Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-07-26-คู่มือครู ภาษาไทย ป.2-1

64-07-26-คู่มือครู ภาษาไทย ป.2-1

Published by elibraryraja33, 2021-07-26 09:48:52

Description: 64-07-26-คู่มือครู ภาษาไทย ป.2-1

Search

Read the Text Version

คูมอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู (สําหรบั ครูผูส อน) เพื่อการจัดการเรียนรูโ ดยใชการศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุงคร้งั ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

คูมอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู (สําหรบั ครูผูส อน) เพื่อการจัดการเรียนรูโ ดยใชการศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุงคร้งั ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ก คํานํา ดวยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุงหมายใหการศึกษา บมเพาะสมรรถนะใหแกผูเรียน เพอ่ื สรา งคณุ ลกั ษณะสําคัญ ๔ ประการใหกับคนไทย อันไดแก ๑) มที ัศนคตทิ ่ีดี และถูกตอง ๒) มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคงเขมแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทํา ๔) เปนพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และ พระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา พัฒนาตอยอดโครงการในพระราชดําริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนา การศึกษาทางไกลผานดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกดาน อาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณเทคโนโลยี บุคลากร และกระบวนการจัดการศึกษา เพื่อแกปญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สรางโอกาส การเขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผานการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมจํานวน ๑๕ ชองสัญญาณ ไปยังโรงเรียนตาง ๆ และผูสนใจท่ัวประเทศ เพ่ือใหประเทศไทยเปนสังคมแหงปญญามีจิต อาสาในการสรรคส รา งและพัฒนาประเทศใหมนั่ คง การสอนออกอากาศทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา เปนการสอนออกอากาศในแนวใหม บันทึกเทปการสอนจากหองเรียนตนทางของโรงเรียน วังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผานทางเว็บไซต www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมูลนิธิ และมีคูมือครูและแผนการจัดการเรียนรูรายชั่วโมง ครบทั้ง ๘ กลุมสาระการเรียนรู ซึ่งครูปลายทางสามารถปรับกิจกรรมการเรียนรูใหเหมาะสมกับชุมชน ทองถิ่น วฒั นธรรม และบริบทของแตล ะโรงเรยี น คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู โดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ฉบับน้ี เปนการปรับปรุงคร้ังที่ ๒ ซึ่งดําเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ โดยความรว มมอื จากคณะทํางาน ประกอบดวย สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารยจากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก และครูผูเชี่ยวชาญ ทั้ง ๘ กลุมสาระ การเรียนรู เพื่อใหครูปลายทางใชในการเตรียมการสอนลวงหนา รวมทั้งสามารถจัดเตรียมเอกสาร ไดแก ใบงาน ใบความรู แบบฝกหัด เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิผล นําไปสูการพัฒนาคุณภาพ การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดเลก็ ตอ ไป นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาท่ีสุดมิได ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมุงมั่นพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม เพ่ือพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให เขม แข็ง สมดงั พระราชปณิธาน “...การศึกษาคอื ความม่นั คงของประเทศ...” ขอพระองคทรงพระเจรญิ มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ



สารบญั ค คาํ นาํ ก หนังสอื รบั รองความรวมมือในการพฒั นาคมู อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ข เพอื่ การสอนออกอากาศทางไกลผา นดาวเทยี ม ค ซ สารบญั 1 คาํ ชแี้ จงการรบั ชมรายการออกอากาศดว ยระบบทางไกลผานดาวเทยี ม 9 คาํ ชแี้ จงรายวชิ ากลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย 10 ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี ๑ 12 คาํ อธบิ ายรายวิชากลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย 15 ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 20 36 มาตรฐานการเรียนร/ู ตวั ชีว้ ดั 44 56 โครงสรางรายวชิ าภาษาไทย 65 ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรียนท่ี ๑ 81 90 หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ ชอ่ื หนว ย ทบทวนชวนทํา 101 แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๑ เรอื่ ง พยัญชนะ สระ วรรณยกุ ตและ ตวั เลขไทย (1) 110 แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรอ่ื ง พยญั ชนะ สระ วรรณยุกตและ ตวั เลขไทย (2) 119 แผนการจดั การเรียนรูท ี่ ๓ เรอื่ ง เลา เร่อื งสะกดคาํ (1) แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 4 เรอ่ื ง เลาเร่ืองสะกดคาํ (2) 121 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 5 เรอ่ื ง บอกย้ําอกั ษรสามหมู (1) 127 แผนการจดั การเรียนรูท่ี 6 เรอ่ื ง บอกยํา้ อักษรสามหมู (1) 137 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 7 เรอ่ื ง รอบรผู นั วรรณยกุ ต (1) 146 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 8 เรอื่ ง รอบรผู ันวรรณยุกต (2) 158 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 9 เรอ่ื ง รอบรูผนั วรรณยุกต (3) แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 หนว ยการเรียนรทู ี่ 2 ชือ่ หนว ย เรียนรคู าํ นาํ ไปใช แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง สนุกกบั มาตราตัวสะกด (1) แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๒ เรอ่ื ง สนุกกบั มาตราตัวสะกด (2) แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๓ เรอื่ ง ไมมัว่ แม ก กา (1) แผนการจดั การเรียนรูท ่ี 4 เรอ่ื ง ไมม ่ัว แม ก กา (2)

ง 167 179 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 5 เรอื่ ง ตามหามาตรากง (1) 189 แผนการจัดการเรียนรูท ี่ 6 เรอื่ ง ตามหามาตรากง (2) 203 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 7 เรอ่ื ง มาชมมาตรากม (1) 211 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 8 เรอื่ ง มาชมมาตรากม (2) 222 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 9 เรอื่ ง สนใจมาตรากน (1) 234 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 10 เรื่อง สนใจมาตรากน (2) 247 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 11 เรอ่ื ง เอียะ เอียพาเพลนิ 261 แผนการจดั การเรียนรูที่ 12 เรอ่ื ง ลูกนกหกตวั แบบประเมนิ ตนเอง หนวยการเรยี นรูท ี่ 2 262 267 หนวยการเรียนรทู ่ี 3 ชอ่ื หนว ย เขา ใจส่อื สาร 279 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง สระเอือเพื่อนเอย (1) 292 แผนการจดั การเรียนรูที่ ๒ เรอื่ ง สระเออื เพื่อนเอย (2) 303 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๓ เรอื่ ง แมเกยเอยวาจา (1) 315 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 4 เรอ่ื ง แมเกยเอย วาจา (2) 326 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 5 เรอื่ ง กกน้ันสาํ คญั ไฉน (1) 335 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 6 เรอื่ ง กกนน้ั สาํ คัญไฉน (2) 349 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 7 เรอื่ ง กบกระซบิ จากใจ (1) 361 แผนการจดั การเรียนรูที่ 8 เรอ่ื ง กบกระซบิ จากใจ (2) 380 แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 9 เรอื่ ง อา นคลองเขยี นไดคําควบกล้ํา (1) 396 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 10 เร่อื ง อานคลองเขียนไดคําควบกล้าํ (2) 411 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 11 เรอ่ื ง ควบกลาํ้ ยา้ํ ใช (1) 425 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 12 เรื่อง ควบกลํ้ายํา้ ใช (2) แบบประเมนิ ตนเอง หนว ยการเรยี นรูที่ 3 426 431 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 4 ชื่อหนว ย เขยี นอา นสนกุ 441 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๑ เรอื่ ง บทกลอมเด็กกาเหวา 456 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๒ เรอื่ ง สระอือ สระออ 468 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๓ เรอ่ื ง เท่ยี วเมืองแมกด (1) 477 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4 เรอื่ ง เท่ียวเมืองแมกด (2) 493 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 5 เรอ่ื ง บทรอ งเลนไปตลาดในเมอื งแมกด 506 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 6 เรอ่ื ง บทบาทแมเ กอว 519 แผนการจดั การเรียนรูท่ี 7 เรอื่ ง ตน ขา วใบเรียว 530 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 8 เรอ่ื ง ตอบแทนพระคณุ 540 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 9 เรอื่ ง อานจับใจความสําคญั แบบประเมนิ ตนเอง หนวยการเรียนรทู ่ี 4

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 5 ชื่อหนว ย รูจกั อาขยาน จ แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๑ เรอื่ ง สระอํา จําใหด ี (1) แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๒ เรอ่ื ง สระอาํ จําใหดี (2) 541 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๓ เรอ่ื ง ยส่ี ิบมว นชวนมอง 547 แผนการจดั การเรียนรูท่ี 4 เรอ่ื ง บทรอยกรองไมม ลาย 557 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 5 เรอื่ ง ห นํา จําใหดี 569 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 6 เรอื่ ง ฝก วธิ ีอยาอยอู ยา งอยาก 581 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 7 เรอ่ื ง จําไมย ากอักษรนาํ 591 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 8 เรอ่ื ง รวมใจรักษาปา (1) 605 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 9 เรอื่ ง รวมใจรกั ษาปา (2) 616 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 10 เรอื่ ง เขยี นสวยดว ยมือเรา 630 แบบประเมนิ ตนเอง หนว ยการเรียนรูที่ 5 641 บนั ทึกการเรยี นรู (Learning Log) 651 662 หนว ยการเรียนรทู ่ี 6 ชอ่ื หนว ย ส่อื ความตามสญั ลกั ษณ 664 แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๑ เรอ่ื ง สระเอาะ เงาะปา แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๒ เรอื่ ง เรยี นรู สระโอะ 665 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๓ เรอ่ื ง สระโอ นารู 670 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 4 เรอ่ื ง อกั ษรสูงผูกพัน 683 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 5 เรอื่ ง ชวนผันอกั ษรตาํ่ 692 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 6 เรอ่ื ง รูจ กั เครือ่ งหมาย 704 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 7 เรอ่ื ง สนุกกบั สัญลกั ษณ 712 แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 8 เรอื่ ง บทรอยกรองวิชาความรู 729 แบบประเมนิ ตนเอง หนว ยการเรยี นรูท่ี 6 740 751 หนวยการเรยี นรทู ่ี 7 ชือ่ หนว ย วรรคตอนสะทอนคดิ 764 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑ เรอ่ื ง การันตทณั ฑฆาต (1) แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒ เรอื่ ง การนั ตทัณฑฆาต (2) 766 แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๓ เรอ่ื ง ใชไ มพลาดไมยมก (1) 771 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 4 เรอื่ ง ใชไ มพลาดไมย มก (2) 782 แผนการจดั การเรียนรูท่ี 5 เรอื่ ง ตกใจอัศเจรยี  793 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 6 เรอื่ ง คาํ อทุ าน 812 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 7 เรอื่ ง รูด ีเคร่ืองหมายวรรคตอน (1) 824 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 8 เรอื่ ง รดู ีเคร่อื งหมายวรรคตอน (2) 841 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 9 เรอ่ื ง บทดอกสรอยนกกระจาบ 853 แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรียนรูท ่ี 7 868 886 899

ฉ 900 904 หนวยการเรยี นรทู ี่ 8 ช่อื หนว ย คาํ คลองจองรอ ยกรองไทย 916 แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรอื่ ง สระเออะ สระเออ 932 แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๒ เรอื่ ง สระเออที่มีตวั สะกด 943 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๓ เรอื่ ง คดิ ถงึ เธอสระอวั (1) 954 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 4 เรอ่ื ง คิดถึงเธอสระอวั (2) 975 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 5 เรอ่ื ง รักภาษาคาํ คลองจอง (1) 988 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 6 เรอ่ื ง รกั ภาษาคําคลองจอง (2) 998 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 7 เรอ่ื ง รกั ภาษาคาํ คลองจอง (3) 1016 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 8 เรอ่ื ง รกั ภาษาคําคลอ งจอง (4) 1044 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 9 เรอื่ ง แผน ดินนีม้ คี า แบบประเมินตนเอง หนวยการเรยี นรูท ่ี 8 1045 1050 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 9 ช่ือหนว ย ภาษาไทยใสใจจาํ 1071 แผนการจัดการเรียนรูท ่ี ๑ เรอ่ื ง อกั ษรสามหมูรูคิด 1080 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๒ เรอ่ื ง เสียงสน้ั ยาวตอ งรจู ํา 1091 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๓ เรอื่ ง ระฆงั ดงั หงางหงาง 1104 แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี 4 เรอ่ื ง ใสใจมาตราตวั สะกด 1116 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 5 เรอื่ ง เอียะ เอยี พาเพลิน 1127 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 6 เรอื่ ง สระเออื ะ สระเอือ 1139 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 7 เรอื่ ง ใสใจคําควบกลํา้ 1156 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 8 เรอ่ื ง อา นเขยี นเรียนรู แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรียนรทู ี่ 9 1157 1162 หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑0 ช่อื หนว ย รูรกั ษ ภาษาไทย 1171 แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑ เรอื่ ง ทบทวนอกั ษรสามหมู 1189 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๒ เรอื่ ง ปรศิ นาวรรณยกุ ต 1208 แผนการจดั การเรียนรูที่ ๓ เรอื่ ง อกั ษรนําจําได (1) 1217 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 4 เรอื่ ง อกั ษรนําจาํ ได (2) 1228 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 5 เรอ่ื ง ควบกลํา้ นําไปใช (1) 1241 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 6 เรอ่ื ง ควบกล้าํ นําไปใช (2) 1254 แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 7 เรอื่ ง สนุกสนานตัวการันต 1264 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 8 เรอื่ ง เรียนรสู ัญลกั ษณ รูจักเครอ่ื งหมาย 1283 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 9 เรอื่ ง คนหาคําคลองจอง 1284 แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรียนรทู ่ี 10 บนั ทกึ การเรยี นรู (Learning Log)

ช บรรณานกุ รม 1285 ภาคผนวก 1286 ภาคผนวก ก แบบประเมินรวม 1316 ภาคผนวก ข แผนผงั ความคดิ (Graphic Organizers) 1325 ภาคผนวก ค แบบบันทกึ การเรียนรู (Learning Logs) คณะผจู ดั ทาํ คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ระดบั ประถมศกึ ษา คณะจดั ทาํ คูม อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู (คร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖1) 1333 คณะกรรมการปรบั ปรุงคมู อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย 1335 ระดบั ประถมศึกษา (ฉบบั ปรบั ปรุงครั้งที่ ๒ พ.ศ. 2563)

ซ คาํ ชแี้ จง การรบั ชมรายการออกอากาศดวยระบบทางไกลผา นดาวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ ใหบริการการจัดการเรียนการสอน จากสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม จํานวน ๑๕ ชองรายการ ท้ังรายการสด (Live) และ รายการยอ นหลัง (On demand) สามารถรับชมผา นชอ งทางตอไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา ที่ Play Store/Google Play พมิ พคาํ วา DLTV - ระบบ iOS เขา ที่ App Store พมิ พค าํ วา DLTV หมายเลขชอ งออกอากาศสถานวี ทิ ยุโทรทศั นก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม 15 ชอ งรายการ ชอง (DLTV) ชอ ง (TRUE) รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา (ชวงเวลา ๐๘.๓๐–๑๔.๓๐ น.) (ชวงเวลา ๑๔.๓๐–๐๘.๓๐ น.) สถาบันพระมหากษัตริย DLTV 1 ชอง 186 รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 1 ความรูรอบตวั DLTV 2 ชอ ง 187 รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 2 DLTV 3 ชอง 188 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี DLTV 4 ชอ ง 189 รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม DLTV 5 ชอง 190 รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 ศิลปวัฒนธรรมไทย DLTV 6 ชอ ง 191 รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปที่ 6 หนา ทพ่ี ลเมอื ง DLTV 7 ชอง 192 รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร DLTV 8 ชอง 193 รายการสอนชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาษาตา งประเทศ DLTV 9 ชอ ง 194 รายการสอนชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 การเกษตร DLTV 10 ชอ ง 195 รายการสอนชน้ั อนุบาลปท ี่ 1 รายการสําหรับเด็ก-การเลย้ี งดูลูก DLTV 11 ชอง 196 รายการสอนชั้นอนบุ าลปท ี่ 2 สขุ ภาพ การแพทย DLTV 12 ชอ ง 197 รายการสอนชั้นอนุบาลปท่ี 3 รายการสําหรบั ผสู ูงวัย DLTV 13 ชอ ง 19๘ รายการของการอาชพี วังไกลกังวลและมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล DLTV 14 ชอง 199 รายการของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช DLTV 15 ชอ ง 200 รายการพฒั นาวชิ าชีพครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรยี นระดบั ชนั้ ปฐมวยั ชว งเวลา ๐๘.๓๐–๑๑.๓๐ น.

ฌ การตดิ ตอรบั ขอ มลู ขาวสาร ๑. มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ เลขท่ี 214 ถนนนครสวรรค แขวงวดั โสมนัส เขตปอ มปราบศตั รพู า ย กรุงเทพมหานคร โทร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานวี ทิ ยุโทรทศั นก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ซอยหวั หนิ ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตําบลหัวหนิ อาํ เภอหัวหิน จังหวดั ประจวบคีรีขันธ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ – ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอเรอ่ื งเว็บไซต) [email protected] (ตดิ ตอเรื่องทวั่ ไป) ๓. โรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชปู ถมั ภ อําเภอหัวหิน จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ ๗๗๑๑๐ โทร 032 522 347, 032 520 478 โทรสาร 032 520 478 Facebook : โรงเรยี นวังไกลกงั วล ในพระบรมราชปู ถัมภ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ชอ งทางการตดิ ตามขาวสาร Facebook : มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

คําชีแ้ จง 1 คําชแี้ จง รายวิชา ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย รหสั วชิ า ท12๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ๑. แนวคดิ หลกั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดสาระการเรียนรู จํานวน ๘ กลุมสาระการเรียนรู ครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนําความรดู านเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยการฝกทักษะใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๕ ประการ และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๘ ประการ ดงั นี้ สมรรถนะสําคัญของผเู รียน ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสอื่ สารเปน ความสามารถในการรับสารและส่ือสารมวี ัฒนธรรมในการใชภ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดอยางเปนระบบเพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพ่ือใชในการตดั สนิ ใจ เกยี่ วกับตนเอง สงั คมไดอยางเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญได อยางถูกตอง เหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ การเปลยี่ นแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสงั คม ๔) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการเขาใจและเคารพตนเอง สามารถนํา กระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเองการเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหา และความขัดแยงตา ง ๆ อยา งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลอื ก และใชเ ทคโนโลยี การแกป ญ หา อยางสรางสรรคถูกตองเหมาะสม มีคุณธรรมดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อ การพัฒนาตนเอง สังคมในดา นการเรียนรู การสอื่ สาร การทาํ งาน คุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ เพ่ือใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมอยางมีความสุข ใน ฐานะเปนพลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก ดงั นี้ ๑) รักชาติ ศาสน กษตั ริย ๒) ซือ่ สัตย สจุ ริต ๓) มวี ินัย ๔) ใฝเรียนรู ๕) อยูอ ยา งพอเพยี ง ๖) มุงม่นั ในการทํางาน ๗) รักความเปนไทย ๘) มจี ิตสาธารณะ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย เปนกลมุ สาระการเรยี นรูท่ีความสาํ คัญอยางยิง่ เนือ่ งจากภาษาไทยเปน เอกลักษณของความเปนชาติ เปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพ ซ่ึงเยาวชนคนไทยใช เปนเครื่องมือในการติดตอส่ือสาร เพื่อสรางความเขาใจ และความสัมพันธท่ีดีตอกัน และเปนเครื่องมือใน

2 คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) การแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงเรียนรูตาง ๆ เพื่อพัฒนาความรูใหทันตอความเปลี่ยนแปลงทาง สังคมความกาวหนา ทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตลอดจนการนําไปใชในการศกึ ษาตอในระดบั ท่สี งู ขึ้น และ ในการพัฒนาอาชีพ นอกจากน้ีภาษาไทยยังเปนส่ือแสดงถึงภูมิปญ ญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม เปนสมบตั ิ ของชาติซึ่งคนรนุ หลังควรอนรุ กั ษ จรรโลง และสบื สานตอ ไป แผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เปนสาระการเรียนรูซึ่งผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจ หลักภาษา การใชภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เปนการพัฒนาทักษะการเรียนรใู นศตวรรษ ที่ ๒๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความเปนไทยและอัตลักษณไทย และหลักการ “สุ จิ ปุ ลิ” เพ่ือ พัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต การจัดเรียนการสอนภาษาไทยจึงเปน การพัฒนาผูเรียนทุกคนตามองคความรู ไมจํากัดอยูแตในหองเรียนเทาน้ัน ผูเรียนสามารถเรียนรูดวยส่ือ การเรยี นรทู ีห่ ลากหลายไดอ ยางมคี วามสขุ หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย มีการบูรณาการดานคุณลักษณะ ในแผน การจัดการเรียนรูที่คํานึงถึงคุณลักษณะ ที่มุงเนนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูมีทักษะดานภาษาหลังการเรียนรู สอดคลองตามเปาหมายของหนวยการเรียนรู มีเจตคติท่ีดีตอสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย และมีจิต อาสา ครูผูสอนควรปลูกฝงคุณลักษณะอันพึงประสงคใหแกผูเรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเกิด คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคและเปน คนดีของสงั คม ๒. กระบวนการจดั การเรียนรู แนวคิดสําคัญของการจัดศึกษา ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปดโอกาสให ผูเรียน คิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ การประเมินการเรยี นรจู ึงมีความสําคญั และจําเปนอยางย่ิง ตอ การจดั กิจกรรมการเรียนรูในหองเรียน เพราะสามารถทาํ ใหผ ูสอนประเมินระดบั พฒั นาการเรยี นรขู องผเู รยี น การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนา ตนเองได และถือวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตอง สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ ใหความสําคัญ ของการบูรณาการความรูคุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความเหมาะสม ของ ระดับการศึกษา ไดระบุใหผ ทู ่ีเกี่ยวของดาํ เนินการ ดังน้ี ๑) สถานศกึ ษาและหนว ยงานทเ่ี ก่ยี วของ (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดย คาํ นึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมา ใชเพื่อปองกนั และแกไขปญ หา (๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติ ใหทําไดคิดเปนทํา เปนรักการอา น และเกดิ การใฝรูอยา งตอ เนอื่ ง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมท้งั ปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงามและ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคไวใ นทกุ วชิ า (๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และ อํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและ มีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยใหเปนสวนหนึ่ง

คําช้แี จง 3 ของกระบวนการเรียนรู ท้ังนี้ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียน การสอนและแหลง วทิ ยาการประเภทตาง ๆ (๖) จัดการเรียนรูใหเกิดข้ึนไดทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความ รวมมือกับพอแม ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพอ่ื รว มกนั พัฒนาผูเ รยี นตามศกั ยภาพ ๒) การจัดสภาพแวดลอมสงเสริมการเรียนรู (๑) จัดสภาพแวดลอม หองเรียน หรือภายนอกหองเรียน ใหเอื้อตอการเรียนรู สะอาด มีความเปนระเบียบ ตกแตงหองเรียนใหนาอยู มีมุมตาง ๆ ในหองเรียน มีท่ีเก็บวัสดุอุปกรณ และงายตอ การนํามาใช มีปายนิเทศใหความรู ภายนอกหองเรียนจัดบรรยากาศใหเปนธรรมชาตินาอยู รมร่ืนและเหมาะ กับกจิ กรรมการเรยี นรู ถูกสขุ ลักษณะและปลอดภยั (๒) จดั สภาพแวดลอม หรือหองใหผเู รยี นไดฝ กปฏิบัตกิ าร (๓) จดั ส่ือ อปุ กรณ ทเี่ กย่ี วกบั การเรยี นรูอ ยา งเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู หรือ ชองทางเสนอขาวสารตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนไดรับรู ขอมลู ขาวสารทท่ี ันสมยั ปจ จุบนั อยูเสมอ ๓) ครผู สู อน การจัดการเรียนรูตามแนวดังกลาว จําเปนตองเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนท้ัง ของผเู รยี นและผูสอน กลา วคอื ลดบทบาทของครูผูสอน จากการเปนผบู อกเลา บรรยาย สาธิต เปนการวางแผน จัดกิจกรรมใหนักเรียนเกิดการเรียนรู กิจกรรมตาง ๆ จะตองเนนที่บทบาทของผูเรียนต้ังแตเริ่ม คือ รวม วางแผนการเรียน การวดั ผล ประเมินผล และตองคํานึงวากิจกรรมการเรียนนน้ั เนน การพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา คนควา รวบรวมขอมูล ดวยวิธีการตาง ๆ จากแหลงเรียนรูหลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห การแกปญหา การมีปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกัน การสรางคําอธิบายเกี่ยวกับขอมูลท่ีสืบคนได เพ่ือ นําไปสูคําตอบของปญหาหรือคําถามตาง ๆ และสรางองคความรู ท้ังนี้กิจกรรมการเรียนรูเหลาน้ีตองพัฒนา ผเู รียนใหม พี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย ทง้ั ทางรา งกาย อารมณส งั คม และสตปิ ญ ญา หลักการจัดกระบวนการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษา มุงเนน ใหผ ูเ รียน ฝกทกั ษะทางภาษาตามมาตรฐานการเรียนรู และศกึ ษาคนควาดว ยตนเอง นอกจากน้ีครูผูสอนควรใช กระบวนการจัดการเรียนรูอยางหลากหลาย เนนผูเรียนเปนสําคัญ (Student Centered) และใหผูเรียนไดลง มือกระทํา ไดใชกระบวนการคิดเก่ียวกับสิ่งที่เขาไดกระทําลงไป (Active learning) โดยครูผูสอนจัดกิจกรรม การเรียนรูใหผูเรียนมีโอกาสลงมือกระทํามากกวาการฟงเพียงอยางเดียว โดยใหผูเรียนเรียนรูโดยการอาน การเขียน การโตตอบ การวิเคราะหปญหา อีกท้ังใหผูเรียนฝกกระบวนการคิดอยางหลากหลาย ไดแก การคิด วิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา นอกจากนั้นครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีใหผูเรียนไดเรียนรู อยางมีความหมาย โดยการรวมมือระหวางครูกับผูเรียน ผูเรียนกับผูเรียน ครูตองลดบทบาทในการสอนโดย เปนผูชี้แนะ กระตุนใหผูเรียนกระตือรือรนที่จะเรียนรู และปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ มากข้ึนและอยางหลากหลาย ดงั นี้ (๑) ควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนให นักเรียนลงมือปฏิบัติและอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตาง ๆ ของการสอน เชน การนําเขาสูบทเรียน การใช คําถาม ที่จะทําใหการเรยี นการสอนนา สนใจและมีชีวิตชีวา (๒) ครคู วรมีการวางแผนการใชคาํ ถามอยางมปี ระสิทธิภาพ เพอื่ จะนํานักเรยี นเขา สบู ทเรียน

4 คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 (ภาษาไทย ป.2) และนําสูขอสรุปไดโดยท่ีไมใชเวลานานเกินไป ครูควรเลือกใชคําถามที่มีความยากงายพอเหมาะกับ ความสามารถของนักเรยี น (๓) เม่ือนักเรียนถาม อยาบอกคําตอบทันที ควรใหคําแนะนําท่ีจะชวยใหนักเรียนหาคําตอบ ไดเ อง ครคู วรใหความสนใจตอ คาํ ถามของนกั เรียนทกุ ๆ คน แมว าคําถามน้ัน ๆ อาจจะไมเกี่ยวกับเรอื่ งท่ีกําลัง เรียนอยูก็ตาม ครูควรจะช้ีแจงใหทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสูเรื่องท่ีกําลังอภิปรายอยู สําหรับปญหาท่ีนักเรียนถามมานั้น ควรจะไดห ยบิ ยกมาอภปิ รายในภายหลัง (๔) การสํารวจตรวจสอบซา้ํ เปน ส่งิ จาํ เปนเพ่ือใหไดขอมูลท่นี าเชอื่ ถือ ดังนน้ั ในการจัด การเรียนรคู รูควรยา้ํ ใหนกั เรยี นไดสาํ รวจตรวจสอบซ้าํ เพือ่ นําไปสขู อสรปุ ท่ีถกู ตองและเชือ่ ถือได ๔) กระบวนการเรียนรกู ลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย (๑) การเรียนรูจากแหลงเรียนรู ไดแก การศึกษาคนควาดวยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานท่ี การเรียนรูจากหองสมุด แหลงเรียนรูจากภูมิปญญาทองถ่ิน ปราชญชาวบาน งานวิเคราะหจากการศึกษา ภาคสนาม พิเคราะหแหลงขอมูล การสอนแบบใหผูเรียนเรียนรูโดยอิสระจากศูนยการเรียนรูและการเรียนรู ตามความสนใจ (๒) การเรียนรูโดยผูเรียนลงมือปฏิบัติ ไดแก เกม การศึกษาสถานการณจําลอง กรณี ตัวอยาง บทบาทสมมตุ ิ โครงงาน การทดลอง ศิลปสรางสรรคการสอน เขียนบุคลาธิษฐาน คือ โวหารชนิดหนงึ่ ในโวหารภาพพจนที่มีลักษณะการสมมุติใหสิ่งท่ีไมใชมนุษยใหมีอากัปกิริยาทาทางความรูสึกเหมือนมนุษย การเรียนการสอนท่ีเนนกระบวนการกลุม ประกอบดวย การอภิปรายกลุมยอย การแกปญหากลุม สืบคน ความรู กลมุ สมั พนั ธ การเรียนรูแบบรวมมือ การอภปิ ราย การเรียนการสอนโดยใชห วั เรอ่ื ง (๓) การเรียนรูผานกระบวนการคิด ไดแก การแกสถานการณ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบยอด การพัฒนากระบวนการคิด การใชทักษะกระบวนการ การสอนการอานโดยใชวิธีการต้ัง คําถามผูเรียน การเรียนการสอนโดยใชแผนผังความคิด (Graphic Organizers) การเรียนการสอนดวย กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดเปรียบเทียบ การคิดสังเคราะห การคิดประยุกต การคิดสรา งสรรค การคดิ วิเคราะห การคดิ กลยุทธ การคดิ บรู ณาการ การคดิ มโนทัศน และการคดิ วพิ ากษ (๔) การเรียนรูผานสื่อเทคโนโลยี ไดแก โปรแกรมสําเร็จรูป ชุดการสอน ชุดการสอน รายบคุ คล ชุดการสอนสําหรบั การเรยี นเปนกลมุ ยอย ชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครู คอมพวิ เตอรชวย สอน และ การนําเสนอโดยวีดทิ ัศน ๓. สอ่ื การจดั การเรียนร/ู แหลง เรยี นรู สือ่ การจดั การเรยี นรู สื่อการจัดการเรียนรูเปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูใหนักเรียนไดรับ ความรู ทักษะกระบวนการไดงายในระยะเวลาส้ันและชวยใหเกิดความคิดรวบยอดอยางถูกตองและรวดเร็วส่ือ ที่ปรากฏในแผนการจดั การเรยี นรมู ีดงั นี้ ๑) ใบความรู ใบงาน แผนภาพนําเสนอขอ มลู ๒) คลปิ /วดี ิทัศน/ ภาพขา วสถานการณปจ จบุ ัน ๓) สถานการณสมมุติ ๔) ส่อื บคุ คล

คาํ ชีแ้ จง 5 แหลงเรียนรู แหลง เรียนรูเ ปน เครื่องมอื สรางคณุ ลกั ษณะการใฝเรยี นรูท ที่ กุ คนตอ งใฝรูต ลอดชีวติ ดังน้ี ๑) แหลงเรียนรูภายในโรงเรยี น ๒) แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน ไดแก ชุมชน ทองถิ่น พิพิธภัณฑ หนวยงานที่เก่ียวของ หองสมุด ประชาชน หอ งสมดุ แหง ชาติ หองสมุดเปนแหลงเรียนรูที่สําคัญและเปนหัวใจสําคัญของผูเรียนในการศึกษาคนควา โรงเรียนควรจัด หองสมุดกลาง หองสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในหองเรียน หองสมุดเคลื่อนที่ รถเคล่ือนที่ หองสมุดประชาชน ลว นเปนแหลง เรยี นรูจ ะทาํ ใหผ ูเรยี นไดเ รียนรูและปลูกฝง ลกั ษณะนสิ ยั ที่ดีในการสง เสริมนิสยั รักการอาน ๓) แหลงเรยี นรอู อนไลน - สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน - สาํ นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยตา ง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม ฯลฯ ๔. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู จดุ ประสงคสาํ คัญของการประเมินการเรียนรูคือ การชว ยใหผ ูเรยี นเกิดการเรียนรตู ามวัตถุประสงค ท่ี ผูสอนหรือหลักสูตรวางไว ปญหาท่ีพบในปจจุบันก็คือ ผูบริหาร ผูสอน ตลอดจนผูปกครองเปนจํานวนมาก ยังให ความสําคัญการเรียนรูแบบทองจําเพ่ือสอบ หรือการเรียนรูเพ่ือแขงขัน ซ่ึงถือเปนการเรียนรูแบบผิวเผิน มากกวา การประเมนิ การเรียนรรู ะหวางเรยี นการเรยี นรเู พอ่ื พัฒนาตนเองซ่งึ ผลลพั ธของการเรยี นรูจ ะยั่งยนื กวา (กุศลิน มสุ ิกลุ , ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,ิ์ เพญ็ จนั ทร และ วรรณทิพา รอดแรงคา, ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาสมรรถนะดานตาง ๆ ของผูเรียนนั้น จําเปนตองมีการประเมิน การเรียนรูอยางตอเนื่อง ตั้งแตเร่ิมตนระหวางและส้ินสุดกระบวนการเรียนรู โดยใชการประเมินในรูปแบบที่ หลากหลายสอดคลองตามวัตถุประสงคของการเรียนรู รูปแบบการประเมินการเรียนรูไดแก การประเมิน การเรียนรูระหวางเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูสรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพื่อ พัฒนาการเรียนรู และการประเมินตามสภาพจริงน้ัน ผูสอนจําเปนตองสะทอนการประเมิน ใหผูเรียนรับทราบ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผูสอนตองนําผลการประเมินมาพิจารณาเพื่อทบทวนและปรับแผนการจัด การเรียนรูเพื่อใหสามารถดําเนินการแกไข ชวยเหลือ หรือหาวิธีการตาง ๆ เพื่อชวยใหผูเรียนแตละคนเกิด การเรียนรูและพัฒนาตนเองไดตามแตละจุดประสงคการเรียนรูหรือเปาหมายของตัวช้ีวัดตาง ๆ (กุศลิน มสุ ิกุล, ๒๕๕๕ ) การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรขู องผูเรยี น การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพ่อื พัฒนาผเู รยี นและการตดั สนิ ผลการเรียน ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรูของผูเ รยี นใหป ระสบ ความสําเร็จน้ัน ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัด เพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวัดและ ประเมินการเรียนรูในทกุ ระดบั (กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๕๒)

6 คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) การวัดและประเมินผลการเรียนรูท่ีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู ใหความสําคัญของการประเมิน พฤตกิ รรมการปฏบิ ัตดิ งั น้ี ๑) วธิ ีการประเมิน (๑) การวัดและประเมินกอนเรียน เพื่อตรวจสอบความพรอม และความรูเดิมของผูเรียน (ผสมผสานในกจิ กรรมการเรยี นรูขั้นนํา) (๒) การวัดและประเมินระหวางเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนําเสนอผสมผสานในกิจกรรม การเรียนรูขั้นสอน) จุดมงุ หมายของการประเมนิ ระหวางเรยี นมีดงั นี้ (๒.๑) เพื่อคนหาและวินิจฉัยวาผูเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหา มีทักษะความชํานาญ รวมถึงมี เจตคติทางการเรียนรูอยางไรและในระดับใด เพื่อเปนแนวทางใหผูสอนสามารถวางแผนการจัด กจิ กรรมการเรียนรูไดอยา งเหมาะสม เพื่อพฒั นาการเรยี นรูข องผเู รยี นไดอ ยา งเต็มศักยภาพ (๒.๒) เพ่อื ใชเปนขอมูลปอ นกลับใหกับผูเรียนวามผี ลการเรยี นรูอยา งไร (๒.๓) เพ่ือใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียนรูและเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดาน การเรยี นรูของผูเรียนแตละคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบความสําเร็จตามจุดประสงครายแผน เปน การพัฒนาในจุดที่ผูเรียนอาจจะเขาใจคลาดเคลื่อนหรือปฏิบัติไมถูกตอง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และ เพื่อตัดสินผลการจัดการเรียนรู เปนการประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว ผลจากการประเมินประเภทน้ี ใชป ระกอบการตัดสนิ ผลการจดั การเรยี นการสอน หรอื ตดั สินใจวา ผเู รยี นคนใดควรจะไดร ับระดับคะแนนใด (๔) ประเมินรวบยอดเมื่อสิน้ สดุ หนวยการเรยี นรู ดาํ เนนิ การดงั นี้ การประเมินโดยครูผูสอน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผูเรียนวาบรรลุเปาหมายของหนวย การเรียนรูตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และ เจตคติหรือไม เชน การทําโครงงาน การนํา ความรูไปใชเ พื่อพฒั นาสังคมในรปู แบบตา ง ๆ การประเมินโดยผูเรียนแตละคน โดยการทําแบบบันทึกการเรียนรู (Learning log) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูของตนเอง เพ่ือเปดโอกาสไดสะทอนคิดส่ิงที่เรียนรูท้ังที่ทําไดดีและยังตอง พัฒนา (ตัวอยางแบบบันทึกการเรียนรู ดูภาคผนวก ค) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูยอยหลังจบ การเรียนรูแตละหนวยการเรียนรู และประเมินการเรียนรูรวมในชวงกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน โดย ครสู ามารถเลอื กใชชุดคําถามและจํานวนขอ ใหเ หมาะสมกบั บรบิ ทของผเู รียน ชว งเวลาและธรรมชาตขิ องแตละ วิชา ท้ังนี้ในครั้งแรกครูควรทํารวมกับนักเรียนเพ่ือแนะนําวิธีการเขียนแบบสะทอนคิด และควรอานสิ่งท่ี นักเรียนบันทึกพรอมใหขอมูลยอนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสรางสรรค รวมท้ังใชประโยชนจากขอมูลใน แบบบนั ทึกเพ่ือพฒั นาการสอนของตัวเองและชว ยเหลือนกั เรยี นเปน รายบุคคลตอไป ๒) ผูประเมิน ไดแก เพ่ือนประเมินเพื่อน ครูประเมินผูเรียน ผูเรียนประเมินตนเอง และผูปกครอง รวมประเมนิ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรดู านภาษา การวัดและประเมินผลการเรียนรูดานภาษา เปนงานท่ีตองการความเขาใจท่ีถูกตองเกี่ยวกับ พัฒนาการทางภาษา ดังนั้นครูผูสอนจะวัดผลการเรียนรูดานภาษาจําเปนตองเขาใจหลักการของการเรียนรู ภาษาเพ่ือการดาํ เนินการดังนี้

คาํ ชี้แจง 7 ๑) ทักษะทางภาษาทั้งการอาน การเขียน การฟง ดูและการพูดมีความสําคัญเทา ๆ กัน และ ทกั ษะเหลา นี้ครูผสู อนควรบรู ณาการในการจัดการเรียนการสอน ไมควรฝก ทักษะทลี ะอยา งแตค วรฝกทักษะไป พรอ ม ๆ กนั ซึ่งทกั ษะทางภาษาหนง่ึ จะสง ผลตอการพฒั นาทักษะทางภาษาอืน่ ๆ ดว ย ๒) ผูเรียนตองไดรับการพัฒนาความสามารถทางภาษาพรอมกับการพัฒนาความคิดเพราะส่ือ ภาษาเปนสื่อของความคิดผูที่มีทักษะความสามารถในการใชภาษา มีคลังคํามากจะชวยใหผูเรียนมี ความสามารถในการคดิ ๓) ผูเรียนตองเรียนรูการใชภาษาพูดและภาษาเขียนอยางถูกตองดวยการถูกตองดวยการใช ภาษาไมใชเรียนรูกฎเกณฑทางภาษาอยางเดียว การเรียนภาษาตองเรียนรูไวยากรณหรือหลกั ภาษา การสะกด คาํ การใชเ ครื่องหมายวรรคตอน และนาํ ความรูดงั กลาวไปฝกฝน ๔) ผูเรียนทุกคนจะไดรับการพัฒนาทักษาทางภาษาเทากันแตพัฒนาทักษะทางภาษาไมเทากัน และวธิ กี ารเรยี นรตู างกนั ๕) ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด การจัดกิจกรรมภูมิหลังของภาษาและ การใชภาษาถ่ินของผูเรียนและชวยใหผูเรียนพัฒนาภาษาไทยของตนและพัฒนาความรูสึกที่ดีเกี่ยวกับ ภาษาไทย ๖) ภาษาไทยเปนเครอ่ื งมือของการเรียนรู ทุกกลมุ สาระการเรยี นรตู องใชภ าษาไทยเปน เคร่ืองมอื การส่ือสาร ดงั นั้นครูผสู อนจะตองใชภาษาท่ีเปน แบบแผนเปนตวั อยางท่ดี ีแกผ เู รยี น ๕. คําแนะนาํ บทบาทครปู ลายทางในการจดั การเรยี นรู ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคูขนานกับครูตนทางในการกํากับดูแลชวยเหลือนักเรียนในทุก ขนั้ ตอนการสอน ดังน้ี ๑) ข้นั เตรยี มตวั กอนสอน (๑) ศึกษาทําความเขาใจคําชี้แจงและทําความเขาใจเชื่อมโยง ทั้งเปาหมาย กิจกรรมและ การวดั ผลและประเมนิ ผลระหวา งหนว ยการเรยี นรกู ับแผนการจดั การเรียนรรู ายช่วั โมง (๒) ศึกษาคนควาความรูเพิ่มเติม จากแหลงเรียนรู หนวยงาน องคกรที่ใหความรูท่ีเชื่อถือได รวมท้ังเทคนิคการจัดการเรยี นรูเพ่อื พัฒนาความสามารถของผูเรยี นอยา งรอบดาน (๓) ปรับ/ประยุกตหรือเพ่ิม เปาหมายทั้งเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะท่ีเปน จุดเนน และที่เปนปจจุบันตามบริบทของหองเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวน การเรียนรู ตามศักยภาพของผเู รยี น และตามสภาพจรงิ (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัพโหลดลวงหนาเพื่อทําความเขาใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และส่ือตาง ๆ ทคี่ รูใชป ระกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจดั กิจกรรมในขน้ั ตอนชวงการปฏิบัติ ทั้งดานวิธีการ สื่อท่ีใช และชวงเวลาของการทําแตละกิจกรรมเพ่ือนํามาวิเคราะหและหาแนวทางเตรียม นักเรียน/ชวยเหลือ สงเสริม/อํานวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของหองเรียนของตนใหสามารถเรียนรูได อยา งมีประสทิ ธิภาพและเต็มตามศักยภาพ (๕) เตรียมใบงาน (ที่คัดเลือกสําหรับมอบหมายใหนักเรียนไดทําตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมทัง้ การเตรียมอปุ กรณต ามระบุในแผนฯและ/หรอื ทป่ี รากฏในคลปิ (ในกรณมี ีการปรับเปลีย่ นเพ่ิมเตมิ ) (๖) ติดตามขอมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในชวงการปฏิบัติตามกําหนดการสอนที่มี รายละเอยี ดของสอื่ การสอน ใบงาน ใบความรู บนเว็บไซต www.dltv.ac.th

8 คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (ภาษาไทย ป.2) ๒) ข้ันการจดั การเรยี นรู (๑) สรางการมีสวนรวมของนักเรียนในการทํากิจกรรม เชน กระตุนใหนักเรียนคิด ตอบ คําถามของครูตนทาง ฟงเฉลยและชวยเสริม/อธิบาย/ในส่ิงท่ีนักเรียนยังไมเขาใจ ชมเชย/ใหกําลังใจหาก นักเรยี นทําไดด ี (๒) ใหค วามชวยเหลอื นกั เรยี นทต่ี ามไมท นั เชน อธบิ ายเพิม่ เติมเพ่ือใหนกั เรยี นสามารถเรยี นรู ตอไปอยา งมปี ระสิทธิภาพ (๓) กํากับดูแลใหมีวินัยในการเรียน เชน ไมเลนหรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคําสั่งในการทํา กิจกรรม ฯลฯ (๔) อาํ นวยความสะดวกในการเรียนรู เชน จัดเตรยี มส่ือการเรียนรู/อปุ กรณ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียน เชน คุณลักษณะผูเรียน สมรรถนะสําคัญของผูเรียน การจัดการเรียนรู/การปฏิบัติงาน ความรูในบทเรียน และบันทึกขอมูลตามแนวทางประเมินท่ีแนะนําไวใน แผนการจัดการเรียนรู เพ่ือนําขอมูลไปพัฒนานักเรียนและใหความชวยเหลือนักเรียนท้ังช้ัน/กลุม/รายบุคคล ตามกรณี ๓) ขน้ั การปฏบิ ตั ิ (๑) ทบทวนขั้นตอนการทํากิจกรรมตามท่ีครูตนทางแนะนําและตามขอแนะนําการปฏิบัติท่ี ระบใุ น PowerPoint ตรวจสอบความเขา ใจ และเตรียมนกั เรยี นกอนทาํ กิจกรรม (การแบงกลุม ฯลฯ) (๒) กํากบั ใหก ารทํากจิ กรรมเปนไปตามลําดับเวลาตามแนวทางทร่ี ะบุบน PowerPoint (๓) ใหความชวยเหลอื นกั เรียนในระหวางการทํากิจกรรม (๔) เตรียมพรอมนักเรียนสําหรับกิจกรรมในขั้นตอนสรุปการเรียน (ถามี) เชน การสรุปผล ปฏิบตั ิงานเพอ่ื เทยี บเคียงกับผลงานที่นักเรียนตน ทางจะนาํ เสนอ เปนตน ๔) ข้ันสรุป (๑) กํากบั นกั เรยี นใหมสี ว นรวมในการเฉลยใบงาน/สรุปผลการทาํ กิจกรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสําคัญท่ีมีการสรุปทายช่ัวโมง และงาน/ใบงานท่ีครูตนทางมอบหมายให ทําเปน การบาน/หรือใบงานทค่ี รูปลายทางไดเลือกมาใชกบั ช้ันเรียนของตน (๓) จัดใหนักเรียนไดทําแบบประเมินตามระบุในหัวขอ การวัดและประเมินผลการเรียนรู (เฉพาะหลังจบแตละหนว ยการเรียนรูแ ละครึ่ง/ปลายภาคเรยี น) ๕ ) การบนั ทกึ ผลหลงั สอน (๑) บันทึกการจัดการเรียนรูของตนเอง โดยใชข อ มูลจากแบบสงั เกตพฤติกรรมผูเรียนระหวาง เรยี น และแบบประเมินตนเอง บันทกึ การเรยี นรขู องนกั เรยี นเพื่อวิเคราะหเทคนิค หรือวธิ ีการใด ทีท่ ําใหผ เู รียน มสี วนรวม มคี วามรู มที กั ษะ และคุณลกั ษณะตามจดุ ประสงค (๒) บันทึกสาเหตุของความสําเร็จ อุปสรรค และ/หรือขอจํากัดที่เกิดขึ้น เชน เทคนิค หรือ วิธีการใด การบริหารจัดการช้ันเรียน การจัดบรรยากาศ สิ่งแวดลอมอยางไร ฯลฯ ที่ทําใหผูเรียนมีสวนรวม มีความรู มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค โดยใชคําถามท่ีใหไวใน “คําถามบันทึกผลหลังสอนสําหรับ ครูปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค) เปนแนวทางในการยอนคิด ไตรตรองส่ิงที่เกิดข้ึนและนําไปบันทึกผลหลังสอน ของชว่ั โมงน้นั ๆ (๓) วิเคราะหและสรุปผลจากขอมูลตามปญหา/ความสําเร็จที่เกิดขึ้น และเสนอแนวทาง การปรับปรุง เพ่ือนํามาพัฒนาการจัดการเรียนรู และชวยเหลือ/สงเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรูในครั้ง ตอ ไป รวมทั้งนาํ ไปใชเ ปน ขอ มลู เพื่อพัฒนาเปนงานวจิ ยั ในชน้ั เรยี นตอ ไป

คําอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน 9 รหสั วชิ า ท12101 คาํ อธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ชอื่ วชิ า ภาษาไทย กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย เวลา 200 ชวั่ โมง อานออกเสียงคํา คําคลองจอง ขอความและบทรอยกรองงาย ๆ ท่ีประกอบดวยคําพ้ืนฐานเพิ่ม จาก ป.๑ ไมนอยกวา ๘๐๐ คํา รวมทั้งคําท่ีใชเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่น อธิบายคําและขอความท่ีอาน ต้ังคําถามและตอบคําถามเก่ียวกับเรื่องที่อาน ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดจากเร่ืองที่อาน แสดงความ คิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณจากเร่ืองทีอ่ าน อานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ําเสมอ และนําเสนอเรื่องที่ อาน อานขอความเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําส่ังหรือขอแนะนํา มีมารยาทในการอาน คัดลายมือตัวบรรจง เต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ เขียนเร่ืองส้ัน ๆ ตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฟงคําแนะนํา คําส่ังท่ีซับซอนและปฏิบัติตาม เลาเร่ืองท่ีฟงและดูทั้งท่ีเปนความรู และความบันเทิง บอกสาระสําคัญของเร่ืองที่ฟงและดู ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู พูดแสดงความคิดเห็น และความรูสึกจากเร่อื งทฟ่ี งและดู พดู ส่อื สารไดช ดั เจนตรงตามวัตถปุ ระสงคม มี ารยาท ในการฟง การดู การพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมายของคํา เรียบเรียงคํา เปนประโยคตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคําคลองจอง เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษา ถ่ินไดเหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุขอคิดที่ไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมสําหรับเด็ก เพื่อนําไปใชใน ชีวิตประจําวัน รองบทรอยกรองเลน สําหรับเด็กในทองถ่นิ ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่ มคี ุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร สรุป วิเคราะหขอมูลจากเร่ืองและสื่อตาง ๆ ท่ีอานฟง และดูเพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจสามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจ นําไปใชในชีวิตประจําวันไดอ ยา งภาคภมู ิใจ เพื่อใหผูเรยี นเกิดความตระหนักในวัฒนธรรมการใชภาษาไทย รักความเปนไทย ภูมิใจ และชื่นชม ในวรรณคดีและวรรณกรรมซ่ึงเปนภูมิปญญาของคนไทย รักชาติ ศาสน กษัตริย มีวินัยใฝเรียนรู มุงม่ันใน การทํางาน ซ่ือสัตยสุจริต มีความสามัคคี อยูอยางพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีนิสัยรักการอาน การเขียน การแสวงหาความรูเพ่ือพัฒนาตนไดอยางเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธที่ดี มีเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาไทยอยู รวมกันในสังคมไดอ ยา งมีความสุข ตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ป.2/๑, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8 ท 2.๑ ป.2/๑, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ท 3.๑ ป.2/๑, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7 ท 4.๑ ป.2/๑, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5 ท 5.๑ ป.2/๑, ป.2/2, ป.2/3 รวม 27 ตวั ชว้ี ัด

10 คมู ือครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชีว้ ัด รหสั วิชา ท12101 ช่อื วชิ า ภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 95 ชัว่ โมง สาระที่ ๑ การอา น ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาใน มาตรฐาน ท ๑.๑ การดาํ เนนิ ชีวติ และมีนสิ ัยรักการอา น ตัวชวี้ ัด อา นออกเสียงคําคลองจอง ขอ ความ และบทรอ ยกรองงา ย ๆ ไดถกู ตอ ง ป.๒/๑ ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรอ่ื งทอี่ าน ป.๒/๓ ระบใุ จความสาํ คัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อาน ป.๒/๔ แสดงความคดิ เห็นและคาดคะเนเหตุการณจากเรอื่ งทอ่ี า น ป.๒/๕ อา นหนังสือตามความสนใจอยา งสมํ่าเสมอและนําเสนอเร่ืองทีอ่ าน ป.๒/๖ อานขอเขยี นเชิงอธิบาย และปฏิบตั ติ ามคําสงั่ หรอื ขอ แนะนาํ ป.๒/๗ มมี ารยาทในการอาน ป.๒/๘ สาระที่ ๒ การเขยี น ใชกระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเร่ืองราวใน มาตรฐาน ท ๒.๑ รูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมี ประสทิ ธิภาพ ตัวชี้วัด ป.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ป.๒/๓ เขียนเรือ่ งส้ัน ๆ ตามจนิ ตนาการ ป.๒/๔ มมี ารยาทในการเขียน สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และ ความรูสึกในโอกาสตา ง ๆ อยางมีวิจารณญาณและสรา งสรรค ตวั ชี้วัด ป.๒/๑ ฟงคาํ แนะนาํ คาํ สัง่ ท่ซี ับซอนและปฏบิ ตั ิตาม ป.๒/๓ บอกสาระสาํ คญั ของเรอื่ งทฟ่ี ง และดู ป.๒/๔ ตัง้ คําถามและตอบคาํ ถามเก่ียวกบั เร่ืองที่ฟงและดู ป.๒/๕ พดู แสดงความคดิ เหน็ และความรูส กึ จากเรือ่ งทฟ่ี งและดู ป.๒/๖ พดู สอ่ื สารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค ป.๒/๗ มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด

มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวช้วี ัด 11 สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปน สมบัติของชาติ ตวั ชี้วัด ป.๒/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย ป.๒/๒ เขียนสะกดคาํ และบอกความหมายของคาํ ป.๒/๓ เรียบเรยี งคาํ เปน ประโยคไดตรงตามเจตนาของการสือ่ สาร ป.๒/๔ บอกลกั ษณะคาํ คลอ งจอง ป.๒/๕ เลอื กใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเหมาะสมกบั กาลเทศะ สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา งเหน็ คณุ คา และนํามาประยุกตใชใ นชีวิตจรงิ ตวั ชวี้ ัด ป.๒/๑ ระบุขอคดิ ที่ไดจากการอา นหรอื การฟง วรรณกรรมสําหรบั เดก็ เพือ่ นาํ ไปใชใน ชวี ิตประจาํ วนั ป.๒/๒ รองบทรองเลน สาํ หรับเดก็ ในทองถิ่น ป.๒/๓ ทองบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอ ยกรองทมี่ ีคณุ คา ตามความสนใจ

12 คมู อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 (ภาษาไทย ป.2) รหสั วชิ า ท12101 โครงสรางรายวิชา กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 รวมเวลา 100 ชั่วโมง ชอื่ วชิ า ภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี 1 หนว ย ชอ่ื หนวย มาตรฐาน สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้าํ หนกั ที่ การเรียนรู การเรียนรู/ตัวช้ีวดั (ช่ัวโมง) คะแนน 1 ทบทวนชวน ท 1.1 ป.2/8 เขียนพยัญชนะไทย 44 ตวั 9 3 ทาํ ท 3.1 ป.2/4 สระเสยี งสัน้ และเสยี งยาว อักษร ชว่ั โมง ท 4.1 ป.2/1 สามหมู การผนั วรรณยกุ ต ท 4.1 ป.2/2 การอา นเรื่องและตอบ คําถามจากเรอ่ื ง อักษรสามหมู การผันวรรณยกุ ต 2. เรยี นรูคาํ ท 1.1 ป.2/3 การอาน เขยี น แจกลกู คาํ 12 4 นําไปใช ท 4.1 ป.2/1 ที่ ประสมสระเอยี ะ สระเอยี ช่ัวโมง ท 4.1 ป.2/2 อา นเขยี นและสะกดคาํ แม ก กา แมกง แมกม แมกน ท้งั ทต่ี รง มาตราและไมต รงมาตรา การตง้ั คาํ ถามและตอบคาํ ถามจากเร่ือง ท่อี า น 3 เขาใจสอื่ สาร ท 1.1 ป.2/1 การอาน เขยี น แจกลกู 12 4 ท 1.1 ป.2/4 สะกดคําทป่ี ระสม สระเออื ะ ชวั่ โมง ท 4.1 ป.2/1 สระเออื การอาน เขียน สะกดคํา ท 4.1 ป.2/2 ท่มี ตี ัวสะกด แมก ด แมเ กอว แม ท 4.1 ป.2/3 เกย แมก ก แมก บ ทัง้ ท่ีตรงและ ไมตรงมาตรา และการอา นเปน คํา คาํ ที่มี ร ล เปนพยญั ชนะควบ กลา้ํ ท้งั ควบแทแ ละควบไมแ ท 4 อานเขยี นสนุก ท 1.1 ป.2/1 การอาน เขยี น แจกลกู 9 4 ท 1.1 ป.2/2 สะกดคาํ ท่ปี ระสมสระอือ ชั่วโมง ท 1.1 ป.2/3 สระออ อา น เขยี น สะกดคําทม่ี ี ท 3.1 ป.2/5 ตวั สะกด แมกด แมเ กอว ทง้ั ที่ ท 4.1 ป.2/1 ตรงมาตราและไมต รงมาตรา ท 4.1 ป.2/2

โครงสรา งรายวิชา 13 หนวย ช่อื หนวย มาตรฐาน สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้ําหนกั ท่ี การเรยี นรู การเรียนรู/ตวั ชีว้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน ท 5.1 ป.2/2 อานและเขียนสะกดคาํ พดู แสดง ความคดิ เห็นเกีย่ วกบั เรือ่ งที่ดู 5 รจู ักอาขยาน ท 1.1 ป.2/1 การอา นออกเสียงรอ ย 10 4 ท 1.1 ป.2/3 กรอง ทอ งจําบทอาขยานและ ชัว่ โมง ท 2.1 ป.2/1 บอกขอคดิ ทไี่ ดจ ากบทอาขยาน ท 4.1 ป.2/1 อาน เขยี น แจกลกู สะกดคาํ ท่ี ท 4.1 ป.2/2 ประสมสระอาํ สระใอ ไมม วน ท 5.1 ป.2/1 สระไอ ไมม ลาย การอาน เขยี น ท 5.1 ป.2/3 สะกดคําอกั ษรนํา ห นํา อ นํา ย และการคดั ลายมอื 6 สอื่ ความตาม ท 1.1 ป.2/1 การอา น เขยี น สะกดคาํ ท่ี 8 3 สญั ลักษณ ท 1.1 ป.2/3 ประสม สระโอะ สระโอ ช่วั โมง ท 1.1 ป.2/7 สระเอาะ อักษรสูง อกั ษรตาํ่ ท 4.1 ป.2/1 การอานเคร่ืองหมายจราจร ท 4.1 ป.2/2 สญั ลักษณทใี่ ชในชวี ิตประจําวัน และบทรอยกรองวิชาความรู 7 วรรคตอน ท 1.1 ป.2/1 การอา นคาํ ที่มีตัวการันต 9 3 สะทอ นคดิ ท 1.1 ป.2/4 การอา นคาํ ทใี่ ชไ มย มก คาํ อทุ าน ช่วั โมง ท 2.1 ป.2/1 บอกอาการและคําอุทานเสรมิ บท ท 4.1 ป.2/1 เคร่อื งหมาย วรรคตอน หลกั การ ท 4.1 ป.2/2 คัดลายมอื ลักษณะและการอาน ออกเสยี งบทดอกสรอ ย 8 คาํ คลอ งจอง ท 4.1 ป.2/1 การอา น เขยี น คาํ ท่ี 9 4 รอยกรองไทย ท 4.1 ป.2/2 ประสม สระเออะ สระเออ ชั่วโมง ท 4.1 ป.2/4 สระอัวะ สระอัว การอา น เขยี น คาํ คลอ งจอง 2 พยางค 3 พยางค และ 4 พยางค และคาํ คลอ งจองในบทรอยกรอง

14 คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) หนวย ชอื่ หนว ย มาตรฐาน สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้ําหนกั ท่ี การเรียนรู การเรยี นรู/ตัวชีว้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน 9 ภาษาไทย ท 1.1 ป.2/1 ทบทวนการอา นเขียนคํา 8 3 ใสใจจาํ ท 1.1 ป.2/3 อกั ษรสามหมู สระเสยี งส้ันและ ชว่ั โมง ท 1.1 ป.2/4 สระเสียงยาว คําท่ีสะกดดว ย ท 1.1 ป.2/5 มาตรา แมกง แมกม แมก น แม ท 4.1 ป.2/1 เกย แมก ก แมก บ อา นและเขียน ท 4.1 ป.2/2 คําท่ีประสมสระเอียะ สระเอยี ท 4.1 ป.2/3 สระเอือ คาํ ควบกลาํ้ และ ท 5.1 ป.2/1 การจบั ใจความสําคญั ของเร่ือง 10 รรู ักษ ท 1.1 ป.2/1 ทบทวนอักษรสามหมู เพ่อื 9 3 ภาษาไทย ท 1.1 ป.2/7 การผนั วรรณยกุ ต การอา นและ ชั่วโมง ท 4.1 ป.2/1 เขยี นอักษรนาํ ห นําและ อ นํา ท 4.1 ป.2/2 คาํ ควบกล้าํ ร ล ว ทั้งควบแท ท 4.1 ป.2/4 และควบไมแท การอานออกเสยี ง ตวั การันต คาํ คลองจอง สัญลักษณแ ละเครื่องหมายจราจร รวมตลอดภาคเรียน 95 35

หนว ยการเรยี นรูท ี่ 1 ทบทวนชวนทํา

16 คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๑ ชื่อหนว ยการเรียนรู ทบทวนชวนทาํ รหสั วิชา ท12101 รายวชิ าภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๙ ชัว่ โมง ___________________________________________________________________________ ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชวี้ ดั สาระที่ 1 การอา น มาตรฐานการเรียนรู ท ๑.๑ ใชกระบวนการสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชในการตัดสินใจ แกป ญหาในการดาํ เนนิ ชวี ิตและมนี ิสยั รกั การอาน ตวั ชี้วัด ป.๒/๘ มมี ารยาทในการอา น สาระที่ 3 การฟง การดู การพดู มาตรฐานการเรยี นรู ท 3.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู ความคดิ และความรสู กึ ในโอกาสตา ง ๆ อยา งมวี ิจารณญาณ ตวั ช้ีวัด ป.2/4 ตั้งคาํ ถามและตอบคําถามเก่ียวกับเร่ืองทีฟ่ งและดู สาระท่ี 4 หลกั การใชภาษา มาตรฐานการเรียนรู ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว เปน สมบัตขิ องชาติ ตวั ชีว้ ัด ป.๒/๑ บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยุกตแ ละเลขไทย ป.2/2 เขียนสะกดคาํ และบอกความหมายของคํา ๒. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว สระในภาษาไทย วรรณยุกตและตัวเลขไทย การอานแจกลูกสะกดคํา การอาน เรื่องและตอบคําถามจากเร่ือง อกั ษรสามหมู การผันวรรณยุกต ๓. สาระการเรยี นรู ความรู ความเขาใจ ๑. บอกพยัญชนะไทย ๔๔ ตัวได ๒. บอกสระในภาษาไทยได ๓. บอกวรรณยุกตในภาษาไทยได ๔. บอกตัวเลขไทยได ๕. บอกความหมายของคําศัพทจากเรือ่ งทอ่ี า นได ๖. บอกหลักของการแจกลกู สะกดคาํ ได ๗. จําแนกอกั ษรสงู อกั ษรกลาง อกั ษรต่าํ ได ๘. บอกหลกั ของการผันวรรณยกุ ตอ ักษรกลางได ๙. บอกหลักของการผันวรรณยกุ ตอ กั ษรสงู ได ๑๐.บอกหลักของการผนั วรรณยกุ ตอ กั ษรตา่ํ ได

หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 เรอ่ื ง ทบทวนชวนทํา 17 ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. ฝก อานและเขียนพยัญชนะไทย ๔๔ ตวั ได ๒. ฝกอานและเขยี นสระในภาษาไทยได ๓. เขียนวรรณยุกตในภาษาไทยได ๔. เขยี นตวั เลขไทยได ๕. อา นแจกลูกสะกดคําไดถ กู ตอง ๖. เขยี นแจกลกู สะกดคาํ ไดถ กู ตอง ๗. อา นเร่ืองสวัสดีเพื่อนใหมและตอบคําถามจากเรือ่ งท่อี านได ๘. มารยาททดี่ ใี นการฟง พูด อา น เขยี น ๙. อา นและเขียนแจกลูกสะกดคาํ ไดถ ูกตอง ๑๐.อา นอกั ษรกลาง อักษรสูง อกั ษรตํ่าไดถกู ตอ ง ๑๑.บอกและเขยี นอกั ษรกลาง อกั ษรสงู อักษรตา่ํ ไดถ กู ตอ ง ๑๒.ผันวรรณยกุ ตอกั ษรกลางไดถูกตอง ๑๓.ผนั วรรณยุกตอ ักษรสูงไดถูกตอ ง ๑๔.ผันวรรณยกุ ตอ กั ษรตาํ่ ไดถ ูกตอ ง คณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา นยิ ม ๑. เห็นความสําคญั ของการอานและเขียนพยญั ชนะและสระในภาษาไทย ๒. เห็นความสําคญั ของการอานและเขียนวรรณยกุ ตและตวั เลขไทย ๓. มีมารยาทในการอาน ๔. ตระหนักถึงการอา นและเขยี นคาํ อกั ษรสามหมูใหถ กู ตอ ง ๕. เห็นคุณคา ของการผนั วรรณยกุ ตเ พือ่ การออกเสยี งและเขยี นคาํ ใหถ กู ตอง ๔. สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๕. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ๑. มวี ินยั ๒. ใฝเ รยี นรู ๓. มุงม่ันในการทาํ งาน ๔. รกั ความเปน ไทย ๖. การประเมนิ ผลรวบยอด ๑. ใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง ทบทวนพยัญชนะไทย ๔๔ ตัว ๒. ใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง ทบทวนสระและตวั เลขไทย ๓. ใบงานท่ี ๓ เรอื่ ง แยกเสียงสระเสียงสั้นเสยี งยาว ๔. เขยี นคําตามรูปวรรณยุกตลงในสมุดงาน

18 คมู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 (ภาษาไทย ป.2) ๕. เขียนตวั เลขลงในสมุดงาน ๖. ใบงานที่ ๔ เรอ่ื ง การแจกลูกสะกดคํา ๗. ใบงานท่ี ๕ เรอ่ื ง เขียนสะกดคํา ๘. ใบงานที่ ๖ เรอื่ ง อกั ษรกลาง ๙. ใบงานท่ี ๗ เรอ่ื ง อกั ษรสูง ๑๐. ใบงานที่ ๘ เรอ่ื ง อักษรตํา่ ๑๑. แผนผังความคดิ อกั ษรสูง อกั ษรกลาง อกั ษรตา่ํ ๑๒. ใบงานท่ี ๙ เรอ่ื ง เตมิ คําใหเ หมาะสม ๑๓. ปริศนาคาํ ทาย ๑๔. ใบงานที่ ๑๐ เร่อื ง ผันวรรณยกุ ตอกั ษรกลาง ๑๕. กระดาษรปู มือ ๑๖. แบบฝก การผันวรรณยุกตอักษรสูง ๑๗. ใบงานท่ี ๑๑ เร่อื ง การผนั วรรณยกุ ตอกั ษรตํา่ เกณฑก ารประเมนิ ผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรบั ปรุง) 1. สระ เติมพยญั ชนะไทย เตมิ พยัญชนะไทย เติมพยัญชนะไทย เตมิ พยญั ชนะไทย ภาษาไทย ถูกตอง ๑๔ - ๑๖ ตวั ถูกตอง ๑๑ - ๑๓ ตัว ถูกตอ ง ๘ - ๑๐ ตวั ถูกตอ งนอยกวา ๘ คาํ 2. ทบทวนสระ เตมิ สระและตวั เลข เติมสระและตวั เลข เติมสระและตวั เลข เตมิ สระและตวั เลข และตวั เลขไทย ไทยถูกตอ ง ไทยถกู ตอง ไทยถกู ตอ ง ไทยถกู ตอ งนอ ยกวา 9 - 10 ขอ ๗ - ๘ ขอ ๕ - ๖ ขอ ๕ ขอ 3. แยกเสียงสระ แยกสระเสยี งสนั้ แยกสระเสียงสน้ั แยกสระเสียงสน้ั แยกสระเสยี งสน้ั เสียงส้นั เสยี ง สระเสียงยาวถกู ตอง สระเสียงยาวถูกตอ ง สระเสียงยาวถูกตอ ง สระเสียงยาวถกู ตอง ยาว ๑๗ - ๒๐ ขอ ๑๓ - ๑๖ ขอ ๙ - ๑๒ ขอ นอยกวา ๙ ขอ 4. เขียนคาํ ตาม เขยี นคําตามรูป เขยี นคาํ ตามรูป เขยี นคาํ ตามรปู เขียนคาํ ตามรูป รูปวรรณยุกต วรรณยกุ ตถ ูกตอ ง วรรณยุกตถูกตอ ง วรรณยกุ ตถูกตอง ๓ วรรณยกุ ตนอ ยกวา ๕ รปู ๔ รูป รูป ๓ รูป 5. เขยี นตวั เลข เขยี นตัวเลขถกู ตอ ง เขยี นตัวเลขถูกตอ ง เขยี นตัวเลขถกู ตอง เขยี นตวั เลขนอ ยกวา ๙ - ๑๐ ตัว ๗ - ๘ ตวั ๕ - ๖ ตวั ๕ ตวั 6. แจกลูกสะกด เขียนคําแจกลกู เขียนคําแจกลกู เขยี นคําแจกลกู เขียนคาํ แจกลกู คาํ สะกดคาํ ถูกตอง สะกดคําถูกตอง สะกดคาํ ถูกตอ ง สะกดคํานอ ยกวา ๙ - ๑๐ ขอ 7 - 8 คาํ 5 - 6 คํา ๕ คาํ 7. เขียนสะกด เขยี นสะกดคําถกู ตอง เขียนสะกดคาํ ถกู ตอ ง เขยี นสะกดคาํ ถกู ตอ ง เขียนสะกดคาํ ถูกตอ ง คาํ 9 - 10 คาํ 7 - 8 คํา 5 - 6 คํา นอ ยกวา ๕ คํา

หนวยการเรียนรูท่ี 1 เร่ือง ทบทวนชวนทาํ 19 ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรบั ปรงุ ) 8. อักษรกลาง เขียนคําทม่ี พี ยญั ชนะ เขยี นคาํ ท่มี พี ยญั ชนะ เขียนคาํ ทม่ี พี ยญั ชนะ เขยี นคาํ ทม่ี พี ยญั ชนะ ตน เปน อกั ษรกลาง ตน เปนอักษรกลาง ตนเปน อักษรกลาง ตนเปนอักษรกลาง ถกู ตอ ง ๘ - ๙ ขอ ถกู ตอ ง ๖ - ๗ ขอ ถกู ตอง ๔ - ๕ ขอ ถกู ตองนอ ยกวา ๔ ขอ 9. อกั ษรสูง เขยี นคาํ อักษรสงู ท่ีมี เขียนคําอักษรสูงท่ีมี เขียนคําอักษรสูงทมี่ ี เขียนคําอักษรสงู ที่มี ความหมายตรงกบั ความหมายตรงกับ ความหมายตรงกับ ความหมายตรงกับ ภาพถกู ตอ ง ภาพถูกตอ ง ภาพถูกตอง ภาพถูกตองนอยกวา ๑๐ - ๑๑ ขอ ๘ - ๙ ขอ ๖ - ๗ ขอ ๖ ขอ 10. อกั ษรตํ่า ทําสญั ลกั ษณร อบ ทําสัญลกั ษณร อบ ทําสัญลกั ษณรอบ ทาํ สญั ลกั ษณรอบ พยญั ชนะที่เปน พยญั ชนะที่เปน พยญั ชนะท่ีเปน พยญั ชนะที่เปน อกั ษรตา่ํ เดย่ี ว และ อกั ษรต่ําเด่ียว และ อกั ษรตํา่ เดี่ยว และ อกั ษรตา่ํ เด่ยี ว และ อักษรตํา่ คูถกู ตอง อกั ษรตาํ่ คถู กู ตอ ง อักษรตา่ํ คูถ ูกตอ ง อักษรต่าํ คูถูกตอง ๒๒ - ๒๔ ตวั ๑๘ - ๒๑ ตัว ๑๔ - ๑๗ ตัว นอยกวา ๑๔ ตัว 11. แผนภาพ จาํ แนกอกั ษรสามหมู จาํ แนกอักษรสามหมู จําแนกอักษรสามหมู จาํ แนกอกั ษรสามหมู ความคิด เรอื่ ง ไดถ กู ตองครบถว น ถูกตอ ง แตไ ม ถกู ตอ งบางสว น ไมถ ูกตอ ง อักษรสามหมู ครบถวน 12. เติมคาํ เตมิ คําไดสมั พันธก ับ เตมิ คาํ ไดสมั พนั ธกับ เติมคาํ ไดสมั พนั ธกบั เติมคาํ ไดสมั พันธกับ อักษรสามหมู ประโยคถกู ตอ ง ประโยคถูกตอง ประโยคถกู ตอ ง 5 - ประโยคถกู ตอง 9 - 10 คาํ 7 - 8 คาํ 6 คาํ นอยกวา ๕ คาํ 13. ผนั ผันวรรณยกุ ตอ ักษร ผันวรรณยกุ ตอ ักษร ผนั วรรณยุกตอ ักษร ผันวรรณยกุ ตอ กั ษร วรรณยุกตอกั ษร กลางถกู ตอ ง กลางถูกตอง กลางถกู ตอ ง กลางถูกตอ งนอยกวา กลาง 9 - 10 ขอ 7 - 8 คาํ 5 - 6 คํา ๕ คาํ 14. การผนั เขยี นรปู วรรณยุกต เขียนรปู วรรณยกุ ต เขียนรปู วรรณยกุ ต เขียนรูปวรรณยุกต วรรณยกุ ตอ กั ษร และเสยี งวรรณยกุ ต และเสยี งวรรณยกุ ต และเสยี งวรรณยกุ ต และเสยี งวรรณยกุ ต สงู ถกู ตอง ๒๖ - ๓๐ คาํ ถูกตอง ๒๑ - ๒๕ คาํ ถูกตอ ง ๑๖ - ๒๐ คาํ ถกู ตองนอยกวา ๑๕ คาํ 15. ผัน ผนั วรรณยุกตอักษร ผนั วรรณยกุ ตอักษร ผนั วรรณยกุ ตอักษร ผนั วรรณยกุ ตอ กั ษร วรรณยุกตอกั ษร ตา่ํ จากคําท่ีกําหนด ต่าํ จากคาํ ทกี่ ําหนด ตํา่ จากคําท่ีกําหนด ต่ําจากคําที่กาํ หนด ตา่ํ ถกู ตอ ง ๒๖ - ๓๐ คํา ถกู ตอง ๒๑ - ๒๕ คํา ถูกตอง ๑๕ - ๒๐ คาํ ถูกตอง นอยกวา ๑๕ คาํ เกณฑก ารตดั สนิ คะแนน 56 - 60 หมายถงึ ดมี าก คะแนน 31 - 45 หมายถงึ ดี คะแนน 16 - 30 หมายถงึ พอใช คะแนน 1 - 15 หมายถึง ปรบั ปรงุ เกณฑก ารผาน การประเมนิ ระดับ พอใช ข้ึนไป

20 คูมือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ตแ ละตัวเลขไทย (1) หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๑ เรอ่ื ง ทบทวนชวนทํา เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชว้ี ัด มาตรฐานการเรียนรู ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของ ภาษา และพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว เปน สมบัตขิ องชาติ ตวั ชี้วัด ป.๒/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกตแ ละเลขไทย ๒. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด อักษรไทย เปนอักษรที่ใชเขียนภาษาไทยและภาษาของกลุมชาติพันธุตาง ๆ ในประเทศไทย มี พยัญชนะ 44 รปู ตง้ั แต ก - ฮ สระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป ๒๑ เสียง ไดแ ก สระเด่ียว ๑๘ เสียง สระประสม ๓ เสยี ง เปน ๒๑ เสียง ๓. จุดประสงคก ารเรียนรู ๓.๑ ดานความรู ความเขา ใจ (K) ๑) บอกพยัญชนะไทย ๔๔ ตวั ได ๒) บอกสระในภาษาไทยได ๓.๒ ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑) ฝกอานและเขียนพยญั ชนะไทย ๔๔ ตัวได ๒) ฝกอานและเขยี นสระในภาษาไทยได ๓.๓ ดานคุณลกั ษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) - เห็นความสําคัญของการอา นและเขยี นพยญั ชนะและสระในภาษาไทย ๔. สาระการเรียนรู ๔.๑ พยัญชนะไทย ๔๔ ตวั ๔.๒ สระในภาษาไทย ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น ๕.๑ ความสามารถในการสอื่ สาร ๕.๒ ความสามารถในการคดิ ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๖.๑ ใฝเรียนรู ๖.๒ มงุ มัน่ ในการทํางาน ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู

หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 เร่อื ง ทบทวนชวนทํา การจดั กิจกรรมการเรยี นร หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๑ เร่อื ง ทบท รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท12101 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๑ เ ลําดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา ท่ี จดุ ประสงคก ารเรียนรู การเรยี นรู ที่ใช กิจกรรมค ๑. 1. บอกพยญั ชนะไทย ข้นั นาํ ๕ ๑. ครแู จกบตั รตวั พย ๔๔ ตัวได นาที ๔๔ ตวั ใหก ับนกั เรยี น (นกั เรียนอาจจะไดคน ๒ แผน ) และซกั ถาม ตอไปนี้ - สง่ิ ทน่ี กั เรียนถอื อย อะไร - พยัญชนะไทยมีทงั้ ห อะไรบา ง ๒. ครใู หนกั เรยี นนําบ พยัญชนะไทยท้ัง ๔๔ บนกระดานทีละคนใ ตามลาํ ดบั โดยใหน ัก ชว ยกันตรวจสอบคว โดยครเู ปนผูสงั เกต

21 รู ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๒ ทวนชวนทาํ จํานวน ๑๐ ชว่ั โมง เร่อื ง พยญั ชนะ สระ วรรณยุกตและตัวเลขไทย (1) จํานวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรียนรู ส่อื การเรียนรู การประเมิน การเรียนรู ครู กิจกรรมนกั เรยี น ๑. บัตรตวั พยัญชนะไทย ๑. การตอบ ยญั ชนะไทย ๑. นกั เรยี นตอบคําถาม ๔๔ ตัว คําถาม นทกุ คน ตวั อยา งคาํ ตอบ นละ ๑ หรือ มในประเดน็ ยเู รยี กวา - พยัญชนะ หมดก่ีตัว - ๔๔ ตวั ก - ฮ บัตรตวั ๒. นักเรยี นนําบัตรตัว ๔ ตวั มาตดิ พยัญชนะไทยทั้ง ๔๔ ตัว มา ใหถูกตอง ตดิ บนกระดานทลี ะคน กเรียน วามถกู ตอง

22 ค ลําดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ขัน้ ตอนการจดั เวลา ที่ จุดประสงคก ารเรยี นรู การเรยี นรู ท่ีใช กิจกรรมค ๒. 2. บอกชอ่ื สระใน ข้นั สอน ๒๐ ๑. ครใู หน กั เรยี นแนะ ภาษาไทยได นาที เปน รายบคุ คล โดยเร พยญั ชนะจาก ก – ฮ ๒. ครูติดบตั รรปู สระ สระในภาษาไทยบนก และซักถามนกั เรยี น - สง่ิ ที่ครตู ิดบนกระด อะไร ๓. ครใู หนกั เรยี นจับค ช่อื สระ โดยชแ้ี นะวธิ รูปสระวา ควรมีชอื่ วา สอดคลองกนั 3. อานชือ่ สระใน ๔. ครูใหน กั เรยี นดรู ูป ภาษาไทยได อานชอ่ื สระใหถูกตอ ทดสอบนักเรียนโดยค สระแลวใหน ักเรยี นด บอกช่อื สระใหถกู ตอ - สระในภาษาไทย ม รปู กเ่ี สยี ง อะไรบาง

คูมือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) แนวการจดั การเรยี นรู ส่อื การเรียนรู การประเมนิ ครู กจิ กรรมนกั เรยี น การเรียนรู ะนาํ ตนเอง ๑. นกั เรยี นแนะนาํ ตนเองเปน ๒. PowerPoint ๒. การตอบ คําถาม รยี งลาํ ดับ รายบคุ คล พยญั ชนะไทย ฮ ๔๔ ตวั ะและบัตรช่อื ๒. นักเรียนสังเกตรปู สระ และ ๓. บัตรรปู สระ กระดาน บัตรชื่อสระในภาษาไทยท่ีครู บตั รชื่อสระ ตดิ บนกระดาน ดานเรียกวา - รปู สระ ครู ปู สระกบั ๓. นกั เรียนชว ยกันจบั ครู ปู ๓. การอา น ธกี ารสังเกต สระกับช่ือสระ ออกเสียง าอยางไรให ปสระและ ๔. นกั เรยี นดรู ูปสระและอา น อง แลว ชอ่ื สระ ครูปด ช่อื ดูรปู สระแลว อง มีทั้งหมดก่ี - ๒๑ รปู 32 เสียง อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ

หนวยการเรียนรทู ่ี 1 เรื่อง ทบทวนชวนทํา กจิ กรรมค ลําดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา ที่ จุดประสงคก ารเรียนรู การเรียนรู ทีใ่ ช 3. 4. เขยี นพยัญชนะและ ขัน้ ปฏบิ ตั ิ ๕. ครอู ธิบายเร่อื งสร สระในภาษาไทยได ภาษาไทยแบง ออกเป 5. เห็นความสาํ คัญของ สระเดีย่ ว สระประสม การอา นและเขยี น สระเสยี งส้ัน สระเสยี พยัญชนะและสระใน ภาษาไทย ๒๐ ๑. ครนู กั เรยี นทาํ ใบง นาที ทบทวนพยญั ชนะไท ใบงานที่ ๒ ทบทวนส ตัวเลขไทย และใบงา เสียงสระเสียงส้ันเสีย 4. ข้นั สรปุ ๕ ๑. ครใู หน กั เรยี นชวย นาที พยัญชนะและสระใน

23 แนวการจดั การเรยี นรู ส่อื การเรียนรู การประเมนิ ครู กิจกรรมนกั เรยี น การเรยี นรู เอยี ะ เอยี เอือะ เอือ อัวะ อัว อาํ ไอ ใอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา ระใน ๕. นักเรียนศกึ ษาเรือ่ งสระใน ๔. PowerPoint ปน ภาษาไทย สระในภาษาไทย ม สระเกิน ยงยาว งานท่ี ๑ ๑. นักเรยี นทาํ ใบงานที่ ๑ ๕. ใบงานท่ี ๑ ๔. แบบ ทย ๔๔ ตวั ทบทวนพยัญชนะไทย ๔๔ ตวั ทบทวนพยญั ชนะ ประเมนิ ใบงาน สระและ ใบงานท่ี ๒ ทบทวนสระและ ไทย านท่ี ๓ แยก ตัวเลขไทย และใบงานท่ี ๓ ๖. ใบงานท่ี ๒ ๕. การสงั เกต ยงยาว แยกเสยี งสระเสียงส้นั เสยี ง ทบทวนสระและ พฤติกรรม ยาว ตัวเลขไทย ๗. ใบงานท่ี ๓ แยกเสียงสระ เสียงสน้ั เสยี งยาว ยสรปุ เรอ่ื ง ๑. นักเรยี นรวมกันสรปุ เรอ่ื ง ๘. PowerPoint นภาษาไทย พยญั ชนะและสระใน พยญั ชนะและ ภาษาไทย สระในภาษาไทย

24 คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) ๘. ส่ือการเรียนร/ู แหลง เรียนรู ๑) บตั รตวั พยัญชนะไทย ๒) บตั รรปู สระภาษาไทย ๓) บตั รคาํ เสียงสระภาษาไทย ๔) PowerPoint เรอ่ื ง พยญั ชนะและสระในภาษาไทย ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน ๑) ใบงานที่ ๑ เร่ือง ทบทวนพยญั ชนะไทย ๔๔ ตัว ๒) ใบงานท่ี ๒ เรื่อง ทบทวนสระและตวั เลขไทย ๓) ใบงานท่ี ๓ เร่ือง แยกเสยี งสระเสียงสั้นเสียงยาว ส่งิ ทตี่ องการวดั /ประเมนิ วิธีการ เครือ่ งมอื ทใี่ ช เกณฑก ารประเมิน ดานความรู ผานเกณฑ ๑. บอกพยัญชนะไทย ๔๔ ตวั 1. ประเมนิ การตอบ 1. การถามคาํ ถาม การประเมินรอยละ ๒. บอกสระในภาษาไทย คาํ ถาม 2. แบบประเมนิ ใบงานท่ี ๖๐ 2. ประเมินใบงานท่ี ๑ ๑ ทบทวนพยญั ชนะไทย ดานทกั ษะและกระบวนการ ทบทวนพยัญชนะไทย ๔๔ ตวั ผา นเกณฑ ๑. ฝกอานและเขยี นพยัญชนะ ๔๔ ตวั 3. แบบประเมนิ ใบงานที่ การประเมนิ รอยละ ไทย ๔๔ ตัว 3. ประเมินใบงานท่ี ๒ ๒ทบทวนสระและตวั เลข ๖๐ ๒. ฝกอานและเขยี นสระใน ทบทวนสระและตวั เลข ไทย ภาษาไทย ไทย 4. แบบประเมนิ ใบงานที่ ผานเกณฑ ดานคณุ ลกั ษณะ 4. ประเมินใบงานท่ี ๓ ๓ แยกเสียงสระเสียงสั้น การประเมนิ ระดบั เจตคติ คา นยิ ม แยกเสยี งสระเสียงส้นั เสยี งยาว คุณภาพพอใชขึ้น ๑. เห็นความสาํ คญั ของการ เสยี งยาว ไป อานและเขยี นพยัญชนะและ สระในภาษาไทย - ประเมินการอานออก - แบบประเมินการอา น เสยี ง ออกเสียง - ประเมนิ การทาํ งาน - แบบสังเกตพฤติกรรม และการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ในชัน้ เรยี น

หนวยการเรยี นรูที่ 1 เร่ือง ทบทวนชวนทํา 25 สง่ิ ทตี่ องการวดั /ประเมนิ วธิ กี าร เคร่อื งมือทใ่ี ช เกณฑก ารประเมิน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ๑. ใฝเรียนรู - ประเมินการทํางาน - แบบประเมนิ ผา นเกณฑ ๒. มุง มัน่ ในการทํางาน และการปฏบิ ตั ิกิจกรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึง การประเมนิ ระดับ ในชน้ั เรียน คณุ ภาพพอใชขนึ้ สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น ประสงค ไป ๑. ความสามารถใน การส่ือสาร - ประเมินความสามารถ - แบบประเมินสมรรถนะ ผา นเกณฑ ๒. ความสามารถในการคดิ ในการส่อื สารและ สาํ คญั ของผเู รยี น การประเมินระดับ การคดิ คณุ ภาพพอใชขึน้ ไป เกณฑก ารประเมนิ ผลชนิ้ งานหรือภาระงาน เกณฑก ารประเมนิ ใบงานที่ ๑ เรอื่ ง สระภาษาไทย ประเดน็ ๔ (ดีมาก) ระดบั คณุ ภาพ ๑ (ปรบั ปรุง) การประเมิน เติมพยัญชนะไทย 1. ความถกู ตอ ง ถูกตอ ง ๑๔ - ๑๖ ๓ (ดี) ๒ (พอใช) เติมพยัญชนะไทย ของเนอื้ หา ตัว ถูกตอ งนอยกวา เขยี นลายมือ เตมิ พยญั ชนะไทย เติมพยัญชนะไทย ๘ คาํ 2. ลายมือตวั สวยงาม มีหัว เวน ถูกตอง ๑๑ - ๑๓ ตวั ถูกตอง ๘ - ๑๐ บรรจง ระยะหา งเทา กัน เขยี นลายมือไมม ี ตัว หวั ไมสมํ่าเสมอ 3. ความสะอาด ไมมีรอยลบคาํ ผิด และไมเวน เขยี นลายมอื มหี วั เขียนลายมือ มีหัว ระยะหา ง สมํา่ เสมอเปน สวน ไมค อ ยสมา่ํ เสมอ ใหญ เวนระยะหางไม เวนระยะหา งไม มรี อยลบคาํ ผิด เทากัน เทากนั มากกวา 4 จุด มรี อยลบคาํ ผดิ 1 จุด มีรอยลบคาํ ผิด 2 - 3 จุด เกณฑก ารตดั สนิ คะแนน 10 - 12 หมายถงึ ดีมาก คะแนน 7-9 หมายถึง ดี คะแนน 4-6 หมายถงึ พอใช คะแนน 1-3 หมายถงึ ปรับปรงุ เกณฑก ารผา น ตั้งแตระดับ พอใช ขน้ึ ไป

26 คูมือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) เกณฑก ารประเมินผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน เกณฑก ารประเมินใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง ทบทวนสระและตัวเลขไทย ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมนิ 1. ความถูกตอ ง ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรบั ปรุง) ของเนอ้ื หา เติมสระและตวั เลข เตมิ สระและตวั เลข เติมสระและตวั เลข เติมสระและตวั เลข ไทยถูกตอ งนอยกวา 2. ลายมือตวั ๕ ขอ บรรจง ไทยถกู ตอ ง 9 - 10 ไทยถกู ตอง ๗ - ๘ ไทยถูกตอง ๕ - ๖ เขยี นลายมอื ไมม ีหัว ไมส ม่าํ เสมอและ 3. ความสะอาด ขอ ขอ ขอ ไมเวน ระยะหา ง เขียนลายมอื เขียนลายมือ มีหัว เขียนลายมือ มหี ัว มีรอยลบคาํ ผิด มากกวา 4 จุด สวยงาม มหี วั สมํา่ เสมอเปนสว น ไมคอยสมํา่ เสมอ เวนระยะหา งเทา กนั ใหญ เวนระยะหา ง เวน ระยะหางไม ไมเทา กนั เทา กัน ไมม ีรอยลบคาํ ผดิ มรี อยลบคําผดิ มีรอยลบคาํ ผดิ 1 จดุ 2 - 3 จุด เกณฑก ารตดั สนิ คะแนน 10 - 12 หมายถงึ ดมี าก คะแนน 7-9 หมายถึง ดี คะแนน 4-6 หมายถึง พอใช คะแนน 1-3 หมายถึง ปรบั ปรงุ เกณฑก ารผาน ตงั้ แตระดบั พอใช ขึน้ ไป

หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 เร่ือง ทบทวนชวนทํา 27 เกณฑก ารประเมนิ ผลชน้ิ งานหรือภาระงาน เกณฑก ารประเมินใบงานท่ี ๓ เรื่อง แยกเสียงสระเสียงสั้น เสียงยาว ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมนิ 1. ความถูกตอง ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรบั ปรุง) ของเน้อื หา แยกสระเสยี งสนั้ แยกสระเสยี งสนั้ แยกสระเสียงสน้ั แยกสระเสยี งสน้ั 2. ลายมอื ตวั บรรจง สระเสยี งยาวถกู ตอ ง สระเสียงยาวถูกตอง สระเสียงยาวถกู ตอ ง สระเสยี งยาว 3. ความสะอาด ๑๗ - ๒๐ ขอ ๑๓ - ๑๖ ขอ ๙ - ๑๒ ขอ ถกู ตองนอยกวา ๙ ขอ เขียนลายมือ เขียนลายมอื มีหัว เขียนลายมอื มหี ัว เขยี นลายมอื ไมม ี สวยงาม มีหัว เวน สม่ําเสมอเปน สวน ไมคอยสม่ําเสมอ หวั ไมส มํา่ เสมอ ระยะหางเทากัน ใหญ เวน ระยะหา ง เวน ระยะหา งไม และไมเ วน ไมเทา กัน เทากัน ระยะหา ง ไมมีรอยลบคําผิด มีรอยลบคาํ ผดิ มรี อยลบคาํ ผิด มีรอยลบคาํ ผดิ 1 จุด 2 - 3 จดุ มากกวา 4 จุด เกณฑก ารตดั สนิ คะแนน 10 - 12 หมายถงึ ดีมาก คะแนน 7-9 หมายถงึ ดี คะแนน 4-6 หมายถงึ พอใช คะแนน 1-3 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑก ารผาน ตั้งแตระดับ พอใช ขึน้ ไป

28 คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) ๑๐. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจัดการเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสําเรจ็ หรือปญ หา และอปุ สรรค ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จํากดั การใชแผนการจดั การเรียนรแู ละขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ ข ...................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ลงช่ือ......................................................ผูส อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ขอ เสนอแนะของผบู รหิ ารหรอื ผทู ่ไี ดร บั มอบหมาย ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ...................................................... ผตู รวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เรอ่ื ง ทบทวนชวนทาํ 29 ใบความรูที่ 1 เร่ือง สระภาษาไทย หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 เรอื่ ง ทบทวนชวนทํา แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี 1 เรื่อง พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และตวั เลขไทย (1) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท12101 ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 2 ใบความรู สระภาษาไทย ๑. รปู สระเด่ยี วเสียงสน้ั รปู สระเดย่ี วเสียงยาว –ะ –า –ิ – – –อื –ุ –ู เ–ะ เ– แ–ะ แ– โ–ะ โ– เ–อะ เ–อ เ–าะ –อ ๒. รูปสระประสมเสยี งสนั้ รปู สระประสมเสยี งยาว เ–ียะ เ–ยี เ–อื ะ เ–อื –ัวะ –ว ๓. รปู สระแทนเสียงสระที่มีเสียงพยญั ชนะทาย –ำ ใ– ไ– เ–า

30 คูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง ทบทวนพยญั ชนะไทย 44 ตวั หนวยการเรยี นรูท ี่ 1 เรอ่ื ง ทบทวนชวนทํา แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 1 เรือ่ ง พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต และตวั เลขไทย (1) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท12101 ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 2 คาํ ช้ีแจง นักเรียนชวยเติมพยัญชนะทีห่ ายไปลงในตาราง พรอ มท้งั ฝกคัดลายมือใหสวยงาม กข ค งจฉช ญ ณด ต ทธน บปผ พ ฟ มยร ลว หฬอฮ ชอื่ .........................................................สกลุ .................................ชนั้ ...................เลขท.่ี ...........

หนวยการเรยี นรูที่ 1 เรือ่ ง ทบทวนชวนทาํ 31 ใบงานท่ี 2 เร่ือง ทบทวนสระและตวั เลขไทย หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 เรอื่ ง ทบทวนชวนทํา แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 1 เรอ่ื ง พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต และตวั เลขไทย (1) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท12101 ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 2 คาํ ชแี้ จง นักเรียนชว ยเติมสระและตัวเลขไทยทห่ี ายไปลงในตาราง หมายเหตุ : ครูผูสอนใหนักเรียนฝกสังเกตชองตารางบางชองที่ไมเหมือนชองอื่นเพราะสระไมครบ ตองหาสระอ่ืนมาเติมชว ย –ะ –า –ิ -ี – –อื –ุ –ู เ–ะ เ– แ–.. แ– โ–ะ โ– เ–อะ เ– อ โ–ะ โ– เ–..ะ –อ เ–.ี .ะ เ–ีย เ–.ื .ะ เ–ือ –ัว.. –ัว –ำ ไ– ใ– เ–า ทบทวนวรรณยุกต   ทบทวนตวั เลขไทย ๑๒๓ ๖๗ ช่ือ.........................................................สกุล.................................ช้ัน...................เลขท.่ี ...........

32 คูมือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 (ภาษาไทย ป.2) ใบงานท่ี 3 เรื่อง แยกเสยี งสระเสียงสนั้ เสียงยาว หนวยการเรยี นรูที่ 1 เรอ่ื ง ทบทวนชวนทํา แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 1 เร่อื ง พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และตวั เลขไทย (1) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท12101 ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 คาํ ชแ้ี จง เพอ่ื น ๆ ชว ยพาสระเขา ไปอยใู นบา น ใหถกู หอ ง ดวยการฟงเสยี งจากคณุ ครูหรอื เพอื่ นในหอ งบางคนนะคะ สระเสยี งสน้ั สระเสียงยาว 1. 1. ๒. ๒. ๓. ๓. ๔. ๔. ๕. ๕. ๖. ๖. ๗. ๗. ๘. ๘. ๙. ๙. ๑๐. ๑๐. ชอื่ .........................................................สกุล.................................ชน้ั ...................เลขท.ี่ ...........

หนวยการเรยี นรูท่ี 1 เร่ือง ทบทวนชวนทาํ 33 เฉลยใบงานที่ 1 เรื่อง ทบทวนพยัญชนะไทย 44 ตัว หนวยการเรยี นรูท่ี 1 เรอ่ื ง ทบทวนชวนทํา แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 1 เรอื่ ง พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และตวั เลขไทย (1) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท12101 ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 คําช้แี จง นกั เรียนชว ยเตมิ พยัญชนะทห่ี ายไปลงในตาราง พรอ มทั้งฝกคัดลายมอื ใหส วยงาม กขฃคฅ ฆงจฉช ซ ฌญฎ ฏ ฐ ฑฒณด ต ถท ธ น บปผฝพ ฟภม ย ร ลวศษส หฬอฮ ช่ือ.........................................................สกุล.................................ชั้น...................เลขท.ี่ ...........

34 คูมอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) เฉลยใบงานท่ี 2 เร่อื ง ทบทวนสระและตัวเลขไทย หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เรอื่ ง ทบทวนชวนทาํ แผนการจดั การเรียนรูท่ี 1 เรอื่ ง ทบทวนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต และตวั เลขไทย (1) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท12101 ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 2 คาํ ชแ้ี จง นักเรยี นชว ยเตมิ สระและตวั เลขไทยทหี่ ายไปลงในตาราง หมายเหตุ : ครูผูสอนใหนักเรียนฝกสังเกตชองตารางบางชองที่ไมเหมือนชองอ่ืนเพราะสระไมครบ ตอ งหาสระอนื่ มาเติมชว ย –ะ –า –ิ -ี – –ือ –ุ –ู เ–ะ เ– แ–ะ แ– โ–ะ โ– เ–อะ เ– อ โ–ะ โ– เ–อะ –อ เ–ียะ เ–ีย เ–อื ะ เ–อื –ัวะ –วั –ำ ไ– ใ– เ–า ทบทวนวรรณยุกต  ทบทวนตวั เลขไทย ๑๒๓45 ๖ ๗ 8 9 10 ชอ่ื .........................................................สกลุ .................................ชัน้ ...................เลขท.ี่ ...........

หนว ยการเรียนรูท่ี 1 เรือ่ ง ทบทวนชวนทํา 35 เฉลยใบงานที่ 3 เรอื่ ง แยกเสยี งสระเสียงส้ัน เสยี งยาว หนวยการเรยี นรูท่ี 1 เรอื่ ง ทบทวนชวนทาํ แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 1 เรอ่ื ง ทบทวนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต และตัวเลขไทย (1) รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท12101 ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 2 คําชแ้ี จง เพอ่ื นๆ ชวยพาสระเขา ไปอยใู นบาน ใหถกู หอง ดว ยการฟงเสยี งจากคณุ ครหู รอื เพอ่ื นในหองบางคนนะคะ สระเสียงสนั้ สระเสยี งยาว 1. อะ 1. อา ๒. อิ ๒. อี ๓. อึ ๓. อือ ๔. อุ ๔. อู ๕. เอะ ๕. เอ ๖. แอะ ๖. แอ ๗. โอะ ๗. โอ ๘. เอาะ ๘. ออ ๙. เออะ ๙. เออ ๑๐. เอยี ะ ๑๐. เอีย ชื่อ.........................................................สกุล.................................ชน้ั ...................เลขท.่ี ........... ฟ

36 คมู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 (ภาษาไทย ป.2) แผนการจดั การเรียนรูที่ 2 เร่อื ง พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ตแ ละตวั เลขไทย (2) หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอื่ ง ทบทวนชวนทาํ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นรู/ ตัวชวี้ ดั มาตรฐานการเรียนรู ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว เปนสมบตั ขิ องชาติ ตวั ชีว้ ดั ป.๒/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ตแ ละเลขไทย ๒. สาระสาํ คัญ/ความคดิ รวบยอด วรรณยุกตในภาษาไทย มี 5 เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูป เคร่ืองหมายบอกระดับของเสียงอยูเบ้ืองบนอักษร 4 รูป คือ - (ไมเอก) - (ไมโท) ◌ (ไมตรี) - (ไมจัตวา) จาก หลักการผนั วรรณยกุ ตข องไตรยางศ เสียงกับรูปอาจไมตรงกนั คอื ตัวเลขไทยเปนอักษรตัวเลขที่ใชแสดงจํานวนนับในภาษาไทย ประดิษฐข้ึนโดยพอขุนรมคําแหง มหาราช โดยดัดแปลงมาจากอักษรและมีตนตอมาจากอกั ษรเทวนาครีของอินเดีย เชนเดียวกับเลขอารบิก เปน หนึ่งในไมก่ีภาษาที่ใชระบบจํานวนนับเปนเลขฐานสิบและมีการเปล่ียนแปลงสัณฐานจากอดีตสูปจจุบันนอย มาก ๓. จดุ ประสงคก ารเรียนรู ๓.๑ ดา นความรู ความเขา ใจ (K) ๑) บอกวรรณยกุ ตในภาษาไทยได ๒) บอกตัวเลขไทยได ๓.๒ ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ๑) เขยี นวรรณยุกตในภาษาไทยได ๒) เขยี นตวั เลขไทยได ๓.๓ ดา นคุณลักษณะ เจตคติ คานิยม (A) - เห็นความสําคัญของการอานและเขียนวรรณยกุ ตและตัวเลขไทย ๔. สาระการเรยี นรู - วรรณยกุ ตและตัวเลขไทย ๕. สมรรถนะสาํ คัญของผเู รยี น ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคดิ ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค ๖.๑ ใฝเ รยี นรู ๖.๒ มุง มน่ั ในการทาํ งาน ๗. กิจกรรมการเรยี นรู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook