Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

Published by elibraryraja33, 2021-08-04 07:18:20

Description: 64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

Search

Read the Text Version

๑๒๑๗ รู้ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔ านและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมัยรัตนโกสินทร์ ร์ จำนวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมิน กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ ลกั ฐาน ๑. นกั เรยี นดูภาพเกีย่ วกับ - PowerPoint - การสังเกต หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมยั ภาพวัดพระศรี ยนดู รัตนโกสินทร์ รตั นศาสดาราม ม ๒. นกั เรยี นตอบคำถาม คืออะไร ๑) แนวคำตอบ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม ดารามมี ๒) แนวคำตอบ เปน็ วดั ทีอ่ ยู่ ในพระบรมมหาราชวัง ดาราม ๓) แนวคำตอบ วัดพระแก้ว และ เพราะเป็นทีป่ ระดิษฐานพระ แกว้ มรกตซึ่งเปน็ พระพุทธรูป คู่บ้านคเู่ มือง ดาราม ๓) แนวคำตอบ หลักฐาน ตศิ าสตร์ ช้นั ต้น

๑๒๑๘ ค่มู อื คร ลำดับที่ จดุ ประสงค์ ขั้นตอนการจดั เวลา แ ๒. การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรมครู ๑. อธบิ ายการตั้ง ถิ่นฐานและ ๔) นกั เรียนคิดวา่ วัดพ การดำเนินชวี ิต ของคนสมยั รตั นศาสดารามเปน็ หลัก รตั นโกสนิ ทรไ์ ด้ ประวัตศิ าสตรท์ ่แี สดงพฒั ดา้ นใด ข้ันสอน ๑๕ ๑. ครใู หน้ ักเรียนศกึ ษาแ นาที อาณาเขตกรงุ รัตนโกสินท นักเรยี นรว่ มกนั วเิ คราะห ทต่ี ้ังของอาณาจักรสง่ ผล รตั นโกสนิ ทรอ์ ยา่ งไร ๒. ครใู หน้ ักเรียนแบง่ กล จากใบความรู้และอภปิ ร ความรคู้ วามเข้าใจ ๓. ครตู ้ังคำถามใหน้ กั เรยี ร่วมกนั หาคำตอบ ๑) ท่ตี ง้ั และลักษณะภูม ของรัตนโกสินทร์เป็นอย

รแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมนิ กจิ กรรมนกั เรียน การเรียนรู้ พระศรี ๔) แนวคำตอบ ความร่งุ เรือง กฐานทาง ทางพทุ ธศาสนาและสถาปตั ยกรรม ฒนาการ ทเี่ กดิ จากความศรัทธาในศาสนา แผนที่ ๑. นักเรียนดูแผนที่อาณาเขต - PowerPoint - การสงั เกต ทร์ ให้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละรว่ มกนั แผนท่ีอาณา - การประเมิน ห์เก่ยี วกับ วิเคราะห์เก่ยี วกบั ทตี่ ้ังของ เขตกรุง ลดตี ่อกรุง อาณาจักร รัตนโกสินทร์ - ใบความรู้ท่ี ๗ แนวคำตอบ สามารถขยาย เร่ือง การต้งั ถนิ่ อาณาเขตออกไปทางตะวันออก ฐานและ ได้ การป้องกนั ข้าศึกทำไดง้ า่ ย การดำเนนิ ชีวิต ลุ่มศึกษา ๒. นักเรยี นรว่ มกันศึกษาจาก ของคนสมัย รายสรปุ ใบความรู้ และรว่ มกนั อภิปราย รัตนโกสนิ ทร์ สรุปความรคู้ วามเขา้ ใจ - คำถาม ยน ๓. นกั เรียนร่วมกนั หาคำตอบ - แบบสังเกต - แบบประเมนิ มิประเทศ ๑) แนวคำตอบ ตงั้ อยู่บรเิ วณ ยา่ งไร ฝั่งตรงข้ามกรงุ ธนบรุ แี ละมีภูมิ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรือ่ ง ภมู ิใจในท้องถ่ิน ลำดับที่ จุดประสงค์ ข้นั ตอนการจัด เวลา แ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ กจิ กรรมครู ๒) คนในสมยั รตั นโกสิน ประกอบอาชีพอะไร ๓) การฟ้ืนฟดู ้านสังคมแล วัฒนธรรมเกดิ ขน้ึ ในสมยั ใด เพราะเหตใุ ด ๒. เห็นความสำคัญ ๔) หลักฐานทางประวตั ิศ ของหลกั ฐานทาง สมัยกรงุ รัตนโกสินทร์มี ประวตั ศิ าสตร์มี ความสมั พนั ธ์กับวถิ กี ารด ความสัมพนั ธ์กับ ชวี ติ ของคนสมัยรัตนโกส การดำเนินชวี ติ อย่างไร ของคนสมยั

๑๒๑๙ แนวการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมิน กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ ประเทศเป็นทร่ี าบลมุ่ บริเวณ - แบบประเมิน ปากแมน่ ำ้ เจ้าพระยา นทร์ ๒) แนวคำตอบ อาชพี หลักเปน็ อาชพี เกษตรกรและประกอบ อาชีพอน่ื ๆ ทีห่ ลากหลาย ละ ๓) แนวคำตอบ รชั กาลที่ ๕ ยรชั กาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ ัว ประเทศไทยมี การปฏริ ูปบ้านเมืองใหท้ ันสมัย ทดั เทียมชาติตะวนั ตกเพ่ือ ป้องกันไม่ใหช้ าติตะวันตก แสวงหาผลประโยชน์ ศาสตร์ ๔) แนวคำตอบ ความเจริญ - แบบประเมิน ด้านเศรษฐกิจจากการประกอบ ดำเนิน อาชีพเกษตรกรรม การค้าขาย สินทร์ ภายในและการติดต่อค้าขาย และมีสัมพันธไมตรีกบั ตา่ งประเทศ การสร้างสรรค์ทาง

๑๒๒๐ คู่มือคร ลำดับ จุดประสงค์ ข้ันตอนการจดั เวลา กจิ กรรมคร ที่ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ รัตนโกสนิ ทร์ ๓. ๓. จำแนกการตงั้ ขน้ั ปฏบิ ัติ ๔. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เติมเก ถน่ิ ฐานและ การต้ังถิ่นฐาน และการ การดำเนนิ ชวี ติ ชีวิตของมนุษยใ์ นสมยั รตั ของคนสมัย ใหน้ กั เรียนเกิดความรูค้ รตั นโกสนิ ทร์ ย่งิ ข้นึ ๑๕ ๑. ครูให้นักเรยี นฝึกจำแ นาที ที่เกย่ี วกบั การตง้ั ถ่นิ ฐา การดำเนนิ ชวี ิตของคน รัตนโกสนิ ทร์ เช่น อนสุ ประชาธิปไตย ศลิ าจาร สงั คโลก วัดพระศรีสรร เป็นต้น ๒. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะ ใบงาน เร่อื ง การต้งั ถ่นิ การดำเนนิ ชวี ติ ของคน รตั นโกสนิ ทร์

รแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรยี นรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมนิ รู กิจกรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ ศิลปวัฒนธรรม และความ ศรทั ธาทางศาสนา กีย่ วกบั ๔. นกั เรียนฟังครูอธบิ าย รดำเนิน เพม่ิ เติม และซกั ถามข้อสงสยั ตนโกสนิ ทร์ ความเข้าใจ แนกบัตรคำ ๑. นักเรยี นฝึกจำแนกบตั รคำท่ี - บัตรคำ - การตรวจงาน านและ เกี่ยวกบั การต้ังถน่ิ ฐานและการ - ใบงานท่ี ๑๐ - การสังเกต นสมยั ดำเนนิ ชวี ิตของคนสมยั เรอ่ื ง การตั้ง - การประเมิน สาวรยี ์ รัตนโกสนิ ทร์ ถ่นิ ฐานและ รกึ เครื่อง การดำเนนิ ชวี ติ รเพชญ์ ของคนสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ะกลุ่มทำ ๒. นักเรียนร่วมกนั ทำใบงาน - แบบสังเกต นฐานและ เร่ือง การต้ังถ่นิ ฐานและ - แบบประเมิน นสมยั การดำเนินชวี ิตของคนสมยั รตั นโกสินทร์

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เร่ือง ภมู ิใจในท้องถน่ิ ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ขน้ั ตอนการจัด เวลา แ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ กจิ กรรมครู ๔. ๔. เห็นความสำคัญ ข้ันสรปุ ๑๐ ๑. ครสู ุ่มตัวแทนนักเรียน ของหลักฐานทาง นาที ๓ กล่มุ นำเสนอผลงาน ประวตั ศิ าสตร์มี ๒. ครูและนกั เรียนรว่ มก ความสัมพันธก์ ับ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง การดำเนนิ ชีวติ ๓. ครแู ละนักเรยี นร่วมก ของคนสมยั องค์ความรู้ รตั นโกสนิ ทร์

๑๒๒๑ แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมิน กจิ กรรมนักเรียน การเรยี นรู้ น ๑. ตัวแทนนักเรียน ๓ กลมุ่ - PowerPoint - การตรวจงาน นำเสนอผลงาน - ใบงานที่ ๑๐ - การสงั เกต กัน ๒. นกั เรยี นรว่ มกันตรวจสอบความ เร่ือง การตง้ั ถ่นิ - การประเมิน ถกู ต้อง ฐานและ กนั สรุป ๓. นักเรียนรว่ มกันสรุปองค์ความรู้ การดำเนนิ ชีวิต หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ของคนสมยั สมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร์มีความ รตั นโกสนิ ทร์ สมั พันธก์ ับวิถีการดำเนนิ ชวี ติ ดา้ น - แบบสังเกต ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ ความ - แบบประเมนิ สมั พนั ธก์ ับตา่ งชาติ การสรา้ งสรรค์ ด้านศิลปะวฒั นธรรม และความ ศรัทธาทางศาสนา

๑๒๒๒ คูม่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) ๘. สอื่ การเรียนร/ู้ แหล่งเรยี นรู้ ๑. PowerPoint แผนที่อาณาเขตกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒. PowerPoint ภาพหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์สมัยรัตนโกสนิ ทร์ ๓. บัตรคำ เกย่ี วกบั การต้ังถ่นิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมยั รัตนโกสินทร์ ๒. ใบความรู้ท่ี ๗ เรอ่ื ง เกีย่ วกับการตัง้ ถิน่ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมยั รตั นโกสินทร์ ๓. ใบงานท่ี ๑๐ เร่อื ง เกี่ยวกับการตง้ั ถิ่นฐานและการดำเนินชีวิตของคนสมัยรตั นโกสินทร์ ๙. การประเมินผลรวบยอด ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง เกี่ยวกับการตัง้ ถนิ่ ฐานและการดำเนินชีวติ ของคนสมยั รตั นโกสนิ ทร์ การวัดและประเมนิ ผล ประเด็นการวัด วิธกี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ และประเมนิ ผล ด้านความรู้ - ตรวจใบงาน - ใบงานท่ี ๑๐ เรื่อง ผ่านเกณฑ์การประเมิน - คำถาม เกย่ี วกับการต้ังถ่นิ ฐาน รอ้ ยละ ๖๐ - การสงั เกต และการดำเนินชีวติ ของ - การประเมนิ คนสมยั รัตนโกสนิ ทร์ - แบบสังเกต - แบบประเมิน ด้านทกั ษะ กระบวนการ - การสังเกต - บตั รคำ ผ่านเกณฑ์ประเมนิ ระดบั - การประเมนิ - แบบสงั เกต คุณภาพพอใชข้ ึ้นไป - แบบประเมิน ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับ คณุ ภาพพอใชข้ น้ึ ไป ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึง ประเมิน รักชาติ ศาสน์ แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ประเมินระดับ ประสงค์ กษัตรยิ ์ มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ อนั พงึ ประสงค์ คุณภาพพอใชข้ ึ้นไป มุง่ ม่ันในการทำงาน สมรรถนะสำคญั ประเมินความสามารถใน แบบประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์ประเมนิ ระดบั ของผเู้ รียน การคดิ ความสามารถใน สำคญั ของผูเ้ รียน คณุ ภาพพอใช้ขน้ึ ไป การแก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ ทักษะชวี ติ

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรื่อง ภมู ใิ จในท้องถ่ิน ๑๒๒๓ ๑๐. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเรจ็ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... .......... ......................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ข้อจำกัดการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………...………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงชอ่ื ……………………………………………………….ผู้สอน (…...........………………………………………….) วนั ที่……………เดือน……………………………พ.ศ……………… ๑๑. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารหรือผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………….ผตู้ รวจ (…...........………………………………………….) วันท่ี……………เดอื น……………………………พ.ศ………………

๑๒๒๔ ค่มู อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) ใบความรูท้ ี่ ๗ เรอ่ื ง การต้งั ถ่ินฐานและการดำเนินชวี ติ ของคนสมยั รัตนโกสนิ ทร์ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เรือ่ ง ภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๐ เรอื่ ง การตง้ั ถ่ินฐานและการดำเนินชีวติ ของคนสมัยรตั นโกสินทร์ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหัสวิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ กรุงรตั นโกสินทร์ การตัง้ ถนิ่ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของคนสมัยรัตนโกสนิ ทร์ กรงุ รัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรทสี่ ่ีในยุคประวัตศิ าสตรข์ องไทย เรมิ่ ต้ังแต่การยา้ ยเมืองหลวงจาก ฝ่ังกรุงธนบุรีมายังกรุงเทพมหานคร ซ่ึงต้ังอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ปฐมกษตั ริยแ์ หง่ ราชวงศ์จกั รี เสด็จขึน้ ครองราชสมบตั ิ เม่ือวนั ที่ ๖ พ.ศ. ๒๓๒๕ ครึ่งแรกของสมัยนี้เป็นการเพิ่มพูนอำนาจของอาณาจักร ถูกขัดจังหวะด้วยความขัดแย้งเป็นระยะ กับพม่า เวียดนาม และลาว ส่วนคร่ึงหลังน้ันเป็นการเผชิญกับประเทศเจ้าอาณานิคม อังกฤษและฝร่ังเศส จนทำให้ไทยเป็นเพียงประเทศเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตก สมัยน้ีมี พัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีสำคัญ ด้วยการเพ่ิมการค้ากับต่างประเทศ การเลิกทาส และการขยาย การศึกษาแก่ชนชั้นกลางท่ีเกิดขึ้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชถูกแทนที่ด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้ รฐั ธรรมนญู ในการปฏวิ ัตสิ ยาม พ.ศ. ๒๔๗๕ การฟ้ืนฟูเศรษฐกิจ เศรษฐกิจของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเริ่มฟนื้ ตัวในตอนปลายรัชกาลท่ี ๒ เปน็ ต้น มา และเจริญรุ่งเรืองอย่างมากในสมัยรัชกาลท่ี ๓ ผลผลิตทางการเกษตรและการค้าทางเรื อสำเภากับ ต่างประเทศขยายตัวขึ้นมาก รายได้ของประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีท่ีมา ดังน้ี รายได้จากการค้ากับ ตา่ งประเทศ และรายไดภ้ ายในประเทศ เป็นรายไดข้ องรัฐท่ไี ดจ้ ากภาษีอากรภายในประเทศ การฟื้นฟูด้านสังคมและวัฒนธรรม การดำเนินชีวิตของผู้คนในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยังคงลักษณะท่ี คล้ายกับการดำเนินชีวิตของคนไทยสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยพยายามรกั ษารปู แบบทางวัฒนธรรม ประเพณีเดิมไว้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยมีการปฏิรูปบ้านเมืองให้ทันสมัยทัดเทียมชาติ ตะวันตก อาชพี เกษตรกรรมเปน็ อาชพี หลกั แต่กม็ กี ารประกอบอาชีพอน่ื ทห่ี ลากหลายขน้ึ และระบบไพร่ถกู ยกเลกิ ไป หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กฎหมายตราสามดวง ศิลาจารึก วดั โพธ์ิ พระท่ีนง่ั อนนั ตสมาคม แหล่งข้อมูล/อา้ งอิง กฎหมายตราสามดวง ites.google.com/a/srisawat.ac.th/prawatisastr-thiy/home/smay-ratnkosinthr-txn-tn

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เรื่อง ภูมใิ จในท้องถิ่น ๑๒๒๕ ใบงานที่ ๑๐ เรอ่ื ง การต้ังถิ่นฐานและการดำเนนิ ชีวติ ของคนสมัยรตั นโกสนิ ทร์ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง ภมู ใิ จในทอ้ งถิ่น แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๐ เรื่อง การตัง้ ถ่นิ ฐานและการดำเนินชวี ิตของคนสมัยรตั นโกสินทร์ รายวิชาประวัติศาสตร์ รหสั วิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ คำช้แี จง ให้นักเรยี นสรปุ องค์ความรจู้ ากการศกึ ษาข้อมูล เร่อื ง การต้งั ถิน่ ฐานและการดำเนินชีวติ ของคนสมัย รัตนโกสินทร์ เปน็ แผนผังความคิด ท่ีต้งั ลกั ษณะภูมิประเทศ ............................................. ................................................ ............................................. ................................................ ............................................ ................................................ ... การตง้ั ถิน่ ฐานและการดำเนินชวี ิต ของคนสมัยรตั นโกสินทร์ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ อาชพี หลกั การดำเนินชีวิต ............................................. ................................... ................................... ............................................. ................................... ................................... ............................................. ................................... ................................... ............................................. ................................... ................................... ............................... ................................... . ๑. ชอ่ื -นามสกุล..............................................................................................เลขที่...........ชนั้ ................ ๒. ช่อื -นามสกุล..............................................................................................เลขท.่ี ..........ชน้ั ................ ๓. ช่อื -นามสกุล..............................................................................................เลขที่...........ชน้ั ................ ๔. ช่ือ-นามสกุล..............................................................................................เลขที่...........ชนั้ ................

๑๒๒๖ คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เฉลยใบงานที่ ๑๐ เรอื่ ง การตั้งถน่ิ ฐานและการดำเนินชีวิตของคนสมัยรัตนโกสินทร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่อง ภูมิใจในท้องถนิ่ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑๐ เรอ่ื ง การตัง้ ถิน่ ฐานและการดำเนินชีวิตของคนสมัยรัตนโกสนิ ทร์ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ คำช้แี จง ให้นักเรียนสรุปองค์ความรจู้ ากการศกึ ษาข้อมลู เร่ือง การตัง้ ถ่ินฐานและการดำเนนิ ชวี ิตของคนสมัย รตั นโกสนิ ทร์ เป็นแผนผงั ความคดิ ทตี่ ง้ั ลักษณะภูมิประเทศ เริ่มตง้ั แต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่ง ภมู ิประเทศของกรุงรตั นโกสนิ ทรน์ น้ั ตัง้ อยบู่ ริเวณ กรุงธนบรุ ี มายังกรุงเทพมหานคร แหลมย่ืนลงไปในแมน่ ำ้ เจ้าพระยาฝั่งตะวันออก มี ซง่ึ ต้ังอยู่ทางตะวนั ออกของแม่น้ำ แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านลงมาจากทางเหนือ ผา่ น เจ้าพระยา ทางตะวันตกและใต้ก่อนท่ีจะมุ่งลงใต้สู่อ่าวไทย การตั้งถิ่นฐานและการดำเนนิ ชีวิต ของคนสมยั รตั นโกสนิ ทร์ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ อาชพี หลกั การดำเนินชีวิต วดั พระศรีรัตนศาสดาราม การเกษตรและ การดำเนนิ ชีวติ ของผู้คนในสมัย กฎหมายตราสามดวง การค้าทางเรือ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ ยังคงลักษณะท่ี ศลิ าจารกึ วัดโพธ์ิ พระทน่ี ง่ั สำเภา คล้ายกับการดำเนินชีวติ ของคน อนนั ตสมาคม ไทยสมัยอยธุ ยาตอนปลาย โดย พยายามรักษารูปแบบทาง วฒั นธรรมประเพณเี ดิมไว้ ๑. ชื่อ-นามสกลุ .......................................................................................เลขที่...........................ชน้ั ................ ๒. ช่ือ-นามสกลุ .......................................................................................เลขท.ี่ ..........................ชัน้ ................ ๓. ช่ือ-นามสกุล.......................................................................................เลขท.ี่ ..........................ชั้น................ ๔. ชอ่ื -นามสกลุ .......................................................................................เลขท่ี...........................ช้ัน...............

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เร่ือง ภูมิใจในท้องถ่นิ ๑๒๒๗ แบบประเมนิ การนำเสนอหน้าช้ันเรียน เกณฑ์ ดีมาก (๔) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (๑) การประเมนิ ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การถ่ายทอด คล่องแคลว่ ไมต่ ิดขัด คล่องแคลว่ ไม่ ไมค่ ล่องแคลว่ ตดิ ขัด หยดุ ชะงัก เนื้อหา ทำใหเ้ ขา้ ใจประเดน็ ได้ ติดขัด ทำให้เข้าใจ มีการหยดุ ชะงักบ้าง ในหลายจงั หวะ ง่ายและเร็ว การพูดมี ประเด็นได้ง่าย บางคร้งั จงั หวะพดู พูดเรว็ หรอื ชา้ การเว้นจังหวะและ การพูดมีการเวน้ ชา้ จับประเดน็ ไม่ได้ เกินไป เน้นคำ เนน้ สาระ จังหวะอย่าง สำคญั อยา่ งเหมาะสม เหมาะสม ความเรว็ เพือ่ ใหผ้ ฟู้ งั ตดิ ตาม ในการพูดอยใู่ น การนำเสนอ ความเร็ว ระดับเหมาะสม ในการพูดอยใู่ นระดับ เหมาะสม ๒. บุคลกิ ภาพ มีความม่นั ใจ สบสายตา สบสายตาผฟู้ งั สบสายตาผ้ฟู งั น้อย ก้มหน้าไมส่ บตา ผูฟ้ งั ตลอดเวลาเพ่อื พอสมควร นำ้ เสยี ง น้ำเสียงสัน่ ขาด และน้ำเสยี งสนั่ ดงึ ดูดใหผ้ ูฟ้ ังสนใจใน สะท้อนถึงความ ความมั่นใจ เสียง และเบา เนือ้ หาทถี่ ่ายทอด มั่นใจ เสียงดัง เบาและดังสลบั ไป เสยี งดังพอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใช้ภาษา คล่องแคล่ว เช่น ยก แสดงกริยาท่าทาง ใชภ้ าษากาย ไมใ่ ชภ้ าษากาย กายในการส่ือสาร มอื /ผายมอื แสดงกริยา ประกอบการ ส่ือสารน้อยคร้ัง สอ่ื สาร ทา่ ทางประกอบการ นำเสนอพอสมควร นำเสนอเพื่อดึงดูดความ สนใจ ๔. ความเหมาะสม ใช้เวลาในการนำเสนอ ใช้เวลาในการนำ ใช้เวลาในการนำ ใชเ้ วลาในการนำ เสนอเกินเวลาที่ เสนอเกินเวลาที่ กบั เวลา เหมาะสม เสนอเกินเวลาที่ กำหนด ๔-๕ นาที กำหนด มากกวา่ ๕ นาทีขึ้นไป กำหนด ๑-๓ นาที เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดมี าก คะแนน ๑๓–๑๖ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน ๙–๑๒ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๕–๘ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง คะแนน ๑–๔ คะแนน หมายถึง เกณฑ์การผา่ น ต้งั แต่ ๕ คะแนน ขึน้ ไป

๑๒๒๘ คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ เกณฑ์การประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ๑. การรว่ มกจิ กรรม ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรงุ (๑) ๒. การรบั ฟังความ คดิ เห็นของผู้อ่นื มีความกระตือรอื รน้ ใน มคี วามกระตือรือร้นใน ไมม่ ีความกระตอื รือรน้ ๓. ความรับผิดชอบ การรว่ มกิจกรรมอยา่ ง การร่วมกจิ กรรมใน ในการรว่ มกิจกรรม ๔. ขยนั หม่นั เพียร สม่ำเสมอ บางครั้ง ๕. ตรงตอ่ เวลา รบั ฟงั ความคิดเห็นของ รับฟงั ความคิดเหน็ ของ ไมร่ บั ฟังความคดิ เหน็ ผอู้ ่นื อยา่ งสม่ำเสมอ ผอู้ นื่ เป็นบางครั้ง ของผู้อนื่ มคี วามรบั ผดิ ชอบในงาน มีความรบั ผดิ ชอบในงาน ไมม่ ีความรับผดิ ชอบใน ท่ีได้รับมอบหมายอยา่ ง ท่ไี ดร้ ับมอบหมายใน งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย สมำ่ เสมอ บางครงั้ มีความขยันหมนั่ เพยี ร มีความขยันหมน่ั เพยี ร ไม่มีความขยนั หมน่ั เพียร พยายามทำงานให้สำเรจ็ พยายามทำงานให้สำเรจ็ พยายามทำงานให้สำเร็จ อยา่ งสมำ่ เสมอ เปน็ บางครงั้ สง่ ชิน้ งานภายในเวลาท่ี สง่ ผลงานเสร็จตรงเวลา ส่งผลงานชา้ กว่าเวลา กำหนด กำหนด เกณฑก์ ารให้คะแนน ดี คะแนน ๑๑–๑๕ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๖–๑๐ คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรงุ คะแนน ๑–๕ คะแนน หมายถึง เกณฑ์การผา่ น ตั้งแต่ ๖ คะแนน ข้นึ ไป

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่อื ง ภูมิใจในท้องถ่นิ ๑๒๒๙ แบบประเมินใบงาน คำชี้แจง ให้ครผู สู้ อนประเมินใบงานของนักเรยี นแล้วใหท้ ำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดับคะแนน ลำดับท่ี ชือ่ –สกลุ การรว่ ม การรับฟัง ความ ขยนั หมน่ั เพียร ตรงตอ่ เวลา รวม กจิ กรรม ความคิดเห็น รบั ผดิ ชอบ ๒๐ คะแนน ของผู้อน่ื ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑๔๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงช่อื ................................................................ผปู้ ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ นกั เรยี นท่ไี ดร้ ะดบั คุณภาพพอใช้ข้นึ ไป ถือว่า ผ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรับปรงุ

๑๒๓๐ คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ วนั ท.่ี ......................เดือน.......................................พ.ศ......................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลำดบั ท่ี ช่ือ–สกลุ ความ ความสนใจ การ มสี ว่ น รวม ระดบั ตัง้ ใจใน และการ ตอบ รว่ มใน (๑๖) คณุ ภาพ การเรยี น ซักถาม คำถาม กจิ กรรม (๔) (๔) (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชื่อ........................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ดังนี้ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดีมาก นักเรียนท่ีไดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใช้ขึ้นไป ถือว่า ผา่ น ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรบั ปรงุ

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรอื่ ง ภมู ใิ จในท้องถน่ิ ๑๒๓๑ เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบคุ คล (Rubric) ประเดน็ เกณฑ์การให้คะแนน การประเมนิ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ตอ้ งปรับปรุง (๑) ๑. ความต้ังใจใน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น ไมส่ นใจใน การเรยี น ไมค่ ยุ หรือเล่นกัน คยุ กันเลก็ น้อย คยุ กันและเลน่ กนั การเรียน คยุ และ ในขณะเรียน ในขณะเรยี น ในขณะเรียนเปน็ เล่นกันในขณะ บางครงั้ เรยี น ๒. ความสนใจและ มกี ารถามในหวั ข้อที่ มกี ารถามในหัวข้อ มกี ารถามในหวั ข้อ ไมถ่ ามในหวั ข้อที่ การซกั ถาม ตนไมเ่ ข้าใจทุกเรื่อง ทต่ี นไม่เขา้ ใจเปน็ ทีต่ นไม่เขา้ ใจเปน็ ตนไม่เข้าใจและ และกล้าแสดงออก สว่ นมากและกล้า บางคร้ังและไม่ค่อย ไมก่ ลา้ แสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก ๓. การตอบคำถาม ร่วมตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ไมต่ อบคำถาม เรอื่ งท่ีครูถามและ เรื่องท่ีครถู ามและ เร่อื งที่ครถู ามเปน็ ตอบคำถามถูกทุกข้อ ตอบคำถาม บางครง้ั และตอบ ส่วนมากถกู คำถามถกู เป็น บางครั้ง ๔. มสี ่วนร่วมใน ร่วมมือและ รว่ มมอื และ รว่ มมือและ ไมม่ ีความรว่ มมือ กจิ กรรม ชว่ ยเหลอื เพือ่ นใน ชว่ ยเหลอื เพ่อื น ชว่ ยเหลือเพื่อนใน ในขณะทำกจิ กรรม การทำกจิ กรรม เปน็ ส่วนใหญใ่ น การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม เป็นบางคร้งั

๑๒๓๒ คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ วันท.ี่ ......................เดือน......................................พ.ศ.............................. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลำดบั ท่ี ชอ่ื กลุ่ม การ การสนทนา การ พฤติกรรม รวม ระดับ ปฏิสมั พันธ์ เร่อื ง ตดิ ต่อสื่อสาร การทำงาน (๑๖) คุณภาพ ๑ ๒ กนั ท่กี ำหนด กลุ่ม ๓ ๔ (๔) (๔) (๔) (๔) ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชื่อ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ดงั นี้ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นักเรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คุณภาพพอใชข้ นึ้ ไป ถือว่า ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรบั ปรงุ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่อื ง ภมู ิใจในท้องถนิ่ ๑๒๓๓ เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียนรายกลุม่ (Rubric) ประเดน็ เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ต้องปรับปรุง (๑) ๑. การ ร่วมมอื และช่วยเหลือ ปฏิสัมพันธ์กนั เพอ่ื นในการทำ ร่วมมือและ ร่วมมอื และ ไม่ใหค้ วามร่วมมือ กิจกรรม ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นเป็น ชว่ ยเหลือเพอื่ นใน ในขณะทำกิจกรรม สว่ นใหญใ่ นการทำ การทำกจิ กรรมเป็น กิจกรรม บางคร้งั ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาไมต่ รง เร่ืองท่ีกำหนด ครอบคลุมเนอ้ื หา ครอบคลุมเนอ้ื หา ประเดน็ บางส่วน ๓. การติดตอ่ มีการปรกึ ษาครูและ มีการปรึกษาครแู ละ มกี ารปรกึ ษาครแู ละ ไม่มีการปรกึ ษาครู สอ่ื สาร เพอ่ื นกลมุ่ อื่น ๆ เพอื่ นกล่มุ อน่ื ๆ เพ่อื นกลุ่มอ่ืน ๆ และเพื่อนกล่มุ อ่ืน ๆ เปน็ ส่วนใหญ่ เปน็ บางครงั้ ๔. พฤตกิ รรม มกี ารวางแผนอยา่ ง มีการวางแผนอยา่ ง มกี ารวางแผนอยา่ ง ไมม่ ีการวางแผน การทำงาน เป็นระบบ และแบง่ หนา้ ท่ขี องสมาชกิ เปน็ ระบบ และแบ่ง เป็นระบบ และแบ่ง อย่างเป็นระบบ ในกลุ่ม หน้าที่ของสมาชิก หนา้ ทีข่ องสมาชิก และไม่มกี ารแบง่ ในกลุม่ เปน็ ส่วนใหญ่ ในกลมุ่ เป็นบางคร้งั หน้าท่ขี องสมาชิก ในกลมุ่

๑๒๓๔ คูม่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คำชแี้ จง ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี นแล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน รายการ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏิบัติ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. รักชาติ ๑.๑ ยืนตรงเม่ือได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และบอกความหมาย ศาสน์ ของเพลงชาติ กษัตริย์ ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสทิ ธิและหน้าทขี่ องนักเรยี น ให้ความรว่ มมือ ร่วมใจ ในการทำงานกบั สมาชิกในห้องเรยี น ๑.๓ เข้าร่วมกิจกรรมทส่ี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรียนและชุมชน ๑.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ของ ศาสนา และเป็นตวั อยา่ งที่ดีของศาสนิกชน ๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมีส่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรมทเ่ี กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ตามที่โรงเรยี นและชุมชนจดั ขึ้น ชน่ื ชมในพระราชกรณียกจิ พระปรชี าสามารถของพระมหากษัตริยแ์ ละพระราชวงศ์ ๒. มวี ินยั ๒.๑ ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว รับผิดชอบ และโรงเรียน มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ใน ชีวิตประจำวนั มคี วามรบั ผิดชอบ ๓. ใฝ่ ๓.๑ ตั้งใจเรยี น เรียนรู้ ๓.๒ เอาใจใส่ในการเรยี นและมีความเพียรพยายามในการเรียน ๓.๓ เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ต่าง ๆ ๓.๔ ศึกษาคน้ คว้า หาความรจู้ ากหนังสอื เอกสาร ส่ิงพิมพ์ สือ่ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ แหลง่ การเรียนร้ทู งั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น และ เลอื กใชส้ อ่ื ได้อย่างเหมาะสม ๓.๕ บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางส่งิ ทเี่ รยี นรู้ สรปุ เป็นองค์ความรู้ ๓.๖ แลกเปลย่ี นความรดู้ ้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ และนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ๔. มุง่ ม่นั ๔.๑ มคี วามต้ังใจและพยายามในการทำงานท่ีได้รบั มอบหมาย ในการ ๔.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออุปสรรคเพ่ือให้งานสำเรจ็ ทำงาน ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมิน ...................../..................../...................

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรือ่ ง ภมู ใิ จในท้องถ่นิ ๑๒๓๕ เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง เกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดังน้ี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดมี าก นักเรยี นทไ่ี ดร้ ะดับคณุ ภาพผ่านขน้ึ ไป ถือว่า ผา่ น ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผา่ น ๐-๗ ไม่ผา่ น

๑๒๓๖ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คำช้ีแจง ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียนแล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน รายการประเมนิ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มีความสามารถในการรับ–ส่งสาร การสือ่ สาร ๑.๒ มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ๒. ความสามารถใน ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม การคดิ ๒.๑ มที ักษะในการคิดนอกกรอบอยา่ งสร้างสรรค์ ๓. ความสามารถใน ๒.๒ มคี วามสามารถในการคิดอย่างมรี ะบบ การใชท้ ักษะชวี ติ ๓.๑ สามารถทำงานกลมุ่ รว่ มกบั ผู้อื่นได้ ๓.๒ นำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน ลงช่ือ................................................................ผู้ประเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครง้ั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ดงั น้ี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๑๖-๑๘ ดีมาก นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คุณภาพผ่านขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผ่าน ๐-๙ ไม่ผ่าน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ภูมิใจในท้องถิ่น ๑๒๓๗ แบบประเมนิ ตนเอง ชือ่ : _________________ สกุล : _________________วัน____ เดือน____________พ.ศ._____ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เร่ือง ภูมใิ จในท้องถนิ่ คำชีแ้ จง ๑. ระบายสีลงใน ของแต่ละกิจกรรมท่นี กั เรยี นคิดวา่ ทำได้ตามระดับการประเมินเหลา่ น้ี เพอ่ื ประเมนิ การเรียนร้ขู องนักเรียน ปรับปรงุ พอใช้ คอ่ นข้างดี ดี ดมี าก กจิ กรรม ระดบั ความสามารถ อธิบายการต้ังถนิ่ ฐานและการดำเนินชีวติ ของมนุษยส์ มัยก่อนประวัตศิ าสตร์และ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงพฒั นาการของมนุษย์ยคุ หินท่พี บในทอ้ งถ่ินได้ สามารถวเิ คราะหป์ ัจจัยทส่ี ่งผลใหเ้ กิดการพฒั นาการของมนุษยส์ มยั ประวัติศาสตร์ ในดนิ แดนไทยได้ จำแนกการตั้งหลักแหลง่ ของแควน้ โบราณในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ได้ เหน็ ความสำคญั ของหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ที่มตี ่อการตั้งหลกั แหลง่ และ ประวตั ิความเปน็ มาของแคว้นโบราณในดนิ แดนไทย อธิบายการตงั้ ถนิ่ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของมนุษยส์ มัยประวตั ศิ าสตร์ ๒. นับจำนวนดาวจากตารางข้างบนเพ่ือบนั ทึกผลการเรยี นรู้ของนักเรยี น ดังน้ี จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. สรปุ : วงกลมรอบผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน โดยนับจากข้อท่ีไดด้ าวมากที่สุด ปรบั ปรุง พอใช้ ดี คอ่ นข้างดี ดมี าก ๓. กาเครื่องหมาย ✓ลงใน  ท่นี ักเรียนวางแผนจะทำเพ่ือพฒั นาการเรียนในครั้งต่อไป (เลือกไดม้ ากกวา่ ๑ ข้อ)  _______________________  ______________________  _______________________  ______________________

๑๒๓๘ คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) บันทึกการเรยี นรู้ (Learning logs) ชือ่ : __________________ สกุล : _________________วัน____ เดือน_______________ พ.ศ. _____ สง่ิ หน่ึงทฉี่ ันไดเ้ รียนรู้จากการเรียนวิชานี้ในปลายภาคเรยี น คือ……………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….… ฉนั นา่ จะเรยี นรู้ไดด้ กี ว่านห้ี าก……………………………………………………...……………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….… สิง่ ทีฉ่ นั อยากจะบอกคณุ ครู คอื …………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….… ส่ิงท่ฉี ันควรปรบั ปรงุ ตัวเองให้ดขี ึ้น คอื ………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….… ปัญหาในการเรียนของฉัน คือ……………………………………………………………..……………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………….…

บรรณานกุ รม ๑๒๓๙ http://sites.google.com>nsjiranan บรรณานุกรม http://www.veradet.com http://www.gotoknow.org แหล่งทมี่ า : ส่ือการสอนบา้ นสายรุ้ง

๑๒๔๐ คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม (ประวตั ิศาสตร์)

ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม (ประวตั ศิ าสตร์) ๑๒๔๑ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ วนั ท.ี่ ......................เดอื น.......................................พ.ศ......................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลำดับที่ ชอ่ื –สกลุ ความ ความสนใจ การ มสี ่วน รวม ระดับ ต้งั ใจใน และการ ตอบ ร่วมใน (๑๖) คณุ ภาพ การเรยี น ซกั ถาม คำถาม กจิ กรรม (๔) (๔) (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่อื ........................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ ในการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนรายบคุ คล ดังนี้ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดีมาก นกั เรียนท่ไี ด้ระดบั คุณภาพพอใชข้ น้ึ ไป ถือวา่ ผา่ น ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรบั ปรงุ

๑๒๔๒ คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล (Rubric) ประเด็น เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ต้องปรับปรุง (๑) ๑. ความตั้งใจใน สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น สนใจในการเรยี น ไม่สนใจใน การเรียน ไม่คยุ หรือเลน่ กนั คยุ กันเลก็ น้อย คุยกันและเล่นกนั การเรียน คยุ และ ในขณะเรียน ในขณะเรยี น ในขณะเรียนเป็น เล่นกันในขณะ บางครั้ง เรียน ๒. ความสนใจและ มกี ารถามในหัวข้อท่ี มีการถามในหวั ข้อ มีการถามในหัวข้อ ไมถ่ ามในหัวข้อท่ี การซักถาม ตนไม่เข้าใจทุกเรื่อง ที่ตนไม่เขา้ ใจเปน็ ทีต่ นไมเ่ ข้าใจเป็น ตนไมเ่ ข้าใจและ และกลา้ แสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางคร้งั และไม่ค่อย ไมก่ ล้าแสดงออก แสดงออก กล้าแสดงออก ๓. การตอบคำถาม ร่วมตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน ไม่ตอบคำถาม เร่ืองท่ีครูถามและ เรื่องที่ครูถามและ เรอ่ื งท่ีครถู ามเปน็ ตอบคำถามถูกทุกข้อ ตอบคำถาม บางครั้งและตอบ สว่ นมากถูก คำถามถูกเป็น บางครงั้ ๔. มสี ว่ นร่วมใน ร่วมมอื และ ร่วมมือและ ร่วมมือและ ไม่มีความรว่ มมือ กิจกรรม ช่วยเหลอื เพอื่ นใน ช่วยเหลือเพอ่ื น ชว่ ยเหลือเพ่อื นใน ในขณะทำกิจกรรม การทำกิจกรรม เป็นส่วนใหญ่ใน การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม เปน็ บางครงั้

ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม (ประวัตศิ าสตร์) ๑๒๔๓ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ วันท.ี่ ......................เดอื น......................................พ.ศ.............................. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลำดบั ที่ ช่ือกลุ่ม การ การสนทนา การ พฤติกรรม รวม ระดบั ปฏิสมั พนั ธ์ เรื่อง ติดต่อสื่อสาร การทำงาน (๑๖) คุณภาพ ๑ ๒ กนั ท่ีกำหนด กลุ่ม ๓ ๔ (๔) (๔) (๔) (๔) ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่ือ................................................................ผ้ปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ดังนี้ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรุปผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นักเรยี นที่ได้ระดับคุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรงุ

๑๒๔๔ คู่มือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายกลุ่ม (Rubric) ประเด็น เกณฑ์การใหค้ ะแนน การประเมนิ ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ตอ้ งปรับปรุง (๑) ๑. การ ร่วมมือและชว่ ยเหลือ ปฏสิ มั พันธ์กนั เพ่อื นในการทำ ร่วมมือและ รว่ มมอื และ ไมใ่ หค้ วามร่วมมือ กิจกรรม ช่วยเหลือเพือ่ นเปน็ ชว่ ยเหลอื เพ่อื นใน ในขณะทำกิจกรรม สว่ นใหญ่ในการทำ การทำกจิ กรรมเปน็ กิจกรรม บางครง้ั ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเด็น สนทนาไม่ตรง เร่ืองท่ีกำหนด ครอบคลุมเน้อื หา ครอบคลุมเน้ือหา ประเดน็ บางส่วน ๓. การตดิ ตอ่ มีการปรกึ ษาครแู ละ มกี ารปรึกษาครูและ มีการปรึกษาครแู ละ ไมม่ ีการปรึกษาครู สื่อสาร เพอ่ื นกลุ่มอื่น ๆ เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ เพ่ือนกลมุ่ อ่ืน ๆ และเพ่ือนกลุ่มอนื่ ๆ เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางคร้ัง ๔. พฤติกรรม มีการวางแผนอยา่ ง มกี ารวางแผนอย่าง มีการวางแผนอยา่ ง ไมม่ ีการวางแผน การทำงาน เป็นระบบ และแบง่ หน้าที่ของสมาชกิ เปน็ ระบบ และแบง่ เป็นระบบ และแบ่ง อย่างเปน็ ระบบ ในกลมุ่ หน้าที่ของสมาชกิ หนา้ ที่ของสมาชกิ และไม่มีการแบ่ง ในกลมุ่ เป็นสว่ นใหญ่ ในกลุ่มเป็นบางครั้ง หน้าท่ีของสมาชกิ ในกลมุ่

ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม (ประวตั ิศาสตร์) ๑๒๔๕ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คำชี้แจง ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี นแล้วขดี ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดับการปฏิบัติ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. มวี ินัย ๑.๑ ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครวั รับผดิ ชอบ และโรงเรยี น มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ ใน ชวี ิตประจำวันมคี วามรบั ผดิ ชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๒.๑ ตงั้ ใจเรียน ๒.๒ เอาใจใส่ในการเรียนและมีความเพียรพยายามในการเรยี น ๒.๓ เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ต่าง ๆ ๒.๔ ศกึ ษาคน้ คว้า หาความรูจ้ ากหนังสือ เอกสาร สงิ่ พมิ พ์ ส่ือ เทคโนโลยตี า่ ง ๆ แหล่งการเรียนรทู้ ้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น และ เลือกใชส้ ื่อได้อยา่ งเหมาะสม ๒.๕ บันทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางส่งิ ทเ่ี รียนรู้ สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้ ๒.๖ แลกเปลี่ยนความรู้ดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ๓. มงุ่ มั่นใน ๓.๑ มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย การทำงาน ๓.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเรจ็ ลงชื่อ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๐ คะแนน หมายถึง ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั เกณฑ์การใหค้ ะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดมี าก นกั เรยี นทีไ่ ด้ระดบั คุณภาพผ่านขึ้นไป ถือว่า ผา่ น ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผา่ น ๐-๗ ไมผ่ า่ น

๑๒๔๖ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คำชแี้ จง ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียนแลว้ ขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน รายการประเมนิ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดับการปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มีความสามารถในการรับ–สง่ สาร การส่อื สาร ๑.๒ มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๒. ความสามารถใน ๒.๑ มที ักษะในการคิดนอกกรอบอยา่ งสร้างสรรค์ การคดิ ๒.๒ มคี วามสามารถในการคิดอยา่ งมรี ะบบ ๓. ความสามารถใน ๓.๑ สามารถทำงานกลมุ่ รว่ มกับผู้อื่นได้ การใชท้ กั ษะชวี ติ ๓.๒ นำความรู้ทไ่ี ด้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน ลงช่ือ................................................................ผู้ประเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั เกณฑ์การใหค้ ะแนนดังตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ดงั น้ี ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๑๖-๑๘ ดีมาก นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คณุ ภาพผ่านขนึ้ ไป ถือวา่ ผ่าน ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผ่าน ๐-๙ ไม่ผ่าน

ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (ประวตั ิศาสตร์) ๑๒๔๗ แบบประเมนิ ใบงาน คำช้แี จง ให้ครูผู้สอนประเมินใบงานของนักเรยี นแลว้ ให้ทำเครือ่ งหมาย ✓ ลงในช่องท่ีตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ ชอื่ –สกลุ การรว่ ม การรับฟัง ความ ขยันหมน่ั เพยี ร ตรงตอ่ เวลา รวม กิจกรรม ความคิดเหน็ รบั ผดิ ชอบ ๒๐ ๑ คะแนน ๒ ของผู้อืน่ ๓ ๔ ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑๔๓๒๑ ๕ ลงช่อื ................................................................ผูป้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ นกั เรียนท่ีได้ระดับคุณภาพพอใชข้ ึ้นไป ถือวา่ ผ่าน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรับปรุง

๑๒๔๘ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สังคมศึกษาและประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) ภาคผนวก ข. แผนผังความคิด (Graphic Organizers)

ภาคผนวก ข. แผนผงั ความคิด (Graphic Organizers) ๑๒๔๙

๑๒๕๐ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สังคมศึกษาและประวตั ิศาสตร์ ป.๔)

ภาคผนวก ข. แผนผงั ความคิด (Graphic Organizers) ๑๒๕๑

๑๒๕๒ คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สังคมศึกษาและประวัตศิ าสตร์ ป.๔) แหลง่ อา้ งองิ : https://www.kaganonline.com/catalog/smartcards.php

ภาคผนวก ข. แผนผังความคิด (Graphic Organizers) ๑๒๕๓ แผนผงั ความคิด (Graphic Organizers) แผนผังความคิด (Graphic Organizers) แผนผังความคิด เป็นการฝึกให้ผู้เรียนรวบรวมข้อมูลหรือความรู้ จากการศึกษาค้นคว้า การอ่าน การฟังคําบรรยาย แล้วนําข้อมูลมาจัดกลุ่ม เขียนเป็นภาพแสดงให้เห็นถึงโครงสร้าง ความคิด กระบวนการคิด และความสมั พนั ธข์ องกระบวนการคิด โดยใช้รูปภาพหรือแผนภาพ ผังความคิด (Mind Mapping) เป็นการแสดงโครงสร้างของความสัมพันธ์ของกระบวนการคิด ตั้งแต่ต้นจนจบ ช่วยให้มองเห็น ภาพรวมของความคิดและเค้าโครงของความคิดในเรื่องท่ีกำลังคิด ทําให้มองเห็นความสัมพันธ์ของความคิด ทําได้โดยเขียนความคิดหลักไว้ตรงกลางและโยงเส้นให้สัมพันธ์กับความคิดรอง ความคิดย้อน และความคิดท่ี แยกย่อยท่ีมีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกันก็ขยายได้ต่อไปอีก ไม่มีทิศทางที่กำหนดแน่นอนตายตัว ดังตัวอย่าง ตอ่ ไปน้ี ออกลูกเปน็ ไข่ ออกลูกเปน็ ตวั สัตว์บก โปรตสิ ต์ มดี อก สัตว์ปกี สตั ว์ สิ่งมีชวี ิต พืช สัตว์น้ำ ไวรัส ไมม่ ีดอก

๑๒๕๔ คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศึกษาและประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) ผงั แสดงความสมั พนั ธ์แบบโครงสร้างต้นไม้ (Tree Structure) ผังแสดงความสัมพันธ์แบบโครงสร้างต้นไม้ จะใช้ในการแสดงความสัมพันธ์ของเร่ืองที่มีความสำคัญ ลดหล่ันกันเป็นลำดบั จากใหญ่ไปหาจุดเล็ก ๆ รปู ร่างของการเขียนจะมีโครงสร้างลักษณะคล้ายตน้ ไมท้ ี่มกี ่ิงกา้ น หรืออาจจะมีลักษณะคล้ายแผนภูมิการบรหิ ารองค์กร วิธีการเขียนให้เร่ิมต้นหัวขอ้ เร่ืองไว้ข้างบนหรือตรงกลาง แล้วลากเสน้ ให้เชื่อมโยงกับความคดิ รวบยอดอ่นื ๆ ท่ีมีความสำคญั รองลงไปตามลำดบั เงือ่ นไข เงอื่ นไข การกระทำ ราก เงอ่ื นไข การกระทำ เงือ่ นไข การกระทำ เง่ือนไข เงื่อนไข การกระทำ การกระทำ การกระทำ การกระทำ การกระทำ

ภาคผนวก ข. แผนผังความคิด (Graphic Organizers) ๑๒๕๕ ผงั รปู แบบเวนน์ (Venn Diagram) เป็นการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของส่ิงของหรือแนวคิดตั้งแต่ ๒ สิ่งข้ึนไปว่าส่วนใดลักษณะใด ท่ีมีความเหมือนหรือความต่างกัน เป็นการคิดแบบหาตัวร่วมในส่ิงที่เหมือนกัน ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักจําแนก ความเหมือนและความต่างของส่ิงของ สถานท่ี และบุคคล หรืออ่ืน ๆ ได้ดี โดยการเขียนเป็นแผนภาพแสดง ความสัมพนั ธ์ ดังตวั อยา่ งน้ี เซลล์พชื เยอ่ื ห้มุ เซลล์ เซลล์สตั ว์ ผนงั เซลล์ นิวเคลียส คลอโรพลาสต์ ไซโทพลาซึม รปู ร่างกลม รปู รา่ งเหลยี่ ม ออ่ นนมุ่ คงรูปไดน้ าน ผงั ความคดิ แบบวงจร (The Circle) เป็นการคิดแบบเป็นวงจรหรือวงกลม โดยในวงกลมจะไม่มีจุดเริ่มต้นหรือจุดจบเพ่ือเสนอขั้นตอน ต่าง ๆ ท่สี มั พันธ์เรียงลาํ ดับเป็นวงกลม ตัวอย่างเช่น วิญญาณ สงั ขาร นามรูป ทุกข์ ผัสสะ อายตนะ

๑๒๕๖ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สงั คมศกึ ษาและประวัตศิ าสตร์ ป.๔) ผังกา้ งปลา (The Fish Bone) เป็นการคิดหาสาเหตุของปัญหา เช่น แดงหนีเรียน เพราะสาเหตุใด เป็นต้น การเขียนแผนผังทําได้ โดยกำหนดเรื่องแลว้ หาสาเหตุและผลต่าง ๆ ในแตล่ ะดา้ น ตัวอยา่ งเช่น ผงั แบบลำดับขนั้ ตอน (Sequence Chart) แผนผังแบบลำดับขนั้ ตอนเปน็ แผนผังท่ีแสดงให้เห็นถึงสภาพการณ์หรอื เนอ้ื หาสาระทเี่ ป็นกระบวนการ เรียงตามลำดับข้ันตอน เป็นแผนผังท่ีแสดงให้เห็นถึงสภาพเหตุการณ์หรือเนื้อหาสาระท่ีเป็นกระบวนการเรียง ตามลำดบั ตอ่ เนื่อง ตวั อย่างเชน่

ภาคผนวก ค. แบบบันทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) ๑๒๕๗ ภาคผนวก ค. แบบบันทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs)

๑๒๕๘ คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สังคมศกึ ษาและประวัตศิ าสตร์ ป.๔) การประเมินตนเอง (Self Reflection) และการทำแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) การประเมินตนเอง/การบันทึกการเรียนรู้ เป็นการประเมินตนเอง/บันทึกส่ิงที่นักเรียนได้เรียนรู้จาก เน้ือหา บทเรียน หรือวิธีการดำเนินงานเกี่ยวกับกระบวนการท่ีได้จากการเรียนรู้ของตน การประเมินตนเอง/ บันทึกการเรียนรู้เป็นเครอื่ งมือท่ีสะท้อนการเรียนของผู้เรียนและการค้นพบปัญหาการเรียนรู้ รวมท้ังเชื่อมโยง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิ่งทเี่ รยี นรกู้ บั ประสบการณเ์ ดิม แนวทางการใช้การประเมินตนเอง (Self Reflection)/การทำแบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) กอ่ นการประเมินตนเอง/การเขียนบันทกึ การเรียนรู้ ครูควรชี้แจงให้นักเรยี นเข้าใจความหมายของการ ประเมินตนเอง/บันทึกการเรียนรู้ ลักษณะของการเขียนประโยชน์ ความยาวของการบันทึกการเรียนรู้ ท่ีเขียนในแต่ละครั้ง เกณฑ์การเขียน การกำหนดเวลาส่งบันทึกการเรียนรู้ การยกตัวอย่างของการประเมิน ตนเอง/บันทึกการเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนวางแผนการประเมินตนเอง/การเขียนบันทึกการเรียนรู้ของตนเองได้ ท้งั น้ใี นครัง้ แรกครูควรทำรว่ มกับนกั เรยี นเพ่ือแนะนำวธิ ีการเขยี นแบบสะท้อนคิด การประเมินตนเอง/การเขียนบันทึกการเรียนรู้ในระยะเริ่มต้น ควรให้นักเรียนบันทึกการเรียนรู้ ที่สัมพันธ์กับเน้ือหาที่เรียน เพราะสามารถเขียนได้ง่ายกว่า จะทำให้ผู้เรียนมีกำลังใจในการเขียนบันทึก การเรียนรู้ การให้ผลสะท้อนกลับของครูต่อนักเรียนควรทำด้วยความเต็มใจ ครูอ่านบันทึกการเรียนรู้แล้วพูด หรือเขียนตอบกลับไปในบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนในทันที สิ่งท่ีครูตอบกลับควรเป็นการแนะนำแนวทาง การให้ความคดิ เหน็ การใหก้ ำลงั ใจ การชมเชย หรอื ตอบกลับปญั หาท่ีผู้เรยี นถาม รวมไปถึงการตั้งคำถามเพ่ือให้ นักเรียนได้มีการคิด เพื่อตอบกลับมายังผู้สอน หากครูมีเวลาควรอ่านบันทึกการเรียนรู้และตอบกลับ ในช้นั เรียน และควรอ่านสงิ่ ที่นักเรยี นบันทกึ พรอ้ มให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ เสนอแนะในเชงิ บวกและสรา้ งสรรค์ การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน โดยการประเมินตนเอง (Self Reflection)/ การทำแบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) เพ่ือเปิดโอกาสได้สะท้อนคิดสิ่งที่เรียนรู้ทั้งที่ทำได้ดีและยัง ต้องพัฒนา โดยให้นักเรยี นทำแบบประเมินตนเองหลงั จบการเรยี นร้แู ต่ละหน่วยการเรยี นรู้ และทำแบบบันทึก การเรยี นรใู้ นช่วงกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน โดยครูเติมประเด็นสำคัญท่ีสอดคล้องกับสาระการเรยี นรู้ หรือหัวเร่ืองของแต่ละวิชา ให้เด็กประเมินตนเอง ทั้งนี้เพื่อให้ครูนำข้อมูลจากแบบบันทึกเพ่ือพัฒนาการสอน ของตัวเองและชว่ ยเหลือนักเรยี นเปน็ รายบุคคลต่อไป

ภาคผนวก ค. แบบบันทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs) ๑๒๕๙ ช้ัน ป.๑ - ป.๒ ภาคเรยี นที่ ๑ แบบประเมนิ ตนเอง ชื่อ : _________________ สกลุ : _________________วัน____ เดอื น____________พ.ศ._____ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี เรอ่ื ง __________________________________ คำชี้แจง ๑. ระบายสลี งใน ของแต่ละกจิ กรรมท่นี กั เรยี นคดิ ว่าทำได้ตามระดับการประเมินเหลา่ นี้ เพอื่ ประเมินการเรยี นรขู้ องนักเรยี น ปรบั ปรุง พอใช้ คอ่ นข้างดี ดี ดีมาก กิจกรรม ระดับความสามารถ *หมายเหตุ : ครูเติมประเดน็ ทีต่ ้องการใหน้ กั เรยี นประเมินการเรยี นรูข้ องตนเอง ๒. นับจำนวนดาวจากตารางข้างบนเพื่อบันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียน ดังนี้ จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. สรุป : วงกลมรอบผลการเรียนรูข้ องนกั เรยี น โดยนับจากข้อท่ไี ดด้ าวมากทสี่ ดุ ปรับปรุง พอใช้ ดี คอ่ นข้างดี ดีมาก

๑๒๖๐ คูม่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สังคมศึกษาและประวัติศาสตร์ ป.๔) ชน้ั ป.๓ - ป.๔ ภาคเรียนท่ี ๑ แบบประเมินตนเอง ชื่อ : _________________ สกุล : _________________วัน____ เดือน____________พ.ศ._____ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี เรอ่ื ง __________________________________ คำชีแ้ จง ๑. ระบายสีลงใน ของแต่ละกิจกรรมทน่ี ักเรียนคดิ ว่าทำได้ตามระดบั การประเมินเหลา่ น้ี เพื่อประเมินการเรียนรขู้ องนักเรยี น ปรบั ปรงุ พอใช้ คอ่ นข้างดี ดี ดมี าก กิจกรรม ระดับความสามารถ *หมายเหตุ : ครูเติมประเดน็ ทตี่ อ้ งการให้นกั เรียนประเมนิ การเรียนรขู้ องตนเอง ๒. นับจำนวนดาวจากตารางข้างบนเพื่อบนั ทึกผลการเรยี นรู้ของนักเรยี น ดงั นี้ จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. จำนวน.............................. สรุป : วงกลมรอบผลการเรียนรู้ของนักเรยี น โดยนับจากข้อทีไ่ ด้ดาวมากที่สดุ ปรับปรุง พอใช้ ดี คอ่ นข้างดี ดมี าก ๓. กาเคร่ืองหมาย ✓ลงใน  ท่ีนักเรียนวางแผนจะทำเพ่ือพัฒนาการเรยี นในคร้ังต่อไป (เลือกได้มากกว่า ๑ ข้อ)  _______________________  ______________________  _______________________  ______________________ *หมายเหตุ : ครเู ตมิ ประเดน็ ทต่ี อ้ งการให้นักเรยี นวางแผนพฒั นาตนเอง

ภาคผนวก ค. แบบบนั ทึกการเรยี นรู้ (Learning Logs) ๑๒๖๑ ชน้ั ป.๕ - ป.๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ แบบประเมนิ ตนเอง ชอ่ื : ____________________ สกลุ : ___________________วัน____ เดอื น___________พ.ศ. _____ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี_______________เร่ือง_____________________________________________ ๑. ประเมินการเรยี นรขู้ องตนเอง กาเครอ่ื งหมาย ✓ ในช่องระดับความสามารถของแตล่ ะกิจกรรมท่ีนักเรยี นคดิ ว่าทำได้ตามระดับการประเมิน เหล่าน้ี ระดบั ความสามารถ : ดีมาก คอ่ นข้างดี ดี พอใช้ ปรับปรุง ระดบั ความสามารถ ท่ี รายการ ดีมาก ค่อน ดี พอใช้ ปรบั ข้างดี ปรงุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ *หมายเหตุ : ครเู ตมิ ประเดน็ ที่ต้องการให้นักเรียนประเมินการเรยี นรขู้ องตนเอง ๒. สิง่ ท่ฉี นั ยงั ไมเ่ ข้าใจ/ยังทำได้ไม่ดี คือ…… (สามารถเขยี นไดม้ ากกว่า ๑ อย่าง) ……………………………………........................................................................................................... ........... ............................................................................................................................. ................................... …………………………………………….................................................................................................... ......... ............................................................................................................................. ................................... ๓. สง่ิ ท่ีฉันต้ังใจจะทำใหด้ ีข้ึนในการเรียนหนว่ ยตอ่ ไป (สามารถเขียนได้มากกวา่ ๑ อยา่ ง) ……………………………………………........................................................................................................ ……………………………………………....................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................ .................................................................................................................................. ........................

๑๒๖๒ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (สังคมศกึ ษาและประวตั ิศาสตร์ ป.๔) คำถามการบนั ทึกผลหลังสอนสำหรบั ครปู ลายทาง ********************************************************************************** ๑. การเขา้ สบู่ ทเรียนชว่ ยให้นกั เรียนของฉันกระตือรือรน้ กับบทเรยี นทจี่ ะเรียนต่อไปหรือไม่ เพียงใด ฉนั มีบทบาทในการชว่ ยให้นกั เรยี นเห็นความเชอื่ มโยงกับบทเรียนหรอื ไม่ อย่างไร ๒. วนั นน้ี ักเรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วมกบั การเรยี นรหู้ รือไม่ และมากน้อยเพยี งใด เพราะเหตใุ ด ในบทเรียน ตอ่ ไปฉนั ควรจะทำอย่างไร เพ่อื สร้างบรรยากาศการมีสว่ นร่วมของนักเรยี นให้เพ่ิมข้ึน ๓. การจดั กิจกรรมในวันนีร้ าบรนื่ ดีหรอื ไม่ ฉนั พอใจกับการจัดกลมุ่ ของนักเรยี นในระดบั ใด เพราะเหตุใด มีส่งิ ใด/เทคนิคใดทคี่ วรปรับให้การจัดการราบร่นื /ดขี นึ้ กว่าเดมิ ๔. วันน้ีฉนั ดูแลนกั เรียนท่วั ถงึ และเป็นไปตามความแตกตา่ งของนักเรียนในชั้นหรอื ไม่ อย่างไร ๕. ผู้เรยี นมพี ฤตกิ รรมทีน่ ่าสนใจหรอื แตกต่างในระหว่างการเรียนจากทผี่ า่ นมาหรือไม่ อย่างไร ๖. ในวนั น้ีฉันมปี ฏิสัมพนั ธก์ บั นกั เรยี นของฉันในรปู แบบใดบ้าง (เช่น ใหก้ ำลังใจ กล่าวชมเชย ให้ความชว่ ยเหลือ ฯลฯ) ๗. วันนี้ฉันมปี ญั หาในการกำกับช้ันเรียนหรอื ไม่ หากมี ฉนั ใช้วิธีการใดในการแกป้ ญั หา ๘. ในชว่ั โมงน้ีมสี ่วนดี ๆ อะไรบ้างทเ่ี กิดขึ้น และมเี รือ่ งใดท่ีฉันรสู้ กึ ว่าเป็นไปตามความคาดหวัง ๙. สงิ่ หน่งึ ที่ฉนั ไดเ้ รยี นรู้จากการจัดการเรียนร้ใู นวันนี้ ๑๐. ตามความรสู้ ึกของฉัน นักเรียนชอบอะไรมากท่ีสดุ ในการเรยี นวันนี้ และสิ่งใดที่นักเรยี น ยงั ตอบสนองไม่ดีพอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook