Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

Published by elibraryraja33, 2021-08-04 07:18:20

Description: 64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

Search

Read the Text Version

รแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แนวการจัดการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมนิ กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู้ จารตี ประเพณแี ละวฒั นธรรม ความเชื่อและศาสนา” ยวกบั การ ๔. นักเรยี นฟงั ครูอธิบายเพิม่ เติม นชวี ิต และซักถามข้อสงสยั ย ภิปราย นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายสรปุ ใบงานที่ ๘ เรื่อง - การตรวจงาน นแผนผงั องค์ความรู้และเขียนแผนผัง การต้งั ถิ่นฐาน - การสงั เกต เนินชีวิต ความคิดเกี่ยวกับการดำเนินชีวติ และการดำเนิน - การประเมิน คนสมัย และการต้ังถนิ่ ฐานของคนสมัย ชีวติ ของคน สโุ ขทัยบันทกึ ลงใบงาน สมยั สโุ ขทยั - แบบสงั เกต - แบบประเมิน น ๓ กลมุ่ ๑. นักเรียนตัวแทนกลมุ่ - ใบงานที่ ๘ - การตรวจงาน นำเสนอผลงาน เรื่อง การต้ัง - การสังเกต กัน ๒. นกั เรียนร่วมกันตรวจสอบ ถิน่ ฐานและ - การประเมิน ความถกู ตอ้ ง การดำเนินชวี ติ กันสรุป ๓. นักเรยี นร่วมกันสรปุ ของคนสมัย หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์สมยั สโุ ขทัย

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๒ เร่ือง ภมู ใิ จในท้องถิน่ ลำดับที่ จดุ ประสงค์ ขั้นตอนการจดั เวลา แ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมครู

๑๑๗๕ แนวการจดั การเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ กจิ กรรมนกั เรยี น การเรยี นรู้ สโุ ขทยั มคี วามสัมพันธ์กับวิถี - แบบสังเกต การดำเนนิ ชวี ิตของคนสมยั - แบบประเมนิ สโุ ขทยั ทำให้รู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เกดิ ขึ้นในสมยั นัน้ ด้าน การปกครอง การดำเนินชีวติ ประจำวนั ด้านอาชีพ ความเชื่อ และศาสนา จารีต ประเพณแี ละ วฒั นธรรม ระบบเศรษฐกจิ การติดต่อค้าขายทงั้ ในและนอก อาณาจักร และความสัมพันธ์ ระหวา่ งประเทศได้เป็นอย่างดี แสดงถึงความเจรญิ รงุ่ เรอื ง

๑๑๗๖ คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) ๘. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ ๑. PowerPoint แผนท่ีอาณาเขตอาณาจกั รสุโขทยั ๒. PowerPoint ภาพหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์สมยั สุโขทัย ๓. ใบความรู้ที่ ๕ เร่อื ง การตั้งถ่นิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมัยสโุ ขทยั ๔. ใบงานที่ ๘ เรื่อง การตั้งถ่ินฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมยั สุโขทัย ๙. การประเมินผลรวบยอด ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ใบงานท่ี ๘ เรื่อง การตั้งถิ่นฐานและการดำเนนิ ชีวิตของคนสมัยสโุ ขทัย การวัดและประเมนิ ผล ประเดน็ การวัด วิธีการ เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน และประเมนิ ผล ด้านความรู้ - ตรวจใบงาน - ใบงานท่ี ๘ เร่ือง การต้ัง ผ่านเกณฑ์การประเมนิ - คำถาม ถ่ินฐานและการดำเนนิ รอ้ ยละ ๖๐ - การสงั เกต ชวี ติ ของคนสมัยสโุ ขทัย - การประเมนิ - แบบสงั เกต - แบบประเมนิ ดา้ นทักษะ กระบวนการ - ตรวจใบงาน - ใบงานที่ ๘ เรอ่ื ง การ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ - การสงั เกต ตัง้ ถ่ินฐานและการดำเนิน ร้อยละ ๖๐ - การประเมิน ชวี ิตของคนสมัยสโุ ขทยั - แบบสงั เกต - แบบประเมนิ ด้านคุณลักษณะ เจตคติ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมินพฤติกรรม ผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ ระดบั คุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป ดา้ นคุณลักษณะอนั พึง ประเมิน รักชาติ ศาสน์ แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ประเมินระดับ ประสงค์ กษัตริย์ มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อันพงึ ประสงค์ คุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป มงุ่ มั่นในการทำงาน สมรรถนะสำคัญ ประเมินความสามารถ แบบประเมนิ สมรรถนะ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ ของผูเ้ รียน ในการคิด ความสามารถ สำคญั ของผเู้ รียน คุณภาพพอใชข้ ึน้ ไป ในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวติ

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๒ เรอื่ ง ภูมใิ จในท้องถน่ิ ๑๑๗๗ ๑๐. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเรจ็ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... .......... ......................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………...………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงช่ือ……………………………………………………….ผู้สอน (…...........………………………………………….) วนั ท่ี……………เดอื น……………………………พ.ศ……………… ๑๑. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผูท้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………….ผ้ตู รวจ (…...........………………………………………….) วันท่ี……………เดือน……………………………พ.ศ………………

๑๑๗๘ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) ใบความร้ทู ่ี ๕ เรอื่ ง การต้ังถ่ินฐานและการดำเนินชีวติ ของคนสมยั สุโขทยั หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรอื่ ง ภมู ิใจในท้องถน่ิ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๘ เรอื่ ง การตง้ั ถิน่ ฐานและการดำเนินชวี ิตของคนสมัยสุโขทัย รายวิชาประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ การต้งั ถ่นิ ฐานและการดำเนินชวี ติ ของคนสมัยสโุ ขทัย ก่อนการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยข้ึนเม่ือราวพ.ศ. ๑๗๙๒ ในพ้ืนท่ีบริเวณลุ่มน้ำต่าง ๆ เช่น ลุ่มน้ำ เจ้าพระยา ลุ่มน้ำยม ลุ่มน้ำปิง มีชุมชนโบราณหลายแห่งต้ังถ่ินฐานมาต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์และอาศัย อยเู่ รื่อยมาจนเข้าสู่สมยั ประวตั ิศาสตร์ ดินแดนในแถบน้ีเคยถูกอาณาจกั รเขมรโบราณซ่ึงมคี วามยิง่ ใหญ่ไดข้ ยาย อทิ ธพิ ลเข้ามาปกครองชุมนุมหลายแห่งในบริเวณนี้ เช่น ชุมนมุ ชาวสยาม ชุมนุมชาวมอญ ชุมนุมชาวลาว ไดอ้ ยู่ ภายใตอ้ ทิ ธิพลเขมร และมีโบราณสถานศลิ ปะเขมรซงึ่ สร้างกอ่ นสมยั สุโขทยั เป็นหลกั ฐานยนื ยัน เช่น ศาลตาผา แดง พระปรางค์ทว่ี ัดศรีสวายทส่ี โุ ขทยั พระปรางคว์ ดั พระศรรี ตั นมหาธาตุเชลียง ท่ีอำเภอศรีสชั นาลยั ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ผู้นำคนไทย ๒ ท่าน คือ พ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราดกับพระสหาย คือ พ่อขุน บางกลางหาว ร่วมมือกันขับไล่อำนาจของเขมรออกไปได้สำเร็จ สถาปนาพ่อขุนบางกลางหาวเป็นกษัตริย์ครอง กรุงสุโขทัยเม่ือปี พ.ศ. ๑๗๙๒ มีพระนามว่า พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ นับเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์ พระรว่ ง ภูมิปัญญาในการดำรงชีวิต พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของสุโขทัยคือ เกษตรกรรม แต่สุโขทัยไม่ใช่ดินแดนที่อุดม สมบูรณ์เพราะอยู่บริเวณทรี่ าบเชิงเขาซึ่งเปน็ ท่ีลาด จงึ มีปัญหาการเก็บน้ำไวใ้ ช้ นอกจากนี้ ศรีสัชนาลัย สุโขทัย อุตรดิตถ์ ซึ่งต้ังอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำยมและแม่น้ำน่านเป็นแหล่งรับน้ำจากภูเขา ทำให้มีปัญหาน้ำท่วมขัง การเพาะปลูกได้ผลไม่ดี ชาวสุโขทัยจึงใช้ระบบชลประทานช่วยควบคุมน้ำภูเขาและน้ำที่ท่วมตามลำน้ำต่าง ๆ ด้วยการสร้างคันดนิ และสร้างทำนบกั้นน้ำ เรียกว่าสรีดภงส์ ในทล่ี ุ่มกส็ รา้ งฝายทดนำ้ และขดุ คลองส่งน้ำ เพอื่ นำ น้ำไปใช้ในพ้ืนท่ีรอบเมืองสุโขทัย และขุดบ่อ สระน้ำ ท่ีเรียกว่า ตระพัง ไว้ทั่วเมืองสุโขทัย ปัจจุบันยังมีตระพัง จำนวนมากเหลือให้เห็น การพัฒนาระบบชลประทานเป็นการใช้ภูมิปัญญาของสุโขทัยในการแก้ปัญหาน้ำ ทำใหม้ นี ้ำเพียงพอในการอปุ โภคบรโิ ภค ทม่ี าของภาพ http://www.siamfreestyle.com/ ทมี่ าของภาพ photos/sukhothai/วัดตระพงั ทอง/640009002 https://www.silpa-mag.com/history/article_30967

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เร่อื ง ภูมใิ จในท้องถน่ิ ๑๑๗๙ ด้านเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏ ในหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ “…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้า ทองค้า” และ “...เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว...” ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบการเกษตร แบบพ่ึงพาธรรมชาติ เชน่ สงั คมไทยส่วนใหญ่ในชนบทปจั จุบนั และสง่ ออกเครื่องถ้วยชามสังคโลก ด้านสังคม การใช้ชีวิตของผู้คนในสมัยสุโขทัยมีความอิสระเสรี มีเสรีภาพอย่างมากเนื่องจากผู้ปกครองรัฐให้ อิสระแก่ไพร่ฟ้า และปกครองแบบพ่อกับลูก ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกว่า “…ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสยี งเลื่อน เสยี งขับ ใครจกั มักเลน่ เลน่ ใครจกั มกั หัว หวั ใครจักมักเลื่อน เล่ือน…” ด้านความเชื่อ สังคมยุคสุโขทัยประชาชนมคี วามเช่ือทั้งเรอื่ งวิญญาณ ไสยศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานในศิลา จารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๕ ว่า “…เบ้ืองหัวนอนเมืองสุโขทัยน้ีมีกุฏิวิหารปู่ครูอยู่ มีสรีดพงส์ มีป่าพร้าว ป่าลาง ป่าม่วง ป่าขาม มีน้ำโคก มีพระขระพุงผี เทพยดาในเขาอันน้ันเป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองน้ี ขุนผู้ใดถือเมือง สุโขทยั นแี้ ล้ว ไหวด้ พี ลถี ูก เมอื งนเี้ ท่ียว เมืองนดี้ ี ผิไหวบ้ ด่ ี พลีบถ่ ูก ผีในเขาอันน้นั บค่ ุ้ม บเ่ กรง เมืองนี้หาย…” ด้านศาสนา ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์ จากนครศรีธรรมราช ในวันพระจะมี ภิกษุเทศนาสั่งสอน ณ ลานธรรมในสวนตาล โดยใช้พระแท่นมนังคศิลาอาสน์เป็นอาสนะสงฆ์ในการบรรยาย ธรรมให้ประชาชนฟัง ยงั ผลให้ประชาชนในยุคนี้นยิ มปฏิบตั ิตนอยใู่ นศลี ธรรม มกี ารถือศีล โอยทานกันเป็นปกติ วิสัย ทำใหส้ ังคมโดยรวมมคี วามสงบสุขร่มเย็น ************************************** แหลง่ ข้อมลู /อ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki

๑๑๘๐ คูม่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) ใบงานท่ี ๘ เร่ือง การต้ังถ่ินฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมยั สุโขทัย หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ เรอ่ื ง ภูมใิ จในทอ้ งถิ่น แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๘ เร่ือง การตง้ั ถิน่ ฐานและการดำเนินชีวิตของคนสมัยสโุ ขทัย รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนสรปุ องค์ความร้จู ากการศึกษาข้อมูล เรอ่ื ง การตงั้ ถน่ิ ฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของคนสมยั สุโขทัยเป็นแผนผงั ความคิด ท่ีต้งั ลกั ษณะภมู ิประเทศ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................ ................................................ ... การต้งั ถิน่ ฐานและการดำเนินชวี ิต ของคนสมยั สโุ ขทยั หลักฐานทางประวัติศาสตร์ อาชพี หลัก การดำเนินชวี ิต .............................................. ................................. ...................................... .............................................. ................................. ...................................... .............................................. ................................. ...................................... ............................................. ................................. ...................................... ................................. ........................ ๑. ชอ่ื -นามสกลุ .....................................................................................................เลขท.่ี ............ช้นั ................. ๒. ช่อื -นามสกุล...............................................................................................เลขท.ี่ ............ช้ัน................. ๓. ช่อื -นามสกุล...............................................................................................เลขท.่ี ............ชั้น................. ๔. ชือ่ -นามสกลุ ...............................................................................................เลขท.ี่ ............ชน้ั .................

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรอ่ื ง ภูมิใจในท้องถน่ิ ๑๑๘๑ เฉลยใบงานที่ ๘ เรือ่ ง การต้ังถิ่นฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของคนสมัยสุโขทัย หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรอ่ื ง ภูมิใจในท้องถนิ่ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๘ เร่ือง การต้ังถนิ่ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมัยสุโขทัย รายวชิ าประวัติศาสตร์ รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นสรปุ องค์ความร้จู ากการศึกษาข้อมลู เร่อื ง การตั้งถิน่ ฐานและการดำเนินชวี ิตของคนสมยั สโุ ขทยั เปน็ แผนผังความคิด ที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ ชุมชนโบราณหลายแหง่ ตง้ั ถนิ่ ฐาน ทีร่ าบลมุ่ แม่นำ้ และที่ราบเชิงเขา มาตง้ั แตส่ มัยก่อนประวัติศาสตร์ บรเิ วณลุม่ แม่น้ำ ไดแ้ ก่ ทีร่ าบลมุ่ และอาศัยอยเู่ รอ่ื ยมาจนเข้าสสู่ มยั แมน่ ้ำใหญ่ ๓ สาย คือ แม่นำ้ ปงิ ประวตั ิศาสตร์ แม่นำ้ ยม แมน่ ำ้ น่าน ... การต้ังถ่ินฐานและการดำเนินชวี ติ ของคนสมยั สโุ ขทยั หลักฐานทางประวัติศาสตร์ อาชพี หลกั การดำเนนิ ชวี ิต ศาลตาผาแดง พระปรางคท์ ่วี ัด .พนื้ ฐานทางเศรษฐกิจ การดำรงชีวติ แบบพ่อปกครอง ศรีสวายท่ีสุโขทัย พระปรางค์ ของสุโขทยั คือ อาชพี ลูก เป็นสังคมเกษตรกรรมนำ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง เกษตรกรรม หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนา มาปรบั ในการปกครอง ................................. ........................ ...... ๑. ชอ่ื -นามสกลุ ...............................................................................................เลขที่.............ชน้ั ................. ๒. ชื่อ-นามสกลุ ...............................................................................................เลขท่ี.............ช้นั ................. ๓. ชื่อ-นามสกุล...............................................................................................เลขที่.............ชัน้ ................. ๔. ชื่อ-นามสกลุ ...............................................................................................เลขท.ี่ ............ชั้น.................

๑๑๘๒ คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมินการนำเสนอหน้าชัน้ เรยี น เกณฑ์ ดมี าก (๔) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (๑) การประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การถ่ายทอด คล่องแคลว่ ไม่ติดขดั คลอ่ งแคล่วไม่ ไมค่ ล่องแคล่ว ตดิ ขัด หยดุ ชะงัก เน้ือหา ทำใหเ้ ขา้ ใจประเด็นได้ ติดขดั ทำใหเ้ ข้าใจ มีการหยดุ ชะงักบ้าง ในหลายจงั หวะ ง่ายและเรว็ การพูดมี ประเดน็ ได้ง่าย บางคร้งั จงั หวะพดู พูดเรว็ หรอื ช้า การเวน้ จังหวะและ การพดู มกี ารเวน้ ชา้ จบั ประเด็นไม่ได้ เกนิ ไป เนน้ คำ เน้นสาระ จังหวะอย่าง สำคัญอยา่ งเหมาะสม เหมาะสม ความเร็ว เพอ่ื ใหผ้ ู้ฟังติดตาม ในการพูดอย่ใู น การนำเสนอ ความเร็ว ระดับเหมาะสม ในการพูดอยใู่ นระดบั เหมาะสม ๒. บคุ ลิกภาพ มีความม่นั ใจ สบสายตา สบสายตาผฟู้ งั สบสายตาผ้ฟู ังน้อย กม้ หน้าไมส่ บตา ผฟู้ ังตลอดเวลาเพอ่ื พอสมควร น้ำเสียง น้ำเสยี งสน่ั ขาด และนำ้ เสยี งสน่ั ดึงดดู ให้ผ้ฟู ังสนใจใน สะท้อนถงึ ความ ความมัน่ ใจ เสยี ง และเบา เนื้อหาทีถ่ ่ายทอด ม่ันใจ เสยี งดัง เบาและดังสลบั ไป เสียงดังพอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใช้ภาษา คลอ่ งแคล่ว เชน่ ยก แสดงกริยาทา่ ทาง ใช้ภาษากาย ไม่ใช้ภาษากาย กายในการสื่อสาร มอื /ผายมือ แสดงกรยิ า ประกอบการ สอื่ สารนอ้ ยคร้ัง ส่ือสาร ท่าทางประกอบการ นำเสนอพอสมควร นำเสนอเพ่ือดงึ ดูดความ สนใจ ๔. ความเหมาะสม ใช้เวลาในการนำเสนอ ใชเ้ วลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ เสนอเกนิ เวลาท่ี เสนอเกินเวลาที่ กบั เวลา เหมาะสม เสนอเกนิ เวลาท่ี กำหนด ๔-๕ นาที กำหนด มากกวา่ ๕ นาทขี ึ้นไป กำหนด ๑-๓ นาที เกณฑก์ ารให้คะแนน ดมี าก คะแนน ๑๓–๑๖ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน ๙–๑๒ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕–๘ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง คะแนน ๑–๔ คะแนน หมายถึง เกณฑก์ ารผ่าน ตัง้ แต่ ๕ คะแนน ขนึ้ ไป

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่อง ภูมิใจในท้องถ่ิน ๑๑๘๓ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ๑. การรว่ มกิจกรรม ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ๒. การรบั ฟงั ความ คิดเห็นของผู้อน่ื มคี วามกระตือรือรน้ ใน มีความกระตือรือร้นใน ไมม่ ีความกระตอื รือรน้ ๓. ความรับผดิ ชอบ การรว่ มกจิ กรรมอยา่ ง การร่วมกิจกรรมใน ในการร่วมกิจกรรม ๔. ขยันหมัน่ เพียร สมำ่ เสมอ บางครั้ง ๕. ตรงต่อเวลา รับฟงั ความคิดเหน็ ของ รับฟงั ความคดิ เห็นของ ไมร่ ับฟังความคิดเห็น ผอู้ ืน่ อย่างสม่ำเสมอ ผอู้ ื่นเปน็ บางครั้ง ของผู้อ่ืน มีความรบั ผดิ ชอบในงาน มีความรบั ผิดชอบในงาน ไม่มีความรบั ผิดชอบใน ท่ีไดร้ ับมอบหมายอยา่ ง ทีไ่ ด้รับมอบหมายใน งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย สมำ่ เสมอ บางครั้ง มคี วามขยนั หม่นั เพยี ร มีความขยนั หมั่นเพยี ร ไมม่ ีความขยันหม่นั เพยี ร พยายามทำงานให้สำเรจ็ พยายามทำงานใหส้ ำเร็จ พยายามทำงานให้สำเรจ็ อยา่ งสม่ำเสมอ เป็นบางครง้ั ส่งชนิ้ งานภายในเวลาที่ ส่งผลงานเสรจ็ ตรงเวลา สง่ ผลงานชา้ กว่าเวลา กำหนด กำหนด เกณฑ์การให้คะแนน ดี คะแนน ๑๑–๑๕ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๖–๑๐ คะแนน หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน ๑–๕ คะแนน หมายถึง เกณฑ์การผา่ น ตง้ั แต่ ๖ คะแนน ขนึ้ ไป

๑๑๘๔ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ ใบงาน คำช้ีแจง ใหค้ รูผ้สู อนประเมนิ ใบงานของนักเรยี นแล้วให้ทำเคร่อื งหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ ชอื่ –สกลุ การร่วม การรับฟัง ความ ขยนั หมัน่ เพยี ร ตรงต่อเวลา รวม กิจกรรม ความคดิ เห็น รบั ผิดชอบ ๒๐ คะแนน ของผู้อ่ืน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑๔๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงช่ือ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ นักเรยี นที่ไดร้ ะดบั คุณภาพพอใชข้ น้ึ ไป ถือวา่ ผา่ น ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรบั ปรุง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถ่ิน ๑๑๘๕ แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ วนั ท.่ี ......................เดอื น.......................................พ.ศ......................... เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับที่ ชอ่ื –สกลุ ความ ความสนใจ การ มีส่วน รวม ระดับ ตั้งใจใน และการ ตอบ ร่วมใน (๑๖) คุณภาพ การเรยี น ซักถาม คำถาม กจิ กรรม (๔) (๔) (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่อื ........................................................ผ้ปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมินในการสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล ดังน้ี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นักเรียนท่ีได้ระดบั คณุ ภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรุง

๑๑๘๖ คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล (Rubric) ประเด็น เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ต้องปรับปรุง (๑) ๑. ความตั้งใจใน สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น ไม่สนใจใน การเรียน ไม่คยุ หรือเลน่ กนั คยุ กนั เลก็ น้อย คุยกนั และเล่นกนั การเรียน คยุ และ ในขณะเรียน ในขณะเรยี น ในขณะเรียนเป็น เล่นกันในขณะ บางครั้ง เรียน ๒. ความสนใจและ มกี ารถามในหัวข้อท่ี มีการถามในหวั ข้อ มีการถามในหัวข้อ ไมถ่ ามในหัวข้อท่ี การซักถาม ตนไม่เข้าใจทุกเรื่อง ที่ตนไม่เขา้ ใจเป็น ทีต่ นไมเ่ ข้าใจเป็น ตนไมเ่ ข้าใจและ และกลา้ แสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางคร้งั และไม่ค่อย ไมก่ ล้าแสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก ๓. การตอบคำถาม ร่วมตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ไม่ตอบคำถาม เร่ืองท่ีครูถามและ เรื่องท่ีครูถามและ เรอ่ื งที่ครถู ามเปน็ ตอบคำถามถูกทุกข้อ ตอบคำถาม บางครั้งและตอบ สว่ นมากถูก คำถามถูกเป็น บางครงั้ ๔. มสี ว่ นร่วมใน ร่วมมอื และ ร่วมมือและ รว่ มมือและ ไม่มีความรว่ มมือ กิจกรรม ช่วยเหลอื เพอื่ นใน ช่วยเหลอื เพอ่ื น ชว่ ยเหลือเพ่อื นใน ในขณะทำกิจกรรม การทำกิจกรรม เป็นส่วนใหญ่ใน การทำกิจกรรม การทำกิจกรรม เปน็ บางครงั้

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เรือ่ ง ภมู ใิ จในท้องถนิ่ ๑๑๘๗ แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ วนั ท.ี่ ......................เดอื น......................................พ.ศ.............................. เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับท่ี ช่ือกลุ่ม การ การสนทนา การ พฤติกรรม รวม ระดับ ปฏสิ ัมพนั ธ์ เร่ือง ติดต่อสื่อสาร การทำงาน (๑๖) คณุ ภาพ ๑ ๒ กนั ท่กี ำหนด กลุ่ม ๓ ๔ (๔) (๔) (๔) (๔) ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชื่อ................................................................ผ้ปู ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมินในการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ดังน้ี ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นกั เรยี นทไี่ ด้ระดับคณุ ภาพพอใชข้ ึ้นไป ถือว่า ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรงุ

๑๑๘๘ คู่มือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายกลุ่ม (Rubric) ประเด็น เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ตอ้ งปรับปรุง (๑) ๑. การ ร่วมมือและชว่ ยเหลือ ปฏสิ มั พันธ์กนั เพ่อื นในการทำ ร่วมมือและ รว่ มมอื และ ไมใ่ หค้ วามร่วมมือ กิจกรรม ช่วยเหลือเพือ่ นเปน็ ชว่ ยเหลอื เพ่อื นใน ในขณะทำกิจกรรม สว่ นใหญ่ในการทำ การทำกจิ กรรมเปน็ กิจกรรม บางครง้ั ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเด็น สนทนาไม่ตรง เร่ืองท่ีกำหนด ครอบคลุมเน้อื หา ครอบคลุมเน้ือหา ประเด็น บางส่วน ๓. การตดิ ตอ่ มีการปรกึ ษาครแู ละ มกี ารปรึกษาครูและ มีการปรึกษาครแู ละ ไมม่ ีการปรึกษาครู สื่อสาร เพอ่ื นกลุ่มอื่น ๆ เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ และเพ่ือนกลุ่มอืน่ ๆ เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางคร้ัง ๔. พฤติกรรม มีการวางแผนอยา่ ง มกี ารวางแผนอย่าง มีการวางแผนอยา่ ง ไมม่ ีการวางแผน การทำงาน เป็นระบบ และแบง่ หน้าที่ของสมาชกิ เปน็ ระบบ และแบง่ เป็นระบบ และแบ่ง อย่างเป็นระบบ ในกลมุ่ หน้าที่ของสมาชกิ หนา้ ที่ของสมาชกิ และไม่มีการแบง่ ในกลมุ่ เป็นสว่ นใหญ่ ในกลุ่มเป็นบางครั้ง หน้าที่ของสมาชกิ ในกลมุ่

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรื่อง ภมู ิใจในท้องถ่นิ ๑๑๘๙ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชีแ้ จง ให้ผูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี นแลว้ ขดี ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการ พฤติกรรมการแสดงออก ระดับการปฏบิ ัติ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. รักชาติ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และบอกความหมาย ศาสน์ ของเพลงชาติ กษัตรยิ ์ ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสทิ ธิและหน้าท่ขี องนักเรยี น ให้ความรว่ มมอื ร่วมใจ ในการทำงานกบั สมาชิกในหอ้ งเรยี น ๑.๓ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรียนและชมุ ชน ๑.๔ เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถือ ปฏบิ ตั ติ นตามหลักของ ศาสนา และเป็นตัวอยา่ งที่ดีของศาสนิกชน ๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมและมสี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามทโ่ี รงเรียนและชุมชนจดั ขึน้ ชื่นชมในพระราชกรณียกิจ พระปรีชาสามารถของพระมหากษตั ริยแ์ ละพระราชวงศ์ ๒. มีวนิ ัย ๒.๑ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คับของครอบครวั รับผดิ ชอบ และโรงเรียน มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน มคี วามรับผิดชอบ ๓. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓.๑ ต้งั ใจเรยี น ๓.๒ เอาใจใสใ่ นการเรยี นและมคี วามเพียรพยายามในการเรียน ๓.๓ เขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ๓.๔ ศึกษาค้นควา้ หาความรจู้ ากหนงั สอื เอกสาร ส่งิ พิมพ์ สื่อ เทคโนโลยีต่าง ๆ แหลง่ การเรียนรูท้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี น และ เลือกใชส้ อื่ ได้อย่างเหมาะสม ๓.๕ บนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางสง่ิ ที่เรยี นรู้ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ ๓.๖ แลกเปลีย่ นความรู้ด้วยวิธีการตา่ ง ๆ และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ๔. มุ่งมนั่ ใน ๔.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย การทำงาน ๔.๒ มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสำเร็จ ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมนิ ...................../..................../...................

๑๑๙๐ คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้ัง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ๐ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ดงั นี้ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดมี าก นักเรยี นท่ีได้ระดบั คุณภาพผา่ นขนึ้ ไป ถือว่า ผ่าน ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผ่าน ๐-๗ ไมผ่ า่ น

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรอื่ ง ภูมใิ จในท้องถิ่น ๑๑๙๑ แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คำช้ีแจง ให้ผูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี นแล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก ระดับการปฏบิ ัติ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มีความสามารถในการรบั –สง่ สาร การสือ่ สาร ๑.๒ มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม ๒. ความสามารถใน ๒.๑ มที กั ษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ ๒.๒ มีความสามารถในการคิดอยา่ งมีระบบ ๓. ความสามารถใน ๓.๑ สามารถทำงานกลุม่ รว่ มกับผู้อ่ืนได้ การใชท้ กั ษะชวี ิต ๓.๒ นำความรูท้ ่ไี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั ลงช่ือ................................................................ผูป้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้งั เกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ดังน้ี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การสรุปผลการประเมิน ๑๖-๑๘ ดมี าก นกั เรยี นที่ไดร้ ะดับคุณภาพผ่านข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผ่าน ๐-๙ ไมผ่ ่าน

๑๑๙๒ ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๙ เรอ่ื ง การต้ังถิ่นฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมัยอยุธยาและธนบุรี หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรอ่ื ง ภูมใิ จในท้องถิ่น เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๑. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ช้วี ดั มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจบุ ัน ในดา้ นความสัมพนั ธ์และ การเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนกั ถึงความสำคญั และสามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบทีเ่ กิดขนึ้ ตัวชวี้ ดั ป.๔/๑ อธบิ ายการตั้งหลักแหลง่ และพัฒนาการของมนุษย์ยคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์และ ยุคประวัติศาสตร์โดยสังเขป ๒. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรที่มีศูนย์กลางอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่างใน พ.ศ. ๑๘๙๓ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีความเจริญรุ่งเรืองสืบ ทอดมาถึง ๔๑๗ ปี หลังจากกรงุ ศรีอยุธยาล่มสลาย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรงสถาปนากรุงธนบุรี ข้นึ เปน็ ราชธานแี ห่งใหม่ เม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ ๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) อธบิ ายการตง้ั ถ่ินฐานและการดำเนินชีวติ ของคนสมยั อยุธยาและธนบุรีได้ ๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จำแนกการตั้งถ่ินฐานและการดำเนินชีวติ ของคนสมัยอยธุ ยาและธนบุรี ๓.๓ ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) เห็นความสำคัญของหลักฐานทางประวัตศิ าสตรม์ ีความสัมพนั ธก์ บั การดำเนินชวี ิตของคนสมัย อยุธยาและธนบรุ ี ๔. สาระการเรียนรู้ การตงั้ ถ่ินฐานและการดำเนินชีวิตของคนสมัยอยธุ ยาและธนบุรี ๕. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ๑. ความสามารถในการคดิ ๒. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต ๖. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. มวี ินัย ๓. ใฝ่เรียนรู้ ๔. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ๗. กิจกรรมการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรอ่ื ง ภูมใิ จในท้องถนิ่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นร แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๙ เร่อื ง การต้ังถ่ินฐานแ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร ลำดับที่ จดุ ประสงค์ ขั้นตอนการจัด เวลา แ ๑. การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กจิ กรรมครู ขนั้ นำ ๑๐ ๑. ครูนำภาพ PowerPo นาที เกี่ยวกับแผนท่ีกรุงศรีอย กรุงธนบุรีมาให้นกั เรียนศ ๒. ครตู งั้ ประเดน็ คำถาม นักเรียนรว่ มอภิปราย ๑) ภาพทน่ี ักเรียนเห็นค ของอาณาจักรอะไร ๒) กรงุ ศรีอยธุ ยาและก มีความสำคญั อยา่ งไรต่อ ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย ๓) กรุงศรอี ยุธยาและก มีลกั ษณะทต่ี ั้งและลักษณ ประเทศอย่างไร

๑๑๙๓ รู้ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔ และการดำเนินชวี ติ ของคนสมัยอยุธยาและธนบุรี ร์ จำนวน ๑ ชว่ั โมง แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ - การสงั เกต oint ๑. นักเรยี นศกึ ษาภาพแผนท่ี - PowerPoint ยธุ ยาและ กรงุ ศรีอยุธยาและกรุงธนบรุ ี ภาพแผนที่ ศกึ ษา เก่ียวกับลักษณะทีต่ ง้ั และ กรุงศรีอยธุ ยา ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ และกรุงธนบรุ ี มให้ ๒. นกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายตอบ คำถาม คือแผนท่ี ๑) แนวคำตอบ แผนท่ี กรงุ ศรีอยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี กรุงธนบรุ ี ๒) แนวคำตอบ เปน็ ราชธานี อ ของไทย กรงุ ธนบรุ ี ๓) แนวคำตอบ ท่ีต้ังกรงุ ศรี ณะภมู ิ อยธุ ยาอยู่บรเิ วณล่มุ แม่นำ้ เจา้ พระยา มีแมน่ ำ้ สามสาย ล้อมรอบ ท่ีต้งั กรงุ ธนบุรี อยทู่ าง

๑๑๙๔ คูม่ อื คร ลำดับท่ี จุดประสงค์ ขน้ั ตอนการจัด เวลา แ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมครู ๒. ๑. อธิบายการตั้ง ขั้นสอน ๓. ครอู ธิบายเชอ่ื มโยงสูก่ ถิ่นฐานและการ เรียนรู้การตั้งถิ่นฐานและ ดำเนินชวี ิตของคน ดำเนนิ ชีวิตของคนสมัยอ สมยั อยธุ ยาและ และธนบรุ ี ธนบรุ ีได้ ๑๕ ๑. ครใู ห้นักเรยี นแบง่ กล ๒. เหน็ ความสำคัญ นาที ละ ๔ คน ศึกษาใบความ ของหลักฐานทาง การตั้งถิ่นฐานและการด ประวัติศาสตร์มี ของคนสมัยอยธุ ยาและธ ความสมั พนั ธก์ ับ ร่วมกันอภิปรายสรุป การดำเนนิ ชวี ิต ๒. ครตู ้ังคำถามนักเรยี น ของคนสมยั วเิ คราะห์และอภปิ ราย ด ๑) ลักษณะภมู ิประเท กรุงศรีอยุธยาสง่ ผลต่อกา การปกครองและเศรษฐก อย่างไร

รแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน กิจกรรมนักเรียน การเรยี นรู้ ตอนใต้ของกรงุ ศรีอยุธยา บริเวณลุม่ แมน่ ้ำเจา้ พระยา ตดิ ต่อกับอ่าวไทย การ ๓. นักเรียนฟงั ครูอธบิ าย ะการ เช่ือมโยงสกู่ ารเรยี นรู้การต้ัง อยธุ ยา ถ่นิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของ คนสมัยอยธุ ยา/ธนบรุ ี ลุม่ กลุ่ม ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษา - ใบความรู้ท่ี ๖ - การสงั เกต มรู้ เรื่อง ใบความรู้ เรื่อง การตงั้ ถน่ิ ฐาน เรอื่ ง การต้ัง - การประเมิน ดำเนนิ ชวี ิต และการดำเนนิ ชวี ิตของคนสมัย ถิ่นฐานและ ธนบุรีและ อยุธยาและธนบรุ ีและร่วมกนั การดำเนินชวี ิต อภิปรายสรุปเนอื้ หา ของคนสมัย นรว่ ม ๒. นักเรยี นรว่ มกันวเิ คราะหแ์ ละ อยธุ ยาและธนบุรี ดังน้ี อภิปรายตอบคำถาม - แบบสงั เกต ทศของ ๑) แนวคำตอบ ลักษณะภมู ิ - แบบประเมิน ารเมือง ประเทศมแี ม่นำ้ ล้อมรอบทำให้ กจิ เป็นปราการธรรมชาติป้องกนั ข้าศึก และในการตดิ ต่อค้าขาย

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ภูมใิ จในท้องถิน่ ลำดบั ท่ี จุดประสงค์ ขัน้ ตอนการจดั เวลา แ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมครู อยธุ ยาและ ธนบุรี ๒) อะไรเป็นอาชีพหลัก ในสมัยอยุธยาและธนบุร ๓) เหตใุ ดกรุงศรีอยธุ ย ธนบรุ ีจึงมกี ารตดิ ต่อค้าข ตา่ งชาตไิ ดห้ ลากหลายท เอเชยี และยโุ รป ๔) หลักฐานทางประวตั สมยั กรุงศรีอยุธยาและก มีความสมั พนั ธก์ บั วถิ กี าร ชวี ติ ของคนสมยั อยธุ ยาแ อยา่ งไร

๑๑๙๕ แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมนิ กิจกรรมนกั เรยี น การเรยี นรู้ สามารถใช้เส้นทางน้ำได้ การเดินทางสะดวก กของคน ๒) แนวคำตอบ เกษตรกรรม รี ยาและกรุง ๓) แนวคำตอบ อาณาจกั ร ขายกับ ติดกับทะเล ท้ังทาง ตศิ าสตร์ ๔) แนวคำตอบ กรงุ ธนบรุ ี - ภาพวาดจติ รกรรมฝาผนัง รดำเนนิ ซงึ่ นอกจากจะงดงามแล้ว และธนบรุ ี ยงั เป็นหลักฐานให้ทราบถงึ ความ เชอ่ื และวถิ ีชวี ิตของคนไทยใน สมยั กรุงศรีอยุธยา - พระราชพงศาวดารกรุง ธนบรุ ี บันทึกเหตุการณ์ทีเ่ กิดข้นึ ในสมยั ธนบุรี

๑๑๙๖ คูม่ อื คร ลำดบั ที่ จุดประสงค์ ขั้นตอนการจัด เวลา แ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กจิ กรรมครู ๓. ครูอธบิ ายเพ่ิมเติมเกี่ย การตั้งถิ่นฐานและการดำ ของมนุษย์ในสมัยอยธุ ยาแ ๓. ๓. จำแนกการ ข้นั ปฏิบัติ ๑๕ ๑. ครใู หน้ กั เรียนฝกึ จำแ ต้งั ถ่นิ ฐานและ นาที ประโยคใดเป็นการตัง้ ถิน่ การดำเนินชีวิต ของคนสมยั การดำเนินชวี ติ ของคนส อยธุ ยาและ อยธุ ยาและธนบรุ ี ธนบุรี ตัวอยา่ ง : ธนบุรี : เกิดภาวะขาดแค อยธุ ยา : ล้อมรอบดว้ ยแม ๒. ครใู ห้นักเรียนแต่ละก ใบงาน โดยมีข้นั ตอน ด ๑) นักเรยี นแบ่งภาระ คน/๑ หวั ขอ้ - การตั้งถิน่ ฐานและการ ชีวิตของคนสมยั อยธุ ยา - การต้งั ถิ่นฐานและการด ของคนสมัยธนบรุ ี

รูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมนิ กิจกรรมนักเรียน การเรยี นรู้ ยวกับ ๓. นกั เรียนฟังครูและซักถามขอ้ ำเนินชีวติ สงสยั เพ่มิ เตมิ และธนบุรี แนกแถบ ๑. นกั เรยี นฝกึ จำแนกแถบ - แถบประโยค - การตรวจงาน นฐานและ ประโยคใดเป็นการต้งั ถิ่นฐาน - ใบงานที่ ๙ - การสังเกต สมัย และการดำเนนิ ชีวติ ของคนสมัย เร่ืองการต้ัง - การประเมนิ ถนิ่ ฐานและ อยุธยาและธนบรุ ี การดำเนนิ ชวี ิต ของคนสมยั คลนข้าว อยุธยาและ มน่ ำ้ ๓ สาย ธนบุรี กลุ่มทำ ๒. นกั เรยี นรว่ มกนั ทำใบงาน - แบบสงั เกต ดงั น้ี โดยแบ่งกนั รบั ผดิ ชอบภาระงาน - แบบประเมิน ะงาน ๒ และนำผลงานท้งั ๒ หวั ข้อ มา แลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ่วมกันและ รดำเนิน ชว่ ยกันตรวจสอบผลงานของ กลมุ่ ดำเนินชวี ติ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถนิ่ ลำดับท่ี จุดประสงค์ ขั้นตอนการจดั เวลา แ การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ กจิ กรรมครู ๒) นำผลงานทงั้ ๒ ห มาแลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ว่ ม ภายในกลุ่มและรว่ มกนั ตรวจสอบ ๔. ๔. เห็นความ ขั้นสรุป ๑๐ ๑. ครูสุม่ ตัวแทนกลุ่ม ๒ สำคญั ของ นาที นำเสนอผลงาน หลกั ฐานทาง ๒. ครแู ละนกั เรียนร่วมก ประวัตศิ าสตรม์ ี ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ความสัมพนั ธก์ ับ ๓. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มก การดำเนนิ ชีวติ สรปุ ของคนสมยั อยธุ ยาและธนบุรี

๑๑๙๗ แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมิน กจิ กรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ หวั ข้อ มกนั กลุ่ม ๑. นักเรียนตวั แทนกลุม่ ออกมา - ใบงานท่ี ๙ - การตรวจงาน นำเสนอผลงาน เรื่อง การตั้ง - การสังเกต กัน ๒. นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความ ถ่นิ ฐานและ - การประเมิน ถูกต้อง การดำเนินชวี ิต กัน ๓. นักเรียนร่วมกันสรุปหลักฐานทาง ของคนสมยั ประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยธุ ยาและ อยุธยาและ กรุงธนบรุ ีมีความสัมพันธ์กับวถิ ีการ ธนบุรี ดำเนินชีวิตของคนสมัยอยธุ ยาและ - แบบสงั เกต ธนบรุ ีให้ทราบถึงความเช่ือและวิถี - แบบประเมนิ ชีวติ ของคนไทยในสมัยนั้น การตดิ ต่อ ค้าขายและมีความสัมพันธก์ ับ ต่างชาติ ตลอดจนความ เจรญิ รุ่งเรอื งทางจารีตประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม

๑๑๙๘ ค่มู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) ๘. ส่อื การเรยี นร/ู้ แหลง่ เรยี นรู้ ๑. PowerPoint แผนท่ีอาณาเขตอาณาจกั รสมัยอยุธยาและธนบรุ ี ๒. แถบประโยค ๓. ใบความรู้ที่ ๖ เร่อื ง การตั้งถน่ิ ฐานและการดำเนินชีวติ ของคนสมัยอยธุ ยาและธนบุรี ๓. ใบงานที่ ๙ เรอ่ื ง การตั้งถ่ินฐานและการดำเนนิ ชวี ิตของคนสมยั อยุธยาและธนบรุ ี ๙. การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน ใบงานที่ ๙ เร่ือง การตัง้ ถิ่นฐานและการดำเนินชีวติ ของคนสมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี การวดั และประเมินผล ประเด็นการวดั วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน และประเมินผล ด้านความรู้ - ตรวจใบงาน - ใบงานท่ี ๙ เรื่อง การตั้ง ผา่ นเกณฑ์การประเมิน - คำถาม ถ่ินฐานและการดำเนิน ร้อยละ ๖๐ - การสงั เกต ชีวิตของคนสมยั อยธุ ยา - การประเมิน และธนบรุ ี - แบบสงั เกต - แบบประเมนิ ดา้ นทักษะ กระบวนการ - การสังเกต - แบบสงั เกต ผา่ นเกณฑป์ ระเมินระดับ - การประเมิน - แบบประเมิน คุณภาพพอใชข้ นึ้ ไป ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ประเมินระดบั คุณภาพพอใชข้ ึ้นไป ด้านคุณลักษณะ ประเมิน รักชาติ ศาสน์ แบบประเมินคุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ประเมินระดับ อันพึงประสงค์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อนั พึงประสงค์ คุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป มุ่งมั่นในการทำงาน สมรรถนะสำคัญ ประเมินความสามารถใน แบบประเมินสมรรถนะ ผา่ นเกณฑป์ ระเมินระดับ ของผู้เรียน การคดิ ความสามารถใน สำคญั ของผูเ้ รยี น คณุ ภาพพอใช้ขนึ้ ไป การแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ ทักษะชวี ิต

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถน่ิ ๑๑๙๙ ๑๐. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเรจ็ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... .......... ......................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………...………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงช่ือ……………………………………………………….ผูส้ อน (…...........………………………………………….) วนั ที่……………เดอื น……………………………พ.ศ……………… ๑๑. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารหรือผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ……………………………………………………….ผู้ตรวจ (…...........………………………………………….) วันท่ี……………เดือน……………………………พ.ศ………………

๑๒๐๐ ค่มู ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) ใบความรทู้ ี่ ๖ เรื่อง การต้งั ถ่ินฐานและการดำเนนิ ชีวิตของคนสมยั อยธุ ยาและธนบุรี หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถนิ่ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๙ เรอื่ ง การตัง้ ถ่ินฐานและการดำเนินชวี ิตของคนสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ รหสั วิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ อาณาจักรอยธุ ยา การตั้งถ่ินฐานและการดำเนนิ ชีวิตของคนสมยั อยธุ ยา กรุงศรีอยุธยาเป็นเกาะซึ่งมีแม่น้ำ ๓ สายล้อมรอบ ได้แก่ แม่น้ำป่าสักทางทิศตะวันออก แม่น้ำเจ้าพระยา ทางทศิ ตะวนั ตกและทศิ ใต้ และแม่นำ้ ลพบรุ ีทางทิศเหนือ เดิมทีบริเวณน้ไี มไ่ ดม้ ีสภาพเปน็ เกาะ แต่สมเดจ็ พระเจ้าอ่ทู อง ทรงดำริให้ขุดคูเชื่อมแม่น้ำท้ัง ๓ สาย เพื่อให้เป็นปราการธรรมชาติป้องกันข้าศึก ที่ตั้งกรุงศรีอยุธยาอยู่บริเวณ ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาไม่ห่างจากอ่าวไทยมากนัก ทำให้กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการค้ากับชาวต่างประเทศ และอาจ ถอื ว่าเป็น “เมืองท่าตอนใน” เน่ืองจากเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของภูมภิ าค แม้ว่าตัวเมืองจะไม่ติดทะเลก็ตาม บางคร้ัง มีผู้เรียกกรุงศรีอยุธยาว่า “เวนิสแห่งตะวันออก” กรุงศรีอยุธยาประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลักคือ ไทยสยาม ซ่ึงเป็น กลุ่มชาตพิ ันธใ์ุ นตระกูลภาษาไท-กะได ซงึ่ บรรพบรุ ษุ ของไทยสยาม กรุงศรีอยธุ ยาเป็นอาณาจักรของชนชาตไิ ทยในอดีตต้งั แต่ พ.ศ. ๑๘๙๓-๒๓๑๐ กรุงศรอี ยุธยาเป็นอาณาจักรซ่งึ มี ความเจริญรุ่งเรอื ง จนอาจถือได้ว่าเปน็ อาณาจกั รที่รุ่งเรืองมั่งค่ังท่สี ุดในภูมิภาคสวุ รรณภูมิ อกี ทงั้ ยังเป็นอาณาจักรที่มี ความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญ่ีปุ่น เปอร์เซีย อิหร่าน และอาหรับ รวมท้ังชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน ดัตช์ และฝร่ังเศส ได้เดินทางติดต่อ ค้าขายและเผยแพรศ่ าสนาคริสต์ ซึ่งกอ่ ให้เกดิ ความสมั พนั ธ์ทางการทูต อาชีพหลักของชาวอยุธยา คือเกษตรกรรม ชาวนาปลูกข้าวเพื่อการบริโภคของตนเองและเพ่ือจ่ายภาษี การปลูกข้าวน้ันมีเพื่อตลาดภายในประเทศเป็นหลัก การส่งออกข้าวถูกห้ามเมื่อเกิดทุพภิกขภัยหรอื สงคราม โดยปกติ ข้าวถูกแลกเปลี่ยนกับสินค้าฟุ่มเฟือยและอาวุธยุทธภัณฑ์จากชาวตะวันตก พ่อค้ายุโรปขายสินค้าของตน เช่น ไรเฟิล และปืนใหญ่ เปน็ หลกั กับผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ จากป่าในแผ่นดนิ เช่น ไมส้ ะพาน หนงั กวาง และขา้ ว หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ เช่น วัดไชยวัฒนาราม ได้รับอิทธิพลจากเขมร พระราชวังนารายณ์ ราชนิเวศน์ได้รบั อิทธิพลจากสถาปัตยกรรมเปอรเ์ ซีย ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนัง เป็นหลักฐานแสดงถึงความเชอื่ และวิถี ชวี ติ ของคนไทย แหลง่ ข้อมูล/อ้างองิ จิตรกรรมฝาผนังสมัยอยธุ ยา https://th.wikipedia.org/wiki วัดไชยวฒั นาราม

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง ภูมิใจในท้องถิน่ ๑๒๐๑ อาณาจกั รธนบุรี การตัง้ ถน่ิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมยั ธนบรุ ี เม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ อาณาจักรอยุธยาสูญเสียเอกราช ตกเป็นเมืองข้ึนของพม่า พระยาตากนำกำลังที่ รวบรวมประมาณ ๕,๐๐๐ คน ตีเมืองอยุธยาคืนจากพม่าแล้วจึงสถาปนาตนเองข้ึนเป็นพระมหากษัตริย์ และ ทรงสร้างเมอื งหลวงใหม่ คอื กรงุ ธนบุรี อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรท่ีมีระยะเวลาส้ันท่ีสุดของไทย คือระหว่าง พ.ศ. ๒๓๑๐–๒๓๒๕ ระยะเวลา ๑๕ ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครองเพียงพระองคเ์ ดียว คือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี กรุงธนบุรตี งั้ อยู่ ทางตอนใต้ของกรุงศรีอยุธยา บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอยู่ใกล้ทะเลติดต่อกับอ่าวไทย ทำให้สามารถติดต่อ ค้าขายกบั ตา่ งชาติไดส้ ะดวก ชว่ งต้นรัชกาล สภาพบ้านเมืองเสียหายจากการทำสงครามอยา่ งหนกั เกดิ ทพุ ภิกขภยั คร้ังร้ายแรงที่สุด ในประวัตศิ าสตรไ์ ทย เน่ืองจากขาดการทำนามานาน ราคาข้าวในอาณาจักรสงู เกือบตลอดรัชกาล ก่อนจะค่อย ๆ ลดลงในตอนปลายรชั กาล สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรที รงสละทรพั ย์สว่ นพระองค์ซื้อขา้ วมาใหแ้ กร่ าษฎรทั้งหลาย ชว่ ยคนได้หลายหม่ืน ทั้งยงั กระต้นุ ใหช้ าวบา้ นทงั้ หลายเข้ามาอาศัยอยใู่ นกรุงด้วย นอกจากนี้ พระองค์ยังได้ทรงทำนุบำรุงการค้าขายทางเรือกับต่างชาติ เนื่องจากไม่อาจพึ่งรายได้จาก ภาษีอากรจากผู้คนที่ยังคงตั้งตัวไม่ได้ อีกทั้งการส่งเสริมการขายสินค้าพ้ืนเมืองยังเป็นการสร้างงานให้กับ ชาวบ้าน โดยพระองค์ได้ทรงพยายามผูกไมตรีกับจีนเพื่อท่ีจะให้เกิดประโยชน์ทางการค้ามากย่ิงขึ้น กรุงธนบุรี ได้กลายมาเป็นเมืองท่าท่ีสำคัญที่สุดของไทย แทนกรุงศรีอยุธยาเดิมที่ถูกเผาทำลายไป มีภูมิประเทศและ ภมู อิ ากาศเอื้อต่อเกษตรกรรม หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสำคัญ ได้แก่ พระราชพงศาวดารกรงุ ธนบุรี สมดุ ภาพไตรภูมิ พระราชวัง เดิม ป้อมวิไชยเยนทร์ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร แหล่งข้อมลู /อ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki วัดอรณุ ราชวรารามราชวรมหาวิหาร

๑๒๐๒ คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) ใบงานที่ ๙ เร่ือง การต้ังถ่ินฐานและการดำเนินชวี ิตของคนสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถ่ิน แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๙ เร่อื ง การตง้ั ถน่ิ ฐานและการดำเนินชวี ิตของคนสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี รายวิชาประวัตศิ าสตร์ รหสั วชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นสรปุ องค์ความร้จู ากการศกึ ษาข้อมลู เรอ่ื ง การตั้งถ่ินฐานและการดำเนนิ ชวี ิตของคนสมยั อยธุ ยาเป็นแผนผังความคิด ทีต่ ง้ั ลักษณะภมู ิประเทศ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................ ................................................ ... การต้ังถิน่ ฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของคนสมยั อยุธยา หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ อาชพี หลัก การดำเนินชีวติ ................................................ .................................. ..................................... ................................................ .................................. ..................................... ................................................ .................................. ..................................... ................................................ .................................. ..................................... ...................... .................................. ............................ .................................. ..................................... ๑. ชื่อ-นามสกลุ ..........................................................................................................เ.ล..ข..ท. ่ี...........ชน้ั ................ ๒. ชือ่ -นามสกลุ ..............................................................................................เลขท.ี่ ..........ชนั้ ................ ๓. ชื่อ-นามสกลุ ..............................................................................................เลขท่ี...........ชน้ั ................ ๔. ช่อื -นามสกลุ ..............................................................................................เลขท่.ี ..........ชนั้ ................

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เรอื่ ง ภูมิใจในท้องถิน่ ๑๒๐๓ คำช้แี จง ให้นกั เรียนสรุปองค์ความรจู้ ากการศึกษาข้อมลู เรอื่ ง การตัง้ ถ่ินฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของคน สมัยธนบุรี เปน็ แผนผงั ความคิด ทตี่ งั้ ลักษณะภูมิประเทศ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................ ................................................ ... การตง้ั ถิน่ ฐานและการดำเนินชวี ติ ของคนสมัยธนบุรี หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ อาชพี หลัก การดำเนินชวี ติ ............................................. ................................... ................................... ............................................. ................................... ................................... ............................................. ................................... ................................... ............................................. ................................... ................................... ............................... ................................... . ๑. ช่ือ-นามสกุล..............................................................................................เลขที.่ ..........ชน้ั ................ ๒. ชือ่ -นามสกลุ ..............................................................................................เลขท่.ี ..........ชนั้ ................ ๓. ชือ่ -นามสกุล..............................................................................................เลขท่ี...........ชน้ั ................ ๔. ชื่อ-นามสกลุ ..............................................................................................เลขที่...........ชนั้ ................

๑๒๐๔ คูม่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) เฉลยใบงานที่ ๙ เรื่อง การตั้งถน่ิ ฐานและการดำเนินชวี ติ ของคนสมัยอยุธยาและธนบุรี หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรื่อง ภมู ิใจในทอ้ งถิ่น แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๙ เร่อื ง การต้งั ถิน่ ฐานและการดำเนินชวี ิตของคนสมัยอยุธยาและธนบุรี รายวชิ าประวตั ิศาสตร์ รหสั วิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๔ คำชี้แจง ให้นกั เรยี นสรุปองค์ความรู้จากการศึกษาข้อมูล เรื่อง การต้ังถนิ่ ฐานและการดำเนนิ ชวี ิตของคนสมัย อยุธยาเปน็ แผนผงั ความคดิ ทต่ี งั้ ลักษณะภมู ิประเทศ ทตี่ ้งั กรุงศรอี ยธุ ยาอยบู่ รเิ วณ กรงุ ศรีอยธุ ยาเปน็ เกาะซึ่งมี ลุ่มแม่นำ้ เจ้าพระยาไมห่ า่ ง แมน่ ้ำ ๓ สายล้อมรอบ ได้แก่ จากอา่ วไทย แม่นำ้ ป่าสกั แมน่ ้ำเจา้ พระยา และแม่น้ำลพบรุ ี ... การต้งั ถนิ่ ฐานและการดำเนินชวี ติ ของคนสมยั อยธุ ยา หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ อาชพี หลกั การดำเนนิ ชีวิต วดั ไชยวฒั นาราม อาชีพหลกั ของชาว มกี ารปกครองแบบสมมติเทพ พระราชวังนารายณ์ราช- อยุธยา คือ เกษตรกรรม ดำเนนิ ชวี ติ เปน็ ระบบเศรษฐกจิ นเิ วศน์ ภาพวาดจติ รกรรม แบบพึ่งตนเองและยงั ชพี อยู่ได้ ฝาผนัง สามารถผลิตสิง่ ของทีจ่ ำเป็นใน ชีวติ ประจำวนั ใชเ้ องในครัวเรอื น ............................ ........................................... ๑. ชอื่ -นามสกุล..............................................................................................เลขท่.ี ..........ชน้ั ................ ๒. ชื่อ-นามสกุล..............................................................................................เลขที.่ ..........ชนั้ ................ ๓. ชื่อ-นามสกุล..............................................................................................เลขท.ี่ ..........ชน้ั ................ ๔. ช่อื -นามสกุล..............................................................................................เลขที่...........ชนั้ ................

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรื่อง ภูมิใจในท้องถิ่น ๑๒๐๕ คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนสรุปองค์ความรจู้ ากการศึกษาข้อมูล เรอ่ื ง การตัง้ ถน่ิ ฐานและการดำเนนิ ชีวิตของคน สมยั ธนบุรี เป็นแผนผงั ความคิด ท่ีต้งั ลกั ษณะภมู ิประเทศ ตง้ั อย่ทู างตอนใต้ของกรุงศรี อยูท่ างตะวนั ตกของแมน่ ้ำ อยธุ ยา บรเิ วณลุ่มแม่นำ้ เจ้าพระยา มีอาณาเขตติดตอ่ กับ เจา้ พระยา อยู่ใกล้ทะเลตดิ ตอ่ เขตอื่น เรียงตามเข็มนาฬิกา กบั อา่ วไทย การตง้ั ถนิ่ ฐานและการดำเนนิ ชีวิต ของคนสมยั ธนบุรี หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ อาชพี หลกั การดำเนินชวี ิต พระราชพงศาวดารกรงุ ธนบรุ ี อาชพี เกษตรกรรม การดำเนินชวี ติ สมยั สมุดภาพไตรภมู ิ พระราชวงั ค้าขายทางเรือกับ ธนบุรี มลี กั ษณะ เดมิ ป้อมวิไชยเยนทร์ วดั อรุณ ตา่ งชาติ คลา้ ยคลงึ กบั สมัยอยธุ ยา ราชวรารามราชวรมหาวิหาร คอื มีการแบง่ ชนช้ัน .................................... ๑. ช่อื -นามสกุล..............................................................................................เลขท.่ี ..........ชน้ั ................ ๒. ช่อื -นามสกลุ ..............................................................................................เลขที่...........ชนั้ ................ ๓. ชื่อ-นามสกุล..............................................................................................เลขที่...........ชน้ั ................ ๔. ช่ือ-นามสกุล..............................................................................................เลขที.่ ..........ชน้ั ................

๑๒๐๖ คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมินการนำเสนอหน้าชัน้ เรยี น เกณฑ์ ดมี าก (๔) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (๑) การประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การถ่ายทอด คล่องแคลว่ ไมต่ ิดขดั คลอ่ งแคล่วไม่ ไมค่ ล่องแคล่ว ติดขัด หยดุ ชะงัก เน้ือหา ทำใหเ้ ขา้ ใจประเด็นได้ ติดขดั ทำใหเ้ ข้าใจ มีการหยดุ ชะงักบ้าง ในหลายจงั หวะ ง่ายและเรว็ การพูดมี ประเดน็ ได้ง่าย บางคร้งั จงั หวะพดู พดู เรว็ หรอื ช้า การเวน้ จังหวะและ การพดู มกี ารเวน้ ชา้ จบั ประเด็นไม่ได้ เกนิ ไป เนน้ คำ เน้นสาระ จังหวะอย่าง สำคัญอยา่ งเหมาะสม เหมาะสม ความเร็ว เพอ่ื ใหผ้ ู้ฟังติดตาม ในการพูดอย่ใู น การนำเสนอ ความเร็ว ระดับเหมาะสม ในการพูดอยใู่ นระดบั เหมาะสม ๒. บคุ ลิกภาพ มีความม่นั ใจ สบสายตา สบสายตาผฟู้ งั สบสายตาผ้ฟู ังน้อย กม้ หน้าไมส่ บตา ผฟู้ ังตลอดเวลาเพอ่ื พอสมควร น้ำเสียง น้ำเสยี งสน่ั ขาด และนำ้ เสยี งสน่ั ดึงดดู ให้ผ้ฟู ังสนใจใน สะท้อนถงึ ความ ความมัน่ ใจ เสยี ง และเบา เนื้อหาทีถ่ ่ายทอด ม่ันใจ เสยี งดัง เบาและดังสลบั ไป เสียงดังพอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใช้ภาษา คลอ่ งแคล่ว เชน่ ยก แสดงกริยาทา่ ทาง ใช้ภาษากาย ไม่ใช้ภาษากาย กายในการสื่อสาร มอื /ผายมือ แสดงกรยิ า ประกอบการ สอื่ สารนอ้ ยคร้ัง ส่ือสาร ท่าทางประกอบการ นำเสนอพอสมควร นำเสนอเพ่ือดงึ ดูดความ สนใจ ๔. ความเหมาะสม ใช้เวลาในการนำเสนอ ใชเ้ วลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ กบั เวลา เหมาะสม เสนอเกนิ เวลาท่ี เสนอเกนิ เวลาท่ี เสนอเกินเวลาที่ กำหนด ๑-๓ นาที กำหนด ๔-๕ นาที กำหนด มากกวา่ ๕ นาทขี ึ้นไป เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน ๑๓–๑๖ คะแนน หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๙–๑๒ คะแนน หมายถึง ดี คะแนน ๕–๘ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑–๔ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ตัง้ แต่ ๕ คะแนน ขึน้ ไป

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่อง ภูมิใจในท้องถ่ิน ๑๒๐๗ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ๑. การรว่ มกิจกรรม ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ๒. การรบั ฟงั ความ คิดเห็นของผู้อน่ื มคี วามกระตือรือรน้ ใน มีความกระตือรือร้นใน ไมม่ ีความกระตอื รือรน้ ๓. ความรับผดิ ชอบ การรว่ มกจิ กรรมอยา่ ง การร่วมกิจกรรมใน ในการร่วมกิจกรรม ๔. ขยันหมัน่ เพียร สมำ่ เสมอ บางครั้ง ๕. ตรงต่อเวลา รับฟงั ความคิดเหน็ ของ รับฟงั ความคดิ เห็นของ ไมร่ ับฟังความคิดเห็น ผอู้ ืน่ อย่างสม่ำเสมอ ผอู้ ื่นเปน็ บางครั้ง ของผู้อ่ืน มีความรบั ผดิ ชอบในงาน มีความรบั ผิดชอบในงาน ไม่มีความรบั ผิดชอบใน ท่ีไดร้ ับมอบหมายอยา่ ง ทีไ่ ด้รับมอบหมายใน งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย สมำ่ เสมอ บางครั้ง มคี วามขยนั หม่นั เพยี ร มีความขยนั หมั่นเพยี ร ไมม่ ีความขยันหม่นั เพยี ร พยายามทำงานให้สำเรจ็ พยายามทำงานใหส้ ำเร็จ พยายามทำงานให้สำเรจ็ อยา่ งสม่ำเสมอ เป็นบางครง้ั ส่งชนิ้ งานภายในเวลาที่ ส่งผลงานเสรจ็ ตรงเวลา สง่ ผลงานชา้ กว่าเวลา กำหนด กำหนด เกณฑ์การให้คะแนน ดี คะแนน ๑๑–๑๕ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๖–๑๐ คะแนน หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน ๑–๕ คะแนน หมายถึง เกณฑ์การผา่ น ตง้ั แต่ ๖ คะแนน ขนึ้ ไป

๑๒๐๘ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ ใบงาน คำช้ีแจง ใหค้ รูผ้สู อนประเมนิ ใบงานของนักเรยี นแลว้ ให้ทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ ชอื่ –สกลุ การร่วม การรับฟัง ความ ขยนั หมนั่ เพียร ตรงต่อเวลา รวม กิจกรรม ความคดิ เห็น รบั ผดิ ชอบ ๒๐ คะแนน ของผู้อน่ื ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑๔๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงช่ือ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ นักเรยี นที่ไดร้ ะดบั คุณภาพพอใชข้ น้ึ ไป ถือว่า ผ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรบั ปรุง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถ่ิน ๑๒๐๙ แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ วนั ท.่ี ......................เดอื น.......................................พ.ศ......................... เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับที่ ชอ่ื –สกลุ ความ ความสนใจ การ มีส่วน รวม ระดับ ตั้งใจใน และการ ตอบ ร่วมใน (๑๖) คุณภาพ การเรยี น ซักถาม คำถาม กจิ กรรม (๔) (๔) (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่อื ........................................................ผ้ปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมินในการสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล ดังน้ี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นักเรียนท่ีได้ระดบั คณุ ภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรุง

๑๒๑๐ คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล (Rubric) ประเด็น เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ต้องปรับปรุง (๑) ๑. ความตั้งใจใน สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น ไม่สนใจใน การเรียน ไม่คยุ หรือเลน่ กนั คยุ กนั เลก็ น้อย คุยกนั และเล่นกนั การเรียน คยุ และ ในขณะเรียน ในขณะเรยี น ในขณะเรียนเป็น เล่นกันในขณะ บางครั้ง เรียน ๒. ความสนใจและ มกี ารถามในหัวข้อท่ี มีการถามในหวั ข้อ มีการถามในหัวข้อ ไมถ่ ามในหัวข้อท่ี การซักถาม ตนไม่เข้าใจทุกเรื่อง ที่ตนไม่เขา้ ใจเป็น ทีต่ นไมเ่ ข้าใจเป็น ตนไมเ่ ข้าใจและ และกลา้ แสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางคร้งั และไม่ค่อย ไมก่ ล้าแสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก ๓. การตอบคำถาม ร่วมตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ไม่ตอบคำถาม เร่ืองท่ีครูถามและ เรื่องท่ีครูถามและ เรอ่ื งที่ครถู ามเปน็ ตอบคำถามถูกทุกข้อ ตอบคำถาม บางครั้งและตอบ สว่ นมากถูก คำถามถูกเป็น บางครงั้ ๔. มสี ว่ นร่วมใน ร่วมมอื และ ร่วมมือและ รว่ มมือและ ไม่มีความรว่ มมือ กิจกรรม ช่วยเหลอื เพอื่ นใน ช่วยเหลอื เพอ่ื น ชว่ ยเหลือเพ่อื นใน ในขณะทำกิจกรรม การทำกิจกรรม เป็นส่วนใหญ่ใน การทำกิจกรรม การทำกิจกรรม เปน็ บางครงั้

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เรอื่ ง ภมู ิใจในท้องถิ่น ๑๒๑๑ แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ วันท.ี่ ......................เดือน......................................พ.ศ.............................. เกณฑก์ ารให้คะแนน ลำดับท่ี ชอ่ื กลุ่ม การ การสนทนา การ พฤติกรรม รวม ระดับ ปฏสิ มั พันธ์ เร่อื ง ตดิ ต่อสื่อสาร การทำงาน (๑๖) คุณภาพ ๑ ๒ กนั ท่กี ำหนด กลุ่ม ๓ ๔ (๔) (๔) (๔) (๔) ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่ือ................................................................ผปู้ ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ดังนี้ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นักเรยี นทไ่ี ดร้ ะดับคุณภาพพอใชข้ ้ึนไป ถือวา่ ผา่ น ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรงุ

๑๒๑๒ คู่มือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายกลุ่ม (Rubric) ประเด็น เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ๑. การ ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ตอ้ งปรับปรุง (๑) ปฏสิ มั พันธ์กนั ร่วมมือและชว่ ยเหลือ เพ่อื นในการทำ ร่วมมือและ รว่ มมอื และ ไมใ่ หค้ วามร่วมมือ กิจกรรม ช่วยเหลือเพือ่ นเปน็ ชว่ ยเหลอื เพ่อื นใน ในขณะทำกิจกรรม สว่ นใหญ่ในการทำ การทำกจิ กรรมเปน็ กิจกรรม บางครง้ั ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเด็น สนทนาไม่ตรง เร่ืองท่ีกำหนด ครอบคลุมเน้อื หา ครอบคลุมเน้ือหา ประเด็น บางส่วน ๓. การตดิ ตอ่ มีการปรกึ ษาครแู ละ มกี ารปรึกษาครูและ มีการปรึกษาครแู ละ ไมม่ ีการปรึกษาครู สื่อสาร เพอ่ื นกลุ่มอื่น ๆ เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ และเพ่ือนกลุ่มอืน่ ๆ เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางคร้ัง ๔. พฤติกรรม มีการวางแผนอยา่ ง มกี ารวางแผนอย่าง มีการวางแผนอยา่ ง ไมม่ ีการวางแผน การทำงาน เป็นระบบ และแบง่ หน้าที่ของสมาชกิ เปน็ ระบบ และแบง่ เป็นระบบ และแบ่ง อย่างเป็นระบบ ในกลมุ่ หน้าที่ของสมาชกิ หนา้ ที่ของสมาชกิ และไม่มีการแบง่ ในกลมุ่ เป็นสว่ นใหญ่ ในกลุ่มเป็นบางครั้ง หน้าที่ของสมาชกิ ในกลมุ่

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรื่อง ภมู ิใจในท้องถ่ิน ๑๒๑๓ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชีแ้ จง ให้ผูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี นแลว้ ขดี ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการ พฤติกรรมการแสดงออก ระดับการปฏบิ ัติ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. รักชาติ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และบอกความหมาย ศาสน์ ของเพลงชาติ กษัตรยิ ์ ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธิและหน้าท่ขี องนักเรยี น ให้ความรว่ มมอื ร่วมใจ ในการทำงานกบั สมาชิกในหอ้ งเรยี น ๑.๓ เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ีสรา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรียนและชุมชน ๑.๔ เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถือ ปฏบิ ตั ติ นตามหลักของ ศาสนา และเป็นตัวอย่างที่ดีของศาสนิกชน ๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมและมสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมทีเ่ กี่ยวกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามท่โี รงเรียนและชุมชนจดั ขึน้ ชื่นชมในพระราชกรณียกิจ พระปรีชาสามารถของพระมหากษตั รยิ แ์ ละพระราชวงศ์ ๒. มีวนิ ัย ๒.๑ ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คับของครอบครวั รับผดิ ชอบ และโรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน มีความรับผิดชอบ ๓. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓.๑ ต้งั ใจเรยี น ๓.๒ เอาใจใสใ่ นการเรยี นและมคี วามเพียรพยายามในการเรยี น ๓.๓ เขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ๓.๔ ศึกษาค้นคว้า หาความรจู้ ากหนงั สอื เอกสาร ส่งิ พิมพ์ สื่อ เทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งการเรียนรูท้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี น และ เลือกใชส้ อื่ ได้อยา่ งเหมาะสม ๓.๕ บนั ทกึ ความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสง่ิ ที่เรยี นรู้ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ ๓.๖ แลกเปลีย่ นความรู้ด้วยวิธีการตา่ ง ๆ และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ๔. มุ่งมนั่ ใน ๔.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย การทำงาน ๔.๒ มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อให้งานสำเร็จ ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมนิ ...................../..................../...................

๑๒๑๔ คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ๐ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑก์ ารประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดมี าก นักเรียนท่ีได้ระดบั คณุ ภาพผา่ นขน้ึ ไป ถือว่า ผา่ น ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผ่าน ๐-๗ ไมผ่ า่ น

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่ือง ภูมิใจในท้องถิ่น ๑๒๑๕ แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คำชี้แจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี นแล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก ระดับการปฏบิ ัติ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มีความสามารถในการรบั –สง่ สาร การส่อื สาร ๑.๒ มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม ๒. ความสามารถใน ๒.๑ มที กั ษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ ๒.๒ มีความสามารถในการคิดอยา่ งมีระบบ ๓. ความสามารถใน ๓.๑ สามารถทำงานกลุม่ รว่ มกับผู้อ่ืนได้ การใชท้ กั ษะชวี ติ ๓.๒ นำความรูท้ ่ไี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั ลงช่ือ................................................................ผูป้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้งั เกณฑก์ ารให้คะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ดังน้ี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การสรุปผลการประเมิน ๑๖-๑๘ ดมี าก นกั เรยี นที่ไดร้ ะดับคุณภาพผ่านข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผ่าน ๐-๙ ไม่ผ่าน

๑๒๑๖ คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรอ่ื ง การตั้งถน่ิ ฐานและการดำเนินชวี ติ ของคนสมัยรตั นโกสนิ ทร์ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๒ เรื่อง ภมู ใิ จในท้องถ่ิน เวลา ๑ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปจั จุบนั ในดา้ นความสมั พันธ์และ การเปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถงึ ความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ขน้ึ ตัวช้ีวดั ป.๔/๑ อธิบายการตงั้ หลกั แหลง่ และพฒั นาการของมนุษย์ยุคก่อนประวตั ิศาสตรแ์ ละ ยุคประวตั ศิ าสตร์โดยสงั เขป ๒. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๕ ตัง้ อยู่บริเวณฝ่งั ตรงขา้ มกับกรงุ ธนบุรี มลี ักษณะภูมปิ ระเทศเป็นทีร่ าบลุ่มปากแม่น้ำเจ้าพระยา ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) อธิบายการตัง้ ถ่นิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ิตของคนสมยั รัตนโกสนิ ทรไ์ ด้ ๓.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จำแนกการต้ังถิ่นฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของคนสมัยรตั นโกสินทร์ ๓.๓ ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) เห็นความสำคญั ของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรม์ ีความสัมพนั ธก์ ับการดำเนินชวี ิตของคนสมัย รตั นโกสนิ ทร์ ๔. สาระการเรียนรู้ การตั้งถ่นิ ฐานและการดำเนนิ ชีวิตของคนสมยั รัตนโกสนิ ทร์ ๕. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการคดิ ๒. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๓. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. มวี นิ ัย ๓. ใฝ่เรียนรู้ ๔. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ๗. กิจกรรมการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ภมู ิใจในท้องถ่นิ การจัดกิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑๐ เรอื่ ง การตัง้ ถิน่ ฐา รายวิชาประวตั ิศาสตร ลำดับที่ จุดประสงค์ ขัน้ ตอนการจัด เวลา แ ๑. การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมครู ข้นั นำ ๑๐ ๑. ครูนำภาพเกยี่ วกับหล นาที ทางประวตั ิศาสตร์สมยั รตั นโกสนิ ทรม์ าใหน้ ักเรยี ๒. ครูตงั้ ประเด็นคำถาม ๑) ภาพท่นี กั เรยี นเห็นค ๒) วัดพระศรีรัตนศาสด ความสำคัญอย่างไร ๓) วัดพระศรีรัตนศาสด นิยมเรยี กอีกชื่อวา่ อะไร เพราะเหตุใด ๓) วัดพระศรรี ัตนศาสด เปน็ หลักฐานทางประวตั ประเภทใด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook