Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-07-30-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.3.-2

64-07-30-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.3.-2

Published by elibraryraja33, 2021-07-30 02:14:14

Description: 64-07-30-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.3.-2

Search

Read the Text Version

๖๗๒ คูม่ ือครูและแผนจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๓) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน คาชแ้ี จง ใสเ่ ครื่องหมาย ✓ ลงในรายการทีต่ รงกบั พฤติกรรมของนกั เรยี น ลาดับท่ี รายการประเมนิ คุณภาพการปฎบิ ตั ิ ๓ ๒๑ ๑ นาเสนอเน้ือหาในผลงานได้ถูกตอ้ ง ๒ การนาเสนอมคี วามนา่ สนใจ ๓ ความเหมาะสมกับเวลา ๔ ความกลา้ แสดงออก ๕ บคุ ลกิ ภาพ นา้ เสยี งเหมาะสม รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน = ๓ คะแนน ปฏิบตั งิ านมีข้อบกพร่องเลก็ นอ้ ย = ๒ คะแนน ปฏิบตั ิงานมีขอ้ บกพรอ่ งสว่ นใหญ่ = ๑ คะแนน ปฏิบัตงิ านมขี ้อบกพร่องมาก ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ดีมาก ช่วงคะแนน ดี พอใช้ ๑๐-๑๕ ๕-๑๐ ๐-๕

ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (สงั คมศกึ ษา) ๖๗๓ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ คาชแี้ จง ให้ครูผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นของนักเรียน แลว้ เขยี นเคร่อื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งทตี่ รงกับ พฤติกรรมตามหวั ขอ้ ทีก่ าหนด รายการ เลขที่ ช่ือ – สกลุ การร่วม คะแนน กิจกรรม รวม การ ัรบ ัฟง ความ ิคดเ ็หน ขอคงวาผู้ ่ือมน ัรบผิดชอบ ข ัยนห ่ัมนเ ีพยร ตรงต่อเวลา ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ (ลงช่ือ)......................................................ผูป้ ระเมิน ............./.............../.............. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ๑ คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพ คะแนน ๑๒ - ๑๕ หมายถึง ดี คะแนน ๘ - ๑๑ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ตา่ กวา่ ๘ หมายถงึ ปรบั ปรงุ

๖๗๔ คมู่ อื ครแู ละแผนจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สังคมศึกษา ป.๓) สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม คาชแ้ี จง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี นแลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ประเดน็ การประเมนิ ๓ ระดบั คะแนน ๑ ๒ ๑. การรว่ มกจิ กรรม มคี วามกระตอื รอื ร้นใน มีความกระตือรอื รน้ ใน ไม่มคี วามกระตือรอื ร้น การรว่ มกจิ กรรมอยา่ ง การร่วมกจิ กรรม ในการร่วมกจิ กรรม สม่าเสมอ บางครั้ง ๒. การรับฟังความคิดเห็น รบั ฟังความคิดเหน็ ของ รับฟังความคิดเหน็ ของ ไม่รับฟังความคดิ เห็น ของผอู้ ื่น ผอู้ ่ืนสมา่ เสมอ ผ้อู ืน่ เปน็ บางคร้ัง ของผ้อู ่นื ๓. ความรบั ผิดชอบ มีความรับผดิ ชอบในงาน มคี วามรบั ผิดชอบในงาน ไม่มีความรบั ผดิ ชอบ ทีไ่ ด้รับมอบหมายอยา่ ง ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ในงานท่ีได้รับ สม่าเสมอ บางครง้ั มอบหมาย ๔. ขยนั หมน่ั เพียร มคี วามเพยี รพยายาม มีความเพียรพยายาม ไม่มีความเพยี ร ทางานให้สาเร็จอยา่ ง ทางานใหส้ าเร็จเป็น พยายามทางานให้ สมา่ เสมอ บางครัง้ สาเรจ็ ๕. ตรงตอ่ เวลา ส่งผลงานเสรจ็ เรียบรอ้ ย ส่งผลงานเสรจ็ ส่งผลงานไม่เรยี บรอ้ ย ทนั ตามเวลาที่กาหนด เรยี บรอ้ ย และชา้ กว่าเวลาท่ี แตช่ ้ากวา่ เวลาทีก่ าหนด กาหนด (ลงชือ่ )......................................................ผ้ปู ระเมิน ............./.............../.............. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถงึ ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่าเสมอ ๒ คะแนน หมายถงึ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑก์ ารตดั สินระดบั คณุ ภาพ คะแนน ๑๒ - ๑๕ หมายถงึ ดี คะแนน ๘ - ๑๑ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ตา่ กวา่ ๘ หมายถึง ปรบั ปรุง

ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (สงั คมศึกษา) ๖๗๕ พฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ คาชแี้ จง ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วขีด ✓ ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ช่ือ-นามสกลุ ของ การแสดง การ การทางาน ความมี การมสี ว่ น ท่ี ผ้รู ับการประเมิน ความ ยอมรับฟงั ตามทีไ่ ด้รับ นา้ ใจ ร่วมในการ รวม ๑๕ คิดเหน็ ผ้อู ่นื มอบหมาย ปรบั ปรงุ คะแนน ผลงาน กลมุ่ ๓๒๑๓๒๑๓ ๒๑ ๓๒๑๓๒๑ (ลงชอ่ื )......................................................ผปู้ ระเมิน ............./.............../.............. เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ๒ คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ๑ คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั เกณฑก์ ารตดั สินระดบั คุณภาพ คะแนน ๑๒ - ๑๕ หมายถงึ ดี คะแนน ๘ - ๑๑ หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 - 7 หมายถึง ปรับปรงุ

๖๗๖ คูม่ ือครแู ละแผนจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๓) แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาชแ้ี จง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียนแล้วขดี ✓ ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ระดับการปฎบิ ตั ิ รายการประเมนิ พฤตกิ รรมการแสดงออก ๓๒๑ ๑. มวี นิ ยั ๑. ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของ ครอบครัวและโรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวิตประจาวันมคี วามรบั ผดิ ชอบ ๒. ใฝ่เรยี นรู้ ๒. ต้งั ใจเรียน ๓. เอาใจใส่ในการเรียน และมคี วามเพียรพยายามในการเรียน ๔. เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ๓. มุง่ ม่นั ในการทางาน ๕. มคี วามตั้งใจและพยายามในการทางานที่ได้รบั มอบหมาย ๖. มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออุปสรรคเพื่อใหง้ านสาเร็จ ๔. มีจิตสาธารณะ ๗. รู้จักชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู างาน ๘. อาสาทางาน ช่วยคิด ชว่ ยทา และแบ่งปันสง่ิ ของใหผ้ อู้ ื่น ๙. รู้จักการดูแล รักษาทรัพยส์ มบัติและสิ่งแวดล้อมของ หอ้ งเรียน โรงเรียนชมุ ชน ๑o. เข้าร่วมกิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ของ โรงเรยี น ลงชอ่ื ........................................................ผู้ประเมิน .................../.................../...................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถงึ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๐ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินระดบั คณุ ภาพ คะแนน 10 - 12 หมายถงึ ดี คะแนน 7 - 9 หมายถึง พอใช้ คะแนนต่ากว่า ๖ หมายถึง ปรบั ปรงุ

๖๗๖ คู่มอื ครแู ละแผนจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๓) ตอนที่ 2 ประวัติศาสตร์

รายวชิ าประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖๗๗ คาช้ีแจง รายวชิ าประวัติศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑. แนวคดิ หลัก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดสาระการเรียนรู้ จานวน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนาความรู้ด้านเน้ือหาวิชามาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยการฝึกทักษะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกิดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๕ ประการ และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๘ ประการ ดังนี้ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสอื่ สารเปน็ ความสามารถในการรับสารและส่อื สารมวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบเพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพอื่ ใช้ในการตดั สนิ ใจ เก่ยี วกับตนเอง สงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถนา กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การ ทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความขัดแย้งตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใชเ้ ทคโนโลยี การแก้ปญั หา อย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสม มีคุณธรรมด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการ พฒั นาตนเอง สงั คมในดา้ นการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทางาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมอย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก ดงั นี้ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒) ซื่อสัตย์ สจุ ริต ๓) มีวนิ ยั ๔) ใฝเ่ รียนรู้ ๕) อยอู่ ยา่ งพอเพียง ๖) มงุ่ มนั่ ในการทางาน ๗) รกั ความเป็นไทย ๘) มจี ิตสาธารณะ

๖๗๘ ค่มู ือครแู ละแผนจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๓) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมวา่ ด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความเช่ือม สัมพนั ธ์กัน และมีความแตกต่างอยา่ งหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรบั ตนเองกับบริบทสภาพแวดลอ้ ม เป็น พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม เป็นวิชาท่ีประกอบด้วยหลาย แขนงสาระ ทาให้มีลักษณะเปน็ สหวิทยาการ เป็นการนาวิชาตา่ ง ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เขา้ ด้วยกัน ได้แก่ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ เป็นต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมประกอบดว้ ย ๒ รายวิชา คอื วิชาสังคมศกึ ษา และวิชาประวตั ศิ าสตร์ วิชาประวัติศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มสหวิทยาการของสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรมช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจการดารงชีวิตของมนุษย์ ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ ร่วมกันในสังคม เข้าใจการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามยุคตามสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ เกิดความ เข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความรักภาคภมู ิใจในความเป็นไทย มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก ให้เพ่ือเกิดค่านิยมท่ีเหมาะสม มุ่งหวังให้ผู้เรียนเกิดความเจริญงอกงามด้านความรู้ โดยการให้ความรู้แก่ผู้เรียน ดา้ นเนอ้ื หาสาระ ความคิดรวบยอด และหลกั การสาคัญ วชิ าประวตั ิศาสตร์มีบทบาทสาคญั อยา่ งยิ่งต่อการเปน็ พลเมืองของประเทศ เพ่ือเสริมสร้างสานึกความเป็นไทยและความเป็นปึกแผ่น ตลอดจนการอนุรักษ์สืบสาน ศิลปวัฒนธรรมของคนในชาติให้คงอยู่สืบไป จึงจาเป็นอย่างย่ิงต้องปลุกจิตสานึกให้เยาวชนชาติไทยมีความ เข้าใจและตระหนักถึงความสาคัญ ความเป็นมา ซ่ึงนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน โดย เรียนรู้จากการนาวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์มาฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ในการคิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหาในการตัดสินใจบนพื้นฐานเหตุผลอย่างมีหลักการ เช่น การใช้ประเด็น ใกล้ตัวผู้เรียนได้เรียนรู้ และเข้าใจเรื่องใกล้ตัวของผู้เรียนในการสืบค้นชุมชนท้องถ่ินท่ีตนอาศัยอยู่ เพื่อให้ ผู้เรียนมีจติ สานกึ ในความรัก ความภาคภูมใิ จในถนิ่ ฐานของตน หลักการออกแบบกิจกรรมมีการบูรณาการด้านคุณลักษณะ ในแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีคานึงถึง คุณลักษณะที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มีทักษะการพัฒนาค่านิยมและเจตคติที่ดีในการประพฤติปฏิบัติตน ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมหลังการเรียนรู้ สอดคล้องตามเป้าหมายของหน่วย การเรียนรู้ มีเจตคติท่ีดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ และมีจิตอาสา ครูผู้สอนควรปลูกฝัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และเปน็ คนดขี องสังคม ๒. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ แนวคิดสาคัญของการจัดศึกษา ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปดิ โอกาสให้ ผู้เรียน คิด และลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ การประเมนิ การเรยี นรจู้ ึงมคี วามสาคญั และจาเปน็ อย่างย่ิง ต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ใู นห้องเรียน เพราะสามารถทาให้ผู้สอนประเมนิ ระดบั พัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรียน การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และ เต็มตามศักยภาพ ให้ความสาคัญ ของการบูรณาการความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม ของ ระดับการศกึ ษา ไดร้ ะบุให้ผทู้ เ่ี ก่ยี วข้องดาเนนิ การ ดงั นี้

รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖๗๙ สถานศึกษาและหน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง ๑) จัดเนื้อหาสาระ และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย คานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มา ใชเ้ พื่อปอ้ งกัน และแกไ้ ขปัญหา ๓) จัดกจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ ฝกึ การปฏบิ ตั ิ ใหท้ าได้คดิ เปน็ ทาเปน็ รกั การอ่าน และเกิดการใฝ่รอู้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทง้ั ปลกู ฝังคุณธรรม คา่ นิยมที่ดงี ามและ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคไ์ วใ้ นทกุ วิชา ๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และ อานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ มีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใชก้ ารวิจัยเปน็ ส่วนหนึ่งของ กระบวน การ เรียนรู้ท้ังน้ีผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียน การสอน และแหล่ง วทิ ยาการประเภทตา่ ง ๆ ๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบคุ คลในชุมชนทกุ ฝา่ ย เพือ่ ร่วมกันพฒั นาผ้เู รยี นตามศักยภาพ ครูผู้สอน การจัดการเรียนรู้ตามแนวดังกล่าว จาเป็นต้องเปล่ียนแปลงพฤติกรรม การเรียนการสอนทั้ง ของผู้เรียน และผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการ วางแผนจัดกิจกรรมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ กิจกรรมต่าง ๆ จะต้องเน้นที่บทบาทของผู้เรียนตั้งแต่เร่ิม คือ ร่วมวางแผน การเรียน การวัดผล ประเมินผล และต้องคานึงว่ากิจกรรมการเรียนนั้น เน้นการพัฒนา กระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้ หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน การอภิปรายเก่ียวกับข้อมูลที่ สืบค้นได้ เพ่ือนาไปสู่คาตอบของปัญหาหรือคาถามต่าง ๆ ในที่สุดสร้างองค์ความรู้ ทั้งน้ีกิจกรรมการเรียนรู้ เหลา่ น้ตี ้องพฒั นาผู้เรียนให้มพี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย ท้ังทางร่างกาย อารมณ์สังคม และสตปิ ญั ญา เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์ ๑. เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นร้จู ักคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ รู้จกั ใช้เหตผุ ลในการวเิ คราะห์ และตดั สนิ ใจ ๒. เพื่อจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความคิดโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพ่ือให้เข้าใจ อย่างคนคดิ เป็น มคี วามรแู้ ละมที กั ษะในการใช้วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรเ์ พ่อื ให้เขา้ ถึงความจริง ๓. เพื่อให้เข้าใจถึงความเป็นเหตุเป็นผลในสังคมมนุษย์ว่าเหตุการณ์ในอดีตย่อมมีอิทธิพล ต่อภาวะความเป็นอยูข่ องสงั คมในปจั จุบัน และสง่ิ ท่เี ปน็ อยู่ในปจั จบุ ันกม็ ีอิทธิพลตอ่ อนาคต ๔. ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ ความเป็นมาของชาติบ้านเมือง เห็นความเสียสละ ความมานะ บากบ่นั ความพยายามและความสามารถ อันกอ่ ใหเ้ กิดความรสู้ กึ รักชาตบิ า้ นเมืองของตนเอง ๕. ช่วยให้ผู้เรียนมีความคุ้นเคยกับส่ิงที่เป็นความรู้ทางประวัติศาสตร์ และเกิดความ สนกุ สนาน สนใจในการสืบค้นเรื่องราวในอดตี

๖๘๐ คู่มือครแู ละแผนจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๓) การจัดกระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจและ ประสบการณ์เก่ียวกับประวัตศิ าสตร์ รวมท้ังได้ฝึกฝนทักษะการคิดและพฒั นาเจตคติที่ถูกตอ้ งโดยการเช่ือมโยง เร่ืองราวทางประวัติศาสตร์กับการคิดวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานที่เป็นข้อมูลท่ีเป็นจริงในอดีต คิดวิพากษ์วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล และคิดตัดสินใจอย่างมีวิจารณญาณ จากการโยงเข้าหากับปัญหาในปัจจุบัน ซึ่งหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้ความสาคัญกับการศึกษาแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ประวัติความเป็นมาในท้องถิ่น เพื่อให้นักเรียนเป็นส่วนหนึ่งของเร่ืองราวซ่ึงจะสร้างแรงบันดาลใจและความ เข้าใจให้กับผู้เรียนได้มากยิ่งข้ึน ครูผู้สอนสามารถนามาจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนปฏิบัติได้ แนวทางการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์มีหลากหลายวิธีท่ีน่าสนใจ เช่น การจัดค่ายประวัติศาสตร์ โครงงาน ประวัติศาสตร์ การทศั นศกึ ษา การแสดงบทบาทสมมตุ ิ การเรียนรู้วชิ าประวัตศิ าสตร์ที่แท้จริงและมีประสิทธิภาพ คือ การปลูกฝังความรู้ ความเข้าใจ และ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สัมผสั และลงมือปฏิบัตกิ ิจกรรมอย่างหลากหลาย เป็นการเรียนรู้ที่มีกระบวนการเพราะ การเรียนจะเริ่มต้นตั้งแต่การวางแผนการเรียน การดาเนินการตามแผนที่กาหนด การนาข้อมูลมาวิเคราะห์ การสรุปและการเรยี บเรยี งโดยใชว้ ิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ ซง่ึ ผเู้ รยี นจะต้องลงมอื สังเกต ปฏบิ ตั ิ ศึกษา ค้นคว้า และถกเถียงในสิ่งท่ีพบเห็น ทั้งน้ีครูต้องดาเนินการจัดกิจกรรมในลักษณะท่ีผู้เรียนสามารถทาได้ในระบบกลุ่ม หรือรายบุคคล ส่งเสริมการปฏิบัติกิจกรรมนอกเวลาเรียน ซึ่งจะทาให้เกิดความหลากหลายในกระบวนการ เรียนรู้ และเกิดความรู้ใหม่ที่ได้จากประสบการณ์ตรง เป็นความรู้ท่ีทันสมัย และใกล้ตัวซ่ึงสามารถนาไปใช้ใน ชวี ิตจริง เพ่ือสร้างสานึกความเป็นไทย และรักมาตุภูมิถ่ินฐานของตนเอง ตลอดจนการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของ ประเทศ การออกแบบและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์จะต้องคานึงถึงองค์ประกอบทั้ง ความรู้ ทักษะ และเจตคติเพ่ือใช้ในการปลูกฝัง และส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดหรือมีวิธีการคิด ดงั นั้นการจดั การเรยี นร้ตู ้องเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และส่งเสรมิ การจดั แหลง่ เรยี นรู้ทีห่ ลากหลายอันเปน็ พื้นฐาน ของการเสรมิ สร้างความรู้ ความคดิ ประสบการณ์ และปลูกฝงั เจตคตทิ ด่ี ีในสงั คมอยา่ งมีคณุ ภาพ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานท่ี การเรียนรู้จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้าน งานวิเคราะห์จากการศึกษา ภาคสนาม พิเคราะห์แหล่งข้อมูล การสอนแบบให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยอิสระจากศูนย์การเรียนรู้ และการเรียนรู้ ตามความสนใจ การสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ไมค่ วรจาเจอยู่ในหอ้ งเรียนอย่างเดยี ว การเรียนรู้โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ได้แก่ เกม การศึกษาสถานการณ์จาลอง กรณีตัวอย่าง บทบาทสมมุติ โครงงาน การเรียนการสอนท่ีเน้นกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย การอภิปรายกลุ่มย่อย การแก้ปัญหากล่มุ สืบค้นความรู้ กลมุ่ สมั พนั ธ์ การเรียนรู้แบบรว่ มมอื การอภปิ ราย การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้แก่ การแก้สถานการณ์ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบยอด การพัฒนากระบวนการคิด การใช้ทักษะกระบวนการ การสอนโดยกระบวนการวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ การสอนโดยใช้วิธีการต้ังประเด็นคาถามผู้เรียน การเรียนการสอนโดยใช้แผนผังความคิด (Graphic Organizers) การเรียนการสอนกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนกระบวนการคิด ๑๐ มิติ การคิดเปรียบเทียบ การคิดสังเคราะห์ การคิดประยุกต์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การคิด กลยทุ ธ์ การคดิ บรู ณาการ การคดิ มโนทัศน์ การคิดอนาคต การคิดวิพากษ์

รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖๘๑ การเรียนรผู้ า่ นสื่อเทคโนโลยี ได้แก่ โปรแกรมสาเร็จรปู ชดุ การสอน ชดุ การสอนรายบคุ คล ชดุ การสอนสาหรับการเรยี นเป็นกลุ่มย่อย ชดุ การสอนประกอบคาบรรยายของครู คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน และ การนาเสนอโดยวีดิทศั น์ นอกจากนั้นครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดย การร่วมมือระหว่าง ครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ครูต้องลดบทบาทในการสอนโดยเป็นผู้ช้ีแนะ กระตุ้นให้ ผู้เรยี นกระตอื รอื ร้นทจ่ี ะเรยี นรู้ และปฏิบตั กิ จิ กรรมตา่ ง ๆ มากข้นึ และอยา่ งหลากหลาย ดังนี้ ๑) ควรให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาด้วย การกระตุ้นให้ นักเรียนลงมือปฏิบัติและอภิปรายผล เช่น แบ่งกลุ่มให้อภิปราย แสดงบทบาทสมมุติ จัดนิทรรศการด้วยตนเอง โดยใชเ้ ทคนิคตา่ ง ๆ ของการสอน เช่น การนาเข้าสู่บทเรียน การใชค้ าถาม การเสริมพลังมาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ ทจ่ี ะทาให้การเรยี นการสอนนา่ สนใจและมชี วี ิตชีวา ๒) ครูควรมกี ารวางแผนการใชค้ าถามอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือจะนานักเรียนเข้าสบู่ ทเรียน และลงข้อสรุปไดโ้ ดยท่ีไม่ใช้เวลานานเกินไป ครูควรเลือกใชค้ าถามท่ีมีความยากง่ายพอเหมาะกับความสามารถ ของนกั เรียน ๓) เม่ือนักเรียนถาม อย่าบอกคาตอบทันที ควรให้คาแนะนาท่ีจะช่วยให้นักเรียนหาคาตอบ ไดเ้ อง ครูควรให้ความสนใจต่อคาถามของนักเรยี นทกุ ๆ คน แม้ว่าคาถามน้นั อาจจะไม่เกยี่ วกับเรอ่ื งทีก่ าลงั เรียน อยู่ก็ตาม ครูควรจะชี้แจงให้ทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสู่เรื่องท่ีกาลังอภิปรายอยู่ สาหรับ ปญั หาที่นกั เรยี นถามมานนั้ ควรจะได้หยิบยกมาอภิปรายในภายหลงั ๔) การสารวจตรวจสอบซ้า เปน็ สิ่งจาเป็นเพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่นี ่าเชอื่ ถอื ดงั นั้น ในการจัด การเรยี นรู้ครคู วรยา้ ให้นักเรียน ได้สารวจตรวจสอบซา้ เพื่อนาไปสขู่ ้อสรปุ ทีถ่ ูกต้องและเชื่อถอื ได้ ครูควรเลือกเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นจริงหรือกาลังเกิดขึ้นกับสังคมมาเป็นตัวอย่างในการ สอนวิชา ประวัตศิ าสตร์ นักเรียนจะได้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงเหตุการณ์ของคนท่ัวไปมาเกร่ินนาเพื่อโยงสัมพนั ธ์กบั เรื่องที่ สอน หรอื นาเหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ข้ึนมาอภิปราย รว่ มกันกาหนดหัวข้อให้ครอบคลมุ เรื่องท่ีสอน นักเรียนได้ปฏิบัติ จรงิ หรอื สร้างสถานการณ์จาลองให้ทดลองปฏบิ ัติ ๓. สือ่ การจดั การเรียนรู/้ แหล่งเรยี นรู้ สื่อการจัดการเรียนรู้ เปน็ เครื่องมือส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั กระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนได้รับ ความรู้ ทักษะกระบวนการได้ง่ายในระยะเวลาสั้น และช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดอย่างถูกต้อง และรวดเร็ว สือ่ ทป่ี รากฏในแผนการจัดการเรยี นรูม้ ีดังน้ี ๑) ใบความรู้ ใบงาน แผนภาพนาเสนอขอ้ มลู ๒) บตั รภาพ ๓) เกม/เพลง/นิทาน ๔) คลิป/วีดทิ ศั น/์ ภาพขา่ วสถานการณป์ จั จบุ ัน ๕) สถานการณ์สมมุติ ๖) ส่ือบคุ คล แหล่งเรยี นรู้ เปน็ เคร่ืองมือสร้างคณุ ลักษณะการใฝ่เรียนรู้ท่ที กุ คนต้องใฝ่ร้ตู ลอดชีวิต ดงั น้ี

๖๘๒ คูม่ ือครแู ละแผนจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๓) ๑) แหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง หอ้ งสมุดประชาชน ห้องสมุดแหง่ ชาติ สถานท่สี าคัญทางประวัตศิ าสตร์ ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและเป็นหัวใจสาคัญของผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียน ควรจัดห้องสมุดกลาง ห้องสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องสมุดเคล่ือนที่ รถเคลื่อนที่ ห้องสมุด ประชาชนล้วนเป็นแหล่งเรียนรู้จะทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และปลูกฝังลักษณะนิสัยท่ีดีในการส่งเสริมนิสัยรัก การอา่ น ๓) แหล่งเรียนรูอ้ อนไลน์ - สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน - สานักหอสมดุ มหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม - ฯลฯ ๔. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จุดประสงคส์ าคัญของการประเมินการเรียนรู้คอื การชว่ ยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ตามวตั ถปุ ระสงค์ ท่ี ผู้สอนหรือหลักสูตรวางไว้ ปัญหาท่ีพบในปัจจุบันก็คือ ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจานวนมาก ยังให้ ความสาคัญการเรียนรู้แบบท่องจาเพ่ือสอบ หรือการเรียนรู้เพ่ือแข่งขัน ซึ่งถือเป็นการเรียนรู้แบบ ผิวเผิน มากกว่า การประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองซึ่งผลลัพธ์ของการเรียนรู้จะยั่งยืน กว่า (กุศลนิ มุกสกิ กลุ , ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,์ิ เพ็ญจนั ทร์ และวรรณทพิ า รอดแรงคา้ , ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนนั้นจาเป็นต้องมีการประเมิน การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่เริ่มต้นระหว่างและส้ินสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินใน รูปแบบที่ หลากหลายสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้รูปแบบการประเมิน การเรียนรู้ได้แก่ การประเมิน การเรียนรู้ระหว่างเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรู้สรุปรวม (Summative Assessment) และ การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ และการประเมินตามสภาพจริงนั้น ผู้สอนจาเปน็ ตอ้ งสะท้อนการประเมิน ให้ผู้เรียนรับทราบ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผู้สอนต้องนาผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัด การเรียนรู้เพ่ือให้สามารถดาเนินการแก้ไข ช่วยเหลือ หรือหาวิธกี ารต่าง ๆ เพอ่ื ชว่ ยให้ผู้เรียนแต่ละคนเกิดการ เรียนรู้และพัฒนาตนเองไดต้ ามแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้หรือเป้าหมายของตัวช้ีวดั ต่าง ๆ (กุศลิน มุกสิกกุล, ๒๕๕๕ ) การวัด และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ ประสบความสาเร็จน้ัน ผู้เรียนจะต้องได้รับการพฒั นาและประเมินตามตัวช้ีวัด เพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสาคญั และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รียน ซ่งึ เป็นเปา้ หมายหลักในการวัด และ ประเมินการเรียนรู้ในทุกระดบั (กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๕๒)

รายวชิ าประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖๘๓ การวัด และประเมินผลการเรียนรู้ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ความสาคัญของ การประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ัติ ดงั น้ี ๑) วิธกี ารประเมิน (๑) การวัดและประเมนิ ก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อม และความร้เู ดมิ ของผูเ้ รียน (ผสมผสานในกจิ กรรมการเรียนร้ขู ั้นนา) (๒) การวัดและประเมินระหว่างเรยี น ไดแ้ ก่ ดา้ นความรู้ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ และคณุ ลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจชิ้นงาน การนาเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรียนรู้ขั้นสอน) จดุ มุ่งหมายของการประเมินระหวา่ งเรียน มีดงั น้ี (๒.๑) เพ่ือค้นหาและวนิ จิ ฉยั วา่ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเนอื้ หา มีทกั ษะความชานาญ รวมถึงมี เจตคติทางการเรียนรู้อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสม เพ่ือพัฒนาการเรียนรขู้ องผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ (๒.๒) เพอื่ ใช้เป็นขอ้ มลู ป้อนกลับให้กับผเู้ รยี นว่ามีผลการเรยี นรู้อยา่ งไร (๒.๓) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้าน การเรียนรขู้ องผ้เู รียนแตล่ ะคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบความสาเร็จตามจุดประสงค์รายแผน เป็น การพัฒนาในจุดท่ีผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และเพื่อ ตัดสินผล การจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว ผลจากการประเมินประเภทน้ีใช้ ประกอบการตัดสินผลการจัดการเรียนการสอน หรือตัดสินใจว่าผู้เรียนคนใดควรจะได้รับระดับคะแนนใด (๔) ประเมนิ รวบยอดเม่ือสน้ิ สดุ หน่วยการเรียนรู้ ดาเนนิ การดงั นี้ การประเมินโดยครูผู้สอน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนว่าบรรลุเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และ เจตคติ หรือไม่ เช่น การทาโครงงาน การนาความรู้ไปใช้เพ่ือ พฒั นาสงั คมในรปู แบบต่าง ๆ การประเมินโดยผู้เรียนแต่ละคน โดยการทาแบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning log) ควรให้ ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อเปิดโอกาสได้สะท้อนคิดสิ่งที่เรียนรู้ทั้งท่ีทาได้ดีและยังต้องพัฒนา (ตัวอย่างแบบบันทึกการเรียนรู้ ดูภาคผนวก ค.) ควรให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ย่อยหลังจบการเรียนรู้แต่ละ หนว่ ยการเรยี นรู้ และประเมินการเรียนรรู้ วมในช่วงกลางภาคเรยี น และปลายภาคเรียน โดยครูสามารถเลือกใชช้ ุด คาถามและจานวนข้อให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน ช่วงเวลาและธรรมชาติของแต่ละวิชา ทั้งนี้ในครั้งแรกครู ควรทาร่วมกับนักเรียนเพื่อแนะนาวิธีการเขียนแบบสะท้อนคิด และควรอ่านส่ิงที่นักเรียนบันทึกพร้อมให้ข้อมูล ย้อนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสร้างสรรค์ รวมท้ังใชป้ ระโยชน์จากข้อมูลในแบบบันทึกเพื่อพัฒนาการสอนของ ตัวเอง และชว่ ยเหลือนกั เรียนเปน็ รายบคุ คลตอ่ ไป ๒) ผูป้ ระเมนิ ไดแ้ ก่ เพ่อื นประเมนิ เพอ่ื น ครูประเมินผ้เู รยี น ผเู้ รยี นประเมินตนเอง และผู้ปกครองร่วมประเมิน

๖๘๔ คู่มอื ครแู ละแผนจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๓) ๕. คาแนะนาสาหรับครู ๑) การเตรียมตวั ของครู (๑) ศึกษาทาความเขา้ ใจคาชแ้ี จง และทาความเข้าใจเชอ่ื มโยง ทง้ั เป้าหมาย กจิ กรรม และ การวดั ผล และประเมนิ ผลระหว่างหน่วยการเรียนร้กู ับแผนการจัดการเรยี นรรู้ ายช่วั โมง (๒) ศึกษาคน้ ควา้ ความร้เู พม่ิ เติม จากแหล่งเรยี นรู้ หนว่ ยงาน องค์กรท่ใี หค้ วามรู้ทีเ่ ช่อื ถือได้ รวมท้ังเทคนคิ การจัดการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาความสามารถของผูเ้ รยี นอยา่ งรอบด้าน (๓) ปรับประยกุ ต์หรอื เพิ่ม เปา้ หมายทง้ั เนื้อหา ทกั ษะกระบวนการ คุณลกั ษณะทีเ่ ป็นจุดเนน้ และท่เี ปน็ ปัจจบุ นั ตามบริบทของหอ้ งเรียน โรงเรยี นชุมชนกิจกรรมการเรยี นรู้ รวมถึงการวดั ประเมนิ (๔) จัดเตรยี มใบงาน บนั ทึกการเรียนรู้ สื่ออปุ กรณ์ ๒) การนาแผนการจัดการเรยี นร้ไู ปใช้ (๑) ครผู ้สู อนควรศกึ ษา และทาความเข้าใจก่อนนาแผนการจัดการเรยี นรู้ พร้อมกับการเตรยี ม สือ่ ใหพ้ ร้อม และครบตามคาบเวลาในแต่ละแผนไวก้ ่อนล่วงหนา้ กอ่ นนาไปใช้ (๒) ครูผูส้ อนควรนาแผนการจัดการเรียนรูอ้ อกมาเตรียม แล้ววางแผนการจดั กิจกรรมให้ เหมาะสมกับผู้เรียน หรือมีการปรับปรุงแผนการสอนหลังการสอนให้มีความทันสมัย ตอ่ ความเปลี่ยนแปลงอย่าง สมา่ เสมอ ปลูกฝังคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คา่ นยิ ม เจตคติ ทกุ แผนการจดั การเรยี นรู้ รวมท้งั วัดและประเมนิ ผล ทง้ั ทักษะกระบวนการเรยี นรู้ ตามศักยภาพของผเู้ รยี น และตามสภาพจริง ๓) การจัดสภาพแวดลอ้ มสง่ เสรมิ การเรียนรู้ (๑) จดั สภาพแวดล้อม หอ้ งเรียน หรือภายนอกห้องเรยี น ใหเ้ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ สะอาด มคี วามเป็น ระเบียบ ตกแต่งห้องเรียนให้นา่ อยู่ มีมุมต่าง ๆในหอ้ งเรยี น มีท่ีเก็บวัสดุอุปกรณ์ และง่ายตอ่ การนามาใช้ มีปา้ ย นิเทศให้ความรู้ ภายนอกห้องเรียนจัดบรรยากาศให้เป็นธรรมชาติน่าอยู่ ร่มรื่น และเหมาะกับกิจกรรม การเรียนรู้ ถกู สุขลักษณะ และปลอดภยั (๒) จัดสภาพแวดลอ้ ม หรอื หอ้ งใหผ้ เู้ รยี นได้ฝึกปฏบิ ัตกิ าร (๓) จัดสื่อ อปุ กรณ์ ทีเ่ กยี่ วกบั การเรียนรู้อย่างเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเคร่ืองมือแสวงหาความรู้ หรือ ช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับรู้ข้อมูล ขา่ วสารทีท่ นั สมัยปัจจุบันอยูเ่ สมอ ๔) การบนั ทึกหลงั การจัดการเรยี นการสอนของครู (๑) บันทึกการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นการสอนของตนเอง โดยสงั เกตพฤติกรรมผู้เรียนระหวา่ ง เรยี น และประเมนิ ตนเองใชเ้ ทคนคิ หรอื วิธกี ารใด ท่ที าใหผ้ ู้เรยี นมีสว่ นรว่ ม มีความรู้ มีทกั ษะ และคณุ ลักษณะ ตามจุดประสงค์ (๒) บนั ทกึ สาเหตขุ องความสาเรจ็ หรอื อปุ สรรคของการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้การศกึ ษา ทางไกลผ่านดาวเทียม เชน่ การบรหิ ารจดั การชน้ั เรียน พ้นื ฐานความรขู้ องผ้เู รียน เทคนิคการจดั การเรยี น การสอน การจดั บรรยากาศ สิ่งแวดล้อม เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นให้บรรลุตามเป้าหมายการเรยี นรู้ (๓) บันทึกข้อจากัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และแนวทางการปรับปรุง เพ่ือพัฒนาคุณภาพ ผเู้ รยี นได้อย่างต่อเนือ่ ง

รายวิชาประวัตศิ าสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖๘๕ คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน รหสั วชิ า ส๑๓๑๐๒ วิชาประวตั ิศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ศึกษาศักราชท่ีสาคัญตามปฏิทินท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน ลาดับความสาคัญของโรงเรียน และชุมชนโดย ระบุหลักฐาน และแหล่งข้อมูลที่เก่ียวข้อง ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการต้ังถิ่นฐาน และพัฒนาการของชุมชน ลักษณะท่ีสาคัญของขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน ความเหมือน และความต่างทาง วฒั นธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอน่ื ๆ พระนาม และพระราชกรณยี กจิ โดยสังเขปของพระมหากษัตรยิ ์ไทย ท่ีเป็นผู้สถาปนาอาณาจักรไทย พระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ในรัชกาลปัจจุบนั วรี กรรมของบรรพบรุ ุษไทยท่มี ีส่วนปกปอ้ งประเทศชาติ โดยวธิ ีสืบค้นเหตกุ ารณ์สาคัญของโรงเรียน และชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหลง่ ข้อมูลท่ีเกี่ยวขอ้ งการใช้ เส้นเวลา (Timeline) การเรียงลาดับเหตุการณ์สาคัญ การสารวจ การสังเกต การสอบถาม การอ่าน การฟัง การเล่าเร่ือง การสรุปความ เพ่ือฝึกทักษะพื้นฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเร่ืองราวรอบ ตวั อย่างง่าย ๆ โดยใชห้ ลกั ฐาน และแหล่งขอ้ มลู ท่ีเกี่ยวข้อง เพือ่ พัฒนาใหผ้ ู้เรียนเกิดความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะที่สาคัญ และเกิดการตระหนักเห็นคุณคา่ มศี รัทธา รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเปน็ ไทย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง ซ่อื สตั ยส์ ุจริต มวี นิ ยั รหสั ตัวชว้ี ดั ส ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ส ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๔.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ รวมทงั้ หมด ๘ ตัวชว้ี ัด

๖๘๖ คู่มือครแู ละแผนจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๓) มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั รหัสวชิ า ส๑๓๑๐๒ รายวชิ าประวัติศาสตร์ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ............................................................................ สาระท่ี ๔ ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ชวี้ ัด ป.๓/๑ เทียบศักราชท่สี าคัญตามปฏทิ นิ ทใี่ ช้ในชวี ติ ประจาวนั ป.๓/๒ แสดงลาดับเหตุการณ์สาคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐาน และแหล่งข้อมูล ทีเ่ กี่ยวข้อง มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์ และ การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญ และสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ตัวชว้ี ัด ป.๓/๑ ระบุปจั จัยท่ีมีอิทธพิ ลต่อการตง้ั ถ่นิ ฐาน และพฒั นาการของชุมชน ป.๓/๒ สรปุ ลักษณะท่สี าคญั ของขนบธรรมเนยี มประเพณี และวฒั นธรรมของชุมชน ป.๓/๓ เปรยี บเทียบความเหมอื น และความต่างทางวัฒนธรรมของชมุ ชนตนเองกบั ชุมชนอน่ื ๆ

รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖๘๗ โครงสรา้ งรายวชิ าประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส๑๓๑๐๒ รายวชิ าประวตั ิศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ หนว่ ย ช่อื หน่วย ภาคเรียนท่ี ๑ รวมเวลา ๒๐ ชั่วโมง ที่ การเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนัก เรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน ๑ นักเดนิ ทาง ส ๔.๑ : ป.๓/๑ - การเทียบศักราชตามปฏิทินที่ใช้ ๘ ๒๐ ชีวิตประจาวัน จะช่วยให้ลาดับ ข้ามกาลเวลา ป.๓/๒ เหตุการณ์หรือเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ี เกิดขน้ึ ไดถ้ ูกตอ้ ง - การสืบค้นและการรวบรวมข้อมูล จ า ก ห ลั ก ฐ า น แ ล ะ แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ท่ี เก่ียวข้องอย่างมีระบบขั้นตอน ชว่ ยให้ ส า ม า ร ถ ล า ดั บ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ส า คั ญ ที่ เ กิ ด ข้ึ น ใ น โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ชุ ม ชุ น ไ ด้ สอดคลอ้ งกบั ความเป็นจริง ใช้เส้นเวลา Time Line ลาดับเหตุการณ์ต่าง ๆ 2 ภูมิใจในภูมิ ส ๔.๒ : ป.๓/๑ - ปัจจัยทางภูมศิ าสตร์ และปจั จยั ทาง ๑๒ ๓๐ ถ่นิ ป.๓/๒ สังคมท่มี ีผลต่อการตงั้ ถ่นิ ฐาน และ ป.๓/๓ พัฒนาการของชมุ ชน เช่น การประกอบอาชีพ การดารงชีวติ ของ ผู้คน และการสรา้ งสรรค์ ขนบธรรมเนยี มประเพณี และ วัฒนธรรมของชุมชนไทย มรี ากฐาน มาจากสงั คมเกษตร และสภาพ ภูมศิ าสตร์ - ชุมชนไทยมลี ักษณะรว่ มทที่ าใหท้ ุก ภมู ิภาคมวี ฒั นธรรมเหมือนกนั แต่ ขณะเดียวกันก็มลี กั ษณะเฉพาะทท่ี า ใหช้ ุมชนของตนมวี ฒั นธรรมแตกต่าง จากชุมชนอื่น รวมตลอดภาคเรียน ๒๐ ๕๐

๖๘๘ ค่มู ือครแู ละแผนจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๓) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ นกั เดนิ ทางขา้ มกาลเวลา

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เร่ือง นกั เดนิ ทางขา้ มกาลเวลา ๖๘๙ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง ความหมายและที่มาของศักราช หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง นกั เดนิ ทางข้ามกาลเวลา เวลา 1 ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลา และยุคสมยั ทางประวัติศาสตรส์ ามารถใช้วิธกี าร ทางประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ ตัวชี้วดั ป.๓/๑ เทียบศกั ราชทสี่ าคัญตามปฏทิ ินท่ใี ช้ในชีวิตประจาวัน ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด พุทธศักราช หรือ พ.ศ. เป็นศักราชตามปฏิทินไทย คริสต์ศักราช หรือ ค.ศ. เป็นศักราชสากลที่ใช้กัน ท่ัวไปและ ิจเราะห์ หรือ .ศ. เป็นปฏิทินในหลักศาสนาอิสลาม เหตุการณ์สาคัญทางศาสนามักเป็นท่ีมาของ ศกั ราช ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - บอกความหมาย และทีม่ าของศักราชได้ ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ กระบวนการ (P) - การนาเสนอผลงาน และการทางานร่วมกับผู้อ่ืน 3.๓ ด้านคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) - ตระหนักถึงความสาคัญทีม่ าของศักราช ๔. สาระการเรียนรู้ - ความหมาย และทม่ี าของศกั ราช (พุทธศักราช คริสตศ์ กั ราช ิจเราะห์ศักราช) ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒. ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ๖. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้

๖๙๐ คู่มอื ครแู ละแผนจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๓) ลาดับที่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรชู้ ้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 1. แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง ความหมายและที่มาของศักราช รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ จานวน 1 ชั่วโมง จดุ ประสงค์ ข้นั ตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทีใ่ ช้ การเรียนรู้ กจิ กรรมครู กจิ กรรมนักเรียน ขัน้ นา 5 นาที 1. ครูนาปฏิทนิ 1. นกั เรยี นตอบคาถาม - ปฏทิ ิน - การสังเกต หลากหลายรปู แบบให้ รายบุคคล พฤติกรรม นกั เรยี นดู และซักถาม นกั เรยี นเพอ่ื ทบทวนความรู้ นกั เรยี น ในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี (แนวคาตอบ) - สิ่งท่คี รถู ือเรยี กว่าอะไร - ปฏทิ ิน - ในปฏิทนิ บอกข้อมูล - วนั /เดอื น/ปี พ.ศ. และ อะไรบา้ ง ค.ศ.วนั หยดุ ราชการ วนั สาคญั ตา่ ง ๆ - ทราบหรือไม่ พ.ศ. ย่อมา - พ.ศ. ยอ่ มาจาก จากอะไร พทุ ธศกั ราช

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง นกั เดนิ ทางขา้ มกาลเวลา ๖๙๑ ลาดับที่ จุดประสงค์ ขัน้ ตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรยี นรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรมครู กจิ กรรมนกั เรียน - ปฏิทินมปี ระโยชน์อย่างไร - ทาให้ร้เู วลาของวัน (การตอบคาถามครจู ะให้ เดือน และปี และ นกั เรียนยกมอื ) เรยี งลาดบั เหตุการณ์ที่ 2. ครใู ห้นกั เรียนสังเกตปีที่ เกิดข้ึนกอ่ นและหลงั ได้ ปรากฏในปฏิทนิ และถาม 2. นักเรียนตอบคาถาม นกั เรียนวา่ ปีนีค้ อื ปี พ.ศ. (แนวคาตอบ) หรือพุทธศักราชอะไร - พทุ ธศักราช................... (ตามทีป่ รากฏในปฏิทนิ ) 2. 1. บอกความหมาย ข้นั สอน ๒๐ 1. ครูแบ่งนักเรียนเปน็ คู่ 1. นกั เรยี นจบั คเู่ พอ่ื และทมี่ าของศกั ราชได้ นาที โดยใช้เทคนิคThink pair ชว่ ยกนั แบง่ ปันความคิด Share 2. ครแู จกใบความรู้ที่ 1 2. นกั เรยี นศึกษาใบ - ใบความรทู้ ่ี 1 - การประเมิน เรือ่ ง ความหมาย และท่ีมา ความรู้ที่ 1 เรอื่ ง เร่อื ง ความหมาย - การสงั เกต ของศกั ราช ความหมายและท่ีมาของ และท่มี าของ พฤตกิ รรม ศกั ราช ศกั ราช 3. ครตู ้งั คาถามให้นกั เรยี น 3. นกั เรยี นจบั ครู่ ว่ มกนั - คาถาม - การประเมิน ร่วมกนั อภปิ รายหาคาตอบ อภิปรายหาคาตอบ การตอบคาถาม ดังต่อไปน้ี

๖๙๒ คมู่ อื ครแู ละแผนจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๓) ลาดบั ท่ี จุดประสงค์ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ การเรียนรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมนักเรียน 2. การทางานร่วมกับ (แนวคาตอบ) - ปฏทิ นิ ผอู้ น่ื - ศกั ราชตามปฏิทินทีใ่ ช้ใน - พทุ ธศักราช, ชวี ิตประจาวนั ของคนไทยมี ครสิ ต์ศกั ราช อะไรบา้ ง - นักเรียนดตู ัวเลขศกั ราช - ๒๕๖๓ บนปฏทิ ินเปน็ เลขอะไร - ๒๕๖๓ เปน็ เลขท่ีบอกอะไร - พทุ ธศกั ราช บนปฏทิ ิน - ๒๐๒๐ เป็นเลขที่บอกอะไร - คริสต์ศกั ราช - ศกั ราชที่ปรากฏในปฏทิ ิน - ท่ีมาของศักราชมักมา แต่ละศักราชมีท่ีมาอย่างไร จากเหตกุ ารณ์สาคัญทาง ศาสนา พุทธศกั ราช มา จากศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าที่ดับขนั ธ์ ปรนิ พิ พานนับเป็น พ.ศ.ท่ี 1 คริสต์ศกั ราช มาจาก ศาสนาคริสต์ พระเยซู ประสตู ินับเป็น ค.ศ.ท่ี 1 ฮิจเราะหศ์ กั ราช มาจาก ศาสนาอิสลาม นบมี ฮู ัม หมัดอพยพจากเมือง เมกกะไปยังเมอื งเมดนี า

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เร่อื ง นักเดินทางข้ามกาลเวลา ๖๙๓ ลาดับที่ จดุ ประสงค์ ขัน้ ตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ การเรยี นรู้ กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรยี น - เพราะเหตุใดปฏทิ นิ - เพราะคนไทยส่วนใหญ่ - คาถาม - การประเมิน ประเทศไทยจงึ นิยมนับปี นบั ถอื พระพุทธศาสนา การตอบคาถาม แบบพทุ ธศักราช 3. ตระหนักถึง - “ศกั ราช” มคี วามสาคญั - ศกั ราชหรอื คาบอกปที า ความสาคัญทมี่ าของ อยา่ งไร ให้รูว้ า่ เรือ่ งราวนน้ั เกดิ ข้นึ ศกั ราช เม่ือไร ชว่ งเวลาใดและ - นกั เรยี นคิดวา่ ทีม่ าของ ลาดับเหตกุ ารณ์นน้ั ๆ ได้ ศักราชมคี วามสาคญั - มีความสาคัญเพราะมี หรอื ไม่ อยา่ งไร ทีม่ าแตกตา่ งกนั เปน็ การบอกปที างศาสนา เชน่ พุทธศักราช คริสต์ศักราช ฮิจเราะหศ์ ักราช จะทาให้ทราบช่วงเวลา สามารถลาดับเหตกุ ารณ์ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

๖๙๔ คมู่ อื ครแู ละแผนจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๓) ลาดับท่ี จุดประสงค์ ขั้นตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ การเรยี นรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมนักเรยี น 3. 4. บอกความหมาย ขั้นปฏบิ ตั ิ 15 ครใู หน้ ักเรียนสรุปองค์ นกั เรยี นสรปุ ทม่ี าของ - แผนผงั - การประเมนิ และทมี่ าของศกั ราชได้ นาที ความรูจ้ ากการศึกษา ใบ ศักราชในรูปแบบแผนผัง ความคิด เร่ือง สังเกตพฤตกิ รรม 5. การทางานร่วมกับ ความรู้ที่ 1 เร่ือง ความคิด ที่มาของศกั ราช - การตรวจ ผู้อ่ืน ความหมายและทีม่ าของ แผนผังความคดิ ศักราช และทาแผนผงั ความคิด ท่ีมาของศักราชทั้ง 3 ศกั ราช ไดแ้ กพ่ ทุ ธศกั ราช คริสตศ์ ักราช และ ฮิจเราะห์ศกั ราช 4. 6. การนาเสนอผลงาน ขน้ั สรุป 10 1. ครสู ่มุ ให้นกั เรียน 1. นกั เรยี นนาเสนอ - แผนผัง - การประเมิน และการทางานรว่ มกับ นาที ออกมานาเสนอผลงานหน้า ผลงานหนา้ ชน้ั เรียน ความคิด เร่อื ง สังเกตพฤตกิ รรม ผูอ้ ื่น(P) ชน้ั เรยี น 2 คู่ 2. นกั เรยี นรว่ มกนั ท่ีมาของศกั ราช - การตรวจ 2. ครูและนักเรยี นรว่ มกัน ตรวจสอบความถกู ต้อง แผนผังความคดิ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของ ของผลงาน ผลงานที่นาเสนอ 3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกัน 3. นักเรยี นรว่ มกันสรปุ สรปุ ท่ีมาของศกั ราช ที่มาของศกั ราช (เหตกุ ารณส์ าคัญทาง ศาสนามักเปน็ ทม่ี าของ ศกั ราช)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง นกั เดนิ ทางข้ามกาลเวลา ๖๙๕ ลาดบั ท่ี จดุ ประสงค์ ขัน้ ตอนการ เวลา แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ จดั ทใ่ี ช้ การเรียนรู้ การเรยี นรู้ กิจกรรมครู กิจกรรมนกั เรียน 4. ครูให้นักเรยี นทบทวน 4. นกั เรยี นดแู ผนผัง - แผนผงั ความสาคัญ ( Keyword ) ความคิด ทมี่ าของศกั ราช ความคดิ ทม่ี า ที่มาของศักราชในรูปแบบ ของศักราช แผนผงั ความคดิ เพื่อง่ายใน การจดจาดังน้ี คริสต์ - เกดิ พทุ ธ - ตาย ฮจิ เราะห์ - ย้าย

๖๙๖ ค่มู อื ครแู ละแผนจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ศิ าสตร์ ป.๓) 8. สอื่ การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้ 1. ปฏิทิน 2. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมาย และท่มี าของศักราช 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชน้ิ งานหรือภาระงาน - แผนผงั ความคิด เร่ืองท่ีมาของศกั ราช การวดั และประเมนิ ผล ประเดน็ การวดั และ วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ประเมนิ ผล ๑.ประเมนิ การตอบคาถาม ๑. คาถาม ผ่านเกณฑ์ ความรู้ ๒.ตรวจแผนผังความคิด ๒. แผนผังความคิด เร่ือง การประเมนิ รอ้ ยละ ๖0 เรอ่ื งทีม่ าของศกั ราช ที่มาของศกั ราช ทักษะ กระบวนการ - ประเมนิ การนาเสนอและ - แบบประเมินการนาเสนอ ผา่ นเกณฑ์ การทางานรว่ มกับผ้อู น่ื และการทางานร่วมกับ การประเมินร้อยละ ๖0 ผ้อู ่นื คุณลกั ษณะ เจตคติ - การประเมินการสังเกต - แบบประเมินการสงั เกต ผา่ นเกณฑ์ พฤตกิ รรมนกั เรียน พฤติกรรมนกั เรยี น การประเมนิ ร้อยละ ๖0 รายบุคคล รายบุคคล คุณลักษณะ - ประเมนิ มีวินยั - แบบประเมินคุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ประเมิน อนั พงึ ประสงค์ รับผดิ ชอบใฝเ่ รยี นรู้ และ อนั พงึ ประสงค์ ระดับคุณภาพผ่านขึ้นไป มุ่งมัน่ ในการทางาน สมรรถนะสาคญั - ประเมนิ ความสามารถ - แบบประเมนิ สมรรถนะ ผา่ นเกณฑป์ ระเมิน ของผ้เู รียน ในการส่ือสารความสามารถ สาคญั ของผูเ้ รยี น ระดับคณุ ภาพผ่านข้นึ ไป ในการคดิ และความสามารถ ในการใชท้ กั ษะชวี ติ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอื่ ง นักเดนิ ทางขา้ มกาลเวลา ๖๙๗ ๑๐. บนั ทึกผลหลงั การสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................ผ้สู อน (..................................................) วนั ที.่ .........เดอื น........................พ.ศ.................... ๑๑. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรอื ผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื .................................................ผตู้ รวจ (..................................................) วันที่..........เดือน............................พ.ศ....................

๖๙๘ คมู่ อื ครูและแผนจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๓) ใบความรทู้ ่ี 1 เรื่อง ความหมายและทม่ี าของศักราช หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง นักเดินทางขา้ มกาลเวลา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งความหมายและทม่ี าของศกั ราช รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ รหสั ส13102 ภาคเรียนที่ 1 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ศกั ราช (สกั -กะ-หฺราด) หมายถึง อายเุ วลาซง่ึ กาหนดตงั้ ขึน้ เปน็ ทางการ เร่มิ แต่จุดใดจดุ หนึง่ ซึ่งถือวา่ เป็นท่ีหมายเหตุการณ์สาคัญ เรียงลาดบั กันเปน็ ปี ๆ ไป เช่น พทุ ธศักราช ๑ พทุ ธศักราชที่ ๒ ..... ครสิ ตศ์ กั ราช ๑ ครสิ ต์ศักราช ๒ ....... พุทธศักราช เป็นศักราชที่เร่ิมนับเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ในประเทศไทยเริ่มนับเม่ือปรินิพพานแล้ว ๑ ปี ถ้า ประเทศไทยเปน็ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ส่วนในประเทศอ่ืน ๆ จะเป็นปี พ.ศ. ๒๕๖๔ เช่น ประเทศพม่า นอกจากน้ี ยังมีคาว่า \"พุทธกาล\" และ \"พุทธสมัย\" ใช้กล่าวถึงช่วงเวลาที่พระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่ คือ ช่วงเวลา ๘๐ ปีก่อนพุทธศักราช แต่บางทีก็ใช้คาเหล่านี้หมายถึง ช่วงเวลาท่ีเช่ือว่า พุทธศาสนาจะดารงอยู่ หลังการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ฉะนั้น จึงมีการใช้ x ปีก่อนพุทธกาล เพื่อหมายถึง x ปีก่อนพุทธศักราช เป็นต้นไป ครสิ ต์ศกั ราช ปีของพระเยซคู รสิ ต์ โดยเริ่มนบั จากปีทเี่ ชือ่ ว่าพระเยซทู รงประสตู ิ เป็น ค.ศ. ๑ ซ่ึงตรงกบั ปี พุทธศักราช ๕๔๔ และมีระยะเวลาหา่ งจากพุทธศกั ราช ๕๔๓ ปี ใชว้ นั ท่ี ๑ มกราคม ของทกุ ปเี ป็นวัน เปลี่ยนศักราช และเปน็ ปที ใี่ ชอ้ า้ งองิ สากล นอกจากน้ียังมกี ารใช้ กอ่ นครสิ ตกาล ในการกลา่ วถงึ ชว่ งเวลากอ่ นทพ่ี ระเยซทู รงประสูติ หรือมา รบั สภาพมนษุ ย์ จึงมกี ารใช้คาวา่ x ปกี อ่ นคริสตกาล ซง่ึ มคี วามหมายเหมือนกบั x ปกี อ่ นครสิ ต์ศักราช ฮจิ เราะหศ์ ักราช เป็นระบบปฏิทนิ จันทรคติ ซ่งึ ประกอบดว้ ย ๑๒ เดือนทางจนั ทรคติ ซงึ่ ในหนึ่งปีจะมี ๓๕๔ หรือ ๓๕๕ วัน ใช้กาหนดวันเหตุการณใ์ นหลายประเทศมุสลิม ใชโ้ ดยมสุ ลมิ ทั่วโลกเพือ่ กาหนดวันทเี่ หมาะสมในการ เฉลิมฉลองวันสาคญั และเทศกาลในศาสนาอสิ ลาม ปฏิทนิ ฮจิ เราะหเ์ รมิ่ นับเม่ือศาสดาแหง่ อสิ ลาม นบีมุฮมั มดั อพยพจากมกั กะฮ์ไปยงั มะดนี ะฮ์ ที่มา : ความรเู้ ร่อื งศกั ราชที่ใชใ้ นหนงั สือไทย จากเว็บไซตข์ องสานกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรอ่ื ง นกั เดินทางข้ามกาลเวลา ๖๙๙ ใบงานท่ี 1 เรอื่ ง ท่มี าของศกั ราช หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง นักเดินทางขา้ มกาลเวลา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่อื งความหมายและทมี่ าของศกั ราช รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ รหสั ส13102 ภาคเรียนที่ 1 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนสรุป ที่มาของศกั ราชทัง้ 3 ศกั ราช ได้แกพ่ ทุ ธศักราช ครสิ ต์ศกั ราช และ ฮจิ เราะห์ศกั ราช ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ....... ทมี่ าของศกั ราช ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ...................................................... ...................................................... ชอ่ื ..................................................นามสกลุ ...........................................เลขที.่ ......................

๗๐๐ คู่มอื ครูและแผนจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๓) เฉลยใบงานท่ี 1 เร่ือง ที่มาของศักราช หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง นกั เดินทางขา้ มกาลเวลา แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ งความหมายและทมี่ าของศกั ราช รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ รหสั ส13102 ภาคเรียนที่ 1 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนสรปุ ท่มี าของศักราชทง้ั 3 ศกั ราช ได้แกพ่ ทุ ธศกั ราช คริสตศ์ ักราช และ ฮิจเราะห์ศกั ราช ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ....... ท่มี าของศักราช ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ...................................................... ...................................................... ช่อื ..................................................นามสกุล...........................................เลขที่....................... พิจารณาคาตอบของนักเรยี น โดยให้อยใู่ นดลุ พนิ จิ ของครผู สู้ อน

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เร่ือง นกั เดินทางข้ามกาลเวลา ๗๐๑ เกณฑก์ ารประเมินผลชน้ิ งานหรือภาระงาน แผนผงั ความคดิ เรื่องที่มาของศกั ราช ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน 1. เนื้อหา 4 (ดมี าก) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรงุ ) มเี นอ้ื หาตรง 2. รปู แบบ มีเนอ้ื หาตรงตามหัวขอ้ มีเนื้อหาตรงตาม มเี นือ้ หาตรงตาม ตามหัวข้อ ถกู ตอ้ ง 3. ความสะอาด ถูกตอ้ ง ชดั เจน ครบถ้วน หวั ข้อ ถกู ตอ้ ง หัวข้อ ถูกต้อง บางสว่ น สวยงาม ออกแบบ สมบรู ณ์ ชัดเจน แตไ่ ม่ แผนผงั 4. ความ ความคดิ ได้ รับผดิ ชอบ ครบถ้วน ผลงานขาด ออกแบบแผนผัง ออกแบบแผนผัง ออกแบบแผนผงั ความเปน็ ระเบียบ ความคิดไดน้ า่ สนใจ ความคดิ ได้น่าสนใจ ความคิดได้นา่ สนใจ สะอาด สวยงาม สวยงาม เปน็ ระเบยี บ สวยงาม เปน็ ผลงานไม่ มาก ระเบยี บ สาเรจ็ ตาม ผลงานสาเรจ็ เป็น ผลงานสาเร็จ เป็น ผลงานสาเร็จ เป็น เวลาทีก่ าหนด ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด ระเบยี บ สวยงาม ผลงานสาเร็จ สมบรู ณ์ ผลงานสาเร็จ ผลงานสาเรจ็ กอ่ นเวลาทกี่ าหนด สมบรู ณ์ ตามเวลาท่ี สมบูรณ์ เกินเวลาท่ี กาหนด กาหนด เกณฑก์ ารตดั สิน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมนิ ดีมาก นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใช้ข้ึนไป ถอื ว่า ผา่ น ช่วงคะแนน ดี 14-16 พอใช้ 11-13 ปรับปรงุ 8-10 1-7

๗๐๒ คมู่ ือครแู ละแผนจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๓) แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบุคคล ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรวู้ ันที่.......................เดือน.............................................พ.ศ............................. เกณฑก์ ารให้คะแนน ลาดบั ชอ่ื – สกลุ ความ ความ การตอบ มีส่วน รวม ระดบั ที่ ตงั้ ใจใน สนใจ คาถาม รว่ มใน (16) คุณภาพ การเรยี น และการ (4) กิจกรรม ซักถาม (4) (4) (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชอ่ื ................................................................ผ้ปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมินในการสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ ดงั น้ี ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมิน 14-16 ดมี าก นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใชข้ ึน้ ไป ถือวา่ ผ่าน 11-13 ดี 8-10 พอใช้ 1-7 ปรบั ปรุง

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรื่อง นักเดินทางขา้ มกาลเวลา ๗๐๓ เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบุคคล (Rubric) ประเดน็ การประเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดี (3) พอใช้ (2) ดมี าก (4) ต้องปรบั ปรุง (1) 1. ความตงั้ ใจในการ สนใจในการเรยี น สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น ไม่สนใจในการเรียน เรียน ไม่คุยหรือเล่นกัน คยุ กันเล็กนอ้ ย คุยกนั และเล่นกนั คุย และเลน่ กัน ในขณะเรยี น ในขณะเรียน ในขณะเรยี นเปน็ ในขณะเรียน 2. ความสนใจและ บางครงั้ การซักถาม มกี ารถามในหวั ข้อ มกี ารถามในหวั ข้อ ไม่ถามในหวั ขอ้ ที่ ทตี่ นไมเ่ ข้าใจทกุ ทต่ี นไม่เข้าใจเป็น มีการถามในหวั ข้อ ตนไมเ่ ขา้ ใจและ 3. การตอบคาถาม เรื่อง และกลา้ สว่ นมาก และกลา้ ทีต่ นไมเ่ ข้าใจเปน็ ไมก่ ลา้ แสดงออก แสดงออก แสดงออก บางคร้งั และไม่ค่อย 4. มสี ว่ นร่วมใน ร่วมตอบคาถามใน ร่วมตอบคาถามใน กลา้ แสดงออก ไม่ตอบคาถาม กจิ กรรม เรอ่ื งท่คี รถู าม และ เรือ่ งที่ครถู าม และ ตอบคาถามถกู ทุก ตอบคาถาม ร่วมตอบคาถามใน ไมม่ คี วามร่วมมอื ข้อ สว่ นมากถกู เรื่องท่ีครูถามเป็น ในขณะทา บางคร้งั และตอบ กจิ กรรม ร่วมมือ และ รว่ มมือและ คาถามถูกเปน็ ชว่ ยเหลือเพ่ือนใน ชว่ ยเหลอื เพ่ือนเปน็ บางคร้ัง การทากจิ กรรม สว่ นใหญใ่ นการทา กจิ กรรม รว่ มมือและ ชว่ ยเหลอื เพือ่ นใน การทากิจกรรมเป็น บางครั้ง

๗๐๔ คูม่ ือครแู ละแผนจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๓) แบบประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรวู้ ันท่ี....................เดอื น.............................................พ.ศ................................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ลาดบั ชื่อกลุ่ม การ การ การ พฤตกิ รรม รวม ระดบั ท่ี ปฏสิ มั พนั ธ์ สนทนา ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร การทางาน (16) คณุ ภาพ เรอ่ื ง กัน ทก่ี าหนด (4) กลุ่ม (4) (4) (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชอื่ ................................................................ผู้ประเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมินในการสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ ดงั น้ี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมนิ 14-16 ดีมาก นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใชข้ ึน้ ไป ถือวา่ ผ่าน 11-13 ดี 8-10 พอใช้ 1-7 ปรับปรุง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง นักเดินทางขา้ มกาลเวลา ๗๐๕ เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียนรายกลุ่ม (Rubric) ประเดน็ การ ดีมาก (4) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ต้องปรับปรงุ (1) ประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) 1. การปฏสิ ัมพนั ธ์ รว่ มมอื และช่วยเหลอื รว่ มมอื และ รว่ มมือ และ ไมใ่ หค้ วามร่วมมือ กนั เพ่ือนในการทา ชว่ ยเหลือเพือ่ นเป็น ชว่ ยเหลือเพอื่ นใน ในขณะทา กจิ กรรม ส่วนใหญใ่ นการทา การทากจิ กรรมเป็น กิจกรรม กจิ กรรม บางครงั้ 2. การสนทนาเรอื่ ง สนทนาตรงประเด็น สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาไมต่ รง ที่กาหนด ครอบคลุมเนอื้ หา ครอบคลมุ เนือ้ หา ประเดน็ บางสว่ น 3. การติดตอ่ ส่ือสาร มกี ารปรึกษาครู และ มกี ารปรึกษาครู และ มีการปรึกษาครู และ ไม่มกี ารปรึกษาครู เพือ่ นกลมุ่ อื่น ๆ เพอ่ื นกล่มุ อนื่ ๆ เป็น เพ่ือนกลมุ่ อน่ื ๆ เป็น และเพื่อนกลุ่มอ่ืน ๆ ส่วนใหญ่ บางครั้ง 4. พฤติกรรม มกี ารวางแผนอยา่ ง มกี ารวางแผนอยา่ ง มีการวางแผนอย่าง ไมม่ กี ารวางแผน การทางาน เป็นระบบ และแบ่ง เปน็ ระบบ และแบ่ง เปน็ ระบบ และแบง่ อย่างเป็นระบบ หนา้ ท่ีของสมาชิก หน้าที่ของสมาชกิ หน้าทขี่ องสมาชิก และไมม่ ีการแบ่ง ในกลุม่ ในกลุม่ เป็นส่วน ในกลมุ่ เปน็ บางครั้ง หนา้ ทขี่ องสมาชกิ ใหญ่ ในกลุ่ม

๗๐๖ คู่มือครแู ละแผนจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๓) แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คาชแ้ี จง ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนใน ระหว่างเรียน และนอกเวลาเรียนแลว้ ขีด ✓ ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. มีวินัย ๑.1 ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครวั และ รบั ผิดชอบ โรงเรยี น มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ งๆ ในชวี ิตประจาวัน ๒. ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามรบั ผิดชอบ 2.1 ตัง้ ใจเรียน 3. มงุ่ ม่นั ใน 2.2 เอาใจใส่ในการเรียน และมคี วามเพียรพยายามในการเรียน การทางาน 2.3 เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ 2.4 ศึกษาคน้ คว้า หาความรจู้ ากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี ต่างๆแหลง่ การเรยี นรู้ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน และเลอื กใชส้ ่ือได้ อยา่ งเหมาะสม 2.5 บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางสิง่ ท่เี รยี นรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ 2.6 แลกเปล่ียนความรู้ ด้วยวิธกี ารตา่ งๆ และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน 3.1 มคี วามต้ังใจและพยายามในการทางานท่ีได้รับมอบหมาย 3.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ อ่ อปุ สรรคเพื่อใหง้ านสาเรจ็ ลงช่อื ................................................................ผปู้ ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมา่ เสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ๑ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคด์ งั น้ี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน 22-27 ดีเย่ยี ม นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คณุ ภาพผ่านข้นึ ไป ถือว่า ผ่าน 15-21 ดี 8-14 ผา่ น 1-7 ไมผ่ า่ น

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง นักเดินทางข้ามกาลเวลา ๗๐๗ แบบประเมินสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คาชแี้ จง ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการประเมิน พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑.ความสามารถ ๑.1 มีความสามรถในการรบั – ส่งสาร ในการสื่อสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ ของตนเอง โดยใชภ้ าษาอยา่ ง เหมาะสม 2. ความสามารถ 2.1 มีทกั ษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ งสร้างสรรค์ ในการคดิ 2.2 มคี วามสามารถในการคดิ อย่างมีระบบ 3. ความสามารถ 3.1 สามารถทางานกลุ่มรว่ มกับผ้อู น่ื ได้ ในการใชท้ กั ษะ 3.2 นาความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั ชีวติ ลงชื่อ................................................................ผูป้ ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้ ๑ คะแนน หมายถงึ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑก์ ารให้คะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี นดงั น้ี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรปุ ผลการประเมิน 16-18 ดีเยยี่ ม นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คณุ ภาพผ่านขน้ึ ไป ถอื ว่า ผ่าน 13-15 ดี 10-12 ผ่าน 1-9 ไมผ่ ่าน

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เรือ่ ง นักเดินทางขา้ มกาลเวลา ๗๐๗ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง การเทยี บศักราช หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง นกั เดินทางขา้ มกาลเวลา เวลา 1 ชวั่ โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์สามารถใช้วิธกี าร ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ ตัวช้วี ดั ป.๓/๑ เทียบศักราชทส่ี าคัญตามปฏทิ ินท่ใี ชใ้ นชวี ิตประจาวัน ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การใช้ศักราชที่แตกตา่ งกันอาจทาใหเ้ กิดความสับสน การเทียบศักราชให้เปน็ แบบเดียวกนั จะชว่ ยให้ สามารถศึกษา เรื่องราวประวัติศาสตร์ไดเ้ ข้าใจมากขึ้น การลาดับเหตกุ ารณ์ที่เกิดขึ้นได้ชัดเจน ตลอดจนทาให้ ทราบถึงชว่ งศักราช หรอื ชว่ งเวลาเดียวกนั ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - บอกวิธกี ารเทยี บศกั ราชแบบตา่ ง ๆ ได้ถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะ กระบวนการ (P) - ฝกึ การเทียบศักราชได้ถูกตอ้ ง 3.3 ด้านคุณลักษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) - ตระหนกั และเหน็ ความสาคัญของการเทยี บศกั ราช ๔. สาระการเรียนรู้ - การเทยี บศกั ราช (พทุ ธศกั ราชครสิ ต์ศักราชและฮิจเราะห์ศกั ราช) ๕. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๖. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ มัน่ ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้

๗๐๘ ค่มู ือครแู ละแผนจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๓) การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เร่อื ง การเทยี บศักราช รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ จานวน 1 ชว่ั โมง ลาดับ จดุ ประสงค์ ข้นั ตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ การเรยี นรู้ กจิ กรรมครู กจิ กรรมนกั เรียน 1. ข้ันนา 5 1. ครูทบทวนความสาคญั 1. นกั เรยี นดแู ผนผังความคดิ - แผนผงั ความคิด นาที ( Keyword ) ทม่ี าของศักราช ทม่ี าของศกั ราช ในรูปแบบแผนผงั ความคดิ ให้ นกั เรยี น ดงั นี้ ครสิ ต์ - เกดิ พทุ ธ - ตาย ฮจิ เราะห์ – ย้าย 2. ครูตั้งคาถามดังน้ี 2. นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบ - การบอกวนั เดอื น ปี แตไ่ ม่ - (แนวคาตอบ) หากไมร่ ะบุปี ระบุปีทเ่ี ป็นศกั ราชทช่ี ัดเจน ทาให้เกดิ ความเขา้ ใจ (พ.ศ. ค.ศ. หรอื ฮ.ศ.)จะทาให้ คลาดเคลอื่ นเกยี่ วกับชว่ งเวลา เกดิ ผลเสียอย่างไร ของเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ และไม่ สามารถลาดับเหตุการณต์ า่ ง ๆ ได้ถกู ตอ้ ง

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรอื่ ง นักเดนิ ทางข้ามกาลเวลา ๗๐๙ ลาดบั จดุ ประสงค์ ขัน้ ตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ ท่ี การเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ การเรียนรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมนกั เรียน 2. ขั้นสอน 20 1. ครูให้นกั เรยี นแสดงบทบาท 1. นกั เรยี นแสดงบทบาท - การแสดง - การสงั เกต นาที สมมตุ ิจาลองสถานการณก์ าร สมมุติ จาลองสถานการณก์ าร บทบาทสมมตุ ิ เทยี บศักราชในชีวิตประจา เทียบศกั ราชในชีวิตประจา - แบบสังเกต “ หากเราไมม่ คี วามรใู้ นการ เทยี บศักราชจะเปน็ อย่างไร” 2. ครูแบง่ นกั เรียนเปน็ คู่ 2. นกั เรยี นจบั คเู่ พอ่ื ชว่ ยกนั โดยใชเ้ ทคนิคThink pair แบ่งปนั ความคิด Share 1. บอกวธิ ีการ 3. ครูแจกใบความรเู้ รอื่ ง 3. นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ - ใบความรเู้ รอ่ื ง - การประเมนิ เทียบศกั ราชแบบ ศกั ราชเทียบอยา่ งไร เร่ือง ศักราชเทียบอยา่ งไร ศักราชเทียบ ตา่ ง ๆ ไดถ้ กู ต้อง 4. ครูให้แตล่ ะคูร่ ่วมกันอธบิ าย 4. นกั เรยี นรว่ มกนั อธิบาย อยา่ งไร ความร้ตู ามทศี่ กึ ษา และ ความรแู้ ละซกั ถามข้อสงสัย - แบบประเมิน ซกั ถามขอ้ สงสยั จนคู่ของ ภายในคขู่ องตนเอง ตนเองมคี วามรู้ความเข้าใจ ตรงกัน จากนัน้ รว่ มกันสรปุ วธิ กี ารเทียบศักราช ดงั น้ี

๗๑๐ คมู่ ือครูและแผนจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๓) ลาดบั จุดประสงค์ ขัน้ ตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมิน ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ การเรยี นรู้ 2. บอกวธิ ีการ กจิ กรรมครู กจิ กรรมนกั เรียน - การประเมิน เทียบศกั ราชแบบ ต่าง ๆ ได้ถูกต้อง -การเทียบปีพุทธศักราชเป็นปี คริสตศ์ ักราชใหล้ บดว้ ย๕๔๓ -การเทียบปีครสิ ต์ศักราชเป็น ปีพทุ ธศกั ราชใหบ้ วกดว้ ย๕๔๓ - การเทยี บปีพทุ ธศกั ราชเป็นปี ฮจิ เราะหศ์ ักราชใหล้ บด้วย ๑๑๖๔ - การเทียบปีฮจิ เราะหศ์ ักราช เป็นปพี ทุ ธศักราชให้บวกดว้ ย ๑๑๖๔ 5. ครูต้ังคาถาม ให้นักเรียน 5. นกั เรยี นจบั ครู่ ว่ มกนั - คาถาม รว่ มกนั อภิปรายหาคาตอบ อภิปรายหาคาตอบ ดงั ตอ่ ไปนี้ - ถา้ ตอ้ งการเปล่ียนปี (แนวคาตอบ) พุทธศกั ราชเป็นปคี รสิ ต์ศักราช - นาปพี ุทธศักราชลบดว้ ย ตอ้ งทาอยา่ งไร 543 จะได้เปน็ ปคี ริสต์ศักราช

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง นักเดนิ ทางขา้ มกาลเวลา ๗๑๑ ลาดบั จุดประสงค์ ขั้นตอนการจดั เวลา แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ การเรยี นรู้ 3. ตระหนกั และ กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรยี น - การประเมนิ เหน็ ความสาคญั ของการเทียบ - การเทียบศักราชได้อย่าง - จะทาใหส้ ามารถทราบ - คาถาม - การตรวจใบ ศักราชได้ งาน 3. 4. ฝึกการเทียบ ถูกต้อง มผี ลดีตอ่ การเรยี นวชิ า ช่วงเวลาของเหตุการณ์สาคญั - การประเมิน ศักราชได้ถูกต้อง - การสงั เกต ประวตั ศิ าสตร์อย่างไร ต่าง ๆ สามารถลาดับเหตกุ ารณ์ ตา่ ง ๆได้อย่างถูกต้อง ข้ันปฏิบตั ิ 15 ครใู ห้นกั เรยี นสรปุ องค์ความรู้ นกั เรยี นทาใบงานเร่ือง - ใบงานท่ี 2 นาที จากการศึกษาใบความรเู้ ร่ือง การเทียบศักราช เปน็ รายคู่ เร่ือง การเทียบ ศักราชเทียบอย่างไร และทา ศกั ราช ใบงานเร่ือง การเทียบศักราช - แบบประเมิน - แบบสังเกต 4. ขั้นสรปุ ๑๐ ๑ ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลย 1. นกั เรยี นร่วมกนั เฉลย - ใบงานที่ 2 เรอื่ ง - การตรวจใบ นาที คาตอบในใบงานเร่ือง การเทียบ คาตอบรว่ มกบั คู่ตัวเอง การเทยี บศกั ราช งาน ศกั ราช โดยให้นักเรียนแต่ละคู่ ตรวจสอบความถกู ต้องและ - แผนผัง ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกต้อง แกไ้ ขขอ้ ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง ความคดิ เรื่อง 2 ครสู รปุ รว่ มกบั นักเรยี นโดย 2. นกั เรยี นรว่ มสรปุ หลักเกณฑ์ ใช้แผนผงั ความคดิ เร่อื ง หลกั เกณฑ์การเทียบศักราช การเทยี บศกั ราช หลักเกณฑ์การเทียบศักราช กบั ครู

๗๑๒ คู่มอื ครแู ละแผนจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๓) 8. ส่อื การเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้ 1. แผนผงั ความคิด เรอื่ ง ทมี่ าของศักราช 2. การแสดงบทบาทสมมุติ จาลองสถานการณก์ ารเทยี บศกั ราชในชวี ติ ประจา 3. ใบความรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง ศักราชเทยี บอยา่ งไร 4. แผนผังความคดิ เร่อื งหลักเกณฑก์ ารเทียบศกั ราช 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน - ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง การเทยี บศักราช การวดั และประเมินผล ประเดน็ การวดั วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน และประเมนิ ผล ความรู้ - ตรวจใบงาน เร่อื ง - ใบงานที่ 2 เรื่อง การ ผ่านเกณฑ์ การเทียบศกั ราช เทียบศักราช การประเมินรอ้ ยละ ๖0 ทกั ษะ - การประเมิน - แบบประเมนิ กระบวนการ - ตรวจใบงาน เรอื่ ง - ใบงานที่ 2 เร่ือง การ ผ่านเกณฑ์ การเทยี บศักราช เทยี บศกั ราช การประเมินรอ้ ยละ ๖0 - การประเมิน - แบบประเมนิ - การสังเกต - แบบสงั เกต คุณลกั ษณะ - การประเมนิ - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ เจตคติ การประเมินรอ้ ยละ ๖0 คุณลักษณะ - ประเมินมีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ อันพึงประสงค์ และมุ่งม่นั ในการทางาน อันพึงประสงค์ ประเมนิ ระดบั คุณภาพผา่ นข้ึนไป สมรรถนะสาคญั - ประเมินความสามารถ - แบบประเมนิ สมรรถนะ ผ่านเกณฑ์ ของผเู้ รียน ในการสอ่ื สาร ความสามารถ สาคญั ของผ้เู รยี น ประเมินระดับคุณภาพผ่านข้ึนไป ในการคิดความสามารถ ในการแก้ปัญหา

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง นกั เดนิ ทางขา้ มกาลเวลา ๗๑๓ ๑๐. บนั ทึกผลหลงั การสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อจากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................ผ้สู อน (..................................................) วันท.่ี .........เดือน...............................พ.ศ.................... ๑๑. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผทู้ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .................................................ผตู้ รวจ (..................................................) วนั ท.ี่ .........เดือน...............................พ.ศ....................

๗๑๔ คมู่ ือครแู ละแผนจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวตั ิศาสตร์ ป.๓) ใบความรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง ศกั ราชเทียบอย่างไร หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื งนักเดินทางข้ามกาลเวลา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เร่อื งการเทียบศกั ราช รายวิชาประวัติศาสตร์ รหสั ส13102 ภาคเรยี นที่ 1 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 เรียนเกี่ยวกบั อะไร ท่มี าของศกั ราชทป่ี รากฏในปฏทิ ินและวธิ ีการเทียบศักราช ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับนักเรียน พ.ศ. ให้เปน็ ค.ศ. ค.ศ. ใหเ้ ป็น พ.ศ. ถ้าเราอยากรู้ว่า พ.ศ. นั้นเทียบได้ ถ้าเราอยากรู้ว่า พ.ศ. นั้นเทียบได้ กับ ค.ศ.ใดหรือแปลง พ.ศ. ให้เป็น ค.ศ. กับ ค.ศ.ใด ก็สามารถทาง่าย ๆ ดังน้ี โดย ก็สามารถทางา่ ย ๆ ดังนี้ การใช้หลักการตรงกันข้ามกับการแปลง พ.ศ. ให้เป็น ค.ศ. คือนา ค.ศ. +๕๔๓ = นา พ.ศ. ที่เราตอ้ งการทราบมาตั้ง พ.ศ. เนื่องจากพุทธศักราชเกิดก่อน นา ๕๔๓ มาลบกับ พ.ศ. นั้น คริสต์ศักราช เช่นต้องการทราบว่า ค.ศ. คาตอบที่ได้ก็คอื ค.ศ. ๑๔๕๗ ตรงกับปีพทุ ธศกั ราชใด การนา ๕๔๓ มาลบดว้ ยกเ็ พราะว่า ๑๔๕๗ + ๕๔๓ คริสตศ์ ักราชเกิดทหี ลงั พทุ ธศกั ราชเปน็ เวลา = ๒๐๐๐ ๕๔๓ ปี หรอื กล่าวได้วา่ พ.ศ. - ๕๔๓ = ค.ศ. ดงั น้ัน พ.ศ. ๑๔๕๗ จะตรงกบั ปี ค.ศ. ๒๐๐๐ ๒๕๖๔ - ๕๔๓ = ๒๐๒๑ ดังนน้ั พ.ศ. ๒๕๖๔ จะตรงกับ ค.ศ. ๒๐๒๑

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง นกั เดินทางขา้ มกาลเวลา ๗๑๕ ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง การเทียบศักราช หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เร่อื ง นักเดนิ ทางข้ามกาลเวลา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง การเทยี บศกั ราช รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ รหสั ส13102 ภาคเรียนท่ี 1 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ตอนที่ 1 คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นเทียบศกั ราชตามทก่ี าหนดให้ถกู ต้องและตอบคาถาม หลักการเทยี บ พ.ศ. เปน ค.ศ. หลักการเทยี บ ค.ศ. เปน พ.ศ. พ.ศ. วิธกี ารเทียบ ตรงกบั ค.ศ. ค.ศ. วธิ กี ารเทียบ ตรงกบั พ.ศ. 2310 1789 2381 1895 2481 1995 2501 2005 2538 2021 ตอนท่ี 2 คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นอ่านขอ้ มูล แลว้ เทยี บศกั ราชตามทก่ี าหนดใหถ้ กู ต้องและตอบคาถาม 1. การเสียกรงุ ศรีอยุธยาครงั้ ท่ีหนงึ่ เมอื่ ปี พ.ศ. 2112 ตรงกบั ปี ค.ศ. 2. การเสยี กรุงศรีอยธุ ยาคร้ังทส่ี อง เมือ่ ปี พ.ศ. 2310 ตรงกบั ปี ค.ศ. 3. รชั กาลที่ 7 พระราชทานรัฐธรรมนูญ เมอ่ื วนั ท่ี 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2475 ตรงกับปี ค.ศ. 4. ถ้านักเรยี นเกดิ เมือ่ ปี ค.ศ. 2009 แสดงว่า นักเรยี นเกิด ตรงกบั ปี พ.ศ. 5. พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจ้าอยหู่ ัวพระราชสมภพ เม่อื วันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1952 ตรงกับปี พ.ศ. ชอ่ื -นามสกลุ .............................................................................................ชั้น..........................เลขท.ี่ ....................

๗๑๖ คมู่ อื ครแู ละแผนจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ประวัตศิ าสตร์ ป.๓) เฉลยใบงานที่ 2 เรอื่ ง การเทยี บศกั ราช หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่อง นักเดนิ ทางข้ามกาลเวลา แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การเทียบศกั ราช รายวิชาประวัติศาสตร์ รหสั ส13102 ภาคเรยี นท่ี 1 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ตอนที่ 1 คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นเทยี บศกั ราชตามท่กี าหนดใหถ้ ูกตอ้ งและตอบคาถาม หลักการเทยี บ พ.ศ. เปน ค.ศ. หลกั การเทยี บ ค.ศ. เปน พ.ศ. พ.ศ. วธิ กี ารเทียบ ตรงกับ ค.ศ. ค.ศ. วธิ ีการเทียบ ตรงกบั พ.ศ. 2310 ลบ 543 1767 1789 บวก 543 2332 2381 ลบ 543 1838 1895 บวก 543 2438 2481 ลบ 543 1938 1995 บวก 543 2538 2501 ลบ 543 1958 2005 บวก 543 2548 2538 ลบ 543 1995 2021 บวก 543 2564 ตอนที่ 2 คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอ่านขอ้ มูล แลว้ เทยี บศักราชตามท่กี าหนดให้ถกู ตอ้ งและตอบคาถาม 1. การเสียกรุงศรอี ยธุ ยาคร้งั ทีห่ นึง่ เม่อื ปี พ.ศ. 2112 ตรงกบั ปี ค.ศ. 1569 2. การเสียกรงุ ศรอี ยธุ ยาครัง้ ทห่ี นง่ึ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2310 ตรงกบั ปี ค.ศ. 1767 3. รัชกาลที่ 7 พระราชทานรฐั ธรรมนญู เมอ่ื วนั ท่ี 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2475 ตรงกบั ปี ค.ศ. 1932 4. ถ้านักเรียนเกิดเม่ือปี ค.ศ. 2009 แสดงว่า นักเรยี นเกิดปี ตรงกับปี พ.ศ. 2552 5. พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยู่หัวพระราชสมภพ เม่ือวนั ท่ี 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1952 ตรงกบั ปี พ.ศ. 2495

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง นกั เดินทางขา้ มกาลเวลา ๗๑๗ แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรวู้ ันท่ี.......................เดอื น...........................................พ.ศ.................................. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลาดบั ช่อื – สกลุ ความ ความ การตอบ มีสว่ น รวม ระดับ ท่ี ต้ังใจใน สนใจ คาถาม ร่วมใน (16) คณุ ภาพ การเรยี น และการ (4) กิจกรรม ซักถาม (4) (4) (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชอื่ ................................................................ผปู้ ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑก์ ารให้คะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมนิ ในการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ดงั น้ี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมนิ 14-16 ดีมาก นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใชข้ ึน้ ไป ถือวา่ ผ่าน 11-13 ดี 8-10 พอใช้ 1-7 ปรับปรุง

๗๑๘ คูม่ อื ครแู ละแผนจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ประวัติศาสตร์ ป.๓) เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียนรายบคุ คล (Rubric) ประเดน็ การ ดมี าก (4) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ตอ้ งปรับปรงุ (1) ประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) 1. ความตงั้ ใจใน สนใจในการเรยี นไม่ สนใจในการเรยี นคยุ สนใจในการเรยี นคยุ ไม่สนใจในการเรยี น การเรยี น คุยหรือเลน่ กัน กนั เลก็ น้อยในขณะ กันและเล่นกัน คยุ และเล่นกัน 2. ความสนใจ และการซกั ถาม ในขณะเรยี น เรยี น ในขณะเรียนเป็น ในขณะเรยี น 3. การตอบ บางครง้ั คาถาม มีการถามในหวั ข้อท่ี มกี ารถามในหวั ข้อที่ มีการถามในหวั ข้อท่ี ไม่ถามในหัวขอ้ ทตี่ น 4. มีสว่ นรว่ มใน กจิ กรรม ตนไม่เขา้ ใจทุกเรื่อง ตนไมเ่ ขา้ ใจเปน็ ตนไมเ่ ขา้ ใจเปน็ ไมเ่ ข้าใจและไม่กลา้ และกล้าแสดงออก สว่ นมากและกล้า บางคร้งั และไมค่ อ่ ย แสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก รว่ มตอบคาถามใน รว่ มตอบคาถามใน รว่ มตอบคาถามใน ไม่ตอบคาถาม เรอ่ื งที่ครถู ามและ เรอ่ื งทคี่ รูถามและ เรือ่ งทค่ี รถู ามเปน็ ตอบคาถามถกู ทุก ตอบคาถาม บางคร้ัง และตอบ ข้อ สว่ นมากถูก คาถามถกู เปน็ บางครง้ั รว่ มมือและ รว่ มมือและ ร่วมมอื และ ไมม่ ีความร่วมมือ ช่วยเหลอื เพอื่ นใน ช่วยเหลือเพ่อื นเปน็ ช่วยเหลอื เพอื่ นใน ในขณะทากิจกรรม การทากจิ กรรม สว่ นใหญใ่ นการทา การทากิจกรรมเปน็ กจิ กรรม บางครั้ง

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรอ่ื ง นักเดนิ ทางขา้ มกาลเวลา ๗๑๙ แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สังเกตพฤติกรรมการเรียนรวู้ ันท่ี.......................เดือน..............................................พ.ศ............................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ลาดบั ช่อื กลุ่ม การ การ การ พฤตกิ รรม รวม ระดับ ที่ ปฏสิ มั พนั ธ์ สนทนา ตดิ ต่อส่ือสาร การทางาน (16) คณุ ภาพ เร่อื ง กนั ทกี่ าหนด (4) กลุ่ม (4) (4) (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ................................................................ผู้ประเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมินในการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ดงั น้ี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน 14-16 ดมี าก นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใชข้ ึน้ ไป ถือวา่ ผ่าน 11-13 ดี 8-10 พอใช้ 1-7 ปรับปรุง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook