Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ.2 เทอม1

อ.2 เทอม1

Description: อ.2 เทอม1

Search

Read the Text Version

ก แผนการจดั ประสบการณ์ ชน้ั อนุบาลปที ่ี 2 นายโชตกิ า เสอื พณิ ตาแหนง่ ครอู ัตราจา้ ง โรงเรยี นวดั ทา่ บญุ มี โรงเรียนวัดท่าบญุ มี สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต 2 คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



ค คำนำ ตามคาสัง่ กระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 1223/2560 เรื่องใหใ้ ช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 นั้น สาหรับเด็กอายุ 3-6 ปี เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะของการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษา ทั้งร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญา ตามวยั และความสามารถของแตล่ ะบคุ คล ผจู้ ดั การทาแผนการ จัดประสบการณ์ได้พิจารณาเห็นว่า การศึกษาของเด็กในระดับปฐมวัย เป็นพื้นฐานการศึกษาเบ้ืองต้น อันจะเป็นการรับรองศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้นไป ซึ่งการพัฒนาคุณภาพของประชาการในวัยนี้ ถือเป็นส่วนสาคญั ประการหนึง่ ของการพฒั นาประเทศชาติ เดก็ ในวัยน้จี ะมีผลอย่างยิง่ ตอ่ พัฒนาการของเด็กในชว่ งตอ่ ไป หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มุ่งให้เด็กมีการพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และพร้อมการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดกับเด็กเมื่อจบการศึกษา ได้มีร่างกายเจริญตามวัย แข็งแรงและมีสุขนิสัยที่ดี มีสุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรมแบะจิตใจท่ีดีงาม ทั้งยังมีทักษะและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีวินัยและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ตลอดจนมีทักษะการคิด การใช้ภาษาส่ือสารและการ แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย จึงได้ดาเนินการปรับปรุงแก้ไข โดยการศึกษาหลักการ ทฤษฎี รวมท้ังผลงานวิจัยท่ีเก่ียวกับการศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา ทั้งยังคานึงถึงสภาพเศรษฐกิจและสังคมใน ปัจจุบันเป็นแนวทางในการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ดังกล่าว เพ่ือให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยดังกล่าว แผนการจัดประสบการณ์ชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 เล่มนี้ได้ปรับปรุงโดยเน้ือหาทั้งหมดเป็นไป ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และมีบางส่วน เช่นนิทาน เพลง คาคล้องจอง ครูผู้สอนได้ เรียบเรยี งข้นึ ใหม่เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและทันต่อเหตุการณ์ในปจั จุบัน ผู้จัดทาขอขอบพระคุณ เพื่อนครู อาจารย์และผู้บริหารโรงเรียน ท่ีได้ให้ข้อเสนอแนะในการจัดทา จนแผนการจัดประสบการณ์เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ได้ และหวังว่าจะอานวยประโยชน์ต่อการจัดศึกษาระดับก่อน ประถมศึกษาของชาตติ อ่ ไป นายโชติกา เสือพณิ

ง โครงสรำ้ งหลกั สตู รกำรศึกษำปฐมวัย พทุ ธศักรำช 2560 จุดม่งุ หมำย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มุ่งให้เด็กมีการพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และพร้อมการเรียนรู้ ต่อไป จึงกาหนดจดุ มุ่งหมาย เพ่ือใหเ้ กิดกับเด็กเมอื่ จบการศึกษาระดับปฐมวยั ดงั น้ี 1. มีรา่ งกายเจริญตามวยั แขง็ แรงและมีสุขนิสยั ทด่ี ี 2. มสี ุขภาพจติ ดี มสี ุนทรีภาพ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจติ ใจท่ดี งี าม 3. มีทักษะและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัยและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่าง มีความสขุ 4. มที กั ษะการคิด การใชภ้ าษาสอื่ สารและการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วยั มำตรฐำนคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั กาหนดมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 12 มาตรฐานประกอบด้วย 1. พฒั นาการดา้ นร่างกาย ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวยั และมีสุขนิสัยทดี่ ี มีนา้ หนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ มาตรฐานท่ี 2 กล้ามเนื้อใหญ่ และกลา้ มเน้ือเลก็ แขง็ แรง ใช้ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และประสาน สมั พันธ์กัน 2. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน คอื มาตรฐานท่ี 3 มสี ขุ ภาพจติ ดี และมคี วามสุข มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว มาตรฐานท่ี 5 มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ ใจทีด่ ีงาม 3. พฒั นาการด้านสงั คม ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี 6 มที ักษะชวี ิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย มาตรฐานท่ี 8 อยรู่ ว่ มกับผอู้ ่ืนได้อย่างมคี วามสขุ และปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกของสังคมในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมุข 4. พฒั นาดา้ นสติปัญญา ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐานคือ มาตรฐานท่ี 9 ภาษาสอ่ื สารได้เหมาะสมกับวยั มาตรฐานท่ี 10 มคี วามสามารถในการคดิ ทเ่ี ปน็ พ้นื ฐานในการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 11 มีจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ มาตรฐานที่ 12 มีเจตคตทิ ี่ดตี ่อการเรียนรแู้ ละมที ักษะในการแสวงหาความรู้

จ ตวั บ่งช้ี ตวั บ่งชี้เป็นเปา้ หมายในการพัฒนาเด็กท่ีมีความสมั พันธ์สอดคลอ้ งกับมาตรฐานคุณลักษณะ ท่ีพงึ ประสงค์ สภำพทพ่ี ึงประสงค์ สภาพที่พึงประสงค์เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้เด็กเกิด บนพื้นฐาน พัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ เพ่ือนาไปใช้ในการกาหนดสาระ การเรียนรู้ในการจัดประสบการณ์ และประเมินพัฒนาการเด็ก โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน คุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ ตัวบง่ ชี้ และสภาพทีพ่ ึงประสงค์ ดงั นี้ มำตรฐำนที่ 1 ร่ำงกำยเจริญเตบิ โตตำมวยั และมีสขุ นิสัยท่ีดี ตัวบ่งช้ี อำยุ 3-4 ปี สภำพท่พี งึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 1.1.1 น้าหนกั และ สว่ นสงู ตามเกณฑ์ของ 1.1 น้ำหนกั และ 1.1.1 น้าหนกั และ 1.1.1 น้าหนกั และ กรมอนามัย ส่วนสงู ตำมเกณฑ์ สว่ นสูงตามเกณฑ์ของ สว่ นสูงตามเกณฑข์ อง กรมอนามัย กรมอนามยั 1.2 มีสขุ ภำพอนำมัย 1.2.1 ยอมรับประทาน 1.2.1. รบั ประทาน 1.2.1รบั ประทาน สุขนสิ ัยทด่ี ี อาหารท่ีมีประโยชน์ได้ อาหารที่มีประโยชน์ อาหารท่ีมปี ระโยชน์ หลายชนดิ และด่ืมนา้ สะอาดไดด้ ว้ ยตนเอง และดม่ื น้าท่สี ะอาดเมื่อ และดืม่ น้าสะอาดดว้ ย 1.2.2 ลา้ งมือก่อน รับประทานอาหารและ มผี ชู้ ้ีแนะ ตนเอง หลงั จากใช้หอ้ งน้าห้อง ส้วม ดว้ ยตนเอง 1.2.2 ลา้ งมือก่อน 1.2.2 ล้างมอื ก่อน 1.2.3 นอนพกั ผ่อนเป็น รับประทานอาหารและ รบั ประทานอาหารและ เวลา หลงั จากใชห้ อ้ งน้าห้อง หลงั จากใชห้ ้องน้าห้อง ส้วม เมอื่ มผี ู้ชีแ้ นะ สว้ ม ดว้ ยตนเอง 1.2.3 นอนพกั ผ่อนเปน็ 1.2.3 นอนพักผ่อนเปน็ เวลา เวลา 1.2.4 ออกกาลงั กาย 1.2.4 ออกกาลงั กาย 1.2.4 ออกกาลงั กาย เปน็ เวลา เป็นเวลา เปน็ เวลา 1.3 รักษำควำม 1.3.1 เล่นและทา 1.3.1 เลน่ และทา 1.3.1 เลน่ ทากิจกรรม ปลอดภัยของตนเอง และผ้อู ืน่ กจิ กรรมอย่างปลอดภัย กจิ กรรมอยา่ งปลอดภยั และปฏิบตั ิตอ่ ผู้อนื่ เมื่อมีผชู้ ี้แนะ ดว้ ยตนเอง อยา่ งปลอดภยั

ฉ มำตรฐำนที่ 2 กลำ้ มเนือ้ ใหญแ่ ละกล้ำมเนอ้ื เลก็ แข็งแรง ใช้ได้อย่ำงคล่องแคล่ว และประสำนสมั พันธก์ นั ตวั บง่ ชี้ อำยุ 3-4 ปี สภำพทพ่ี งึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 2.1 เคลื่อนไหวร่ำงกำย 2.1.1 เดนิ ตามแนวที่ 2.1.1 เดินตอ่ เท้าไป 2.1.1 เดนิ ตอ่ เทา้ ไป อย่ำงคล่องแคลว่ กาหนดได้ ขา้ งหนา้ เปน็ เสน้ ตรงได้ ข้างหน้าเป็นเสน้ ตรงได้ ประสำนสมั พันธแ์ ละ โดยไม่ตอ้ งกางแขน โดยไมต่ อ้ งกางแขน ทรงตัวได้ 2.1.2 กระโดดสองขาขนั้ 2.1.2 กระโดดขาเดยี ว 2.1.2 กระโดดขาเดยี ว ลงอยู่กบั ที่ได้ อยกู่ บั ท่ีได้โดยไม่เสียการ ไปข้างหน้าไดโ้ ดยไม่เสยี ทรงตัว การทรงตัว 2.1.3 วิ่งแล้วหยุดได้ 2.1.3 ว่งิ หลบหลกี สิ่งกีด 2.1.3 วิ่งหลบหลกี ส่งิ กดี ขวางได้ ขวางได้อยา่ งคล่องแคล่ว 2.1.4 รับลูกบอลโดยใช้ 2.1.4 รบั ลูกบอลโดยใช้ 2.1.4 รบั ลูกบอลท่ี มือและลาตวั ชว่ ย มือทง้ั สองข้าง กระดอนขน้ึ จากพ้นื ได้ 2.2 ใช้มือ-ตำ ประสำน 2.2.1 ใช้กรรไกรตัด 2.2.1 ใช้กรรไกรตัด 2.2.1 ใชก้ รรไกรตดั สมั พันธก์ นั กระดาษขาดจากกันได้ กระดาษตามแนว กระดาษตามแนวเสน้ โค้ง โดยใช้มอื เดยี ว เสน้ ตรงได้ ได้ 2.2.2 เขยี นรูปวงกลม 2.2.2 เขียนรูปส่เี หลย่ี ม 2.2.2 เขียนรูป ตามแบบได้ ตามแบบได้อยา่ งมมี ุม สามเหล่ียมตามแบบได้ ชดั เจน อยา่ งมีมมุ ชัดเจน 2.2.3 ร้อยวสั ดุท่มี รี ู 2.2.3 รอ้ ยวสั ดุที่มรี ู 2.2.3 ร้อยวัสดุที่มีรู ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 1 ซม.ได้ ขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 0.5 ซม.ได้ 0.25 ซม.ได้

ช มำตรฐำนที่ 3 มสี ุขภำพจติ ดแี ละมีควำมสุข ตัวบง่ ชี้ อำยุ 3-4 ปี สภำพที่พงึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี 3.1.1 แสดงอารมณ์ อำยุ 4-5 ปี 3.1.1 แสดงอารมณ์ 3.1 แสดงออกทำง ความรู้สึกไดเ้ หมาะสม ความรู้สกึ ได้สอดคล้อง อำรมณไ์ ด้อย่ำง กับบางสถานการณ์ 3.1.1 แสดงอารมณ์ กับสถานการณอ์ ย่าง เหมำะสม เหมาะสม ความรสู้ ึกได้เหมาะสม กับตามสถานการณ์ 3.2 มีควำมรสู้ กึ ทีด่ ตี อ่ 3.2.1 กลา้ พดู กล้า 3.2.1 กล้าพดู กลา้ 3.2.1 กลา้ พูดกลา้ แสดงออกอย่าง แสดงออกอย่าง ตนเองและผอู้ น่ื แสดงออก เหมาะสมบาง เหมาะสมตาม สถานการณ์ สถานการณ์ 3.2.2 แสดงความพอใจ 3.2.2 แสดงความพอใจ 3.2.2 แสดงความพอใจ ในผลงานตนเอง ในผลงานและ ในผลงานและ ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเอง และผอู้ ืน่

ซ มำตรฐำนที่ 4 ช่นื ชมและแสดงออกทำงศิลปะ ดนตรี และกำรเคล่อื นไหว ตวั บง่ ชี้ อำยุ 3-4 ปี สภำพทพี่ งึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 4.1.1 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผา่ นงาน 4.1 สนใจ มคี วำมสุข 4.1.1 สนใจ มคี วามสุข 4.1.1 สนใจ มีความสุข ศลิ ปะ และแสดงออก ผำ่ นงำน และแสดงออกผ่านงาน และแสดงออกผ่านงาน 4.1.2 สนใจ มคี วามสุข และแสดงออกผ่าน ศลิ ปะ ดนตรี และกำร ศลิ ปะ ศิลปะ เสียงเพลง ดนตรี เคลอื่ นไหว 4.1.2 สนใจ มคี วามสุข 4.1.2 สนใจ มคี วามสุข และแสดงออกผ่าน และแสดงออกผา่ น เสยี งเพลง ดนตรี เสียงเพลง ดนตรี 4.1.3 สนใจ มีความสุข 4.1.3 สนใจ มคี วามสุข 4.1.3 สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง / และแสดงท่าทาง / และแสดงท่าทาง / เคล่ือนไหวประกอบ เคลือ่ นไหวประกอบ เคลื่อนไหวประกอบ เพลง จังหวะ และดนตรี เพลง จังหวะ และดนตรี เพลง จงั หวะ และดนตรี

ฌ มำตรฐำนท่ี 5 มคี ุณธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจท่ดี งี ำม ตวั บ่งชี้ อำยุ 3-4 ปี สภำพท่พี ึงประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 5.1 ซื่อสตั ยส์ ุจรติ 5.1.1 บอกหรือชี้ได้วา่ สงิ่ 5.1.1 ขออนุญาตหรือรอ 5.1.1 ขออนุญาตหรือรอ ใดเปน็ ของตนเองและส่งิ คอยเมื่อต้องการสิ่งของ คอยเม่ือต้องการสิง่ ของ ใดเป็นของผ้อู ืน่ ผู้อ่ืนเม่ือมีผชู้ แี้ นะ ผู้อ่ืนด้วยตนเอง 5.2 มคี วำมเมตตำ 5.2.1 แสดงความรัก 5.2.1 แสดงความรกั 5.2.1 แสดงความรกั กรณุ ำ มนี ำ้ ใจและ เพอ่ื นและมเี มตตาสัตว์ เพื่อนและมีเมตตาสตั ว์ เพื่อนและมีเมตตาสตั ว์ ช่วยเหลือแบ่งปนั เลีย้ ง เลีย้ ง เลยี้ ง 5.2.2 แบ่งปนั ผูอ้ ่นื ได้ 5.2.2 ชว่ ยเหลือและ 5.2.2 ช่วยเหลือและ เมื่อมผี ู้ชีแ้ นะ แบง่ ปันผู้อนื่ ได้เมื่อมีผู้ แบ่งปนั ผอู้ ่ืนได้ดว้ ย ช้ีแนะ ตนเอง 5.3 มคี วำมเหน็ อกเหน็ 5.3.1 แสดงสหี นา้ หรอื 5.3.1 แสดงสีหนา้ หรือ 5.3.1 แสดงสีหน้าหรือ ใจผู้อน่ื ท่าทางรับรู้ความร้สู ึก ทา่ ทางรบั ร้คู วามรสู้ กึ ท่าทางรับร้คู วามรู้สึก ผูอ้ ืน่ ผู้อนื่ อย่างสอดคล้องกับ ผู้อ่ืน สถานการณ์ 5.4 มีควำมรบั ผิดชอบ 5.4.1 ทางานทไี่ ด้รบั 5.4.1 ทางานที่ได้รบั 5.4.1 ทางานที่ไดร้ บั มอบหมายจนสาเรจ็ เมื่อ มอบหมายจนสาเร็จ เมื่อ มอบหมายจนสาเร็จด้วย มีผูช้ ว่ ยเหลือ มีผ้ชู ีแ้ นะ ตนเอง

ญ มำตรฐำนท่ี 6 มีทักษะชีวติ และปฏิบัติตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ อำยุ 3-4 ปี สภำพท่พี งึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 6.1 ช่วยเหลือตนเองใน 6.1.1 แต่งตัวโดยมผี ู้ 6.1.1 แต่งตวั ดว้ ยตนเอง 6.1.1 แต่งตัวด้วยตนเอง กำรปฏิบัตกิ ิจวัตร ชว่ ยเหลอื 6.1.2 รบั ประทาน ได้อย่างคล่องแคลว่ ประจำวนั 6.1.2 รบั ประทาน 6.1.2 รบั ประทาน อาหารดว้ ยตนเอง อาหารด้วยตนเอง อาหารด้วยตนเองอย่าง ถกู วธิ ี 6.1.3 ใชห้ ้องนา้ ห้องส้วม 6.1.3 ใชห้ อ้ งนา้ ห้องส้วม 6.1.3 ใชแ้ ละทาความ โดยมผี ชู้ ว่ ยเหลอื โดยมีผูช้ ่วยเหลอื สะอาดหลงั ใช้ห้องน้า ห้องส้วม ดว้ ยตนเอง 6.2 มีวินัยในตนเอง 6.2.1 เก็บของเล่นของ 6.2.1 เก็บของเลน่ ของ 6.2.1 เกบ็ ของเลน่ ของ ใช้เข้าทเ่ี ม่ือมีผู้ชี้แนะ ใชเ้ ข้าท่ีเม่ือด้วยตนเอง ใชเ้ ขา้ ที่อย่างเรยี บร้อย ด้วยตนเอง 6.2.2 เข้าแถวตามลาดับ 6.2.2 เข้าแถวตามลาดับ 6.2.2 เข้าแถวตามลาดับ กอ่ นหลังไดเ้ มื่อมผี ชู้ ี้แนะ กอ่ นหลังได้ด้วยตนเอง กอ่ นหลงั ไดด้ ว้ ยตนเอง 6.3 ประหยัดและ 6.3.1 ใชส้ ิ่งของเคร่ืองใช้ 6.3.1 ใช้สิง่ ของเครื่องใช้ 6.3.1 ใชส้ ่ิงของเครื่องใช้ พอเพยี ง อย่างประหยดั และ อย่างประหยัดและ อยา่ งประหยัดและ พอเพยี งเม่ือมีผชู้ ี้แนะ พอเพียงเม่ือมผี ้ชู ีแ้ นะ พอเพยี งด้วยตนเอง

ฎ มำตรฐำนที่ 7 รกั ธรรมชำติ ส่งิ แวดล้อม วฒั นธรรม และควำมเป็นไทย ตัวบ่งช้ี อำยุ 3-4 ปี สภำพทพ่ี งึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 7.1 ดแู ลรกั ษำ 7.1.1 มสี ่วนร่วมดแู ล 7.1.1 มสี ว่ นรว่ มดแู ล 7.1.1 ดแู ลรักษา ธรรมชำตแิ ละ รักษาธรรมชาตแิ ละ รกั ษาธรรมชาติและ ธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม สงิ่ แวดล้อมเม่ือมีผู้ช้ีแนะ สิ่งแวดล้อมเมื่อมีผู้ชีแ้ นะ สง่ิ แวดลอ้ มด้วยตนเอง 7.1.2 ทง้ิ ขยะได้ถูกที่ 7.1.2 ทิ้งขยะไดถ้ ูกท่ี 7.1.2 ทงิ้ ขยะไดถ้ ูกท่ี 7.2 มีมำรยำทตำม 7.2.1 ปฏบิ ตั ิตนตาม 7.2.1 ปฏบิ ัติตนตาม 7.2.1 ปฏิบัติตนตาม มารยาทไทยได้ด้วย มารยาทไทยได้ตาม วัฒนธรรมไทย และรัก มารยาทไทยได้เมื่อมผี ู้ ตนเอง กาลเทศะ ควำมเปน็ ไทย ช้ีแนะ 7.2.2 กลา่ วคาขอบคุณ 7.2.2 กลา่ วคาขอบคุณ 7.2.2 กลา่ วคาขอบคณุ และขอโทษเม่ือมีผู้ชี้แนะ และขอโทษดว้ ยตนเอง และขอโทษด้วยตนเอง 7.2.3 หยดุ ยืนเมือ่ ได้ยนิ 7.2.3 ยืนตรงเมื่อได้ยิน 7.2.3 ยืนตรงและร่วม เพลงชาติไทยและเพลง เพลงชาตไิ ทยและเพลง รอ้ งเพลงชาติไทยและ สรรเสรญิ พระบารมี สรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสรญิ พระบารมี

ฏ มำตรฐำนที่ 8 อยู่รว่ มกับผู้อื่นไดอ้ ย่ำงมคี วำมสขุ และปฏิบัตเิ ป็นสมำชกิ ที่ดขี องสังคม ในระบอบประชำธิปไตยอนั มีพระมหำกษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ตวั บ่งชี้ อำยุ 3-4 ปี สภำพทีพ่ งึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 8.1 ยอมรับควำม 8.1.1 เลน่ และทา 8.1.1 เล่นและทา 8.1.1 เลน่ และทา เหมอื นและควำม กจิ กรรมร่วมกับเดก็ ที่ กิจกรรมร่วมกับเดก็ ท่ี กจิ กรรมรว่ มกับเด็กที่ แตกตำ่ งระหว่ำงบคุ คล แตกตา่ งไปจากตน แตกต่างไปจากตน แตกตา่ งไปจากตน 8.2 มีปฏสิ ัมพันธ์ท่ดี กี บั 8.2.1 เลน่ ร่วมกบั เพอื่ น 8.2.1 เล่นหรอื ทางาน 8.2.1 เลน่ หรอื ทางาน ผู้อนื่ ร่วมกบั เพ่ือนเปน็ กลุ่ม รว่ มมือกับเพ่ือนอย่างมี เป้าหมาย 8.2.2 ยิม้ หรอื ทกั ทาย 8.2.2 ยิ้ม ทกั ทายหรือ 8.2.2 ยม้ิ ทกั ทายและ ผู้ใหญ่และบุคคลท่ี พดู คุยกบั ผ้ใู หญ่และ พดู คยุ กับผใู้ หญแ่ ละ คุ้นเคยเมื่อมีผูช้ ้ีแนะ บคุ คลท่คี นุ้ เคยได้ด้วย บคุ คลท่ีคนุ้ เคยได้ ตนเอง เหมาะสมกับสถานการณ์ 8.3 ปฏิบตั ิตนเบื้องต้น 8.3.1 ปฏิบตั ติ าม 8.3.1 มีส่วนรว่ มสรา้ ง 8.3.1 มีสว่ นร่วมสรา้ ง ในกำรเป็นสมำชกิ ที่ดี ข้อตกลงเมื่อมีผชู้ ีแ้ นะ ข้อตกลงและปฏบิ ตั ิตาม ข้อตกลงและปฏบิ ตั ิตาม ของสังคม ขอ้ ตกลงเม่ือมีผชู้ แ้ี นะ ขอ้ ตกลงด้วยตนเอง 8.3.2 ปฏบิ ตั ิเป็นผ้นู า 8.3.2 ปฏิบตั ิเปน็ ผู้นา 8.3.2 ปฏบิ ัตเิ ป็นผูน้ า และผตู้ ามเม่ือมีผ้ชู แ้ี นะ และผู้ตามได้ด้วยตนเอง และผู้ตามได้เหมาะสม กับสถานการณ์ 8.3.3 ยอมรับการ 8.3.3 ประนปี ระนอม 8.3.3 ประนีประนอม ประนปี ระนอมแก้ไข แก้ไขปัญหาโดย ปัญหาเมอื่ มีผชู้ ้แี นะ ปราศจากการใช้ความ แก้ไขปัญหาโดย รนุ แรงเมือ่ มผี ู้ช้ีแนะ ปราศจากการใชค้ วาม รุนแรงด้วยตนเอง

ฐ มำตรฐำนท่ี 9 ใชภ้ ำษำสอ่ื สำรไดเ้ หมำะสมกับวัย สภำพที่พึงประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 9.1.1 ฟังผอู้ ืน่ พดู จนจบ ตัวบง่ ชี้ อำยุ 3-4 ปี และสนทนาโต้ตอบ 9.1 สนทนำโต้ตอบและ 9.1.1 ฟงั ผอู้ น่ื พดู จนจบ 9.1.1 ฟังผูอ้ น่ื พูดจนจบ สอดคลอ้ งอยา่ งตอ่ เน่ือง เล่ำเรื่องให้ผอู้ ื่นเขำ้ ใจ และพูดโต้ตอบเกี่ยวกับ เชอ่ื มโยงกับเร่ืองที่ฟัง และสนทนาโต้ตอบ เรอ่ื งท่ีฟงั สอดคล้องกบั เร่ืองท่ีฟงั 9.1.2 เลา่ เร่อื งด้วย 9.1.2 เลา่ เร่ืองเปน็ 9.1.2 เลา่ เปน็ เรื่องราว ประโยคส้นั ๆ ประโยคอยา่ งต่อเนื่อง ตอ่ เนื่องได้ 9.2 อำ่ น เขียนภำพ 9.2.1 อ่านภาพ และพดู 9.2.1 อา่ นภาพ 9.2.1 อา่ นภาพ และสญั ลกั ษณไ์ ด้ ข้อความด้วยภาษาชอง สัญลกั ษณ์ คา พร้อมท้ัง สญั ลกั ษณ์ คา ด้วยการช้ี ตน ช้ีหรอื กวาดตามองตาม หรือกวาดตามอง บรรทดั จุดเริม่ ตน้ และจุดจบของ ข้อความ 9.2.2 เขยี นขดี เข่ีย อยา่ ง 9.2.2 เชยี นคลา้ ย 9.2.2 เขียนชอื่ ของ ตนเองตามแบบ เขยี น มีทิศทาง ตวั อักษร ข้อความด้วยวิธีทค่ี ดิ ขึ้น เอง

ฑ มำตรฐำนท่ี 10 มคี วำมสำมำรถในกำรคิดทีเ่ ปน็ พ้ืนฐำนในกำรเรยี นรู้ ตัวบง่ ชี้ อำยุ 3-4 ปี สภำพทพี่ งึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 10.1 มีควำมสำมำรถ 10.1.1 บอกลกั ษณะของ 10.1.1 บอกลักษณะ 10.1.1 บอกลกั ษณะ ในกำรคิดรวบยอด สงิ่ ต่างๆ จากการสงั เกต และส่วนประกอบของส่ิง สว่ นประกอบ การ โดยใช้ประสาทสัมผัส ต่างๆ จากการสังเกตโดย เปล่ียนแปลงหรือ ใช้ประสาทสัมผัส ความสมั พนั ธข์ องสง่ิ ตา่ งๆ จากการสงั เกตโดย ใชป้ ระสาทสัมผัส 10.1.2 จบั คหู่ รือ 10.1.2 จบั คู่และ 10.1.2 จับคู่และ เปรยี บเทยี บสิ่งตา่ งๆ เปรยี บเทยี บความ เปรียบเทียบความ โดยใชล้ กั ษณะหรือ แตกต่างหรือความ แตกต่างหรือความ หน้าท่ีการใชง้ านเพยี ง เหมอื นของสิง่ ตา่ งๆ โดย เหมอื นของส่งิ ต่างๆ โดย ลกั ษณะเดยี ว ใชล้ ักษณะท่สี ังเกตพบ ใชล้ ักษณะท่ีสงั เกตพบ เพยี งลักษณะเดยี ว สองลกั ษณะขน้ึ ไป 10.1.3 คัดแยกสิ่งตา่ งๆ 10.1.3 จาแนกและจดั 10.1.3 จาแนกและจัด ตามลกั ษณะหรือหน้าท่ี กลมุ่ สงิ่ ตา่ งๆ โดยใช้ กลมุ่ สง่ิ ตา่ งๆ โดยใช้ การใชง้ าน อยา่ งน้อยหนึง่ ลักษณะ ตง้ั แตส่ องลักษณะข้นึ ไป เป็นเกณฑ์ เปน็ เกณฑ์ 10.1.4 เรยี งลาดบั 10.1.4 เรียงลาดบั 10.1.4 เรียงลาดับ สิ่งของหรือเหตกุ ารณ์ สงิ่ ของหรือเหตุการณ์ สง่ิ ของหรือเหตกุ ารณ์ อย่างน้อย 1 ลาดบั อย่างน้อย 4 ลาดบั อยา่ งน้อย 5 ลาดบั

ฒ มำตรฐำนท่ี 10 มคี วำมสำมำรถในกำรคดิ ทีเ่ ปน็ พืน้ ฐำนในกำรเรียนรู้(ต่อ) ตวั บ่งช้ี อำยุ 3-4 ปี สภำพทีพ่ งึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 10.2 มคี วำมสำมำรถใน 10.2.1 ระบผุ ลทีเ่ กิดขน้ึ 10.2.1 ระบสุ าเหตุหรอื 10.2.1 อธบิ ายเชื่อมโยง กำรคิดเชงิ เหตุผล ในเหตุการณ์หรือการ ผลท่เี กิดขนึ้ ในเหตุการณ์ สาเหตุและผลท่เี กิดข้ึน กระทาเม่อื มีผูช้ ้ีแนะ หรอื การกระทาเมื่อมผี ู้ ในเหตุการณ์หรือการ ชี้แนะ กระทาดว้ ยตนเอง 10.2.2 คาดเดา หรือ 10.2.2 คาดเดา หรือ 10.2.2 คาดคะเนสงิ่ ที่ คาดคะเนสงิ่ ที่อาจจะ คาดคะเนส่ิงท่ีอาจจะ อาจจะเกดิ ขนึ้ และมี เกิดข้ึน เกดิ ขึ้น หรอื มีสว่ นร่วม ส่วนรว่ มในการลง ในการลงความเห็นจาก ความเห็นจากข้อมูล ขอ้ มลู อยา่ งมีเหตุผล 10.3 มคี วำมสำมำรถใน 10.3.1 ตดั สนิ ใจในเรือ่ ง 10.3.1 ตดั สินใจในเรื่อง 10.3.1 ตัดสินใจในเรื่อง กำรคดิ แกป้ ัญหำและ งา่ ยๆ งา่ ยๆ และเร่ิมเรียนรู้ผล ง่ายๆและยอมรบั ผลที่ ตดั สนิ ใจ ที่เกดิ ขึ้น เกิดขนึ้ 10.3.2 แก้ปัญหาโดย 10.3.2 ระบุปญั หา และ 10.3.2 ระบุปญั หา สร้าง ลองผิดลองถกู แก้ปญั หาโดยลองผดิ ลอง ทางเลือกและเลือกวิธี ถกู แก้ปัญหา

ณ มำตรฐำนที่ 11 มจี นิ ตนำกำรและควำมคิดสรำ้ งสรรค์ ตวั บ่งช้ี อำยุ 3-4 ปี สภำพที่พงึ ประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 11.1 ทำงำนศิลปะตำม 11.1.1 สร้างผลงาน 11.1.1 สร้างผลงาน 11.1.1 สร้างผลงาน จนิ ตนำกำรและ ศลิ ปะเพอ่ื ส่ือสาร ศลิ ปะเพื่อส่ือสาร ศิลปะเพื่อสื่อสาร ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ ความคดิ ความรสู้ ึกของ ความคดิ ความรู้สึกของ ความคดิ ความรูส้ ึกของ ตนเอง ตนเองโดยมีการ ตนเองโดยมีการ ดัดแปลง และแปลกใหม่ ดดั แปลง และแปลกใหม่ จากเดิมหรือมี จากเดิมหรือมี รายละเอยี ดเพิ่มข้นึ รายละเอยี ดเพ่ิมข้ึน 11.2 แสดงทำ่ ทำง / 11.2.1 เคล่ือนไหว 11.2.1 เคลื่อนไหว 11.2.1 เคลอ่ื นไหว เคลื่อนไหวตำม ทา่ ทางเพื่อสื่อสาร ท่าทางเพอื่ ส่ือสาร ทา่ ทางเพอื่ ส่ือสาร จินตนำกำรอยำ่ ง ความคดิ ความรสู้ ึกของ ความคดิ ความรสู้ ึกของ ความคดิ ความรู้สึกของ สร้ำงสรรค์ ตนเอง ตนเองอยา่ งหลากหลาย ตนเองอย่างหลากหลาย หรอื แปลกใหม่ และแปลกใหม่

ด มำตรฐำนท่ี 12 มีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ กำรเรยี นรู้ และมีควำมสำมำรถในกำรแสวงหำควำมรู้ไดเ้ หมำะสมกบั วยั ตัวบ่งช้ี อำยุ 3-4 ปี สภำพที่พึงประสงค์ อำยุ 5-6 ปี อำยุ 4-5 ปี 12.1 มเี จตคตทิ ดี่ ีต่อ 12.1.1 สนใจฟังหรือ 12.1.1 สนใจซักถาม 12.1.1 สนใจหยิบ กำรเรยี นรู้ อา่ นหนังสอื ด้วยตนเอง เกี่ยวกับสญั ลักษณห์ รือ หนังสอื มาอ่านและเขียน ตวั หนงั สือที่พบเห็น สอื่ ความคดิ ดว้ ยตนเอง เป็นประจาอย่างต่อเนื่อง 12.1.2 กระตือรือรน้ ใน 12.1.2 กระตือรือรน้ ใน 12.1.2 กระตือรือร้นใน การเข้ารว่ มกิจกรรม การเขา้ ร่วมกิจกรรม การเข้ารว่ มกิจกรรม ตง้ั แต่ต้นจนจบ 12.2 มีควำมสำมำรถ 12.2.1 ค้นหาคาตอบ 12.2.1 คน้ หาคาตอบ 12.2.1 คน้ หาคาตอบ ในกำรแสวงหำควำมรู้ ของข้อสงสยั ต่างๆ ตาม ของขอ้ สงสยั ตา่ งๆ ตาม ของขอ้ สงสยั ตา่ งๆ โดย วิธกี ารท่ีมผี ู้ช้แี นะ วธิ กี ารของตนเอง ใชว้ ธิ ีการที่หลากหลาย ด้วยตนเอง 12.2.2 ใช้ประโยค 12.2.2 ใชป้ ระโยค 12.2.2 ใชป้ ระโยค คาถามวา่ “ใคร” คาถามวา่ “ที่ไหน” คาถามวา่ “เมอื่ ไร” “อะไร” ในการคน้ หา “ทาไม” ในการค้นหา “อยา่ งไร” ในการคน้ หา คาตอบ คาตอบ คาตอบ

ต การวเิ คราะห์สาระการเรียนรู้ 1. เรอื่ งรำวเกี่ยวกับตวั เดก็ สำระกำรเรยี นรู้ คุณลกั ษณะตำมวัย มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตัวบ่งชี้ - ชื่อ นามสกุล - บอกชื่อตวั เอง เพือ่ น และ - อายุ เพศ บคุ คล อ่นื ๆ ได้ มำตรฐำนที่ 1 ร่างกาย - รูปร่าง ลักษณะ - สังเกตและจาแนก เจริญเตบิ โตตามวยั และมสี ุขนิสยั ท่ี - ความร้สู กึ เปรยี บเทียบ รปู ร่างลักษณะ ดี - หน้าทข่ี องอวยั วะ ของรา่ งกาย และอวยั วะต่าง ๆ 1.1 มนี ้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ - การดแู ล รักษาร่างกาย ได้ อายุ - การระวังอบุ ัติเหตุ - อธบิ ายการรักษาความ 1.2 มีสุขภาพอนามยั สขุ นิสยั ทดี่ ี - ลักษณะของอวยั วะ สะอาดร่างกายและอวัยวะได้ 1.3 รักษาความปลอดภัยของ - กฎ ระเบียบ - ฟงั พดู อา่ น เขยี น ตนเองและผ้อู ่ืน - หนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบ เก่ยี วกับตวั เองได้ มำตรฐำนท่ี 2 กลา้ มเนื้อใหญ่ - การปฏิบตั ิตนในสังคม - วาดภาพ ระบายสี เกี่ยวกับ และกล้ามเนื้อเลก็ แข็งแรงใชไ้ ด้ - การแสดงความคดิ เหน็ ตวั เองได้ อยา่ งคล่องแคล่วและประสาน - การรับประทานอาหาร - ปฏิบตั ติ นในการเล่นกบั เพื่อน สัมพนั ธ์กนั - มารยาทในการพูด ได้ 2.1เคล่ือนไหวรา่ งกายอย่าง - มารยาทท่ดี ีงามของไทย - มีมารยาททีด่ เี หมาะสมกับวัย คลอ่ งแคลว่ ประสานสัมพนั ธ์กัน - การแตง่ กาย - บอกความต้องการ รบั รู้ และทรงตัวได้ - การรอคอย การแบง่ ปัน ความรูส้ ึกของผอู้ ืน่ - ใชม้ อื -ตาประสานสัมพนั ธ์กัน - การช่วยเหลอื ผู้อนื่ - กล้าแสดงออก แสดงความ มำตรฐำนท่ี 3 มสี ุขภาพจติ ดแี ละ - การอย่รู ว่ มกันในสังคม คิดเหน็ และตอบคาถามเกีย่ วกับ มคี วามสขุ - ความภมู ิใจในความเปน็ ไทย เร่ืองท่ีสนทนาได้ 3.1แสดงออกทางอารมณ์อยา่ ง - การเปน็ ประชาธิปไตย เหมาะสม 3.2 มีความรสู้ ึกทีด่ ตี ่อตนเองและ ผูอ้ ืน่ มำตรฐำนที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจท่ดี ีงาม 5.1 ซือ่ สตั ย์สุจริต 5.2 มคี วามเมตตา กรุณา มนี ้าใจ และช่วยเหลอื แบง่ ปนั 5.3 มคี วามเหน็ อกเห็นใจผู้อน่ื 5.4 มคี วามรับผดิ ชอบ

2. เร่ืองรำวเกี่ยวกับบคุ คลและสถำนท่ีแวดล้อมเด็ก ถ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ คุณลกั ษณะตำมวัย - บอกชอื่ บุคคล สถานที่ได้ มำตรฐำนที่ 2 กล้ามเน้ือใหญ่และ - รปู ร่าง ลักษณะ หน้าตา - สังเกต จาแนก เปรยี บเทียบ รปู รา่ งลกั ษณะของสถานทตี่ ่าง ๆ ได้ กลา้ มเน้อื เล็กแข็งแรงใช้ไดอ้ ย่าง - อาชีพ - อธิบายความสมั พันธข์ องบุคคลท่ี เกย่ี วข้องกับตวั เองได้ คลอ่ งแคลว่ และประสานสัมพันธก์ นั - หน้าที่ - มที กั ษะทางภาษา การฟัง พูด อา่ น เขียน 2.1เคลื่อนไหวรา่ งกายอย่าง - การปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดี - มีความคิดสร้างสรรคใ์ นการสร้าง งานศลิ ปะ คล่องแคล่วประสานสัมพนั ธ์กัน - บุคคลในครอบครวั - ปฏบิ ตั ติ นไดอ้ ย่างเหมาะสมกับ ชมุ ชน และทรงตัวได้ - หนา้ ที่รบั ผิดชอบ - มมี ารยาท่ดี ี รูจ้ ักกาลเทศะ - บอกความต้องการ ความรู้สึกของ -2.2 ใช้มอื -ตาประสานสัมพนั ธก์ ัน - กฎ ระเบียบในบา้ น ตนเองใหผ้ ู้อ่นื ทราบได้ - กลา้ แสดงออก แสดงความคิดเห็น มำตรฐำนท่ี 3 มีสขุ ภาพจติ ดีและ - การปฏิบตั ิตนในครอบครวั และตอบคาถามเกี่ยวกับเรือ่ งที่ สนทนาได้ มคี วามสุข - กจิ วตั รประจาวัน - ร่วมกระบวนการกล่มุ ได้ - แก้ปัญหาในชวี ติ ประจาวนั ได้ 3.1แสดงออกทางอารมณ์อย่าง - ช่อื โรงเรียน สถานท่ตี ่าง ๆ เหมาะสม - กิจกรรมในโรงเรียน 3.2 มีความรสู้ กึ ทีด่ ีต่อตนเองและ - การดแู ลรกั ษาโรงเรียน ผู้อื่น - สถานท่ีตา่ ง ๆ ในชมุ ชน มำตรฐำนท่ี 4 ชน่ื ชมและ - ประเพณี วัฒนธรรม แสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และ - วันสาคัญ การเคลอื่ นไหว - การร่วมกิจกรรมในชุมชน 4.1 สนใจ มีความสขุ และแสดงออก - การรอคอย การแบ่งปัน ผ่านงานศิลปะ ดนตรี และการ - การชว่ ยเหลือ ผอู้ น่ื เคล่อื นไหว - การอยู่รว่ มกันในสงั คม มำตรฐำนท่ี 5 มคี ุณธรรม - ความภูมิใจในความเปน็ ไทย จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจทีด่ ีงาม - การเป็นประชาธปิ ไตย 5.1 ซอื่ สัตยส์ ุจรติ 5.2 มีความเมตตา กรณุ า มนี ้าใจ และชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน 5.3 มีความเห็นอกเห็นใจผู้อืน่ 5.4 มีความรับผิดชอบ มำตรฐำนที่ 8 อยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ื่นได้ อยา่ งมีความสขุ และปฏบิ ตั ิเป็น สมาชกิ ทดี่ ขี องสังคมในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ ทรงเปน็ ประมขุ

ท มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรู้ คณุ ลกั ษณะตำมวัย 8.1 ยอมรับความเหมอื นและความ แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 8.2 มปี ฏิสมั พันธท์ ่ดี ีกบั ผู้อื่น 8.3 ปฏบิ ัติตนเบอ้ื งต้นในการเปน็ สมาชกิ ท่ีดขี องสังคม มำตรฐำนท่ี 9 ใชภ้ าษาสอื่ สารได้ เหมาะสมกบั วัย 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ ผ้อู ื่นเขา้ ใจ 9.2 อ่าน และเขียนภาพสญั ลกั ษณ์ได้ มำตรฐำนท่ี 10 มีความสามารถใน การคดิ ท่เี ป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้ 10.1 มีความสามารถในการคิดรวบ ยอด 10.2มีความสามารถในการคดิ เชิง เหตผุ ล 10.3 มคี วามสมารถในการ แก้ปญั หา และตดั สนิ ใจ มำตรฐำนท่ี 11 มีจินตนาการและ ความคดิ สรา้ งสรรค์ 11.1 ทางานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและ ความคดิ สร้างสรรค์ 11.2 แสดงท่าทางเคลื่อนไหวตาม จนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ มำตรฐำนที่ 12 มีเจตคติทด่ี ีตอ่ การ เรียนรู้และมีความสามารถในการ แสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมกบั วยั 12.1 มเี จตคติท่ดี ตี อ่ การเรยี นรู้ 12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหา ความรู้

3. ธรรมชำตริ อบตวั ธ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรู้ คุณลักษณะตำมวัย - เปรียบเทียบความเหมือน มำตรฐำนท่ี 1 รา่ งกาย - สิ่งมีชีวติ ความแตกต่างของส่งิ ต่าง ๆ ได้ - จาแนก จัดกลมุ่ ส่งิ ของตา่ ง ๆ เจริญเติบโตตามวยั และมสี ุขนิสยั ท่ีดี - สิง่ ไมม่ ีชวี ิต ได้ - สงั เกต ค้นคว้า ทดลองได้ 1.1 มีน้าหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ - ไมด้ อก ไมป้ ระดบั - สารวจลกั ษณะ รูปร่าง ส่วนประกอบของสตั ว์ และพืช 1.2 มสี ขุ ภาพอนามัยสุขนสิ ัยท่ีดี - การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ ได้ - บอกความรสู้ ึกตามสภาพ 1.3 รกั ษาความปลอดภยั ของตนเอง - ฤดรู อ้ น อากาศฤดูกาลได้ - มที ักษะกระบวนการกลุ่ม และผอู้ ่ืน - ฤดฝู น - มที กั ษะทางภาษา การฟัง พูด อา่ น เขียนเก่ยี วกับธรรมชาติ มำตรฐำนท่ี 2 กลา้ มเนื้อใหญ่และ - ฤดหู นาว - เรยี งลาดบั เหตุการณ์ก่อน หลงั ได้ กล้ามเนอ้ื เล็กแข็งแรงใช้ไดอ้ ย่าง - สี - มีความเมตตา กรุณาตอ่ สัตว์ - สรา้ งผลงานทางศิลปะได้อย่าง คล่องแคลว่ และประสานสัมพันธก์ ัน - กลางวนั กลางคืน สร้างสรรค์ และเสรี - แก้ปัญหา ในชวี ติ ประจาวนั 2.1เคลื่อนไหวร่างกายอย่าง - ประโยชน์ ได้ คล่องแคล่วประสานสัมพนั ธ์กัน - โทษ และทรงตวั ได้ - ดวงจนั ทร์ 2.2 ใช้มอื -ตาประสานสัมพนั ธก์ ัน - ขยะ มำตรฐำนท่ี 3 มสี ุขภาพจติ ดีและมี - ภัยธรรมชาติ ความสขุ - การเกิดฝน 3.1แสดงออกทางอารมณ์อย่าง เหมาะสม 3.2 มคี วามรสู้ กึ ที่ดีต่อตนเองและ ผ้อู ่ืน มำตรฐำนที่ 4 ชื่นชมและแสดงออก ทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว 4.1 สนใจ มคี วามสุขและแสดงออก ผา่ นงานศิลปะ ดนตรี และการ เคลื่อนไหว มำตรฐำนท่ี 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจที่ดงี าม 5.1 ซอ่ื สตั ย์สุจริต 5.2 มีความเมตตา กรณุ า มนี ้าใจและ ชว่ ยเหลือแบง่ ปนั 5.3 มีความเหน็ อกเห็นใจผู้อืน่ 5.4 มีความรบั ผดิ ชอบ

น มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรู้ คณุ ลักษณะตำมวัย มำตรฐำนที่ 7 รกั ธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย 7.1 ดแู ลรักษาธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม 7.2 มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน็ ไทย มำตรฐำนท่ี 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้ เหมาะสมกบั วัย 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเร่อื งให้ผอู้ ่นื เขา้ ใจ 9.2 อ่านและเขยี นภาพสัญลักษณ์ได้ มำตรฐำนที่ 10 มคี วามสามารถในการ คิดท่ีเป็นพ้นื ฐานในการเรยี นรู้ 10.1 มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด 10.2มคี วามสามารถในการคิดเชิงเหตุผล 10.3 มีความสมารถในการ แก้ปัญหาและ ตัดสนิ ใจ มำตรฐำนที่ 11 มีจนิ ตนาการและ ความคดิ สรา้ งสรรค์ 11.1 ทางานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและ ความคดิ สรา้ งสรรค์ 11.2แสดงทา่ ทางเคล่ือนไหวตาม จินตนาการอยา่ งสร้างสรรค์ มำตรฐำนที่ 12 มเี จตคติทดี่ ีตอ่ การ เรียนรู้และมคี วามสามารถในการแสวงหา ความรู้ได้อย่างเหมาะสมกับวัย 12.1 มเี จตคติท่ีดตี อ่ การเรียนรู้ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหา ความรู้

บ 4. สง่ิ ต่ำง ๆ รอบตัวเดก็ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระกำรเรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะตำมวัย - บอกชอ่ื รูปร่าง ลกั ษณะ มำตรฐำนที่ 1 ร่างกายเจริญเตบิ โต - ของใชป้ ระจาวัน ของสิง่ ต่าง ๆ ได้ - อธิบายวิธีการใช้ การดูแล ตามวัยและมีสุขนสิ ยั ทดี่ ี - ของใชใ้ นบ้าน รกั ษา - นับจานวน ร้คู ่า ของตัวเลข 1.1 มีนา้ หนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ - ของใช้ในครวั หอ้ งนอน และสง่ิ ต่าง ๆ - เปรียบเทียบความคิด ความ 1.2 มสี ุขภาพอนามัยสขุ นสิ ัยทด่ี ี - วธิ กี ารใช้ การดแู ลรกั ษา แตกตา่ งของส่งิ ของเครื่องใช้ - จัดประเภท ตาแหน่ง 1.3 รกั ษาความปลอดภัยของตนเองและ - สี ทศิ ทาง ของส่งิ ต่าง ๆ - มีทกั ษะทางภาษา การฟัง ผู้อน่ื - การจัดประเภท รูปรา่ ง พดู อ่าน เขยี นเกยี่ วกบั ธรรมชาติ มำตรฐำนที่ 2 กลา้ มเน้ือใหญแ่ ละ น้าหนกั - นาความรูท้ ่ีได้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ กลา้ มเนือ้ เล็กแข็งแรงใช้ได้อย่าง - จานวน - สรา้ งสรรค์ผลงานทาง ศิลปะได้อย่างสร้างสรรคแ์ ละ คลอ่ งแคลว่ และประสานสัมพันธ์กนั - ตัวเลข เสรี - แกป้ ัญหา ในชีวติ ประจาวนั 2.1เคลอ่ื นไหวร่างกายอยา่ งคล่องแคล่ว - ตาแหนง่ ได้ ประสานสัมพนั ธ์กนั - การขนส่งทางบก ทางน้า และทรงตวั ได้ ทางอากาศ - ใช้มอื -ตาประสานสัมพนั ธก์ ัน - เวลา มำตรฐำนท่ี 3 มสี ุขภาพจติ ดีและมี - ตวั เลข ความสขุ - การสื่อสาร โทรศพั ท์ 3.1แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม ไปรษณีย์ 3.2 มีความรู้สกึ ท่ดี ตี ่อตนเองและผู้อื่น - ยานพาหนะ มำตรฐำนท่ี 5 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และ มจี ติ ใจทีด่ ีงาม 5.1 ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ 5.2 มคี วามเมตตา กรุณา มนี ้าใจและ ชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน 5.3 มคี วามเห็นอกเห็นใจผู้อ่นื 5.4 มีความรับผิดชอบ

ป มำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระกำรเรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะตำมวัย มำตรฐำนท่ี 4 ชน่ื ชมและแสดงออกทาง ศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว 4.1 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออก ผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรี และการ เคลอ่ื นไหว มำตรฐำนที่ 7 รกั ธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็น ไทย 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติ และ สงิ่ แวดล้อม 7.2 มารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน็ ไทย มำตรฐำนที่ 9 ใชภ้ าษาส่ือสารได้ เหมาะสมกบั วัย 9.1 สนทนาโตต้ อบและเลา่ เรอื่ งให้ผอู้ ่นื เข้าใจ 9.2 อ่านและเขียนภาพสญั ลักษณ์ได้ มำตรฐำนท่ี 10 มีความสามารถในการ คิดท่เี ปน็ พื้นฐานในการเรียนรู้ 10.1 มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด 10.2มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล 10.3 มีความสมารถในการ แก้ปญั หา และตดั สนิ ใจ มำตรฐำนที่ 11 มจี ินตนาการและ ความคดิ สรา้ งสรรค์ 11.1 ทางานศิลปะตามจินตนาการและ ความคิดสรา้ งสรรค์ 11.2แสดงท่าทางเคลื่อนไหวตาม จนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

ผ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรู้ คณุ ลกั ษณะตำมวัย มำตรฐำนท่ี 12 มีเจตคตทิ ่ีดีต่อการ เรยี นรู้และมคี วามสามารถในการ แสวงหาความรู้ได้อยา่ งเหมาะสมกบั วยั 12.1 มเี จตคติทดี่ ตี ่อการเรยี นรู้ 12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหา ความรู้

ฝ โครงสรำ้ งหนว่ ยกำรเรยี นรู้ แผนกำรจดั ประสบกำรณ์ ชน้ั อนบุ ำลปีท่ี 2 ภำคเรยี นท่ี 1 ชอ่ื หน่วยกำรเรยี นรู้ แผนกำรจัดประสบกำรณ์/เรอ่ื ง ชวั่ โมง 1 5 แผนท่ี 1-5 เรอ่ื ง - บุคคลในโรงเรียน - เครือ่ งหมายประจาตัว 5 โรงเรยี นของฉนั - ชอ่ื สถานที่ในโรงเรียน - การแสดงความคารพ - การอยรู่ ่วมกนั 5 5 2 แผนที่ 5-10 เร่ือง -รา่ งกายของเรา- รูปรา่ งแตกต่าง- ความสะอาด- 5 ตวั ของฉนั การชว่ ยเหลือและดูแลตนเอง- ป้องกันอันตราย 5 5 3 แผนที่ 11-15 เรือ่ ง –อวยั วะในร่างกาย -หน้าทขี่ องอวัยวะ -การดูแล 5 เรียนรู้ร่างกาย อวยั วะ –การดูแลปากและฟัน -การดแู ล มือ เทา้ ผม 5 5 4 แผนท่ี 16-20 เรอ่ื ง -วนั สาคัญในชมุ ชน-กิจกรรมในวนั สาคัญ 1- 5 วนั สาคญั ทางศาสนา 1 กจิ กรรมในวนั สาคัญ 2-วนั วิสาขบชู า 1-วนั วิสาขบชู า 2 5 แผนที่ 21-25 เรอื่ ง -ประเภทของใช้ของเล่น- การเล่นนอกห้องเรยี น- ของเลน่ ของใช้ การดูแลรกั ษาของใช้- ระวงั อันตราย- นกั ประดษิ ฐต์ ัวน้อย 6 แผนท่ี 26-30 เร่อื ง -ประเภทของสัตว์ –ชวี ติ ของสัตว์ –ทีอ่ ยู่อาศยั ของ สัตวโ์ ลกน่ารัก สัตว์ –สตั วป์ ่าทหี่ นูร้จู กั -คณุ ค่าของสัตว์ 7 แผนท่ี 31-35 เร่ือง -ท้องฟา้ อากาศ -เมฆฝนบนฟ้า1 -เมฆฝนบนฟา้ 2 ฤดกู าลบา้ นเรา -อาชีพในฤดฝู น -โรคภัยไขเ้ จ็บ 8 แผนที่ 36-40 เรอ่ื ง –วันสาคญั ในชมุ ชน –ชุมชนแสนสุข -วันเข้าพรรษา วนั สาคญั ทางศาสนา 2 1 -วนั เขา้ พรรษา 2 -วนั เข้าพรรษา 3 9 แผนที่ 41-45 เรอ่ื ง –ความเมตตากรุณา –การมีมารยาท –ความ ฉนั คือเด็กดี ภาคภูมิใจ –ชืน่ ชมยินดี -ทาความดกี ันเถอะ 10 แผนที่ 46-50 เรื่อง -อบุ ัตเิ หตุ 1 - อุบตั ิเหตุ – ขา้ มถนนใหป้ ลอดภยั ปลอดภัยไว้ก่อน -อันตรายจากของใช้- การใช้ยาให้ถกู วิธี 11 แผนท่ี 51-55 เรื่อง - การช่วยเหลอื ครอบครวั -การช่วยเหลือตนเอง- เด็กดีมีวนิ ยั ความอดทน 1 –ความอดทน 2- มารยาทที่ดี

ชอ่ื หน่วย แผนกำรจดั ประสบกำรณ์/เรื่อง พ ช่วั โมง กำรเรยี นรู้ แผนท่ี 56-60 เรอ่ื ง –วันสาคัญของชาติ –วันแม่แหง่ ชาติ –แมข่ องฉัน - 5 12 พระคุณของแม่ -ความกตัญญูตอ่ แม่ 5 ฉนั รกั ชาติไทย 5 แผนที่ 61-65 เรอื่ ง -ดวงตาของฉัน- จมูกบอกกลนิ่ – หูรบั รเู้ สียง 5 13 - ลิน้ ชิมรส –ผวิ หนงั รบั รคู้ วามรู้สึก 5 ประสาทสมั ผสั 5 แผนท่ี 66-70 เรอ่ื ง –ความสาคญั ของบ้าน -สมาชกิ ในบ้าน -ตกแตง่ บา้ น- 5 14 หอ้ งต่างๆในบา้ น-เคร่ืองใช้ในบา้ น 5 บา้ นของฉนั 5 แผนที่ 71-75 เรอ่ื ง –พึ่งพาอาศยั -สมาชิกในครอบครวั - ครอบคัวของฉนั 100 15 –บา้ นแสนสขุ - ปัจจยั 4 ครอบครวั อบอ่นุ แผนที่ 76-80 เรื่อง –ครอบครัวมสี ขุ -ปจั จยั 4 –ครอบครัวมสี ขุ - 16 กิจกรรมในครอบครวั -ระเบียบในครอบครัว ครอบครวั ที่รัก แผนท่ี 81-85 เรอื่ ง -ความสามารถของบคุ คล-ตา่ งคนต่างคดิ -อาชีพใน 17 ชมุ ชน –อาชีพน่าช่ืนชม -อาชีพท่ดี ี ชุมชนของฉนั แผนท่ี 86-90 เรื่อง -ฉันรักชมุ ชน –เพ่ือนบา้ นผูกพนั –มารยาทดมี ีสุข - 18 เพอ่ื นบ้านสาคัญ-ชว่ ยเหลอื เกื้อกูล ชุมชนท่ีรัก แผนท่ี 91-95 เรอ่ื ง -อากาศรอบวัน –ลมหนาว -การอ้ งกันความหนาว- 19 เท่ียวงานฤดหู นาว-โรคภยั ไขเ้ จบ็ ฤดหู นาวที่รัก แผนท่ี 96-100 เร่ือง –การออกกาลงั กาย –การพักผ่อน -การเล่นคนเดยี ว- 20 การเลน่ รว่ มกับผู้อ่นื -กตกิ าในการเล่น สขุ ภาพของเรา รวม



1 แผนกำรจัดประสบกำรณท์ ่ี 1 ชั้นอนบุ ำลปที ี่ 2 สำระท่ีควรเรยี นร้ทู ่ี 2 เรื่องรำวเกย่ี วกับบุคคลและสถำนที่แวดล้อมเด็ก หน่วย โรงเรยี นของฉนั เร่อื ง บุคคลในโรงเรียน สัปดำห์ท่ี 1 ลำดบั วนั ท่ี 1 ครูผู้สอน คุณครโู ชตกิ า เสือพิณ โรงเรียน วัดท่าบุญมี สพป. ชบ. 2 1. สำระสำคัญ โรงเรียนเป็นสถานที่ให้ความรู้แก่เรามีช่ือเรียกเฉพาะ มสี ถานทตี่ า่ ง ๆ ทีแ่ ตกต่างกันออกไป เช่น สนามกีฬา สนามเด็กเล่น ห้องน้า ห้องอาหาร ห้องเรียน เป็นต้น ทั้งโรงเรียนมีส่ิงของใช้มากมาย ดงั นนั้ การจดจาสถานทีต่ า่ ง ๆ ในโรงเรียนจะทาใหอ้ ย่ใู นโรงเรียนสะดวก สบาย และอยู่ได้อยา่ งมีความสุข และต้องชว่ ยกนั ดูแลสิง่ ของให้ถกู วธิ รี วมทัง้ ดูแลความสะอาดดว้ ย 2. จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. เพ่ือใหเ้ ด็กมีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับโรงเรยี น สามารถปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับโรงเรียนได้ 2. เพ่อื ให้เด็กรูจ้ ัก และคุ้นเคยกบั โรงเรียน ครู และเพ่ือน ๆ 3. เพอ่ื ให้เด็กสามารถปฏิบัตติ ามสญั ญาณ และคาสง่ั ได้ 4. เพื่อให้เด็กสามารถสรา้ งผลงานได้อยา่ งสร้างสรรค์ และเสรี 5. เพือ่ ใหเ้ ด็กแสดงความคดิ เห็น และตอบคาถามเก่ยี วกบั เรื่องทสี่ นทนาได้ 6. เพอื่ ใหเ้ ด็กสามารถปรบั ตวั ในการเลน่ และเลน่ รว่ มกับผู้อื่นไดอ้ ยา่ งสนุกสนาน 7. เพื่อให้เด็กสามารถเล่นเกมทีก่ าหนดให้ได้ 3. สำระกำรเรียนรู้ 3.1 สำระท่ีควรเรียนรู้ บุคคลในโรงเรียน 3.1 ประสบกำรณ์สำคญั 3.1.1 การพูดกับผ้อู นื่ เกยี่ วกบั ประสบการณ์ของตนเอง หรือเลา่ เร่ืองเกี่ยวกับตนเอง 3.1.2 การร่วมปฏิบตั ิกจิ วัตรประจาวันของกลุม่ 3.1.3 การมปี ระสบการณ์ทางการเล่นสรา้ งสรรค์ร่วมกับผู้อืน่ 3.1.4 การสารวจและอธิบายความเหมอื น ความตา่ งของส่ิงต่าง ๆ 4. กจิ กรรมกำรเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ในสปั ดาห์ เป็นสัปดาห์แรกที่เด็กมาโรงเรียน เดก็ บางคนอาจจะยงั ไม่พร้อมสาหรับการ จัดประสบการณ์ ดังน้ันการจัดกิจกรรมต่าง ๆ สามารถจัดได้ตามความเหมาะสมของสถานการณ์ ซ่ึงควร จดั ลาดบั ดงั นี้

2 4.1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ (20 นำที) 4.1.1 กิจกรรมพ้นื ฐาน ให้เด็กเคลือ่ นไหวรา่ งกายไปทวั่ บริเวณอย่างอิสระ เม่ือได้ยนิ สัญญาณหยุดใหห้ ยดุ เคลื่อนท่ีในทา่ น้ันทันที 4.1.2 เดก็ และครู สนทนารว่ มกนั เกี่ยวกบั การทาทา่ ประกอบเพลง โดยรว่ มกันร้องเพลง “กายบริหาร” และลองทาท่าทางประกอบ โดยครเู ป็นผูแ้ สดงนาใหเ้ ดก็ ๆ ปฏิบัติ ตาม 4.1.3 ครใู หร้ อ้ งเพลง “กายบรหิ าร” และทาท่าทางประกอบเพลงอยา่ งอิสระ 2 – 3 เท่ยี ว หรอื จนสมควรแก่เวลา 4.2 กจิ กรรมสร้ำงสรรคแ์ ละกจิ กรรมเสรี (60 นำท)ี 4.2.1 เดก็ และครู ชว่ ยกนั จัดโตะ๊ เพื่อใช้ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการป้ันดินน้ามัน เสรจ็ แล้วครูแจก ดนิ น้ามัน และแผน่ รองป้นั ใหเ้ ด็กคนละ 1 ชุด อธิบาย ทบทวน วธิ กี ารปัน้ ขัน้ ตอนการป้ันการปฏบิ ัติให้เดก็ ฟงั แลว้ ให้เด็กลงมือปฏบิ ตั ิตามความคิด และ จนิ ตนาการของตนเอง 4.2.2 เม่ือเด็กคนใดปฏบิ ัติกจิ กรรมเสรจ็ แล้ว ให้นาผลงานมาใหค้ รูดู พรอ้ มกับบอกชอ่ื ผลงาน วิธที า ให้ครฟู งั ครแู นะนาให้เด็กเก็บผลงานเหล่านี้ไวใ้ นกล่องสะสมผลงาน ของตนเอง เพ่ือจะไดน้ ามาจัดกิจกรรมในโอกาสต่อไป 4.2.3 เด็กที่ปฏิบัติกจิ กรรมเสร็จแล้วใหเ้ ล่นตามมมุ อิสระ รอเพ่ือน ๆ 4.2.4 เมอื่ เด็กปฏบิ ัติกิจกรรมครบทุกคนแล้ว ครูแนะนา ให้ชว่ ยกันทาความสะอาดบรเิ วณ และเกบ็ อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ใสภ่ าชนะทีจ่ ดั ไว้ เก็บเขา้ ทใ่ี ห้เรียบร้อย 4.3 กิจกรรมเสรมิ ประสบกำรณ์(15 นำที) 4.3.1 เด็กและครรู ่วมกนั ร้องเพลง “โรงเรยี นของเรา” โดยครรู ้องใหเ้ ดก็ ฟังก่อน แล้วจึง ใหร้ อ้ งตาม จนสามารถร้องได้ เสร็จแล้วสนทนาร่วมกันเก่ียวเน้ือหาของบทเพลง 4.3.2 เด็กและครูสนทนาร่วมกนั เก่ียวกับชอื่ ของโรงเรียน โดยครูบอกช่อื ของโรงเรยี นให้ เดก็ ฟงั ก่อนแล้วใหเ้ ด็กพดู ตามใหถ้ กู ต้อง 4.3.3 ครแู นะนาห้องเรยี นและชือ่ ของครปู ระจาชนั้ และชือ่ พ่ีเล้ียงใหเ้ ดก็ ๆ ทราบ เสรจ็ แล้วใหเ้ ด็ก ๆ แนะนาตนเองโดยบอกชื่อจริงและช่ือเลน่ ใหเ้ พ่ือน ๆ ในห้องฟังทุกคน 4.3.4 เดก็ และครสู นทนาร่วมกันเกย่ี วกบั การรว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของห้องเรยี นโดยครู พยายามพดู คุยและสร้างความคุ้นเคยกับเด็ก ๆ จนเด็กรสู้ กึ ผอ่ นคลายและเปน็ กันเอง 4.3.5 เด็กและครูรว่ มกนั ร้องเพลง “โรงเรยี นของเรา” อีกครั้ง 4.4 กิจกรรมกลำงแจ้ง (45 นำที) 4.4.1 เด็กจัดแถวตอนเรยี งหนง่ึ ทาท่านกบินลงสู่สนาม เม่ือถึงสนามแลว้ ให้เดก็ อบอนุ่ ร่างกายโดยการวง่ิ เหยาะ ๆ 2 – 3 นาที

3 4.4.2 เดก็ และครูสนทนารว่ มกนั เก่ียวกับเกมสวสั ดีคณุ ครู โดยครูสาธติ วิธกี ารเลน่ ให้เดก็ ดู 4.4.3 ใหเ้ ดก็ เล่นเกมที่ครูแนะนา โดยครคู อยสังเกตพฤติกรรมการเล่นอยหู่ า่ ง ๆ จนเด็ก เล่นเกมครบทุกคน 4.4.4 ครปู ลอ่ ยใหเ้ ด็กไดเ้ ล่นอยา่ งอิสระ โดยครูคอยดแู ลความปลอดภยั อย่างใกล้ชิด เมอ่ื สมควรแกเ่ วลาให้เดก็ ไปทาความสะอาด ล้างหนา้ ลา้ งมอื ทาธรุ ะสว่ นตวั กลับ เขา้ หอ้ งเรียน เพื่อเตรยี มตวั ไปรบั ประทานอาหารกลางวนั 4.5 กิจกรรมเกมกำรศึกษำ (20 นำที) 4.5.1 เดก็ และครูสนทนาร่วมกันเกยี่ วกบั เกมภาพตดั ต่อเด็กไปโรงเรียน โดยครูอธบิ าย วธิ กี ารเล่นใหเ้ ดก็ ฟัง 4.5.2 แบง่ เด็กเป็นกลมุ่ ตามความเหมาะสม ใหแ้ ต่ละกล่มุ เล่นเกมทค่ี รูแนะนา หรือเครื่อง เลน่ สมั ผัส 4.5.3 เมอื่ เด็กเลกิ เล่นเกมแลว้ ครแู นะนาใหเ้ ด็กชว่ ยกนั เกบ็ สิ่งของตา่ ง ๆ เข้าท่ีให้ เรยี บร้อย 5. ส่อื กำรเรียน / แหล่งกำรเรยี นรู้ 5.1 ดนิ นา้ มนั แผน่ รองป้ัน 5.2 เพลงการบริหาร 5.3 เพลงโรงเรียนของเรา 5.4 เกมภาพตัดตอ่ ไปโรงเรยี น 6. กำรวัดผลและประเมินผล 6.1 วิธีวดั ผลและประเมินผล 6.1.1 สังเกตการปฏิบตั ิตามสัญญาณ และคาสง่ั 6.1.2 สงั เกตความกล้าในการแสดงออก การสนทนา และการตอบคาถาม 6.1.3 สังเกตความสนใจ และความสนกุ สนานในการร่วมกจิ กรรม 6.1.4 ตรวจผลงานการปัน้ 6.2 เครื่องมือวดั ผล 6.2.1 แบบประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์ 6.2.2 ผลงานการป้ัน 6.3 เกณฑก์ ำรวัดผลและประเมินผล ระดบั 3 ดี ระดบั 2 พอใช้ ระดบั 1 ปรับปรุง

4 แผนกำรจัดประสบกำรณ์ที่ 2 ช้นั อนุบำลปีที่ 2 สำระที่ควรเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื งรำวเก่ียวกับบุคคลและสถำนที่แวดลอ้ มเด็ก หน่วย โรงเรียนของฉนั เรอ่ื ง เครือ่ งหมายประจาตัว สปั ดำห์ที่ 1 ลำดบั วันท่ี 2 ครผู สู้ อน คณุ ครโู ชติกา เสอื พิณ โรงเรยี น วดั ท่าบญุ มี สพป. ชบ. 2 1. สำระสำคัญ เครอ่ื งหมายประจาตัวเด็ก เปน็ สิ่งที่แสดงให้ทราบว่า เด็กอยใู่ นกลุ่มใด และมีเพือ่ นท่มี ี เครอ่ื งหมายเดยี วกนั ก่ีคน ทาให้ทราบความหมายของคาว่ากลมุ่ เดียวกันได้ 2. จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. เพื่อให้เด็กมีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับโรงเรยี น สามารถปรบั ตวั ให้เขา้ กับโรงเรียนได้ 2. เพอ่ื ใหเ้ ด็กรู้จัก และคนุ้ เคยกบั โรงเรียน ครู และเพื่อน ๆ 3. เพอื่ ใหเ้ ด็กสามารถปฏิบัติตามสญั ญาณ และคาส่งั ได้ 4. เพอ่ื ให้เด็กสามารถสรา้ งผลงานได้อย่างสร้างสรรค์ และเสรี 5. เพอ่ื ใหเ้ ด็กแสดงความคิดเหน็ และตอบคาถามเกย่ี วกับเร่อื งที่สนทนาได้ 6. เพื่อใหเ้ ด็กสามารถปรับตวั ในการเล่น และเล่นร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างสนุกสนาน 7. เพอื่ ให้เด็กสามารถเลน่ เกมทกี่ าหนดให้ได้ 3. สำระกำรเรียนรู้ 3.1 สำระท่ีควรเรยี นรู้ เคร่ืองหมำยประจำตัว 3.2 ประสบกำรณส์ ำคัญ การสารวจและอธิบายความเหมือน ความตา่ งของสิง่ ตา่ ง ๆ 3.2.1 การจบั คู่ การจาแนก และการจดั กลุ่ม 3.2.2 การใช้หรืออธบิ ายสิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย 4. กิจกรรมกำรเรียนรู้ 4.1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ (20 นำท)ี 4.1.1 กิจกรรมพื้นฐาน ใหเ้ ด็กเคล่อื นไหวรา่ งกายไปทว่ั ๆ บริเวณอยา่ งอิสระ เมื่อไดย้ นิ สญั ญาณหยดุ ใหห้ ยุดเคลอ่ื นไหวในทา่ นั้นทนั ที 4.1.2 เดก็ และครสู นทนารว่ มกันและกาหนดคาสัง่ ทจ่ี ะปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกนั เชน่ สวสั ดี คณุ ครู ยืน่ หนังสือใหค้ ุณครู ยกแก้วน้ามาให้คุณครู เปน็ ต้น

5 4.1.3 ให้เดก็ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระเม่ือได้ยินสัญญาณหยดุ ให้เด็กหยดุ และปฏบิ ตั ิ ตามคาสง่ั ที่ไดต้ กลงรว่ มกันไว้ 4.1.4 เด็กและคณุ ครูรว่ มกันกาหนดคาส่งั ขึ้นใหม่และปฏบิ ตั ิกิจกรรมในข้อ 4.1.3 ซา้ อีก 4.2 กจิ กรรมสรำ้ งสรรคแ์ ละกจิ กรรมเสรี (60 นำท)ี 4.2.1 เดก็ และครู ชว่ ยกันจัดโตะ๊ เพ่ือปฏบิ ัติกิจกรรมวาดภาพด้วยสเี ทยี น เสร็จแล้วครู อธิบายข้ันตอนการปฏิบัติกจิ กรรมใหเ้ ดก็ ดู แลว้ ใหล้ งมือปฏิบัติกิจกรรมให้เดก็ ดู แล้วให้ลงมือปฏบิ ัติตามความคิด และจินตนาการของตนเองอย่างอสิ ระ โดยครูคอย ดูแล ห่าง ๆ 4.2.2 เด็กคนใดท่ีปฏิบตั ิกิจกรรมเสร็จแลว้ ให้นาผลงานมาให้ครูดู พรอ้ มกบั บอกช่ือผลงาน ขัน้ ตอนวิธกี ารทาให้ครูฟัง และแนะนาให้เด็กเก็บผลงานไว้ในกลอ่ งสะสมผลงาน ของตนเอง 4.2.3 เมื่อเด็กปฏบิ ตั ิกิจกรรมครบทุกคนแลว้ ครูแนะนาใหเ้ ดก็ ๆ ช่วยกนั ทาความสะอาด บริเวณ และเก็บสิ่งของเข้าท่ีให้เรียบร้อย 4.3 กจิ กรรมเสรมิ ประสบกำรณ์ (15 นำท)ี 4.3.1 เด็กและครูสนทนารว่ มกนั เก่ียวกบั เครอ่ื งหมายประจาตัว โดยครแู จกภาพ เครอื่ งหมายประจาตัวของเด็กแตล่ ะคน พร้อมกับบอกชอ่ื ภาพเครื่องหมายให้เดก็ ทราบ และตอบคาถามเกีย่ วกบั เครื่องหมาย ดงั นี้ - เพราะเหตุใดเด็ก ๆ จึงตอ้ งมเี ครือ่ งหมายประจาตัวและเคยเหน็ เครอ่ื งหมาย แบบน้ที ีใ่ ดบา้ งหรอื เปลา่ ฯลฯ 4.3.2 เด็กและครูสนทนาร่วมกนั เก่ียวกับของใช้สว่ นตวั ของเด็ก โดยครแู นะนาของใชต้ ่าง ๆ ใหเ้ ด็กทราบว่าแตล่ ะคนมีอะไรบา้ ง และใช้อย่างไร เกบ็ ไว้ท่ีไหน 4.3.3 ครนู าภาพเคร่ืองหมายประจาตัวเด็กไปติดไว้กับของใช้ต่าง ๆ เชน่ แก้วนา ราว แขวนผา้ เชด็ ตัว แล้วใหเ้ ด็กนาภาพเครื่องหมายของตนเองไปเปรยี บเทยี บกบั ภาพที่ ติดตามของใชต้ า่ ง ๆ เหลา่ นั้นเปน็ การฝกึ ให้เด็กรจู้ ักเครื่องหมายประจาตัวและของ ใชข้ องตวั เอง 4.3.4 เด็กและครรู ว่ มกนั ร้องเพลง “เก็บของ” โดยครูร้องใหเ้ ด็กฟังกอ่ น แลว้ จึงใหร้ ้อง ตามเสร็จแล้วสนทนาร่วมกันเกี่ยวกบั เนือ้ หาของบทเพลง 4.4 กจิ กรรมกลำงแจง้ (45 นำที) 4.4.1 เด็กจัดแถวตอนเรยี งหนงึ่ เดินตามกันอยา่ งเปน็ ระเบียบลงสนาม เม่อื ถึงสนามแล้ว ให้เดก็ อบอนุ่ ร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ อยู่กับท่ี 2 – 3 นาที 4.4.2 เด็กและครสู นทนาร่วมกนั เกีย่ วกบั เกมปรบมือสง่ ของเป็นวงกลม โดยครูสาธติ วธิ กี าร เล่นให้เดก็ ดู จนเด็กสามารถเล่นได้ 4.4.3 ให้เดก็ เลน่ เกมที่ครูแนะนา โดยครคู อยสงั เกตพฤติกรรมการเล่นอยหู่ า่ ง ๆ

6 4.4.4 ครูปลอ่ ยให้เด็กไปเลน่ อยา่ งอิสระ 5 – 10 นาที ก่อนที่จะให้เดก็ ไปทาความสะอาด รา่ งกาย ล้างหนา้ ลา้ งมือ ทาธรุ ะส่วนตัว เพอ่ื เตรียมตัวไปรับประทานอาหาร กลางวัน 4.5 กิจกรรมเกมกำรศกึ ษำ (20 นำที) 4.5.1 เดก็ และครูสนทนารว่ มกนั เกี่ยวกับเกมจบั คภู่ าพสมบรู ณ์กับภาพเส้นประ โดยครู อธบิ ายวิธีการเลน่ ใหเ้ ด็กฟงั 4.5.2 แบง่ เดก็ เปน็ กล่มุ ตามความเหมาะสม ให้แตล่ ะกลมุ่ เลน่ เกมท่ีครแู นะนา เกมท่เี คย เลน่ มาแลว้ หรือเคร่อื งเล่นสัมผัส 4.5.3 เม่ือเด็กเล่นเกมเสร็จแล้ว ครูแนะนาใหช้ ่วยกันเกบ็ สง่ิ ของต่าง ๆ เขา้ ที่ให้เรยี บร้อย 5. สอื่ กำรเรียน / แหล่งกำรเรยี นรู้ 5.1 สีเทยี น 5.2 เพลงเกบ็ ของ 5.3 เกมจบั คู่ภาพสมบรู ณ์กับภาพเส้นประ 6. กำรวัดผลและประเมินผล 6.1 วธิ วี ัดผลและประเมินผล 6.1.1 สงั เกตการประเมนิ ตามสัญญาณ และคาสัง่ 6.1.2 สงั เกตการสนทนา และการตอบคาถาม 6.1.3 ตรวจผลงานวาดภาพ 6.2 เครอ่ื งมอื วัดผล 6.2.1 แบบประเมนิ ผลการจัดประสบการณ์ 6.2.2 ผลงานการวาดภาพ 6.3 เกณฑก์ ำรวัดผลและประเมินผล ระดับ 3 ดี ระดับ 2 พอใช้ ระดับ 1 ปรบั ปรงุ

7 แผนกำรจดั ประสบกำรณท์ ่ี 3 ชน้ั อนบุ ำลปที ี่ 2 สำระทีค่ วรเรยี นรู้ท่ี 2 เรื่องรำวเก่ียวกับบุคคลและสถำนท่แี วดลอ้ มเดก็ หน่วย โรงเรียนของฉนั เรื่อง ช่ือสถานที่ในโรงเรียน สัปดำห์ที่ 1 ลำดบั วนั ท่ี 3 ครผู ้สู อน คุณครโู ชติกา เสือพิณ โรงเรยี น วดั ทา่ บุญมี สพป. ชบ. 2 1. สำระสำคัญ โรงเรียนมสี ถานที่มากมาย แตล่ ะแหง่ ก็มชี ่อื เรียก และการใช้ท่ีแตกต่างกนั ออกไป การใช้ ของสถานทต่ี ่าง ๆ ต้องศกึ ษากฎ ระเบียบ อยา่ งชดั เจน จะทาใหส้ ามารถใช้ได้อยา่ งสะดวกและปลอดภัย 2. จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. เพอ่ื ให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรงเรียน สามารถปรับตัวใหเ้ ข้ากับโรงเรียนได้ 2. เพ่ือให้เด็กรู้จกั และค้นุ เคยกับโรงเรียน ครู และเพ่ือน ๆ 3. เพื่อให้เด็กสามารถปฏิบัตติ ามสญั ญาณ และคาสง่ั ได้ 4. เพอื่ ให้เด็กสามารถสรา้ งผลงานได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ และเสรี 5. เพ่ือให้เด็กแสดงความคดิ เห็น และตอบคาถามเกี่ยวกบั เรือ่ งท่ีสนทนาได้ 6. เพ่ือใหเ้ ด็กสามารถปรบั ตวั ในการเล่น และเลน่ รว่ มกับผู้อื่นได้อย่างสนกุ สนาน 7. เพื่อใหเ้ ด็กสามารถเลน่ เกมทก่ี าหนดให้ได้ 3. สำระกำรเรียนรู้ 3.1 สำระที่ควรเรยี นรู้ สถำนท่ใี นโรงเรียน 3.1 ประสบกำรณ์สำคญั 3.1.1 การสารวจและอธิบายความเหมือน ความตา่ งของส่ิงต่าง ๆ 3.1.2 การเชอื่ มโยงภาพ ภาพถ่ายและรูปแบบต่าง ๆ กบั สง่ิ ของหรือสถานทีจ่ รงิ 3.1.3 การสารวจและอธิบายความเหมอื น ความตา่ งของสงิ่ ตา่ ง ๆ 4. กจิ กรรมกำรเรียนรู้ 4.1 กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ (20 นำท)ี 4.1.1 กิจกรรมพืน้ ฐาน ให้เด็กเคลอื่ นไหวร่างกายไปทว่ั ๆ บริเวณอย่างอสิ ระ เมื่อได้ยิน สัญญาณหยดุ ให้หยดุ เคลื่อนไหวในทา่ นั้นทนั ที 4.1.2 เดก็ และครูร่วมกันร้องเพลง “ออกกาลงั ” และทาทา่ ประกอบเพลง โดยครรู ้องให้ ฟังก่อน แลว้ จงึ ให้เด็กฝึกรอ้ งตาม 4.1.3 เด็กและครูรว่ มสนทนาและกาหนดขอ้ ตกลงทจี่ ะปฏบิ ัติกิจกรรมร่วมกัน ดงั น้ี

8 - ถ้าไดย้ นิ สญั ญาณกลองให้เด็กยืดตัว - ถ้าไดย้ นิ เสียงตบมอื ใหเ้ ด็กหดตวั ลง 4.1.4 ใหเ้ ด็กเคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระเมือ่ ไดย้ ินสญั ญาณหยดุ ใหเ้ ดก็ หยดุ และปฏบิ ัติ ตามข้อตกลงที่ได้กาหนดร่วมกนั ไว้ 4.1.5 เด็กและครรู ว่ มกันกาหนดข้อตกลงขึ้นใหม่และปฏบิ ัติกจิ กรรมในข้อ 4.1.3 ซ้าอีก 4.2 กจิ กรรมสร้ำงสรรค์และกิจกรรมเสรี (60 นำที) 4.2.1 เดก็ และครู ช่วยกันจัดโต๊ะ เพื่อใช้ปฏิบัติกจิ กรรมการวาดภาพด้วยสนี า้ เสร็จแล้วครู อธบิ ายขน้ั ตอนการปฏิบตั ิกิจกรรมให้เดก็ ฟัง แล้วจงึ ให้เดก็ ลงมือปฏบิ ตั ิตามความคิด และจนิ ตนาการของตนเอง โดยครคู อยดูแล ให้คาแนะนาอยู่หา่ ง ๆ 4.2.2 เด็กคนใดปฏบิ ัติเสร็จแลว้ ให้นาผลงานมาให้ครดู ู พร้อมกับบอกชือ่ ผลงาน ขน้ั ตอน วิธกี ารทาให้ครูฟังดว้ ย 4.2.3 ครูนาผลงานของเดก็ ไปจัดแสดงไวใ้ นมุมผลงานของฉนั โดยเขียนชือ่ เด็กและ เครื่องหมายประจาตัวติดไว้ด้วย และแนะนาให้เด็กเกบ็ ผลงานเหล่านีไ้ วใ้ นกล่อง ผลงานของตนเองเม่อื จัดแสดงเสร็จแล้ว 4.2.4 เม่อื เด็กปฏบิ ตั กิ ิจกรรมครบทุกคนแลว้ ครแู นะนาใหช้ ว่ ยกันทาความสะอาดบรเิ วณ และเกบ็ ส่งิ ของเข้าท่ีให้เรียบร้อย 4.3 กิจกรรมเสรมิ ประสบกำรณ์ (15 นำที) 4.3.1 เด็กและครสู นทนารว่ มกันเกี่ยวกบั สถานทตี่ ่าง ๆ ในโรงเรียน เชน่ ห้องน้า ห้อง สว้ ม ห้องอาหาร สนามฟุตบอล ฯลฯ โดยครอู ธิบายและแนะนาประโยชน์ของ สถานที่ตา่ ง ๆ เหล่านใี้ ห้เด็ก ๆ ทราบ 4.3.2 เด็กและครรู ่วมกนั จัดแถวเป็นแถวตอนเรียงหนงึ่ เสร็จแล้วเดินตามครูเพือ่ ไปสารวจ สถานที่ต่าง ๆ ท่ีครแู นะนา นอกจากนค้ี รูแนะนาการใชห้ ้องนา้ หรือควรชาระล้างสิง่ สกปรกในห้องนา้ ให้เรยี บร้อย เป็นตน 4.3.3 ครูนาเด็ก ๆ กลับเข้าห้องเรยี น และรว่ มกันรอ้ งเพลง “ลา้ งมือ” เสร็จแลว้ สนทนา ร่วมกนั เกย่ี วกบั เนื้อหาของบทเพลง 4.3.4 เดก็ และครูสนทนา สรปุ และกาหนดแนวทางในการปฏิบัตติ นในสถานทตี่ ่าง ๆ ใน โรงเรยี นเพื่อนาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน 4.4 กิจกรรมกลำงแจง้ (45 นำที) 4.4.1 เด็กจัดแถวตอนเรียงหน่งึ ว่ิงลงสนามอยา่ งอสิ ระ เมื่อถงึ สนามแลว้ ใหเ้ ด็กอบอ่นุ รา่ งกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ 2 – 3 นาที 4.4.2 เดก็ และครูสนทนารว่ มกันเก่ยี วกับเกมลงิ ชิงบอล โดยครสู าธิตวิธีการเลน่ ให้เด็กดจู น เด็กสามารถเล่นได้ 4.4.3 ให้เด็กเล่นเกมทีค่ รูแนะนา โดยครูคอยแนะนาสังเกตพฤติกรรมการเลน่ อย่หู ่าง ๆ

9 4.4.4 ครปู ลอ่ ยให้เด็กไดเ้ ลน่ อยา่ งอิสระ 5 – 10 นาที ก่อนทจ่ี ะให้เด็กไปทาความสะอาด รา่ งกาย ล้างหนา้ ลา้ งมือ ทาธรุ ะสว่ นตัว เพอื่ เตรยี มตัวไปรบั ประทานอาหาร กลางวนั 4.5 กิจกรรมกำรศึกษำ (20 นำที) 4.5.1 เดก็ และครูสนทนารว่ มกนั เก่ยี วกับเกมจับคูภ่ าพกับเงารูปเรขาคณติ โดยครูอธิบาย วิธกี ารเลน่ ใหฟ้ ัง 4.5.2 แบ่งเด็กเปน็ กลมุ่ ตามความเหมาะสม ให้แตล่ ะกลุ่มเลน่ เกมที่ครแู นะนา หรือเคร่ือง เล่นสัมผัส 4.5.3 เมื่อเด็กเล่นเกมเสร็จแลว้ ครูแนะนาให้ชว่ ยกันเกบ็ สงิ่ ของต่าง ๆ เข้าทีใ่ หเ้ รยี บร้อย 5. ส่ือกำรเรียน / แหล่งกำรเรียนรู้ 5.1 สนี ้า พู่กัน 5.2 เพลงออกกาลัง 5.3 เพลงลา้ งมือ 5.4 เกมลิงชงิ บอล 5.5 เกมจบั คภู่ าพกับเงารปู เลขาคณติ 6. กำรวดั ผลและประเมนิ ผล 6.1 วธิ วี ัดผลและประเมินผล 6.1.1 สังเกตความการปฏิบตั ิตามสัญญาณ และขอ้ ตกลง 6.1.2 สงั เกตความกลา้ ในการแสดงออก การสนทนา และการตอบคาถาม 6.1.3 ตรวจผลงานการวาดภาพ 6.2 เครอื่ งมือวัดผล 6.2.1 แบบประเมินผลการจัดประสบการณ์ 6.2.2 ผลงานการวาดภาพ 6.3 เกณฑ์กำรวดั ผลและประเมนิ ผล ระดบั 3 ดี ระดับ 2 พอใช้ ระดบั 1 ปรบั ปรุง

10 แผนกำรจัดประสบกำรณท์ ี่ 4 ชัน้ อนบุ ำลปที ี่ 2 สำระทคี่ วรเรยี นรูท้ ี่ 2 เรื่องรำวเกย่ี วกบั บุคคลและสถำนทีแ่ วดลอ้ มเดก็ หน่วย โรงเรยี นของฉนั เรื่อง การแสดงความเคารพ สปั ดำหท์ ี่ 1 ลำดับวันที่ 4 ครผู สู้ อน คณุ ครโู ชตกิ า เสือพิณ โรงเรยี น วัดทา่ บุญมี สพป. ชบ. 2 1. สำระสำคัญ การแสดงความเคารพต่อสถานที่ และบุคคล เป็นมารยาทท่ีดี และวัฒนธรรมไทยทคี่ วรยึด เป็นแนวทางปฏบิ ตั ติ ลอดไป 2. จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1. เพอ่ื ใหเ้ ด็กมีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั โรงเรียน สามารถปรับตัวใหเ้ ข้ากับโรงเรยี นได้ 2. เพื่อใหเ้ ด็กรู้จกั และคุน้ เคยกบั โรงเรียน ครู และเพ่ือน ๆ 3. เพื่อให้เด็กสามารถปฏิบตั ิตามสัญญาณ และคาส่งั ได้ 4. เพอ่ื ใหเ้ ด็กสามารถสรา้ งผลงานได้อยา่ งสร้างสรรค์ และเสรี 5. เพอื่ ให้เด็กแสดงความคิดเห็น และตอบคาถามเก่ียวกบั เร่ืองทสี่ นทนาได้ 6. เพอื่ ให้เด็กสามารถปรับตัวในการเลน่ และเล่นรว่ มกับผอู้ ื่นไดอ้ ย่างสนกุ สนาน 7. เพื่อให้เด็กสามารถเลน่ เกมทกี่ าหนดให้ได้ 3. สำระกำรเรยี นรู้ 3.1 สำระท่คี วรเรียนรู้ กำรแสดงควำมเคำรพ 3.1 ประสบกำรณ์สำคญั 3.1.1 การรับร้ทู ี่ไว้ต่อความรสู้ ึก ความสนใจและความต้องการของผอู้ ื่น 3.1.2 การสร้างความสัมพันธก์ บั เด็กและผใู้ หญ่ 4. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ 4.1 กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ (20 นำที) 4.1.1 กิจกรรมพ้นื ฐาน ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทวั่ ๆ บรเิ วณอย่างอสิ ระ เมื่อได้ยนิ สญั ญาณหยุด ใหห้ ยดุ ในท่าน้ันทันที 4.1.2 เดก็ และครูสนทนาร่วมกนั เก่ียวกบั คาบรรยายทีจ่ ะปฏบิ ัตกิ จิ กรรม เชน่ “เด็ก ๆ ตน่ื นอนในตอนเชา้ ตรู่ ลุกขน้ึ ยืดตัว เสรจ็ แล้วพบั ผา้ ห่ม เกบ็ ทนี่ อน ถอดเสื้อ กางเกง นุ่งผา้ เชด็ ตวั เดินไปเข้าห้องนา้ อาบน้า ถสู บู่ แปรงฟัน บ้วนปาก เชด็ ตวั ”

11 4.1.3 ให้เดก็ เคล่ือนไหวร่างกายอย่างอสิ ระเม่อื ไดย้ นิ สัญญาณหยดุ ให้เด็กหยุด ให้ปฏบิ ัติ ตามคาบรรยายของครู 4.1.4 เดก็ และครรู ่วมกนั กาหนดคาบรรยายขึ้นใหม่และปฏบิ ัติกิจกรรมในข้อ 4.1.3 ซา้ อีก 4.2 กจิ กรรมสรำ้ งสรรคแ์ ละกิจกรรมเสรี (60 นำที) 4.2.1 เด็กและครชู ว่ ยกนั จัดโต๊ะเพ่ือใชป้ ฏบิ ตั ิกิจกรรมการตัด ฉกี ปะ กระดาษ เสร็จแล้ว ครอู ธิบาย ขั้นตอนการปฏบิ ัติให้เด็กดู แลว้ ใหล้ งมือปฏิบัตติ ามความคดิ และ จินตนาการของตนเองอย่างอิสระ โดยครคู อยดูแลความปลอดภยั จากอปุ กรณ์ใน การปฏบิ ตั อิ ย่างใกลช้ ิด 4.2.2 เดก็ คนใดปฏิบตั ิเสร็จแลว้ ใหน้ าผลงานมาให้ครดู ู พร้อมกับบอกช่อื ผลงาน ขัน้ ตอน วิธีการทาให้ครูฟัง ครูใหค้ าชม และกาลังใจ และแนะนาใหเ้ ก็บผลงานสะสมไวใ้ น กล่องสะสมผลงานของตนเอง 4.2.3 เมอ่ื เด็กปฏิบัตกิ จิ กรรมครบทุกคนแล้ว ครูแนะนาให้เด็ก ๆ ช่วยกันทาความสะอาด บรเิ วณ และเก็บส่งิ ของเข้าที่ให้เรียบรอ้ ย 4.3 กิจกรรมเสรมิ ประสบกำรณ์ (15 นำที) 4.3.1 เดก็ และครูสนทนาร่วมกนั เกยี่ วกบั การแสดงความเคารพต่อบคุ คลตา่ ง ๆ ในโรงเรียน เชน่ ผูบ้ ริหารโรงเรียน ครูประจาช้นั ผ้อู าวโุ ส เปน็ ต้น โดยครูอธบิ ายความสาคญั และมารยาทท่ีควรปฏบิ ัตใิ ห้เด็กฟงั 4.3.2 เด็กและครสู นทนารว่ มกันเกย่ี วกบการใช้คาสุภาพในการพูดคยุ กับบคุ คลอื่น ทั้งท่ี เป็นผูใ้ หญ่กวา่ และเป็นเพ่อื นรุน่ เดียวกัน โดยครแู นะนาคาสภุ าพทีเ่ ด็ก ๆ ควร นามาใชใ้ หท้ ราบ เชน่ คาวา่ ครบั / คะ่ สวัสดีครับ / คะ่ ขอบคุณครบั / ค่ะ ฯลฯ เสร็จแลว้ ครูลองให้เดก็ ๆ ไดจ้ บั คพู่ ูดสนทนากนั เกยี่ วกบั การเดินทางมา โรงเรียน โดยให้คนหนึ่งถามและคนหน่งึ ตอบ (เด็กท่ีไม่มีคู่ให้จับคู่กบั ครู) 4.3.3 เด็กและครูสนทนาสรุปและกาหนดแนวทางร่วมกันเก่ยี วกับการแสดงความเคารพ และการใช้คาสุภาพกับบุคคลอ่นื เพอื่ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน 4.4 กิจกรรมกลำงแจง้ (45 นำท)ี 4.4.1 เดก็ จัดแถวตอนเรยี งสอง จับมือกันเป็นคู่ ๆ ลงสนาม (เด็กทีไ่ ม่มีค่ใู ห้จับกับคร)ู เม่อื ถึงสนามแลว้ ใหเ้ ด็กอบอุ่นรา่ งกายโดยการว่งิ เหยาะ ๆ 2 – 3 นาที 4.4.2 เดก็ และครูสนทนาร่วมกนั เกย่ี วกับเครือ่ งเลน่ สนาม โดยครูอธบิ ายวิธกี ารเลน่ ท่ี ถูกต้องและปลอดภยั ให้เด็กทราบ เสรจ็ แล้วให้เดก็ ได้เล่นอย่างอิสระ โดยครูดูแล ความปลอดภยั อย่างใกลช้ ดิ 4.4.3 เมอ่ื ไดเ้ วลาพอสมควรแล้ว ครใู ห้เด็กไปทาความสะอาดร่างกาย ล้างหน้า ลา้ งมอื ทาธรุ ะสว่ นตัว กลบั เขา้ หอ้ งเรยี น เพือ่ เตรยี มตวั ไปรบั ประทานอาหารกลางวัน

12 4.5 กิจกรรมเกมกำรศึกษำ (20 นำที) 4.5.1 เด็กและครสู นทนารว่ มกันเกยี่ วกบั เกมจัดหมวดหม่เู รียงลาดับต้นไม้ สูง – ตา่ โดยครู อธบิ ายวธิ กี ารเล่นให้เดก็ ฟงั 4.5.2 แบง่ เด็กเปน็ กลมุ่ ตามความเหมาะสม ให้แต่ละกล่มุ เลน่ เกมทค่ี รแู นะนา เกมที่เคย เลน่ มาแล้ว หรือเครื่องเลน่ สัมผสั 4.5.3 เม่ือเด็กเล่นเกมเสรจ็ แล้ว ครูแนะนาให้ชว่ ยกันเกบ็ สิง่ ของต่าง ๆ เขา้ ทใ่ี ห้เรียบร้อย 5. สือ่ กำรเรยี น / แหล่งกำรเรยี นรู้ 5.1 กาว กรรไกร กระดาษ 5.2 เกมจดั หมวดหมู่เรยี งลาดับภาพตน้ ไม้ สงู – ตา่ 6. กำรวัดผลและประเมนิ ผล 6.1 วิธวี ดั ผลและประเมนิ ผล 6.1.1 สังเกตการปฏิบตั ิตามสญั ญาณ และข้อตกลง 6.1.2 สงั เกตการพูดแสดงความคิดเหน็ และการตอบคาถา 6.1.3 ตรวจผลงานการตัด ฉกี ปะ กระดาษ 6.2 เคร่อื งมือวัดผล 6.2.1 แบบประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์ 6.2.2 ผลงานการตัด ฉกี ปะ กระดาษ 6.3 เกณฑ์กำรวัดผลและประเมินผล ระดับ 3 ดี ระดับ 2 พอใช้ ระดบั 1 ปรับปรุง

13 แผนกำรจัดประสบกำรณ์ที่ 5 ช้นั อนุบำลปที ี่ 2 สำระท่คี วรเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ งรำวเก่ียวกบั บคุ คลและสถำนที่แวดลอ้ มเดก็ หน่วย โรงเรยี นของฉนั เร่ือง การอยรู่ ว่ มกัน สัปดำหท์ ่ี 1 ลำดบั วันท่ี 5 ครผู สู้ อน คณุ ครูโชตกิ า เสือพิณ โรงเรยี น วดั ท่าบญุ มี สพป. ชบ. 2 1. สำระสำคญั เมอื่ อยูโ่ รงเรียนต้องมีการทากิจกรรมร่วมกัน เราเปน็ ส่วนหน่งึ ของโรงเรียน และสังคม ต้องเข้าร่วมกิจกรรมท่จี ดั ขึน้ อย่างเต็มใจและมีความสขุ 2. จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. เพอื่ ใหเ้ ด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรงเรียน สามารถปรบั ตวั ให้เขา้ กับโรงเรียนได้ 2. เพื่อให้เด็กรู้จกั และคุน้ เคยกบั โรงเรียน ครู และเพื่อน ๆ 3. เพอ่ื ให้เด็กสามารถปฏบิ ัติตามสญั ญาณ และคาสงั่ ได้ 4. เพอ่ื ใหเ้ ด็กสามารถสร้างผลงานได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ และเสรี 5. เพ่ือใหเ้ ด็กแสดงความคิดเห็น และตอบคาถามเก่ียวกบั เร่ืองท่สี นทนาได้ 6. เพื่อใหเ้ ด็กสามารถปรับตวั ในการเล่น และเล่นร่วมกับผูอ้ ่ืนไดอ้ ย่างสนุกสนาน 7. เพอื่ ใหเ้ ด็กสามารถเลน่ เกมท่ีกาหนดให้ได้ 3. สำระกำรเรยี นรู้ 3.1 สำระที่ควรเรียนรู้ กำรรว่ มกจิ กรรม 3.1 ประสบกำรณส์ ำคัญ 3.1.1 การร่วมปฏิบตั กิ ิจวัตรประจาวันของกลม่ 3.1.2 การรับรู้ท่ไี ว้ต่อความรสู้ ึก ความสนใจและความตอ้ งการของผอู้ ่ืน 3.1.3 การมีประสบการณ์ทางการเลน่ สร้างสรรคร์ ่วมกบั ผู้อนื่ 4. กจิ กรรมกำรเรียนรู้ 4.1 กจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ (20 นำที) 4.1.1 กิจกรรมพนื้ ฐาน ครใู หเ้ ดก็ เคลื่อนไหวรา่ งกายไปทัว่ ๆ บรเิ วณอยา่ งอสิ ระ เม่ือไดย้ นิ สัญญาณหยุด ใหห้ ยดุ ในทา่ น้ันทนั ที 4.1.2 เดก็ และครสู นทนารว่ มกนั เกย่ี วกบั การเปน็ ผ้นู า ผู้ตาม ปฏิบัติกิจกรรม โดยเด็ก และครรู ว่ มกันหาอาสาสมัคร ออกมาเป็นผนู้ าในการเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะ และใหเ้ พ่ือน ๆ ปฏบิ ตั ิตาม

14 4.1.3 เด็กและครรู ่วมกันปฏิบตั ิกิจกรรมในข้อ 4.1.2 และหมนุ เวียนคนอืน่ ๆ ออกมาเปน็ ผู้นาบา้ ง เพ่ือฝกึ ความกลา้ ในกรแสดงออก 4.1.4 ให้เดก็ ปฏบิ ตั ิกิจกรรมในข้อ 4.1.2 - 4.1.3 ซา้ หลาย ๆ เที่ยว หรือจนหมดเวลา 4.2 กิจกรรมสร้ำงสรรคแ์ ละกจิ กรรมเสรี (20 นำที) 4.2.1 เด็กและครู ชว่ ยกันจดั โต๊ะ เพ่ือปฏิบตั ิกจิ กรรมการพิมพภ์ าพ เสรจ็ แลว้ ครูอธบิ าย ช้ันตอนการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ใหเ้ ดก็ ดู แลว้ ใหล้ งมือปฏิบัติตามความคิด และ จินตนาการของตนเอง อย่างอิสระ โดยครูคอยดูแลอยูห่ ่าง ๆ 4.2.2 เด็กคนใดปฏิบตั เิ สร็จแลว้ ให้นาผลงานมาให้ครดู ู พร้อมกบั บอกช่ือ ผลงาน ข้นั ตอน วธิ ีการทาให้ครูฟัง 4.2.3 ครูนาผลงานของเดก็ ไปจัดแสดงไวใ้ นมมุ ผลงานของฉนั โดยเขียนชื่อเด็กและ เครอื่ งหมายประจาตวั ตดิ ไวด้ ้วย และแนะนาให้เด็กเกบ็ ผลงานเหล่านี้ไวใ้ นกล่อง ผลงานของตนเองเมื่อจัดแสดงเสร็จแล้ว 4.2.4 เมอ่ื เด็กปฏบิ ัติกิจกรรมครบทุกคนแล้ว ครูแนะนาใหเ้ ด็ก ๆ ชว่ ยกนั ทาความสะอาด บริเวณ และเกบ็ สิ่งของเขา้ ที่ใหเ้ รยี บร้อย 4.3 กิจกรรมเสรมิ ประสบกำรณ์ (15 นำที) 4.3.1 เดก็ และครรู ่วมกนั ร้องเพลง “เลน่ กัน” โดยครูร้องให้เด็กฟงั กอ่ น แล้วจงึ ใหร้ อ้ งตาม เสรจ็ แลว้ สนทนารว่ มกนั เกย่ี วกับเน้อื หาของบทเพลง 4.3.2 เดก็ และครูสนทนาร่วมกนั เก่ียวกบั การเล่นและการทากจิ กรรมรว่ มกบั ผู้อ่ืน โดยครู อธบิ ายใหเ้ ด็กฟังว่า เม่ือเราอย่โู รงเรยี น เราจะมีเพื่อนมากมาย ทง้ั ในหอ้ งของเรา เองและห้องอ่นื ๆ การเลน่ รว่ มกนั และการทากิจกรรมรว่ มกันจึงเป็นสิ่งท่ีหลีกเล่ียง ไมไ่ ด้ และเราต้องร้จู ักกฎ กตกิ า ในการเล่น เพื่อให้การเล่นนั้นเป็นไปดว้ ยความ เรยี บร้อยและสนุกสนาน 4.3.3 เดก็ และครสู นทนาสรุปและกาหนดแนวทางรว่ มกนั เกี่ยวกับการเล่นและทากจิ กรรม รว่ มกับบคุ คลอ่นื เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน 4.4 กิจกรรมกลำงแจง้ 4.4.1 ใหเ้ ดก็ ว่ิงลงสนามอยา่ งอิสระ เมือ่ ถงึ สนามแลว้ ให้เด็กอบอุ่นรา่ งกายโดยการวง่ิ เหยาะ ๆ 2 – 3 นาที 4.4.2 เดก็ และครสู นทนาร่วมกนั เก่ยี วกบั การเล่นกลางแจ้งอยา่ งอิสระ โดยครอู ธบิ าย วธิ ีการเล่นที่ปลอดภัยให้เดก็ ทราบ เสร็จแล้วให้เดก็ ไดเ้ ลน่ อยา่ งอิสระ โดยครูคอย ดแู ลความปลอดภัยอยา่ งใกล้ชิด 4.4.3 เมื่อไดเ้ วลาพอสมควรแล้ว ครูให้เดก็ ไปทาความสะอาดร่างกาย ลา้ งหนา้ ล้างมอื ทาธุระสว่ นตวั กลับเขา้ ห้องเรยี น เพือ่ เตรียมตวั ไปรับประทานอาหารกลางวัน

15 4.5 กิจกรรมกำรศึกษำ (20 นำที) 4.5.1 เดก็ และครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกบั เกมจับคู่ภาพเรขาคณิตให้สมบูรณ์ โดยครูอธิบาย วิธีการเลน่ ใหเ้ ด็กฟงั 4.5.2 แบ่งเดก็ เปน็ กลุ่มตามความเหมาะสม ใหแ้ ต่ละกลุม่ เล่นเกมทีค่ รแู นะนา เกมท่เี คย เล่นมาแล้ว หรือเครอ่ื งเลน่ สมั ผสั 4.5.3 เมื่อเด็กเล่นเกมเสร็จแล้วครูแนะนาใหช้ ว่ ยกนั เกบ็ ส่งิ ของต่าง ๆ เข้าทใี่ ห้เรียบร้อย 5. สอ่ื กำรเรยี น / แหลง่ กำรเรียนรู้ 5.1 สีนา้ เศษวัสดสุ าหรับเปน็ แบบพมิ พ์ 5.2 เพลงเล่นกนั 5.3 เกมจับคูภ่ าพเรขาคณติ ให้สมบูรณ์ 6. กำรวัดผลและประเมนิ ผล 6.1 วธิ วี ดั ผลและประเมินผล 6.1.1 สังเกตการปฏิบัตติ ามสญั ญาณ และข้อตกลง 6.1.2 สังเกตการเป็นผนู้ า ผตู้ าม 6.1.3 สังเกตความกล้าในการแสดงออก การสนทนา และการตอบคาถาม 6.1.4 ตรวจผลงานการพมิ พภ์ าพ 6.2 เครอื่ งมือวัดผล 6.2.1 แบบประเมินผลการจัดประสบการณ์ 6.2.2 ผลงานการพมิ พภ์ าพ 6.3 เกณฑก์ ำรวัดผลและประเมนิ ผล ระดับ 3 ดี ระดบั 2 พอใช้ ระดบั 1 ปรับปรงุ

16 ภาคผนวก เพลงกำยบริหำร (ศรีนวล รัตนสวุ รรณ) กามือขึ้นแลว้ หมนุ หมนุ ชูมือขึ้นโบกไปมา กามือข้ึนแล้วหมนุ หมุน ชมู อื ขน้ึ โบกไปมา กางแขนข้นึ และลง พับแขนมอื แตะไหล่ กางแขนข้นึ และลง ชูมือขึ้นหมนุ ไปรอบตัว เพลงโรงเรียนของเรำ (รัชนี ศรไี พวรรณ) ทำนอง เพลงผู้ใหญ่ลี โรงเรียนของเราน่าอยู่ คณุ ครูใจดีทกุ คน เดก็ เดก็ ก็ไม่ซุกซน พวกเราทุกคนชอบมาโรงเรียน ชอบมา ชอบมา โรงเรยี น ชอบมา ชอบมาโรงเรยี น เพลงเกบ็ ของ (กัญญำ เกตุกลำ่ ) ทำนอง เพลงผใู้ หญ่ลี เกบ็ ของไวใ้ ห้ถกู ท่ี เกบ็ ดีดีอย่าวงิ่ ซุกซน มาชว่ ยกันเกบ็ ทุกคน มาช่วยกันเก็บทุกคน หนหู นูอยา่ ซนช่วยกนั คนดี ช่วยกัน ชว่ ยกนั คนดี เพลงเลน่ กนั (ศรีนวล รัตนสวุ รรณ) เล่นกันเลน่ กันดีดี ตอ้ งสามัคคีเราเปน็ เพื่อนกัน ของเลน่ เราเล่นดว้ ยกนั เมื่อเลิกเลน่ กนั พลันช่วยกันเก็บเอย เพลงออกกำลัง (สุกรี ไกรเลศิ ) ออกกาลงั ด้วยการร้องราทาเพลง ใหค้ ร้ืนเครงเสียงเพลงบรรเลงจบั ใจ ราร้องกันไปไมม่ ีหม่นหมองฤทยั แลว้ เราเพลนิ ใจด้วยการร้องราทาเพลง เพลงล้ำงมือ (คณุ หญิงเบญจำ แสงมลิ) มือฉนั นน้ั สวยจรงิ ๆ ถ้าเป้ือนไมน่ ง่ิ รบี ลา้ งเร็วไว กลบั จากห้องน้าและก่อนกินไป ลา้ งมอื เสยี ให้สะอาดเอย

17 แผนกำรจัดประสบกำรณ์ท่ี 6 ชน้ั อนุบำลปีที่ 2 สำระที่ควรเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื งรำวเกยี่ วกับตัวเด็ก หนว่ ย ตัวของฉัน เรื่อง รา่ งกายของเรา สปั ดำห์ที่ 2 ลำดับวนั ท่ี 6 ครูผู้สอน คุณครูโชตกิ า เสอื พิณ โรงเรยี น วดั ทา่ บุญมี สพป. ชบ. 2 1. สำระสำคัญ ร่างกายของคนเรามีความเหมือนกนั และแตกต่างกัน ตามลักษณะของเพศ พันธ์ุกรรม เชือ้ ชาติ และบรรพบรุ ุษแตล่ ะคน 2. จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 2.2 เพ่อื ใหเ้ ดก็ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับความแตกตา่ งของร่างกายของเรา 2.3 เพอ่ื ใหเ้ ดก็ สามารถปฏบิ ตั ิตามสัญญาณ และคาสง่ั ได้ 2.4 เพื่อใหเ้ ด็กสามารถสรา้ งผลงานได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ และอิสระ 2.5 เพื่อให้เดก็ สามารถแสดงความคิดเหน็ และตอบคาถามเกี่ยวกับเรอื่ งทีส่ นทนาได้ 2.6 เพอ่ื ให้นกั เรียนบอกความแตกตา่ งร่างกายแตล่ ะคนได้ 2.7 เพอื่ ให้เด็กสามารถปรบั ตวั ในการเลน่ ร่วมกับผอู้ ื่นได้ 2.8 เพอ่ื ใหเ้ ด็กสามารถเล่นเกมทีก่ าหนดได้ 3. สำระกำรเรยี นรู้ 3.1 รำ่ งกำยของเรำ 3.2 ประสบกำรณส์ ำคญั 3.2.1 การเช่ือมโยงภาพ ภาพถ่ายและรปู แบบต่าง ๆ กบั ส่งิ ของหรอื สถานท่จี ริง 3.2.2 การสารวจและอธิบายความเหมอื น ความต่างของส่งิ ต่าง ๆ 3.2.3 การจบั คู่ การจาแนก และการจัดกลุ่ม 4. กจิ กรรมกำรเรียนรู้ 4.1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ (20 นำที) 4.1.1 กิจกรรมพื้นฐาน ให้เดก็ เคล่ือนไหวรา่ งกายไปท่วั ๆ บรเิ วณอยา่ งอิสระ เม่ือไดย้ ิน สัญญาณหยุด ให้หยุดในทา่ น้ันทนั ที 4.1.2 เดก็ และครรู ่วมกนั กาหนดมุมในห้องเปน็ 3 มมุ คือ มุมห้องน้า มมุ หอ้ งอาหาร มุม หอ้ งครัว 4.1.3 ใหเ้ ดก็ เคลื่อนไหวรา่ งกายอย่างอิสระ เม่ือได้ยินสญั ญาณหยุด ใหห้ ยดุ ฟงั คาสงั่ และ ปฏิบตั ิตามเช่น - ครบู อกว่าอาบนา้ เด็กจะเดนิ ไปทม่ี ุมห้องนา้

18 - ครูบอกวา่ ทาอาหาร เด็กเดินไปท่มี ุมห้องครวั - ครูบอกวา่ รบั ประทานอาหาร เดก็ เดินไปท่มี ุมห้องอาหาร 4.1.4 เดก็ และครรู ว่ มกันกาหนดขึ้นใหม่ และปฏิบัติกจิ กรรมในข้อ 4.1.3 ซา้ อีก 4.2 กจิ กรรมสร้ำงสรรค์และกิจกรรมเสรี (60 นำท)ี 4.2.1 เด็กและครูชว่ ยกันจัดโต๊ะเพอ่ื ปฏบิ ัติกิจกรรมการปัน้ ดินน้ามัน เสรจ็ แลว้ ครูแจกดิน น้ามันให้เด็กคนละ 1 ก้อน พร้อมแผน่ รองป้นั 4.2.2 ครสู าธิตการปน้ั เรม่ิ ตง้ั แต่การนวด คลงึ และป้นั เป็นรปู ต่างๆ เสรจ็ แลว้ ให้เดก็ ลง มือปั้นเปน็ รูปต่าง ๆ ตามความคดิ และจนิ ตนาการของตนเองโดยครคู อยให้ คาแนะนาและดูแลอยหู่ ่าง ๆ 4.2.3 เม่อื เด็กปฏิบัติกจิ กรรมเสร็จแลว้ ให้นาผลงานมาให้ครูดูพรอ้ มกับเลา่ ให้ ครูฟงั ถึงช่อื ผลงาน วธิ ที า ครูให้คาชมเชย และให้กาลงั ใจ 4.2.4 ครูแนะนาใหเ้ ด็กเก็บผลงานของตนเองไวใ้ นกล่องสะสมผลงาน เสรจ็ แลว้ ครแู นะนา ใหเ้ ดก็ ช่วยกนั ทาความสะอาดอปุ กรณ์ พนื้ ท่ีปฏบิ ัติกจิ กรรม และเกบ็ สิง่ ของต่าง ๆ เข้าทใ่ี ห้เรียบร้อย 4.3 กจิ กรรมเสรมิ ประสบกำรณ์ (15 นำที) 4.3.1 เด็กและครูสนทนารว่ มกนั เกยี่ วกับลกั ษณะของรา่ งกายที่มีความเหมอื นและแตกต่าง กนั โดยครูอธิบายใหเ้ ด็กฟังว่า ร่างกายของคนเรามสี ่วนประกอบทม่ี ากมาย อาจจะเหมอื นกันหรอื ตา่ งกันกข็ นึ้ อยู่กบั เชอ้ื ชาติ และเผ่าพันธ์ุ เช่น บางคนอาจจะ มผี วิ ขาว บางคนมผี วิ ดา ตาโต ตาชนั้ เดยี ว ผมสดี า ผมสที อง เป็นต้น 4.3.2 เด็กและครสู นทนาร่วมกนั หาอาสาสมัคร 2 คน ออกมาบอกความแตกต่างของ ร่างกายของแตล่ ะคน โดยให้เปรียบเทยี บระหว่างตนเองกับเพือ่ น เช่น ความสูง ผวิ ของรา่ งกาย เสยี งพูด เป็นตน้ 4.3.3 เด็กและครสู นทนา และสรุปรว่ มกนั เกีย่ วกบั ความแตกต่างของรา่ งกาย โดยครู อธิบายเพ่ิมเตมิ ใหเ้ ด็กฟงั อีกครง้ั 4.4 กจิ กรรมกลำงแจง้ (45 นำที) 4.4.1 ใหเ้ ดก็ จดั แถวตอนเรยี งหนึ่งตบมอื เปน็ จงั หวะ ลงสนามอย่างเปน็ ระเบียบ เมื่อถึง สนามแลว้ ให้เดก็ อบอุ่นรา่ งกายดว้ ยการว่งิ เหยาะ ๆ อยู่กับที่ 2 – 3 นาที 4.4.2 เดก็ และครสู นทนารว่ มกันเกี่ยวกบั การเลน่ บล็อกกลวง โดยครูแนะนาใหเ้ ด็กรู้จักกับ บล็อกกลวงที่ครจู ัดเตรยี มไว้ในสถานท่ีซงึ่ อยู่กลางแจ้งแต่แดดไมร่ ้อน 4.4.3 ครแู นะนาวิธเี ล่นบล็อกกลวงและสาธิตให้เดก็ ดู โดยการนาบล็อกกลวงมาต่อกนั เป็น รปู ต่าง ๆ เช่น เป็นบ้าน เปน็ กาแพง เสร็จแลว้ ให้เดก็ ไดเ้ ล่นบลอ็ กกลวงอย่างอสิ ระ โดยครูแนะนาว่าในการเล่นแตล่ ะครัง้ ใหฝ้ ึกความคิดสร้างสรรค์อย่างเสรี และรู้จัก แบ่งปันกันเลน่

19 4.4.4 เมอ่ื ได้เวลาพอสมควรแลว้ ครูใหเ้ ดก็ ๆ ไปทาความสะอาดร่างกาย ทาธุรสุ ว่ นตัว กลับเขา้ ห้องเรียน เพื่อเตรียมตวั ไปรับประทานอาหารกลางวันโดยครูต้องไมส่ ัง่ รอ้ื ผลงานของเด็ก เพียงแนะนาให้เกบ็ เขา้ ท่ีใหเ้ รยี บรอ้ ย 4.5 กจิ กรรมเกมกำรศึกษำ (20 นำที) 4.5.1 เดก็ และครสู นทนารว่ มกนั เกีย่ วกับเกมจบั คู่ภาพทซี่ ่อนในรูปเลขาคณติ โดยครูอธบิ าย วิธีการเลน่ ให้เดก็ ฟงั 4.5.2 แบง่ เดก็ เป็นกลมุ่ และให้แต่ละกลุ่มเล่นเกมท่ีครูแนะนา เกมที่เคยเลน่ มาแลว้ หรอื เครอื่ งเลน่ สัมผสั 4.5.3 เม่อื เด็กเลกิ เล่นแล้ว ครใู ห้เด็กชว่ ยกันเกบ็ ของเขา้ ทใี่ ห้เรยี บร้อย 5. สอื่ กำรเรียน / แหล่งกำรเรยี นรู้ 5.1 ดนิ นา้ มั แผ่นรองปนั้ 5.2 บล็อกกลวง 5.3 เกมจับคู่ภาพท่ีซ่อนอยู่ในรูปเรขาคณติ 6.กำรวดั ผลและประเมนิ ผล 6.1 วธิ วี ดั ผล และประเมินผล 6.1.1 สังเกตการปฏบิ ตั ิตามสญั ญาณ และคาสั่ง 6.1.2 สงั เกตการตอบคาถาม และการแสดงความคิดเห็น 6.1.3 ตรวจผลงานการปั้น 6.2 เคร่ืองมือวัดผล 6.2.1 แบบประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์ 6.2.2 ผลงานการปั้น 6.3 เกณฑ์กำรวดั ผลและประเมนิ ผล ระดับ 3 ดี ระดับ 2 พอใช้ ระดับ 1 ปรับปรุง

20 แผนกำรจดั ประสบกำรณ์ที่ 7 ชนั้ อนุบำลปที ่ี 2 สำระทีค่ วรเรียนร้ทู ่ี 2 เร่อื งรำวเกีย่ วกบั ตัวเด็ก หน่วย รูปร่างแตกต่าง เรื่อง รปู รา่ งแตกตา่ ง สัปดำหท์ ่ี 2 ลำดับวนั ที่ 7 ครผู ู้สอน คุณครูโชติกา เสอื พิณ โรงเรยี น วัดท่าบุญมี สพป. ชบ. 2 1. สำระสำคญั บุคคลต่างก็มรี ูปร่างและลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกันออกไป บางคนก็สงู บางคนก็เตี้ย บางคนก็ อ้วน บางคนก็ผอม ซ่ึงก็แลว้ แตบ่ รรพบรุ ษุ และกรรมพนั ธุ์ของแตล่ ะคน 2. จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 2.1 เพ่อื ใหเ้ ด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ความแตกตา่ งของรา่ งกายของเรา 2.2 เพอ่ื ใหเ้ ดก็ สามารถปฏบิ ตั ิตามสัญญาณ และคาสั่งได้ 2.3 เพื่อใหเ้ ดก็ สามารถสร้างผลงานได้อยา่ งสร้างสรรค์ และอสิ ระ 2.4 เพือ่ ใหเ้ ด็กสามารถแสดงความคดิ เห็น และตอบคาถามเก่ียวกบั เรื่องท่สี นทนาได้ 2.5 เพอ่ื ให้นักเรียนบอกความแตกต่างร่างกายแต่ละคนได้ 2.6 เพอ่ื ให้เดก็ สามารถปรบั ตัวในการเล่นร่วมกับผอู้ น่ื ได้ 2.7 เพือ่ ให้เดก็ สามารถเลน่ เกมท่กี าหนดได้ 3. สำระกำรเรยี นรู้ 3.1 รูปร่ำงและควำมแตกตำ่ งของตนเองกบั ผู้อนื่ 3.2 ประสบกำรณส์ ำคญั 3.2.1 การพดู กับผู้อ่นื เกี่ยวกับประสบการณข์ องตนเอง หรอื เล่าเกี่ยวกับตนเอง 3.2.2 การแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์ผา่ นการเคลือ่ นไหว 3.2.3 การสารวจและอธิบายความเหมอื น ความต่างของสงิ่ ต่าง ๆ 3.2.4 การมีประสบการณ์และการเรียงลาดบั เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ 4. กจิ กรรมกำรเรียนรู้ 4.1 กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ (20 นำที) 4.1.1 กิจกรรมพื้นฐาน ให้เด็กเคลอ่ื นไหวร่างกายไปท่วั ๆ บรเิ วณอยา่ งอสิ ระ เมอื่ ไดย้ นิ สญั ญาณหยุด ใหห้ ยุดเคลื่อนไหวในทา่ น้นั ทันที 4.1.2 เดก็ และครูสนทนารว่ มกันเก่ยี วกบั การทาท่าทางประกอบเพลง โดยร่วมกนั รอ้ ง เพลง “นีข่ องฉัน” พรอ้ มกับฝึกทาทา่ ประกอบเพลงโดยครูทาใหเ้ ด็กดูก่อน

21 4.1.3 ใหเ้ ดก็ รอ้ งเพลง “น่ีของฉนั ” โดยครรู อ้ งให้เด็กฟังก่อน แล้วจึงให้รอ้ งตาม พร้อม กับทาทา่ ประกอบเพลง อย่างอิสระตามความคิดสร้างสรรค์ของเด็กแต่ละคน 4.1.4 ใหเ้ ดก็ ปฏิบัติกิจกรรมในขอ้ 4.1.3 ซ้าอีกจนสมควรแกเ่ วลา 4.2 กิจกรรมสรำ้ งสรรค์และกิจกรรมเสรี (60 นำท)ี 4.2.1 เด็กและครูช่วยกันจดั โตะ๊ เพอ่ื ปฏบิ ัติกจิ กรรมการวาดภาพด้วยสเี ทียน เสรจ็ แลว้ ครู สาธติ การวาดเปน็ รปู รา่ งตา่ ง ๆ ให้เดก็ ดแู ลว้ ใหเ้ ด็กลงมอื ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตาม ความคิด และจินตนาการของตนเอง อย่างอิสระ โดยครคู อยแนะนาและดแู ลห่าง ๆ 4.2.2 เมอ่ื เด็กปฏบิ ัติกิจกรรมเสรจ็ แล้วให้นาผลงานมาใหค้ รูดูพร้อมกับเลา่ ใหค้ รูฟงั ถึงชอ่ื ผลงาน วธิ ที า ครใู ห้คาชมเชย และใหก้ าลังใจ และแนะนาใหเ้ กบ็ ผลงานมาไวใ้ น กลอ่ งสะสมผลงานของตนเอง 4.2.3 เมอ่ื เด็กปฏิบัติกิจกรรมครบแล้วครแู นะนาให้เด็กช่วยกนั ทาความสะอาดอุปกรณ์ พ้ืนท่บี รเิ วณปฏบิ ตั ิกจิ กรรม และเก็บสงิ่ ของต่าง ๆ เข้าท่ใี หเ้ รียบร้อย 4.3 กิจกรรมเสริมประสบกำรณ์ (15 นำที) 4.3.1 เดก็ และครสู นทนาร่วมกันเกี่ยวกับรูปรา่ งลกั ษณะของบุคคลว่ามคี วามเหมือนและ แตกต่างกนั อย่างไร เช่น ตวั สงู ตัวเตย้ี ตวั อว้ น ตัวผอม ตวั ดา ตวั ขาว 4.3.2 ครตู ัง้ คาถามนาให้เดก็ ช่วยกันหาคาตอบ เชน่ - ทาไมน้องแมวจงึ ต้องสูง - ทาไมน้องหวานจึงตวั เตีย้ เป็นตน้ 4.3.3 ครเู ล่านิทานเรื่อง “ลูกหมากับก้ิงกือ” ใหเ้ ด็ก ๆ ฟงั แลว้ สนทนารว่ มกันเกยี่ วกับ เรอ่ื งในนทิ าน โดยครูอาจจะต้ังคาถามให้เด็กตอบก็ได้ 4.3.4 เดก็ และครูสรุปรว่ มกันว่าแตล่ ะคนเกดิ มาไมเ่ หมือนกนั มรี ูปรา่ งลกั ษณะเป็นของ ตนเอง จงภูมิใจในความเปน็ ตัวเอง เพราะบางครั้งเราอาจทาสง่ิ หน่งึ ได้อย่างดี แต่ เพ่อื นของเราอาจจะทาไม่ไดเ้ ลยกม็ ี เป็นตน้ 4.3.5 เดก็ และครูรว่ มกันร้องเพลง “น่ขี องฉนั ” อีกครัง้ เปน็ การทบทวน 4.4 กิจกรรมกลำงแจง้ (45 นำที) 4.4.1 ให้เดก็ จัดแถวตอนเรยี งสองเดินจูงมือกนั เปน็ คู่ ๆ ลงสนาม (เดก็ ทีไม่มีคใู่ ห้จงู มือกบั ครู) เมอ่ื ถึงสนามแล้วให้เด็กอบอุน่ รา่ งกายด้วยการวิ่งเหยาะ ๆ อยกู่ ับที่ 2 – 3 นาที 4.4.2 ครใู ห้เดก็ เลน่ เครื่องเล่นสนามอยา่ งอสิ ระมอญซ่อนผา้ และแนะนาว่าควรเล่นอยา่ ง ระมดั ระวัง โดยครูคอยดูแลอยา่ งใกล้ชิด 4.4.3 เม่ือได้เวลาพอสมควรครูใหเ้ ด็กไปทาความสะอาดรา่ งกาย ล้างหน้า ลา้ งมือ ทา ธุระสว่ นตวั กลับเขา้ ห้องเรยี นเพื่อเตรียมตัวไปรับประทานอาหารกลางวัน

22 4.5 กจิ กรรมเกมกำรศกึ ษำ (20 นำที) 4.5.1 เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกบั เกมจบั คภู่ าพจานวนเทา่ กัน 1 – 5 โดยครูอธบิ าย วธิ กี ารเล่นให้เดก็ ฟงั 4.5.2 ครูแบ่งเด็กเปน็ กลมุ่ และให้เล่นเกมที่ครแู นะนา เลน่ เกมทีเ่ คยเลน่ มาแลว้ หรือ เครอ่ื งเล่นสมั ผัส 4.5.3 เมื่อเด็กเลิกเลน่ แล้วใหเ้ ด็กชว่ ยกนั เก็บสิ่งของต่าง ๆ เข้าทใ่ี หเ้ รียบร้อย 5. ส่ือกำรเรยี น / แหล่งกำรเรียนรู้ 5.1 สีเทียน 5.2 เพลงนี่ของฉนั 5.3 นทิ านเร่ืองลูกหมากับก้ิงกือ 5.4 เกมจบั ค่ภู าพจานวนเท่ากนั 1 – 5 6. กำรวดั ผลและประเมนิ ผล 6.1 วธิ วี ัดผลและประเมนิ ผล 6.1.1 สังเกตการปฏบิ ัติตามสญั ญาณ และคาสงั่ 6.1.2 สังเกตความกล้าในการแสดงออก และการตอบคาถาม 6.1.3 ตรวจผลงานการวาดภาพ 6.2 เครอื่ งมอื วัดผล 6.2.1 แบบประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์ 6.2.2 ผลงานการวาดภาพ 6.3 เกณฑ์กำรวดั ผลและประเมินผล ดี ระดับ 3 พอใช้ ระดับ 2 ปรับปรงุ ระดับ 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook