Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ม 4

ม 4

Published by jewly0014, 2020-06-23 11:59:31

Description: ม 4

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นเวยี งสระ วนั ท่ี....…….. เดอื น………………………. พ.ศ. 2563 ที่ ………/2563 เรอื่ ง ขออนุญาตใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นเวียงสระ สิ่งทีส่ ่งมาด้วย แผนการจดั การเรยี นรู้หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1-3 จำนวน 18 แผน + . ด้วยข้าพเจ้านายนริศ จันทร์สะอาด ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนเวียงสระ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ได้รับมอบหมายให้ทำการสอน รายวิชาประวตั ิศาสตร์ 1 รหสั วิชา ส31103 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ในภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ในการนี้ ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมการสอนโดยการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีพุทธศักราช 2551 วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเวียงสระ วิเคราะห์ผู้เรียนและพบสภาพที่เป็น ปัญหาในการเรียนการสอน จึงได้วางแผนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในส่วนที่รับผิดชอบ โดยได้จัดทำ แผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และจัดทำโครงการจัดการเรียนรู้ ที่แบ่งหน่วยการเรียนรู้ และคะแนน เสร็จสิ้นแล้ว จงึ ขออนญุ าตดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้ และโครงการจัดการเรียนรูท้ ีแ่ นบมานี้ จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดพจิ ารณา ลงชือ่ (นายนรศิ จนั ทร์สะอาด) ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย ความเหน็ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................... (นายฤตชิ ยั ราชพิบูลย์) ตำแหน่ง ครู คศ.2

ความเห็นหัวหน้ากลุ่มงานบรหิ ารงานวชิ าการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................... (นางอาทิตยา ดวงมณี) ตำแหนง่ ครู คศ.2 ความเหน็ ของรองผ้อู ำนวยการกลุ่มงานบรหิ ารงานวิชาการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ................................................... (...................................................) ตำแหน่ง รองผ้อู ำนวยสถานศึกษา ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนเวยี งสระ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ❑ อนมุ ตั ิ ❑ ไม่อนุมตั ิ เพราะ ........................................................................................................... ลงชือ่ ................................................... (นางฐติ มิ า นาครพัฒน์) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดสาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ และ ตัวช้ีวดั ในกลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ดังน้ี มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์วเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ต่างๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ชวี้ ดั 1. ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการ เปลย่ี นแปลงของมนุษยชาติ 2. สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ทางประวัตศิ าสตร์โดยใชว้ ธิ ีการทางประวัติศาสตร์อยา่ งเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาไทย มคี วามรัก ความภมู ิใจ และ ธำรงความเปน็ ไทย ตัวชว้ี ดั 1. วิเคราะห์ประเด็นสำคัญของประวัติศาสตรไ์ ทย 2. วิเคราะห์ความสำคัญของสถาบนั พระมหากษตั ริย์ต่อชาติไทย 3. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อ สงั คมไทยในปจั จุบัน 4. วิเคราะห์ผลงานของบคุ คลของบุคคลสำคญั ทัง้ ชาวไทยและต่างประเทศที่มีส่วน สร้างสรรคว์ ฒั นธรรมไทยและประวตั ิศาสตรไ์ ทย 5. วางแผนกำหนดแนวทางและการมีสว่ นร่วมการอนรุ กั ษ์ภูมิปญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย

คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ 1 รหสั วชิ า ส 31103 จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 20 ช่ัวโมง ศึกษา วิเคราะห์ถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ท่ีปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากล ตัวอย่างเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์ที่มีปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ มนษุ ยชาติ สร้างองค์ความรู้ใหมท่ างประวัตศิ าสตรโ์ ดยใชว้ ธิ ีการทางประวัติศาสตร์อยา่ งเปน็ ระบบ เหน็ คุณค่า และประโยชนข์ องวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ท่ีมตี ่อการศึกษาทางประวตั ิศาสตร์ และสามารถนำเสนอในรูปแบบ ของโครงงานทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์ประเด็นสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย เช่น แนวคิดเกี่ยวกับความเป็นมาของชาติไทย อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย และอิทธิพลที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันที่มีผลต่อการสถาปนาอาณาจักรไทยใน ช่วงเวลาต่างๆ สาเหตุและผลของการปฏิรูป การปกครองบ้านเมือง การเลิกทาส เลิกไพร่ การเสด็จประพาส ยุโรปและหัวเมืองสมัยรัชกาลที่ 5 การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 บทบาทของสตรีไทย บทบาท ของพระมหากษัตริย์ในการพัฒนาชาติไทยในด้านต่างๆ เช่น การป้องกันและรักษาเอกราชของชาติ การ สร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกที่มีต่อสังคมไทย ผลงานของบุคคล สำคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร์ไทย ปัจจัยที่ส่งเสริม ความสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย ซึ่งส่งผลต่อสังคมไทยในปัจจุบัน สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิ ปัญญาและวัฒนธรรมไทย วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยต่างๆการสืบทอดและเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย และแนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วิธีการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ภูมิปํญญา และวฒั นธรรมไทย โดยใช้ทักษะการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสรุปลงความเห็น ทักษะการสร้าง ความรู้เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจความสำคัญของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ได้อย่างเป็นระบบ สามารถนำไปประยุกต์ปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มี คุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ รักความ เป็นไทยมจี ิตสาธารณะสามารถดำเนินชวี ติ อยา่ งสนั ตสิ ุขในสังคมไทยและสงั คมโลก รหสั ตัวชี้วัด ส4.1 ม.3/1-2 ส4.3 ม.3/1-5 รวม 7 ตัวชวี้ ัด

โครงสรา้ งรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชาประวัตศิ าสตร์ 5 รหัสวชิ า ส31103 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 20 ช่ัวโมง อัตราส่วนคะแนน 70 / 30 หน่วย ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ ความคิดรวบยอด/ เวลา น้ำหนัก ที่ เรยี นรู้/ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน 1 เวลาและยุคสมยั ทาง ส4.1 ม.4-6 /1 ความสำคญั ของเวลาและยคุ สมยั 4 15 ประวัตศิ าสตร์ ทางประวัตศิ าสตร์บง่ บอกความ เปล่ียนแปลงของมนษุ ยชาติ 2 การแบ่งยุคสมัยทาง ส4.1 ม.4-6/1 เรมิ่ ตง้ั แต่มนุษยชาติถือกำเนิดมา 5 20 ประวตั ศิ าสตร์ การตงั้ ชื่อยุคสมัยทาง ประวัติศาสตรน์ ิยมใช้เปน็ สมัย โบราณ สมยั กลาง สมยั ใหม่ และสมัยปัจจุบนั หรือรวมสมยั แต่ละชว่ งเวลาของแตล่ ะสมัย สรปุ ทบทวนภาพรวม/สอบระหว่างภาค 1 15 3 หลักฐานทาง ส4.1 ม.4-6/1 รอ่ งรอย การกระทำ หลกั ฐาน 3 10 ประวตั ิศาสตร์ ประเภทลายลกั ษณ์อักษร ไม่มี ลายลกั ษณ์อักษร และอื่นๆ 4 วธิ กี ารทาง ส4.1 ม.4-6/1 การศกึ ษาทางประวัตศิ าสตร์ 6 25 ประวัติศาสตร์ วิธกี ารทางประวตั ิศาสตรอ์ ย่าง เปน็ ระบบ สรุปทบทวนภาพรวม/สอบปลายภาค 1 15 รวม 20 100

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรื่อง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ 1 รหัสวชิ า ส31103 ปกี ารศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ จำนวน 4 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เวลากบั ประวัตศิ าสตร์ จำนวน 1 ชว่ั โมง ครูผู้สอน นายนรศิ จันทรส์ ะอาด 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้ วธิ ีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตกุ ารณต์ ่างๆ อยา่ งเป็นระบบ (A1 คุณลกั ษณะทด่ี ีของนักเรียน) 2. ตัวช้วี ดั (วงเลบ็ พฤติกรรมการเรยี นรตู้ ามแผนผังของสำนักทดสอบทางการศึกษา) ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการ เปลย่ี นแปลงของมนุษยชาติ 3. สาระสำคญั การเรียนรู้เรื่อง เวลากับประวัติศาสตร์ คือการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ในอดีตโดยมีความสัมพันธ์ ก่อใหเ้ กิดความง่ายต่อการทำความเข้าใจในเหตุการณ์ต่างๆ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนดในการศึกษา ดังนั้น ผู้เรียนจะต้องรู้จะช่วยให้ผู้เรียนเขียนวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเวลากับประวัติศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ทำให้ ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เห็นประโยชน์ของการศึกษา ความสัมพนั ธข์ องเวลากับประวัติศาสตร์ 4. สาระการเรยี นรู้/เนื้อหาการเรยี นรู้ 4.1 ความสำคญั ของเวลาและชว่ งเวลาทางประวตั ศิ าสตร์ ๕. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นอธบิ ายเวลาของประวัตศิ าสตร์ได้อยา่ งถกู ต้อง (K) ๒. นกั เรยี นเขยี นวิเคราะห์ความสัมพันธข์ องเวลากับประวัติศาสตร์ได้อยา่ งถูกต้องได้ (P) ๓. นกั เรียนเหน็ ประโยชน์ของการศกึ ษาความสมั พันธข์ องเวลากับประวตั ิศาสตร์ได้ (A) 6. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน 4. รกั ความเปน็ ไทย

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. ใบงานที่ 1.1 เร่อื ง Timeline (ชิน้ งาน) 2. การสนทนาถาม-ตอบเกยี่ วกบั เวลากับประวตั ิศาสตร์ (ภาระงาน) 9. กจิ กรรมการเรียนรู้ 9.1 ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน (10) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนและแนะนำรายวิชาที่จะเรียนให้นักเรียนได้เข้าใจในเบื้องต้น หลังจากนั้นครูแจกคำอธิบายรายวิชาให้นักเรียนได้ศึกษาและทำความเข้าใจ พร้อมทั้งตั้งประเด็นให้นักเรียน ถามคำถามครเู กยี่ วกับข้อสงสัยในคำอธิบายรายวชิ าที่นกั เรียนไดร้ บั มอบจากครูไป 2. ครสู ุม่ นกั เรียนออกมาเล่ากจิ วัตรทน่ี ักเรยี นในชว่ งเวลาปดิ เทอม จำนวน 2 คน ดงั น้ี ครั้งท่ี ๑ เล่าเหตุการณ์สำคญั โดยไมร่ ะบเุ วลาท่ีเกดิ ข้นึ ครั้งที่ ๒ เล่าเหตุการณ์สำคัญโดยระบุเวลาที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจนจากน้ันนักเรียนร่วมกันตอบ คำถามต่อไปนี ๑.๑ “จากการเล่าเหตุการณ์ของนักเรียนท้ังสองคร้ัง การเล่าเหตุการณ์แบบใดทำให้ นักเรยี นทราบรายละเอยี ดของเรือ่ งราวมากกว่ากนั เพราะเหตุใด” ๑.๒ “จากคำตอบข้างต้น สะท้อนให้เห็นว่าเวลามีประโยชน์ต่อการศึกษา ประวัตศิ าสตรอ์ ยา่ งไร” 3. นักเรียนร่วมกันบอกความหมายของประวัติศาสตร์จากความรู้เดิมของนักเรียน โดยครู เขียนความหมายตามที่นักเรียนบอกบนกระดานดำ จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความหมายของ ประวัตศิ าสตร์ให้สมบรู ณ์ (Rational), (Environment) 9.2 ขน้ั สอน (30) 4. ครูอธิบาย Concept เวลากับประวัติศาสตร์และให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย (C1) ด้วย สไลด์ Powerpoint เวลากับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (หากห้องไหนใช้โปรเจคเตอร์ไม่ได้ให้ใช้ภาพปริ้น ขนาด 2*2) (Cognition) (Are immune) 5. นักเรียนทำกิจกรรม อะไรเอ๋ย คือเวลา โดยครูนำเสนอภาพเกี่ยวกับเวลา เช่น ดอก ทานตะวัน นาฬิกา พระจนั ทร์ข้างขน้ึ ขา้ งแรม พระอาทิตย์ ฆ้อง-กลอง แล้วตั้งคำถามใหน้ ักเรียนตอบ 5.1) รูไ้ ด้อยา่ งไรวา่ เป็นภาพท่เี ก่ียวข้องกบั เวลา 5.2) หากไม่มตี วั บอกเวลาจะเกดิ อะไรขนึ้ หรอื เกดิ ผลอย่างไร 6.ครูนำภาพเกี่ยวกับเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์จำนวน ๑๐ ภาพ มาให้นักเรียน พิจารณา ไดแ้ ก่ (C4) , (P4) 5.๑) พญาลไิ ทยพระราชนิพนธส์ มดุ ไตรภมู พิ ระรว่ ง 5.๒) สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหตั ถี 5.๓) ละครบุพเพสันนิวาส 5.๔) กรงุ ศรอี ยธุ ยาเสยี เอกราชแก่พม่า ครงั้ ท่ี 2 5.๕) กอ่ ตั้งราชวงศ์จกั รี 5.๖) สยามทำสนธสิ ญั ญาเบอน่ีกบั องั กฤษ 5.๗) สยามประกาศเลิกทาส 5.๘) สยามเขา้ ร่วมสงครามโลกคร้ังที่ 2 5.๙) ปฏิวัติสยาม ๑๐) รชั กาลท่ี 9 ขนึ้ ครองราชย์

6. จากน้ันนักเรียนเขยี นเส้นเวลา (Time Line) ในกระดาษแล้วเรียงลำดบั เหตกุ ารณท์ ่เี กิดขึ้น ก่อนไปหลังในกระดาษ พรอ้ มท้ังให้นกั เรียนระบุเกณฑ์ที่ใช้ในการลำดับเวลาทางประวัติศาสตร์โดยทำเป็นกลุ่ม คละเท่าๆกันตามห้องเรียนให้ได้ 10 กลุ่ม โดยอนุญาตให้ค้นคว้าจากหนังสือประวัติศาสตร์ ม.4 และ โทรศพั ทม์ อื ถอื (R2) , (object) , (Society) , (Virtue) , (Tolerable) 7. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง Time Line โดยใช้แนวคำถาม ดังนี้ (C5) , (culture) 6.1 “ภาพเหตุการณ์ ดังกล่าว เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด สมัยใด และมีสาระสำคัญ อย่างไร” 6.2 “เวลาในประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการเรียนประวัติศาสตร์ของนักเรียน อย่างไร 9.3 ขน้ั สรปุ (10) 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปบทเรียน โดยครูมีแนวคำถามนักเรียนจะนำ ความรู้เรือ่ งเวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตรไ์ ปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวันอยำ่ งไร (A1) ๑0. ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียน ประวัตศิ าสตรไ์ ทย ม.4-6 2. บตั รภาพ เหตุการณท์ างประวัตศิ าสตร์ 3. ด้วยสไลด์ Powerpoint เวลากบั เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ๑1. การวัดและประเมินผล วิธีการวัดประเมนิ ผล เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การผ่าน การถาม-ตอบ คำถาม จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ผ่านระดับคุณภาพ พอใช้ขน้ึ ไป ด้านความรู้ (K) 1. นกั เรยี นอธบิ ายเวลาของ ประเมินใบงานที่ 1.1 แบบประเมินใบงานท่ี ผา่ นระดับคุณภาพ ประวตั ศิ าสตร์ได้อย่างถูกต้อง Timeline 1.1 Timeline พอใช้ขน้ึ ไป ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2. นกั เรียนเขยี นวเิ คราะห์ สงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น แบบสังเกตพฤติกรรม 4 ดีเยยี่ ม ความสัมพนั ธ์ของเวลากับ นกั เรยี น 3 ดี ประวตั ิศาสตร์ได้อยา่ งถูกต้องได้ 2 พอใช้ 1 ปรบั ปรุง ด้านเจตคติ (A) 3. นกั เรยี นเห็นประโยชน์ของ การศกึ ษาความสัมพนั ธ์ของเวลากับ ประวัตศิ าสตร์ได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น สามารถคดิ วเิ คราะห์ 4.1 ความสามารถในการคดิ 4.2 ความสามารถในการใช้ เลือกใช้เทคโนโลยี แบบประเมินสมรรถนะ 3 ดีเยี่ยม เทคโนโลยี ดี ความสมั พนั ธ์ของเวลากบั ผู้เรยี น 2 พอใช้ ปรบั ปรุง เหตกุ ารณท์ าง 1 ประวตั ิศาสตร์ 0

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวัดประเมินผล เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ์การผา่ น สังเกตพฤติกรรมนักเรียน 5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรม 3 ดีเยยี่ ม 5.1 รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ นกั เรียน 2 ดี 5.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 1 พอใช้ 5.3 มุง่ มั่นในการทำงาน 0 ปรับปรงุ 4.4 รักความเป็นไทย

๑2. เครอ่ื งมือ/เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมิน (K) เรอ่ื ง ตอบคำถาม ประเดน็ 4 เกณฑก์ ารให้คะแนน 1 นำ้ หนัก/ คะแนนรวม ประเมนิ ความสำคญั เนอื้ หาถูกตอ้ ง 32 เนอ้ื หาไม่ ความ สอดคลอ้ ง เนื้อหาถูกต้อง เนอ้ื หาถูกตอ้ ง สอดคล้อง 2.5 10 ถกู ต้อง หัวข้อเรอื่ งเป็น สอดคล้อง สอดคลอ้ ง หัวข้อเรอ่ื ง ส่วนใหญ่ หัวขอ้ เรือ่ งเป็น หวั ข้อเร่อื งเป็น 2.5 10 บางสว่ น สว่ นน้อย รวม เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดี ต่ำกว่า 4 คะแนน ระดับ ต้องปรบั ปรงุ คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ สรุปเกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพต้ังแตร่ ะดับพอใช้ ข้ึนไป

เกณฑ์การประเมินทักษะ (P) ใบงานที่ 1.1 เร่อื ง Timeline ประเด็น เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน นำ้ หนัก/ คะแนนรวม ประเมนิ 6 4 3 2 1 ความสำคัญ ความ 4 ถูกตอ้ ง เนอ้ื หาถูกต้อง เน้ือหาถูกต้อง เนอ้ื หาถูกต้อง เน้ือหาไม่ 1.5 การใช้ ตามลำดับเร่อื ง ตามลำดับ ตามลำดบั ตามลำดบั ภาษา เป็นส่วนใหญ่ หัวขอ้ เร่ืองเป็น หวั ข้อเรือ่ งเป็น หัวข้อเรอื่ ง บางสว่ น สว่ นนอ้ ย การใช้ภาษา การใช้ภาษา การใชภ้ าษา การใชภ้ าษาไม่ 1 ถกู ต้องประโยค ถกู ต้องประโยค ประโยค ถกู ต้อง สอดคลอ้ งกบั สอดคลอ้ งกับ สอดคลอ้ งกบั ประโยคไม่ เน้ือหาส่วน เน้ือหาบางส่วน เนื้อหานอ้ ย สอดคลอ้ งกบั ใหญ่ เนือ้ หา รวม 2.5 10 เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดบั ดี ต่ำกว่า 4 คะแนน ระดบั ต้องปรบั ปรุง คะแนน 9-10 คะแนน ระดบั ดีมาก คะแนน 5-6 คะแนน ระดบั พอใช้ สรุปเกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคุณภาพตั้งแตร่ ะดับพอใช้ ข้ึนไป

รายการประเมนิ เกณฑก์ ารสังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น (A) ปรับปรงุ (๑) คำอธิบายระดบั คุณภาพ/ระดบั คะแนน นกั เรยี นเหน็ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ประโยชนข์ อง การศกึ ษา 1.นักเรียนเห็น นักเรยี นเห็น นักเรียนเหน็ นักเรยี นเหน็ ความสัมพันธ์ของ ประโยชน์ของ ประโยชนข์ อง ประโยชน์ของ ประโยชน์ของ เวลากับ การศกึ ษา การศึกษา การศึกษา การศกึ ษา ประวัตศิ าสตร์ได้ ความสมั พนั ธ์ของ ความสมั พันธข์ อง ความสัมพันธ์ของ ความสัมพนั ธ์ของ เวลากบั เวลากบั เวลากบั เวลากับ ประวัตศิ าสตร์ได้ ประวตั ิศาสตร์ได้เปน็ ประวัติศาสตร์ได้ ประวัติศาสตร์ได้ อย่างดี ค่อนข้างดี พอสมควร รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ปรบั ปรุง (0) คำอธิบายระดบั คุณภาพ/ระดบั คะแนน คิดวเิ คราะห์ ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ความสมั พันธข์ อง เวลากับ สามารถคดิ คดิ วเิ คราะห์ คดิ วิเคราะห์ คิดวเิ คราะห์ ประวัตศิ าสตร์ไมไ่ ด้ วิเคราะห์ ความสมั พันธ์ของ ความสมั พันธ์ของ ความสมั พนั ธข์ อง ความสัมพนั ธข์ อง เวลากับ เวลากบั เวลากับ เลอื กใช้เทคโนโลยี เวลากบั ประวตั ิศาสตร์ได้ ประวัตศิ าสตร์แ ประวัตศิ าสตร์ไม่ ทำงานคน้ ควา้ ประวตั ิศาสตร์ได้ อยา่ งถูกต้อง ชัดเจน ความสมั พนั ธ์ของ ครบถ้วน เวลากบั ประวัติศาสตร์ไมไ่ ด้ สามารถเลือกใช้ เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เลือกใช้เทคโนโลยี เลอื กใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีทำงาน ทำงานค้นคว้า ทำงานคน้ ควา้ ทำงานค้นควา้ คน้ ควา้ ความสมั พันธข์ อง ความสมั พันธ์ของ ความสมั พันธ์ของ ความสมั พนั ธ์ของ เวลากับ เวลากับ เวลากับ เวลากับ ประวตั ศิ าสตร์ได้ ประวัตศิ าสตร์ได้ ประวัติศาสตร์ได้ไม่ ประวัติศาสตร์ได้ อย่างถูกต้อง อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน ครบถว้ น ครบถ้วน

รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ปรบั ปรงุ (0) คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน ดเี ยีย่ ม (3) ดี (2) พอใช้ (1) 1. รกั ชาติ ศาสนา ปฏิบัติตนตามสิทธิ ปฏบิ ัติตนตามสิทธิ ปฏบิ ตั ิตนตามสทิ ธิ ขาดการปฏิบัติตน กษตั ริย์ และหนา้ ที่พลเมืองดี และหนา้ ท่ีพลเมืองดี และหน้าท่ีพลเมืองดี ตามสทิ ธแิ ละหน้าท่ี ของชาติไดเ้ ปน็ อย่าง ของชาติไดค้ ่อนขา้ งดี ของชาติได้พอสมควร พลเมอื งดีของชาติ 1.ใฝ่เรยี นรู้ ดี สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน ขาดความสนใจใน และทำงานได้ และทำงานได้ การเรยี นและทำงาน และทำงานได้เป็น คอ่ นข้างดี พอสมควร ทดี่ ี อย่างดี 3. มุ่งมน่ั ในการ ตง้ั ใจและรับผิดชอบ ต้ังใจและรับผิดชอบ ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบ ขาดความต้ังใจและ ทำงาน ในการทำงานให้ ในการทำงานให้ ในการทำงานให้ รบั ผิดชอบในการ สำเรจ็ ได้เป็นอย่างดี สำเร็จคอ่ นข้างดี สำเรจ็ ไดพ้ อสมควร ทำงานให้สำเร็จ 4. รกั ความเป็น ไทย แต่งกายและมี แตง่ กายและมี แต่งกายและมี ไม่มสี มั มาคารวะ มารยาทงดงามแบบ มารยาทงดงามแบบ มารยาทงดงามแบบ ไทยมีสมั มาคารวะ ไทยมสี มั มาคารวะ ไทยมีสัมมาคารวะ กตญั ญูกตเวทตี ่อผู้มี กตัญญูกตเวทตี ่อผู้มี กตัญญูกตเวทตี ่อผู้มี พระคณุ พระคณุ ค่อนข้างดี พระคณุ พอสมควร

13. แบบประเมิน แบบประเมนิ เร่อื ง ตอบคำถาม คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนบันทกึ การทำกิจกรรม โดยเขยี นระดบั คะแนนลงในตารางให้ตรงกับความสามารถของ ผเู้ รยี น เลขที่ ชื่อ-สกุล ความถกู ตอ้ ง (10) รวมคะแนน (10) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ คะแนน 5-6 คะแนน ระดบั ดี ตำ่ กว่า 2 คะแนน ระดับ ตอ้ งปรบั ปรุง คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดมี าก คะแนน 3-4 คะแนน ระดับ พอใช้ สรุปเกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับคณุ ภาพต้ังแต่ระดับพอใช้ ข้ึนไป ลงชอื่ ............................................................ผ้ปู ระเมนิ

แบบประเมิน ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง Timeline คำช้แี จง : ให้ผสู้ อนบนั ทึกการใชท้ กั ษะการวเิ คราะห์ จากกิจกรรมโดยเขยี นระดบั คะแนนลงในตารางให้ตรงกบั ความสามารถของผู้เรียน ลำดบั ความถูกตอ้ ง การใชภ้ าษา รวม ที่ ชื่อ-สกุล (6) (4) คะแนน (10) กล่มุ ท่ี 1 2 3 4 1 2 3 4 1 เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 คะแนน ระดบั ดี คะแนน 5-6 คะแนน ระดบั พอใช้ ต่ำกว่า 4 คะแนน ระดับ ตอ้ งปรบั ปรงุ สรุปเกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคุณภาพต้ังแต่ระดบั พอใช้ ข้ึนไป

แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี น รายการสงั เกต พฤติกรรมของนักเรียน ช่ือ-สกุล เห็นประโยชน์ของ การศึกษาความสัมพันธ์ ของเวลากับ ประวตั ิศาสตร์ได้ เลขที่ รวม ๔๓๒๑๔ 1 2 3 4 เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ คะแนน 3 ระดับ ดี คะแนน 4 ระดบั ดีมาก คะแนน 1 ระดับ ปรับปรุง คะแนน 2 ระดับ พอใช้ ลงช่ือ............................................................ผูป้ ระเมิน

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น รายการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น เลขที่ รวม ชื่อ-สกุล มคี วามสามารถในการคดิ มคี วามสามารถในการ ใชเ้ ทคโนโลยี ๓ ๒ ๑0๓ ๓ ๒ ๑ 0 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ คะแนน 3 ระดับ ดี คะแนน 4 ระดบั ดีมาก คะแนน 1 ระดับ ปรบั ปรุง คะแนน 2 ระดับ พอใช้ ลงชอ่ื ............................................................ผูป้ ระเมนิ

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ รายการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เลขที่ รวม ชอ่ื -สกุล รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ใฝ่เรยี นรู้ 1 ๓ ๒๑ 0 ๓ ๓ ๒ ๑ 0 3 2 3 คะแนน 2 ระดับ ดี 4 คะแนน 0 ระดับ ปรับปรงุ 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ คะแนน 3 ระดับดเี ย่ียม คะแนน 1 ระดบั พอใช้ ลงชื่อ............................................................ผปู้ ระเมิน

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ รายการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เลขที่ รวม ชอ่ื -สกุล ม่งุ มั่นในการทำงาน รกั ความเป็นไทย 1 ๓ ๒๑ 0 ๓ ๓ ๒ ๑ 0 3 2 3 คะแนน 2 ระดับ ดี 4 คะแนน 0 ระดับ ปรับปรุง 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ คะแนน 3 ระดับดเี ย่ียม คะแนน 1 ระดบั พอใช้ ลงชอ่ื ............................................................ผู้ประเมนิ

14. บนั ทกึ ผลหลังการสอน จากการปฏิบัติการสอนแผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 1 เรื่อง เวลากับประวัติศาสตร์ สามารถสรปุ ผลหลงั การสอน ไดด้ ังนี้ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี…….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ด้านการจดั การเรียนการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. สามารถสรุปผลการประเมนิ ออกเป็น 3 ระดับ ดงั น้ี ระดับดี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ระดับพอใช้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ระดับปรบั ปรงุ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… การแก้ไขปัญหา จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เวลากับประวัติศาสตร์ ของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ……......พบปญั หาดงั กล่าว ครผู ้สู อนนำสู่การแก้ปัญหา ดังน้ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ผลการแก้ไขปญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 15. การจัดการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื ง เวลากบั ประวัตศิ าสตร์ 1. การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ความรู้ เวลากับประวตั ิศาสตร์ คณุ ธรรม มีความขยนั อดทน รับผดิ ชอบตอ่ งานที่ไดร้ บั มอบหมาย มีความสามัคคี รว่ มมอื กันทำงาน ในกิจกรรมกระบวนการกลุ่ม ความ ใบงานมีความเหมาะสม จำนวนขอ้ ครอบคลมุ เนื้อหาท่เี รยี น พอประมาณ การมีเหตุผล อธิบายเวลากบั ประวตั ิศาสตร์ /การวเิ คราะห์ตัวอยา่ งเหตกุ ารณใ์ นช่วงเวลาท่เี กดิ ก่อนหลัง มภี ูมคิ มุ้ กัน สามารถทำความเขา้ ใจเนอื้ หาเวลากบั ประวัติศาสตร์เพ่อื เป็นพน้ื ฐานในการเรยี น ในตัวทีด่ ี 2. ผลทีไ่ ดร้ บั ตามหลักสมดุล 4 มติ ิ ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม วัตถุ สงั คม มีทักษะคน้ ควา้ ข้อมูล รกู้ ระบวนการ ใช้ Powerpiont เปน็ สือ่ การมสี ว่ นรว่ มใน จากหนงั สอื กิจกรรมเฉลยใบงาน ทำงานเปน็ ทีมและรบั ฟงั การสอนทเ่ี หมาะสมไม่ ประวตั ิศาสตร์ ม.4-6 กลมุ่ และโทรศัพท์มือถือ ความคดิ เหน็ ก่อเกดิ ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม

ภาคผนวก

สไลด์ Powerpoint ตัวอยา่ ง

ท่มี า : เพจครูพิมพส์ ายย่อ

ภาพเวลากบั ประวตั ิศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ 1 รหัสวชิ า ส31103 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ จำนวน 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 ระบบศักราช ภาคปฐมบท จำนวน 1 ชวั่ โมง ครูผสู้ อน นายนริศ จันทร์สะอาด 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรว์ ิเคราะห์เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อย่างเป็นระบบ (A1 คุณลักษณะท่ดี ขี องนักเรยี น) 2. ตวั ชี้วัด (วงเล็บพฤติกรรมการเรยี นรตู้ ามแผนผงั ของสำนักทดสอบทางการศึกษา) ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง ของมนุษยชาติ 3. สาระสำคญั การเรียนรู้เรื่อง ศักราช คือ อายุเวลาที่กำหนดขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยนับเริ่มจากจุดใดจุดหนึ่งซึ่ง เป็นเหตุการณ์สำคญั แล้วเรยี งลำดบั เป็นปีๆไป ดังนั้นผู้เรยี นจะต้องรู้จะชว่ ยให้นำเสนอเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ ความสำคัญของศักราชต่างๆ ที่มีต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยได้อย่างสมเหตุสมผล ทำให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน รกั ความเป็นไทย และรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ เ์ ห็นประโยชนก์ ารประยกุ ตใ์ ชก้ ารเทียบศักราช ในชีวติ ประจำวันได้ 4. สาระการเรยี นร/ู้ เนื้อหาการเรียนรู้ 4.1 ศกั ราช ๕. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นอธิบายความเป็นมาของระบบศกั ราชตา่ งๆ ได้อยา่ งถูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นนำเสนอเผยแพร่ความรู้เก่ียวกบั ความสำคญั ของศกั ราชต่างๆ ที่มีต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ ไทยไดอ้ ย่างสมเหตุสมผลได้ (P) ๓. นักเรียนเห็นประโยชน์การประยุกตใ์ ชก้ ารเทยี บศักราชในชีวิตประจำวันได้ (A) 6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ๑. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 7. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 4. รกั ความเปน็ ไทย

8. ชิน้ งาน/ภาระงาน 1. ใบงานที่ 1.2 เรื่อง จุติ....กำเนิดศักราช (ชน้ิ งาน) 2. การสนทนาถาม-ตอบเกีย่ วกับระบบศักราช (ภาระงาน) 9. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 9.1 ขนั้ นำเข้าสูบ่ ทเรยี น (10) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน ก่อนเริ่มเรียน ทำกิจกรรมเรียกพลังในการเรียนด้วยเกมใบ้ภาพ ให้นักเรียนทายโดยมีตวั เลือกคำตอบ ประกอบไปดว้ ยภาพ ภาพที่ ๑ ภาพพอ่ ขนุ รามคำแหงประดิษฐ์อกั ษรไทย ตรงกับปพี ทุ ธศกั ราช 1826 ภาพที่ ๒ ภาพการปฏิวัติฝรั่งเศสตรงกบั ปีคริสต์ศกั ราช 1760 2. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนตอบโดยครูเขียนบนกระดานดำ จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน สรปุ เกย่ี วกับศักราช จากคำถามตอ่ ไปนี้ (Environment) 2.1 เพราะเหตใุ ดประเทศไทยกับประเทศอังกฤษ จงึ ใช้ระบบศักราชต่างกนั 2.2 การนบั ศักราชทนี่ ักเรียนรู้จกั มอี ะไรบา้ ง 2.3 การนับศกั ราชแบบใดทน่ี ยิ มใชก้ ันแพร่หลายมากที่สดุ 9.2 ขนั้ สอน (35) 3. ครูอธิบาย Concept ระบบศักราช และให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย ด้วยสไลด์ Powerpoint ระบบศักราช (หากห้องไหนใช้โปรเจคเตอร์ไม่ได้ให้ใช้ภาพปริ้นขนาด 2*2) (Cognition) (Are immune) 4. นักเรยี นทำกิจกรรม “ศักราชมันส์ๆ” โดยมรี ายละเอียดกิจกรรมดังนี้ 4.๑ นักเรยี นแบง่ กลุม่ เป็น ๖ กลุม่ ๆ ละเทา่ ๆ กัน 4.๒ ครูนำภาพที่เกี่ยวข้องกับศักราชต่าง ๆ มาให้นักเรียนพิจารณา กลุ่มละ ๑ ศกั ราช ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ ภาพที่เกี่ยวข้องกับการกำเนิดพุทธศักราช (พระพุทธเจ้า ปรินิพพาน) กลุม่ ที่ ๒ ภาพท่เี กีย่ วข้องกับการกำเนิดครสิ ตศ์ กั ราช (พระเยซปู ระสตู )ิ กลุ่มที่ ๓ ภาพทีเ่ ก่ียวข้องกับการกำเนิดมหาศกั ราช (พระเจ้ากนษิ กะ) กลุ่มท่ี ๔ ภาพที่เกี่ยวข้องกับการกำเนิดจุลศักราช (กลุ่มโบราณสถาน อาณาจักรพยู) กลุ่มที่ ๕ ภาพที่เกี่ยวข้องกับการกำเนิดรัตนโกสินทรศก (พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) กลุ่มที่ ๖ ภาพที่เกี่ยวข้องกับการกำเนิดฮิจเราะห์ศักราช(ท่านนบีมูฮัมหมัด กระทำฮิจเราะห)์ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคถามกำเนิดศักราชจากภาพเหตุการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้อง กับระบบศักราชดังกล่าว ลงในใบงานที่ 1.2 เรื่อง จุติ....กำเนิดศักราช โดยอนุญาตให้ค้นคว้าจากหนังสือ ประวัติศาสตร์ ม.4 และโทรศัพท์มือถือ (R2) , (C1) , (C4) , (P4) , (Rational) , (object) , (Society) , (Virtue) , (Tolerable) 6. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานท่ี 3.2 นักเรียนนำเสนอภาพเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกบั การกำเนิดศักราชท่ีตนรับผดิ ชอบ พร้อมอธิบายการกำเนิดศักราชดังกล่าวในรูปแบบที่สรา้ งสรรค์หน้าชัน้ เรยี น พร้อมเตรียมคำถาม 1 คำถาม สมุ่ เพอื่ นในห้องเรียน (C5) , (culture)

9.3 ขนั้ สรุป (5) 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปบทเรียน โดยครูมีแนวคำถามนักเรียนจะมีแนว ทางการประยุกต์ใชก้ ารเทียบศักราชในชวี ติ ประจำวันได้ออย่างไรบ้าง (พิจารณาคำตอบของนักเรียนโดยอย่ใู น ดลุ ยพนิ จิ ของครูผูส้ อน) (A1) ๑0. สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี น ประวัตศิ าสตร์ไทย ม.4-6 2. บัตรภาพ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 3. ดว้ ยสไลด์ Powerpoint ระบบศักราช ๑1. การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวัดประเมนิ ผล เครื่องมอื วัด เกณฑก์ ารผ่าน ประเมนิ ใบงานที่ 1.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จตุ .ิ ...กำเนิดศักราช แบบประเมนิ ใบงานที่ ผา่ นระดบั คุณภาพ 1.2 เรอ่ื ง จุต.ิ ...กำเนิด พอใช้ขึ้นไป ด้านความรู้ (K) ประเมนิ การนำเสนอ 1. นกั เรียนอธิบายความเปน็ มาของ ผลงาน ศกั ราช ระบบศักราชต่างๆ ได้อย่างถูกตอ้ ง (K) สังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น แบบประเมนิ การ ผา่ นระดับคณุ ภาพ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) นำเสนอผลงาน พอใช้ข้นึ ไป 2. นักเรียนนำเสนอเผยแพร่ความรู้ เก่ยี วกับความสำคัญของศักราชต่างๆ แบบสงั เกตพฤติกรรม 4 ดเี ยยี่ ม ท่ีมีต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยได้ นักเรียน 3 ดี อยา่ งสมเหตสุ มผลได้ 2 พอใช้ 1 ปรบั ปรุง ดา้ นเจตคติ (A) 3. นักเรยี นเห็นประโยชน์การ ประยุกต์ใช้การเทยี บศกั ราชใน ชีวิตประจำวันได้ 4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น สามารถคดิ วิเคราะห์ แบบประเมินสมรรถนะ 3 ดีเยี่ยม 4.1 ความสามารถในการคิด เลอื กใช้เทคโนโลยที ำงาน ผูเ้ รยี น 2 ดี 4.2 ความสามารถในการใช้ ค้นควา้ ความสมั พันธข์ อง 1 พอใช้ เทคโนโลยี ศักราชกบั เหตุการณ์ทาง แบบสงั เกตพฤติกรรม 0 ปรบั ปรุง นักเรียน 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประวัติศาสตร์ 3 ดีเยย่ี ม 5.1 รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2 ดี 5.2 ใฝเ่ รียนรู้ สังเกตพฤติกรรมนกั เรียน 1 พอใช้ 5.3 มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 0 ปรบั ปรุง 4.4 รักความเปน็ ไทย

๑2. เครอ่ื งมอื /เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมิน (K) ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง จุต.ิ ...กำเนดิ ศกั ราช ประเดน็ เกณฑ์การให้คะแนน นำ้ หนัก/ คะแนนรวม ประเมนิ 6 4 3 2 1 ความสำคัญ ความ 4 ถกู ตอ้ ง เนอ้ื หาถูกตอ้ ง เนอื้ หาถูกต้อง เนอ้ื หาถูกตอ้ ง เนอื้ หาไม่ 1.5 การใช้ ตามลำดบั เรอื่ ง ตามลำดบั ตามลำดับ ตามลำดับ ภาษา เป็นสว่ นใหญ่ หัวขอ้ เร่ืองเป็น หวั ขอ้ เรื่องเป็น หวั ข้อเร่ือง บางส่วน สว่ นนอ้ ย การใช้ภาษา การใชภ้ าษา การใช้ภาษา การใชภ้ าษาไม่ 1 ถูกต้องประโยค ถกู ต้องประโยค ประโยค ถูกต้อง สอดคล้องกับ สอดคล้องกบั สอดคล้องกบั ประโยคไม่ เน้อื หาส่วน เนื้อหาบางสว่ น เน้อื หานอ้ ย สอดคล้องกับ ใหญ่ เนือ้ หา รวม 2.5 10 เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดบั ดี ต่ำกว่า 4 คะแนน ระดับ ตอ้ งปรบั ปรงุ คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดมี าก คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ สรปุ เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพตั้งแต่ระดับพอใช้ ขึ้นไป

เกณฑ์การประเมิน (P) การนำเสนอผลงาน ประเดน็ 4 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1 นำ้ หนัก/ คะแนนรวม ประเมิน ความสำคญั 6 รูปแบบ การออกแบบมี 32 การออกแบบมี ความคิด การออกแบบมี การออกแบบมี ความคิด 1.5 4 การ สรา้ งสรรค์ นำเสนอ สรา้ งสรรคไ์ ด้ ความคดิ ความคดิ นอ้ ย 1 10 เปน็ อย่างดี สรา้ งสรรคเ์ ป็น สร้างสรรค์เป็น การมสี ่วน สมาชิกในกลมุ่ 2.5 ร่วมของ สมาชิกในกลมุ่ บางสว่ น สว่ นนอ้ ย ให้ความ สมาชิก ใหค้ วามร่วมมือ สมาชิกในกลุม่ สมาชิกในกลมุ่ รว่ มมือนอ้ ย ใหค้ วามรว่ มมือ ใหค้ วาม เป็นอยา่ งดี เป็นบางสว่ น รว่ มมือเป็น สว่ นน้อย รวม เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดบั ดี ตำ่ กวา่ 4 คะแนน ระดับ ต้องปรับปรงุ คะแนน 9-10 คะแนน ระดบั ดมี าก คะแนน 5-6 คะแนน ระดบั พอใช้ สรุปเกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดับคุณภาพต้ังแตร่ ะดับพอใช้ ข้ึนไป

รายการประเมิน เกณฑ์การสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน (A) ปรบั ปรงุ (๑) คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ/ระดับคะแนน ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) 1.นกั เรียนเห็น นกั เรียนเหน็ นักเรยี นเหน็ นกั เรยี นเหน็ นกั เรยี นเห็น ประโยชนก์ าร ประโยชน์การ ประโยชนก์ าร ประโยชนก์ าร ประโยชนก์ าร ประยกุ ตใ์ ช้การ ประยกุ ตใ์ ช้การเทยี บ ประยุกต์ใช้การเทยี บ ประยกุ ต์ใช้การเทยี บ ประยกุ ต์ใช้การเทียบ เทียบศักราชใน ศักราชใน ศักราชใน ศักราชใน ศักราชใน ชวี ติ ประจำวันได้ ชวี ติ ประจำวนั ได้ ชีวติ ประจำวันได้ ชีวิตประจำวนั ได้ ชีวติ ประจำวันได้ เปน็ อยา่ งดี ค่อนข้างดี พอสมควร รายการประเมิน เกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ปรบั ปรุง (0) คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ/ระดบั คะแนน ดมี าก (3) ดี (2) พอใช้ (1) สามารถคิด คิดวิเคราะห์ คดิ วิเคราะห์ คิดวเิ คราะห์ คดิ วิเคราะห์ วเิ คราะห์ ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธข์ อง ความสัมพนั ธ์ของ ความสมั พันธ์ของ ความสมั พันธ์ของ ศกั ราชกับเหตุการณ์ ศกั ราชกบั เหตุการณ์ ศักราชกบั เหตุการณ์ ศกั ราชกบั เหตุการณ์ ศกั ราชกับ ทางประวัตศิ าสตร์ได้ ทางประวัตศิ าสตร์ไม่ ทางประวัตศิ าสตร์ไม่ ทางประวตั ิศาสตร์ เหตกุ ารณ์ทาง อยา่ งถูกต้อง ชัดเจน บางสว่ น ชดั เจน ไม่ได้ ประวัติศาสตร์ ครบถ้วน สามารถเลอื กใช้ เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เลือกใชเ้ ทคโนโลยี เลอื กใช้เทคโนโลยี เลอื กใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยที ำงาน ทำงานคน้ คว้า ทำงานคน้ ควา้ ทำงานคน้ ควา้ ทำงานค้นคว้า คน้ คว้า ความสมั พนั ธข์ อง ความสัมพันธ์ของ ความสมั พนั ธข์ อง ความสัมพันธ์ของ ความสมั พนั ธ์ของ ศกั ราชกับเหตุการณ์ ศกั ราชกบั เหตุการณ์ ศักราชกบั เหตุการณ์ ศกั ราชกับเหตุการณ์ ศกั ราชกบั ทางประวัติศาสตร์ได้ ทางประวัตศิ าสตร์ไม่ ทางประวัตศิ าสตร์ไม่ ทางประวัติศาสตร์ เหตุการณท์ าง อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน บางส่วน ชัดเจน ไมไ่ ด้ ประวตั ิศาสตร์ ครบถ้วน

รายการประเมนิ เกณฑ์การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ปรบั ปรงุ (0) คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน ดเี ยีย่ ม (3) ดี (2) พอใช้ (1) 1. รกั ชาติ ศาสนา ปฏิบัติตนตามสิทธิ ปฏบิ ัติตนตามสิทธิ ปฏบิ ตั ิตนตามสทิ ธิ ขาดการปฏิบัติตน กษตั ริย์ และหนา้ ที่พลเมืองดี และหนา้ ท่ีพลเมืองดี และหน้าท่ีพลเมืองดี ตามสทิ ธแิ ละหน้าท่ี ของชาติไดเ้ ปน็ อย่าง ของชาติไดค้ ่อนขา้ งดี ของชาติได้พอสมควร พลเมอื งดีของชาติ 1.ใฝ่เรยี นรู้ ดี สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน ขาดความสนใจใน และทำงานได้ และทำงานได้ การเรยี นและทำงาน และทำงานได้เป็น คอ่ นข้างดี พอสมควร ทีด่ ี อย่างดี 3. มุ่งมน่ั ในการ ตง้ั ใจและรับผิดชอบ ต้ังใจและรับผิดชอบ ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบ ขาดความต้ังใจและ ทำงาน ในการทำงานให้ ในการทำงานให้ ในการทำงานให้ รับผิดชอบในการ สำเรจ็ ได้เป็นอย่างดี สำเร็จคอ่ นข้างดี สำเรจ็ ไดพ้ อสมควร ทำงานให้สำเร็จ 4. รกั ความเป็น ไทย แต่งกายและมี แตง่ กายและมี แต่งกายและมี ไม่มสี มั มาคารวะ มารยาทงดงามแบบ มารยาทงดงามแบบ มารยาทงดงามแบบ ไทยมีสมั มาคารวะ ไทยมสี มั มาคารวะ ไทยมีสัมมาคารวะ กตญั ญูกตเวทตี ่อผู้มี กตัญญูกตเวทตี ่อผู้มี กตัญญูกตเวทตี ่อผู้มี พระคณุ พระคณุ ค่อนข้างดี พระคณุ พอสมควร

13. แบบประเมนิ แบบประเมนิ ใบงานท่ี 3.2 เรอื่ ง จุติ....กำเนิดศักราช คำชี้แจง : ให้ผู้สอนบันทึกการทำใบงาน จากกิจกรรมโดยเขียนระดับคะแนนลงในตารางให้ตรงกับ ความสามารถของผูเ้ รยี น ลำดับ รูปแบบชนิ้ งาน เนอ้ื หา รวม ที่ ชอื่ -สกุล (6) (4) คะแนน กลมุ่ ที่ (10) 1 1 2341234 เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดบั ดี ต่ำกว่า 4 คะแนน ระดบั ตอ้ งปรับปรงุ คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ สรปุ เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับคุณภาพต้ังแตร่ ะดบั พอใช้ ขึ้นไป ลงชื่อ............................................................ผู้ประเมิน

แบบประเมินทักษะ การนำเสนอผลงาน คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนบันทึกการใชท้ ักษะ จากกจิ กรรมโดยเขียนระดับคะแนนลงในตารางใหต้ รงกบั ความสามารถของผู้เรียน ลำดับ รปู แบบการนำเสนอ การมีสว่ นรว่ มของ รวม ที่ ชือ่ -สกุล (6) สมาชกิ คะแนน (4) (10) กลมุ่ ที่ 1 234 1 1234 เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดี ตำ่ กวา่ 4 คะแนน ระดับ ตอ้ งปรบั ปรงุ คะแนน 9-10 คะแนน ระดบั ดมี าก คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ สรุปเกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคุณภาพต้ังแตร่ ะดับพอใช้ ขึ้นไป ลงช่ือ............................................................ผูป้ ระเมนิ

แบบสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น รายการสงั เกต พฤติกรรมของนกั เรยี น ชือ่ -สกุล เห็นประโยชนก์ าร ประยุกตใ์ ชก้ ารเทียบ ศักราชใน ชวี ติ ประจำวนั ได้ เลขที่ รวม ๔๓๒๑๔ 1 2 3 4 เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ คะแนน 3 ระดับ ดี คะแนน 4 ระดับดีมาก คะแนน 1 ระดับ ปรับปรงุ คะแนน 2 ระดบั พอใช้ ลงชอ่ื ............................................................ผปู้ ระเมิน

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น รายการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น เลขที่ รวม ชื่อ-สกุล มคี วามสามารถในการคดิ มคี วามสามารถในการ ใชเ้ ทคโนโลยี ๓ ๒ ๑0๓ ๓ ๒ ๑ 0 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ คะแนน 3 ระดับ ดี คะแนน 4 ระดบั ดีมาก คะแนน 1 ระดับ ปรบั ปรุง คะแนน 2 ระดับ พอใช้ ลงชอ่ื ............................................................ผูป้ ระเมนิ

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รายการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เลขที่ รวม ชอ่ื -สกุล รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝเ่ รียนรู้ 1 ๓ ๒๑ 0 ๓ ๓ ๒ ๑ 0 3 2 3 คะแนน 2 ระดับ ดี 4 คะแนน 0 ระดับ ปรบั ปรงุ 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ คะแนน 3 ระดับดเี ย่ียม คะแนน 1 ระดบั พอใช้ ลงชอ่ื ............................................................ผู้ประเมิน

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ รายการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เลขที่ รวม ชอ่ื -สกุล ม่งุ มั่นในการทำงาน รกั ความเป็นไทย 1 ๓ ๒๑ 0 ๓ ๓ ๒ ๑ 0 3 2 3 คะแนน 2 ระดับ ดี 4 คะแนน 0 ระดับ ปรับปรุง 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ คะแนน 3 ระดับดเี ย่ียม คะแนน 1 ระดบั พอใช้ ลงชอ่ื ............................................................ผู้ประเมนิ

14. บันทกึ ผลหลังการสอน จากการปฏิบัติการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ระบบศักราช ภาคปฐมบท สามารถสรุปผล หลังการสอน ได้ดงั นี้ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี…….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ด้านการจดั การเรยี นการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. สามารถสรปุ ผลการประเมินออกเป็น 3 ระดับ ดังน้ี ระดบั ดี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ระดับพอใช้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ระดบั ปรบั ปรงุ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… การแก้ไขปญั หา จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ระบบศักราช ภาคปฐมบท ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ……......พบปัญหาดงั กล่าว ครผู ้สู อนนำสกู่ ารแก้ปญั หา ดงั น้ี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ผลการแก้ไขปญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 15. การจดั การเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื ง ระบบศกั ราช ภาคปฐมบท 1. การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ความรู้ ระบบศักราช คณุ ธรรม มีความขยัน อดทน รับผิดชอบตอ่ งานท่ีได้รับมอบหมาย มีความสามคั คี ร่วมมอื กันทำงาน ในกิจกรรมกระบวนการกลมุ่ ความ ใบงานมคี วามเหมาะสม จำนวนข้อครอบคลมุ เน้ือหาทีเ่ รียน พอประมาณ การมเี หตผุ ล อธิบายการกำเนิดศักราชจากภาพเหตุการณส์ ำคญั ที่เกีย่ วข้องกับระบบศักราช มีภูมิคมุ้ กนั สามารถทำความเขา้ ใจเนือ้ หาศกั ราชเพื่อเป็นพ้นื ฐานในการเรยี น ในตัวทดี่ ี 2. ผลที่ได้รบั ตามหลักสมดุล 4 มิติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม วัตถุ สงั คม มีทักษะค้นควา้ ข้อมูล รกู้ ระบวนการ ใช้ Powerpiont เป็นส่อื การมีสว่ นรว่ มใน จากหนงั สือ กิจกรรมเฉลยใบงาน ทำงานเปน็ ทีมและรบั ฟัง การสอนทเี่ หมาะสมไม่ ประวัติศาสตร์ ม.4-6 กลมุ่ และโทรศัพทม์ ือถือ ความคิดเห็น ก่อเกดิ ผลกระทบ ส่ิงแวดลอ้ ม

ภาคผนวก

สไลด์ Powerpoint ตัวอยา่ ง

ท่มี า : Aj.Rika

ภาพเวลากบั ประวตั ิศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ 1 รหัสวชิ า ส31103 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่ือง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ จำนวน 4 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 ระบบศกั ราช ภาคผจญภยั จำนวน 1 ช่วั โมง ครผู ูส้ อน นายนริศ จันทรส์ ะอาด 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัตศิ าสตรว์ ิเคราะหเ์ หตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ (A1 คุณลกั ษณะท่ดี ขี องนักเรียน) 2. ตวั ชี้วัด (วงเล็บพฤตกิ รรมการเรยี นร้ตู ามแผนผงั ของสำนักทดสอบทางการศึกษา) ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง ของมนุษยชาติ 3. สาระสำคญั การเรียนรู้เรื่อง ระบบศักราช ภาคผจญภัย คือ การเรียนรู้การเปรียบเทียบศักราช เป็นการนำตัวเลข ผลต่างของอายุศักราชแต่ละศักราชมาบวกหรือลบศักราขที่เราต้องการ ตามหลักเกณฑ์ ดังนั้นผู้เรียนจะต้องรู้ จะช่วยให้เปรยี บเทยี บศักราชแต่ละรูปแบบได้อยา่ งถูกต้อง ทำใหผ้ เู้ รยี นใฝ่เรียนรู้ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มุ่งมั่น ในการทำงาน และรักความเป็นไทย เห็นประโยชน์ของการเปรยี บเทยี บศกั ราชตอ่ การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ 4. สาระการเรียนร/ู้ เนอ้ื หาการเรียนรู้ 4.1 การเทียบศักราช ๕. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นกั เรียนอธบิ ายวิธีการเปรียบเทียบศกั ราชแตล่ ะรปู แบบไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (K) ๒. นกั เรยี นเปรียบเทียบศักราชแตล่ ะรปู แบบไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง (P) ๓. นักเรยี นเหน็ ประโยชน์ของการเปรียบเทยี บศกั ราชต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์ (A) 6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 4. รักความเปน็ ไทย

8. ชิน้ งาน/ภาระงาน 1. ใบงานที่ 1.3 เรื่อง เทียบศกั ราช (ช้นิ งาน) 2. การสนทนาถาม-ตอบเก่ียวกบั การเทยี บศักราช (ภาระงาน) 9. กิจกรรมการเรียนรู้ 9.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (10) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับระบบศักราชระบบต่าง ๆ จากคาบที่ แลว้ จากนน้ั นักเรยี นร่วมกนั ตอบคำถาม เร่ือง การเปรยี บเทยี บศกั ราชดงั นี้ 1.1 นักเรียนทราบหรือไม่ว่าโรคระบาดในปัจจุบันเกิดขึ้นตรงกับปีพุทธศักราชใด และตรงกบั ครสิ ตศ์ กั ราชใด 1.2 ถ้านักเรียนไปพบปีศักราชในระบบอื่น ๆ นักเรียนจะทราบได้อย่างไรว่าปี ศักราชน้ัน ๆ ตรงกบั ปีพทุ ธศกั ราชใด 9.2 ขน้ั สอน (35) 2. ครูอธิบาย Concept การเปรียบเทียบศักราช ด้วยสไลด์ Powerpiont การเทียบศักราช (หากหอ้ งไหนใช้โปรเจคเตอรไ์ ม่ได้ใหใ้ ชภ้ าพปร้นิ ขนาด 2*2) โดยใช้เส้นเวลา (Time line) แสดงการเร่มิ ปีที่ 1 ของศักราชแบบต่าง ๆ และชี้ให้เห็นเวลาที่ห่างกันระหว่างศักราชตา่ ง ๆ พร้อมทั้งแสดงวิธีการเทียบศักราชใน แต่ละรูปแบบ จากนั้นครูสุ่มนักเรียนมาอธิบายวิธีการเปรียบเทียบศักราชหน้าชั้นเรียน (Cognition) (Are immune) 3. นักเรียนทำกจิ กรรม “ศักราช...ไหวพรบิ ” โดยมีรายละเอยี ดกจิ กรรมดังน้ี 3.๑ นกั เรยี นจบั คกู่ ันทำกิจกรรม หากจำนวนเศษเหลอื ใหร้ วมกันเปน็ คูพ่ เิ ศษ 3.๒ ครูให้นักเรียนใช้โทรศัพทเ์ ข้าเลน่ เกม Quizizz โดยสแกนคิวอารด์ โค้ดเชื่อมลิ้งก์ เข้าเกมแข่งกนั เทยี บศกั ราช 10 ขอ้ ภายในเวลาทก่ี ำหนด 6 นาทีและแสดงแต้มลำดบั คะแนน 1-3 (R2) , (R3) , (C1) , (C4) , (C6) , (Society) , (Virtue) , (object) 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบวิธีการเทียบศักราชแต่ละข้อ โดยขออาสาสมัคร 10 คน แสดงอธบิ ายข้อเฉลย (C5) , (culture) 5. ครูให้นักเรียนคู่เดิมทำกิจกรรมร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการเล่นเกม “ศักราช...ไหว พริบ” ลงใบงานที่ 1.3 เรอ่ื ง เทียบศกั ราช (Rational) , (Tolerable) 6. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยใบงานที่ 1.3 เรอื่ ง ศกั ราช...ไหวพรบิ (R1) 9.3 ข้ันสรุป (5) 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปบทเรียน โดยครูมีแนวคำถาม นักเรียนคิดว่าการ เปรียบเทยี บศักราชมีประโยชน์อย่างไรต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์ (พจิ ารณาคำตอบของนักเรียนโดยอยใู่ นดุลย พนิ จิ ของครูผู้สอน) (A1) ๑0. ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ 1. ดว้ ยสไลด์ Powerpoint การเทยี บศักราช 2. เกม Quizizz

๑1. การวดั และประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัดประเมนิ ผล เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารผา่ น คำถาม ด้านความรู้ (K) ผ่านระดับคณุ ภาพ พอใช้ขน้ึ ไป 1. นกั เรยี นอธิบายวิธีการ การถาม-ตอบ เปรยี บเทียบศักราชแตล่ ะรูปแบบได้ อยา่ งถูกต้อง ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. ประเมนิ ใบงานท่ี 1.3 1. แบบประเมินใบงาน 2. นักเรยี นเปรียบเทียบศกั ราชแต่ละ เรอื่ ง เทียบศักราช ท่ี 1.3 เร่อื ง เทยี บ ผ่านระดบั คุณภาพ รูปแบบได้อย่างถูกต้อง 2. กจิ กรรมศกั ราช...ไหว ศกั ราช พอใช้ขน้ึ ไป พริบ 2. กิจกรรมศกั ราช... ไหวพริบ ดา้ นเจตคติ (A) 4 ดีเยย่ี ม 3. นักเรียนเห็นประโยชน์ของการ เปรียบเทียบศักราชต่อการศึกษา สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน แบบสงั เกตพฤติกรรม 3 ดี ประวตั ศิ าสตร์ สามารถคิดวเิ คราะห์ นกั เรยี น 2 พอใช้ 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น เลอื กใช้เทคโนโลยีทำ 4.1 ความสามารถในการคิด กิจกรรมการเปรยี บเทยี บ 1 ปรับปรงุ 4.2 ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ศักราชได้ แบบประเมินสมรรถนะ 3 ดีเย่ยี ม ดี ผเู้ รียน 2 พอใช้ ปรบั ปรงุ 1 ดเี ยยี่ ม 0 ดี พอใช้ 5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3 ปรับปรุง 5.1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5.2 ใฝเ่ รียนรู้ สงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี น แบบสังเกตพฤติกรรม 2 5.3 มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 4.4 รกั ความเปน็ ไทย นกั เรยี น 1 0

๑2. เครอ่ื งมือ/เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมิน (K) เรอ่ื ง ตอบคำถาม ประเดน็ 4 เกณฑก์ ารให้คะแนน 1 นำ้ หนัก/ คะแนนรวม ประเมนิ ความสำคญั เนอื้ หาถูกตอ้ ง 32 เนอ้ื หาไม่ ความ สอดคลอ้ ง เนื้อหาถูกต้อง เนอ้ื หาถูกตอ้ ง สอดคล้อง 2.5 10 ถกู ต้อง หัวข้อเรอื่ งเป็น สอดคล้อง สอดคลอ้ ง หัวข้อเรอ่ื ง ส่วนใหญ่ หัวขอ้ เรือ่ งเป็น หวั ข้อเร่อื งเป็น 2.5 10 บางสว่ น สว่ นน้อย รวม เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ คะแนน 7-8 คะแนน ระดับ ดี ต่ำกว่า 4 คะแนน ระดับ ต้องปรบั ปรงุ คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดีมาก คะแนน 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ สรุปเกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับคณุ ภาพต้ังแตร่ ะดับพอใช้ ข้ึนไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook