Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

Published by elibraryraja33, 2021-08-04 07:18:20

Description: 64-08-04-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.4.-3 PDF

Search

Read the Text Version

๘๘๑ แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ จกรรมครู กิจกรรมนกั เรยี น พุทธศักราช และ คือ ช่วงเวลาในรอบ นับท่ี ๑ จบดว้ ย มระยะเวลา ๑๐๐๐ ปี เริ่มใช้เม่ือตอนเปล่ยี น ๒ เปน็ สหัสวรรษที่ ๓ ธศกั ราช ๒๕๔๓ และ ๒๐๐๐ จะบอก ทธศักราชและ รยี นจับคู่ทำใบงาน ๑. นกั เรยี นทำใบงาน - ใบงานที่ ๒ - ตรวจใบงาน ษ ศตวรรษ และ เร่ือง ทศวรรษ ศตวรรษ เรื่อง ทศวรรษ เร่อื งทศวรรษ และสหสั วรรษ ศตวรรษ และ ศตวรรษ และ สหสั วรรษ สหัสวรรษ - การประเมนิ - การประเมิน - การสังเกต - การสังเกต พฤติกรรม พฤติกรรม

๘๘๒ คมู่ อื คร ลำดบั ที่ จุดประสงค์ ขั้นตอน เวลา ๔. การเรียนรู้ การจดั การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กิจ ๒. เห็นความสำคัญของ การนับช่วงเวลาเป็น ขั้นสรปุ ๑๐ ๑. ครูสุ่มใหน้ ัก ทศวรรษ ศตวรรษ และ สหสั วรรษ นาที ผลงานหนา้ ชัน้ ๒. ครแู ละนักเ ตรวจสอบควา ๓. ครใู ห้นกั เร เกย่ี วกับทศวร สหัสวรรษ

รูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ จกรรมครู กจิ กรรมนักเรียน - ตรวจใบงาน กเรียนนำเสนอ ๑. ตัวแทนนักเรียน ๒-๓ - ใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง ทศวรรษ ศตวรรษ และ นเรียน ๒-๓ คู่ คู่ นำเสนอผลงานหนา้ เรือ่ ง ทศวรรษ สหสั วรรษ - การประเมิน ชั้นเรียน ศตวรรษ และ - การสังเกต พฤติกรรม เรียนรว่ มกนั ๒. นักเรียนรว่ มกัน สหัสวรรษ ามถูกต้องของผลงาน ตรวจสอบความถูกต้อง - การประเมนิ ของผลงาน - การสังเกต รียนสรปุ ความรู้ ๓. นักเรยี นรว่ มกันสรุป พฤติกรรม รรษ ศตวรรษ และ องค์ความรู้เกีย่ วกบั ความหมายและชว่ งเวลา ทศวรรษ ศตวรรษ และ สหสั วรรษ ซงึ่ เป็นคำใช้ แบ่งช่วงเวลา ทำให้ การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ สะดวกยงิ่ ขนึ้

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ๘๘๓ ๘. ส่ือการเรยี นร้/ู แหล่งเรยี นรู้ ๑. สือ่ PowerPoint ๒. ใบความรู้ท่ี ๑ เรื่อง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ๙. การประเมินผลรวบยอด ชนิ้ งานหรือภาระงาน ใบงานท่ี ๒ เร่ือง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ การวัดและประเมินผล ประเด็นการวดั วธิ ีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ และประเมินผล ดา้ นความรู้ - ตรวจใบงาน เรื่อง - ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ทศวรรษ ศตวรรษ และ การใช้ทศวรรษ รอ้ ยละ ๖๐ สหัสวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ - ประเมนิ - แบบประเมิน - สังเกต -แบบสังเกต ด้านทกั ษะ กระบวนการ - ตรวจใบงาน เรอ่ื ง - ใบงานท่ี ๒ เร่อื ง ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ทศวรรษ ศตวรรษ และ ทศวรรษ ศตวรรษ และ ร้อยละ ๖๐ สหสั วรรษ สหสั วรรษ - ประเมนิ - แบบประเมิน - สังเกต -แบบสังเกต ด้านคุณลักษณะ เจตคติ -สงั เกต แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ ระดับ คุณภาพพอใชข้ น้ึ ไป ดา้ นคุณลักษณะอนั พึง ประเมนิ มวี ินยั แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ประเมนิ ระดบั ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมนั่ ใน การทำงาน อันพึงประสงค์ คณุ ภาพพอใชข้ นึ้ ไป สมรรถนะสำคัญ ประเมินความสามารถ แบบประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ ของผูเ้ รียน ในการคิด ความสามารถ สำคัญของผเู้ รยี น คณุ ภาพพอใช้ขึ้นไป ในการใช้ทักษะชีวติ และ ความสามารถในการ แกป้ ัญหา

๘๘๔ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) ๑๐. บันทึกผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเรจ็ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อจำกดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………...………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงชื่อ……………………………………………………….ผูส้ อน (…...........………………………………………….) วันท่ี……………เดือน……………………………พ.ศ……………… ๑๑. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผ้ทู ีไ่ ด้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ……………………………………………………….ผู้ตรวจ (…...........………………………………………….) วันที่……………เดอื น……………………………พ.ศ………………

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรือ่ ง ย้อนรอยไทย ๘๘๕ ใบความรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง การใชท้ ศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรือ่ ง ย้อนรอยไทย แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๒ เร่ือง ใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ การใชท้ ศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ คำบอกช่วงเวลามีหลายคำที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป เช่น สัปดาห์ หมายถึงระยะเวลา ๗ วัน เดือน หมายถึง ระยะเวลาประมาณ ๓๐ วัน ปีหรือศักราช หมายถึง ระยะเวลา ๑๒ เดือน ส่วนช่วงเวลาที่ยาวนานหลาย ๆ ปี เช่น ๑๐ ปี เราจะใช้ทศวรรษ ๑๐๐ ปี เราจะใช้ศตวรรษ และ ๑๐๐๐ ปี เราจะใชส้ หสั วรรษ ทศวรรษ (ทศ แปลว่า ๑๐ วรรษ แปลว่า ปี) หมายถึง ระยะเวลา ๑๐ ปี เป็นคำที่แปลมาจาก ภาษาอังกฤษ ดังนั้นจึงนิยมใช้กับคริสต์ศักราช โดยปกติมักจะใช้กับตัวอักษร S หลังปีศักราช เช่น ๑๙๘๐S อ่านว่า ทศวรรษ ๑๙๘๐ ซึ่งหมายถึงระยะเวลา ค.ศ. ๑๙๘๐–๑๙๘๙ การนับช่วงเวลาเป็นทศวรรษให้นับปีท่ี ขึ้นต้นด้วย ๐ เป็นปีแรก และนับไปสิ้นสุดที่ ๙ ตัวอย่าง เช่น ทศวรรษ ๒๐๐๐ หมายถึง ระยะเวลา ค.ศ. ๒๐๐๐–๒๐๐๙ ศตวรรษ (ศต แปลวา่ ๑๐๐ วรรษ แปลว่า ปี) หมายถึง ระยะเวลา ๑๐๐ ปี มีใชท้ ัง้ พุทธศตวรรษ และครสิ ตศ์ ตวรรษ การนบั ศตวรรษเร่ิมต้นนับปีท่ี ๑ ไปจนถึง ๑๐๐ ตัวอย่าง เชน่ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑ หมายถึง พ.ศ. ๑–๑๐๐ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒ หมายถึง พ.ศ. ๑๐๑–๒๐๐ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ หมายถงึ พ.ศ. ๑๘๐๑ –๑๙๐๐ ครสิ ต์ศตวรรษที่ ๒๐ หมายถงึ ค.ศ. ๑๙๐๑–๒๐๐๐ ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๒๑ หมายถงึ ค.ศ. ๒๐๐๑ –๒๑๐๐ สหัสวรรษ (สหัส แปลว่า ๑๐๐๐ วรรษ แปลว่า ปี) หมายถึง ระยะเวลา ๑๐๐๐ ปี มีใช้ทั้งพุทธ ศตวรรษและคริสต์ศตวรรษ การนับใช้เกณฑ์เช่นเดียวกับศตวรรษ คือ เริ่มต้นนับปีที่ ๑ ไปจนถึง ๑๐๐๐ ตัวอย่าง เช่น สหสั วรรษที่ ๑ ทางพทุ ธศักราช คือ ชว่ งเวลาต้งั แต่ พ.ศ. ๑–๑๐๐๐ สหสั วรรษท่ี ๒ ทางคริสตศ์ ักราช คอื ช่วงเวลาตงั้ แต่ ค.ศ. ๑๐๐๑–๒๐๐๐ แหล่งท่ีมา/อา้ งองิ http://sites.google.com>nsjiranan

๘๘๖ คู่มือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) ใบงานท่ี ๒ เรอื่ ง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่ือง ยอ้ นรอยไทย แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่อื ง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ รหสั วิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ แบบบนั ทึกการนับช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ๑. ถา้ ปัจจุบนั เปน็ ค.ศ. ๒๐๑๐ อีก ๓ ทศวรรษจะตรงกับ ค.ศ………………………….……….. ๒. พ.ศ. ๒๕๕๓ เท่ากับพทุ ธศตวรรษท่ี …………………………………………………………………….. ๓. ค.ศ. ๑๗๘๑ เท่ากับคริสตศ์ ตวรรษที่ ……………………………..…………………………………….. ๔. พ.ศ. ๒๕๙๙ เทา่ กบั สหัสวรรษที่ ……………………………………………..…………….. ของ พ.ศ. ๕. ค.ศ. ๑๙๙๙ เทา่ กับสหสั วรรษท่ี …………………………………………………………….. ของ ค.ศ. ๖. ระหวา่ ง พ.ศ. ๙๐๑–๑๐๐๐ อยใู่ นพุทธศตวรรษที่ ……………….……………….……………….. ๗. ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๕ อยรู่ ะหวา่ ง ค.ศ. ๑๔๐๑–ค.ศ. …………….…………..………………..….. ๘. ค.ศ. ๑๙๙๐–๑๙๙๙ อยู่ในทศวรรษท่ี ………………………………………….….….……………….. ๙. ๕ ทศวรรษ เทา่ กบั …………………………………………………….………………………….……….. ปี ๑๐.พทุ ธศตวรรษท่ี ๓๐ เทา่ กบั พ.ศ. ๒๙๐๑ ถึง พ.ศ. …………………………..…………………….. คำถามพัฒนาการคดิ ๑. การนับพุทธศตวรรษมวี ธิ กี ารนบั อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ๒. การนับพุทธศตวรรษต่างจากการนบั คริสตศ์ ตวรรษอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………… ๓. ถ้าปนี เี้ ป็น พ.ศ. ๒๕๕๕ อีก ๓ ทศวรรษ จะตรงกบั ปีใด ………………………………………………………………………………………………………………….………………………………… ๓. การนบั เวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ มีความแตกตา่ งกันอย่างไร …………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ๔. ถ้าไม่มีการคิดเรอ่ื งการนับเวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ จะส่งผลอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………….…………………………………………………… ชือ่ -นามสกุล………………………………….…………………………………………………………ช้นั ………………เลขที่………………

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ๘๘๗ เฉลยใบงานท่ี ๒ เรอื่ ง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง ยอ้ นรอยไทย แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่อง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ แบบบนั ทกึ การนบั ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ ๑. ถา้ ปจั จบุ นั เปน็ ค.ศ. ๒๐๑๐ อีก ๓ ทศวรรษจะตรงกับ ค.ศ……………(…๒…๐๔…๐…)….……….. ๒. พ.ศ. ๒๕๕๓ เทา่ กบั พทุ ธศตวรรษที่ ………………………………(๒…๖…) ……………………………….. ๓. ค.ศ. ๑๗๘๑ เทา่ กับครสิ ต์ศตวรรษที่ ……………………………(๒..…๐…) ……………………………….. ๔. พ.ศ. ๒๕๙๙ เทา่ กบั สหัสวรรษที่ ……………………………………(๓…)……..…………….. ของ พ.ศ. ๕. ค.ศ. ๑๙๙๙ เทา่ กบั สหสั วรรษที่ ……………………………………(…๒…) ………………….. ของ ค.ศ. ๖. ระหวา่ ง พ.ศ. ๙๐๑–๑๐๐๐ อย่ใู นพทุ ธศตวรรษท่ี ……………….………(๑…๐…)….……………….. ๗. คริสต์ศตวรรษที่ ๑๕ อยู่ระหว่าง ค.ศ. ๑๔๐๑–ค.ศ. …………….……(๑…๕…๐..๐…)……………..….. ๘. ค.ศ. ๑๙๙๐–๑๙๙๙ อยู่ในทศวรรษที่ …………………………(…๑…๙…๙๐…)…….….….……………….. ๙. ๕ ทศวรรษ เท่ากบั ……………………(๕…๐…)……………….……….. ปี ๑๐. พุทธศตวรรษที่ ๓๐ เท่ากบั พ.ศ. ๒๙๐๑ ถึง พ.ศ. ……………………(…๓…๐.๐.…๐…) …………….. คำถามพัฒนาการคดิ ๑. การนับพุทธศตวรรษมวี ิธีการนับอย่างไร …น…บั …ห…ล…ังจ…า…ก…ท…่ีพร…ะ…พ…ทุ …ธเ…จ…้าป…ร…ิน…ิพ…พ…าน…ไ…ป…แล…ว้ …๑……ป…ี …………………………………….…………………………………… ๒. การนับพทุ ธศตวรรษตา่ งจากการนับคริสตศ์ ตวรรษอยา่ งไร …พ…ุท…ธ…ศ…ต…วร…ร…ษ…น…บั …จา…ก…ท…ี่พ…ระ…พ…ุท…ธ…เจ…า้ …ปร…นิ …ิพ…พ…า…น…ค…ริส…ต…ศ์ …ต…วร…ร…ษ…นบั…ป…ที …ีพ่ …ร…ะเ…ย…ซปู…ร…ะ…ส…ตู ิ…….…………………… ๓. ถ้าปีนเ้ี ปน็ พ.ศ. ๒๕๕๕ อีก ๓ ทศวรรษ จะตรงกบั ปีใด …พ….…ศ…. ๒…๕…๘…๕……………………………………………………………………………………………….………………………………… ๔. การนับเวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ มีความแตกต่างกนั อยา่ งไร …ต…่า…งก…ัน…ใ…น…ชว่…ง…เว…ล…าท…ศ…ว…รร…ษ…น…ับ…ใน…ร…อ…บ…๑…๐…ป…ี …ศต…ว…ร…รษ…น…ับ…ใน…ร…อ…บ…๑…๐…๐.…ป…ี ส…ห…สั …ว…รร…ษ…ใน…ร…อ…บ…๑…,๐…๐…๐……ปี… ๕. ถ้าไมม่ ีการคิดเร่อื งการนับเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ จะส่งผลอยา่ งไร …ท…ำ…ให…้ค…ำ…น…วณ……หร…ือ…เท…ีย…บ…ช…่วง…เว…ล…า…ปร…ะ…ว…ตั ิศ…า…ส…ตร…ไ์ …ดล้…ำ…บ…าก……………….……………………………………………………

๘๘๘ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมินการนำเสนอหน้าชนั้ เรยี น เกณฑ์ ระดับคุณภาพ การประเมนิ ๑. การถา่ ยทอด ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑) เนอ้ื หา คล่องแคลว่ ไม่ตดิ ขัด คลอ่ งแคลว่ ไม่ ไม่คล่องแคลว่ ตดิ ขัด หยุดชะงัก ๒. บุคลิกภาพ ทำใหเ้ ข้าใจประเด็นได้ ติดขัด ทำให้เข้าใจ มกี ารหยดุ ชะงักบ้าง ในหลายจังหวะ ง่ายและเรว็ การพูดมี ประเดน็ ได้ง่าย บางครัง้ จังหวะพดู พูดเรว็ หรือชา้ การเว้นจังหวะและ การพูดมกี ารเวน้ ชา้ จบั ประเดน็ ไม่ได้ เกินไป เน้นคำ เนน้ สาระ จังหวะอยา่ ง สำคญั อยา่ งเหมาะสม เหมาะสม ความเรว็ เพอ่ื ใหผ้ ฟู้ ังติดตาม ในการพูดอยู่ใน การนำเสนอ ความเร็ว ระดับเหมาะสม ในการพูดอยใู่ นระดับ เหมาะสม มคี วามมนั่ ใจ สบสายตา สบสายตาผฟู้ ัง สบสายตาผฟู้ งั นอ้ ย กม้ หน้าไม่สบตา ผฟู้ ังตลอดเวลาเพ่อื พอสมควร นำ้ เสียง นำ้ เสยี งส่ัน ขาด และน้ำเสียงสั่น ดึงดูดให้ผู้ฟงั สนใจใน สะทอ้ นถงึ ความ ความมน่ั ใจ เสยี ง และเบา เนอ้ื หาทีถ่ ่ายทอด มั่นใจ เสยี งดงั เบาและดงั สลบั ไป เสยี งดงั พอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใชภ้ าษา คล่องแคลว่ เช่น ยก แสดงกริยาท่าทาง ใชภ้ าษากาย ไม่ใช้ภาษากาย สอ่ื สาร กายในการสอ่ื สาร มอื /ผายมือ แสดงกริยา ประกอบการนำเสนอ สอ่ื สารนอ้ ยครั้ง ใช้เวลาใน ทา่ ทางประกอบ พอสมควร การนำเสนอเกิน เวลาท่กี ำหนด การนำเสนอเพ่ือดงึ ดดู มากกวา่ ๕ นาที ขน้ึ ไป ความสนใจ ๔. ความเหมาะสม ใชเ้ วลาในการนำเสนอ ใช้เวลาใน ใชเ้ วลาใน กับเวลา เหมาะสม การนำเสนอเกนิ เวลา การนำเสนอเกิน ท่ีกำหนด ๑-๓ นาที เวลาทีก่ ำหนด ๔-๕ นาที เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดีมาก ดี คะแนน ๑๓–๑๖ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๙–๑๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน ๕–๘ คะแนน หมายถึง คะแนน ๑–๔ คะแนน หมายถึง เกณฑก์ ารผา่ น ตงั้ แต่ ๕ คะแนน ขนึ้ ไป

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย ๘๘๙ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑) ๑. การร่วมกิจกรรม มีความกระตือรอื รน้ ใน มคี วามกระตือรือรน้ ใน ไม่มีความกระตือรือร้น ๒. การรบั ฟงั ความ การร่วมกิจกรรมอย่าง การร่วมกจิ กรรมใน ในการรว่ มกจิ กรรม คิดเหน็ ของผู้อ่นื สมำ่ เสมอ บางคร้ัง ๓. ความรับผิดชอบ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของ รับฟงั ความคิดเห็นของ ไม่รบั ฟังความคดิ เห็น ๔. ขยันหมั่นเพียร ผู้อืน่ อย่างสม่ำเสมอ ผูอ้ ่ืนเป็นบางคร้ัง ของผู้อน่ื ๕. ตรงต่อเวลา มีความรบั ผดิ ชอบในงาน มีความรบั ผดิ ชอบในงาน ไมม่ ีความรบั ผิดชอบใน ที่ไดร้ บั มอบหมายอยา่ ง ทไี่ ด้รบั มอบหมายใน งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย สม่ำเสมอ บางครงั้ มีความขยันหมัน่ เพียร มีความขยันหมั่นเพยี ร ไมม่ ีความขยันหมัน่ เพียร พยายามทำงานใหส้ ำเร็จ พยายามทำงานให้สำเร็จ พยายามทำงานใหส้ ำเร็จ อย่างสมำ่ เสมอ เปน็ บางคร้ัง สง่ ช้นิ งานภายในเวลาท่ี สง่ ผลงานเสร็จตรงเวลา สง่ ผลงานช้ากว่าเวลา กำหนด กำหนด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดี คะแนน ๑๑–๑๕ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๖–๑๐ คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง คะแนน ๑–๕ คะแนน หมายถึง เกณฑก์ ารผา่ น ตัง้ แต่ ๖ คะแนน ขน้ึ ไป

๘๙๐ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ ใบงาน คำช้แี จง ใหค้ รผู ้สู อนประเมินใบงานของนกั เรยี นแล้วใหท้ ำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ ช่อื –สกุล การร่วม การรับฟัง ความ ขยนั หมน่ั เพียร ตรงตอ่ เวลา รวม กจิ กรรม ความคิดเห็น รับผิดชอบ ๒๐ ของผู้อน่ื คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑ ๔๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงช่ือ................................................................ผูป้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ นักเรียนทไี่ ด้ระดบั คุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือว่า ผา่ น ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรับปรงุ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง ย้อนรอยไทย ๘๙๑ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบคุ คล ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ วนั ท.่ี ......................เดือน.......................................พ.ศ......................... เกณฑ์การให้คะแนน ลำดบั ที่ ช่ือ–สกลุ ความ ความสนใจ การ มสี ่วน รวม ระดับ ตง้ั ใจใน และการ ตอบ ร่วมใน (๑๖) คุณภาพ การเรยี น ซกั ถาม คำถาม กจิ กรรม (๔) (๔) (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชอ่ื ........................................................ผู้ประเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมินในการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี นรายบคุ คล ดังน้ี ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดมี าก นกั เรียนทไ่ี ด้ระดับคุณภาพพอใชข้ ึน้ ไป ถือว่า ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรงุ

๘๙๒ คูม่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑ์การวัดและประเมินผลการสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียนรายบคุ คล (Rubric) ประเดน็ การ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเมิน ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ตอ้ งปรับปรุง (๑) ๑. ความต้ังใจใน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน ไม่สนใจใน การเรียน ไม่คยุ หรือเล่นกนั คยุ กนั เล็กน้อย คยุ กนั และเล่นกัน การเรียน คุยและ ในขณะเรยี น ในขณะเรียน ในขณะเรียนเปน็ เล่นกนั ในขณะ บางครง้ั เรียน ๒. ความสนใจและ มกี ารถามในหวั ข้อท่ี มกี ารถามในหวั ข้อ มกี ารถามในหวั ข้อ ไม่ถามในหวั ข้อที่ การซกั ถาม ตนไม่เข้าใจทุกเรอื่ ง ที่ตนไมเ่ ข้าใจเป็น ทตี่ นไม่เข้าใจเปน็ ตนไม่เข้าใจและ และกลา้ แสดงออก ส่วนมากและกลา้ บางคร้ังและไม่ค่อย ไม่กลา้ แสดงออก แสดงออก กล้าแสดงออก ๓. การตอบคำถาม รว่ มตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ไมต่ อบคำถาม เรอื่ งที่ครูถามและ เร่อื งท่ีครถู ามและ เร่ืองท่ีครถู ามเปน็ ตอบคำถามถูกทุกข้อ ตอบคำถาม บางครงั้ และตอบ สว่ นมากถกู คำถามถกู เป็น บางครัง้ ๔. มีส่วนร่วมใน รว่ มมือและ รว่ มมอื และ ร่วมมือและ ไม่มีความร่วมมือ กิจกรรม ชว่ ยเหลือเพือ่ นใน ช่วยเหลือเพ่ือน ช่วยเหลอื เพือ่ นใน ในขณะทำ การทำกจิ กรรม เปน็ ส่วนใหญ่ใน การทำกจิ กรรม กจิ กรรม การทำกิจกรรม เป็นบางครง้ั

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ๘๙๓ แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ วนั ท.่ี ......................เดอื น......................................พ.ศ.............................. เกณฑก์ ารให้คะแนน ลำดับท่ี ช่อื กลุ่ม การ การสนทนา การ พฤติกรรม รวม ระดับ ปฏิสัมพนั ธ์ เร่ือง ติดต่อสื่อสาร การทำงาน (๑๖) คณุ ภาพ ๑ ๒ กนั ทีก่ ำหนด (๔) กลุ่ม ๓ (๔) (๔) (๔) ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่ือ................................................................ผู้ประเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑก์ ารประเมินในการสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ดงั น้ี ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดีมาก นักเรียนที่ไดร้ ะดับคุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือว่า ผา่ น ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรงุ

๘๙๔ ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนรายกลุ่ม (Rubric) ประเดน็ การ ดีมาก (๔) เกณฑ์การให้คะแนน ตอ้ งปรับปรุง (๑) ประเมนิ ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การ ร่วมมือและชว่ ยเหลอื รว่ มมือและ รว่ มมือและ ไมใ่ หค้ วามร่วมมือ ปฏิสัมพนั ธ์กัน เพือ่ นในการทำ ในขณะทำ ชว่ ยเหลือเพื่อนเป็น ชว่ ยเหลือเพ่อื นใน กิจกรรม กิจกรรม ส่วนใหญ่ในการทำ การทำกจิ กรรมเปน็ สนทนาไมต่ รง ประเดน็ กิจกรรม บางครงั้ ไม่มีการปรึกษาครู ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเด็น และเพื่อนกลมุ่ อนื่ ๆ เรื่องท่ีกำหนด ครอบคลุมเน้ือหา ครอบคลุมเน้อื หา ไมม่ ีการวางแผน อยา่ งเป็นระบบ บางส่วน และไม่มีการแบ่ง หนา้ ทขี่ องสมาชกิ ๓. การ มกี ารปรึกษาครูและ มกี ารปรกึ ษาครแู ละ มกี ารปรกึ ษาครูและ ในกล่มุ ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร เพอ่ื นกล่มุ อื่น ๆ เพอื่ นกลุ่มอืน่ ๆ เพ่ือนกลุม่ อื่น ๆ เป็นส่วนใหญ่ เป็นบางครง้ั ๔. พฤตกิ รรม มกี ารวางแผนอยา่ ง มีการวางแผนอยา่ ง มีการวางแผนอย่าง การทำงาน เป็นระบบ และแบง่ หนา้ ทข่ี องสมาชกิ เปน็ ระบบ และแบ่ง เปน็ ระบบ และแบง่ ในกลมุ่ หนา้ ทข่ี องสมาชกิ หน้าที่ของสมาชิก ในกลุ่มเป็นส่วนใหญ่ ในกลมุ่ เปน็ บางครง้ั

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ย้อนรอยไทย ๘๙๕ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คำช้แี จง ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี นแล้วขดี ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการ พฤติกรรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. มีวินัย ๑.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครัว รบั ผิดชอบ และโรงเรยี น มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ใน ชีวิตประจำวนั มีความรับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๒.๑ ตั้งใจเรียน ๒.๒ เอาใจใสใ่ นการเรยี นและมีความเพยี รพยายามในการเรยี น ๒.๓ เข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ๒.๔ ศกึ ษาค้นควา้ หาความรูจ้ ากหนังสือ เอกสาร สง่ิ พิมพ์ สอ่ื เทคโนโลยตี ่าง ๆ แหลง่ การเรียนรทู้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้ส่ือได้อยา่ งเหมาะสม ๒.๕ บนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางส่งิ ท่เี รยี นรู้ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ ๒.๖ แลกเปล่ียนความรู้ ดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน ๓. ม่งุ ม่ันใน ๓.๑ มีความต้งั ใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ ับมอบหมาย การทำงาน ๓.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสำเร็จ ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง เกณฑก์ ารให้คะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การสรุปผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดีมาก นักเรียนทีไ่ ด้ระดบั คณุ ภาพผา่ นขึน้ ไป ถือวา่ ผา่ น ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผา่ น ๐-๗ ไมผ่ า่ น

๘๙๖ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน คำช้แี จง ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแลว้ ขดี ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมนิ พฤติกรรมการแสดงออก ระดับการปฏิบตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มคี วามสามารถในการรับ–ส่งสาร การสอื่ สาร ๑.๒ มีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด ๒. ความสามารถใน ความเขา้ ใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม การคดิ ๒.๑ มที กั ษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. ความสามารถใน ๒.๒ มคี วามสามารถในการคิดอยา่ งมรี ะบบ การใช้ทกั ษะชีวติ ๓.๑ สามารถทำงานกลมุ่ ร่วมกบั ผู้อ่นื ได้ ๓.๒ นำความรูท้ ไี่ ด้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน ลงช่อื ................................................................ผปู้ ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ๐ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง เกณฑก์ ารให้คะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ดงั นี้ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน นกั เรยี นทไี่ ดร้ ะดบั คณุ ภาพผ่านขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน ๑๖-๑๘ ดีมาก ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผา่ น ๐-๙ ไม่ผ่าน

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรอ่ื ง ย้อนรอยไทย ๘๙๗ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๓ เรอื่ ง ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ยอ้ นรอยไทย เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ าประวตั ิศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๑. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ชว้ี ดั ป.๔/๒ อธิบายยุคสมยั ในการศึกษาประวตั ขิ องมนษุ ยช์ าตโิ ดยสงั เขป ๒. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติตามกาลเวลา และสามารถ เปรียบเทียบเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ได้ การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบ่งออกเป็น ๒ สมัย คือ สมยั กอ่ นประวัติศาสตรแ์ ละสมยั ประวัตศิ าสตร์ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) อธบิ ายการแบ่งยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ได้ ๓.๒ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ทกั ษะการเปรยี บเทียบลกั ษณะสำคัญการแบง่ ยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ ๓.๓ ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) เหน็ ความสำคัญของการแบ่งยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ ๔. สาระการเรยี นรู้ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ ๕. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น ๑. ความสามารถในการคดิ ๒. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๓. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ๖. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. มวี ินยั ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้

๘๙๘ คูม่ ือคร การจดั กิจกรรมการเรียน แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓ เร รายวิชาประวตั ิศาสตร ลำดับท่ี จุดประสงค์ ขั้นตอนการ เวลา แ การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ ทใี่ ช้ กจิ กรรมครู ๑. ๑. เห็นความสำคัญ ขน้ั นำ ๕ ๑. ครูใหน้ กั เรียนรว่ มแสด ของการแบ่งยุค นาที คิดเหน็ โดยใชค้ ำถามดงั นี้ สมัยทาง “นักเรยี นคดิ วา่ การแบ่งย ประวัตศิ าสตร์ ทางประวัตศิ าสตร์มผี ลดีอ ๒. ครูใหน้ ักเรียนดูภาพเก ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร คำถาม - ภาพท่ีนกั เรยี นเห็นคือภ อะไร - นกั เรียนร้หู รอื ไม่วา่ ภาพ ยคุ สมัยใดของทางประวัต ๓. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมสรา้ เข้าใจ “ภาพนน้ั เป็นมนษุ อย่ใู นสมยั ก่อนประวตั ศิ าส มนุษย์ยุคปจั จบุ นั อยูใ่ นส ประวัตศิ าสตร์”

รูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) นรู้ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ สอื่ การเรียนรู้ การประเมนิ รื่อง ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ การเรยี นรู้ ร์ จำนวน ๑ ชว่ั โมง - ภาพเก่ียวกับ แนวการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื งยุคสมยั ทาง ประวัติศาสตร์ กิจกรรมนกั เรยี น ดงความ ๑. นักเรยี นตอบคำถาม แนวคำตอบ ยคุ สมัย - ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเรื่องราวทีเ่ กิดขึ้นใน อยา่ งไร” ประวตั ศิ าสตร์ไดช้ ดั เจนย่ิงขึ้น กี่ยวกับ ๒. นกั เรยี นดภู าพแล้วตอบคำถาม ร์แล้วตั้ง แนวคำตอบ - มนษุ ย์ในยุคสมยั ต่าง ๆ ภาพ - ร/ู้ ไมร่ ู้ พน้ีอยูใ่ น ติศาสตร์ างความ ษยย์ ุคหนิ สตร์และ สมยั

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ลำดบั ที่ จดุ ประสงค์ ข้นั ตอนการ เวลา แ การเรียนรู้ จดั การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมครู ๒. ๒. อธิบายการแบ่ง ขั้นสอน ๒๕ ๑. ครูใหน้ กั เรยี น แบง่ กล ยคุ สมยั ทาง นาที ละ ๔ คน และให้นักเรียน ประวตั ิศาสตร์ได้ ใบความรูเ้ รื่อง ยุคสมยั ทา ประวตั ศิ าสตร์ และนักเรีย รว่ มกันอภปิ ราย ๒. ครตู ้งั ประเดน็ คำถาม พ ทงั้ อธบิ ายเพิม่ เติมให้ นักเ ความร้แู ละเข้าใจยิง่ ข้นึ เร สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ ๑) ยคุ สมัยทางประวตั ศิ าส ออกก่ีสมยั ๒) ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าส ส่ิงใดเปน็ เกณฑใ์ นการแบ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ ๓) ยคุ สมัยก่อนประวตั ิศา แบ่งย่อยออกเป็นกยี่ ุค ๔) ยคุ สมัยประวัติศาสตร แบง่ ย่อยออกเป็นกี่ยุคสม

๘๙๙ แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมิน กิจกรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ ล่มุ กลมุ่ ๑. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ และรว่ มกนั - ใบความรู้ที่ ๒ - การสงั เกต นศึกษา ศึกษาข้อมลู จากใบความรเู้ ร่ือง าง ยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ และ เรื่อง ยคุ สมยั ทาง - การประเมนิ ยน นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายสรุป ประวตั ศิ าสตร์ พร้อม ๒. นักเรียนตอบคำถาม เรียนมี - แบบสังเกต รอ่ื ง ยคุ - แบบประเมิน แนวคำตอบ สตร์แบง่ ๑) ๒ สมยั ได้แก่ สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ สมยั ประวตั ิศาสตร์ สตร์ใช้ ๒) เกณฑจ์ ากการทีม่ นุษย์ร้จู ักการ บง่ ยุค ประดษิ ฐต์ วั อักษร าสตร์ ๓) ๒ ยุคสมัย ได้แก่ ยุคหนิ ยคุ โลหะ ร์ ๔) ๔ สมยั ได้แก่ สมัยโบราณ สมยั มยั กลาง สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบัน

๙๐๐ คมู่ อื คร ลำดบั ที่ จดุ ประสงค์ ขนั้ ตอนการ เวลา แ การเรยี นรู้ จดั การเรียนรู้ ที่ใช้ กจิ กรรมครู ๓. ๒. ทักษะการ ขน้ั ปฏิบัติ ๑๐ ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ท เปรียบเทยี บ นาที งาน เรือ่ ง การแบ่งยุคสมยั ลกั ษณะสำคญั ประวัตศิ าสตร์ การแบ่งยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ ๔. ๓. เหน็ ความสำคญั ข้ันสรุป ๑๐ ๑. ครูสุ่มให้นกั เรียน ๒ กล ของการแบง่ ยุค นาที ตัวแทนออกมานำเสนอหน้า สมยั ทาง ๒. ครูและนกั เรียนเป็นผู้ ประวตั ิศาสตร์ ตรวจสอบความถูกตอ้ งผล ๓. ครูให้นกั เรียนร่วมกนั ส ความรู้เรอื่ ง ยุคสมยั ทาง ประวัตศิ าสตร์

รแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) แนวการจัดการเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมิน กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ ทำใบ นกั เรยี นทำใบงาน เร่ือง การแบง่ - ใบงานท่ี ๓ - การตรวจ ยทาง ยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ เร่ือง การแบ่งยคุ ใบงาน สมัยทาง - การสังเกต ประวัติศาสตร์ - การประเมิน - แบบสังเกต - แบบประเมิน ลุ่มส่ง ๑. ตวั แทนนกั เรยี น ๒ กล่มุ ออกมา - ใบงานท่ี ๓ - การตรวจ าชัน้ เรยี น นำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรยี น เรอ่ื ง การแบ่งยุค ใบงาน ๒. นักเรยี นร่วมผู้ตรวจสอบความ สมัยทาง - การสงั เกต ลงาน ถูกต้อง ประวตั ศิ าสตร์ - การประเมนิ สรปุ ๓. นักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้ - แบบสังเกต เรือ่ ง ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ - แบบประเมนิ ยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ ซึ่งมี ๒ ยุค ยุคกอ่ นประวัติศาสตร์และ ยุคประวตั ิศาสตร์ โดยใช้ ลายลกั ษณ์อักษรเปน็ สงิ่ ทีใ่ ช้แบ่ง ยุคสมัย การศึกษาเร่ืองการแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย ลำดับท่ี จดุ ประสงค์ ขั้นตอนการ เวลา แ การเรยี นรู้ จดั การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรมครู

๙๐๑ แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน กจิ กรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ ทำให้เราทราบถงึ พฒั นาการของ มนุษย์และเขา้ ใจเรื่องราวในอดตี ได้อย่างชัดเจนและถูกต้อง

๙๐๒ คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) ๘. สอ่ื การเรียนรู/้ แหลง่ เรยี นรู้ ๑. ใบความรู้ที่ ๒ เร่อื ง การแบง่ ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ ๒. ภาพมนษุ ย์ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ ๙. การประเมินผลรวบยอด ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ใบงานท่ี ๓ เรอ่ื ง การแบ่งยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ การวดั และประเมินผล ประเด็นการวดั วิธกี าร เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน และประเมินผล ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ด้านความรู้ - ตรวจใบงาน - ใบงานท่ี ๓ เร่ือง ผ่านเกณฑ์การประเมิน - การประเมนิ การแบ่งยคุ สมัยทาง รอ้ ยละ ๖๐ ประวตั ิศาสตร์ - แบบประเมิน ด้านทกั ษะ กระบวนการ - ตรวจใบงาน - ใบงานท่ี ๓ เรือ่ ง - การสังเกต การแบง่ ยุคสมยั ทาง - การประเมนิ ประวตั ศิ าสตร์ - แบบสงั เกต - แบบประเมิน ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ - การประเมิน - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับ คณุ ภาพพอใช้ข้ึนไป ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึง ประเมินมีวนิ ยั แบบประเมินคณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งม่ันใน การทำงาน อันพึงประสงค์ คุณภาพพอใช้ขึน้ ไป สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ประเมินความสามารถ แบบประเมนิ สมรรถนะ ผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ ระดบั การคิด การใช้ทักษะ สำคัญของผ้เู รยี น คุณภาพพอใชข้ น้ึ ไป ชวี ติ และการแก้ปญั หา

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรือ่ ง ย้อนรอยไทย ๙๐๓ ๑๐. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเร็จ ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................ .................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ขอ้ จำกดั การใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………...………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ลงช่ือ……………………………………………………….ผสู้ อน (…...........………………………………………….) วันที่……………เดือน……………………………พ.ศ……………… ๑๑. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผ้ทู ่ไี ดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ……………………………………………………….ผตู้ รวจ (…...........………………………………………….) วนั ท่ี……………เดอื น……………………………พ.ศ………………

๙๐๔ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) ใบความรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เร่อื ง ย้อนรอยไทย แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เรือ่ ง ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ รายวิชาประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่าง ๆ กัน หากแต่อดีตของมนุษย์นั้นมีระยะเวลา ยาวนานมาก จงึ จำเป็นจะตอ้ งมกี ารแบง่ ชว่ งเวลาดังกล่าวออกเป็นยคุ สมยั ตา่ ง ๆ ทงั้ น้ี เพื่อให้เกิดความสะดวกในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอดีต ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน และเพ่ือใหเ้ หน็ ถงึ ลักษณะสำคญั ของแต่ละช่วงเวลา ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถแบ่งออกเป็น ๒ สมัย คือ สมัยก่อน ประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ สำหรับสิ่งที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดอายุ คอื “ตัวอักษร” ดงั น้นั แล้ว ในแต่ละสังคมหรอื แหลง่ อารยธรรมต่าง ๆ ในโลก จึงเข้า สู่สมัยประวัติศาสตร์ไม่พร้อมกัน ขึ้นอยู่กับว่าสังคมหรืออารยธรรมใดสามารถ ประดิษฐ์ตวั อักษรขน้ึ ใชไ้ ดก้ อ่ น ๑. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ ช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการประดิษฐ์ ตัวอักษรเพื่อใช้บันทึกเรื่องราว ดังนั้น การศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์ จึงต้องอาศัยการสันนิษฐาน และการตีความจากหลักฐานทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ส่วนใหญ่ทำจากหินและโลหะ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สามารถแบง่ ออกได้เปน็ ๒ ยคุ ๑) ยคุ หิน ยคุ หินเป็นยคุ ท่ีมนุษย์รู้จักใช้หินเป็นเคร่ืองมือเครื่องใช้ แบ่งเป็น ๓ สมัย ได้แก่ - ยุคหนิ เกา่ (มีอายุ ๑๐๐,๐๐๐-๕๐๐,๐๐๐ ป)ี - ยคุ หนิ กลาง (มีอายุ ๗,๐๐๐-๑๒,๐๐๐ ป)ี - ยคุ หินใหม่ (มอี ายุ ๓,๐๐๐-๗,๐๐๐ ป)ี ถลุงเหล็ก ซง่ึ แข็งแกร่งกว่าสำริดมาทำเป็นเคร่อื งใช้และอาวธุ

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ๙๐๕ ๒) ยุคโลหะ มีอายุระหว่าง ๕,๖๐๐-๗,๐๐๐ ปีเป็นยุคที่มนุษย์รู้จักนำ โลหะมาเปน็ เคร่อื งมือ เคร่ืองใช้แทนหนิ แบง่ ย่อยออกเปน็ ๒ ยุค คอื - ยุคสำริด เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักนำทองแดงและดีบุกมาหลอม รวมกนั เปน็ สำริด ทำเป็นเครื่องมือเครอ่ื งใช้ - ยุคเหล็ก เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักการถลุงเหล็ก ซึ่งแข็งแกร่งกว่า สำรดิ มาทำเปน็ เครอ่ื งใชแ้ ละอาวธุ ๒. สมัยประวัติศาสตร์ คือ ช่วงเวลาที่มนุษย์ในสังคมเริ่มรู้จักการประดิษฐ์ ตัวอักษรขึ้นเพื่อใช้บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ทำให้มนุษย์ในยุคหลังสามารถเข้าใจ เรื่องราวในช่วงเวลาดังกล่าว ผ่านการศึกษาและตีความจากหลักฐานลายลักษณ์ อักษรต่าง ๆ เช่น ศิลาจารึก พงศาวดาร หนังสือ เป็นต้น ดังนั้น แต่ละสังคมจะ เริ่มต้นสมัยประวัติศาสตร์ไม่พร้อมกัน สมัยประวัติศาสตร์ หากแบ่งตาม ประวัติศาสตร์สากลแล้ว สามารถแบ่งได้เป็น ๔ สมัย ได้แก่ ประวัติศาสตร์สมัย โบราณ ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ และประวัติศาสตร์สมัย ปจั จบุ ัน ยุคโบราณ เริ่มตั้งแต่มนุษย์ตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง เป็นประเทศ ชาติ มอี ักษรใช้ มีอารยธรรม และสน้ิ สดุ ลงเม่อื อาณาจักรโรมันล่มสลาย ปี ค.ศ. ๔๗๖ ยคุ กลาง หรอื ยคุ มดื เรม่ิ ต้นเมือ่ ปี ค.ศ. ๔๗๖ ยโุ รปตกอย่ภู ายใตก้ ารปกครอง ของเผา่ ต่าง ๆ ถึง ปี ค.ศ. ๑๔๕๓ ยุคสมัยใหม่ เริ่มต้นเมื่อ ปี ค.ศ. ๑๔๕๓ ยุโรปฟื้นตัวจากการถูกครอบงำและ เริ่มฟื้นฟูศลิ ปวฒั นธรรม ไปจนถงึ สงครามโลกครงั้ ที่ ๑ ปี ค.ศ. ๑๙๑๔ ยุคปัจจุบัน เริ่มต้นหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ ยุติลง (ค.ศ. ๑๙๑๘) มาจนถึง ปจั จุบนั -------------------------------------------------------------------------

๙๐๖ คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) ใบงานท่ี ๓ เรอื่ ง การแบ่งยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่อื ง ย้อนรอยไทย แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓ เรื่อง ยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ รายวชิ าประวตั ิศาสตร์ รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ คำสั่ง ให้นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะสำคญั ของการแบ่งยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ ยคุ สมยั ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรข์ องการแบง่ ยคุ สมัย สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ ลักษณะสำคญั ๑) ยคุ หิน ๒) ยคุ โลหะ สมยั ประวตั ิศาสตร์ ๑) สมัยโบราณ ................................................................................................................ ๒) สมัยกลาง ................................................................................................................ ๓) สมัยใหม่ ................................................................................................................ ๔) สมยั ปัจจบุ ัน ................................................................................................................ ๑. ชื่อ-นามสกุล..............................................................................เลขท่ี.......................ชน้ั ............... ๒. ชอื่ -นามสกลุ ..............................................................................เลขท่ี.......................ชน้ั ............... ๓. ชอ่ื -นามสกุล..............................................................................เลขที่.......................ชนั้ ............... ๔. ช่อื -นามสกุล..............................................................................เลขที่.......................ชนั้ ...............

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย ๙๐๗ เฉลยใบงานท่ี ๓ เร่ือง การแบง่ ยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง ยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ รายวชิ าประวัติศาสตร์ รหัสวชิ า ส๑๔๑๐๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ คำสัง่ ให้นกั เรียนเปรียบเทยี บลักษณะสำคญั ของการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ ยุคสมยั ลกั ษณะสำคัญของการแบ่งยุคสมยั สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ มนษุ ยย์ ังไมม่ ีการประดิษฐต์ วั อกั ษรเพื่อใช้บนั ทึกเรอ่ื งราว ๑) ยุคหนิ ยคุ ท่ีมนษุ ย์รู้จักใชห้ นิ เปน็ เคร่ืองมือเครื่องใช้ ๒) ยคุ โลหะ สมัยประวตั ศิ าสตร์ ยคุ ที่มนุษยร์ ู้จักนำโลหะมาเป็นเครื่องมือ เคร่ืองใช้แทนหนิ ๑) สมัยโบราณ มนุษยเ์ รม่ิ ร้จู ักการประดิษฐ์ตวั อักษรขนึ้ เพ่ือใช้บนั ทึกเรื่องราว ๒) สมัยกลาง เร่มิ มอี ักษรใช้ มีอารยธรรม และสน้ิ สุดลงเมอื่ อาณาจักรโรมันล่มสลาย ๓) สมยั ใหม่ ปี ค.ศ. ๔๗๖ เร่ิมต้นปี ค.ศ. ๔๗๖ ยุโรปตกอยู่ภายใต้การปกครองของเผ่าต่าง ๆ ถงึ ปี ๔) สมัยปจั จบุ ัน ค.ศ. ๑๔๕๓ เรม่ิ ตน้ เมื่อ ปี ค.ศ. ๑๔๕๓ ยุโรปฟน้ื ตวั จากการถูกครอบงำและเริม่ ฟ้นื ฟู ศลิ ปวฒั นธรรม ไปจนถึง สงครามโลกครงั้ ที่ ๑ ปี ค.ศ. ๑๙๑๔ เรม่ิ ตน้ หลังสงครามโลกครง้ั ท่ี ๑ ยุตลิ ง (ค.ศ. ๑๙๑๘) มาจนถงึ ปจั จุบนั ๑. ช่ือ-นามสกลุ ..............................................................................เลขท่ี.......................ชนั้ ............... ๒. ชื่อ-นามสกุล..............................................................................เลขท่ี.......................ชน้ั ............... ๓. ช่อื -นามสกุล..............................................................................เลขที่.......................ชน้ั ............... ๔. ชอ่ื -นามสกุล..............................................................................เลขท.่ี ......................ชน้ั ...............

๙๐๘ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมินการนำเสนอหน้าชนั้ เรยี น เกณฑ์ ระดับคุณภาพ การประเมนิ ๑. การถา่ ยทอด ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑) เนอ้ื หา คล่องแคล่วไม่ตดิ ขัด คลอ่ งแคลว่ ไม่ ไม่คล่องแคลว่ ติดขัด หยุดชะงัก ๒. บุคลิกภาพ ทำใหเ้ ข้าใจประเด็นได้ ติดขัด ทำให้เข้าใจ มกี ารหยดุ ชะงักบ้าง ในหลายจังหวะ ง่ายและเรว็ การพูดมี ประเดน็ ได้ง่าย บางครัง้ จังหวะพดู พดู เรว็ หรือชา้ การเว้นจังหวะและ การพูดมกี ารเวน้ ชา้ จบั ประเดน็ ไม่ได้ เกินไป เน้นคำ เน้นสาระ จังหวะอยา่ ง สำคญั อยา่ งเหมาะสม เหมาะสม ความเรว็ เพอ่ื ใหผ้ ฟู้ ังติดตาม ในการพูดอยู่ใน การนำเสนอ ความเร็ว ระดับเหมาะสม ในการพูดอยใู่ นระดับ เหมาะสม มคี วามมนั่ ใจ สบสายตา สบสายตาผฟู้ ัง สบสายตาผฟู้ งั นอ้ ย กม้ หน้าไม่สบตา ผฟู้ ังตลอดเวลาเพ่อื พอสมควร นำ้ เสียง นำ้ เสยี งส่ัน ขาด และน้ำเสียงสั่น ดึงดูดให้ผู้ฟงั สนใจใน สะทอ้ นถงึ ความ ความมน่ั ใจ เสยี ง และเบา เนอ้ื หาทีถ่ ่ายทอด มั่นใจ เสยี งดงั เบาและดงั สลบั ไป เสยี งดงั พอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใชภ้ าษา คล่องแคลว่ เช่น ยก แสดงกริยาท่าทาง ใชภ้ าษากาย ไม่ใช้ภาษากาย สอ่ื สาร กายในการสอ่ื สาร มอื /ผายมือ แสดงกริยา ประกอบการนำเสนอ สอ่ื สารนอ้ ยครั้ง ใช้เวลาใน ทา่ ทางประกอบ พอสมควร การนำเสนอเกิน เวลาท่กี ำหนด การนำเสนอเพ่ือดงึ ดดู มากกวา่ ๕ นาที ขน้ึ ไป ความสนใจ ๔. ความเหมาะสม ใชเ้ วลาในการนำเสนอ ใช้เวลาใน ใชเ้ วลาใน กับเวลา เหมาะสม การนำเสนอเกนิ เวลา การนำเสนอเกิน ท่ีกำหนด ๑-๓ นาที เวลาทีก่ ำหนด ๔-๕ นาที เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดีมาก ดี คะแนน ๑๓–๑๖ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๙–๑๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน ๕–๘ คะแนน หมายถึง คะแนน ๑–๔ คะแนน หมายถึง เกณฑก์ ารผา่ น ตงั้ แต่ ๕ คะแนน ขนึ้ ไป

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง ย้อนรอยไทย ๙๐๙ แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ๑. การรว่ มกิจกรรม ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ๒. การรับฟงั ความ คิดเห็นของผู้อืน่ มคี วามกระตือรือร้นใน มีความกระตือรอื ร้นใน ไม่มีความกระตอื รือรน้ ๓. ความรับผิดชอบ การรว่ มกิจกรรมอยา่ ง การร่วมกจิ กรรมใน ในการรว่ มกิจกรรม ๔. ขยันหมั่นเพียร สม่ำเสมอ บางครั้ง ๕. ตรงต่อเวลา รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของ ไมร่ ับฟังความคดิ เหน็ ผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ ผอู้ นื่ เปน็ บางครั้ง ของผู้อน่ื มคี วามรบั ผดิ ชอบในงาน มคี วามรบั ผิดชอบในงาน ไม่มีความรบั ผิดชอบใน ที่ได้รบั มอบหมายอยา่ ง ที่ได้รับมอบหมายใน งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย สม่ำเสมอ บางครัง้ มคี วามขยนั หมั่นเพยี ร มคี วามขยนั หม่ันเพียร ไมม่ ีความขยนั หมั่นเพยี ร พยายามทำงานใหส้ ำเร็จ พยายามทำงานใหส้ ำเร็จ พยายามทำงานใหส้ ำเรจ็ อย่างสมำ่ เสมอ เปน็ บางครัง้ ส่งชน้ิ งานภายในเวลาที่ ส่งผลงานเสร็จตรงเวลา ส่งผลงานช้ากวา่ เวลา กำหนด กำหนด เกณฑก์ ารให้คะแนน ดี คะแนน ๑๑–๑๕ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๖–๑๐ คะแนน หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน ๑–๕ คะแนน หมายถึง เกณฑ์การผา่ น ต้ังแต่ ๖ คะแนน ขนึ้ ไป

๙๑๐ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ ใบงาน คำช้แี จง ใหค้ รผู ้สู อนประเมินใบงานของนกั เรยี นแล้วใหท้ ำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ ช่อื –สกุล การร่วม การรับฟัง ความ ขยนั หมน่ั เพียร ตรงตอ่ เวลา รวม กจิ กรรม ความคิดเห็น รับผิดชอบ ๒๐ ของผู้อน่ื คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔ ๓ ๒ ๑ ๔๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ลงช่ือ................................................................ผูป้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ นักเรียนทไี่ ด้ระดบั คุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือว่า ผา่ น ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ปรับปรงุ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง ย้อนรอยไทย ๙๑๑ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบคุ คล ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ วันท.ี่ ......................เดอื น.......................................พ.ศ......................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลำดบั ท่ี ชอื่ –สกลุ ความ ความสนใจ การ มสี ว่ น รวม ระดับ ตง้ั ใจใน และการ ตอบ รว่ มใน (๑๖) คุณภาพ การเรียน ซักถาม คำถาม กิจกรรม (๔) (๔) (๔) (๔) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่ือ........................................................ผปู้ ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมนิ ในการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ดังน้ี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดีมาก นักเรยี นที่ไดร้ ะดบั คุณภาพพอใชข้ ้ึนไป ถือวา่ ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรับปรุง

๙๑๒ คูม่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑ์การวัดและประเมินผลการสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียนรายบคุ คล (Rubric) ประเดน็ การ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเมิน ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ตอ้ งปรับปรุง (๑) ๑. ความต้ังใจใน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน ไม่สนใจใน การเรียน ไม่คยุ หรือเล่นกนั คยุ กนั เล็กน้อย คยุ กนั และเล่นกัน การเรียน คุยและ ในขณะเรยี น ในขณะเรียน ในขณะเรียนเปน็ เล่นกนั ในขณะ บางครง้ั เรียน ๒. ความสนใจและ มกี ารถามในหวั ข้อท่ี มกี ารถามในหวั ข้อ มกี ารถามในหวั ข้อ ไม่ถามในหวั ข้อที่ การซกั ถาม ตนไม่เข้าใจทุกเร่อื ง ที่ตนไมเ่ ข้าใจเป็น ทตี่ นไม่เข้าใจเปน็ ตนไม่เข้าใจและ และกลา้ แสดงออก ส่วนมากและกลา้ บางคร้ังและไม่ค่อย ไม่กลา้ แสดงออก แสดงออก กล้าแสดงออก ๓. การตอบคำถาม รว่ มตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ไมต่ อบคำถาม เรอื่ งที่ครูถามและ เร่อื งท่ีครถู ามและ เร่ืองท่ีครถู ามเปน็ ตอบคำถามถูกทุกข้อ ตอบคำถาม บางครงั้ และตอบ สว่ นมากถกู คำถามถกู เป็น บางครัง้ ๔. มีส่วนร่วมใน รว่ มมือและ รว่ มมอื และ ร่วมมือและ ไม่มีความร่วมมือ กิจกรรม ชว่ ยเหลือเพือ่ นใน ช่วยเหลือเพ่ือน ช่วยเหลอื เพือ่ นใน ในขณะทำ การทำกจิ กรรม เปน็ ส่วนใหญ่ใน การทำกจิ กรรม กจิ กรรม การทำกิจกรรม เป็นบางครง้ั

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย ๙๑๓ แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ วันท.่ี ......................เดือน......................................พ.ศ.............................. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลำดับท่ี ชือ่ กลุ่ม การ การสนทนา การ พฤติกรรม รวม ระดบั ปฏสิ ัมพนั ธ์ เร่ือง ตดิ ต่อสื่อสาร การทำงาน (๑๖) คุณภาพ ๑ ๒ กนั ทก่ี ำหนด กลุ่ม ๓ ๔ (๔) (๔) (๔) (๔) ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชื่อ................................................................ผปู้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมินในการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ดังน้ี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน ๑๔-๑๖ ดีมาก นกั เรยี นท่ีได้ระดับคุณภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถือว่า ผ่าน ๑๑-๑๓ ดี ๘-๑๐ พอใช้ ๐-๗ ปรบั ปรงุ

๙๑๔ ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๔) เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนรายกลุ่ม (Rubric) ประเดน็ การ ดีมาก (๔) เกณฑ์การให้คะแนน ตอ้ งปรับปรุง (๑) ประเมนิ ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. การ ร่วมมือและชว่ ยเหลอื รว่ มมือและ รว่ มมือและ ไมใ่ หค้ วามร่วมมือ ปฏิสัมพนั ธ์กัน เพือ่ นในการทำ ในขณะทำ ชว่ ยเหลือเพื่อนเป็น ชว่ ยเหลือเพ่อื นใน กิจกรรม กิจกรรม ส่วนใหญ่ในการทำ การทำกจิ กรรมเปน็ สนทนาไมต่ รง ประเดน็ กิจกรรม บางครงั้ ไม่มีการปรึกษาครู ๒. การสนทนา สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเด็น และเพื่อนกลมุ่ อนื่ ๆ เรื่องท่ีกำหนด ครอบคลุมเน้ือหา ครอบคลุมเน้อื หา ไมม่ ีการวางแผน อยา่ งเป็นระบบ บางส่วน และไม่มีการแบ่ง หนา้ ทขี่ องสมาชกิ ๓. การ มกี ารปรึกษาครูและ มกี ารปรกึ ษาครแู ละ มกี ารปรกึ ษาครูและ ในกล่มุ ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร เพอ่ื นกล่มุ อื่น ๆ เพอื่ นกลุ่มอืน่ ๆ เพ่ือนกลุม่ อื่น ๆ เป็นส่วนใหญ่ เป็นบางครง้ั ๔. พฤตกิ รรม มกี ารวางแผนอยา่ ง มีการวางแผนอยา่ ง มีการวางแผนอย่าง การทำงาน เป็นระบบ และแบง่ หนา้ ทข่ี องสมาชกิ เปน็ ระบบ และแบ่ง เปน็ ระบบ และแบง่ ในกลมุ่ หนา้ ทข่ี องสมาชกิ หน้าที่ของสมาชิก ในกลุ่มเป็นส่วนใหญ่ ในกลมุ่ เปน็ บางครง้ั

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ย้อนรอยไทย ๙๑๕ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คำช้แี จง ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี นแล้วขดี ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการ พฤติกรรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. มีวินัย ๑.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครัว รบั ผิดชอบ และโรงเรยี น มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ใน ชีวิตประจำวนั มีความรับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๒.๑ ตั้งใจเรียน ๒.๒ เอาใจใสใ่ นการเรยี นและมีความเพยี รพยายามในการเรยี น ๒.๓ เข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ๒.๔ ศกึ ษาค้นควา้ หาความรูจ้ ากหนังสือ เอกสาร สง่ิ พิมพ์ สอ่ื เทคโนโลยตี ่าง ๆ แหลง่ การเรียนรทู้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน และ เลือกใช้ส่ือได้อยา่ งเหมาะสม ๒.๕ บนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางส่งิ ท่เี รยี นรู้ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ ๒.๖ แลกเปล่ียนความรู้ ดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน ๓. ม่งุ ม่ันใน ๓.๑ มีความต้งั ใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ ับมอบหมาย การทำงาน ๓.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสำเร็จ ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง เกณฑก์ ารให้คะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑ์การประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การสรุปผลการประเมิน ๒๒-๒๗ ดีมาก นักเรียนทีไ่ ด้ระดบั คณุ ภาพผา่ นขึน้ ไป ถือวา่ ผา่ น ๑๕-๒๑ ดี ๘-๑๔ ผา่ น ๐-๗ ไมผ่ า่ น

๙๑๖ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๔) แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน ลงในชอ่ งที่ คำช้แี จง ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแลว้ ขดี ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมนิ พฤติกรรมการแสดงออก ระดับการปฏิบตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถใน ๑.๑ มีความสามารถในการรับ–ส่งสาร การสอื่ สาร ๑.๒ มีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม ๒. ความสามารถใน ๒.๑ มีทักษะในการคดิ นอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ การคดิ ๒.๒ มีความสามารถในการคิดอยา่ งมรี ะบบ ๓. ความสามารถใน ๓.๑ สามารถทำงานกลมุ่ ร่วมกับผู้อ่นื ได้ การใช้ทกั ษะชีวติ ๓.๒ นำความรู้ทไี่ ด้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน ลงช่อื ................................................................ผปู้ ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ๐ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง เกณฑก์ ารให้คะแนนดงั ตารางแนบท้าย เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ดงั นี้ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน นกั เรยี นทไี่ ดร้ ะดบั คณุ ภาพผ่านขึ้นไป ถือวา่ ผ่าน ๑๖-๑๘ ดีมาก ๑๓-๑๕ ดี ๑๐-๑๒ ผา่ น ๐-๙ ไม่ผ่าน

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย ๙๑๗ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรอ่ื ง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ไทย หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรื่อง ย้อนรอยไทย เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวตั ิศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๑. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชว้ี ดั มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ ีการทางประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตัวช้ีวดั ป.๔/๒ อธบิ ายยุคสมยั ในการศึกษาประวตั ิของมนุษยชาตโิ ดยสังเขป ๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติตามกาลเวลา และสามารถ เปรยี บเทียบเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ได้ การแบ่งยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ไทย แบง่ ออกเป็น ๔ สมัย ได้แก่ สมัยสุโขทยั สมัยอยธุ ยา สมยั ธนบุรี และสมยั รัตนโกสินทร์ ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) อธิบายการแบ่งยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ไทยได้ ๓.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) ทักษะการวิเคราะหเ์ หตุการณ์ในยคุ สมยั ต่าง ๆ ทางประวัติศาสตรไ์ ทย ๓.๓ ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) เห็นความสำคญั ของการแบ่งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ไทย ๔. สาระการเรียนรู้ การแบ่งยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ไทย ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการคดิ ๒. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๓. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. มีวนิ ยั ๓. ใฝเ่ รียนรู้ ๔. มุ่งม่ันในการทำงาน ๗. กจิ กรรมการเรียนรู้

๙๑๘ ค่มู ือคร การจดั กิจกรรมการเรียนร แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๔ เรอ่ื ง รายวชิ าประวัติศาสตร ลำดบั ท่ี จดุ ประสงค์ ขน้ั ตอนการจัด เวลา แ ๑. การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมครู ข้นั นำ ๑๐ ๑. ครใู หน้ ักเรียนดูภาพ นาที หินกับภาพมนุษยย์ คุ โล ตัง้ ประเด็นคำถามใหน้ ัก ตอบ ๒. ครูใช้คำถาม ๑) ภาพทีน่ กั เรียนเห็น อะไร ๒) ภาพน้ีมคี วามคลา้ ย แตกต่างกันอย่างไร ๓) อะไรเปน็ ส่งิ ทใ่ี ชแ้ บ สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร

รแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) รู้ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ง ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ไทย ร์ จำนวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ กจิ กรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ พมนุษย์ยุค ๑. นกั เรียนดูภาพมนษุ ยย์ คุ - PowerPoint - การสังเกต ลหะ แล้ว หนิ กับภาพมนุษย์ยุคโลหะบน ภาพมนษุ ย์ยุคหิน - การประเมิน กเรียน PowerPoint กับภาพมนุษยย์ คุ โลหะ ๒. นักเรยี นตอบคำถาม - แบบสังเกต นคือภาพ ๑) แนวคำตอบ ภาพมนุษย์ - แบบประเมิน ยุคหนิ กับภาพมนษุ ย์ยุคโลหะ ยคลึงและ ๒) แนวคำตอบ การดำรงชวี ติ ความเป็นอยู่ของมนุษย์ในยุค บ่งยุค น้ัน ร์ ๓) แนวคำตอบ สิง่ ทนี่ ำมาทำ เครื่องมอื เคร่ืองใชม้ ากำหนด ยคุ สมยั

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่อื ง ย้อนรอยไทย ลำดับที่ จดุ ประสงค์ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมครู ๒. ๑. อธบิ ายการแบง่ ขน้ั สอน ๒๐ ๑. ครูใหน้ ักเรยี นจบั คศู่ ยุคสมัยทาง นาที ความรู้ เร่อื ง ยุคสมัยทา ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตรไ์ ทย และ ไทยได้ อภปิ รายสรปุ ความรู้ ๒. เห็นความสำคัญ ๒. ครตู งั้ ประเดน็ คำถาม ของการแบ่งยุค ตรวจสอบความเข้าใจข สมัยทาง นักเรียน ประวตั ศิ าสตร์ ๑) การแบ่งยุคสมัยทาง ไทย ประวตั ิศาสตร์ไทย แบ่ง สมยั ใชส้ ง่ิ ใดเป็นเกณฑ แบ่ง ๒) การแบง่ ยคุ สมยั ทาง ประวัติศาสตรไ์ ทย แบ่ง สมัยอะไรบ้าง ๓) นกั เรียนคดิ วา่ การศ แบง่ ยคุ สมยั ทางประวัต ไทยมปี ระโยชน์อยา่ งไร

๙๑๙ แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ - ใบความรู้ท่ี ๓ - ตรวจสมดุ ศึกษาใบ ๑. นักเรยี นจบั คู่ศกึ ษาใบ เรือ่ ง ยุคสมยั ทาง - การสงั เกต าง ความรู้ อภปิ รายสรุปความรู้ ประวตั ศิ าสตร์ - การประเมิน ะรว่ มกัน บนั ทึกลงในสมุด ไทย - สมดุ บันทึก มเพ่ือ ๒. นักเรยี นตอบคำถาม - แบบสงั เกต ของ - แบบประเมิน แนวคำตอบ ง ๑) ๔ สมัย ใช้เหตุการณ์ งเปน็ กี่ยุค ช่วงเวลาของการเปน็ เมือง ฑ์ในการ หลวง/ราชธานี เป็นเกณฑใ์ น การแบ่ง ง ๒) สมัยก่อนสโุ ขทัย สมัย งเปน็ ยุค สุโขทัย สมยั อยธุ ยา สมยั ธนบุรี และสมยั ศกึ ษาการ รัตนโกสนิ ทร์ ติศาสตร์ ๓) ชว่ ยใหเ้ ข้าใจเรื่องราวท่ี รบา้ ง เกดิ ขึน้ ในประวตั ิศาสตร์ไทย ไดช้ ัดเจนมากขนึ้

๙๒๐ คู่มือคร ลำดบั ที่ จุดประสงค์ ข้ันตอนการจดั เวลา แ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมครู ๓. ๓. ทักษะการ ข้นั ปฏิบัติ ๑๐ ๓. ครใู หน้ กั เรยี นจับคูเ่ ด วิเคราะห์ นาที นกั เรยี นทำใบงาน เร่ือง เหตุการณ์ในยุค ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าส สมยั ตา่ ง ๆ ทาง โดยร่วมกันวิเคราะหค์ ำ ประวัตศิ าสตร์ บนั ทึกลงในแบบบนั ทึก ไทย ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาส ๔. ๔. เหน็ ความสำคญั ขน้ั สรุป ๑๐ ๑. ครูสุม่ ตัวแทนนักเรยี ของการแบง่ ยุค นาที ๒-๓ กลุ่ม ออกมานำเส สมัย เร่ือง การแบ่งยุคสมัยท ประวัตศิ าสตร์ไทยหนา้ ๒. ครแู ละนกั เรยี นรว่ ม ตรวจสอบความถูกต้อง ๓. ครใู ห้นักเรียนร่วมกนั ความรู้เรือ่ ง การแบง่ ยุค ประวตั ศิ าสตร์ไทย

รูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๔) แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ กจิ กรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ ดมิ แล้วให้ ๓. นักเรยี นจับคู่ แลว้ ทำใบ - ใบงานที่ ๔ - ตรวจใบงาน ง การแบง่ งาน เรื่อง การแบ่งยุคสมัย เร่อื ง การแบ่งยุค เร่อื ง การแบ่ง สตร์ไทย ทางประวัตศิ าสตร์ไทย สมยั ทาง ยคุ สมยั ทาง ำถามแลว้ ประวตั ิศาสตร์ไทย ประวตั ิศาสตร์ กการแบ่ง - แบบสังเกต ไทย สตร์ไทย - แบบประเมิน - การสงั เกต - การประเมิน ยน ๑. ตัวแทนนักเรียน ๒-๓ กล่มุ - ใบงานท่ี ๔ - การสังเกต สนอใบงาน ออกมานำเสนอใบงาน การ การแบ่งยุคสมัย - การประเมิน ทาง แบ่งยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ ทางประวตั ิศาสตร์ าชน้ั เรยี น ไทย หน้าชั้นเรียน ไทย มกนั ๒. นกั เรยี นร่วมกันตรวจสอบ - แบบสังเกต ง ความถูกต้อง - แบบประเมนิ นสรปุ ๓. นกั เรยี นร่วมกันสรุป คสมยั ทาง ความรู้เรือ่ ง การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ไทย

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง ย้อนรอยไทย ลำดับที่ จดุ ประสงค์ ข้นั ตอนการจัด เวลา แ การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมครู

๙๒๑ แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมิน กิจกรรมนักเรียน การเรยี นรู้ ๕ สมัย ไดแ้ ก่ สมยั ก่อน สโุ ขทยั สมยั สุโขทยั สมัย อยธุ ยา สมยั ธนบรุ ี และสมยั รัตนโกสินทร์ ซงึ่ ทำใหเ้ รา ทราบถงึ พัฒนาการของ ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทยและ เข้าใจเร่อื งราวในอดีตได้ ชดั เจนมากข้ึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook