86 ๕. กลมุ่ ผสู้ งู อายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไป ล�ำดบั รายการบริการ กิจกรรมส�ำคญั ท่ีจะได้รบั กลมุ่ เป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ ๑ บริการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและ - บริการซักประวัต/ิ สอบถาม ตรวจรา่ งกายประเมิน - ผมู้ อี ายุ ๖๐ ปขี ึน้ ไป ตามแนวทางปฏบิ ัตทิ ก่ี รมวิชาการก�ำหนด ป้องกันโรคทวั่ ไป สุขภาพกาย/สุขภาพจติ (ความเครยี ด/ซึมเศร้า) และ หรือตามความจำ� เปน็ ปญั หาท่ัวไปประเมนิ พฤติกรรมเสยี่ ง การคัดกรอง ทจี่ �ำเปน็ การให้สขุ ศกึ ษา ค�ำปรกึ ษาแนะน�ำ ซักถาม และตอบคำ� ถาม ๒ บรกิ ารวคั ซนี ป้องกันคอตีบ - ฉดี วคั ซีนปอ้ งกนั คอตบี และบาดทะยัก - ผู้มอี ายุ ๖๐ ปีขึ้นไป - ๑ คร้งั ทกุ ๑๐ ปี และบาดทะยัก (dT) ท่ไี ม่เคยได้รับวัคซนี นี้ ในรอบ ๑๐ ปที ผ่ี ่านมา ๓ บรกิ ารวคั ซนี ไข้หวดั ใหญต่ าม - ฉีดวัคซนี ไขห้ วัดใหญต่ ามฤดกู าล - ผมู้ อี ายุ ๖๕ ปีขึ้นไป - ๑ ครง้ั ต่อ ปี ฤดูกาล - ผูม้ ีอายุ ๖๐ - ๖๔ ปี ท่ีปว่ ยดว้ ยโรคเรอื้ รัง ๗ กลมุ่ ได้แก่ เบาหวาน ไตวาย หอบหืด ปอดอดุ ก้ัน เรือ้ รัง หวั ใจ หลอดเลอื ด สมอง และมะเรง็ ที่ได้รบั การรักษาด้วยเคมีบำ� บัด ๔ บริการประเมินภาวะ - ชั่งน้ำ� หนัก วดั ส่วนสูงและเส้นรอบวงเอวเพ่อื - ผูม้ อี ายุ ๖๐ ปีขน้ึ ไป - ทกุ ๖ เดือน โภชนาการ คำ� นวนค่าดชั นมี วลกาย ๕ บริการวัดความดันโลหิต - ตรวจวดั ความดนั โลหติ ณ สถานพยาบาลหรอื - ผูม้ อี ายุ ๖๐ ปขี ึ้นไป - อย่างนอ้ ย ๑ ครัง้ ตอ่ ปีหรอื ทุกครัง้ ท่ีเขา้ รบั ท่ชี มุ ชน บรกิ าร ๖ บรกิ ารคัดกรอง - ตรวจวัดระดับนำ้� ตาลในเลอื ดภายหลังการอดอาหาร - ผมู้ ีอายุ ๖๐ ปีขนึ้ ไป - ๑ ครั้ง ทกุ ๑ - ๓ ปี แลว้ แตก่ รณี เบาหวาน ๘ ช่ัวโมง ด้วยการเจาะเลอื ดปลายนิ้ว (Fasting
ลำ� ดบั รายการบรกิ าร กจิ กรรมส�ำคญั ทีจ่ ะได้รับ กลุ่มเปา้ หมาย ความถ่ี หมายเหตุ ๗ บรกิ ารคัดกรองปัจจยั เส่ยี ง - ๑ ครงั้ ทุก ๕ ปี - การประเมิน ต่อการเกิดโรคหัวใจและ Capillary Glucose : FCG) หรือจากหลอดเลอื ดด�ำ โอกาสเส่ียงตอ่ หลอดเลอื ด (Fasting Plasma Glucose : FPG) การเกิดโรคหวั ใจ - ประเมินโอกาสเสย่ี งต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด - ผมู้ ีอายุ ๖๐ ปีขนึ้ ไป และหลอดเลอื ด เลือดโดยใชต้ ารางสีการประเมนิ โอกาสเส่ียงตอ่ โรค พิจารณาจาก หวั ใจและหลอดเลอื ด (Thai ASCVD Score) ตัวแปร ดังนี้ - การใหค้ ำ� ปรกึ ษาเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม ๑. อายุ เพศ รวมถึงการพจิ ารณาให้ยาเพอื่ ลดความเสี่ยงต่อการ ๒. ความดนั โลหิต เกิดโรคหัวใจและหลอดเลอื ด ๓. ระดบั ไขมนั ใน เลือด : total chol ๔. ระดับน้�ำตาล ในเลือด : FPG ๕. ภาวะอ้วน : ค่าดัชนมี วลกาย และเส้นรอบวงเอว ๖. การสบู บุหร่ี ๘ บริการคัดกรองความเส่ยี ง - ตรวจคล�ำชีพจร - ผมู้ ีอายุ ๖๕ ปีข้ึนไป - ทกุ คร้ังทีเ่ ขา้ รบั บรกิ าร ต่อโรคหลอดเลอื ดสมอง - หากพบความผิดปกติ (หวั ใจเต้นผิดจงั หวะชนิด - ๓ - ๕ ปตี ่อครง้ั Atrial Fibrillation) ท่ไี ดร้ บั การสง่ ตรวจคล่นื ไฟฟา้ ๙ บริการประเมนิ สมรรถนะ หัวใจ (ECG) เพอื่ วินจิ ฉยั ผ้สู งู อายุ - บรกิ ารประเมนิ ความสามารถในการทำ� กจิ วตั ร - ผมู้ ีอายุ ๖๐ ปขี ึน้ ไป ประจ�ำวนั (Activity of Daily Living : ADL)87
88 ล�ำดับ รายการบรกิ าร กิจกรรมสำ� คญั ท่ีจะได้รับ กลมุ่ เป้าหมาย ความถ่ี หมายเหตุ กลมุ่ เส่ยี งตอ่ โรค ๑๐ บริการคัดกรองและประเมิน - บรกิ ารคัดกรองและประเมนิ โรคซมึ เศร้าด้วย - ผ้มู อี ายุ ๖๐ ปีขึ้นไป - ๓ - ๕ ปีต่อครงั้ ถา้ พบวา่ มีความเส่ียง ฟนั ผุ ได้แก่ ผู้ทม่ี ี โรคซึมเศรา้ แบบสอบถาม ประเมินซำ้� ทุกปี ภาวะน�้ำลายแห้ง ๑๑ บริการให้คำ� ปรึกษาและ - หน่วยบริการแจง้ บริการให้คำ� ปรึกษาและการตรวจ - ผมู้ ีอายุ ๖๐ ปขี นึ้ ไป - ตามพฤติกรรมเสีย่ งและดลุ ยพินจิ ของ จากการรักษา คัดกรองการติดเชอ้ื เอชไอวี คดั กรองการติดเชอ้ื เอชไอวแี ก่ผู้รับบริการทราบ และ แพทย์ มะเรง็ ดว้ ยการ บริการตรวจการตดิ เชือ้ เอชไอวีตามความสมัครใจ ฉายแสงบรเิ วณ ๑๒ บรกิ ารป้องกนั โรคตดิ ตอ่ - บริการถงุ ยางอนามยั และคำ� แนะนำ� การใช้เมือ่ มี - ผมู้ ีอายุ ๖๐ ปขี ึ้นไป - ตามความตอ้ งการ ใบหน้าและล�ำคอ ทางเพศสมั พนั ธ์ เพศสมั พันธ์ หรือจากการกนิ ยา ๑๓ บรกิ ารเคลอื บฟลอู อไรด์ - บริการทาฟลูออไรดค์ วามเข้มขน้ สงู เฉพาะที่ - ผมู้ ีอายุ ๖๐ ปขี ึ้นไปท่ี - ทุก ๖ เดือน รกั ษาโรคทางระบบ (ทาฟลูออไรดว์ ารน์ ชิ ทีม่ ีปริมาณฟลอู อไรด์ ๒๒,๖๐๐ ppm) เปน็ กลมุ่ เสย่ี งตอ่ การเกดิ ท่ีส่งผลให้น�้ำลาย พรอ้ มใหค้ ำ� แนะนำ� การแปรงฟันด้วยยาสีฟนั ฟลูออ โรคฟันผุ แห้งตดิ ตอ่ กันเป็น ไรดอ์ ยา่ งน้อยวันละ ๒ คร้ัง และการบ้วนปากด้วย เวลานาน หรือ น้ำ� ยาบว้ นปากผสมฟลอู อไรด์ สาเหตอุ ่ืนๆ รวม ทั้งผู้ท่ีมีเหงอื กร่น รากฟันโผลท่ ่ียาก ตอ่ การทำ� ความ สะอาด
ลำ� ดับ รายการบริการ กิจกรรมสำ� คญั ที่จะไดร้ ับ กลมุ่ เป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ ๑๔ บรกิ ารใหค้ วามรู้เร่ืองการ - อย่างน้อย ๑ ครง้ั ตอ่ ปหี รอื ทกุ ครง้ั ทเี่ ขา้ รบั - แนะนำ� ใหท้ �ำกจิ กรรมอยา่ งสม่ำ� เสมอเพ่อื ลดความ - ผู้มอี ายุ ๖๐ ปีขน้ึ ไป บริการ ออกก�ำลงั กายหรอื กิจกรรม เสยี่ งของการเกดิ โรคสมองเสื่อม ได้แก่ การออก ทางกายและการฝกึ การ ก�ำลังกาย/การมกี จิ กรรมทางกาย/การฝกึ การท�ำงาน - ๑ ครง้ั ตอ่ ปี ท�ำงานของสมองอยา่ ง ของสมอง/ควบคุมน�ำ้ หนัก/กนิ อาหารทเ่ี นน้ ผกั ผลไม้ สม่�ำเสมอเพ่อื ปอ้ งกันโรค ไขมันต่ำ� ปลา เมล็ดธญั พืช ข้าวกลอ้ ง/ลดการดมื่ แอล ตามแนวทางท่กี รมอนามัยหรอื ที่เก่ียวข้อง สมองเสือ่ ม กอฮอลล์ ก�ำหนด ๑๕ บริการให้ความรเู้ รือ่ งการ - การใหค้ วามร้เู ร่ืองมะเร็งเต้านมและแนะนำ� การ - ผมู้ อี ายุ ๖๐ ปีข้นึ ไป คดั กรองมะเรง็ เตา้ นมด้วย ตรวจคลำ� เต้านมที่ถูกต้องดว้ ยตนเอง เพื่อสรา้ งความ การตรวจคล�ำเต้านมดว้ ย ตระหนัก ตนเอง ๑๖ บริการเย่ียมบ้าน/ชุมชน - ให้บรกิ ารเยีย่ มบา้ น/ชมุ ชน - ผู้สูงอายทุ ีต่ ้องการ ความช่วยเหลอื ในชวี ติ ประจ�ำวนั ผูด้ อ้ ยโอกาส ผูพ้ ิการหรือมเี งือ่ นไข จำ� เปน็89
ประกาศคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เรอื่ ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุ (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ที่ผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญตั หิ ลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) (๑๔) และมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครง้ั ที่ ๑๑/๒๕๕๙ เมื่อวนั ที่ ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ จึงออก ประกาศไวด้ งั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็น (๔) ของข้อ ๒ ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เรือ่ ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุ (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๙ “(๔) การสร้างเสรมิ สขุ ภาพและป้องกันโรคที่มลี กั ษณะเปน็ รายโครงการดังน้ี (ก) การดำ� เนนิ การเพอ่ื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั โรค เชน่ การใหค้ ำ� ปรกึ ษา การคดั กรองการคน้ หาผมู้ ีภาวะเส่ียง การสรา้ งเสริมภมู ิคุ้มกนั การใช้ยา การท�ำหัตถการ การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม เป็นตน้ (ข) การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรคในสว่ นคา่ ดำ� เนนิ การตามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ (ค) การพฒั นาศกั ยภาพบคุ คลทปี่ ฏบิ ตั งิ านดา้ นการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและการปอ้ งกนั โรค” ข้อ ๒ ให้รายการบริการหรือกิจกรรมเพื่อบริการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและการสนับสนุนและสง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารสำ� หรบั ผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวแี ละผปู้ ว่ ยเอดส์ ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนเี้ ปน็ รายการบรกิ ารหรอืกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและปอ้ งกนั โรค และอยู่ในประเภทขอบเขตของบริการสาธารณสขุ ท่ีผู้มีสทิ ธจิ ะไดร้ บัตามพระราชบัญญตั ิหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ข้อ ๓ ประกาศน้ใี ห้ใชบ้ ังคับต้งั แต่วันท่ี ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ90
เอกสารแนบท้ายประกาศคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เรือ่ งประเภทและขอบเขต ของบรกิ ารสาธารณสขุ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๖๐กลุ่มเดก็ โตและวยั ร่นุ อายุ ๖-๒๔ ปี กล่มุ ผ้ใู หญ่อายุ ๒๕-๕๙ ปี และกลุ่มผสู้ งู อายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไปรายการบรกิ าร กิจกรรมสำ� คญั ท่จี ะไดร้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย ความถี่ หมายเหตุบรกิ ารปอ้ งกันการ - บริการให้ความรู้ คำ� ปรึกษา การแนะน�ำและ กลุ่มประชากรท่ีมคี วาม ตามแนวทางของประเทศ/ติดเชื้อเอชไอวี ปรับเปลยี่ นพฤติกรรมท่ีเส่ยี งตอ่ การตดิ เชือ้ เสี่ยงสงู ต่อการตดิ เช้ือ แนวทางปฏบิ ตั ทิ ก่ี รม เอชไอวี เอชไอวี เช่น วชิ าการ หรือกรมควบคุม - บริการคำ� แนะน�ำ ชักชวน สง่ ตอ่ จากชมุ ชน - กล่มุ ชายมีเพศสัมพันธ์ โรคกำ� หนด หรือสถานบริการ/รา้ นยา เพอ่ื เข้ารับบริการ กับชายและสาวประเภท ในระบบ สอง - บรกิ ารอุปกรณ์ปอ้ งกนั เชน่ ถงุ ยาง สารหล่อล่นื - พนักงานบริการท่ีเป็น อุปกรณฉ์ ีดยาปลอดเชอื้ ชาย หญงิ และสาว - บรกิ ารใหก้ ารปรกึ ษาและการตรวจเลอื ดเพ่อื ประเภทสองทั้งทท่ี ำ� งาน หาการตดิ เช้อื เอชไอวี โดยสมัครใจ (VCT) ในและนอกสถานบรกิ าร - การนัดหมายและติดตามให้เข้ารบั บรกิ าร - ผูใ้ ชย้ าเสพติดวิธฉี ดี ตอ่ เนื่องและเพ่อื คงผลเลือดเปน็ ลบ (IVDU) - บริการตรวจคดั กรองโรคติดต่อทางเพศ - คู่ของผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวี สมั พันธ์ และคู่ของกล่มุ ประชากร - บริการส่งตอ่ เพื่อการรกั ษาโรคตดิ ต่อทางเพศ ทมี่ ีความเสย่ี งสงู สมั พันธ์และการเขา้ ถงึ บริการยาต้านไวรสั - ผตู้ อ้ งขงั และเยาวชน ในสถานพนิ จิ ฯ 91
ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ เร่อื ง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ที่ผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) แห่งพระราชบญั ญัติหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตกิ ารประชมุ คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี ๑๔/๒๕๖๐เม่ือวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ จงึ ออกประกาศไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนเ้ี รียกวา่ “ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสุข (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๑” ขอ้ ๒ ประกาศนีใ้ ห้มผี ลใช้บังคับตงั้ แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๑ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยาตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ อยู่ในประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขทผ่ี ู้มีสิทธิจะไดร้ ับตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ข้อ ๔ ให้ประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นผู้รักษาการตามประกาศน้ีและให้มอี �ำนาจวนิ จิ ฉัยช้ีขาดปญั หาเก่ียวกบั การปฏบิ ัตติ ามประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ92
เอกสารแนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เรื่องประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสขุ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวนั ท่ี ๒๘ เดอื น กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ รายการยา รปู แบบยา บญั ชี เงื่อนไข๑. Voriconazole Tablet จ(๒) Invasive fungal infection จากเชื้อ Fusarium spp. injection๒. Micafungin Injection Scedosporium spp. จ(๒) Invasive candidiasis ที่ด้อื ต่อยา fluconazole หรือไมส่ ามารถ๓. Deferasirox Dispersible tablet ใช้ amphotericin B ได้ จ(๒) Transfusion Dependent Thalassemia๔. Raltegravir Tablet ๑. ใช้เปน็ ยาลำ� ดับแรกในผปู้ ว่ ยอายุ ๒-๖ ปี๕. Rituximab Injection ๒. ใช้เป็นยาลำ� ดบั ท่ี ๒ ในผู้ป่วยอายตุ ้ังแต่ ๖ ปีขึ้นไปทไี่ มต่ อบสนอง๖. Sofosbuvir ต่อการรกั ษาหรอื มีผลข้างเคียงทรี่ นุ แรงจากการรกั ษาด้วยยา๗. ยาเม็ดผสม deferiproneSofosbuvir + จ(๒) ใช้ร่วมกบั Darunavir ในสตู รยาที่ ๓ (DRV/r + RAL + TDF +๓TC)Ledipasvir ในการรกั ษาผู้ปว่ ยตดิ เชอื้ เอชไอวที ล่ี ม้ เหลวจากการรกั ษามาแล้ว ๒(SOF/LDV) ครั้ง และมีการด้อื ยามากกวา่ ๒ กลุม่ ขึ้นไป คอื ด้ือตอ่ สูตรพ้ืนฐาน และสตู รท่ี ๒ ตามแนวทางการรกั ษาผ้ตู ิดเชือ้ เอชไอวขี องประเทศ (ด้อื ต่อสตู ร NRTI, NNRTI และ Pls) จ(๒) Diffused Large B-Cell Lymphoma (DLBCL) จ(๒) ใช้ร่วมกบั peginterferon และ ribavirin ในการรกั ษาตดิ เชื้อไวรสั ตบั อักเสบซีเรอื้ รงั สายพันธ์ุ ๓ จ(๒) ใช้รกั ษาการตดิ เชื้อไวรสั ตบั อักเสบซเี รื้อรังสายพันธ์ุ ๑, ๒, ๔ และ ๖ 93
ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เร่ือง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ที่ผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบญั ญัติหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม และมาตรา ๑๘ (๓) แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนัสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตขิ องคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ในการประชมุ ครัง้ ที่๖/๒๕๖๑ เม่อื วันที่ ๔ มถิ ุนายน ๒๕๖๑ คณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เรือ่ ง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๑” ขอ้ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใช้บังคับตงั้ แต่วนั ที่ ๔ มถิ ุนายน ๒๕๖๑ เปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ให้การตรวจคัดกรองยีน Human Leukocyte Antigen (HLA) allele-B*๑๕๐๒(HLA-B*๑๕๐๒) ในผู้ป่วยโรคลมชักก่อนเร่ิมยา Carbamazepine เพื่อป้องกันผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรง [Stevens–Johnson Syndrome (SJS) and Toxic Epidermal Necrolysis (TEN)] อยใู่ นประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสุข ท่ผี มู้ ีสิทธจิ ะได้รับตามพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ข้อ ๔ ให้ประธานกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ รักษาการตามประกาศน้ี ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ปยิ ะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ94
ประกาศสำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เรื่อง กำ� หนดหนว่ ยงานรบั ค�ำขอลงทะเบยี นเพ่อื เลอื กหนว่ ยบรกิ าร หรอื เปลีย่ นแปลงหนว่ ยบริการประจ�ำ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยทสี่ มควรกำ� หนดใหม้ หี นว่ ยงานทำ� หนา้ ทร่ี บั คำ� ขอลงทะเบยี นของผมู้ สี ทิ ธิ เพอ่ื เลอื กหนว่ ยบรกิ ารหรอื เปลย่ี นแปลงหนว่ ยบรกิ ารประจำ� ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตแิ ละใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ตามกฎหมาย อกี ทั้งเป็นการอ�ำนวยความสะดวก เป็นบริการเบ็ดเสร็จ ณ จดุ เดียว ซ่ึงประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางของประชาชน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหน่ึง มาตรา ๒๖ (๗) (๑๒) และมาตรา ๓๖ (๒)แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ และบนั ทกึ ความรว่ มมอื ระหวา่ งกระทรวงสาธารณสขุกบั สำ� นกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ลงวันที่ ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ เลขาธกิ ารส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ จงึ ออกประกาศไวด้ งั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ก�ำหนดให้หน่วยบริการทุกประเภทตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานรับค�ำขอลงทะเบียนเพื่อเลือกหน่วยบริการเป็นหน่วยบริการประจ�ำ หรือเพ่อื ขอเปลยี่ นแปลงหนว่ ยบริการประจำ� โดยมหี น้าทดี่ ังนี้ (๑) ตรวจสอบแบบคำ� รอ้ ง หลกั ฐานการขอลงทะเบยี น และบนั ทกึ ตรวจสอบขอ้ มลู การลงทะเบยี นเลือกหนว่ ยบริการประจ�ำและการขอเปลี่ยนแปลงหนว่ ยบรกิ ารประจำ� ในเขตพืน้ ทร่ี บั ผิดชอบ (๒) รวบรวมข้อมูลการลงทะเบียนที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องแล้วส่งให้ส�ำนักงานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติหรือสำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติเขต ข้อ ๒ ให้หน่วยบริการประเภทหน่วยบริการประจ�ำเป็นนายทะเบียนหน่วยบริการมีอ�ำนาจหน้าท่ีดงั นี้ (๑) อนุมตั กิ ารลงทะเบยี นทผี่ า่ นการตรวจสอบตามข้อ ๑ แล้ว (๒) รับข้อมูลการลงทะเบียนท่ีผ่านการอนุมัติจากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นการจัดบริการ (๓) ติดตาม ตรวจสอบ และแก้ไขข้อมูลการลงทะเบียนท่ีไม่ผ่านการอนุมัติในส่วนท่ีรับผิดชอบเพอ่ื ก�ำหนดแนวทางปรบั ปรงุ คุณภาพของระบบการลงทะเบยี น (๔) จัดเก็บและท�ำลายแบบค�ำร้องและเอกสารหลักฐานประกอบการขอลงทะเบียนตามแนวทางท่ีก�ำหนด (๕) ตรวจสอบหรือด�ำเนินการแก้ไขข้อมูลสิทธิด้านรักษาพยาบาลของบุคคลเฉพาะกรณีท่ีข้อมูลของบุคคลนั้นเป็นผู้มีสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามกฎหมายอ่ืน แต่ข้อเท็จจริงบุคคลดังกล่าวมีหลักฐานยืนยันว่าตนไมม่ สี ิทธติ ามกฎหมายนน้ั ๆ ท้ังน้เี พื่อใหบ้ ุคคลดังกลา่ วสามารถลงทะเบียนเลอื กหน่วยบริการประจ�ำได้ ข้อ ๓ ประกาศน้ใี ห้มีผลต้ังแตบ่ ัดน้ี เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ วนิ ยั สวสั ดวิ ร เลขาธิการส�ำนกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ 95
ขอ้ บังคับคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่อื นไขการขอลงทะเบยี นเลือกหน่วยบริการ พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขในการขอลงทะเบยี นเลอื กหนว่ ยบรกิ ารประจ�ำและการขอเปล่ียนแปลงหน่วยบริการประจ�ำ เพื่อให้การลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจ�ำมีประสิทธิภาพมากยิง่ ข้ึน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการก�ำจัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๖ และมาตรา ๔๑ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย บญั ญตั ใิ ห้กระทำ� ได้โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ประกอบกับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีมติในการประชุมครงั้ ท่ี ๗/๒๕๕๕ เม่อื วันท่ี ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๕ จึงออกข้อบงั คบั ไวด้ ังตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ขอ้ บังคับนเ้ี รยี กว่า “ขอ้ บงั คับคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธกี ารและเง่ือนไขการขอลงทะเบียนเลือกหน่วยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๕” ข้อ ๒ ขอ้ บังคับนใี้ หใ้ ช้บังคับต้งั แต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ เปน็ ต้นไป ยกเวน้ ในพ้นื ที่จงั หวัดยะลาและจังหวดั สงขลา ให้มีผลใชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วนั ที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๕๕” ข้อ ๓ ใหย้ กเลิก (๑) ข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขอลงทะเบยี นเลอื กหน่วยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖” (๒) ข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขอลงทะเบยี นเลอื กหนว่ ยบริการ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๖” (๓) ข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขอลงทะเบียนเลอื กหนว่ ยบรกิ าร (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘” ข้อ ๔ ในขอ้ บังคับน้ี “ส�ำนักงาน” หมายความว่าส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และให้หมายความรวมถึงส�ำนกั งานสาขาด้วย “หนว่ ยบรกิ าร” หมายความวา่ สถานบรกิ ารทไี่ ดข้ น้ึ ทะเบยี นตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้หมายความรวมถงึ หนว่ ยบริการตามระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ดว้ ยหลกั ประกนัสขุ ภาพพ.ศ. ๒๕๔๕ และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม ข้อ ๕ บุคคลใดประสงคจ์ ะรับบริการสาธารณสขุ ตามพระราชบัญญัติหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ ให้ยืน่ คำ� ขอลงทะเบยี นต่อส�ำนกั งานหรอื หน่วยงานที่ส�ำนักงานก�ำหนด ขอ้ ๖ การเลือกหน่วยบริการเป็นหน่วยบริการประจ�ำให้บุคคลตาม ข้อ ๕ เลือกหน่วยบริการทอี่ ยใู่ นพน้ื ทตี่ ำ� บลหรอื อำ� เภอทต่ี นมชี อ่ื อยตู่ ามทะเบยี นบา้ น หรอื หนว่ ยบรกิ ารในพนื้ ทตี่ ำ� บลหรอื อำ� เภอทอี่ ยตู่ อ่ เนอื่ งทั้งนโ้ี ดยใหค้ ำ� นึงถึงความสะดวกและความจำ� เป็นของตนเปน็ ส�ำคญั96
ในกรณที ี่บุคคลใด มีถน่ิ ทอ่ี ย่หู รือท่พี กั อาศยั ไมต่ รงกบั ทะเบียนบา้ น บุคคลดังกล่าวอาจลงทะเบยี นและเลือกหนว่ ยบรกิ ารในพื้นท่ีต�ำบลหรอื อ�ำเภอท่ีตนมีถิ่นทีอ่ ยู่หรอื พักอาศยั อยู่นน้ั กไ็ ด้ ข้อ ๗ บุคคลท่ีได้เลือกหน่วยบริการประจ�ำแล้ว หากประสงค์จะเปล่ียนแปลงหน่วยบริการประจ�ำให้ดำ� เนนิ การตามทกี่ ำ� หนดไวใ้ นข้อ ๕ และ ขอ้ ๖ แต่ทั้งนจี้ ะขอเปลย่ี นแปลงหน่วยบริการประจำ� ไดไ้ มเ่ กนิ ๔ ครัง้ในแตล่ ะปงี บประมาณ การเปลย่ี นแปลงหนว่ ยบรกิ ารประจำ� ระหวา่ งการรบั บรกิ ารในหนว่ ยบรกิ าร ใหม้ ผี ลหลงั จากสนิ้ สดุการรบั บริการในหนว่ ยบริการคร้งั นน้ั แลว้ ข้อ ๘ ส�ำนักงานอาจลงทะเบียนเลอื กหน่วยบริการประจำ� แทนบุคคลได้ ในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี (๑) กรณีเดก็ แรกเกดิ (๒) กรณีบุคคลสิ้นสุดจากสิทธิรับบริการสาธารณสุขตามมาตรา ๙ พระราชบัญญัติหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๓) กรณบี คุ คลสนิ้ สุดจากสิทธริ บั บรกิ ารสาธารณสุขตามกฎหมายวา่ ด้วยการประกันสังคม (๔) กรณีหน่วยบริการประจ�ำท่ีบุคคลได้ลงทะเบียนไว้แล้ว ถอนตัวหรือพ้นจากการเป็นหนว่ ยบรกิ ารประจำ� การลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจ�ำแทนบคุ คลตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) ให้ส�ำนักงานแจ้งหรอื ประชาสมั พนั ธ์ให้บุคคลทไี่ ด้รบั การลงทะเบียนแทนทราบด้วย บุคคลท่ีส�ำนักงานลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจ�ำแทน สามารถยื่นค�ำร้องขอเปลี่ยนแปลงหนว่ ยบริการประจำ� ใหม่ได้ โดยไมถ่ ือเปน็ การขอเปลี่ยนแปลงหนว่ ยบรกิ ารตามข้อ ๗ ข้อ ๙ การขอลงทะเบียน การเลือกหน่วยบริการประจ�ำ หรอื การเปลย่ี นแปลงหนว่ ยบรกิ ารประจำ� ให้บุคคลนั้นๆ แสดงบัตรประจ�ำตัวประชาชน หรือบัตรหรือเอกสารอื่นใดที่ทางราชการออกให้ซ่ึงมีเลขประจ�ำตัวประชาชนที่แสดงว่าบุคคลนัน้ เป็นผ้มู ีสทิ ธิตามพระราชบัญญัตหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในกรณีทบ่ี คุ คลใดมีถน่ิ ท่อี ยหู่ รอื พกั อาศัยไม่ตรงกบั บัตรประจ�ำตัวประชาชน หรอื บตั รหรอื เอกสารอ่ืนใดที่ทางราชการออกให้ตามวรรคหน่ึง ให้แสดงหลักฐานอย่างหนึ่งอย่างใด ท่ีแสดงว่าตนมีถ่ินท่ีอยู่หรือพักอาศัยอยใู่ นพ้นื ทน่ี นั้ ๆ ดังน้ี (๑) หนงั สอื รบั รองเจ้าบ้าน (๒) หนงั สือรบั รองของผูน้ ำ� ชุมชน (๓) หนงั สอื รบั รองของผวู้ า่ จา้ งหรอื นายจา้ ง (๔) เอกสารหรอื หลกั ฐานอน่ื เชน่ ใบเสรจ็ รบั เงนิ คา่ สาธารณปู โภค ใบเสรจ็ รบั เงนิ คา่ เชา่ ทพ่ี กั สญั ญาเช่าท่พี ัก ฯลฯ ท่แี สดงวา่ บุคคลน้นั มถี ่ินที่อยู่หรือพักอาศยั อยู่ในพื้นท่ีนน้ั ๆ ข้อ ๑๐ การข้ึนทะเบียนและการเลือกหน่วยบริการประจ�ำ ก่อนวันท่ีข้อบังคับน้ีมีผลบังคับใช้ใหถ้ ือว่าเปน็ การขอลงทะเบียนเลอื กหน่วยบรกิ ารประจ�ำตามข้อบงั คับน้ี ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ วิทยา บรุ ณศิร ิ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 97
ข้อบงั คบั คณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขการขอลงทะเบยี นเลือกหนว่ ยบริการ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขในการขอลงทะเบยี นเลอื กหนว่ ยบรกิ ารประจ�ำและการขอเปลี่ยนแปลงหน่วยบริการประจ�ำ เพื่อให้การลงทะเบียนของผู้มีสิทธิสอดคล้องกับการใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุข ตามกฎหมายวา่ ด้วยหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติมากยง่ิ ขึ้น อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ในการประชมุ ครงั้ ที่ ๓/๒๕๕๘ เมอ่ื วนั ท่ี ๒ มนี าคม๒๕๕๘ จงึ ออกข้อบงั คบั ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ขอ้ บงั คับน้เี รียกว่า “ข้อบงั คบั คณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ วา่ ด้วยหลกั เกณฑ์วิธกี ารและเงื่อนไขการขอลงทะเบยี นเลอื กหนว่ ยบรกิ าร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘” ขอ้ ๒ ขอ้ บงั คับน้ใี ห้ใช้บังคบั ตั้งแตบ่ ดั น้ีเปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘ แห่งข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วธิ ีการและเงือ่ นไขการขอลงทะเบียนเลอื กหนว่ ยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๕ และให้ใชค้ วามดังต่อไปน้ีแทน “ขอ้ ๘ ส�ำนกั งานอาจลงทะเบียนเลอื กหนว่ ยบรกิ ารประจำ� แทนบุคคลได้ ในกรณีดังตอ่ ไปน้ี (๑) กรณเี ดก็ แรกเกดิ (๒) กรณบี คุ คลสนิ้ สดุ จากสทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามมาตรา ๙ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนัสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๓) กรณบี คุ คลสน้ิ สุดจากสิทธริ บั บรกิ ารสาธารณสุขตามกฎหมายวา่ ด้วยการประกันสังคม (๔) กรณหี นว่ ยบรกิ ารประจำ� ทบ่ี คุ คลไดล้ งทะเบยี นไวแ้ ลว้ ถอนตวั หรอื พน้ จากการเปน็ หนว่ ยบรกิ ารประจำ� (๕) กรณหี นว่ ยบรกิ ารทใี่ หบ้ รกิ ารแกบ่ คุ คลตามมาตรา ๘ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ แล้วไม่จัดให้บุคคลน้ันลงทะเบียน เลือกหน่วยบริการประจำ� หรือกรณีบุคคลเข้ารับบริการครัง้ แรกตามมาตรา ๘ ให้สำ� นักงานลงทะเบียนแทนเป็นการช่ัวคราวกอ่ น โดยเลือกหน่วยบริการประจำ� ทอ่ี ยใู่ นพื้นท่ีตำ� บลหรอื อำ� เภอตามทะเบยี นบา้ นของบคุ คลดงั กลา่ วหรอื หนว่ ยบรกิ ารทมี่ กี ารรกั ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทง้ั นี้ โดยคำ� นงึ ถงึความสะดวกและความจำ� เป็นของบุคคลนัน้ เปน็ สำ� คัญ การลงทะเบยี นเลอื กหนว่ ยบรกิ ารประจำ� แทนบคุ คลตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) และ (๕) ใหส้ ำ� นกั งานแจง้ หรือประชาสมั พันธใ์ หบ้ ุคคลท่ีได้รับการลงทะเบยี นแทนทราบดว้ ย บุคคลท่ีส�ำนักงานลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจ�ำแทน สามารถย่ืนค�ำขอเปลี่ยนแปลงหน่วยบรกิ ารประจำ� ใหมไ่ ด้ โดยไม่ถอื เปน็ การขอเปลี่ยนแปลงหน่วยบรกิ ารตามข้อ ๗” ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ศาสตราจารยร์ ชั ตะ รชั ตะนาวนิ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ98
ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง หลกั เกณฑ์และมาตรการดำ� เนินการกรณหี น่วยทะเบียนลงทะเบยี นแทนผ้มู ีสทิ ธิโดยพลการ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการป้องปรามไม่ให้หน่วยทะเบียนด�ำเนินการลงทะเบยี นเลอื กหนว่ ยบริการแทนผ้มู สี ิทธิ โดยไมไ่ ด้รบั ความยนิ ยอมจากผมู้ ีสทิ ธิ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๖ และมาตรา ๒๖ (๓) (๗) (๑๒) แหง่ พระราชบญั ญตั ิหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ สำ� นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติจึงออกประกาศไวด้ ังตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ในประกาศน้ี “ผู้มสี ทิ ธิ” หมายความวา่ ผู้มสี ทิ ธติ ามพระราชบญั ญัติหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “หน่วยทะเบียน” หมายความว่า หน่วยงานหรือหน่วยบริการที่ส�ำนักงานมอบหมายให้ท�ำหน้าท่ีลงทะเบยี นผ้มู ีสิทธิ “ลงทะเบียนพลการ” หมายความวา่ การลงทะเบียนเลอื กหนว่ ยบรกิ าร แทนผ้มู สี ิทธิโดยไมไ่ ด้รับความยินยอมจากผู้มสี ทิ ธิ หรอื ไม่มอี �ำนาจจัดการแทนผู้มสี ิทธิ “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการส�ำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ “ส�ำนักงาน” หมายความวา่ สำ� นกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ขอ้ ๒ การลงทะเบียนผมู้ ีสทิ ธิ ให้ใชห้ ลักเกณฑแ์ ละแนวทางตามท่ีสำ� นกั งานกำ� หนด ขอ้ ๓ กรณสี ำ� นกั งานตรวจสอบพบวา่ หนว่ ยทะเบยี น มกี ารลงทะเบยี นพลการสำ� นกั งานอาจดำ� เนนิ การดังนี้ (๑) กรณีลงทะเบยี นพลการ โดยผดิ หลงจ�ำนวนไมเ่ กนิ ๑๐ คนต่อครง้ั อาจดำ� เนนิ การ (ก) ตักเตือน (ข) ให้รบั ผิดชอบค่าใชจ้ า่ ยหรอื ค่าเสียหายทีเ่ กิดขน้ึ (ค) ให้คืนสทิ ธปิ ระชาชนไปยงั หน่วยบริการเดมิ (ง) เรยี กคืนเงนิ เหมาจ่ายรายหัว (๒) กรณีลงทะเบียนพลการ โดยผิดหลงมากกว่า ๑๐ คนต่อครั้ง หรือลงทะเบียนแทนผู้มีสิทธิโดยทจุ รติ หรอื หลอกลวงให้ประชาชนเข้าใจผิดในการลงทะเบยี น อาจด�ำเนนิ การ (ก) ตักเตือน (ข) ใหร้ บั ผิดชอบค่าใชจ้ ่ายหรือค่าเสยี หายทีเ่ กิดขึ้น (ค) ให้คืนสทิ ธปิ ระชาชนไปยงั หนว่ ยบริการเดิม (ง) เรยี กคืนเงินเหมาจ่ายรายหวั 99
(จ) ไมอ่ นญุ าตใหเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยทะเบยี น เฉพาะผทู้ ด่ี ำ� เนนิ การตามขอ้ ๓ (๒) เขา้ ใชง้ านฐานขอ้ มลู ทะเบยี นกลางเป็นเวลา ๑ ปี หรอื จนกวา่ สำ� นักงานจะมคี �ำสัง่ เปน็ อย่างอืน่ (ฉ) งดสง่ ข้อมลู สิทธวิ ่าง (๓) กรณลี งทะเบยี นพลการ โดยผดิ หลง ๓ ครง้ั ขน้ึ ไป หรอื ลงทะเบยี นแทนผมู้ สี ทิ ธโิ ดยทจุ รติ หรอืหลอกลวงให้ประชาชนเข้าใจผดิ ในการลงทะเบียนตัง้ แต่ ๒ ครงั้ ข้นึ ไป อาจด�ำเนินการ (ก) ตกั เตอื น (ข) ใหร้ ับผดิ ชอบคา่ ใช้จา่ ยหรอื คา่ เสียหายทีเ่ กิดขน้ึ (ค) ให้คืนสทิ ธิประชาชนไปยังหน่วยบริการเดมิ (ง) เรยี กคนื เงินเหมาจา่ ยรายหวั (จ) ไมอ่ นญุ าตให้เข้าใชง้ านฐานข้อมลู ทะเบยี นกลาง (ฉ) งดส่งขอ้ มลู สทิ ธิว่าง (ช) ประกาศบนเวบ็ ไซตข์ องส�ำนักงาน ว่าเปน็ หนว่ ยงานทลี่ งทะเบยี นพลการ (ซ) ดำ� เนนิ คดีตามกฎหมาย ขอ้ ๔ การด�ำเนนิ การตามข้อ ๓ (๓) ส�ำนักงานอาจแต่งต้ังคณะกรรมการ เพื่อพจิ ารณาให้ความเหน็ต่อสำ� นกั งาน คณะกรรมการตามวรรคหนง่ึ ใหม้ ีจำ� นวนไม่เกนิ ๗ คน โดยมีรองเลขาธกิ าร หรือผชู้ ่วยเลขาธกิ ารที่ได้รบั มอบหมายเปน็ ประธานกรรมการ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักกฎหมายเป็นกรรมการและเลขานกุ าร ขอ้ ๕ กรณหี นว่ ยทะเบยี นไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั คำ� สง่ั ใชม้ าตรการตามขอ้ ๓ ใหอ้ ทุ ธรณต์ อ่ สำ� นกั งานภายใน๓๐ วนั นบั แตว่ ันทีไ่ ดร้ ับแจง้ คำ� สงั่ ข้อ ๖ เงินท่ีได้รับจากการเรียกคืนตามประกาศนี้ ให้เป็นเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในส่วนทท่ี ี่สำ� นักงานจะจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายใหห้ น่วยบริการตามระบบปกติ ขอ้ ๗ ให้เลขาธกิ ารเป็นผรู้ ักษาการ และใหม้ ีอำ� นาจวนิ จิ ฉยั ชีข้ าดปญั หาการปฏบิ ตั ติ ามประกาศนี้ ข้อ ๘ ประกาศนี้ ให้ใช้บังคบั ต้ังแตบ่ ัดนี้ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ วินยั สวสั ดวิ ร เลขาธกิ ารส�ำนกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ100
ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ เร่อื ง การใชส้ ิทธเิ ข้ารบั บรกิ ารสาธารณสุขของทหารผ่านศกึ และคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงการใช้สิทธิเข้ารับบริการสาธารณสุขของผู้ได้รับพระราชทานเหรียญต่างๆ หรือทหารผ่านศึกที่ได้รับสิทธิตามมติคณะรัฐมนตรีให้ได้รับการรักษาจากโรงพยาบาลของรัฐโดยไม่คิดมูลค่า รวมท้ังคนพิการให้สามารถใช้สิทธิเข้ารับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการของรัฐได้อย่างสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี และก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการขอรับค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขของหน่วยบรกิ าร อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๘ (๑๔) แหง่ พระราชบัญญตั ิหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ไดม้ มี ตใิ นการประชมุ ครงั้ ที่ ๑๓/๒๕๕๕เม่ือวันที่ ๓ ธนั วาคม ๒๕๕๕ จงึ ออกประกาศไวด้ งั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ใหย้ กเลิก (๑) ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอื่ ง การใชส้ ทิ ธเิ ขา้ รบั บรกิ ารสาธารณสขุ ของทหารผา่ นศกึ และคนพิการ ลงวันท่ี ๑๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๗ (๒) ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื งการใชส้ ทิ ธเิ ขา้ รบั บรกิ ารสาธารณสขุ ของทหารผา่ นศกึ และคนพิการ (ฉบบั ที่ ๒) ลงวนั ท่ี ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๔๘ ขอ้ ๒ ให้ประกาศนี้ “ทหารผ่านศึก” หมายความว่าบุคคลที่มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ และได้รับสิทธิจากมติคณะรัฐมนตรีให้ได้รับการรักษาพยาบาลจากโรงพยาบาลของรัฐโดยไม่คิดมลู คา่ ซ่งึ ได้แก่ (๑) ผูไ้ ดร้ บั พระราชทานเหรียญกลา้ หาญ (๒) ผู้ได้รบั พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาเข็มกลา้ หาญ (๓) ผไู้ ดร้ ับพระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ (๔) ผไู้ ดร้ บั พระราชทานเหรยี ญพทิ ักษเ์ สรีชนช้ันที่ ๑ (๕) ผไู้ ด้รับพระราชทานเหรยี ญพิทกั ษเ์ สรีชนชั้นท่ี ๒ (๖) ผไู้ ด้รบั พระราชทานเหรียญราชการชายแดน (๗) ผู้มสี ทิ ธิในบตั รทหารผ่านศกึ นอกประจ�ำการบัตรชั้นที่ ๑ (๘) ผู้มีสิทธิในบัตรทหารผ่านศึกนอกประจ�ำการบัตรช้ันท่ี ๒ (๙) ผู้มสี ิทธใิ นบตั รทหารผ่านศกึ นอกประจ�ำการบัตรชั้นท่ี ๓ 101
(๑๐) ผูม้ ีสิทธใิ นบตั รประจ�ำตวั ครอบครวั ทหารผ่านศกึ ช้ันท่ี ๑ (๑๑) ผมู้ ีสทิ ธิในบตั รประจ�ำตวั เหรียญกลา้ หาญทายาท (๑๒) ผู้มีสิทธใิ นบตั รประจำ� ตวั เหรยี ญชัยสมรภูมทิ ายาท (๑๓) ผูม้ สี ทิ ธิในสมดุ คมู่ ือประจำ� ครอบครัวทหารของกรมสวัสดกิ ารสามเหล่าทพั (๑๔) ผู้มสี ิทธิในสมุดค่มู อื ประจ�ำตัวครอบครวั ทหารผ่านศึกนอกประจำ� การบตั รชั้นท่ี ๑ “คนพิการ” หมายความว่า คนพิการตามประเภทและหลักเกณฑ์ท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ประกาศกำ� หนด ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และท่ีคณะรัฐมนตรกี �ำหนดเพิม่ เตมิ ข้อ ๓ ให้ทหารผ่านศึกและคนพิการใช้สิทธิเข้ารับบริการสาธารณสุขภายใต้ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ณ หน่วยบริการประจ�ำของตนเว้นแต่กรณมี ีความจำ� เป็นอาจไปใช้สิทธิเข้ารบั บริการสาธารณสขุ ณ หน่วยบรกิ ารอื่นของรฐั ก็ได้ ขอ้ ๔ หน่วยบริการที่ให้บริการสาธารณสุขแก่ทหารผ่านศึกหรือคนพิการไปแล้ว มีสิทธิได้รับค่าใชจ้ ่ายเพื่อบรกิ ารสาธารณสขุ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) กรณีเป็นหน่วยบริการประจ�ำ ให้ได้รับค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขตามอัตราเหมาจ่ายรายหัว เชน่ เดียวกบั ผมู้ สี ิทธติ ามพระราชบญั ญัติหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๒) กรณีเป็หน่วยบริการอื่นของรัฐที่อยู่ในส�ำนักงานสาขา หรือกองทุนสาขาเดียวกันกับหน่วยบริการประจ�ำ ให้หน่วยบริการอ่ืนนั้นได้รับค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขจากส�ำนักงานสาขาหรือกองทุนสาขาหรือจากหน่วยบริการประจ�ำ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขการจ่ายค่าใช้จ่าย กรณีอุบัติเหตุหรือกรณีเจ็บป่วยฉกุ เฉนิ ภายในสำ� นกั งานสาขาหรอื กองทนุ สาขาเดยี วกันโดยอนุโลม (๓) กรณีเป็นหน่วยบริการอื่นของรัฐต่างส�ำนักงานสาขาหรือกองทุนสาขา ให้ได้รับค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขจากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข เช่นเดียวกับที่หน่วยบริการได้รับในกรณีให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน ต่างส�ำนักงานหรือต่างกองทุนสาขาโดยอนโุ ลม ข้อ ๕ ประกาศน้ี ให้ใช้บังคับต้งั แต่บดั นี้ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ประดษิ ฐ สินธวณรงค์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ102
ข้อบังคับคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ว่าดว้ ยการใช้สิทธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ กรณีทีม่ เี หตุสมควร กรณีอุบัตเิ หตุ หรือกรณเี จ็บป่วยฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยท่ีคณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การก�ำหนดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต และให้หน่วยงานที่เก่ียวข้อปรับปรุงแก้ไข กฎ ระเบียบจึงต้องปรับปรุงหลักเกณฑ์การเข้ารับบริการสาธารณสุข กรณีท่ีมีเหตุสมควร หรือกรณีอุบัติเหตุหรือกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินจากสถานบริการและหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของสถานบริการเพือ่ ใหผ้ ู้มสี ทิ ธเิ ขา้ ถงึ การบริการสาธารณสุขในกรณดี ังกล่าวไดอ้ ย่างทัว่ ถึงและมปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ้ อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญตั ิหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ประกอบมตคิ ณะรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขการกำ� หนดคา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ การผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิวกิ ฤต เมอ่ื วนั ที่ ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๐ และมตคิ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตใิ นการประชมุ ครง้ั ท่ี ๖/๒๕๖๐เม่ือวันท่ี ๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๐ คณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ จงึ ออกข้อบังคบั ไว้ ดังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ขอ้ บงั คบั นเ้ี รยี กว่า “ขอ้ บงั คับคณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการใช้สิทธิรบั บริการสาธารณสขุ กรณีท่ีมีเหตสุ มควร กรณีอบุ ัติเหตุ หรือกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๐” ขอ้ ๒ ข้อบงั คบั นใ้ี หใ้ ช้บงั คับตงั้ แต่วนั ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๖๐ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก (๑) ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการใชส้ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุกรณีท่ีมีเหตสุ มควร กรณอี ุบตั เิ หตุ หรอื กรณเี จ็บปว่ ยฉุกเฉนิ พ.ศ. ๒๕๕๕ (๒) ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการใชส้ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุกรณที ม่ี ีเหตุสมควร กรณอี บุ ตั ิเหตุ หรอื กรณีเจบ็ ป่วยฉุกเฉิน (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อ ๔ ในข้อบังคับน้ี “สถานบรกิ าร” หมายความวา่ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ของเอกชน และของสภากาชาดไทยหนว่ ยบรกิ ารประกอบโรคศิลปะสาขาต่างๆ และสถานบรกิ ารสาธารณสขุ อืน่ ท่คี ณะกรรมการก�ำหนดเพิ่มเติม “ผู้มีสิทธิ” หมายความว่า บุคคลท่ีมีสิทธิรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “กองทุน” หมายความวา่ กองทนุ หลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ “ส�ำนกั งาน” หมายความวา่ ส�ำนกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ขอ้ ๕ ผู้มีสิทธิที่ได้ลงทะเบียนแล้ว ให้ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขได้จากหน่วยบริการประจ�ำของตนหรอื หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ใิ นเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หรอื จากหนว่ ยบรกิ ารอน่ื ทหี่ นว่ ยบรกิ ารประจำ� ตน 103
หรือเครอื ข่ายหนว่ ยบรกิ ารทเ่ี ก่ยี วข้องส่งตอ่ เว้นแต่ กรณที ่ีมีเหตสุ มควร หรือกรณีอุบัตเิ หตหุ รือกรณเี จบ็ ป่วยฉกุ เฉินให้มีสิทธิเข้ารับบริการจากสถานบริการ ทั้งน้ีโดยค�ำนึงถึงความสะดวกและความจ�ำเป็นของผู้ใช้สิทธิรับบริการและสถานบรกิ ารท่ีใหบ้ รกิ ารมสี ิทธิได้รบั คา่ ใช้จ่ายจากกองทุน กรณอี บุ ตั เิ หตหุ รอื กรณเี จบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ ตามวรรคหนงึ่ ใหแ้ ยกระดบั ตามความฉกุ เฉนิ เปน็ ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิวิกฤต ผูป้ ว่ ยฉกุ เฉินเร่งดว่ นหรอื ผู้ป่วยฉกุ เฉนิ ไมร่ ุนแรง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วธิ ีการและเง่ือนไขการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยฉุกเฉินตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล และประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ว่าดว้ ยการระดมทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการชว่ ยเหลือเยียวยา และการจัดใหม้ ีการสง่ ตอ่ ผ้ปู ว่ ยไปยังสถานพยาบาลอน่ื ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาล ขอ้ ๖ สถานบรกิ ารทใี่ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ แกผ่ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตใหแ้ จง้ สำ� นกั งานทราบโดยเรว็ และให้สถานบรกิ ารนน้ั มสี ิทธไิ ด้รับค่าใช้จ่ายจากกองทนุ ดังน้ี (๑) ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นนับตั้งแต่ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตจนถึงเวลาเจ็ดสิบสองช่ัวโมงจ่ายในอัตราตามบัญชีและอัตราค่าใช้จ่ายตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการก�ำหนดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการผปู้ ่วยฉุกเฉนิ วิกฤตตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานพยาบาล (๒) ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นหลังเวลาเจ็ดสิบสองชั่วโมงนับต้ังแต่รับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต กรณีท่ีไม่สามารถย้ายกลับเข้าระบบหน่วยบริการได้ เน่ืองจากยังไม่พ้นภาวะวิกฤตหรือกรณีไม่มีเตียงรับย้ายสถานบริการมีสิทธิเรียกเก็บจากส�ำนักงานตามอัตราค่ารักษาพยาบาลของสถานบริการหรือตามข้อตกลงระหว่างสถานบริการกบั สำ� นกั งาน ในกรณที ผ่ี ปู้ ว่ ยมสี ทิ ธไิ ด้รับความคุม้ ครองตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคุ้มครองผูป้ ระสบภยั จากรถหรือตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกันชีวิต ใหใ้ ชส้ ิทธิดังกล่าวกอ่ น ในกรณที ผ่ี ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตสามารถยา้ ยเขา้ ระบบหนว่ ยบรกิ ารได้ แตป่ ฏเิ สธไมข่ อยา้ ยผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิวกิ ฤตต้องรบั ผดิ ชอบคา่ ใช้จา่ ยที่เกิดขนึ้ ต่อไปเอง ขอ้ ๗ เพอื่ ประโยชนใ์ นการใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตและการเรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยของสถานบรกิ ารให้น�ำประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยฉุกเฉินการระดมทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือเยียวยา และการจัดให้มีการส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลอ่ืนและประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ืองหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขการก�ำหนดคา่ ใชจ้ ่ายในการดำ� เนินการผู้ป่วยฉกุ เฉินวกิ ฤต มาบงั คับใชโ้ ดยอนุโลม ขอ้ ๘ สถานบริการที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง มีหน้าท่ีแจ้งการเข้ารับบริการให้ส�ำนักงานทราบทันทีหรือโดยเร็วภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง เพ่ือประสานหน่วยบริการประจ�ำหรือหนว่ ยบรกิ ารอน่ื พจิ ารณารบั ยา้ ยผปู้ ว่ ย โดยใหส้ ถานบรกิ ารอำ� นวยความสะดวกในการนำ� สง่ ผปู้ ว่ ยและใหส้ ถานบรกิ ารนนั้ มสี ทิ ธิไดร้ ับคา่ ใช้จ่ายจากกองทุน ดงั น้ี (๑) ผู้ป่วยนอก มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย ตามจ�ำนวนเท่าท่ีจ่ายจริง แต่รวมแล้วไม่เกิน ๗๐๐ บาทตอ่ คร้งั104
(๒) ผู้ป่วยใน มีสทิ ธไิ ด้รบั คา่ ใช้จ่าย ดังตอ่ ไปน้ี (ก) คา่ รกั ษาพยาบาล คา่ หอ้ งและอาหาร ตามจำ� นวนเทา่ ทจี่ า่ ยจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ รายละ ๔,๕๐๐ บาทต่อการประสบอนั ตรายหรือเจบ็ ป่วยแต่ละครั้ง หรือ (ข) กรณมี คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งผา่ ตดั ใหญแ่ ละใชเ้ วลาในการผา่ ตดั ไมเ่ กนิ สองชว่ั โมง ใหไ้ ดร้ บั ตามจำ� นวนเทา่ ทีจ่ ่ายจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ รายละ ๘,๐๐๐ บาท ตอ่ การประสบอนั ตรายหรือเจบ็ ป่วยแต่ละครงั้ หรือ (ค) กรณีมคี วามจ�ำเป็นตอ้ งผา่ ตดั ใหญแ่ ละใช้เวลาในการผา่ ตดั เกนิ กวา่ สองชว่ั โมงหรอื กรณีต้องมีการรักษาพยาบาลในห้องผู้ป่วยหนัก (Intensive Care Unit : ICU) ให้ได้รับตามจ�ำนวนเท่าท่ีจ่ายจริงแตไ่ ม่เกนิ รายละ ๑๔,๐๐๐ บาท ตอ่ การประสบอันตรายหรอื เจ็บปว่ ยแตล่ ะครั้ง (๓) ค่ารถพยาบาล หรือเรือพยาบาลน�ำส่งผู้ป่วยท่ีประสงค์จะย้ายไปรับบริการท่ีหน่วยบริการประจ�ำของตนหรือหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายหรือหน่วยบริการอื่นที่หน่วยบริการประจ�ำเห็นชอบจะจ่ายในอตั ราตามประกาศวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑก์ ารดำ� เนนิ งานและบรกิ ารจดั การกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตปิ ระจำ�ปงี บประมาณน้ัน การเปลี่ยนแปลงอตั ราค่าใชจ้ า่ ยใน (๑) – (๓) ให้เป็นไปตามทีส่ ำ� นกั งานประกาศก�ำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ในกรณีที่ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วนหรือผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง สามารถย้ายเข้าระบบหน่วยบริการได้แต่ปฏเิ สธไมข่ อย้าย หรอื เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยส่วนเกนิ (๑) – (๓) ผู้ปว่ ยตอ้ งรบั ผิดชอบคา่ ใชจ้ า่ ยเอง ขอ้ ๙ กรณีที่หน่วยบริการประจ�ำหรือหน่วยบริการอ่ืนไม่สามารถรับย้ายผู้ป่วยตามข้อ ๘ วรรคหน่ึงไดใ้ หห้ นว่ ยบรกิ ารประจำ� หรอื สำ� นกั งาน รบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ หลงั การแจง้ ขอยา้ ยครบยสี่ บิ สชี่ วั่ โมงเปน็ ตน้ ไปและสถานบริการมีสิทธิเรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากส�ำนักงานตามอัตราค่ารักษาพยาบาลของสถานบริการนั้น หรือตามข้อตกลงระหว่างสถานบริการกับส�ำนกั งาน ซ่ีงส�ำนักงานจะจ่ายจากเงินกองทนุ แทนหนว่ ยบรกิ ารประจำ� ขอ้ ๑๐ ผมู้ ีสทิ ธิทไ่ี ด้รบั การส่งตอ่ จากหน่วยบริการหรอื จากสำ� นักงาน ให้เข้ารับบริการสาธารณสุขจากสถานบรกิ ารได้ ถอื เป็นกรณีที่มีเหตสุ มควร และใหส้ ถานบรกิ ารทใ่ี ห้บรกิ ารน้นั ได้รบั ค่าใช้จา่ ยจากหน่วยบริการประจำ� ท่ีส่งต่อหรือจากกองทุน แลว้ แต่กรณี ทั้งน้ี ในอตั ราค่าใช้จ่ายตามขอ้ ๙ เหตุสมควรอื่นนอกจากวรรคหน่ึง และอัตราค่าใช้จ่าย ให้เป็นไปตามที่ส�ำนักงานประกาศก�ำหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ข้อ ๑๑ การส่งข้อมูลและวิธีการบันทึกข้อมูลเพ่ือเรียกเก็บค่าใช้จ่าย ให้สถานบริการบันทึกรายละเอียดการขอรบั ค่าใชจ้ ่ายตามแบบท่กี �ำหนดและบนั ทึกขอ้ มูลเปน็ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ผา่ น Web online พรอ้ มท้ังแนบเอกสารดังกล่าวเพื่อเรียกเก็บค่าใช้จ่ายผ่าน Web onlin ด้วย หรือกรณีที่ไม่สามารถบันทึกและส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่าน Web onlin ได้ ให้บันทึกข้อมูลเพื่อเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเป็นเอกสาร ท้ังนี้การส่งข้อมูลและการบนั ทกึ ข้อมลู เพื่อเรยี กเกบ็ คา่ ใช้จา่ ย ให้เป็นไปตามที่ส�ำนักงานกำ� หนด 105
ข้อ ๑๒ กรณีท่ีมีข้อขัดข้องในการปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี ให้ผู้มีสิทธิหรือญาติหรือสถานบริการมีหนังสือแจ้งต่อเลขาธกิ ารส�ำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เพ่ือใหม้ คี �ำวนิ จิ ฉัย ทั้งนี้ ภายในเก้าสิบวนั นับแตว่ ันท่ีทราบขอ้ ขัดขอ้ งดงั กลา่ ว แตไ่ ม่เกินหนง่ึ ปีนบั จากวนั จ�ำหนา่ ยผู้ป่วยออกจากสถานบริการ คำ� วนิ ิจฉยั ของเลขาธกิ ารสำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ใหถ้ ือเป็นทสี่ ดุ กรณีสถานบริการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี ส�ำนักงานอาจแจ้งต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อให้ด�ำเนินการตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานพยาบาลหรอื กฎหมายอนื่ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งโดยเร็ว ข้อ ๑๓ ให้ประธานกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เป็นผ้รู กั ษาการตามข้อบังคับนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ106
ข้อบงั คับสำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการจ่ายคา่ ใช้จา่ ยเพ่อื บริการสาธารณสุข ให้แกห่ นว่ ยบริการ ท่ใี หบ้ รกิ ารแก่บุคคลท่ยี ังไมไ่ ด้ลงทะเบยี นเลือกหน่วยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรุงแก้ไขข้อบงั คบั ส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติว่าด้วยการจา่ ยค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้แก่หน่วยบริการท่ีให้บริการแก่บุคคลที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการพ.ศ. ๒๕๔๖ ฉะนนั้ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา ๑๘ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๔๗เม่ือวันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๔๗ ใหอ้ อกขอ้ บงั คบั ไวด้ งั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ข้อบังคับน้ีเรียกว่า “ข้อบังคับส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยการใช้จ่ายเพื่อการบริการสาธารณสุข ให้แก่หน่วยบริการที่ให้บริการแก่บุคคลที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการพ.ศ. ๒๕๔๗” ข้อ ๒ ข้อบังคบั นใี้ ห้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ ันท่ี ๑ เมษายน ๒๕๔๗ เป็นต้นไป ขอ้ ๓ ใหย้ กเลกิ ขอ้ บงั คบั สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสขุ ให้แก่หนว่ ยบริการทใี่ ห้บริการแก่บุคคลท่ียงั ไม่ได้ลงทะเบียนเลอื กหนว่ ยบริการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ข้อ ๔ ในขอ้ บังคบั นี้ “ส�ำนักงาน” หมายความว่า ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และให้หมายความรวมถึงส�ำนักงานสาขาด้วย “หนว่ ยบรกิ าร” หมายความ สถานบรกิ ารทไี่ ดข้ นึ้ ทะเบยี นไวต้ ามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๕ ในกรณที บ่ี คุ คลซง่ึ ยงั ไมไ่ ดล้ งทะเบยี นเพอื่ เลอื กหนว่ ยบรกิ ารประจำ� เขา้ รบั บรกิ ารสาธารณสขุครง้ั แรกที่หนว่ ยบรกิ ารใด หน่วยบริการนน้ั ต้องใหบ้ ริการสาธารณสขุ แก่บคุ คลดังกลา่ ว และด�ำเนินการดังน้ี (๑) ตรวจสอบสิทธิของบุคคลดังกล่าว แล้วประสานให้บุคคลนั้นลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจ�ำตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติก�ำหนดตามมาตรา ๖ แหง่ พระราชบัญญตั ิหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๒) แจ้งใหส้ �ำนกั งานทราบภายใน ๓๐ วนั นบั แต่วันท่ีใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ทั้งน้ี ให้หน่วยบรกิ ารแจง้ ผลการดำ� เนนิ การตาม (๑) ไปให้สำ� นักงานพร้อมกนั ดว้ ย 107
ข้อ ๖ หนว่ ยบรกิ ารทใ่ี หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ แกบ่ คุ คลซงึ่ ยงั ไมไ่ ดล้ งทะเบยี นเลอื กหนว่ ยบรกิ ารประจำ�ตามขอ้ ๕ มสี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั การใหบ้ รกิ ารในครงั้ นน้ั จากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไข เช่นเดียวกับกรณีท่ีหน่วยบริการน้ันมีสิทธิได้รับกรณีให้บริการแก่ผู้มสี ิทธติ ่างส�ำนกั งานสาขาหรอื ต่างกองทนุ สาขา ในกรณีอุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน ประกาศ ณ วันท่ี ๑๙ มนี าคม ๒๕๔๗ สุดารตั น์ เกยุราพันธุ ์ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ108
พระราชกฤษฎีกา กำ� หนดให้บิดามารดา ค่สู มรส และบตุ รทช่ี อบดว้ ยกฎหมายของครูใหญ่หรอื ครูโรงเรียนเอกชน ใชส้ ิทธิรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบญั ญตั หิ ลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๙ ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๓ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นปที ่ี ๖๑ ในรชั กาลปจั จบุ นั พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดให้บิดามารดา คู่สมรสและบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของครูใหญ่หรอื ครโู รงเรียนเอกชน ใชส้ ทิ ธิรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญตั ิหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๒๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๙วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นกฎหมายท่ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจ�ำกดั สิทธแิ ละเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ และมาตรา ๔๘ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท�ำได้โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎกี าข้นึ ไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกฤษฎกี าน้เี รียกวา่ “พระราชกฤษฎกี ากำ� หนดใหบ้ ดิ ามารดา คสู่ มรส และบตุ รทช่ี อบดว้ ยกฎหมายของครใู หญห่ รอื ครโู รงเรยี นเอกชน ใชส้ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนัสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๙” มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกาน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป * มาตรา ๓ ให้บิดา มารดา คสู่ มรสและบุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมายของครใู หญห่ รอื ครโู รงเรยี นเอกชนใช้สทิ ธริ ับบรกิ ารสาธารณสุขตามพระราชบญั ญัติหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕* ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๒๓ / ตอนที่ ๒๘ ก / หนา้ ๔ / ๒๐ มนี าคม ๒๕๔๘ 109
ความในวรรคหนงี่ มิใหใ้ ช้บงั คบั แก่ (๑) บุตรบุญธรรมหรือบุตรซึ่งยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อ่ืนแล้วของครูใหญ่หรือครูโรงเรียนเอกชน (๒) บดิ ามารดา คสู่ มรส และบตุ รทช่ี อบดว้ ยกฎหมายของครใู หญห่ รอื ครโู รงเรยี นเอกชน ซง่ึ มฐี านะดังตอ่ ไปน้ี เช่น (ก) ข้าราชการหรอื ลกู จ้างของสว่ นราชการ (ข) พนกั งานหรือลูกจา้ งขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ (ค) พนักงานหรือลกู จ้างของรฐั วิสาหกิจ (ง) เป็นผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานอื่นของรัฐหรือบุคคลอ่ืนใดท่ีมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลโดยใช้จา่ ยจากเงนิ งบประมาณ (จ) เป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม หรือระเบียบรวมท้ังสวัสดิการทีโ่ รงเรยี นเอกชนไดใ้ หส้ วัสดกิ ารคา่ รกั ษาพยาบาลแก่บุคคลดังกล่าว มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุขรกั ษาการตามพระราชกฤษฎกี านี้ผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ พนั ต�ำรวจโท ทกั ษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีหมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบบั นค้ี ือ โดยท่มี าตรา ๙ วรรคสาม แหง่ พระราชบญั ญตั ิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติให้การก�ำหนดให้บุคคลประเภทใดหรือหน่วยงานใด ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติน้ีได้เมื่อใด ให้เป็นไปตามที่ก�ำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ดังนั้น เพ่ือให้บิดา มารดา คู่สมรสและบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรมหรือบุตรซ่ึงได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผอู้ นื่ แลว้ ของครใู หญห่ รอื ครโู รงเรยี นเอกชน ใชส้ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงจ�ำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกาน้ี110
พระราชกฤษฎกี า กำ� หนดให้พนักงานหรอื ลูกจ้างขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และบุคคลในครอบครัวของพนักงานหรอื ลกู จ้างขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ใชส้ ิทธิรับบรกิ ารสาธารณสขุ ตามพระราชบญั ญัตหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๕๖ ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นปีท่ี ๖๘ ในรัชกาลปัจจบุ นั พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศวา่ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดให้พนักงานหรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบุคคลในครอบครวั ของพนกั งานหรอื ลกู จา้ งขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ใชส้ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๙วรรคสาม แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อนั เปน็ กฎหมายทมี่ บี ทบญั ญตั บิ างประการเกย่ี วกบั การจำ� กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ซงึ่ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๓ และมาตรา ๔๑ ของรฐั ธรรมนญูแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท�ำได้โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาข้นึ ไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี มาตรา ๑ พระราชกฤษฎกี านเ้ี รยี กวา่ “พระราชกฤษฎกี ากำ� หนดใหพ้ นกั งานหรอื ลกู จา้ งขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และบคุ คลในครอบครวั ของพนกั งานหรอื ลกู จา้ งขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ใชส้ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามพระราชบัญญัตหิ ลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๕๖” มาตรา ๒ พระราชกฤษฎกี าน้ใี ห้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แต่วนั ที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นตน้ ไป มาตรา ๓ ในพระราชกฤษฎีกาน้ี “องคก์ รปกรองสว่ นทอ้ งถนิ่ ” หมายความวา่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เทศบาลและองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบล แต่ไม่รวมถงึ เมืองพทั ยาและกรงุ เทพมหานคร* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓๐ / ตอนที่ ๑๐๗ ก / หน้า ๗ / ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ 111
“บคุ คลในครอบครวั ” หมายความวา่ บดิ ามารดา คสู่ มรสและบตุ รทช่ี อบดว้ ยกฎหมายของพนกั งานหรือลกู จา้ งขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ มาตรา ๔ ให้พนักงานหรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังต่อไปน้ี ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๑) ขา้ ราชการองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั พนกั งานเทศบาล พนกั งานสว่ นตำ� บลและลกู จา้ งประจำ�ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน (๒) นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด นายกเทศมนตรี และนายกองค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบล (๓) ผู้รบั บ�ำนาญตามกฎหมายว่าด้วยบ�ำเหนจ็ บ�ำนาญข้าราชการสว่ นท้องถ่นิ (๔) พนักงานหรอื ลูกจา้ งขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ตามทก่ี ระทรวงมหาดไทยก�ำหนดเพิ่มเติม มาตรา ๕ ให้บุคคลในครอบครัวของพนักงานหรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้สิทธิรับบริการสาธารณสขุ ตามพระราชบัญญตั หิ ลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ความในวรรคหนึ่งมใิ หใ้ ชบ้ ังคบั แก่ (๑) บุตรบุญธรรมหรือบุตรซึ่งยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อ่ืนแล้วของพนักงานหรือลูกจ้างขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น (๒) บุคคลในครอบครัวของพนักงานหรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซ่ีงมีสิทธิรบั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามกฎหมายอน่ื เวน้ แตส่ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ นนั้ ตำ่� กวา่ สทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ทไ่ี ดร้ บัตามพระราชบญั ญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ก็ให้มีสทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ เฉพาะสว่ นทีข่ าดอยู่ มาตรา ๖ ใหร้ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรกั ษาการตามพระราชกฤษฎกี าน้ีผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ ยงิ่ ลักษณ์ ชนิ วตั ร นายกรฐั มนตรีหมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพ้ ระราชกฤษฎกี าฉบบั นค้ี อื โดยทมี่ าตรา ๙ วรรคสาม แหง่ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติให้การก�ำหนดให้บุคคลประเภทใดหรือหน่วยงานใด ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติน้ีได้เม่ือใด ให้เป็นไปตามท่ีก�ำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ดังนั้น เพ่ือให้พนกั งานหรอื ลกู จา้ งขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รวมทงั้ บคุ คลในครอบครวั ซง่ึ ไดแ้ กบ่ ดิ ามารดา คสู่ มรส และบตุ รที่ชอบด้วยกฎหมายของพนักงานหรือลูกจ้างองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขตามพระราชบญั ญัติหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ จงึ จ�ำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎกี านี้112
๒หมวดคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารคัดเลอื กกรรมการ ตามพระราชบัญญตั หิ ลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารคดั เลอื กกรรมการในคณะกรรมการหลกั ประกนัสขุ ภาพแห่งชาติ และกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขให้มปี ระสทิ ธิภาพและมคี วามคลอ่ งตวั มากยิง่ ขนึ้ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๔ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญัติหลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ในการประชุมคร้งั ที่ ๒/๒๕๕๐ เม่ือวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ จึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ใหย้ กเลกิ (๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกกรรมการซ่ึงเป็นผู้แทนองค์กรปกครองท้องถ่ิน หรือผู้แทนองค์กรเอกชน และการสรรหาและพิจารณาคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ลงวันที่ ๑๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๖ (๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนโรงพยาบาลเอกชน ผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ผแู้ ทนผปู้ ระกอบวชิ าชพี ผแู้ ทนราชวทิ ยาลยั ผแู้ ทนผปู้ ระกอบโรคศิลปะ หรือผู้แทนองค์กรเอกชน และการสรรหาและพิจารณาคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข ลงวนั ท่ี ๑๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๖ ขอ้ ๒ ประกาศน้ใี หม้ ผี ลใช้บงั คบั ตงั้ แต่บดั นี้ เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ในประกาศนี้ ถ้าข้อความมไิ ด้แสดงใหเ้ หน็ เปน็ อย่างอ่นื “สำ� นกั งาน” หมายความวา่ สำ� นกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ “สำ� นกั งานสาขาเขตพื้นท”่ี หมายความวา่ สำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ สาขาเขตพ้ืนท่ี “สำ� นกั งานสาขาจงั หวดั ” หมายความวา่ ส�ำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สาขาจงั หวัด “เลขาธกิ าร” หมายความว่า เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการในคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ และกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ “องคก์ รเอกชน” หมายความถึง ชมรม กล่มุ สมาคม มูลนธิ ิ หรอื หนว่ ยงานทเ่ี รยี กชื่ออยา่ งอืน่ ซ่งึ มีวตั ถปุ ระสงคท์ ม่ี ใิ ช่เปน็ การแสวงหาผลกำ� ไร ขอ้ ๔ ให้เลขาธิการมีอ�ำนาจวินิจฉยั ชีข้ าดปัญหาเกย่ี วกับการปฏิบัตติ ามประกาศน้ี 115
หมวด ๑ กรรมการท่มี าจากการคดั เลอื ก ขอ้ ๕ ให้มกี ารคัดเลอื กกรรมการในคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ท่มี าจาก (๑) ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่ผู้แทนเทศบาลหนึ่งคน ผู้แทนองค์การบริหารส่วนต�ำบลหน่ึงคน ผู้แทนองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนึ่งคน และผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบอ่ืนหนง่ึ คน โดยให้ผู้บริหารองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ แต่ละประเภทคดั เลอื กเอง (๒) ผู้แทนองค์กรเอกชน ที่ด�ำเนินกิจกรรมเก่ียวกับงานด้านเด็กหรือเยาวชน งานด้านสตรีงานดา้ นผสู้ งู อายุ งานดา้ นคนพกิ ารหรอื ผปู้ ว่ ยจติ เวช งานดา้ นผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวี หรอื ผปู้ ว่ ยเรอ้ื รงั อนื่ งานดา้ นผใู้ ชแ้ รงงานงานด้านชุมชนแออัด งานด้านเกษตรกร และงานด้านชนกลุ่มน้อย โดยการคัดเลือกกันเองในแต่ละด้านให้เหลือดา้ นละหนงึ่ คน และใหผ้ แู้ ทนดังกล่าวคดั เลือกกันเองให้เหลอื จ�ำนวนห้าคน (๓) ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวนเจ็ดคน ท่ีมีความเชี่ยวชาญทางด้านประกันสุขภาพ การแพทย์และสาธารณสขุ การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลอื ก การเงนิ การคลัง กฎหมายและสงั คมศาสตร์ด้านละหน่งึ คน ข้อ ๖ ใหม้ กี ารคดั เลอื กกรรมการในคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุทีม่ าจาก (๑) ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่ ผู้แทนเทศบาลหนึ่งคน ผู้แทนองค์การบริหารส่วนต�ำบลหน่ึงคน ผู้แทนองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนึ่งคน และผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบอื่นหนง่ึ คน โดยให้ผบู้ ริหารองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ แตล่ ะประเภทคัดเลอื กเอง (๒) ผู้แทนองค์กรเอกชน ท่ีด�ำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับงานด้านเด็กหรือเยาวชน งานด้านสตรีงานดา้ นผสู้ งู อายุ งานดา้ นคนพกิ ารหรอื ผปู้ ว่ ยจติ เวช งานดา้ นผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวี หรอื ผปู้ ว่ ยเรอื้ รงั อนื่ งานดา้ นผใู้ ชแ้ รงงานงานด้านชุมชนแออัด งานด้านเกษตรกร และงานด้านชนกลุ่มน้อย โดยการคัดเลือกกันเองในแต่ละด้านให้เหลือดา้ นละหนึง่ คน และให้ผูแ้ ทนดงั กล่าวคัดเลอื กกันเองให้เหลอื จำ� นวนห้าคน (๓) ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวนหกคนโดยในจ�ำนวนนี้ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญสาขาเวชศาสตร์ครอบครัวสาขาจติ เวช และสาขาการแพทย์แผนไทย สาขาละหนึ่งคน (๔) ผู้แทนโรงพยาบาลเอกชน ท่เี ปน็ สมาชกิ ของสมาคมโรงพยาบาลเอกชนหนง่ึ คน (๕) ผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ทันตกรรม และเภสัชกรรมวิชาชีพละหนงึ่ คน (๖) ผู้แทนราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทางสาขาสูตินรีเวช สาขาศัลยกรรม สาขาอายุรกรรมและสาขากมุ ารเวชกรรม สาขาละหนง่ึ คน (๗) ผแู้ ทนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะสาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ สาขารงั สเี ทคนคิ สาขากจิ กรรมบ�ำบัด สาขาเทคโนโลยหี วั ใจและทรวงอก และสาขาการแก้ไขความผิดปกตขิ องการส่อื ความหมาย สาขาละหนึง่ คนท้ังน้ี ให้รวมถึงผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพกายภาพบ�ำบัด และผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ วิชาชีพละหน่งึ คนดว้ ย โดยให้ผแู้ ทนดังกล่าวคดั เลอื กกนั เองใหเ้ หลอื จ�ำนวนสามคน116
หมวด ๒ การคัดเลือกผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ส่วนท่ี ๑ การคัดเลอื กผแู้ ทนเทศบาล ขอ้ ๗ การคดั เลือกผู้แทนเทศบาล ให้ด�ำเนนิ การโดย (๑) ใหส้ ำ� นกั งานสาขาจงั หวดั จดั ประชมุ หรอื ประสานกบั เทศบาลในโอกาสทเ่ี ทศบาลมกี ารประชมุนายกเทศมนตรเี ปน็ ประจำ� อยแู่ ลว้ เพอ่ื ใหน้ ายกเทศมนตรไี ดม้ โี อกาสคดั เลอื กกนั เองเปน็ ผแู้ ทนเทศบาลระดบั จงั หวดัตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังน้ี (ก) ใหม้ หี นงั สือเชญิ นายกเทศมนตรีมาประชุม เพ่อื ให้คัดเลือกกนั เอง ให้ไดผ้ ู้แทนเทศบาลระดบั จงั หวัดจำ� นวนหน่ึงคน (ข) ให้ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานสาขาจังหวัดหรือผู้แทน ท�ำหน้าท่ีประธานในการประชุมในการนอี้ าจแตง่ ตั้งเจา้ หนา้ ทใ่ี นส�ำนักงานสาขาจงั หวัดท�ำหนา้ ท่ีเลขานกุ าร และผู้ชว่ ยเลขานุการดว้ ยก็ได้ (ค) เมื่อถึงก�ำหนดเวลาประชุม ไม่ว่าจะมีนายกเทศมนตรีตาม (ก) เข้าประชุมเป็นจ�ำนวนเท่าใด กใ็ หถ้ ือเป็นองคป์ ระชมุ (ง) ในการประชุม ให้มีการเสนอช่ือนายกเทศมนตรีซึ่งสมควรจะได้รับเลือกเป็นผู้แทนเทศบาลระดับจังหวดั ต่อท่ีประชุม โดยตอ้ งมีผรู้ บั รองตามจำ� นวนที่ที่ประชมุ ตกลงกนั ผูซ้ ่งึ ไดร้ ับการเสนอช่อื ต้องอยู่ในท่ีประชมุ (จ) การออกเสยี งให้กระท�ำโดยการลงคะแนนลับ หรอื ตามวธิ ีการที่ทปี่ ระชมุ ตกลงกนั (ฉ) กรณที ผ่ี ไู้ ดร้ บั การเสนอชอ่ื ตง้ั แตส่ องคนขนึ้ ไป ใหผ้ ซู้ งึ่ ไดค้ ะแนนสงู สดุ เปน็ ผซู้ ง่ึ ไดร้ บั การคัดเลือกเป็นผแู้ ทนเทศบาลระดับจังหวดั ถ้าไดค้ ะแนนเทา่ กัน ให้ดำ� เนินการจับฉลาก และใหเ้ ปน็ ทีส่ ุด เว้นแต่กรณที ี่ผไู้ ดร้ บั การเสนอชอื่ หน่งึ คน ให้ผู้ซงึ่ ไดร้ บั การเสนอชือ่ น้ัน เปน็ ผไู้ ดร้ บั เลอื กเป็นผู้แทนเทศบาลระดบั จังหวัด (๒) ให้ส�ำนักงานสาขาจังหวัดแจ้งรายชื่อผู้แทนเทศบาลระดับจังหวัดให้ส�ำนักงานทราบภายใน๓ วันท�ำการ นบั แตว่ ันทม่ี กี ารประชุม (๓) ใหส้ ำ� นกั งานจดั ใหม้ กี ารประชมุ ผแู้ ทนเทศบาลระดบั จงั หวดั ตามรายชอ่ื ทส่ี ำ� นกั งานสาขาจงั หวดัแจ้งตาม (๒) เพ่ือคัดเลือกกันเองให้เป็นกรรมการในคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหน่ึงคนและเป็นกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขอีกหน่ึงคนหรือเป็นกรรมการในคณะกรรมการคณะใดคณะหน่ึง แล้วแต่กรณี โดยให้เลขาธิการหรือผู้แทนท�ำหน้าที่ประธานในการประชุมและให้น�ำความใน (๑) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม (๔) การประชมุ คัดเลอื กกันเองตาม (๑) และ (๓) ควรพิจารณาจากเร่ืองดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) วสิ ยั ทศั น์ (ข) ประสบการณ์การท�ำงาน (ค) ความสนใจเกี่ยวกับงานหลกั ประกันสุขภาพ 117
ส่วนที่ ๒ การคัดเลอื กผูแ้ ทนองค์การบริหารสว่ นตำ� บล ขอ้ ๘ การคดั เลอื กผแู้ ทนองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล เพอื่ เปน็ กรรมการ ใหน้ ำ� หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารตามที่ก�ำหนดไวส้ ำ� หรบั การคดั เลอื กผ้แู ทนเทศบาลตามข้อ ๗ มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม สว่ นที่ ๓ การคดั เลอื กผ้แู ทนองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั ขอ้ ๙ การคดั เลอื กผแู้ ทนองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ใหส้ ำ� นกั งานจดั ใหม้ กี ารประชมุ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด เพื่อคัดเลือกกันเองให้เป็นกรรมการ ในคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหนึ่งคนและเป็นกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขอีกหน่ึงคน และให้น�ำความในขอ้ ๗ (๑) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) และขอ้ ๗ (๔) มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม สว่ นท่ี ๔ การคดั เลอื กผูแ้ ทนองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ รูปแบบอ่ืน ข้อ ๑๐ การคัดเลือกผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบอ่นื ให้ส�ำนกั งานจดั ใหม้ ีการประชุมผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายหน่ึงคน นายกเมืองพัทยาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายหน่ึงคนและผ้บู ริหารขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ อืน่ เพอ่ื คดั เลอื กกนั เองให้เปน็ กรรมการ ในคณะกรรมการหลักประกนัสุขภาพแห่งชาติหนึ่งคน และเป็นกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขอีกหนึง่ คน และใหน้ ำ� ความในขอ้ ๗ (๑) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) และขอ้ ๗ (๔) มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม หมวด ๓ การคดั เลอื กผแู้ ทนองคก์ รเอกชน ส่วนท่ี ๑ การขน้ึ ทะเบยี น ข้อ ๑๑ องค์กรเอกชนใด ท่ีจะใช้สิทธิคัดเลือกกรรมการ ให้ย่ืนค�ำขอขึ้นทะเบียนตามประกาศท่ีส�ำนักงานก�ำหนด ถ้าองค์กรใดด�ำเนินกิจกรรมหลายด้าน ให้ขึ้นทะเบียนเพื่อใช้สิทธิคัดเลือกกรรมการในด้านใดดา้ นหนงึ่ เท่านน้ั และให้แจ้งชอ่ื กรรมการขององค์กรน้ัน ไมเ่ กนิ สามคนไว้ในคำ� ขอขึ้นทะเบียน การยนื่ คำ� ขอขนึ้ ทะเบยี นใหย้ นื่ กอ่ นครบกำ� หนดสบิ หา้ วนั นบั แตว่ นั ทมี่ เี หตใุ หม้ กี ารคดั เลอื กกรรมการพรอ้ มหลักฐานตามข้อ ๑๒ ตอ่ ส�ำนกั งานสาขาจงั หวัด สำ� นักงานสาขาเขตพนื้ ท่ี หรือสำ� นักงาน118
ขอ้ ๑๒ องค์กรเอกชนทจี่ ะขน้ึ ทะเบยี นกบั สำ� นักงาน ต้องมคี ุณสมบตั ิดงั น้ี (๑) มที ี่ต้งั องคก์ รและรายช่อื กรรมการขององค์กร (๒) เป็นองค์กรท่ีด�ำเนินกิจกรรมในงานด้านท่ีขอขึ้นทะเบียนมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี จนถึงวันขอขึน้ ทะเบยี น (๓) มีรายงานผลการด�ำเนินงาน หรือเอกสารหรือภาพถ่ายท่ีแสดงถึงกิจกรรมในงานด้านท่ีขอขน้ึ ทะเบียน (๔) มีสมุดบัญชเี งนิ ฝากของธนาคาร หรือสมดุ บญั ชีเงนิ ฝากของสหกรณ์ หรอื หลักฐานการเงินอื่นในท�ำนองเดยี วกนั (๕) มีหลักฐานการเป็นนิติบุคคล หรือกรณีที่ไม่ได้เป็นนิติบุคคลจะต้องมีหนังสือรับรองของโรงพยาบาลของรัฐที่เป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือส�ำนักงานสาขาจังหวัดหรือส�ำนักงานสาขาเขตพน้ื ที่ หรอื สำ� นักงาน เพ่ือรับรองการมอี ย่ขู ององค์กรเอกชน ข้อ ๑๓ ให้ส�ำนักงานสาขาจังหวัด และส�ำนักงานสาขาเขตพ้ืนที่ตรวจสอบเอกสารและหลักฐานในการขอขึน้ ทะเบยี นใหค้ รบถว้ น และสง่ ใหส้ ำ� นกั งานโดยเร็ว เพื่อประกาศรับข้นึ ทะเบียนโดยเปิดเผยในทสี่ าธารณะ ในกรณีที่ส�ำนักงานวินิจฉัยไม่รับข้ึนทะเบียนองค์กรเอกชนใด ให้มีหนังสือแจ้งให้องค์กรเอกชนน้นั ทราบ และใหอ้ งคก์ รเอกชนดงั กลา่ วมีสทิ ธยิ ่นื อทุ ธรณต์ อ่ ส�ำนกั งานภายในเจ็ดวนั นบั แตว่ นั ที่ได้รับแจง้ องค์กรเอกชนหรือบุคคลใดไม่เห็นด้วยกับผลการรับข้ึนทะเบียนองค์กรเอกชนตามประกาศของส�ำนักงาน ใหม้ สี ทิ ธิยน่ื คดั ค้านตอ่ สำ� นกั งานภายในเจ็ดวันนบั แต่วนั ประกาศ ให้คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์การขึ้นทะเบียนองค์กรเอกชน พิจารณาวินิจฉัยเรื่องอุทธรณ์หรอื คัดค้านให้แลว้ เสรจ็ ภายในเจ็ดวนั นบั แตว่ นั ไดร้ ับเรอื่ งอุทธรณห์ รือคัดคา้ น คำ� วินจิ ฉยั ของคณะกรรมการวินจิ ฉยัอทุ ธรณ์การขนึ้ ทะเบยี นองคก์ รเอกชน ใหถ้ ือเป็นทีส่ ุด ข้อ ๑๔ ให้ส�ำนักงานแต่งต้ังคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์การขึ้นทะเบียนองค์กรเอกชนจ�ำนวนสิบเอด็ คน ประกอบดว้ ยผู้แทนจากสภาทนายความ ผูแ้ ทนจากองคก์ รสอ่ื มวลชน และนกั วิชาการที่ท�ำงานเก่ียวข้องกบั องค์กรเอกชนตามขอ้ ๕ (๒) หรอื ขอ้ ๖ (๒) ดา้ นละหนง่ึ คนรว่ มเป็นกรรมการ ส่วนท่ี ๒ วิธีการคดั เลือก ขอ้ ๑๕ ใหก้ รรมการขององคก์ รคนใดคนหนงึ่ ทไี่ ดแ้ จง้ ชอ่ื ไวต้ ามขอ้ ๑๑ เปน็ ผแู้ ทนขององคก์ รเอกชนมาใชส้ ทิ ธิคัดเลือกกันเอง เพื่อใหไ้ ดผ้ ้แู ทนองคก์ รเอกชนในแต่ละดา้ นจำ� นวนเก้าดา้ น ข้อ ๑๖ ให้สำ� นักงานดำ� เนนิ การ (๑) จัดประชุมผู้แทนองค์กรเอกชนทั้งเก้าด้านตามข้อ ๑๕ โดยแยกประชุมในแต่ละด้านให้ได้ผแู้ ทนองคก์ รเอกชนดา้ นละสองคน และใหค้ นหนง่ึ ไปใชส้ ทิ ธคิ ดั เลอื กกนั เองเปน็ กรรมการใหค้ ณะกรรมการหลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติ อีกคนหน่ึงไปใช้สิทธิคัดเลือกกันเองเป็นกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข หรือไปใช้สทิ ธิคัดเลอื กกันเองเปน็ คณะกรรมการคณะใดคณะหนึง่ แลว้ แตก่ รณี 119
(๒) จัดประชมุ ผ้แู ทนองคก์ รเอกชนตาม (๑) โดยแยกเป็นสองกลุ่ม กลุม่ หนง่ึ ประชุมเพ่ือคดั เลอื กกันเองให้เหลือห้าคนเป็นกรรมการในคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อีกกลุ่มหน่ึงประชุมเพื่อคัดเลือกกันเองใหเ้ หลือหา้ คนเป็นกรรมการในคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ทัง้ นี้ การดำ� เนินการตาม (๑) และ (๒) ให้นำ� ความในขอ้ ๗ (๑) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) และข้อ ๗ (๔)มาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม หมวด ๔ การคัดเลอื กผู้แทนโรงพยาบาลเอกชน ขอ้ ๑๗ การคัดเลือกผ้แู ทนโรงพยาบาลเอกชน ใหส้ ำ� นกั งานจัดประชุมผู้แทนโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นสมาชิกสมาคมโรงพยาบาลเอกชน เพื่อคัดเลือกเป็นกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ จำ� นวนหนึง่ คน และให้นำ� ความในขอ้ ๗ (๑) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) และข้อ ๗ (๔) มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม หมวด ๕ การคดั เลอื กผแู้ ทนผ้ปู ระกอบวชิ าชีพ ข้อ ๑๘ การคัดเลือกผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ทันตกรรมและเภสัชกรรม วิชาชีพละหนึ่งคน เพ่ือเป็นกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ ให้ดำ� เนนิ การ ดงั น้ี (๑) ให้คัดเลือกผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพแต่ละวิชาชีพ ซึ่งมีสถานท่ีปฏิบัติงานอยู่ในจังหวัดนั้นโดยใหส้ ำ� นกั งานสาขาจงั หวดั จดั ประชมุ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี แตล่ ะวชิ าชพี เพอ่ื คดั เลอื กกนั เองใหเ้ ปน็ ผแู้ ทนระดบั จงั หวดัวิชาชีพละหน่ึงคน ส�ำหรับในกรุงเทพมหานคร ให้ส�ำนักงานสาขาเขตพ้ืนท่ี (กรุงเทพมหานคร) เป็นผู้จัดประชุมและใหน้ ำ� ความในข้อ ๗ (๑) (๒) และ (๔) มาใช้บังคับโดยอนุโลม กรณีท่ีผู้ประกอบวิชาชีพมีสถานท่ีปฏิบัติงานหลายจังหวัด ให้มีสิทธิคัดเลือกเป็นผู้แทนผู้ประกอบวชิ าชพี ไดเ้ พยี งจังหวัดใดจงั หวัดหน่ึงเทา่ น้ัน (๒) ใหส้ �ำนกั งานจดั ประชมุ ผูแ้ ทนผปู้ ระกอบวิชาชพี ตาม (๑) เพ่ือคัดเลือกกันเองในแต่ละวชิ าชพีใหไ้ ดผ้ แู้ ทนผปู้ ระกอบวชิ าชพี วชิ าชพี ละหนงึ่ คนเปน็ กรรมการในคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ โดยให้เลขาธกิ ารหรอื ผแู้ ทน ทำ� หนา้ ทีป่ ระธานในการประชมุ และใหน้ ำ� ความในขอ้ ๗ (๑) (ค) (ง) (จ)และ (ฉ) และขอ้ ๗ (๔) มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม120
หมวด ๖ การคดั เลอื กผู้แทนราชวทิ ยาลัยแพทยเ์ ฉพาะทาง ขอ้ ๑๙ ใหส้ ำ� นกั งานแจง้ ใหร้ าชวทิ ยาลยั แพทยเ์ ฉพาะทางเฉพาะทางสาขาสตู นิ รเี วช สาขาศลั ยกรรมสาขาอายุรกรรม และสาขากุมารเวชกรรม คัดเลือกผู้แทนราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทางสาขาละหน่ึงคนเพ่ือเป็นกรรมการในคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข หมวด ๗ การคดั เลือกผู้แทนผู้ประกอบโรคศลิ ปะ ขอ้ ๒๐ การคดั เลอื กผแู้ ทนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะสาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ สาขารงั สเี ทคนคิสาขากจิ กรรมบำ� บดั สาขาเทคโนโลยหี วั ใจและทรวงอก และสาขาการแกไ้ ขความผดิ ปกตขิ องการสอ่ื ความหมาย และให้รวมถึงผู้แทนผูป้ ระกอบวิชาชพี กายภาพบำ� บดั และผแู้ ทนผปู้ ระกอบวชิ าชีพเทคนิคการแพทย์ ใหด้ ำ� เนนิ การ ดังน้ี (๑) ใหค้ ดั เลอื กผแู้ ทนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะซง่ึ มสี ถานทปี่ ฏบิ ตั งิ านอยใู่ นจงั หวดั นนั้ โดยใหส้ ำ� นกั งานสาขาจังหวดั จดั ประชมุ ผู้ประกอบโรคศลิ ปะ เพอื่ คดั เลือกกนั เองให้ไดผ้ ู้แทนระดับจังหวัดสาขาละหนงึ่ คน ส�ำหรบั ในกรุงเทพมหานครให้ส�ำนักงานสาขาเขตพื้นท่ี (กรุงเทพมหานคร) เป็นผู้จัดประชุมและให้น�ำความในข้อ ๗ (๑) (๒)และ (๔) มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม (๒) ใหส้ ำ� นกั งานจดั ประชมุ ผแู้ ทนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะ ตาม (๑) เพอื่ คดั เลอื กกนั เองในแตล่ ะสาขาใหไ้ ด้ผู้แทนผู้ประกอบโรคศลิ ปะ สาขาละหน่งึ คน (๓) ใหส้ ำ� นกั งานจดั ประชมุ ผแู้ ทนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะตาม (๒) เพอ่ื คดั เลอื กกนั เองใหเ้ หลอื จำ� นวนสามคน เปน็ กรรมการในคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตราฐานบรกิ ารสาธารณสขุ กรณีที่ผู้ประกอบโรคศิลปะมีสถานที่ปฏิบัติงานหลายจังหวัด ให้มีสิทธิคัดเลือกเป็นผู้แทนผู้ประกอบโรคศิลปะได้เพียงจงั หวัดใดจงั หวดั หนึง่ เทา่ นัน้ ท้งั นี้ การประชมุ ตาม (๒) และ (๓) ใหเ้ ลขาธกิ ารทำ� หนา้ ทป่ี ระธานในการประชุม และให้นำ� ความในข้อ ๗ (๑) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) และขอ้ ๗ (๔) มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม หมวด ๘ การสรรหาและพิจารณาคัดเลอื กกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ ขอ้ ๒๑ ให้สำ� นักงานดำ� เนนิ การ (๑) จดั ประชมุ กรรมการตามมาตรา ๑๓ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนัสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ เพอื่ สรรหาและพิจารณาคัดเลอื กกรรมการผ้ทู รงคุณวุฒจิ �ำนวนเจ็ดคน จากบคุ คลผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านประกันสุขภาพ การแพทย์และสาธารณสุขการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกการเงนิ การคลงั กฎหมายและสังคมศาสตร์ ใหเ้ หลือจำ� นวน ด้านละหนงึ่ คน 121
(๒) จัดประชมุ กรรมการมาตรา ๔๘ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) แหง่ พระราชบญั ญตั ิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อสรรหาและพิจารณาคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวนหกคน จากบุคคลผมู้ ีความรคู้ วามเช่ยี วชาญด้านตา่ งๆ โดยในจ�ำนวนนต้ี อ้ งเป็นผเู้ ชยี่ วชาญสาขาเวชศาสตร์ครอบครวัสาขาจิตเวช และสาขาการแพทย์แผนไทย สาขาละหน่งึ คน ข้อ ๒๒ ในการประชมุ เพอ่ื คดั เลือกกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ตามข้อ ๒๑ (๑) ใหด้ ำ� เนินการ ดังนี้ (๑) ให้มีการเสนอชื่อบุคคลผู้มีความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านตามจ�ำนวนที่เหมาะสม และคัดเลือกให้เหลือด้านละหนึ่งคน โดยการลงคะแนนลับ และให้ผู้ท่ีได้รับคะแนนสูงสุดในแต่ละด้านเป็นผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ถ้าได้คะแนนเท่ากันให้ด�ำเนินการจับสลาก เพื่อเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาแต่งตั้งเปน็ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ (๒) การเสนอชอื่ บคุ คลผไู้ ดร้ บั การคดั เลอื กตาม (๑) เพอ่ื เสนอใหค้ ณะรฐั มนตรแี ตง่ ตงั้ ตอ้ งมหี นงั สอืแสดงความยนิ ยอมท่ีจะเปน็ กรรมการผทู้ รงคุณวุฒขิ องบุคคลน้ัน ๆ ดว้ ย (๓) ในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีไม่เห็นชอบด้วยกับรายช่ือผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม (๑) ท้งั หมด หรอื บางสว่ น ให้มีการสรรหาหรอื พิจารณาคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิอกี ครั้งหนึ่ง เพือ่ ใหเ้ สนอใหค้ ณะรฐั มนตรีแต่งตง้ั เปน็ กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิให้ครบจำ� นวนตามที่กฎหมายกำ� หนดโดยเร็ว ข้อ ๒๓ ในการประชุมเพื่อคดั เลือกกรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ ตามข้อ ๒๑ (๒) ให้ดำ� เนนิ การดังนี้ (๑) ใหม้ กี ารเสนอช่ือบคุ คลผ้มู คี วามเชี่ยวชาญสาขาเวชศาสตร์ครอบครวั สาขาจติ เวช และสาขาการแพทย์แผนไทย ตามจำ� นวนที่เหมาะสม และคัดเลอื กใหเ้ หลอื สาขาละหน่งึ คน (๒) ใหม้ กี ารเสนอชอ่ื บคุ คลผมู้ คี วามเชย่ี วชาญตามจำ� นวนทเ่ี หมาะสม และคดั เลอื กใหเ้ หลอื จำ� นวนสามคน (๓) ในการออกเสยี งเพอื่ คดั เลอื กบคุ คลเปน็ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ติ าม (๑) และ (๒) ใหก้ ระทำ� โดยการลงคะแนนลับ และให้ผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุดในแต่ละสาขาเป็นผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิถา้ ได้คะแนนเทา่ กนั ให้ดำ� เนนิ การจบั สลาก เพือ่ เสนอใหค้ ณะรัฐมนตรพี จิ ารณาแต่งต้งั เปน็ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ (๔) การเสนอชอื่ บคุ คลผไู้ ดร้ บั การคดั เลอื กตาม (๑) และ (๒) เพอื่ เสนอใหค้ ณะรฐั มนตรแี ตง่ ตงั้ ตอ้ งมหี นงั สือแสดงความยนิ ยอมทจ่ี ะเปน็ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ขิ องบุคคลนั้นๆ ด้วย (๕) ในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีไม่เห็นชอบด้วยกับรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม (๑) และ (๒) ท้ังหมดหรือบางส่วน ให้มีการสรรหาหรือพิจารณาคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอกี ครงั้ หนงึ่ เพอ่ื เสนอใหค้ ณะรฐั มนตรพี จิ ารณาแตง่ ตง้ั เปน็ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ หค้ รบจำ� นวนตามทก่ี ฎหมายกำ� หนดโดยเร็ว ประกาศ ณ วันท่ี ๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๐ มงคล ณ สงขลา รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ122
ระเบยี บคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าดว้ ยการประชุมและการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการประชุมและปฏิบัติงานของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และก�ำหนดลักษณะหรือประเภทการมีส่วนได้เสียซ่ึงกรรมการมีหน้าท่ีต้องแจ้งให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติทราบ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๗ และมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงได้มีมติในการประชุมคร้ังท่ี ๖/๒๕๕๙เมื่อวันที่ ๖ มิถนุ ายน ๒๕๕๙ ให้ออกระเบียบไว้ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบยี บคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ว่าดว้ ยการประชมุและการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙” ข้อ ๒ ระเบยี บนีใ้ ห้ใช้บังคับตั้งแตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศเปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ยกเลกิ ระเบยี บสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการประชมุ และการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขอ้ ๔ ในระเบียบนี้ “สำ� นกั งาน” หมายความว่า ส�ำนักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการในคณะกรรมการ “ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ “คณะอนกุ รรมการ” หมายความว่า คณะอนกุ รรมการที่คณะกรรมการแต่งตั้งเพ่ือใหป้ ฏบิ ัตหิ น้าที่ตามพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ หรอื ทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย “เลขานุการ” หมายความวา่ เลขานกุ ารของคณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ “ส่วนได้เสีย” หมายความรวมถึง ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ขอ้ ๕ ให้ประธานกรรมการ เป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอ�ำนาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาในการปฏบิ ัตติ ามระเบยี บน้ี 123
หมวด ๑ การประชุม ข้อ ๖ การประชุมคณะกรรมการ ถอื เปน็ การประชุมโดยเปดิ เผย แตถ่ า้ คณะกรรมการมมี ติใหป้ ระชุมลบัก็ให้ประชุมลบั การประชุมลับ ห้ามบุคคลที่มิใช่กรรมการเข้าฟังการประชุม เว้นแต่ผู้ที่ได้รับอนุญาตจากประธานในที่ประชมุ เทา่ นน้ั ข้อ ๗ การประชุมคณะกรรมการตามปกติ จะมีขึ้นเม่ือใด ให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการหรือตามท่ปี ระธานกรรมการเห็นสมควร ขอ้ ๘ การนดั ประชมุ ตอ้ งทำ� เปน็ หนงั สอื หรอื เปน็ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ จง้ ใหท้ ราบลว่ งหนา้ เวน้ แตเ่ มอ่ืไดบ้ อกนัดในทป่ี ระชมุ แล้วและท่ีประชุมมีมติว่าไมต่ ้องท�ำหนงั สอื นัดประชุม แต่ทงั้ น้ี สำ� นกั งานจะตอ้ งส่งหนังสือนดั ประชุม ไปยังผู้ทม่ี ิไดม้ าประชุมในวันท่ีมกี ารบอกนดั ด้วย ขอ้ ๙ กรรมการที่ประสงค์จะเสนอเรื่องเข้าเป็นวาระการประชุม ให้ส่งเรื่องให้เลขานุการล่วงหน้ากรณีเสนอเรื่องในระหว่างการประชุมให้เสนอได้ เม่ือได้รับความเห็นชอบจากประธานกรรมการหรือประธานในทปี่ ระชุม คณะอนกุ รรมการทปี่ ระสงคจ์ ะเสนอเรือ่ งเปน็ วาระการประชมุ ให้ด�ำเนนิ การ ดงั นี้ (๑) ส่งเร่ืองให้คณะอนุกรรมการนโยบายยุทธศาสตร์ หรือคณะอนุกรรมการท่ีคณะกรรมการมอบหมายให้ท�ำหน้าที่ช่วยพิจารณา กล่ันกรอง ให้ความเห็น เพ่ือความรอบคอบก่อนแล้วจึงส่งเรื่องให้เลขานุการบรรจเุ ป็นวาระการประชุม หรือ (๒) แจ้งเหตุผลความจำ� เปน็ และส่งเรอื่ งใหเ้ ลขานุการบรรจุเปน็ วาระการประชมุ ใหเ้ ลขานุการร่วมกับประธานกรรมการ พจิ ารณาเรื่องทีไ่ ดร้ ับจากกรรมการตามวรรคหนึง่ หรือจากคณะอนกุ รรมการตามวรรคสองรวมกบั เรอ่ื งของส�ำนกั งาน จดั เปน็ ระเบยี บวาระการประชมุ ขอ้ ๑๐ ใหส้ ำ� นกั งานสง่ ระเบยี บวาระการประชมุ และโดยปกตใิ หส้ ง่ เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งไปพรอ้ มกบัหนงั สอื นดั ประชมุ เวน้ แตเ่ ปน็ การประชมุ เรง่ ดว่ นหรอื มเี หตผุ ลความจำ� เปน็ ไมส่ ามารถสง่ เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ งไปพรอ้ มกับหนงั สอื นดั ประชมุ ใหส้ ำ� นกั งานจดั ส่งเฉพาะระเบียบวาระการประชุมกไ็ ด้ ข้อ ๑๑ การจดั ระเบยี บวาระการประชุม ให้สำ� นักงานจัดลำ� ดบั ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เร่อื งทปี่ ระธานแจง้ ต่อทีป่ ระชุม (๒) เร่ืองรบั รองรายงานการประชมุ (๓) เรือ่ งสืบเน่อื งจากการประชมุ ครัง้ ท่ีแลว้ (๔) เรอ่ื งพิจารณา (๕) เรอ่ื งเพอื่ ทราบ (๖) เรอ่ื งอืน่ ๆ ขอ้ ๑๒ ใหเ้ ลขานกุ ารตรวจสอบวา่ กรรมการมาครบองคป์ ระชมุ หรอื ไม่ แลว้ เสนอใหป้ ระธานกรรมการทราบ ถ้าหากไม่ครบองค์ประชุมและพ้นก�ำหนดเวลานัดประชุมสามสิบนาทีแล้วประธานกรรมการอาจสั่งให้เลื่อนการประชุมไปกไ็ ด้124
ใหป้ ระธานกรรมการเป็นประธานในทีป่ ระชมุ ถ้าประธานกรรมการไมม่ าประชมุ หรือไม่อาจปฏบิ ัติหน้าทไ่ี ด้ ใหก้ รรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึง่ เปน็ ประธานในท่ีประชุม ขอ้ ๑๓ การประชมุ คณะกรรมการ ตอ้ งด�ำเนนิ การตามระเบียบวาระ เว้นแตป่ ระธานในทป่ี ระชมุเห็นสมควรเป็นอยา่ งอื่น ข้อ ๑๔ ประธานในทป่ี ระชุม มอี ำ� นาจปรกึ ษาท่ีประชุมในปัญหาใดๆ ส่ังพกั การประชมุ เลื่อนการประชุม หรือเลกิ การประชมุ ไดต้ ามทีเ่ ห็นสมควร ข้อ ๑๕ ก่อนท่เี ลขานกุ ารจะเสนอรายงานการประชมุ ใหท้ ีป่ ระชมุ รบั รอง ให้เลขานกุ ารส่งรายงานการประชุมน้ันให้กรรมการพร้อมหนังสือนัดประชุม เว้นแต่เป็นการนัดประชุมเร่งด่วนหรือมีเหตุผลความจ�ำเป็นให้สำ� นกั งานแจกรายงานการประชุมในทีป่ ระชุมก็ได้ กรรมการผู้ใดต้องการเปล่ียนแปลง แก้ไขหรือเพ่ิมเติมถ้อยค�ำหรือข้อความในรายงานการประชุมตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากทป่ี ระชมุ ข้อ ๑๖ ใหม้ กี ารรบั รองรายงานการประชมุ แตล่ ะครั้งในการประชมุ ครง้ั ถัดไป อย่างไรกต็ ามหากมีกรณที ตี่ อ้ งรบั รองมตกิ ารประชมุ เปน็ เรอ่ื งๆ ในการประชมุ ครงั้ นน้ั ใหส้ ามารถกระทำ� ได้ โดยเลขานกุ ารเปน็ ผอู้ า่ น พมิ พ์หรือแสดง ใหท้ ป่ี ระชมุ เห็น เพอื่ ใหท้ ่ปี ระชุมพิจารณารับรองได้ในเรอื่ งนนั้ ๆ หมวด ๒ การลงมติ ข้อ ๑๗ การลงมติ ใหป้ ระธานในทป่ี ระชุมหรือเลขานุการ เป็นผสู้ รปุ ประเด็นทใ่ี หป้ ระชมุ ลงมติ ขอ้ ๑๘ มตทิ ปี่ ระชมุ ใหถ้ อื เสยี งขา้ งมาก กรรมการคนหนง่ึ ใหม้ เี สยี งหนงึ่ ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กันให้ประธานในที่ประชุมออกเสยี งเพมิ่ ขึ้นอกี หนึง่ เสยี ง เป็นเสียงช้ขี าด ขอ้ ๑๙ การออกเสยี งลงคะแนนเพอื่ ลงมติ โดยปกตใิ หก้ ระท�ำโดยเปดิ เผย แตถ่ า้ กรรมการรวมกันไมน่ อ้ ยกว่าหนง่ึ ในสามของกรรมการท่มี าประชมุ ขอใหอ้ อกเสียงลงคะแนนลับ จึงใหล้ งคะแนนลบั ข้อ ๒๐ การออกเสียงลงคะแนนเพือ่ ลงมตใิ นท่ีประชมุ ใหก้ ระทำ� ด้วยวิธีการดงั น้ี คือ (๑) กรณีการออกเสียงลงคะแนนโดยเปิดเผย ให้กระท�ำโดยการยกมือเหนอื ศีรษะ (๒) กรณีการออกเสียงลงคะแนนลับ ให้กระท�ำโดยการเขียนลงในกระดาษ และตามเง่ือนไขทีค่ ณะกรรมการกำ� หนด หมวด ๓ ลักษณะหรือประเภทการมสี ่วนได้เสียของกรรมการ ขอ้ ๒๑ ในการประชมุ คณะกรรมการ ถา้ มีการพิจารณาเร่อื งทก่ี รรมการผ้ใู ดมีส่วนไดเ้ สยี กรรมการผนู้ น้ั มหี นา้ ทต่ี อ้ งแจ้งใหค้ ณะกรรมการทราบ และมสี ิทธิเขา้ ช้แี จงขอ้ เท็จจรงิ หรือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่อื งนน้ัแต่ไมม่ สี ิทธเิ ขา้ ร่วมประชมุ และลงคะแนนเสียง 125
ขอ้ ๒๒ ลกั ษณะหรือประเภทของการมสี ่วนได้เสียของกรรมการตามข้อ ๒๑ ไดแ้ ก่ (๑) เปน็ เรอ่ื งเกี่ยวกบั กรรมการผนู้ นั้ โดยตรง (๒) เปน็ เรอ่ื งเกีย่ วกับคหู่ มัน้ หรือคสู่ มรสของกรรมการ (๓) เป็นเรื่องเก่ียวกับญาติของกรรมการ คือเป็นบุพการี ผู้สืบสันดาน พี่น้องหรือลูกพ่ีลูกน้องนบั ได้เพียงภายในสามชัน้ หรือเป็นญาตเิ กี่ยวพันทางแตง่ งานนับได้เพียงสองชั้น (๔) เป็นเร่ืองเก่ียวกับบุคคลท่ีกรรมการผู้นั้นเป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมผู้พิทักษ์หรือผ้แู ทนหรอื ตัวแทนบุคคลนั้น (๕) เป็นเรือ่ งเกยี่ วกับบคุ คลท่ีกรรมการผู้นัน้ เปน็ เจา้ หน้ี ลกู หนห้ี รือนายจ้าง (๖) ลักษณะหรือประเภทอื่นๆ ซ่ึงมีสภาพร้ายแรง อันอาจท�ำให้การพิจารณาไม่เป็นกลางหรือลักษณะหรอื ประเภทอ่นื ๆ ที่คณะกรรมการก�ำหนดเพม่ิ เตมิ ข้อ ๒๓ เมื่อมีการคัดค้านว่ากรรมการคนหน่ึงคนใด มีลักษณะหรือประเภทการมีส่วนได้เสียตามขอ้ ๒๒ และขอ้ เทจ็ จรงิ ยงั ไมม่ กี ารยตุ วิ า่ มสี ว่ นไดเ้ สยี จรงิ หรอื ไม่ ใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณาเหตคุ ดั คา้ นนนั้ ในการประชมุ ดงั กลา่ วกรรมการผูถ้ กู คดั ค้านเมอ่ื ไดช้ ้แี จงขอ้ เทจ็ จรงิ และตอบขอ้ ซกั ถามแล้ว ตอ้ งออกจากทปี่ ระชมุ ถ้ามีกรณีท่ีกรรมการผู้ถูกคัดค้านต้องออกจากที่ประชุม ให้ถือว่าคณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทุกคนที่ไม่ถกู คดั ค้าน ถา้ ทป่ี ระชมุ มมี ตใิ หก้ รรมการผถู้ กู คดั คา้ นปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ อ่ ไปดว้ ยคะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ สองในสามของกรรมการท่ไี มถ่ ูกคัดค้านซึ่งมาประชมุ ใหก้ รรมการผูน้ น้ั ปฏิบตั หิ นา้ ที่ต่อไปได้ มติดังกลา่ วใหก้ ระท�ำโดยวธิ อี อกเสยี งลงคะแนนลับ และใหถ้ ือเปน็ ที่สุด ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ปิยะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ126
ขอ้ บังคบั สำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติวา่ ดว้ ยมาตรฐานการใหบ้ ริการสาธารณสุขของหนว่ ยบริการและเครอื ข่ายหนว่ ยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพ่ือให้บุคคลผู้มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๘ (๑) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ จงึ มมี ตใิ นการประชมุ ครงั้ ท่ี ๑/๒๕๔๘ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ มกราคม๒๕๔๘ ใหอ้ อกขอ้ บังคับไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ขอ้ บังคบั น้ีเรียกวา่ “ขอ้ บังคับส�ำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาต”ิ วา่ ดว้ ยมาตรฐานการให้บริการสาธารณสขุ ของหน่วยบริการและเครือขา่ ยหน่วยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘” ข้อ ๒ ขอ้ บงั คบั นีใ้ ห้ใชบ้ งั คบั ตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป * ขอ้ ๓ ในขอ้ บงั คบั นี้ “มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ” หมายความวา่ มาตรฐานเกยี่ วกบั การใหบ้ รกิ ารดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ ซ่ึงใหโ้ ดยตรงแกบ่ คุ คล เพอื่ การเสรมิ สร้างสุขภาพ การป้องกนั โรค การตรวจวนิ จิ ฉัยโรค การรกั ษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ท่ีจ�ำเป็นต่อสุขภาพและการด�ำรงชีวิต ท้ังนี้ให้รวมถึงการให้บริการ การแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื กตามกฎหมายว่าดว้ ยการประกอบโรคศิลปะ “กฎหมายว่าด้วยการประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข” หมายความว่า กฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศลิ ปะ กฎหมายวา่ ดว้ ยการประกอบวชิ าชพี เวชกรรม การพยาบาล การผดงุ ครรภ์ ทนั ตกรรม เภสชั กรรมกายภาพบำ� บดั เทคนคิ การแพทย์ หรอื กฎหมายวา่ ดว้ ยการประกอบวชิ าชพี ดา้ นสาธารณสขุ อนื่ ตามทค่ี ณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาตกิ �ำหนด ข้อ ๔ มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิโดยอนโุ ลม ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกอบวชิ าชพี ดา้ นสาธารณสขุ หรอื กฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาลแลว้ แตก่ รณีเว้นแต่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจะก�ำหนดมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการและเครือขา่ ยหน่วยบรกิ าร เปน็ อย่างอน่ื ในกรณีที่กฎหมายตามวรรคหน่ีงไม่ได้ก�ำหนดมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขในเร่ืองใดไว้คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ จะกำ� หนดมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหน่วยบริการเพมิ่ เตมิ ก็ได้ ข้อ ๕ ใหเ้ ลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ รักษาการตามขอ้ บงั คับนี้ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๑ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ สุดารัตน์ เกยรุ าพันธ ์ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ* ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒ / ตอนพิเศษ ๓๑ ง / หน้า ๑๒ / ๑๐ เมษายน ๒๕๔๘ 127
ขอ้ บังคบั คณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑก์ ารรบั ฟงั ความคิดเหน็ จากผู้ใหบ้ ริการและผู้รับบริการ พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยที่สมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการเพ่ือประโยชน์ในการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติใหม้ ีประสิทธภิ าพมากย่ิงขึน้ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๘(๑๐) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ และมตกิ ารประชมุ คณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ คร้งั ที่ ๑/๒๕๕๖ เม่ือวันท่ี ๗ มกราคม๒๕๕๖ ให้ออกข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ขอ้ บังคบั นเี้ รียกวา่ “ขอ้ บงั คับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผ้ใู ห้บรกิ ารและผรู้ บั บรกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๖” ข้อ ๒ ขอ้ บังคับน้ี ให้ใช้บงั คบั ตง้ั แต่บัดนี้เปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ในขอ้ บงั คับนี้ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ “สำ� นักงาน” หมายความว่า สำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ผู้รบั บรกิ าร” หมายความวา่ ผรู้ บั บรกิ ารสาธารณสุขในระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ “ผู้ใหบ้ ริการ” หมายความว่า ผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสุขในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ผู้มสี ่วนได้เสีย” หมายความว่า บุคคล กลุม่ บคุ คล หรอื หนว่ ยงานทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบหรืออาจไดร้ บัผลกระทบจากการให้บรกิ ารในระบบหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ขอ้ ๔ ใหค้ ณะกรรมการและสำ� นกั งาน จดั ใหม้ กี ารรบั ฟงั ความคดิ เหน็ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการปรบั ปรงุคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ และคา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสขุ ใหก้ บั หนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยบรกิ ารในประเดน็ หรอื ปัญหาตามพระราชบัญญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสขุ ท่จี ำ� เปน็ ตอ่ สขุ ภาพและการด�ำรงชวี ติ (๒) มาตรฐานการให้บรกิ ารสาธารณสุขของหน่วยบรกิ ารและเครือข่ายหน่วยบรกิ าร (๓) การควบคุมและส่งเสริมคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการและการก�ำกับมาตรฐานหนว่ ยบรกิ าร (๔) การดำ� เนนิ การเก่ยี วกับระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาตใิ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ซ่ึงประกอบดว้ ย (ก) การบริหารจดั การกองทนุ หลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (ข) การบรหิ ารจดั การส�ำนักงาน128
(ค) การรับฟังความคิดเห็นโดยท่ัวไป เก่ียวกับการเสนอแนะอัตราราคากลางของโรคทุกโรคต่อคณะกรรมการ ของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขครอบคลุมถึงค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในส่วนเงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร และค�ำนึงถึงความแตกต่างในภารกิจของหน่วยบริการในกลมุ่ ผรู้ บั บรกิ ารและในขนาดของพน้ื ทบ่ี รกิ ารทห่ี นว่ ยบรกิ ารรบั ผดิ ชอบ เพอื่ ประกอบการวางแผนหลกั เกณฑก์ ำ� หนดคา่ ใชจ้ า่ ยเพื่อบริการสาธารณสขุ ใหแ้ กห่ นว่ ยบรกิ าร (ง) การด�ำเนินงานหรือบริหารจัดการระบบและเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทอ้ งถน่ิ หรอื พนื้ ท่ี ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และการกำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารมสี ว่ นรว่ มขององคก์ รชมุ ชน องคก์ รเอกชนท่ไี ม่มีวัตถุประสงค์เพอื่ ด�ำเนนิ การแสวงหาผลก�ำไร (จ) การพัฒนาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจตรา และการควบคุมก�ำกับดแู ลหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร และระบบการเผยแพรข่ อ้ มลู แกป่ ระชาชนเพอ่ื ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจในการเข้ารับบริการสาธารณสุข (ฉ) การจา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ กรณผี รู้ บั บรกิ ารไดร้ บั ความเสยี หายจากการรกั ษาพยาบาล (ช) การจา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลอื เพอื่ การชดเชยกรณผี ใู้ หบ้ รกิ ารไดร้ บั ความเสยี หายจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสุข (ซ) อตั ราค่าบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ีตอ้ งร่วมจา่ ยในแตล่ ะครัง้ ท่ีเขา้ รบั บริการสาธารณสุข (ฌ) การร้องเรียนผู้ซึ่งถูกละเมิดสิทธิจากการใช้บริการและการพิจารณาเร่ืองร้องเรียนดังกล่าว (๕) ประเด็นหรอื ปัญหาอื่นทค่ี ณะกรรมการเห็นสมควร การกำ� หนดประเดน็ หรอื ปญั หาทจี่ ะรบั ฟงั ตามวรรคหนง่ึ ใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณาตามความจำ� เปน็และความเหมาะสมในแต่ละปี โดยอาจเลอื กประเด็นหนง่ึ ประเดน็ ใดหรอื หลายประเด็นร่วมกันก็ได้ ขอ้ ๕ ผรู้ ่วมเสนอความคดิ เห็น อาจประกอบด้วยบคุ คลทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับประเดน็ หรอื ปญั หาทก่ี ำ� หนดตามข้อ ๔ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ผรู้ บั บริการ (๒) ผู้ใหบ้ รกิ าร (๓) ผู้มสี ว่ นไดเ้ สยี (๔) นกั วิชาการ หรอื ผทู้ รงคุณวุฒทิ เ่ี กย่ี วข้อง ขอ้ ๖ การรบั ฟังความคิดเหน็ อาจใชว้ ิธีหนึ่งวิธใี ด หรือหลายวธิ ดี งั ต่อไปนี้ (๑) จดั กระบวนการเครอื ข่ายสขุ ภาพ (๒) การประชาพจิ ารณ์ หรอื วิธีการอนื่ ในท�ำนองเดยี วกัน (๓) การประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ (๔) การสนทนากลุ่มย่อย (๕) การสัมภาษณ์รายบุคคล (๖) การเปิดให้แสดงความคิดเห็นทางไปรษณีย์ ทางโทรศัพท์ โทรสาร หรือทางระบบเครือข่ายสารสนเทศ (๗) การเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนมารบั ฟังข้อมูลและแสดงความคดิ เห็น 129
ข้อ ๗ การเชญิ ชวนผ้รู ่วมเสนอความคิดเหน็ อาจกระทำ� โดยวธิ ีการดงั น้ี (๑) การสง่ หนงั สือเชญิ ชวญไปยงั บคุ คลหรอื หน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง (๒) จัดให้มกี ารประกาศในหนงั สือพมิ พร์ ายวันไม่นอ้ ยกว่า ๑ ฉบบั (๓) เผยแพรใ่ นเว้ปไซตข์ องสำ� นกั งาน (๔) วิธีอน่ื ใดท่ีคณะกรรมการเหน็ สมควร วิธีการเชิญชวนตามวรรคหนึ่งน้ัน ให้ส�ำนักงานพิจารณาตามความจ�ำเป็นและความเหมาะสมเป็นกรณีไป โดยอาจเลอื กวธิ ีหนงึ่ วิธใี ด หรอื ใช้หลายวิธีร่วมกันได้ ขอ้ ๘ ให้สำ� นักงานดำ� เนนิ การจัดให้มกี ารรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ตามข้อบังคบั นี้ ภายในเดือนมกราคมถึง เดือนมิถุนายน ของทุกปี และให้สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นต่อคณะกรรมการภายใน ๔๕ วัน นับจากการรับฟังความคดิ เห็นของทุกปีเสรจ็ สิ้นลง ข้อ ๙ ใหเ้ ลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เปน็ ผรู้ กั ษาการและมอี ำ� นาจในการวนิ จิ ฉยัช้ขี าดปัญหาทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ จากการปฏบิ ัติตามขอ้ บงั คบั นี้ ประกาศ ณ วันท่ี ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ประดษิ ฐ สนิ ธวณรงค ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ130
ข้อบงั คับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์การรบั ฟงั ความคดิ เห็นจากผู้ให้บรกิ ารและผูร้ ับบริการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขหลักเกณฑ์เก่ียวกับการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการ เพ่ือประโยชน์ในการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขในระบบหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขึ้น อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๘ (๑๐) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๘ เมื่อวันท่ี๓ เมษายน ๒๕๕๘ จงึ ออกขอ้ บังคบั ไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ข้อบังคับนเ้ี รยี กว่า “ข้อบงั คบั คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ วา่ ด้วยหลักเกณฑ์การรบั ฟังความคดิ เหน็ จากผใู้ หบ้ ริการและผู้รบั บริการ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘” ขอ้ ๒ ขอ้ บงั คบั น้ี ให้ใชบ้ ังคับตงั้ แตบ่ ดั น้เี ป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘ ของข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยหลกั เกณฑก์ ารรบั ฟงั ความคิดเห็นจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการ พ.ศ. ๒๕๕๖ และใช้ความต่อไปน้ีแทน “ข้อ ๘ ใหส้ �ำนักงานด�ำเนนิ การจัดใหม้ ีการรบั ฟงั ความคดิ เห็นตามขอ้ บังคบั นี้ ภายในเดอื นเมษายนถึง เดือนมิถุนายน และรายงานผลการรับฟังความคิดเห็นต่อคณะกรรมการ ในการประชุมประจ�ำเดือนสิงหาคมของทกุ ป”ี ประกาศ ณ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ศาสตราจารย์รัชตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ 131
ระเบียบคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยประมวลและวิธพี จิ ารณามาตรฐานจริยธรรมสำ� หรบั คณะกรรมการ กรรมการ ผบู้ ริหาร และผ้ปู ฏิบัติงานตามกฎหมายว่าดว้ ยหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์การบริการกิจการบ้านเมืองท่ีดี ตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการบรกิ ารกจิ การบา้ นเมอื งท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อใหก้ ารบรหิ ารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน เกิดผลสมั ฤทธ์ติ ่อภารกจิ ของรฐั มีประสทิ ธภิ าพเกดิ ความคุ้มคา่ ในเชงิ ภารกจิของรัฐ ลดขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงานท่ีเกนิ ความจำ� เป็น และประชาชนไดร้ บั การอ�ำนวยความสะดวกและไดร้ ับการตอบสนองความต้องการ รวมทัง้ มกี ารประเมินผลปฏบิ ัตริ าชการอยา่ งสมำ่� เสมอ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๑๘ (๑๔) และมาตรา ๑๙ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบมาตรา ๕๓ แห่งพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๘ เม่ือวันท่ี๕ ตลุ าคม ๒๕๕๘ จึงออกระเบียบไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ระเบยี บนเี้ รยี กวา่ “ระเบยี บคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยประมวลและวิธีพิจารณามาตรฐานจริยธรรมส�ำหรับคณะกรรมการ กรรมการ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานตามกฎหมายว่าด้วยหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙” ขอ้ ๒ ระเบยี บนีใ้ ห้ใช้บังคับตง้ั แตว่ นั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ต้นไป * ขอ้ ๓ ในระเบยี บนี้ “สำ� นกั งาน”หมายความวา่ สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตหิ รอื สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติเขต แลว้ แตก่ รณี “เลขาธกิ าร” หมายความว่า เลขาธิการสำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ “ผู้บรหิ าร” หมายความวา่ เลขาธกิ าร รองเลขาธกิ าร ผู้ชว่ ยเลขาธกิ าร ผู้อ�ำนวยการ รองผู้อ�ำนวยผู้ชว่ ยผ้อู �ำนวยการ หรอื ตำ� แหนง่ อนื่ ทเ่ี ลขาธิการแตง่ ตง้ั ในกลุม่ บริหารและวชิ าการ “ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน” หมายความวา่ เจ้าหนา้ ท่แี ละลูกจ้างของสำ� นกั งานที่มิใช่ผบู้ รหิ าร “คณะกรรมการสอบสวนมาตรฐานจรยิ ธรรม” หมายความวา่ คณะกรรมการทไี่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั ตามระเบียบนี้ ให้มีอำ� นาจในการพิจารณาเรอ่ื งเก่ยี วกับมาตรฐานจรยิ ธรรม “กรรมการสอบสวนมาตรฐานจริยธรรม” หมายความว่า กรรมการในคณะกรรมการสอบสวนมาตรฐานจริยธรรมท่ไี ดร้ บั การแต่งต้ังตามระเบียบนี้ ใหม้ ีอ�ำนาจในการพจิ ารณาเรอื่ งเก่ียวกบั มาตรฐานจริยธรรม* ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๓๓ / ตอนพเิ ศษ ๘๑ ง / หนา้ ๔ / ๗ เมษายน ๒๕๕๙132
“คณะกรรมการ” หมายความว่า (๑) คณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ (๒) คณะกรรมการควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข (๓) คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะท�ำงาน ท่แี ต่งต้ังโดยคณะกรรมการตาม (๑) หรือ (๒)หรอื ทีแ่ ตง่ ตงั้ ตามกฎทอ่ี อกโดยคณะกรรมการตาม (๑) หรือ (๒) แลว้ แตก่ รณี (๔) คณะกรรมการ คณะทำ� งาน ทแ่ี ตง่ ต้งั โดยคณะอนุกรรมการ ตาม (๓) (๕) คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะท�ำงาน ทแี่ ต่งต้ังโดยส�ำนักงาน “กรรมการ” หมายความว่า บคุ คลท่ีได้รบั การแตง่ ตงั้ หรือคดั เลือกหรอื โดยต�ำแหน่ง ให้เปน็ หนง่ึ ในองคป์ ระกอบของคณะกรรมการ “ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ขอ้ ๔ การอื่นใดที่มิได้ก�ำหนดไว้ในระเบียบน้ี ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ข้อ ๕ ให้ประธานกรรมการเป็นผู้รักษาการตามระเบียบน้ี และมีอ�ำนาจในการตีความและวินิจฉัยชขี้ าดในกรณีทีม่ ปี ัญหาอันเกดิ จากการปฏบิ ัตติ ามระเบยี บน้ี หมวด ๑ มาตรฐานจริยธรรม สว่ นที่ ๑ มาตรฐานจรยิ ธรรมอนั เปน็ ค่านิยมหลัก ขอ้ ๖ มาตรฐานจรยิ ธรรมท่ี คณะกรรมการ กรรมการ ผบู้ ริหารและผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ตอ้ งยึดถอื ปฏิบตั ิเปน็ ค่านยิ มหลัก ๙ ประการ ดังนี้ (๑) ยึดม่นั ในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข (๒) ยึดมน่ั ในคุณธรรมและจรยิ ธรรม (๓) มจี ติ ส�ำนกั ที่ดี ซ่อื สัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ (๔) ยึดถือประโยชนข์ องประเทศชาตเิ หนอื กวา่ ประโยชน์ส่วนตน (๕) ยึดมนั่ ในหลักนิตธิ รรม ยืนหยัดท�ำในส่ิงทถี่ กู ตอ้ ง (๖) ให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มอี ัธยาศัย และไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิ (๗) ใหข้ อ้ มลู ข่าวสารแกป่ ระชาชนอยา่ งครบถ้วน ถูกตอ้ ง และไม่บิดเบือนขอ้ เทจ็ จรงิ (๘) มุ่งผลสมั ฤทธงิ์ าน มีความรบั ผดิ ชอบ รกั ษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวสอบได้ (๙) ยึดมนั่ ในหลกั จรรยาบรรณวิชาชีพ 133
สว่ นที่ ๒ มาตรฐานจรยิ ธรรมของคณะกรรมการและกรรมการ ขอ้ ๗ คณะกรรมการและกรรมการ ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม โปร่งใสตรวจสอบได้ เป็นอิสระในการตัดสนิ ใจและมีความรับผดิ ชอบ ขอ้ ๘ ในการประชมุ ของคณะกรรมการ ถา้ มกี ารพจิ ารณาเรอื่ งทกี่ รรมการผใู้ ด มสี ว่ นไดเ้ สยี กรรมการผู้น้ันมีหน้าที่แจ้งให้คณะกรรมการทราบ และมีสิทธิเข้าช้ีแจงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองน้ันแต่ไม่มีสิทธิเขา้ ร่วมประชมุ และลงคะแนนเสียง ขอ้ ๙ กรรมการต้องเป็นแบบอย่างท่ีดีในด้านการงานและส่วนตัว ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บและข้อบงั คบั ที่เก่ยี วข้อง ขอ้ ๑๐ กรรมการตอ้ งไมป่ ระพฤตติ นอนั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสอื่ มเสยี ตอ่ เกยี รตศิ กั ดข์ิ องตนเองและการปฏบิ ัติหนา้ ทต่ี ามกฎหมายว่าดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ข้อ ๑๑ กรรมการต้องเป็นแบบอย่างในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล และไมแ่ สวงหาผลประโยชน์อันมิชอบท้ังทางตรง และทางอ้อม สว่ นที่ ๓ มาตรฐานจริยธรรมของผบู้ รหิ ารและผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ข้อ ๑๒ ผบู้ รหิ ารและผู้ปฏิบัติงาน ตอ้ งยดึ มนั่ ในคุณธรรมและจริยธรรม ดังน้ี (๑) เสรมิ สรา้ งความสามคั ครี ะหวา่ งผรู้ ว่ มงานในหนว่ ยงานและหมคู่ ณะพรอ้ มทง้ั ใหค้ วามชว่ ยเหลอืเกอ้ื กลู ซึง่ กันและกัน (๒) ท�ำงานใหม้ ีความชัดเจน โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และพร้อมเปิดเผยข้อมูลอนั ไม่ต้องหา้ มตามกฎหมาย (๓) แจง้ ขอ้ มลู หรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ตอ่ องคก์ ร เกยี่ วกบั การประกอบกจิ การของตนและครอบครวั ทอ่ี าจมีผลประโยชนท์ บั ซอ้ น (๔) หลกี เลย่ี งการนำ� หรอื เผยแพรข่ อ้ มลู หรอื เรอ่ื งราว เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั งิ าน เรอ่ื งสว่ นตวั หรอื เรอื่ งอืน่ ใดที่อาจก่อให้เกิดความเสยี หายแก่ผู้ปฏบิ ัตงิ านและภาพลกั ษณโ์ ดยรวมขององคก์ ร (๕) ดแู ลทรพั ยส์ นิ และใชท้ รพั ยส์ นิ ขององคก์ ร ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ ดว้ ยความระมดั ระวงัไมใ่ หเ้ กดิ ความเสียหายและสน้ิ เปลือง (๖) ยดึ มน่ั และปฏบิ ัตติ ามคา่ นิยมขององค์กร (๗) ปฏิบัติงานด้วยความวิริยะ อุตสาหะ ซ่ือสัตย์สุจริต ทุ่มเทสติปัญญา ความรู้ ความสามารถให้บรรลุผลสำ� เร็จตามภาระหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ และละเวน้ การแสวงหาผลประโยชนโ์ ดยมชิ อบใหแ้ ก่ตนเองหรอื ผ้อู ่นื (๘) ปฏิบตั ติ นอยใู่ นศีลธรรม คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมอนั ดงี าม (๙) พัฒนาตนเองให้มีความรู้ในวิทยาการและนวัตกรรม เพ่ิมพูนทักษะในการท�ำงาน มีความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ มีวสิ ยั ทัศน์ พร้อมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ ่ืน134
(๑๐) ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา รวมทั้งส�ำรวจแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองเพ่ือพัฒนาการท�ำงานให้มปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ขนึ้ ขอ้ ๑๓ ผบู้ รหิ ารและผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ต้องยดึ ม่ันในคุณธรรมและจริยธรรมตอ่ ผู้บังคับบญั ชา ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชา และผรู้ ว่ มงาน ดงั น้ี (๑) ผ้บู ังคบั บัญชาต้องดแู ลและเอาใจใสใ่ นสวสั ดกิ าร ขวัญและก�ำลงั ใจของผใู้ ตบ้ ังคับบัญชา (๒) ผบู้ งั คบั บัญชาตอ้ งปกครองดแู ลผใู้ ต้บงั คบั บัญชาด้วยหลักคณุ ธรรม (๓) ผใู้ ต้บังคับบัญชาตอ้ งปฏบิ ัติตามคำ� ส่งั โดยชอบด้วยกฎหมายของผู้บงั คบั บญั ชา ขอ้ ๑๔ ผู้บริหารและผู้ปฏบิ ัติงาน ตอ้ งใหบ้ ริการท่ีดีและมีความรับผิดชอบตอ่ ประชาชนและสงั คมโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล หมวด ๒ วธิ พี ิจารณามาตรฐานจริยธรรมและการลงโทษ ส่วนที่ ๑ การรอ้ งเรียนและการกลนั่ กรองเร่อื งเก่ียวกับมาตรฐานจริยธรรม ข้อ ๑๕ ให้ส�ำนักงานจัดต้ังหรือมอบหมายให้มีหน่วยรับเร่ืองร้องเรียนเก่ียวกับมาตรฐานจริยธรรมของคณะกรรมการ กรรมการ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน โดยให้หน่วยงานดังกล่าวท�ำหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงเบอ้ื งตน้ เร่ืองรอ้ งเรียนเกย่ี วกับมาตรฐานจริยธรรม เพ่ือเสนอคณะกรรมการ หรือเลขาธิการแล้วแต่กรณพี ิจารณา ในกรณีท่ีคณะกรรมการหรือเลขาธิการ พิจารณาแล้วเห็นว่าเร่ืองร้องเรียนดังกล่าวมีมูล ให้คณะกรรมการหรือเลขาธิการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนมาตรฐานจริยธรรม แต่หากคณะกรรมการหรือเลขาธิการพจิ ารณาแลว้ เหน็ ว่าเรอื่ งรอ้ งเรียนดังกล่าวไม่มีมลู ใหค้ ณะกรรมการหรอื เลขาธิการสง่ั ยุติเรอ่ื งได้ ข้อ ๑๖ สิทธกิ ารรอ้ งเรยี นส้ินสดุ เมื่อพน้ หนึง่ ปี นับแต่วันที่รตู้ ัวและรูเ้ รือ่ งการประพฤตผิ ิดมาตรฐานจรยิ ธรรม ส่วนท่ี ๒ สิทธิและหนา้ ท่ีของคกู่ รณี ขอ้ ๑๗ คกู่ รณมี สี ทิ ธไิ ดร้ บั การแจง้ สทิ ธแิ ละหนา้ ทขี่ องตนจากคณะกรรมการสอบมาตรฐานจรยิ ธรรมในกระบวนการพิจารณาเรื่องร้องเรยี นเกยี่ วกบั มาตรฐานจรยิ ธรรมตามความจำ� เปน็ แกก่ รณี ข้อ ๑๘ คู่กรณีมีสิทธิได้รับโอกาสที่จะได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอและมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลกั ฐานของตน ข้อ ๑๙ คู่กรณีมสี ิทธิของตรวจดเู อกสารที่จำ� เป็นต้องรู้ เพอ่ื การโต้แย้งหรอื ชแ้ี จง หรือป้องกนั สทิ ธิของตนได้ แตห่ ากยงั ไมไ่ ดท้ �ำค�ำวนิ จิ ฉัย ผถู้ กู ร้องเรียนไมม่ ีสทิ ธขิ อตรวจดูต้นร่าง คำ� วนิ จิ ฉยั 135
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 482
Pages: