่ะบงรหาหยสัลสวักิชแีฐลาานะสเทข๑ายี๔งปน๑รต๐ะวัว๒อตั ยิศา่ างสภแตาหรค์ทลเ่งีแ่รทสยี ดขน่ี งดุทพพี่ ๑ัฒบนเคากรชา่อื ร้นังขมปออืรงเะมคถนรมษุ่อื ศยงกึ ใท์ ชษ่ีพข้าบอปใงีทนมที่ ๔น้อุษงถยน่ิ ย์ ุค คำช้แี จง ให้นกั เรยี นวาดภาพระบายสีและเขยี นตัวอย่างแหล่งทข่ี ดุ พบเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษยย์ ุคหินท่ีพบ ในภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศไทยที่ครกู ำหนดให้ ตัวอย่าง ภาชนะดินเผาลายเขยี นสี พบทบ่ี า้ นเชียง จ.อดุ รธานี ทีม่ าของภาพ http://www.prathai.ac.th/image/Web%20 Sakulvong-6-7-2016/WEB/p2.html

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เร่ือง ภมู ใิ จในท้องถิ่น ๑๐๔๕ เฉลยใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง หลกั ฐานเครอื่ งมือเครอื่ งใช้ของมนุษยย์ ุคหนิ ในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรื่อง ภมู ใิ จในท้องถน่ิ คำชแี้แผจนงกรใาาหรยจน้วัดิชกั กาเารปรยี รเรนะยี ววนาัตรดิศทู้ ภาี่ สา๒ตพเรรร์ือ่ะบงรหาหยัสลสวักชิแีฐลาานะสเทข๑ายี๔งปน๑รต๐ะวัว๒อตั ยิศ่าางสภแตาหรคท์ลเง่ี่แรทสยี ดขน่ี งดุทพพ่ี ๑ฒั บนเคากรชาอ่ื ร้ันงขมปออืรงเะมคถนรมุษ่อื ศยงกึ ใ์ทชษี่พข้าบอปใงีทนมที่ ๔นอ้ ุษงถยน่ิ ์ยุค คำช้แี จง ใหน้ ักเรียนวาดภาพระบายสีและเขยี นตัวอยา่ งแหลง่ ที่ขุดพบเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษยย์ ุคหนิ ท่ีพบ ในภมู ิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยท่ีครกู ำหนดให้ คำตอบอย่ใู นดลุ พนิ ิจของครู ตัวอย่าง ภาชนะดนิ เผาลายเขียนสี พบทีบ่ า้ นเชียง จ.อดุ รธานี ท่มี าของภาพ http://www.prathai.ac.th/image/Web%20 Sakulvong-6-7-2016/WEB/p2.html

๑๐๔๖ คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ การนำเสนอหน้าชัน้ เรยี น เกณฑ์ ดมี าก (๔) ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ (๑) การประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การถ่ายทอด คล่องแคลว่ ไม่ติดขดั คลอ่ งแคล่วไม่ ไมค่ ล่องแคลว่ ตดิ ขัด หยดุ ชะงัก เน้ือหา ทำใหเ้ ขา้ ใจประเด็นได้ ติดขดั ทำใหเ้ ข้าใจ มีการหยดุ ชะงักบ้าง ในหลายจงั หวะ ง่ายและเรว็ การพูดมี ประเดน็ ได้ง่าย บางคร้งั จงั หวะพดู พูดเร็วหรอื ช้า การเวน้ จังหวะและ การพดู มกี ารเวน้ ชา้ จบั ประเดน็ ไม่ได้ เกนิ ไป เนน้ คำ เน้นสาระ จังหวะอย่าง สำคัญอยา่ งเหมาะสม เหมาะสม ความเร็ว เพอ่ื ใหผ้ ู้ฟังติดตาม ในการพูดอย่ใู น การนำเสนอ ความเร็ว ระดับเหมาะสม ในการพูดอยใู่ นระดบั เหมาะสม ๒. บคุ ลิกภาพ มีความม่ันใจ สบสายตา สบสายตาผฟู้ งั สบสายตาผ้ฟู ังน้อย กม้ หน้าไมส่ บตา ผฟู้ ังตลอดเวลาเพอ่ื พอสมควร น้ำเสียง น้ำเสยี งสน่ั ขาด และน้ำเสยี งส่นั ดึงดดู ให้ผ้ฟู ังสนใจใน สะท้อนถงึ ความ ความมัน่ ใจ เสียง และเบา เนื้อหาทีถ่ ่ายทอด ม่ันใจ เสยี งดัง เบาและดังสลับไป เสียงดังพอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใช้ภาษา คลอ่ งแคล่ว เชน่ ยก แสดงกริยาทา่ ทาง ใช้ภาษากาย ไม่ใช้ภาษากาย กายในการสื่อสาร มอื /ผายมือ แสดงกรยิ า ประกอบการ สอื่ สารนอ้ ยครง้ั สอ่ื สาร ท่าทางประกอบการ นำเสนอพอสมควร นำเสนอเพ่ือดงึ ดูดความ สนใจ ๔. ความเหมาะสม ใช้เวลาในการนำเสนอ ใช้เวลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ กบั เวลา เหมาะสม เสนอเกนิ เวลาท่ี เสนอเกนิ เวลาที่ เสนอเกินเวลาที่ กำหนด ๑-๓ นาที กำหนด ๔-๕ นาที กำหนด มากกวา่ ๕ นาทขี ึ้นไป เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน ๑๓–๑๖ คะแนน หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๙–๑๒ คะแนน หมายถึง ดี คะแนน ๕–๘ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑–๔ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ตัง้ แต่ ๕ คะแนน ขนึ้ ไป

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรอื่ ง ภมู ใิ จในท้องถนิ่ ๑๐๔๗ แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมิน ระดบั คุณภาพ ๑. การร่วมกิจกรรม ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรุง (๑) ๒. การรบั ฟงั ความ คิดเห็นของผู้อ่ืน มีความกระตือรอื รน้ ใน มคี วามกระตือรือร้นใน ไม่มีความกระตอื รือรน้ ๓. ความรบั ผิดชอบ การรว่ มกิจกรรมอยา่ ง การร่วมกจิ กรรมใน ในการร่วมกิจกรรม ๔. ขยนั หมั่นเพียร สม่ำเสมอ บางคร้งั ๕. ตรงตอ่ เวลา รบั ฟังความคิดเห็นของ รับฟังความคดิ เห็นของ ไม่รับฟังความคดิ เหน็ ผู้อน่ื อยา่ งสม่ำเสมอ ผูอ้ ืน่ เป็นบางครั้ง ของผู้อ่นื มีความรบั ผิดชอบในงาน มคี วามรบั ผดิ ชอบในงาน ไม่มีความรับผิดชอบใน ท่ไี ดร้ ับมอบหมายอย่าง ท่ไี ดร้ บั มอบหมายใน งานท่ไี ด้รับมอบหมาย สม่ำเสมอ บางครง้ั มคี วามขยนั หม่นั เพียร มคี วามขยันหมั่นเพียร ไมม่ ีความขยนั หมั่นเพยี ร พยายามทำงานให้สำเรจ็ พยายามทำงานใหส้ ำเรจ็ พยายามทำงานใหส้ ำเร็จ อยา่ งสม่ำเสมอ เปน็ บางครั้ง สง่ ชน้ิ งานภายในเวลาท่ี ส่งผลงานเสร็จตรงเวลา สง่ ผลงานช้ากวา่ เวลา กำหนด กำหนด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดี คะแนน ๑๑–๑๕ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๖–๑๐ คะแนน หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน ๑–๕ คะแนน หมายถงึ เกณฑ์การผา่ น ตัง้ แต่ ๖ คะแนน ข้นึ ไป

๑๐๔๘ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ ใบงาน คำช้ีแจง ใหค้ รูผ้สู อนประเมนิ ใบงานของนักเรยี นแลว้ ให้ทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ ชอื่ –สกลุ การร่วม การรับฟัง ความ ขยนั หม่ันเพียร ตรงต่อเวลา รวม กิจกรรม ความคดิ เห็น รบั ผดิ ชอบ ๒๐ คะแนน ของผู้อน่ื ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑๔๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงช่ือ................................................................ผ้ปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ นักเรยี นที่ไดร้ ะดับคุณภาพพอใชข้ น้ึ ไป ถือว่า ผ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรบั ปรุง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook