Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Published by kc_studio, 2018-10-12 02:24:50

Description: กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

ข้อ ๑๓  ในกรณีท่ีมีปัญหาเก่ียวกับการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามระเบียบนี้ หรือท่ีระเบยี บนมี้ ไิ ดก้ ำ� หนดไว้ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทดี่ ำ� เนนิ การไปตามคำ� ชขี้ าดของเลขาธกิ าร หรอื ประธานคณะกรรมการสอบสวนหรอื ประธานคณะอนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ระดบั จงั หวดั หรอื ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาตสิ าขา แล้วแต่กรณี ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เอ้ือชาต ิ  กาญจนพทิ กั ษ ์ ประธานคณะกรรมการควบคุมคุณภาพ และมาตรฐานบริการสาธารณสุข386

ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง แบบบัตรประจำ� ตวั พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี ตามพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕                    อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ตามมติในการประชุมครง้ั ท่ี ๗ (๑๕/๒๕๔๖) เมื่อวันที่ ๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๖ และคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข ตามมติในการประชุมครั้งท่ี ๖/๒๕๔๖ เมื่อวันท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๖จึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน ี้ ข้อ ๑ บตั รประจำ� ตวั พนกั งานเจา้ หนา้ ทใี่ หเ้ ปน็ ไปตามขนาดและลกั ษณะตามแบบแนบทา้ ยประกาศฉบับน ้ี ข้อ ๒ ให้เลขาธิการส�ำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเลขาธิการสำ� นกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เป็นผ้อู อกบตั รประจ�ำตัวพนักงานเจ้าหนา้ ที่  ข้อ ๓ ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ย่ืนค�ำขอมีบัตรประจ�ำตัวต่อเลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พรอ้ มกบั แนบรปู ถา่ ยจำ� นวน ๒ รูป รูปถ่ายที่ติดบัตรประจ�ำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหน่ึงให้ใช้รูปถ่ายท่ีถ่ายไม่เกินหกเดือนก่อนวนั ยน่ื คำ� ขอมบี ตั รประจำ� ตวั พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ขนาด ๒.๕ x ๓.๐ เซนตเิ มตร ครง่ึ ตวั หนา้ ตรงไมส่ วมหมวกและแวน่ ตาสีเข้ม  ขอ้ ๔ บัตรประจ�ำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ใช้ได้ตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ในบัตร แต่ต้องไม่เกินห้าปีนับแตว่ ันออกบัตร  ขอ้ ๕ เมื่อบุคคลใดพ้นจากการเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่และไม่มีสิทธิใช้บัตรประจ�ำตัวพนักงานเจา้ หนา้ ทต่ี อ่ ไป ใหส้ ง่ คนื บตั รประจำ� ตวั พนกั งานเจา้ หนา้ ทตี่ อ่ เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตภิ ายในสบิ หา้ วนั นับแต่วันพ้นจากการเป็นพนักงานเจา้ หนา้ ที่  ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖ สดุ ารตั น ์  เกยรุ าพนั ธ ์ุ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 387

388

ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั พนักงานเจา้ หน้าที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ ประกาศแตง่ ตง้ั พนกั งานเจา้ หนา้ ทเี่ พอื่ ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ให้มคี วามเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้นึ อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕โดยคำ� แนะนำ� ของคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ในการประชมุ ครงั้ ท่ี ๑/๒๕๕๗ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ มกราคม๒๕๕๗ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ จึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลกิ (๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั พนกั งานเจา้ หนา้ ทเี่ พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ลงวนั ที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ (๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง แตง่ ตงั้ พนกั งานเจา้ หนา้ ทเี่ พอื่ ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบับที่ ๒) ลงวนั ที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ (๓) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั พนกั งานเจา้ หนา้ ทเี่ พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบบั ที่ ๓) ลงวนั ที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ (๔) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั พนกั งานเจา้ หนา้ ทเ่ี พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบบั ท่ี ๔) ลงวนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ (๕) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง แตง่ ตง้ั พนกั งานเจา้ หนา้ ทเ่ี พอื่ ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบบั ที่ ๕) ลงวันท่ี ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๐ ข้อ ๒ ใหผ้ ดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ดงั ตอ่ ไปน้ี เปน็ พนกั งานเจา้ หนา้ ทตี่ ามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๑) เลขาธิการส�ำนักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ (๒) รองเลขาธกิ ารสำ� นักงานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ (๓) ผชู้ ว่ ยเลขาธิการสำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ (๔) ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ และผู้เช่ียวชาญในส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (๕) ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเลขาธกิ ารและประชาสมั พนั ธ์ 389

(๖) เจา้ หน้าทรี่ ะดบั ต้ังแต่เจา้ หนา้ ทอ่ี าวโุ สขนึ้ ไปของสำ� นกั ดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) ส�ำนักกำ� กบั คุณภาพและประเมินผลลัพธ์คุณภาพ (ข) สำ� นกั บรหิ ารงานทะเบียนหลักประกนั สุขภาพ (ค) ส�ำนกั บรหิ ารการจัดสรรและชดเชยคา่ บรกิ าร (ง) ส�ำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ (จ) สำ� นักกฎหมาย (ฉ) สำ� นกั บริการประชาชนและคุ้มครองสิทธิ (ช) ส�ำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เขต ๑ - ๑๓ (๗) เจ้าหน้าที่ระดับต้ังแต่เจ้าหน้าท่ีอาวุโสข้ึนไป ท่ีได้รับมอบหมายจากเลขาธิการส�ำนักงานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ให้มหี นา้ ทตี่ รวจสอบการชดเชยหรือตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานการเรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ ่ายของหนว่ ยบริการ (๘) ผู้อ�ำนวยการและเจ้าหน้าที่ในกลุ่มงานประกันสุขภาพแห่งชาติของส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาตสิ าขาจังหวัด ทกุ จังหวัด ขอ้ ๓ ประกาศน้ี ใหม้ ีผลใช้บงั คับตง้ั แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ประดษิ ฐ สนิ ธวณรงค์ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ390

๘หมวดการก�ำกบั มาตรฐานหนว่ ยบรกิ าร



ขอ้ บังคบั คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธีการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์และวิธีการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนเพอื่ ใหก้ ารสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ความเปน็ ธรรมแกท่ กุ ฝา่ ยมากยง่ิ ขน้ึ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕๐ (๕) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพจึงได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๒๗กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้ออกขอ้ บงั คบั ไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับคณะกรรมการควบคุมคุณภาพ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน พ.ศ. ๒๕๖๐” ข้อ ๒ ให้ยกเลิก ข้อบังคับส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน พ.ศ. ๒๕๔๖ ขอ้ ๓ ในข้อบังคับน้ี “เร่ืองรอ้ งเรียน” หมายความวา่ (ก) เรื่องที่ผู้รายงาน ตรวจพบว่าหน่วยบริการไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขท่ีกำ� หนด (ข) เรอื่ งทผ่ี รู้ บั บรกิ าร ไมไ่ ดร้ บั ความสะดวกตามสมควรหรอื ตามสทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุจากหน่วยบริการ (ค) เรอ่ื งทหี่ นว่ ยบรกิ ารเรยี กเกบ็ คา่ บรกิ ารจากผรู้ บั บรกิ ารโดยไมม่ สี ทิ ธทิ จ่ี ะเรยี กเกบ็ หรอื เรยี กเกบ็เกินกวา่ อัตราท่คี ณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติกำ� หนด (ง) เร่ืองท่ีผู้รับบริการไม่ได้รับค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการภายในระยะเวลาอนั สมควร “คู่กรณี” หมายความว่า ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือผู้รับบริการแล้วแต่กรณีกับหน่วยบริการและให้หมายความรวมถึงบุคคลผู้เข้ามาสู่กระบวนการสอบสวนเนื่องจากถูกกระทบสิทธิในฐานะผู้ใหบ้ ริการสาธารณสุขด้วย “ผู้ร้องเรียน” หมายความว่า “ผู้ร้องเรียน” ตามข้อบังคับคณะกรรมการควบคุมคุณภาพว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไขการร้องเรียนของผถู้ ูกละเมิดสิทธจิ ากการใชบ้ ริการสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๖๐ 393

“ผู้รายงาน” หมายความว่า ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขา ในกรณีที่ตรวจสอบพบว่า หน่วยบริการไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขตามมาตรา ๕๗ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ หรือเป็นเรื่องท่ีได้รับร้องเรียนจากผรู้ บั บรกิ ารเพอ่ื ใหม้ กี ารสอบสวน ตามมาตรา ๕๙ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “หน่วยบริการ” หมายความว่า สถานบริการท่ีได้ข้ึนทะเบียนไว้ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “การสอบสวน” หมายความว่า การแสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐาน รวมทั้งการรวบรวมพยานหลักฐานและการด�ำเนินการทั้งหลายซ่ึงคณะกรรมการสอบสวนได้กระท�ำไปตามอ�ำนาจหน้าที่เพื่อจะทราบข้อเท็จจริงและรายละเอียดแห่งคดีในการพิสูจน์ความผิดตามความเหมาะสมในเรื่องน้ันๆ โดยไม่ต้องผูกพันอยู่กับค�ำขอหรอื พยานหลักฐานของคกู่ รณี “คณะกรรมการสอบสวน” หมายความวา่ คณะกรรมการสอบสวนทค่ี ณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพแต่งตั้งข้ึนตามพระราชบญั ญัติหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “คณะกรรมการควบคุมคุณภาพ” หมายความว่า คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข ตามพระราชบญั ญัติหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๔ เม่ือประธานกรรมการสอบสวน ได้รับเรื่องร้องเรียนจากคณะกรรมการควบคุมคุณภาพให้ประธานกรรมการสอบสวนด�ำเนินการประชุม เพ่ือพิจารณาและก�ำหนดประเด็นและแนวทางการสอบสวนโดยไมช่ กั ชา้ การประชุมคณะกรรมการสอบสวน ต้องมีกรรมการสอบสวนมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจ�ำนวนกรรมการสอบสวนทั้งหมด จงึ จะเป็นองค์ประชุม ใหป้ ระธานกรรมการสอบสวน เปน็ ประธานในทปี่ ระชมุ ถา้ ประธานกรรมการสอบสวนไมม่ าประชมุหรอื ไมอ่ าจปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ด้ ใหก้ รรมการสอบสวนทม่ี าประชมุ เลอื กกรรมการสอบสวนคนหนง่ึ เปน็ ประธานในทปี่ ระชมุ การวนิ จิ ฉยั ชข้ี าดของทปี่ ระชมุ ใหถ้ อื เสยี งขา้ งมาก กรรมการคนหนง่ึ ใหม้ เี สยี งหนง่ึ ในการลงคะแนนถา้ คะแนนเสยี งเท่ากนั ใหป้ ระธานในทีป่ ระชมุ ออกเสยี งเพม่ิ ขึน้ อีกเสียงหน่ึงเป็นเสียงขาด ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนผู้ใด มีความเห็นแตกต่างจากกรรมการสอบสวนเสียงข้างมากและต้องการใหบ้ ันทึกความเห็นทแ่ี ตกต่างไว้ ก็ใหก้ ระทำ� ได้ รายงานพร้อมความเห็นของคณะกรรมการสอบสวน ที่จะเสนอคณะกรรมการควบคุมคุณภาพให้เปน็ ไปตามขอ้ ๑๘ (๖) ข้อ ๕ ใหป้ ระธานกรรมการสอบสวน แจง้ เรือ่ งร้องเรียนและประเดน็ ความผิด ให้หนว่ ยบริการท่ถี กูร้องเรียนทราบ พร้อมแจ้งสิทธิ และหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาสอบสวนให้หน่วยบริการท่ีถูกร้องเรียนทราบตามความจ�ำเป็นแก่กรณี ว่าหน่วยบริการมีสิทธิได้ทราบส�ำเนาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องร้องเรียนทั้งหมดเท่าที่ไมก่ ระทบถงึ กระบวนพจิ ารณาสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน เพอ่ื ใหห้ นว่ ยบรกิ ารทถี่ กู รอ้ งเรยี นมโี อกาสทราบข้อเทจ็ จริงอย่างเพยี งพอในการโต้แยง้ และแสดงพยานหลักฐานของตน ในการแจ้งเรื่องร้องเรียนตามวรรคหนึ่ง ให้ประธานกรรมการสอบสวน แจ้งด้วยว่าหน่วยบริการมีสิทธิที่จะชแ้ี จงเรือ่ งร้องเรยี นพรอ้ มแสดงพยานหลักฐาน ทัง้ น้ภี ายใน ๑๕ วนั นับแตว่ นั ท่ีไดร้ บั แจ้ง394

ในการสง่ สำ� เนาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นตามวรรคหนง่ึ คณะกรรมการสอบสวนอาจใหด้ ลุ พนิ จิ ทจี่ ะไมเ่ ปดิ เผยชื่อ ท่ีอยู่ผู้ร้องเรียน และข้อมูลอื่นๆ ท่ีปรากฏในเรื่องก็ได้ แต่ทั้งน้ีต้องให้หน่วยบริการมีโอกาสทราบข้อเท็จจริงอย่างเพยี งพอและมโี อกาสโตแ้ ยง้ แสดงหลกั ฐานทจี่ ะแกข้ อ้ กล่าวหาได้ การสง่ เรอ่ื งรอ้ งเรยี นตามวรรคหนง่ึ ใหส้ ง่ ตามภมู ลิ ำ� เนาของหนว่ ยบรกิ ารทขี่ นึ้ ทะเบยี นไวก้ บั สำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ทางไปรษณีย์ลงทะเบยี นตอบรับ ขอ้ ๖ เม่ือได้แจ้งหน่วยบริการตามข้อ ๕ แล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวนพิจารณารวบรวมพยานหลกั ฐานทจี่ �ำเป็นแกก่ ารพิสจู น์ข้อเท็จจริงในการนร้ี วมถงึ การดำ� เนินการดังต่อไปน้ี (๑) แสวงหาขอ้ เทจ็ จรงิ และพยานหลกั ฐานทกุ อย่างทเี่ กี่ยวข้อง (๒) รบั ฟงั พยานหลกั ฐาน คำ� ชแ้ี จงหรอื ความเหน็ ของคกู่ รณี หรอื ของพยานบคุ คลหรอื พยานผเู้ ชยี่ วชาญทคี่ กู่ รณกี ลา่ วอา้ ง เวน้ แตค่ ณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ เปน็ การกลา่ วอา้ งทไ่ี มจ่ ำ� เปน็ ฟมุ่ เฟอื ย หรอื ประวงิเวลา (๓) ขอข้อเทจ็ จรงิ หรือความเหน็ เพิ่มเตมิ จากคกู่ รณี พยานบุคคล หรอื พยานผ้เู ชยี่ วชาญ (๔) ขอใหผ้ คู้ รอบครองเอกสารหรือวตั ถุพยาน ส่งเอกสารหรือวัตถุพยานท่เี กี่ยวขอ้ ง (๕) ออกไปตรวจสถานท่ี (๖) ด�ำเนนิ การอ่ืนใด เพ่อื ใหเ้ กิดความเปน็ ธรรมแกค่ ่กู รณี คกู่ รณี ตอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื กบั คณะกรรมการสอบสวนในการพสิ จู นข์ อ้ เทจ็ จรงิ และมหี นา้ ทตี่ อ้ งแจง้พยานหลกั ฐานทตี่ นทราบแกค่ ณะกรรมการสอบสวน ข้อ ๗ คู่กรณี มีสทิ ธขิ อตรวจดเู อกสารทจ่ี �ำเปน็ ตอ้ งร้เู พื่อการโตแ้ ย้งหรือช้ีแจงหรือป้องกนั สทิ ธิของตนได้ การตรวจดูเอกสาร ค่าใช้จ่ายในการตรวจดูเอกสาร หรือการจัดท�ำส�ำเนาเอกสารให้เป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารทีส่ ำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติก�ำหนด คณะกรรมการสอบสวนอาจอนญุ าตหรอื ไมอ่ นญุ าตใหค้ กู่ รณตี รวจดเู อกสารหลกั ฐานไดท้ งั้ นเ้ี ปน็ ไปตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการพ.ศ. ๒๕๔๐ ขอ้ ๘ คณะกรรมการสอบสวนมอี ำ� นาจขยายเวลาการยนื่ คำ� ชแ้ี จงเรอื่ งรอ้ งเรยี นไดต้ ามทเ่ี หน็ สมควรหรือเมอื่ ไดร้ ับการร้องขอจากหน่วยบริการ ข้อ ๙ เมื่อคู่กรณี มาปรากฏตัวต่อคณะกรรมการสอบสวน ให้คณะกรรมการสอบสวนแจ้งเรื่องร้องเรียนและประเด็นที่จะสอบสวน พร้อมสิทธิและหน้าท่ีในกระบวนพิจารณาให้คู่กรณีทราบตามความจ�ำเป็นแล้วแตก่ รณี ข้อ ๑๐ คูก่ รณมี สี ิทธมิ อบอำ� นาจใหบ้ คุ คลหน่งึ บุคคลใด ซ่งึ บรรลุนิตภิ าวะแลว้ กระทำ� การอยา่ งหนง่ึอย่างใดแทนตนได้โดยทำ� เป็นหนงั สือ เว้นแต่การกระท�ำนน้ั เป็นเรื่องท่ีต้องกระท�ำเองเป็นการเฉพาะตวั โดยแท้ ข้อ ๑๑ คู่กรณีมีสิทธิน�ำทนายความหรือท่ีปรึกษาของตน เข้าร่วมฟังกระบวนการสอบสวนได้การใดท่ีทนายความหรือท่ีปรึกษาได้กระท�ำลงต่อหน้าคู่กรณีให้ถือว่าเป็นการกระท�ำของคู่กรณีเอง เว้นแต่คู่กรณีจะได้คัดค้านเสียแตใ่ นขณะนั้น ข้อ ๑๒ ในการพิจารณาทางการสอบสวน คณะกรรมการสอบสวนอาจตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ ได้ตามความเหมาะสมในเรอื่ งน้ันๆ โดยไมต่ ้องผูกพนั อยูก่ ับค�ำรอ้ งเรียน ค�ำขอ ค�ำชี้แจงหรอื พยานหลักฐานของคู่กรณี 395

ขอ้ ๑๓ คณะกรรมการสอบสวนอาจมอบหมายให้กรรมการสอบสวนคนหนงึ่ คนใด หรอื พนกั งานเจ้าหน้าท่ีของส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ไปรวบรวมพยานหลักฐานเฉพาะอย่างมาเสนอคณะกรรมการสอบสวนได้ ขอ้ ๑๔ ในการดำ� เนนิ การสอบสวน คณะกรรมการสอบสวนถอื เปน็ เจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา และมีอ�ำนาจขอให้หน่วยบริการ เครือข่ายหน่วยบริการ ผู้ร้องเรียนหรือบุคคลใดท่ีเกี่ยวข้องมีหนังสือชี้แจงข้อเทจ็ จริง มาใหถ้ ้อยคำ� หรือส่งพยานหลกั ฐานเพื่อประกอบการสอบสวนได้ การเรียกพยานบุคคลมาใหถ้ ้อยค�ำตอ้ งมีกรรมการสอบสวนรว่ มสอบปากคำ� ไม่นอ้ ยกวา่ ๒ คน ท้งั น้ีการบันทึกถ้อยคำ� ให้เปน็ ไปตามแบบท่คี ณะกรรมการสอบสวนก�ำหนด วธิ กี ารและค่าใช้จ่าย ในการน�ำสง่ พยานหลักฐานตามวรรคหนงึ่ และในการเรียกพยานบคุ คลมาให้ถ้อยค�ำให้เป็นดุลพินิจของประธานกรรมการสอบสวนท่ีจะด�ำเนินการได้ ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสมแก่กรณีหากเห็นเป็นการสมควร โดยค่าใช้จ่ายในการน�ำส่งเอกสาร ค่าป่วยการ และค่าพาหนะของพยานผู้นั้น ให้เบิกจ่ายจากส�ำนักงานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ข้อ ๑๕ คณะกรรมการสอบสวนตอ้ งด�ำเนินการสอบสวนให้แล้วเสรจ็ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ประธานกรรมการสอบสวนไดร้ บั เรอื่ งกลา่ วหา ถา้ ยงั ดำ� เนนิ การไมแ่ ลว้ เสรจ็ ใหข้ ยายเวลาออกไปไดอ้ กี ไมเ่ กนิ ๓๐ วนัและถ้ายังดำ� เนนิ การไม่แลว้ เสร็จอกี ใหร้ ายงานคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพ เพอ่ื พิจารณามีคำ� ส่งั ให้ขยายเวลาได้เท่าทจ่ี ำ� เปน็ ขอ้ ๑๖ ในการประชุมคณะกรรมการสอบสวน ถ้ามีขอ้ เทจ็ จริงเปน็ ทย่ี ุติวา่ มกี รรมการสอบสวนผใู้ ดมสี ว่ นไดเ้ สยี ในเรอื่ งทจี่ ะพจิ ารณา กรรมการสอบสวนผนู้ น้ั มหี นา้ ทต่ี อ้ งแจง้ ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนทราบและมสี ทิ ธิเขา้ ชี้แจงขอ้ เทจ็ จริงหรือแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับเร่ืองน้นั แต่ไมม่ สี ิทธิเข้ารว่ มประชมุ และลงคะแนนเสียง ลักษณะหรอื ประเภทของการมสี ว่ นไดเ้ สยี ของกรรมการสอบสวน ได้แก่ (๑) เปน็ เรื่องเกย่ี วกับกรรมการสอบสวนผ้นู ้ันโดยตรง (๒) เปน็ เรื่องเก่ียวกบั คู่หมน้ั หรอื คู่สมรสของกรรมการสอบสวน (๓) เปน็ เรอื่ งเกยี่ วกบั ญาตขิ องกรรมการสอบสวน คอื บพุ การี ผสู้ บื สนั ดานพนี่ อ้ งหรอื ลกู พลี่ กู นอ้ งนบั ได้เพยี งภายในสามช้นั หรือญาตเิ กี่ยวพนั ทางแต่งงานนบั ไดเ้ พียงสองช้ัน (๔) เปน็ เรอื่ งเกยี่ วกบั บคุ คลทกี่ รรมการสอบสวนผนู้ น้ั เปน็ หรอื เคยเปน็ ผแู้ ทนโดยชอบธรรม ผพู้ ทิ กั ษ์หรือผู้แทนหรอื ตัวแทนบคุ คลน้นั (๕) เป็นเรอ่ื งเก่ยี วกับบคุ คลท่กี รรมการสอบสวนผ้นู ้ันเปน็ เจา้ หนี้ ลูกหนีห้ รอื นายจ้าง (๖) ลักษณะหรือประเภทอ่ืนๆ ซึ่งมีสภาพร้ายแรงอันอาจท�ำให้การพิจารณาไม่เป็นกลาง หรือลักษณะหรือประเภทอนื่ ๆ ทค่ี ณะกรรมการสอบสวนกำ� หนดเพ่มิ เติม ข้อ ๑๗ เม่ือมีการคัดค้านว่าคณะกรรมการสอบสวนคนหน่ึงคนใด มีลักษณะหรือประเภทการมีส่วนได้เสียและข้อเท็จจริงยังไม่เป็นที่ยุติว่ามีส่วนได้เสียหรือไม่ ให้คณะกรรมการสอบสวนพิจารณาสาเหตุคดั คา้ นนน้ั ในการประชมุ ดงั กลา่ ว กรรมการสอบสวนผถู้ กู คดั คา้ นเมอื่ ไดช้ แ้ี จงชแ้ี จงขอ้ เทจ็ จรงิ และตอบขอ้ ซกั ถามแลว้ต้องออกจากท่ปี ระชมุ ถ้าคณะกรรมการสอบสวนมีกรรมการผู้ถูกคัดค้าน ในระหว่างกรรมการผู้ถูกคัดค้านต้องออกจากทปี่ ระชมุ ให้ถอื วา่ คณะกรรมการสอบสวนประกอบดว้ ยกรรมการทกุ คนที่ไม่ถูกคดั ค้าน396

ถ้าที่ประชุมมีมติให้กรรมการสอบสวนผู้ถูกคัดค้าน ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปด้วยคะแนนไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการสอบสวนที่ไม่ถูกคัดค้านซึ่งมาประชุม ให้กรรมการผู้น้ันปฏิบัติหน้าท่ีต่อไป มติดังกล่าวใหก้ ระทำ� โดยวธิ อี อกเสยี งลงคะแนนลบั และใหถ้ ือเป็นที่สุด ข้อ ๑๘ ในรายงานสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนอย่างนอ้ ยต้องมีสาระส�ำคญั ตอ่ ไปนี้ (๑) วนั เดือน ปี ทค่ี ณะกรรมการสอบสวน เสนอรายงานการสอบสวนพร้อมความเหน็ (๒) ชอ่ื ที่อยู่ ของคู่กรณี (๓) พฤติกรรมโดยย่อของหน่วยบริการท่ีปรากฏในเร่อื งรอ้ งเรียน (๔) พยานหลกั ฐานที่คณะกรรมการสอบสวนรวบรวมได้ (๕) ขอ้ เท็จจรงิ ทสี่ อบสวนได้ (๖) ความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนว่า (ก) พฤติกรรมของหน่วยบริการที่ถูกร้องเรียนเข้าข่ายเป็นการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่ก�ำหนดตามมาตรา ๕๗ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ หรอื เปน็ กรณผี ู้รับบริการไม่ไดร้ ับความสะดวกตามสมควร หรือตามสทิ ธิทจ่ี ะไดร้ บั บริการสาธารณสุขทก่ี ำ� หนดตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ จากหนว่ ยบรกิ าร หรอื หนว่ ยบรกิ ารเรยี กเกบ็เงนิ คา่ บรกิ ารจากผรู้ บั บรกิ ารโดยไมม่ สี ทิ ธทิ จ่ี ะเกบ็ เงนิ หรอื เกบ็ เกนิ อตั ราทค่ี ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพกำ� หนดหรอื ไมไ่ ดร้ บั คา่ เสยี หายทเี่ กดิ ขนึ้ จากการรกั ษาพยาบาลของหนว่ ยบรกิ ารภายในระยะเวลาอนั สมควร ตามมาตรา ๕๙แหง่ พระราชบัญญตั ิหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ตามทถี่ ูกร้องเรยี นกล่าวหา หรอื ไมอ่ ย่างไร (ข) เสนอโทษตามมาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ และมาตรา ๖๐ แห่งพระราชบัญญัติหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ เพ่ือให้คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพพิจารณาออกค�ำส่งั (๗) ลายมือชอื่ ของคณะกรรมการสอบสวน ขอ้ ๑๙ ในการเสนอรายงาน พรอ้ มความเหน็ ของคณะกรรมการสอบสวนตอ่ คณะกรรมการควบคมุคณุ ภาพ ใหเ้ สนอพรอ้ มพยานหลกั ฐานทง้ั ปวง แตห่ ากมคี วามจำ� เปน็ หรอื เหน็ เปน็ การสมควรทจ่ี ะไมส่ ง่ พยานหลกั ฐานรายการใด ใหร้ ะบุรายการพยานหลักฐานทีไ่ มไ่ ดส้ ง่ ไวใ้ นรายงานการสอบสวนด้วย ขอ้ ๒๐ วธิ ปี ฏิบตั อิ ่ืนใดท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การสอบสวนซึ่งมไิ ดก้ ำ� หนดไวใ้ นข้อบังคับน้ีให้ถอื ปฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางการปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ข้อ ๒๑ ข้อบงั คับน้ี ให้ใชบ้ ังคับตงั้ แตบ่ ดั นี้ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ชาตรี บานช่ืน ประธานกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ 397

ขอ บงั คับคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแหงชาติ วา ดวยหลกั เกณฑ วธิ กี ารอทุ ธรณแ ละวธิ ีพิจารณาวนิ ิจฉยั อุทธรณ พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยที่เปนการสมควรปรับปรุง แกไขหลักเกณฑ วิธีการอุทธรณและวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณของผูรองเรียนหรือหนวยบริการท่ีไดรับคําส่ังจากคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญตั หิ ลักประกันสขุ ภาพแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ใหมคี วามเหมาะสมมากยงิ่ ขึ้น ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖๑ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง ชาติจึงไดมมี ติในการประชมุ คร้ังที่ ๙/๒๕๔๘ เม่อื วนั ท่ี๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๘ และคร้ังท่ี ๑๐/๒๕๔๘ เมอื่ วันท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๔๘ ใหออกขอ บังคบั ไว ดังตอไปนี้ ขอ ๑ ขอบังคบั นเ้ี รียกวา “ขอบังคบั คณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแหง ชาติ วา ดวยหลกั เกณฑวธิ ีการอทุ ธรณและวิธพี จิ ารณาวินิจฉยั อุทธรณ พ.ศ. ๒๕๔๙” ขอ ๒ ขอ บงั คับนีใ้ หใชบ งั คับตงั้ แตว ันถดั จากวนั ท่ีมีการลงนามในขอ บงั คบั เปน ตน ไป ขอ ๓ ใหยกเลิกขอบังคับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ วาดวยหลักเกณฑ วิธีการอทุ ธรณแ ละวธิ ีพิจารณาวนิ ิจฉัยอทุ ธรณ พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ ๔ ในขอ บังคับนี้ “ผูรองเรียน” หมายความวา ผูรับบริการสาธารณสุขท่ีใชสิทธิรองเรียน ตามพระราชบัญญัติหลกั ประกนั สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “หนว ยบริการ” หมายความวา สถานบรกิ ารทีไ่ ดข น้ึ ทะเบียนไว ตามพระราชบัญญัตหิ ลกั ประกันสขุ ภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “ผูอุทธรณ” หมายความวา ผูรองเรียนหรือหนวยบริการท่ีไดรับคําสั่งจากคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานและใชส ิทธอิ ทุ ธรณตามขอบงั คบั น้ี “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหงชาติ “คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน” หมายความวา คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข “คณะอนกุ รรมการ” หมายความวา คณะอนกุ รรมการกล่ันกรองกรณีอทุ ธรณ398

ขอ ๕ ผูรองเรียนหรือหนวยบริการท่ีไดรับคําส่ังจากคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมสี ิทธิอทุ ธรณตอคณะกรรมการภายใน ๓๐ วนั นับแตวนั ทไี่ ดร บั แจงหรือวนั ท่ไี ดร บั ทราบคําสงั่ แลว แตกรณี การอุทธรณตามวรรคหน่งึ ตอ งทาํ เปนหนังสอื และใหป ระกอบดวยรายการ ดังตอไปน้ี (๑) วนั เดอื น ป (๒) ช่ือตวั นามสกลุ และที่อยปู จจุบนั ของผอู ทุ ธรณ (๓) ขอเท็จจริงเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอุทธรณ ขอโตแยงหรือขอกฎหมายและเหตุผลที่ยกขึ้นอางอิงในอุทธรณโ ดยชดั แจง (๔) ความประสงคห รือคําขอของผูอุทธรณ (๕) ลายมือชอ่ื ของผอู ุทธรณ ขอ ๖ การอุทธรณตามขอ ๕ ใหผูอุทธรณยื่นหนังสืออุทธรณดวยตนเองตอสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติหรือสํานักงานสาขา และใหผูที่รับหนังสืออุทธรณนั้นออกใบรับอุทธรณไวเปนหลักฐานและใหถือเปนวันยื่นอุทธรณ หรือผูอุทธรณอาจสงหนังสืออุทธรณไปยังสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติหรือสํานักงานสาขาโดยทางไปรษณียลงทะเบียนก็ได และเพ่ือประโยชนในการนับอายุความในการยื่นอุทธรณโดยทางไปรษณียใหถ ือวาวนั ท่เี จา พนักงานไปรษณียต นทางประทับตราไปรษณยี ากรบนซองหนงั สอื อุทธรณเ ปน วนั ย่นื อทุ ธรณ กรณีท่ผี อู ุทธรณไ มส ามารถเขียนหนงั สืออทุ ธรณไ ด ใหเจา หนา ทขี่ องสาํ นักงานหลักประกันสุขภาพแหง ชาติหรือสํานกั งานสาขา อาํ นวยความสะดวก ตามสมควรแกก รณี ใหส าํ นกั งานสาขาทไ่ี ดร บั หนงั สอื อทุ ธรณ รบี สง หนงั สอื อทุ ธรณแ ละเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ งใหส าํ นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแหง ชาติโดยเรว็ ขอ ๗ ภายในกาํ หนดระยะเวลาอทุ ธรณ ผอู ทุ ธรณอ าจขอแกไ ขเพม่ิ เตมิ อทุ ธรณไ ด โดยทาํ เปน หนงั สอืลงลายมอื ชอื่ ผอู ุทธรณ ชแ้ี จงขอ เทจ็ จริง วัตถุประสงคและเหตุผลในการแกไขเพม่ิ เติมอุทธรณ ขอ ๘ ใหคณะกรรมการแตงตั้งคณะอนุกรรมการ จํานวนไมเกิน ๙ คน โดยใหรองเลขาธิการสาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาตทิ เ่ี ลขาธกิ ารสาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาตมิ อบหมาย เปน เลขานกุ ารและใหผูอํานวยการสํานักพัฒนาคุณภาพบริการ และผูอํานวยการสํานักกฎหมาย สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหง ชาติ เปน ผชู ว ยเลขานุการ ขอ ๙ ใหค ณะอนกุ รรมการมหี นา ทรี่ วบรวมขอ มลู และกลนั่ กรองกรณอี ทุ ธรณค าํ สง่ั ตามมาตรา ๕๘มาตรา ๕๙ และมาตรา ๖๐ แหงพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ แลวเสนอรายงานความเห็นตอ คณะกรรมการ ขอ ๑๐ ในการปฏบิ ตั หิ นา ทต่ี ามขอ ๙ ใหค ณะอนกุ รรมการพจิ ารณาจากพยานเอกสารหลกั ฐานตา งๆท่ีเก่ียวของ ในกรณีที่คณะอนุกรรมการเห็นสมควร อาจสอบถามผูอุทธรณ หรือบุคคลท่ีเก่ียวของและใหโอกาสแกคูกรณีไดโตแ ยงและแสดงพยานหลกั ฐานของตนได ขอ ๑๑ เพ่ือประโยชนในการพิจารณาอุทธรณ คณะอนุกรรมการมีอํานาจส่ังใหเจาหนาท่ีของสาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาตหิ รอื สาํ นกั งานสาขา สบื เสาะและพนิ จิ เพม่ิ เตมิ ในประเดน็ ทกี่ าํ หนด เพอื่ ประกอบการพิจารณาได 399

ขอ ๑๒ ในการสอบถามผูอุทธรณหรือบุคคลท่ีเก่ียวของ ใหมีการบันทึกถอยคําไวเปนหนังสือแลวใหอานขอความท่ีบันทึกไวใหผูใหถอยคําฟงและลงลายมือช่ือของบุคคลดังกลาวไวเปนหลักฐาน หากผูน้ันลงลายมือช่อื ไมไดหรอื ไมยอมลงลายมอื ช่ือ ใหจดแจง เหตทุ ่ไี มม ีการลงลายมอื ชือ่ ไว ขอ ๑๓ อุทธรณในเรื่องใดหรือประเด็นใดท่ีไดมีการทิ้งอุทธรณหรือถอนอุทธรณแลวหามมิใหอ ทุ ธรณซ�ำ้ ในเรือ่ งนนั้ หรอื ประเดน็ นั้นอกี ขอ ๑๔ ผอู ทุ ธรณอ าจขอถอนอทุ ธรณเ มอื่ ใดกไ็ ด แตต อ งกอ นทค่ี ณะกรรมการจะมคี าํ วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณและเมื่อไดถอนอุทธรณแลว ใหการพิจารณากรณีอุทธรณนั้นเปนอันระงับและใหคณะกรรมการจําหนายอุทธรณน้ันเสีย การถอนอทุ ธรณ ใหท าํ เปน หนงั สอื ยนื่ ตอ สาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาตหิ รอื สาํ นกั งานสาขาทร่ี ับอทุ ธรณไวต ามขอ ๖ ขอ ๑๕ รายงานผลการรวบรวมขอมูลและกล่ันกรองกรณีอุทธรณของคณะอนุกรรมการ ใหทําเปน หนงั สอื เสนอตอ คณะกรรมการเพือ่ พจิ ารณาวินิจฉยั และอยางนอ ยตอ งประกอบดว ยรายการ ดงั ตอ ไปน้ี (๑) วัน เดอื น ป ทีค่ ณะอนกุ รรมการพจิ ารณาอุทธรณ (๒) ขอเทจ็ จรงิ ที่นํามาใชป ระกอบการพิจารณาอทุ ธรณ (๓) ขอ กฎหมายหรือเหตผุ ลในการอุทธรณ (๔) ความเห็นของคณะอนุกรรมการ (๕) ลายมือชอ่ื ของอนกุ รรมการทกุ คนที่รว มการพจิ ารณาอุทธรณน น้ั ขอ ๑๖ เมื่อคณะกรรมการไดวินิจฉัยอุทธรณแลว ใหสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติแจง ผลการวนิ จิ ฉัยอุทธรณน ้ัน ใหผูอุทธรณทราบภายใน ๑๕ วนั ขอ ๑๗ เม่ือคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ ผลเปนประการใดแลว ใหเลขาธิการสํานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาตริ ายงานผลการดาํ เนนิ การหรอื คาํ วนิ จิ ฉยั ตอ คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานเพอื่ ทราบ ขอ ๑๘ เร่ืองอุทธรณ วิธีการอุทธรณและวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณใดที่อยูระหวางดําเนินการและยงั ไมแ ลว เสรจ็ ในวนั ทข่ี อ บงั คบั นใี้ ชบ งั คบั ใหด าํ เนนิ การตอ ไปตามขอ บงั คบั สาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาติวาดวยหลักเกณฑ วิธีการอุทธรณและวิธีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ พ.ศ. ๒๕๔๗ จนกวาจะดําเนินการแลวเสร็จหรอื จนกวาจะสามารถดาํ เนนิ การตามขอ บังคับนไี้ ด ขอ ๑๙ ใหเ ลขาธิการสาํ นกั งานหลักประกันสุขภาพแหง ชาตริ กั ษาการตามขอ บงั คบั น้ี ประกาศ ณ วันท่ี ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ พนิ ิจ จารุสมบตั ิ รัฐมนตรวี าการกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหงชาติ400

กฎหมาย ระเบียบ ประกาศท่อี อกตามกฎหมายอ่ืนทเ่ี ก่ียวข้อง



คําสงั่ หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓๗/๒๕๕๙ เรือ่ ง คา่ ใชจ้ า่ ยทีเ่ กี่ยวข้องและจําเปน็ ต่อการสนับสนนุ และส่งเสรมิ การจัดบรกิ ารสาธารณสขุ และคา่ ใช้จา่ ยอน่ื ตามกฎหมายวา่ ด้วยหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ โดยท่ีได้ปรากฏว่าการบริหารจัดการค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีเหตุขัดข้องบางประการ ทําให้เป็นอุปสรรคต่อความคล่องตัวในการบริหารจัดการและประสิทธิภาพของการให้บริการของหน่วยบริการ ส่งผลกระทบถึงการให้บริการดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ แกป่ ระชาชนโดยรวม สมควรแกไ้ ขปญั หาขอ้ ขดั ขอ้ งในขณะนโ้ี ดยเรว็ เพอื่ ประโยชน์ต่องานบริการสาธารณสุขของประเทศ และประชาชนผู้รับบริการในระหว่างท่ีจะได้มีการดําเนินการแก้ไขกฎหมายวา่ ดว้ ยหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตติ ่อไป อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว)พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงมีคําสัง่ ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ใหห้ นว่ ยบรกิ าร เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร องคก์ รชมุ ชนองค์กรเอกชนและภาคเอกชนท่ีไม่มีวัตถุประสงค์เพ่ือดําเนินการแสวงหาผลกําไร องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานของรัฐท่ีได้รับมอบหมายให้ทํากิจการในอํานาจหน้าท่ีของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายท่ีเกี่ยวข้องและจําเป็นต่อการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบรกิ ารสาธารณสขุ และค่าใช้จา่ ยอนื่ จากกองทุนหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ ๒ ให้ค่าใช้จ่ายดังต่อไปน้ี เป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องและจําเป็นต่อการสนับสนุนและส่งเสริมการจดั บรกิ ารสาธารณสุขตามข้อ ๑ (๑) ค่าใช้จ่ายเพ่ือการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคท่ีดําเนินการโดยหน่วยงานหรือองค์กรตามข้อ ๑ (๒) ค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขสําหรับบริการบําบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผ่านทางช่องทอ้ งอย่างตอ่ เน่ือง ข้อ ๓ ให้คา่ ใชจ้ ่ายดงั ต่อไปนี้ เปน็ ค่าใช้จ่ายอ่นื ตามขอ้ ๑ (๑) คา่ ใชจ้ า่ ยประจาํ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการจดั บรกิ ารสาธารณสขุ ในกจิ การของหนว่ ยบรกิ าร ตามกฎหมายวา่ ด้วยหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ (๒) ค่าใชจ้ ่ายเพอ่ื ชดเชยคา่ เสอ่ื มของสิง่ กอ่ สร้างและครภุ ณั ฑ์ทีใ่ ช้ในการบรกิ ารผปู้ ว่ ยนอก บริการผูป้ ่วยใน และบรกิ ารสรา้ งเสริมสุขภาพและปอ้ งกันโรค 403

(๓) คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื เปน็ เงนิ ชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ แกผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารทไ่ี ดร้ บั ความเสยี หายจาก การใหบ้ รกิ ารสาธารณสุขของหน่วยบริการ ขอ้ ๔ การรับเงนิ การจา่ ยเงิน การรกั ษาเงนิ และรายการของคา่ ใช้จา่ ยตามขอ้ ๒ และข้อ ๓ ให้เปน็ไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง การออกประกาศตามวรรคหนึ่งให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ีคําส่ังน้ีมผี ลใชบ้ งั คบั ข้อ ๕ ใหก้ ารจา่ ยเงนิ และการรบั เงนิ เพอื่ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยตามขอ้ ๒ และขอ้ ๓ จากกองทนุ หลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งได้ดําเนินการไปแล้วโดยสุจริตตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ จนถึงวันท่ีประกาศตามข้อ ๔มีผลใช้บังคับ เป็นค่าใช้จ่ายที่เก่ียวข้องและจําเป็นต่อการสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขและค่าใชจ้ า่ ยอนื่ ตามคาํ สั่งนี้ การจ่ายเงินและการรับเงินซ่ึงได้กระทําก่อนวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ หากผลการตรวจสอบของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าได้ดําเนินการโดยสุจริตและสอดคล้องกับประกาศตามข้อ ๔ ให้ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวข้องและจาํ เปน็ ต่อการสนบั สนุนและส่งเสริมการจดั บริการสาธารณสุขและค่าใช้จ่ายอนื่ ตามคําสั่งนดี้ ้วย ข้อ ๖ คาํ สง่ั นใ้ี หใ้ ชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป* จนถงึ วนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั ิหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ฉบับแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ในส่วนทเ่ี กี่ยวกับคา่ ใช้จ่าย ตามคาํ ส่งั นี้มผี ลใชบ้ งั คบั สัง่ ณ วนั ที่ ๕ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ* ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๓๓ / ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง / หนา้ ๓๐ / ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙404

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไข การรบั เงนิ การจา่ ยเงนิ การรกั ษาเงิน และรายการของคา่ ใช้จ่ายท่ีเกี่ยวข้องและจาํ เปน็ ต่อการสนบั สนนุ และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขและค่าใชจ้ ่ายอ่นื พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยที่เป็นการสมควรให้มีการกําหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข การรับเงิน การจ่ายเงินการรกั ษาเงนิ และรายการของคา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กย่ี วขอ้ งและจาํ เปน็ ตอ่ การสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารสาธารณสขุและคา่ ใช้จ่ายอื่น อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๔ แห่งคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๓๗/๒๕๕๙ลงวันท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ เร่ือง ค่าใช้จ่ายที่เก่ียวข้องและจําเป็นต่อการสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการสาธารณสุขและคา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ตามกฎหมายว่าดว้ ยหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการรบั เงนิ การจา่ ยเงนิ การรกั ษาเงนิ และรายการของคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ งและจาํ เปน็ ตอ่ การสนบั สนนุ และสง่ เสรมิการจดั บริการสาธารณสุขและคา่ ใช้จ่ายอ่นื พ.ศ. ๒๕๕๙” ขอ้ ๒ ประกาศฉบบั นใ้ี หใ้ ช้บงั คบั ต้ังแต่วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ต้นไป* ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “บริการสาธารณสุข” หมายความว่า บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข การรักษาพยาบาลและการฟน้ื ฟสู มรรถภาพ ข้อ ๔ ใหร้ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามประกาศนี้ หมวด ๑ ค่าใช้จ่ายเพอ่ื การสร้างเสรมิ สุขภาพและป้องกันโรค ข้อ ๕ ใหห้ นว่ ยบรกิ าร เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร องคก์ รชมุ ชนองค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพ่ือดําเนินการแสวงหาผลกําไร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ทํากิจการในอํานาจหน้าที่ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓๓ / ตอนพิเศษ ๒๓๒ ง / หน้า ๒๒ / ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๕๙ 405

ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายท่ีเกี่ยวข้องและจําเป็นต่อการสนับสนุนและสง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารสาธารณสขุ เพอ่ื การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค จากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่งที่มีลักษณะเป็นรายโครงการที่หน่วยบริการ เครือข่ายหน่วยบริการหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อผู้รับบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานของรัฐ ขอรับการสนับสนุนและโครงการดงั กลา่ วไดร้ บั อนมุ ตั แิ ลว้ ถอื เปน็ หลกั ฐานการดาํ เนนิ งานโครงการ แตส่ าํ หรบั องคก์ รชมุ ชน องคก์ รเอกชนและภาคเอกชนทไี่ มม่ ีวัตถปุ ระสงค์เพื่อดาํ เนินการแสวงหาผลกาํ ไร ให้จัดทําเปน็ สัญญาดาํ เนินโครงการกบั สาํ นักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สว่ นท่ี ๑ การรับเงนิ ข้อ ๖ ใหห้ นว่ ยบรกิ าร เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร องคก์ รชมุ ชนองค์กรเอกชน และภาคเอกชนท่ีไม่มีวัตถุประสงค์เพ่ือดําเนินการแสวงหาผลกําไร องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ทํากิจการในอํานาจหน้าที่ ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ท่ีได้รับเงินตามข้อ ๕ นําเงินเข้าบัญชีเงินบํารุง หรือเงินรายรับสถานพยาบาลของรฐั หรอื บญั ชเี งนิ ของหนว่ ยบรกิ ารภาคเอกชนหรอื ของหนว่ ยงานของรฐั หรอื องคก์ รดงั กลา่ วขา้ งตน้โดยให้จัดทาํ ทะเบยี นคมุ เงนิ ทไ่ี ดร้ ับ และใหอ้ อกหลักฐานการรับเงนิ ไว้ เพือ่ การตรวจสอบ องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนตามวรรคหนึ่ง ให้ออกหลักฐานการรับเงินให้แก่สํานกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เพ่อื การตรวจสอบ สว่ นที่ ๒ การจ่ายเงนิ และรายการของค่าใชจ้ า่ ย ข้อ ๗ ใหห้ นว่ ยบรกิ าร เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร องคก์ รชมุ ชนองคก์ รเอกชน และภาคเอกชนทไี่ ม่มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือดาํ เนนิ การแสวงหาผลกําไร องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และหน่วยงานของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ทํากิจการในอํานาจหน้าที่ ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตามกฎหมายว่าดว้ ยหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ จา่ ยเงนิ เพือ่ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค โดยระเบียบวธิ ีปฏบิ ตั ใิ หถ้ อื ตามระเบยี บของหนว่ ยบรกิ าร เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื หนว่ ยงานของรฐั สําหรับองค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนตามวรรคหนึ่ง ให้จ่ายเงินเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและปอ้ งกนั โรคตามทก่ี าํ หนดในโครงการหรือสัญญาตามข้อ ๕ วรรคสอง ข้อ ๘ คา่ ใช้จา่ ยเพ่อื การสร้างเสรมิ สขุ ภาพและป้องกันโรค ให้จา่ ยตามรายการ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ค่าดําเนินการเพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมป้องกันโรค เช่น การให้คําปรึกษา การคัดกรองการคน้ หาผ้มู ีภาวะเส่ียง การสรา้ งเสริมภูมิคุ้มกนั การใช้ยา การทาํ หตั ถการ การปรับเปลย่ี นพฤติกรรม (๒) ค่าดําเนนิ การตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการ406

(๓) คา่ พฒั นาศักยภาพบุคคลที่ปฏบิ ัตงิ านด้านการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค (๔) คา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ทจี่ าํ เปน็ นอกจาก (๑) - (๓) ใหเ้ ปน็ ไปตามทร่ี ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุจะได้ประกาศกําหนดเพมิ่ เติม ส่วนท่ี ๓ การรกั ษาเงิน ข้อ ๙ ใหห้ นว่ ยบรกิ าร เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร องคก์ รชมุ ชนองค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพ่ือดําเนินการแสวงหาผลกําไร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานของรัฐท่ีได้รับมอบหมายให้ทํากิจการในอํานาจหน้าที่ ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตามกฎหมายวา่ ด้วยหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ทไี่ ดร้ ับเงนิ ตามหมวดนี้ เก็บรักษาเงนิ ไว้ไดต้ ามระยะเวลาทีก่ าํ หนดในโครงการ หากดาํ เนนิ การยงั ไมแ่ ลว้ เสรจ็ ใหข้ ยายเวลาดาํ เนนิ การไปไดอ้ กี ๑ ปี แตท่ งั้ นต้ี อ้ งไมเ่ กนิ ๒ ปงี บประมาณ กรณีครบกําหนดเวลาตามวรรคหน่ึงแล้ว ยังไม่ดําเนินการหรือดําเนินการไม่แล้วเสร็จ ให้ส่งเงินท่เี หลอื อยู่คืนกองทุนหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ หากดําเนนิ โครงการและบรรลวุ ัตถุประสงค์แล้วมีเงินเหลือ ให้หนว่ ยบริการ เครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อผู้รับบริการ องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพ่ือดําเนินการแสวงหาผลกําไร องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานของรัฐที่ได้รับมอบหมาย ให้ทํากิจการในอํานาจหน้าท่ีของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสามารถนําเงินไปใช้เพื่อการปฏิบัติราชการหรือการดําเนินงานของหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรอื หนว่ ยงานของรัฐ หรอื องค์กรชุมชน องคก์ รเอกชนน้ัน ๆ ได้ หมวด ๒ ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสาํ หรับบริการบาํ บัดทดแทนไต ขอ้ ๑๐ ใหห้ น่วยบรกิ ารทใี่ หบ้ รกิ ารบําบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผ่านทางชอ่ งทอ้ งอย่างตอ่ เนอื่ งมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขสําหรับบริการบําบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างตอ่ เนอ่ื งจากกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ส่วนท่ี ๑ การรับเงนิ ข้อ ๑๑ ให้หน่วยบรกิ ารทไี่ ด้รบั เงนิ ค่าใช้จา่ ยเพ่ือบรกิ ารสาธารณสขุ สําหรับบรกิ ารบาํ บัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเน่ืองตามข้อ ๑๐ นําเงินเข้าบัญชีเงินบํารุง หรือเงินรายรับสถานพยาบาลของหนว่ ยบริการหรือสถานพยาบาลน้นั ๆ และใหอ้ อกหลกั ฐาน การรับเงินไว้ เพอ่ื การตรวจสอบ 407

สว่ นที่ ๒ การจ่ายเงนิ และรายการของคา่ ใชจ้ ่าย ข้อ ๑๒ ให้หน่วยบริการจ่ายเงินท่ีได้รับตามหมวดน้ี โดยระเบียบวิธีปฏิบัติให้ถือตามระเบียบเงินบาํ รุงหรอื เงนิ รายรบั สถานพยาบาลของหนว่ ยบรกิ ารหรอื สถานพยาบาลนัน้ ๆ ข้อ ๑๓ ค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขสําหรับบริการบําบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผ่านทางชอ่ งท้องอย่างตอ่ เนือ่ ง ให้จา่ ยตามรายการ ดงั ต่อไปน้ี (๑) ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสําหรับบริการบําบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผ่านทางช่องท้องอยา่ งต่อเนอื่ ง เชน่ ค่านำ�้ ยา ค่ายา ค่าเวชภัณฑ์ (๒) ค่าตอบแทนซ่ึงจ่ายให้แก่ผู้ให้บริการสําหรับการบําบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผ่านทางชอ่ งทอ้ งอยา่ งต่อเนอ่ื งหรือผูส้ นับสนนุ การจัดบริการของหน่วยบริการ ในกรณีท่ีหน่วยบริการเห็นสมควร อาจทําความตกลงกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเพื่อให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจ่ายค่าตอบแทนตาม (๒) ได้ ท้ังน้ี ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติแจง้ การจ่ายเงนิ ดังกลา่ วไปยงั หนว่ ยบรกิ ารเพื่อทราบ (๓) คา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ทจ่ี าํ เปน็ นอกจาก (๑) - (๒) ใหเ้ ปน็ ไปตามทร่ี ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุจะไดป้ ระกาศกาํ หนดเพ่มิ เตมิ สว่ นที่ ๓ การรกั ษาเงนิ ขอ้ ๑๔ ให้หน่วยบรกิ ารเกบ็ รกั ษาเงินทีไ่ ด้รับตามหมวดน้ี โดยระเบียบวิธปี ฏิบัติใหถ้ ือตามระเบียบเงนิ บํารุงหรอื เงนิ รายรับสถานพยาบาลของหน่วยบรกิ ารหรือสถานพยาบาลนั้น ๆ หมวด ๓ คา่ ใช้จา่ ยประจําของหน่วยบรกิ าร ขอ้ ๑๕ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารบรหิ ารจดั การเงนิ ทไ่ี ดร้ บั จากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ในลกั ษณะเหมาจ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขและตามผลงานบริการ สําหรับเป็นค่าใช้จ่ายประจําที่เกิดขึ้นจากการจัดบริการสาธารณสุขในกจิ การของหน่วยบรกิ าร ส่วนที่ ๑ การรบั เงนิ ข้อ ๑๖ ให้หน่วยบริการซึ่งได้รับเงินตามข้อ ๑๕ นําเงินเข้าบัญชีเงินบํารุงหรือเงินรายรับสถานพยาบาลของหน่วยบริการหรอื สถานพยาบาลนั้น ๆ และให้ออกหลกั ฐานการรบั เงินไว้ เพอ่ื การตรวจสอบ408

สว่ นที่ ๒ การจ่ายเงินและรายการของคา่ ใชจ้ ่าย ข้อ ๑๗ ให้หน่วยบริการจ่ายเงินที่ได้รับตามหมวดน้ี โดยระเบียบวิธีปฏิบัติให้ถือตามระเบียบเงินบาํ รงุ หรอื เงนิ รายรบั สถานพยาบาลของหน่วยบริการหรอื สถานพยาบาลนนั้ ๆ ข้อ ๑๘ ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายประจําที่เกิดข้ึนจากการจัดบริการสาธารณสุขในกิจการของหน่วยบรกิ าร ให้จ่ายตามรายการ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) เงนิ เดอื น คา่ จ้าง คา่ จ้างเอกชนดําเนินงาน คา่ ตอบแทน (๒) ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ (๓) คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการ (๔) ค่าบาํ รงุ รกั ษาซ่อมแซมอาคารสง่ิ ปลกู สร้าง ครุภัณฑ์ หรอื วสั ดุ (๕) ค่าสาธารณปู โภค (๖) ค่าวัสดุ (๗) คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ ทจ่ี าํ เปน็ นอกจาก (๑) - (๖) ใหเ้ ปน็ ไปตามทร่ี ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุจะไดป้ ระกาศกาํ หนดเพ่ิมเตมิ สว่ นที่ ๓ การรกั ษาเงนิ ข้อ ๑๙ ใหห้ นว่ ยบริการเก็บรักษาเงนิ ที่ไดร้ บั ตามหมวดน้ี โดยระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิใหถ้ อื ตามระเบยี บเงินบาํ รงุ หรอื เงนิ รายรับสถานพยาบาลของหนว่ ยบรกิ ารหรอื สถานพยาบาลน้ัน ๆ หมวด ๔ ค่าใชจ้ ่ายเพอื่ ชดเชยคา่ เส่อื มของสิ่งก่อสรา้ งและครุภัณฑ์ ข้อ ๒๐ ให้หน่วยบริการมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพ่ือชดเชยค่าเส่ือมของสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ทใ่ี ช้ในการบรกิ ารผู้ป่วยนอก บรกิ ารผ้ปู ว่ ยใน และบรกิ ารสรา้ งเสรมิ สุขภาพและป้องกนั โรคจากกองทนุ หลักประกนัสุขภาพแห่งชาติ โดยให้หน่วยบริการจัดทําแผนการจัดหา และจัดซื้อ จัดจ้าง หรือเช่า เพื่อทดแทนส่วนท่ีขาดและซ่อมบาํ รงุ ครภุ ัณฑ์ สิ่งก่อสรา้ งที่เสอื่ มสภาพหรอื ถดถอยหรอื เสยี หายจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสุข 409

ส่วนท่ี ๑ การรับเงนิ ข้อ ๒๑ ให้หน่วยบริการท่ีได้รับเงินตามข้อ ๒๐ นําเงินที่ได้รับเข้าบัญชีเงินบํารุงหรือเงินรายรับสถานพยาบาล หรือบญั ชีเงินของหนว่ ยบริการภาคเอกชน โดยใหจ้ ดั ทาํ ทะเบียนคมุ เงินทไ่ี ด้รบั และให้ออกหลักฐานการรับเงนิ ไว้ เพ่อื การตรวจสอบ สว่ นท่ี ๒ การจา่ ยเงินและรายการของค่าใช้จ่าย ข้อ ๒๒ ให้หน่วยบริการจ่ายเงินท่ีได้รับตามหมวดน้ี โดยระเบียบวิธีปฏิบัติให้ถือตามระเบียบเงินบาํ รงุ หรอื เงินรายรบั สถานพยาบาลของหน่วยบรกิ ารหรือสถานพยาบาลนนั้ ๆ ขอ้ ๒๓ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสขุ เพอ่ื ชดเชยคา่ เสอ่ื มของสงิ่ กอ่ สรา้ งและครภุ ณั ฑ์ ทใี่ ชใ้ นการบรกิ ารผปู้ ่วยนอก บรกิ ารผปู้ ่วยใน และบริการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค ใหจ้ า่ ยตามรายการ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) รายการของส่งิ ก่อสร้างชดเชยสงิ่ ทมี่ อี ยู่แลว้ เพือ่ ใช้ในการบริการ หรอื สนับสนนุ บริการ ผปู้ ่วยนอก บริการผู้ปว่ ยใน และบริการสร้างเสรมิ สุขภาพและป้องกันโรค เชน่ ถนนในบริเวณโรงพยาบาล ร้วั โรงพยาบาลระบบสาธารณูปโภคท่ีใชใ้ นการบริการ อาคารหรอื หอผ้ปู ว่ ย ค่าเช่าอาคารสถานบริการ ท่อระบายนำ้� ในโรงพยาบาลหอถังน้ำ� เป็นตน้ (๒) รายการของครภุ ัณฑท์ ีช่ ดเชยและซอ่ มบาํ รงุ สิ่งทม่ี ีอยแู่ ลว้ เพอ่ื ใช้ในการบรกิ าร หรอื สนับสนุนการบริการผู้ป่วยนอก บริการผู้ป่วยใน และบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เช่น ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ครุภณั ฑส์ าํ นกั งาน ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง ครภุ ัณฑ์ไฟฟา้ และวิทยุ ครภุ ณั ฑโ์ ฆษณาและเผยแพร่ ครภุ ณั ฑค์ อมพวิ เตอร์ ครภุ ณั ฑง์ านบา้ นงานครวั เครอื่ งปรบั อากาศ ลฟิ ต์ และเฟอรน์ เิ จอรใ์ นโรงพยาบาลเปน็ ต้น (๓) คา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ทจ่ี าํ เปน็ นอกจาก (๑) - (๒) ใหเ้ ปน็ ไปตามทร่ี ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุจะไดป้ ระกาศกําหนดเพม่ิ เติม สว่ นที่ ๓ การรักษาเงิน ข้อ ๒๔ ให้หน่วยบริการเก็บรักษาเงินท่ีได้รับตามหมวดน้ี เพื่อชดเชยค่าเสื่อมของส่ิงก่อสร้างและครภุ ณั ฑ์ท่ีใชใ้ นการบรกิ ารผูป้ ว่ ยนอก บรกิ ารผปู้ ่วยใน และบรกิ ารสรา้ งเสริมสุขภาพและปอ้ งกนั โรค เก็บรกั ษาเงนิ ไว้ได้ตามระยะเวลาที่กําหนดในโครงการหรือแผนงาน หากดําเนินการยังไม่แล้วเสร็จให้ขยายเวลาดําเนินการไปได้อีก๑ ปี แต่ท้งั น้ตี อ้ งไมเ่ กนิ ๒ ปงี บประมาณ หากดาํ เนนิ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ลว้ มเี งนิ เหลอื ใหห้ นว่ ยบรกิ ารสามารถนาํ เงนิ ไปใช้ เพอื่ การปฏบิ ตั ิราชการหรอื การดาํ เนนิ งานของหนว่ ยบริการนั้น ๆ ได้410

กรณีครบกาํ หนดเวลาตามวรรคหน่งึ แลว้ หน่วยบรกิ ารยงั ไมด่ ําเนนิ การหรอื ดาํ เนินการไมแ่ ล้วเสรจ็ใหส้ ง่ เงนิ ที่เหลอื คืนกองทุนหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เวน้ แตใ่ นกรณมี ีเหตจุ าํ เป็น ให้แจ้งเหตผุ ล และความจาํ เป็นในการขอขยายเวลาต่อสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พร้อมทั้งขออนุมัติ เก็บรักษาเงินไว้จนกว่าจะดําเนินการแล้วเสรจ็ หมวด ๕ ค่าใชจ้ า่ ยเพือ่ เปน็ เงนิ ชว่ ยเหลอื เบ้ืองต้นแกผ่ ใู้ ห้บรกิ ารทไี่ ดร้ บั ความเสยี หาย จากการให้บรกิ ารสาธารณสุขของหนว่ ยบริการ ขอ้ ๒๕ ในหมวดนี้ “เงนิ ชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ ” หมายความวา่ เงนิ ทจี่ า่ ยใหแ้ กผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ทไี่ ดร้ บั ความเสยี หายจากการใหบ้ ริการสาธารณสุขของหนว่ ยบริการ เครือขา่ ยหน่วยบริการ และหน่วยบรกิ ารทีร่ บั การสง่ ตอ่ ผรู้ ับบริการ “ผู้ใหบ้ ริการสาธารณสขุ ” หมายความวา่ บคุ คลซง่ึ ให้บริการสาธารณสุข และให้หมายความรวมถงึบุคคลที่ให้การชว่ ยเหลือหรือสนับสนนุ การใหบ้ รกิ ารสาธารณสุขไม่ว่าจะมีหน้าท่ีโดยตรงหรอื ไม่ “คณะอนุกรรมการ” หมายความวา่ คณะอนุกรรมการพจิ ารณาวินจิ ฉัยคํารอ้ งขอรับเงินชว่ ยเหลือเบอื้ งตน้ สว่ นท่ี ๑ หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขการขอรบั เงิน ข้อ ๒๖ ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายหรือทายาท มีสิทธิยื่นคําร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้นได้ท่ีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาเขตพ้ืนท่ี หรือหน่วยบริการท่ีปฏิบัติหน้าที่ท้งั น้ี ตอ้ งย่ืนคําร้องขอภายใน ๑ ปี นบั แตว่ นั ท่ที ราบความเสยี หาย โดยในกรณีทย่ี ื่นท่หี นว่ ยบริการ ใหห้ น่วยบรกิ ารน้นัส่งคาํ รอ้ งดงั กล่าวไปท่สี ํานักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาตสิ าขาเขตพื้นที่โดยเรว็ ขอ้ ๒๗ ใหม้ คี ณะอนกุ รรมการพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั คาํ รอ้ งขอรบั เงนิ ชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ ในแตล่ ะสาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตสิ าขาเขตพน้ื ที่ โดยใหเ้ ลขาธกิ ารสาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตแิ ตง่ ตง้ั จากบคุ คลท่มี ีประสบการณแ์ ละมีความรคู้ วามสามารถเหมาะสม จํานวน ๕ - ๗ คน และให้ผูอ้ ํานวยการสํานกั งานหลกั ประกนัสขุ ภาพแหง่ ชาตสิ าขาเขตพน้ื ที่ เปน็ เลขานกุ ารและใหเ้ ลขานกุ าร จดั ใหม้ กี ารประชมุ คณะอนกุ รรมการเพอ่ื ใหท้ ป่ี ระชมุเลอื กอนกุ รรมการคนหน่งึ เป็นประธานอนุกรรมการ ให้คณะอนุกรรมการมีอํานาจหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยคําร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นท่ีเกิดข้ึนในเขตพ้ืนที่ ว่าเข้าเกณฑ์ที่จะได้รับเงินช่วยเหลือหรือไม่ จํานวนเท่าใด โดยคณะอนุกรรมการมีอํานาจอนุมัติเงินได้ไม่เกินอัตราที่กําหนดในข้อ ๒๙ วรรคหนึ่ง และให้จ่ายเงินให้แก่ผู้ให้บริการสาธารณสุข ท่ีได้รับความเสียหายหรือทายาทตามข้อ ๒๙ วรรคสอง ให้คณะอนุกรรมการตามวรรคหน่ึง พิจารณาวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน และในกรณีท่ีมีเหตุผลความจาํ เป็น คณะอนุกรรมการไม่สามารถพิจารณาวนิ ิจฉัยภายในกาํ หนดเวลา ให้ประธานคณะอนกุ รรมการอนุมัตใิ ห้ขยายเวลาพจิ ารณาได้ไมเ่ กินสองครงั้ ครัง้ ละ ๓๐ วัน 411

ให้คณะอนุกรรมการแจ้งผลการวินิจฉยั ไปยงั ผูย้ นื่ คําร้อง เมื่อพิจารณาวินิจฉยั แล้วเสรจ็ ในกรณที ่ีผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ที่ได้รบั ความเสียหายหรือทายาททยี่ ืน่ คาํ รอ้ งไม่เห็นด้วยกบั ผลการพิจารณาวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการ ให้มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ซง่ึ คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตแิ ตง่ ตงั้ เพอื่ พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ชข้ี าด โดยใหย้ นื่ อทุ ธรณ์ ไปทค่ี ณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ ทั้งนี้ ต้องย่ืนอุทธรณ์ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันท่ีได้รับแจ้งผลการพิจารณาวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการ ขอ้ ๒๘ เมอ่ื มกี ารอทุ ธรณ์ ใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณม์ อี าํ นาจพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ชข้ี าดและหากเหน็ ดว้ ยกบั อทุ ธรณใ์ หอ้ นมุ ตั จิ า่ ยเงนิ ตามอตั ราทกี่ าํ หนดในขอ้ ๒๙ วรรคหนงึ่ และใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณาวินิจฉัยอุทธรณ์จ่ายเงินให้แก่ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายหรือทายาทตามข้อ ๒๙ วรรคสองหากไม่เห็นด้วยกบั อทุ ธรณใ์ หย้ กอุทธรณ์ คาํ วินจิ ฉยั ชี้ขาดของคณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัยอทุ ธรณใ์ หเ้ ปน็ ทีส่ ดุ ส่วนที่ ๒ หลกั เกณฑ์การจา่ ย ข้อ ๒๙ อัตราการจ่ายเงิน ให้คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยจ่ายเงินตามประเภทและระดับความรุนแรงของความเสยี หายทีเ่ กิดขึ้นจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ดังนี้ (๑) กรณีเสยี ชวี ติ หรือทพุ พลภาพอยา่ งถาวร หรือเจ็บปว่ ยเรือ้ รงั ที่ต้องไดร้ บั การรกั ษาตลอดชีวติและมผี ลกระทบอยา่ งรนุ แรงตอ่ การดาํ รงชวี ติ จา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลอื ไดต้ ง้ั แต่ ๒๔๐,๐๐๐ บาท แตไ่ มเ่ กนิ ๔๐๐,๐๐๐ บาท (๒) กรณีสูญเสียอวัยวะ หรือพิการที่มีผลกระทบต่อการดําเนินชีวิต จ่ายเงินช่วยเหลือได้ ต้ังแต่๑๐๐,๐๐๐ บาท แตไ่ มเ่ กนิ ๒๔๐,๐๐๐ บาท (๓) กรณีบาดเจบ็ หรอื เจบ็ ป่วยตอ่ เนื่อง จา่ ยเงนิ ช่วยเหลอื ไดไ้ มเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เมอื่ คณะอนกุ รรมการ หรอื คณะกรรมการพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณใ์ นกรณที มี่ กี ารอทุ ธรณ์ ไดพ้ จิ ารณาและอนุมัติเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้นให้แก่ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายหรือทายาทแล้ว ให้สํานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตดิ าํ เนินการโอนเงนิ จากกองทุนหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ให้หน่วยบรกิ าร สว่ นท่ี ๓ การรับเงนิ ของหน่วยบริการ ขอ้ ๓๐ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารซงึ่ ไดร้ บั เงนิ จากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ เปน็เงนิ ชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ แกผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ทไี่ ดร้ บั ความเสยี หายจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของหนว่ ยบรกิ ารตามหมวดนี้ นําเข้าบัญชีเงินรับฝากของหน่วยบริการเพื่อจ่ายให้แก่ผู้ให้บริการสาธารณสุข ท่ีได้รับความเสียหายหรือทายาทที่มสี ิทธิได้รับเงนิ ดงั กล่าว และให้หน่วยบริการออกหลักฐานการรับเงินไว้เพื่อการตรวจสอบ412

ส่วนท่ี ๔ การจ่ายเงนิ ชว่ ยเหลือเบือ้ งต้นและการรักษาเงนิ ของหน่วยบริการ ขอ้ ๓๑ ให้หนว่ ยบริการมีหนงั สอื แจง้ ผูใ้ ห้บรกิ ารสาธารณสขุ ทไ่ี ด้รบั ความเสียหายหรือทายาททย่ี น่ืคําร้อง ภายใน ๑๕ วันทําการ นับแต่วันท่ีได้รับหนังสือแจ้งการโอนเงินช่วยเหลือเบื้องต้นจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาตเิ พอ่ื ใหผ้ ยู้ นื่ คาํ ร้องขอรบั เงิน เม่ือหน่วยบริการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้ให้บริการสาธารณสุขท่ีได้รับความเสียหายหรอื ทายาทแล้ว ใหห้ น่วยบรกิ ารจดั เก็บหลกั ฐานการจ่ายเงินไว้ทีห่ นว่ ยบรกิ าร เพอ่ื การตรวจสอบ ข้อ ๓๒ ภายในระยะเวลา ๑ ปี นับแต่วันที่หน่วยบริการมีหนังสือแจ้งผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายหรือทายาทมารับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น หากผู้ให้บริการสาธารณสุขที่ได้รับความเสียหายหรือทายาทไมม่ ารับเงนิ ให้หนว่ ยบรกิ ารสง่ คนื เงนิ จํานวนดังกลา่ วใหแ้ กก่ องทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ บทเฉพาะกาล ข้อ ๓๓ เงินค่าใช้จ่ายเพ่ือการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามแผนงานหรือโครงการที่หน่วยบริการ เครือข่ายหน่วยบริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อผู้รับบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรอื หนว่ ยงานของรฐั ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหท้ าํ กจิ การในอาํ นาจหนา้ ทข่ี องสาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตไิ ดร้ บัหรือเงินค่าใช้จ่ายเพ่ือชดเชยค่าเส่ือมของส่ิงก่อสร้างและครุภัณฑ์ที่ใช้ในการบริการผู้ป่วยนอก บริการผู้ป่วยในและบรกิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกันโรคทห่ี น่วยบรกิ ารได้รับ แต่ยงั ไม่มีการดาํ เนนิ การก่อนวันท่ีประกาศฉบับน้ีใช้บังคับ ให้หน่วยบริการหรือหน่วยงานของรัฐจัดทําแผนงาน หรือโครงการเพื่อขออนุมัติภายใน ๑ ปี นับแต่วันท่ีประกาศน้ีมีผลใช้บงั คับ กรณีครบกําหนดเวลาตามวรรคหน่ึงแล้ว หน่วยบริการหรือหน่วยงานของรัฐยังไม่ดําเนินการหรือดาํ เนนิ การไม่แล้วเสร็จ ใหส้ ง่ เงินทเ่ี หลือคืนกองทุนหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ขอ้ ๓๔ ใหผ้ ใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ทไ่ี ดร้ บั ความเสยี หายจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของหนว่ ยบรกิ ารต้ังแต่วันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ มีสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามประกาศนี้ โดยผู้ให้บริการสาธารณสุขหรอื ทายาทต้องยน่ื คาํ ร้องขอรบั เงนิ ช่วยเหลือเบื้องต้น ภายใน ๑ ปี นับแต่วันทป่ี ระกาศนมี้ ผี ลใชบ้ ังคบั ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ปยิ ะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข 413

คาํ สงั่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๕๘/๒๕๕๙ เรื่อง การรับบริการสาธารณสขุ ของคนพิการ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติและกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกันสงั คม โดยที่รัฐบาลได้ตระหนักถึง ความรู้ ความสามารถ และศักยภาพของคนพิการในฐานะทรัพยากรบุคคลที่มีค่าของประเทศ ซึ่งรัฐสมควรจัดให้คนพิการได้รับการอํานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความช่วยเหลืออ่ืนจากรัฐ โดยเฉพาะการรับบริการสาธารณสุขท่ีมีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ เพ่ือคนพิการได้มีคุณภาพชวี ติ ทด่ี แี ละสามารถพึ่งพาตนเองได้ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว)พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงมีคาํ สงั่ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ นอกจากประโยชน์ทดแทนในฐานะผู้ประกันตนตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมแล้วใหค้ นพกิ ารตามพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ ทเี่ ปน็ ผปู้ ระกนั ตนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั สงั คม มสี ทิ ธไิ ดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ทมี่ มี าตรฐานและมปี ระสทิ ธภิ าพตามทกี่ าํ หนดไวใ้ นกฎหมายว่าด้วยหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติดว้ ย ประโยชนท์ ดแทนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั สงั คมตามวรรคหนง่ึ ไมร่ วมถงึ ประโยชนท์ ดแทนในกรณปี ระสบอนั ตราย หรอื เจ็บปว่ ยอนั มใิ ชเ่ น่ืองจากการทาํ งานตามมาตรา ๖๓ แห่งพระราชบญั ญตั ิประกันสงั คมพ.ศ. ๒๕๓๓ ซง่ึ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั ปิ ระกันสังคม (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อ ๒ ค่าใช้จ่ายเพ่ือการบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติท่ีจ่ายให้แก่คนพิการตามข้อ ๑ วรรคหนึ่ง ให้จ่ายจากกองทุนประกันสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ทั้งน้ีตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข ท่ีกระทรวงการคลังกําหนดภายในสามสบิ วันนบั แต่วนั ทค่ี ําส่งั นีม้ ีผลใชบ้ งั คบั มิให้นํามาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ในส่วนที่เป็นวัตถุประสงค์ของกองทนุ ประกนั สังคม มาใช้บังคบั กับการจ่ายเงินตามวรรคหนง่ึ ขอ้ ๓ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่คําสั่งนี้มีผลใช้บังคับ ให้สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลังกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงแรงงาน สาํ นกั งานหลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ดําเนินการในส่วนของตน หรือร่วมกันดําเนินการเพื่อให้คนพิการได้รับบริการสาธารณสขุ ตามคาํ สั่งนี้414

ขอ้ ๔ ในกรณเี หน็ สมควร ใหน้ ายกรฐั มนตรเี สนอใหค้ ณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ แกไ้ ขเปลยี่ นแปลงคําสั่งนีไ้ ด้ ขอ้ ๕ คําสัง่ นใี้ หใ้ ช้บงั คับต้ังแต่วันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป* สง่ั ณ วันที่ ๑๔ กนั ยายน พุทธศักราช ๒๕๕๙ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓๓ / ตอนพิเศษ ๒๐๗ ง / หนา้ ๑๖ / ๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๙ 415

คาํ สงั่ หวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๔๕/๒๕๖๐ เร่ือง แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ คําสัง่ หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๕๘/๒๕๕๙ โดยทสี่ มควรปฏริ ปู ระบบการชว่ ยเหลอื คนพกิ ารซงึ่ เปน็ ผปู้ ระกนั ตนตามกฎหมายวา่ ดว้ ย การประกนัสังคมให้สามารถเลือกรับบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึงได้โดยสะดวกตามความสมัครใจ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและสามารถพึ่งพาตนเองได้ดีย่ิงข้ึน ตลอดจนไม่เกิดอุปสรรคในการดํารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมของสังคม อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา ๒๖๕ ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ประกอบกบั มาตรา๔๔ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติโดยความเหน็ ชอบของคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ จงึ มคี าํ สั่งดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑ และข้อ ๒ ของคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๕๘/๒๕๕๙ เร่ือง การรับบริการสาธารณสุขของคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและกฎหมายว่าดว้ ยการประกันสังคม ลงวนั ที่ ๑๔ กนั ยายน พุทธศักราช ๒๕๕๙ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนี้แทน “ขอ้ ๑ นอกจากประโยชนท์ ดแทนในกรณปี ระสบอนั ตรายหรอื เจบ็ ปว่ ยอนั มใิ ชเ่ นอื่ งจาก การทาํ งานตามมาตรา ๖๓ แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ซง่ึ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัตปิ ระกนั สังคม(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ แลว้ ให้คนพิการตามพระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ซึ่งเป็นผู้ประกันตนตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม มีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติด้วย ท้ังน้ี ให้คนพิการดังกล่าวแสดงความประสงค์ใชส้ ทิ ธิเลือกรบั ประโยชนท์ ดแทนหรอื รับสทิ ธบิ รกิ ารสาธารณสขุ ไดเ้ พยี งสทิ ธิเดยี ว ในการเลอื กรบั สทิ ธติ ามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขทส่ี าํ นกั งานประกนัสังคมกําหนด โดยให้แสดงความประสงค์เลือกใช้สทิ ธหิ รือเปลี่ยนแปลงสิทธทิ ี่เลือกไดเ้ ป็นรายปี หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขตามวรรคสอง ต้องดาํ เนินการให้แลว้ เสร็จภายในสามสิบวนั นบั แต่วันท่ีคาํ ส่งั นม้ี ผี ลใชบ้ งั คับ ขอ้ ๒ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื การบรกิ ารสาธารณสขุ ทจ่ี า่ ยใหส้ าํ หรบั คนพกิ ารทเี่ ลอื กรบั สทิ ธิ ตามกฎหมายวา่ด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้จ่ายจากกองทุนประกันสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข ที่กระทรวงการคลังประกาศกําหนดภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีคําสั่งนี้มีผลใช้บังคับ โดยมิให้นํามาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ในส่วนท่ีเป็นวัตถุประสงค์ของกองทนุ ประกนั สังคมมาใช้บังคบั กบั การจ่ายเงิน416

ค่าใช้จ่ายสําหรับคนพิการท่ีเลือกรับสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม” ขอ้ ๒ ใหป้ ระกาศกระทรวงการคลงั เรอื่ ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไข การรบั บรกิ ารสาธารณสขุของคนพกิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั สงั คมและตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ท่ีออกตามคําส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๕๘/๒๕๕๙ เรื่อง การรับบริการสาธารณสุขของคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมลงวนั ที่ ๑๔ กนั ยายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ ยงั คงใชบ้ งั คบั ไดต้ อ่ ไปเทา่ ทไ่ี มข่ ดั หรอื แยง้ กบั คาํ สง่ั นี้ จนกวา่ จะมปี ระกาศที่ออกตามข้อ ๒ ของคําส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๕๘/๒๕๕๙ เร่ือง การรับบริการสาธารณสุขของคนพิการตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ลงวันท่ี๑๔ กันยายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ ซง่ึ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยคําสั่งนใ้ี ช้บงั คบั ขอ้ ๓ คําสง่ั น้ีใหใ้ ช้บงั คบั ต้งั แต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป* สัง่ ณ วนั ที่ ๒๕ ตุลาคม พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ / ตอนพิเศษ ๒๖๑ ง / หนา้ ๑๔ / ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๐ 417

คาํ สงั่ หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ ๔๑/๒๕๖๐ เร่ือง การบริหารจัดการยา เวชภัณฑ์ อวัยวะเทยี ม และอุปกรณท์ างการแพทย์ ตามโครงการพิเศษของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ โดยทก่ี ารบรหิ ารจดั การยา เวชภณั ฑ์ อวยั วะเทียม และอุปกรณท์ างการแพทย์ตามโครงการพเิ ศษของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติท่ีผ่านมา สามารถทําให้ผู้ป่วยกลุ่มต่าง ๆ เข้าถึงบริการ ทางการแพทย์ได้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วยท่ีจําเป็นต้องใช้ยาราคาแพงหรือต้องใช้ยาต้านพิษ ผู้ป่วยโรคไต อันเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการระบบดูแลผู้ป่วยและช่วยประหยัดงบประมาณทางการแพทย์ แต่เนื่องจากการดําเนินการดังกล่าวมีเหตุขัดข้องบางประการเก่ียวกับอํานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติและสาํ นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ รวมทง้ั การจ่ายเงินกองทนุ หลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ในการจัดหายาเวชภณั ฑ์ อวยั วะเทยี ม และอปุ กรณท์ างการแพทย์ ตามโครงการพเิ ศษทไี่ ดเ้ คยดาํ เนนิ การมาแลว้ เนอื่ งจากไดร้ บั การทักท้วงจากหน่วยงานที่มีหน้าท่ี ตรวจสอบ ซึ่งจะทําให้การเข้าถึงบริการทางการแพทย์ตามโครงการพิเศษดังกล่าวไมอ่ าจทําได้อย่างทั่วถึง เชน่ เคย ส่งผลกระทบต่อระบบบริการสาธารณสุขในภาพรวมของประเทศ ซ่ึงแมใ้ นปัจจบุ ันจะมคี วามพยายามในการแกไ้ ขปญั หาโดยเสนอใหม้ กี ารมอบอาํ นาจจากหนว่ ยบรกิ าร และมกี ารแตง่ ตงั้ คณะกรรมการร่วมระหวา่ งกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยบริการ เพ่อื ให้การจัดหาและบรหิ ารจัดการงบประมาณในการจัดหายาเวชภัณฑ์ อวัยวะเทียม และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ แต่จากการท่ีได้มกี ารดาํ เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอ่ื งมาเปน็ ระยะเวลานานแลว้ การทจี่ ะเปลย่ี นแปลงการบรหิ ารจดั การในระยะเวลาทเี่ หลอืในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ย่อมไมอ่ าจดาํ เนินการได้ จงึ จาํ เป็นต้องกาํ หนดมาตรการในการบริหารจดั การขึ้นเป็นพเิ ศษ เพอ่ื รองรบั การจดั หายา เวชภณั ฑ์ อวยั วะเทยี ม และอปุ กรณท์ างการแพทยต์ ามโครงการพเิ ศษดงั กลา่ วขา้ งตน้เพื่อมิให้งานบริการสาธารณสุขต้องหยุดชะงักหรือล่าช้าออกไปจนส่งผลกระทบต่อการให้บริการด้านสุขภาพของประชาชน อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๒๖๕ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ประกอบกบั มาตรา ๔๔ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแหง่ ชาตจิ งึ มีคําสั่ง ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมอบหมายให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติดําเนินการจัดหายา เวชภัณฑ์ อวัยวะเทียม หรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ เพื่อสนับสนุนให้แก่หน่วยบริการและเพื่อเป็นหลักประกันว่าหน่วยบริการจะมียา เวชภัณฑ์ อวัยวะเทียม หรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ท่ีจําเป็นและเพียงพอไว้ให้บริการประชาชน การจดั หาตามวรรคหนึ่ง ให้ดาํ เนินการโดยใช้วธิ ีการซอ้ื การซอ้ื เชื่อ หรือการยืม เฉพาะเทา่ ที่จําเป็นตามโครงการพิเศษจากองค์การเภสชั กรรม ตามทีไ่ ดเ้ คยดาํ เนินการมาแล้ว จนถงึ สน้ิ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐418

ข้อ ๒ ใหอ้ งคก์ ารเภสชั กรรมทข่ี ายหรอื ใหย้ มื ยา เวชภณั ฑ์ อวยั วะเทยี ม หรอื อปุ กรณท์ างการแพทย์ตามข้อ ๑ มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตามสัญญาหรือข้อตกลงหรือหนังสือยืมทจ่ี ัดทําไวก้ ับสํานกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ขอ้ ๓ ใหก้ ารจัดหาโดยการซอื้ การซอ้ื เชอ่ื การยมื การตรวจรบั การควบคุม และการจําหนา่ ยยาเวชภัณฑ์ อวยั วะเทียม หรืออปุ กรณ์ทางการแพทย์ เฉพาะทจ่ี ําเปน็ ตามโครงการพเิ ศษ ทีค่ ณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติหรือสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือองค์กรอ่ืนที่ได้รับมอบหมาย จากสํานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตไิ ดด้ าํ เนนิ การไปกอ่ นวนั ทค่ี าํ สงั่ นใ้ี ชบ้ งั คบั รวมทง้ั การจา่ ยเงนิ กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตเิ ปน็ คา่ ยา เวชภณั ฑ์ อวยั วะเทยี ม หรอื อปุ กรณท์ างการแพทย์ ตามเงอ่ื นไขทคี่ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตกิ าํ หนด ซงึ่ ไดด้ าํ เนนิ การไปแลว้ โดยเปดิ เผยและสจุ รติ ถอื เปน็ การปฏบิ ตั ติ ามอาํ นาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และเป็นค่าใช้จ่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติตามคําสั่งนี้ด้วย ข้อ ๔ ใหก้ ระทรวงสาธารณสขุ พจิ ารณาแกไ้ ขกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เพอื่ แกไ้ ขปญั หาในการจัดหายา เวชภณั ฑ์ อวัยวะเทียม และอุปกรณ์ทางการแพทย์ อย่างเป็นระบบในระยะยาวให้แลว้ เสรจ็โดยเรว็ รวมทง้ั จดั ใหค้ ณะกรรมการรว่ มระหวา่ งกระทรวงสาธารณสขุ และหนว่ ยบรกิ าร พจิ ารณากาํ หนดแนวทางการจัดหายา เวชภณั ฑ์ อวัยวะเทยี ม และอปุ กรณท์ างการแพทย์ ตลอดจนกําหนดมาตรการมใิ ห้นาํ เงินทไ่ี ด้รับจากการจัดหาไปใช้ในการอ่ืนนอกจากการจัดหาตามข้อ ๑ เพื่อให้การ ดําเนินการเป็นไปอย่างคุ้มค่า เหมาะสม โปร่งใสและมีประสิทธภิ าพ อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ระบบบรกิ าร สาธารณสขุ ของประเทศ ขอ้ ๕ ในกรณเี หน็ สมควรนายกรฐั มนตรหี รอื คณะรฐั มนตรอี าจเสนอใหค้ ณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติแก้ไขเปลย่ี นแปลงคําส่ังนไี้ ด้ ข้อ ๖ คําสั่งน้ีให้ใชบ้ ังคบั ตง้ั แต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป* สง่ั ณ วนั ท่ี ๑๓ กันยายน พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ* ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๓๔ / ตอนพเิ ศษ ๒๒๔ ง / หน้า ๑๘ / ๑๓ กนั ยายน ๒๕๖๐ 419

ประกาศกระทรวงการคลัง เรอ่ื ง หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไข คา่ ใช้จ่าย เพอ่ื การบรกิ ารสาธารณสขุ ท่จี ่ายใหส้ าํ หรับคนพกิ าร ทเ่ี ลอื กรบั สิทธิตามกฎหมายวา่ ด้วยหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยที่เป็นการสมควรให้มีการกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข การจ่ายเงินค่ารับบริการสาธารณสขุ ของคนพกิ าร ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั สงั คม ทไ่ี ปใชส้ ทิ ธริ บั บรกิ ารสาธารณสขุ และตามกฎหมายว่าด้วยหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๒ แห่งคําส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๕๘/๒๕๕๙เร่ือง การรับบริการสาธารณสุขของคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๙ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมตามคําส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ี ๔๕/๒๕๖๐ เร่อื ง แกไ้ ขเพ่ิมเติมคําส่งั หวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ ๕๘/๒๕๕๙ ลงวนั ที่ ๒๕ ตลุ าคม๒๕๖๐ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการคลัง จึงออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขคา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื การบรกิ ารสาธารณสขุ ทจี่ า่ ยใหส้ าํ หรบั คนพกิ ารทเี่ ลอื กรบั สทิ ธติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐” ข้อ ๒ ให้ยกเลกิ (๑) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไข การรับบรกิ ารสาธารณสขุของคนพิการ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๙ (๒) ประกาศกระทรวงการคลัง เรอ่ื ง หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไข การรบั บรกิ ารสาธารณสขุของคนพกิ าร ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั สงั คม และตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๖๐ ข้อ ๓ ประกาศฉบับนี้ให้ใชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วันท่ี ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เป็นต้นไป ขอ้ ๔ ให้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังรกั ษาการตามประกาศนี้420

หมวด ๑ บททว่ั ไป ข้อ ๕ ในประกาศน้ี “คนพกิ าร” หมายความวา่ คนพกิ ารตามพระราชบัญญตั สิ ่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการพ.ศ. ๒๕๕๐ ทเ่ี ปน็ ผปู้ ระกนั ตนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั สงั คม ซง่ึ เลอื กรบั สทิ ธบิ รกิ ารสาธารณสขุ ตามกฎหมายวา่ ด้วยหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ “คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื การบรกิ ารสาธารณสขุ ” หมายความวา่ เงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยของคนพกิ ารซง่ึ เปน็ ผปู้ ระกนั ตนตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ท่ีเลือกรับสิทธิบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ข้อ ๖ การเบกิ จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื การบรกิ ารสาธารณสขุ หรอื คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ทส่ี บื เนอ่ื งจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ นอกเหนอื จากทก่ี าํ หนดไวใ้ นประกาศนี้ หรอื ทกี่ าํ หนดไวแ้ ลว้ แตไ่ มส่ ามารถปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามประกาศนี้ ใหเ้ ปน็อํานาจของกระทรวงการคลังเป็นผูว้ ินจิ ฉยั หรืออนมุ ัติ โดยคาํ วนิ จิ ฉยั ของกระทรวงการคลังถือเปน็ ที่สดุ หมวด ๒ หลกั เกณฑ์การจา่ ย ข้อ ๗ ให้สํานักงานประกันสังคมโอนเงินค่าใช้จ่ายเพ่ือการบริการสาธารณสุขจากกองทุนประกันสังคมจํานวนหน่ึง ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพ่ือนําไปจัดบริการสาธารณสุขให้กับคนพิการแทนสํานักงานประกนั สังคม ขอ้ ๘ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจะจ่ายเงินตามข้อ ๗ ได้เฉพาะภายใต้ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุ ท่คี นพกิ ารมีสทิ ธไิ ดร้ ับตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ดังน้ี (๑) กรณีคนพิการเข้ารับบริการสาธารณสุขในหน่วยบริการประจํา ให้จ่ายในอัตราเช่นเดียวกับผ้มู สี ิทธิหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ (๒) กรณีคนพิการเข้ารับบริการสาธารณสุขในหน่วยบริการอื่นหรือสถานบริการ ให้จ่ายในอัตราเช่นเดยี วกบั คนพกิ ารท่ใี ช้สิทธหิ ลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ หมวด ๓ การจา่ ยเงนิ ขอ้ ๙ ในเดือนสิงหาคมของทุกปีงบประมาณ ให้สํานักงานประกันสังคมตกลงกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กําหนดวงเงินค่าใช้จ่ายเพ่ือการบริการสาธารณสุข เพ่ือนําไปใช้จัดบริการสาธารณสุขให้กับคนพิการในปีงบประมาณถัดไป ท้ังน้ี การทําความตกลงให้ทําเป็นหนังสือและลงลายมือช่ือของผู้มีอํานาจสําหรบั ใช้เป็นหลักฐานการจา่ ยเงินและรบั เงินของทงั้ สองหนว่ ยงาน 421

การกําหนดวงเงินค่าใช้จ่ายเพื่อการบริการสาธารณสุขตามวรรคหน่ึง ให้คํานึงถึงจํานวนการเพ่ิมหรอื ลดของคนพกิ าร ปรมิ าณการเขา้ รบั บรกิ ารสาธารณสขุ นอกหนว่ ยบรกิ ารประจาํ ความเสยี่ งของการเขา้ รบั บรกิ ารสาธารณสขุ และจํานวนเงินทเี่ หลอื จา่ ยตามข้อ ๑๔ (ถา้ มี) โดยใหน้ าํ วธิ กี ารจ่ายเงินตามระเบียบกองทนุ ประกนั สงั คมมาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม กรณีที่ค่าใช้จ่ายเพ่ือการบริการสาธารณสุขตามข้อ ๘ (๒) เกินวงเงินท่ีตกลงไว้ ให้สํานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตแิ จง้ จาํ นวนเงนิ ทย่ี งั ขาดอยใู่ หส้ าํ นกั งานประกนั สงั คมทราบ เพอ่ื โอนเงนิ เพมิ่ เตมิ ตามทไ่ี ด้รับแจ้ง ขอ้ ๑๐ การจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ การบรกิ ารสาธารณสขุ ตามประกาศนี้ ใหส้ าํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาตินําหลักเกณฑ์การจ่ายเงินท่ีออกโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง หลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขการรบั เงนิ การจา่ ยเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงินและรายการของคา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ งและจาํ เปน็ ตอ่ การสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารสาธารณสขุ และคา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม หมวด ๔ การรบั เงิน ขอ้ ๑๑ ใหส้ าํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เปดิ บญั ชธี นาคารพาณชิ ยห์ รอื ธนาคารทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึตามกฎหมายเฉพาะ ชื่อบัญชี “กองทุนค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสําหรับคนพิการ ซ่ึงเป็นผู้ประกันตนตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม” เพ่ือรับเงินค่าใช้จ่ายเพ่ือการบริการสาธารณสุขจากสํานักงานประกันสังคมโดยให้ออกหลกั ฐานการรับเงนิ ไว้ และจัดทาํ ทะเบียนคุมเงนิ ทีไ่ ดร้ บั เพอื่ ประโยชน์ในการตรวจสอบ ขอ้ ๑๒ เงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื การบรกิ ารสาธารณสขุ ทส่ี าํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ไดร้ บั ตามข้อ ๗ ถือเป็นเงินที่ได้รับโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนําไปใช้จัดบริการสาธารณสุขให้กับคนพิการ และให้จ่ายเงินหรือก่อหนผ้ี กู พนั ภายในวงเงินทไ่ี ด้รับ โดยไม่ตอ้ งนาํ สง่ คลงั เป็นรายไดแ้ ผน่ ดนิ ขอ้ ๑๓ ใหส้ าํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตจิ ดั ทาํ บญั ชกี ารรบั เงนิ การจา่ ยเงนิ ทไี่ ดร้ บั เงนิ จากสาํ นกั งานประกันสงั คม เพือ่ ใช้ในการตรวจสอบและประเมนิ ผลการทาํ งานตามแนวทาง การจดั ทาํ บัญชที ่ีสาํ นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาตถิ ือปฏบิ ตั ิ หมวด ๕ การเกบ็ รักษาเงนิ ข้อ ๑๔ ในกรณีท่ีมีเงินเหลือจ่ายให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เก็บรักษาเงินไว้โดยให้นําไปสมทบกบั วงเงินตามขอ้ ๙ เพือ่ ใช้ดําเนนิ การตามประกาศน้ใี นปีงบประมาณถดั ไป422

บทเฉพาะกาล ข้อ ๑๕ เงินค่าใช้จ่ายเพ่ือการบริการสาธารณสุขท่ีสํานักงานประกันสังคมโอนให้กับสํานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตติ ามขอ้ ๗ เพอื่ นาํ ไปจดั บรกิ ารสาธารณสขุ ใหก้ บั คนพกิ ารตามประกาศกระทรวงการคลงัเรอื่ ง หลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไข การรับบรกิ ารสาธารณสขุ ของคนพิการ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการประกันสังคมและตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ สําหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ซ่ึงต่อมาได้เลือกกลับมาใช้สิทธิรับประโยชน์ทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ให้ถือว่าเงินค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขท่ีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้รับ มีวัตถุประสงค์เพ่ือนําไปใช้จัดบริการสาธารณสุขให้กับคนพกิ าร และใหถ้ ือปฏิบตั ติ ามขอ้ ๑๑ ขอ้ ๑๒ ขอ้ ๑๓ และขอ้ ๑๔ ของประกาศนี้ ขอ้ ๑๖ ใหส้ าํ นกั งานประกนั สงั คมจา่ ยเงนิ ประโยชนท์ ดแทนตามเงอื่ นไขทก่ี ฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนัสงั คม ให้กบั สถานพยาบาลหรือคนพิการ แล้วแต่กรณี สําหรับคนพกิ ารที่ไดเ้ ข้ารับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายวา่ ด้วยการประกนั สังคม ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร เงือ่ นไข ดงั น้ี (๑) กรณีเข้ารับบริการสาธารณสุขก่อนวันท่ีคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๔๕/๒๕๖๐ เรื่อง แก้ไขเพ่ิมเติมคาํ สัง่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๕๘/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม๒๕๖๐ มผี ลใชบ้ งั คบั ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ามประกาศกระทรวงการคลงั เรอื่ ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไข การรบั บรกิ ารสาธารณสุขของคนพิการ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ถึงวันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ (๒) กรณีเข้ารับบริการสาธารณสุขต้ังแต่วันที่คําส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๔๕/๒๕๖๐ เรื่อง แกไ้ ขเพิ่มเติมคาํ ส่งั หวั หน้าคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ ๕๘/๒๕๕๙ ลงวนั ท่ี ๒๕ ตลุ าคม๒๕๖๐ มีผลใชบ้ ังคับ ให้ถอื ปฏิบตั ิตามประกาศฉบบั นไ้ี ด้จนถึงวนั ท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ขอ้ ๑๗ บรรดาข้อตกลง การดาํ เนนิ การทางการเงิน การบัญชี การตรวจสอบ ซึ่งได้ดาํ เนนิ การตามประกาศกระทรวงการคลงั เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไข การรบั บรกิ ารสาธารณสขุ ของคนพกิ าร ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ และที่แก้ไขเพ่ิมเติมไปแล้ว ยังคงใชบ้ ังคับไดต้ ่อไปโดยถอื เปน็ การดาํ เนนิ การตามประกาศฉบับนี้ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ อภิศักดิ์ ตนั ติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง 423

ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง กาํ หนดผู้ปว่ ยฉุกเฉิน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑และมาตรา ๓๓/๑ แหง่ พระราชบญั ญตั สิ ถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ซงึ่ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั สิ ถานพยาบาล(ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ โดยคาํ แนะนาํ ของคณะกรรมการสถานพยาบาลจงึ ออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกวา่ “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง กาํ หนดผู้ป่วยฉกุ เฉนิ ” ขอ้ ๒ ประกาศนีใ้ ห้ใชบ้ งั คับต้ังแต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป* ข้อ ๓ ให้ผู้ป่วยฉุกเฉินตามประกาศคณะกรรมการการแพทยฉ์ กุ เฉิน เร่ือง หลักเกณฑ์ การประเมินเพ่ือคัดแยกระดับความฉุกเฉินและมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามกฎหมายว่าด้วยการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นผู้ป่วยฉุกเฉินซึ่งจําเป็นต้องได้รับการรักษาพยาบาลโดยฉุกเฉินจากสถานพยาบาล ตามมาตรา ๓๖แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับท่ี ๔)พ.ศ. ๒๕๕๙ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ* ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๓๔ / ตอนพเิ ศษ ๙๔ ง / หน้า ๔ / ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐424

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงอื่ นไขการช่วยเหลอื เยยี วยาแกผ่ ู้ปว่ ยฉุกเฉิน การระดมทรพั ยากรและมีสว่ นรว่ มในการชว่ ยเหลือเยยี วยา และการจดั ใหม้ กี ารส่งตอ่ ผปู้ ่วยไปยงั สถานพยาบาลอนื่ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหน่ึงแห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑และมาตรา ๓๖ วรรคสามและวรรคส่ี แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยคําแนะนําของคณะกรรมการสถานพยาบาลจึงออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยฉุกเฉิน การระดมทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือเยียวยา และการจัดให้มีการสง่ ตอ่ ผ้ปู ว่ ยไปยงั สถานพยาบาลอนื่ ” ขอ้ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แต่วันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป * หมวด ๑ การชว่ ยเหลอื เยยี วยาแก่ผู้ป่วยฉุกเฉิน ข้อ ๓ เม่ือมีผู้ป่วยฉุกเฉิน ซึ่งหากปล่อยไว้เช่นน้ันจะเป็นอันตรายต่อชีวิต หรือการรุนแรงข้ึนของการบาดเจ็บ หรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินได้ ให้ผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการของสถานพยาบาล มีหน้าท่ีดําเนนิ การชว่ ยเหลอื เยยี วยาตามขนั้ ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการบริการตามลําดับความเร่งด่วนทางการแพทย์ฉุกเฉิน และเมื่อดําเนินการดังกล่าวแล้ว ให้แจ้งผลของการคัดแยกให้ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยทราบ กรณีท่ีมีปัญหาการวินิจฉัยในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตให้ปรึกษาศูนย์ประสานคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้ตลอดเวลายี่สิบส่ีช่ัวโมง เพ่ือดําเนินการวินิจฉัยโดยคาํ วนิ จิ ฉยั ของศนู ยป์ ระสานคมุ้ ครองสทิ ธผิ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤต ของสถาบนั การแพทยฉ์ กุ เฉนิ แหง่ ชาติ ใหถ้ อื เปน็ ทส่ี ดุ (๒) ผู้ป่วยฉุกเฉินต้องได้รับการบริการฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของสถานพยาบาลนั้นก่อนการส่งต่อ เว้นแต่มีผู้ประกอบวิชาชีพให้การรับรองว่าการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน จะเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันการเสยี ชีวติ หรอื การรุนแรงขึ้นของการเจ็บปว่ ยของผปู้ ว่ ยฉุกเฉนิ นนั้* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓๔ / ตอนพิเศษ ๙๔ ง / หน้า ๕ / ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๐ 425

(๓) การให้บริการต่อผู้ป่วยฉุกเฉินต้องเป็นไปตามความจําเป็นและข้อบ่งช้ีทางการแพทย์ฉุกเฉินโดยมใิ หน้ ําสทิ ธิการประกนั การข้นึ ทะเบยี นสถานพยาบาล หรือความสามารถในการรบั ผิดชอบค่าใชจ้ า่ ยของผู้ป่วยฉกุ เฉิน หรือเง่ือนไขใด ๆ มาเป็นเหตปุ ฏเิ สธผ้ปู ว่ ยฉุกเฉินใหไ้ มไ่ ด้รบั การบริการอย่างทนั ท่วงที นอกจากวรรคหนึ่งแล้ว สถานพยาบาลต้องกระทําการใด ๆ อันจะมีผลเป็นการควบคุม ระงับหรอื บรรเทาผลรา้ ยจากอนั ตรายและความเสยี หายที่เกดิ ขึ้นนั้นได้อย่างทนั ทว่ งทตี ามสมควรแก่กรณี ข้อ ๔ การตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินของผู้ป่วยตามข้อ ๓ (๑) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี (๑) ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤต ไดแ้ ก่ บคุ คลซง่ึ ไดร้ บั บาดเจบ็ หรอื มอี าการปว่ ยกะทนั หนั ซง่ึ มภี าวะคกุ คามต่อชีวิต ซึ่งหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์ทันทีเพ่ือแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด หรือระบบประสาทแล้ว ผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง หรือทําให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วย ฉุกเฉินน้ัน รุนแรงข้ึนหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนข้นึ ไดอ้ ย่างฉับไว ใหใ้ ช้สญั ลกั ษณ์ “สแี ดง” สาํ หรบั ผ้ปู ่วยฉกุ เฉินวิกฤต (๒) ผปู้ ว่ ยฉุกเฉนิ เรง่ ด่วน ได้แก่ บุคคลท่ีได้รบั บาดเจบ็ หรือมีอาการป่วยซึ่งมีภาวะเฉียบพลนั มากหรอื เจบ็ ปวดรนุ แรงอนั จาํ เปน็ ตอ้ งไดร้ บั ปฏบิ ตั กิ ารแพทยอ์ ยา่ งรบี ดว่ น มฉิ ะนน้ั จะทาํ ใหก้ ารบาดเจบ็ หรอื อาการปว่ ยของผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ นน้ั รนุ แรงขน้ึ หรอื เกดิ ภาวะแทรกซอ้ นข้ึน ซง่ึ ส่งผลใหเ้ สียชวี ติ หรอื พกิ ารในระยะต่อมาได้ ใหใ้ ช้สัญลกั ษณ์ “สีเหลอื ง” สําหรับผู้ป่วยฉกุ เฉนิ เร่งด่วน (๓) ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง ได้แก่ บุคคลซ่ึงได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยซ่ึงมีภาวะเฉียบพลันไม่รุนแรง อาจรอรับปฏิบัติการแพทย์ได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือเดินทางไปรับบริการสาธารณสุขด้วยตนเองได้แต่จําเปน็ ตอ้ งใชท้ รพั ยากรและหากปลอ่ ยไว้เกินเวลาอนั สมควรแลว้ จะทําใหก้ ารบาดเจบ็ หรืออาการปว่ ยของผ้ปู ่วยฉุกเฉนิ นั้นรนุ แรงขน้ึ หรอื เกิดภาวะแทรกซอ้ นขึ้นได้ ให้ใชส้ ญั ลักษณ์ “สเี ขยี ว” สําหรบั ผปู้ ่วยฉกุ เฉินไม่รุนแรง ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามแนวทางการปฏิบัติในการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ตามนโยบาย“เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกท่ี” กรณีการเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลเอกชนนอกคู่สัญญาสามกองทุนตามท่คี ณะกรรมการการแพทยฉ์ กุ เฉินกาํ หนด ขอ้ ๕ ให้สถานพยาบาลจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินตามข้อ ๓ (๑)ตลอดเวลา รวมทัง้ ควบคมุ และดูแลใหผ้ ู้ปฏิบัตกิ ารดาํ เนินการใหผ้ ปู้ ่วยฉุกเฉินได้รับการปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉิน ตามลําดบัความเรง่ ดว่ น ตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินประกาศกาํ หนด ขอ้ ๖ นอกจากการจัดให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการบริการตามข้อ ๓ แล้ว สถานพยาบาลต้องจัดให้ผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ ได้รับการบําบดั เจาะจงตามขดี ความสามารถอย่างทนั ทว่ งทดี ้วย ขอ้ ๗ ในกรณที ี่ผปู้ ่วยฉุกเฉินวิกฤต (สีแดง) ทไ่ี ด้รับการรกั ษาในสถานพยาบาลประเภทที่รบั ผปู้ ว่ ยไว้ค้างคืนผู้ใดเป็นผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมหรือกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน หรือจากส่วนราชการ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือรัฐวิสาหกจิ หรอื หนว่ ยงานอื่นของรฐั และเมือ่ ผนู้ ั้นไปรับบรกิ ารจากสถานพยาบาลประเภททีร่ ับผปู้ ่วยไว้ค้างคืนเมื่อใดแล้ว ให้สถานพยาบาลประเภทท่ีรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนแจ้งการเข้ารับบริการและให้เรียกเก็บค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขท่คี ณะรฐั มนตรีกาํ หนด426

หมวด ๒ การระดมทรัพยากรและมสี ่วนรว่ มในการชว่ ยเหลอื เยยี วยา ข้อ ๘ ให้ผรู้ บั อนุญาตและผดู้ าํ เนนิ การจัดหาทรพั ยากรด้านบุคลากร อุปกรณ์ เครื่องมือ เครอ่ื งใช้ยาและเวชภัณฑ์ ยานพาหนะให้เพียงพอและพร้อมต่อการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินตามมาตรา ๓๓/๑ ตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล หมวด ๓ การจัดใหม้ กี ารส่งต่อผปู้ ่วยไปยังสถานพยาบาลอ่นื ข้อ ๙ เมอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื เยยี วยาผปู้ ว่ ยตามหมวดหนงึ่ ถา้ มคี วามจาํ เปน็ ตอ้ งสง่ ตอ่ หรอื ผปู้ ว่ ยหรอืญาติผู้ปว่ ยมคี วามประสงค์จะไปรบั การรักษาพยาบาลที่สถานพยาบาลอ่นื ผรู้ บั อนุญาต และผู้ดาํ เนนิ การต้องจัดการใหม้ กี ารจดั ส่งตอ่ ไปยังสถานพยาบาลอน่ื ตามความเหมาะสม ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพให้การรับรองว่าการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินจะเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันการเสยี ชวี ติ หรอื การรนุ แรงขนึ้ ของการเจบ็ ปว่ ยของผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ นนั้ หรอื เกนิ ขดี ความสามารถตามนยั แหง่ ขอ้ ๓ (๒)ใหส้ ถานพยาบาลประเภททรี่ บั ผปู้ ว่ ยไวค้ า้ งคนื ดาํ เนนิ การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ตามมาตรฐานการสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยทกี่ ระทรวงสาธารณสุขประกาศกําหนด และให้สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนดําเนินการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินตามมาตรฐานการส่งต่อผปู้ ว่ ยทกี่ ระทรวงสาธารณสุขประกาศกําหนด โดยอนโุ ลม ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๕ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ 427

ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการกาํ หนดค่าใช้จา่ ยในการดําเนินการผ้ปู ่วยฉกุ เฉนิ วกิ ฤต ด้วยมาตรา ๓๖ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ กําหนดให้ค่าใช้จ่ายในการดําเนินการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยฉุกเฉิน การระดมทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือเยียวยาและการจัดให้มีการส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลอนื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทคี่ ณะรฐั มนตรกี าํ หนด ซงึ่ คณะรฐั มนตรใี นการประชมุเมอื่ วนั ที่ ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๐ มมี ตอิ นมุ ตั หิ ลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขการกาํ หนดคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาํ เนนิ การผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วิกฤตแลว้ เห็นควรประกาศให้ทราบเป็นการทว่ั ไป นัน้ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหน่ึงแห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการกําหนดคา่ ใช้จ่ายในการดําเนินการผูป้ ว่ ยฉุกเฉินวกิ ฤต” ขอ้ ๒ ประกาศนีใ้ ห้ใช้บงั คับตงั้ แต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๐ เป็นต้นไป ขอ้ ๓ ให้หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขการกาํ หนดค่าใชจ้ า่ ยในการดําเนินการผู้ปว่ ยฉกุ เฉินวิกฤตซง่ึ คณะรฐั มนตรีได้มมี ตเิ ห็นชอบแล้วเป็นไปตามแนบท้ายประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข428

หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขการกําหนดค่าใชจ้ ่ายในการดําเนนิ การผ้ปู ว่ ยฉกุ เฉินวิกฤต เพ่ือเป็นการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉิน กรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลให้มีความเหมาะสม เห็นควรกําหนดค่าใช้จ่ายในการดําเนินการให้มีความสอดคล้องกับสภาวการณ์ เป็นธรรมและสามารถใชบ้ ังคบั ทกุ ภาคส่วน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๖ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะรัฐมนตรีจึงกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการกําหนดค่าใช้จ่ายในการดาํ เนนิ การผู้ป่วยฉกุ เฉินวกิ ฤต ไว้ดังนี้ ข้อ ๑ ในหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขน้ี “คา่ ใชจ้ า่ ย” หมายความวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยทไี่ ดร้ บั การชดเชยจากการรกั ษาพยาบาล หรอื การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยฉุกเฉินวิกฤต ทป่ี รากฏตามบัญชีและอัตราคา่ ใช้จา่ ยแนบท้ายหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขนี้ “ผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ วิกฤต” หมายความวา่ ผ้ปู ว่ ยฉกุ เฉินวิกฤตตามกฎหมายว่าดว้ ยการแพทย์ฉุกเฉนิ “สถานพยาบาล” หมายความวา่ สถานพยาบาลประเภทที่รบั ผปู้ ว่ ยไว้คา้ งคืน ข้อ ๒ กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตให้สถานพยาบาลให้การรักษาพยาบาลโดยฉุกเฉินเพื่อให้พ้นจากอันตรายตามมาตรฐานวิชาชีพและขีดความสามารถของสถานพยาบาลโดยไม่มีเง่ือนไขในการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลเพ่ือไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการดูแลรักษา และให้สถานพยาบาลแจ้งต่อกองทุนของผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม หรือกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน หรือจากสว่ นราชการ หรอื องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ หรือรฐั วสิ าหกจิ หรือหน่วยงานอืน่ ของรัฐทราบโดยเร็ว ข้อ ๓ กรณที ม่ี ปี ญั หาการวนิ จิ ฉยั ในการคดั แยกผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตใหป้ รกึ ษาศนู ยป์ ระสานคมุ้ ครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้ตลอดเวลายี่สิบสี่ช่ัวโมง เพื่อดําเนินการวินิจฉัยโดยคาํ วนิ จิ ฉยั ของศนู ยป์ ระสานคมุ้ ครองสทิ ธผิ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤต ของสถาบนั การแพทยฉ์ กุ เฉนิ แหง่ ชาตใิ หถ้ อื เปน็ ทสี่ ดุ ขอ้ ๔ สถานพยาบาลต้องให้การดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตจนพ้นภาวะวิกฤตหรือ ถ้ามีความจาํ เปน็ ตอ้ งสง่ ตอ่ หรอื ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตหรอื ญาตมิ คี วามประสงคจ์ ะไปรบั การรกั ษาพยาบาลทสี่ ถานพยาบาลอนื่สถานพยาบาลต้องจัดการให้มีการจัดส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอ่ืนตามความเหมาะสมตามมาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานการส่งตอ่ ผูป้ ว่ ย ข้อ ๕ สถานพยาบาลจะได้รับค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนในช่วงเวลานับตั้งแต่รับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต จนถึงเวลาเจด็ สบิ สองช่ัวโมง ในอตั ราตามบญั ชีและอัตราคา่ ใช้จ่ายแนบท้ายหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเง่อื นไขนี้ ข้อ ๖ คา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กดิ ขนึ้ หลงั เวลาเจด็ สบิ สองชว่ั โมง นบั ตงั้ แตร่ บั ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤต ใหส้ ถานพยาบาลเรียกเก็บไปที่กองทุนของผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม หรือกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน หรือจากส่วนราชการ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือเรียกเก็บจากผู้ป่วย ท้ังนี้ ให้เป็นไปตามอัตราค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาลหรือตามขอ้ ตกลงระหวา่ งสถานพยาบาลกบั กองทนุ ของผมู้ สี ิทธิ 429

ขอ้ ๗ ให้สถานพยาบาลเรียกเก็บค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนภายในเวลาเจ็ดสิบสองชั่วโมงไปที่สํานักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติตามแนวทางการเรยี กเก็บทส่ี ํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกาํ หนด ข้อ ๘ ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตรวจสอบความถูกต้อง สรุปค่าใช้จ่ายและแจ้งให้กองทุนของผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือกฎหมายว่าด้วยประกนั สงั คม หรอื กฎหมายวา่ ดว้ ยเงนิ ทดแทน หรอื จากสว่ นราชการ หรอื องคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื รฐั วสิ าหกจิหรอื หนว่ ยงานอื่นของรฐั ทราบภายในสามสบิ วนั นบั ต้งั แตเ่ วลาทีไ่ ด้รบั เอกสารครบถว้ นแล้ว ข้อ ๙ ให้กองทุนของผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาตหิ รอื กฎหมายวา่ ดว้ ยประกนั สงั คม หรอื กฎหมายวา่ ดว้ ยเงนิ ทดแทน หรอื จากสว่ นราชการ หรอื องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ หรือรฐั วิสาหกิจ หรือหน่วยงานอืน่ ของรัฐ จา่ ยค่าใชจ้ ่ายในอตั ราตามบญั ชแี ละอัตราค่าใชจ้ า่ ยแนบท้ายหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอื่ นไขนใี้ หแ้ กส่ ถานพยาบาลภายในสบิ หา้ วนั นบั จากวนั ทสี่ าํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติแจ้งกองทุนของผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม หรือกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน หรือจากส่วนราชการ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรอื รฐั วสิ าหกจิ หรอื หนว่ ยงานอ่นื ของรัฐ ขอ้ ๑๐ ในกรณีทีม่ ีการส่งตอ่ ผปู้ ว่ ยฉุกเฉนิ วิกฤตจากสถานพยาบาลแห่งทห่ี นงึ่ ไปยังสถานพยาบาลแห่งท่ีสอง ภายในเวลาก่อนครบเจ็ดสิบสองช่ัวโมงนับต้ังแต่ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตเข้ารับการรักษาพยาบาลที่สถานพยาบาลแห่งที่หนึ่ง สถานพยาบาลแห่งที่สองจะได้รับค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนในช่วงเวลาตั้งแต่รับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตจนครบเจ็ดสิบสองชั่วโมง (โดยนับเวลาต่อเนื่องจากสถานพยาบาล แห่งที่หน่ึงรับ) ในอัตราตามบัญชีและอัตราค่าใช้จา่ ยแนบทา้ ยหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงือ่ นไขนี้ เวน้ แต่ (๑) กรณีสถานพยาบาลคู่สัญญาของสํานักงานประกันสังคม รับย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตในสังกัดของตนให้ปฏบิ ตั ิตามระบบของสํานกั งานประกนั สงั คม (๒) กรณีสถานพยาบาลคู่สัญญาของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติรับย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตทอ่ี ยู่ในความรบั ผิดชอบของตนให้ปฏิบัตติ ามระบบของสาํ นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (๓) กรณีสถานพยาบาลของรัฐ รับย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตซึ่งมีสิทธิตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ให้ดําเนินการตามแนวทางที่กรมบัญชีกลางกําหนด ขอ้ ๑๑ ในกรณที ผี่ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตสามารถยา้ ยสถานพยาบาลไดแ้ ตป่ ฏเิ สธไมข่ อยา้ ย ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิวิกฤตตอ้ งรบั ผิดชอบคา่ ใช้จ่ายทเี่ กิดข้ึนต่อไปเอง ข้อ ๑๒ กรณีหากมีความจําเป็น ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ดําเนินการทบทวนปรับปรุงบัญชีและอัตราตามขอ้ ๕ ขอ้ ๙ และขอ้ ๑๐ ทแี่ นบทา้ ยหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขนี้ ใหม้ คี วามเหมาะสมได้ โดยใหค้ าํ นงึ ถงึ ประโยชน์ท่ีผู้ป่วยฉุกเฉินจะได้รับเป็นสําคัญ ภายในสามปีหรือตามที่คณะกรรมการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลเหน็ สมควร ทง้ั น้ี ใหน้ าํ เสนอผลการทบทวนปรบั ปรงุ บญั ชแี ละอตั ราตามทแ่ี นบทา้ ยหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเง่ือนไขน้ี เพือ่ ใหค้ ณะรัฐมนตรีเห็นชอบด้วย430

ข้อ ๑๓ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขน้ี ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐เป็นตน้ ไปหมายเหตุ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถหรอื ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกนั ชีวติ ให้ใชส้ ิทธดิ งั กลา่ วกอ่ นหมายเหตุเพิ่มเติม : รายละเอียดในสวน บัญชีและอัตราคาใชจายแนบทาย หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการกําหนดคาใชจายในการดําเนินการผูปวยฉุกเฉินวิกฤต “เจ็บปวยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกท่ี” สามารถสบื คนไดจาก ราชกิจจานเุ บกษา เลมท่ี ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๙๔ ง (๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐) 431

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง สถานพยาบาลอน่ื ท่มี ลี กั ษณะเปน็ หน่วยบริการปฐมภูมิ หรอื เครือข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ทิ ่ไี ดร้ ับการยกเว้นตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล โดยที่เป็นการสมควรกําหนดสถานพยาบาลอ่ืนที่มีลักษณะเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิซึง่ ไดร้ ับการยกเว้นไมต่ อ้ งอยู่ในบังคบั ของพระราชบัญญตั ิสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ซงึ่ แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั สิ ถานพยาบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหน่ึงและวรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่งึ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญัติสถานพยาบาล (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ และมาตรา ๖ วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยคําแนะนําของคณะกรรมการสถานพยาบาลจงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง สถานพยาบาลอนื่ ทมี่ ลี ักษณะเปน็หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู หิ รือเครอื ข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ทิ ีไ่ ด้รบั การยกเวน้ ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล” ขอ้ ๒ ประกาศนีใ้ ห้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แต่วันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป * ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “การแพทย์ปฐมภูมิและบริการสาธารณสุข” หมายความว่า การดแู ลสุขภาพแตแ่ รกแบบองค์รวมผสมผสาน ตอ่ เนื่อง ทงั้ บรกิ ารเชงิ รุกเพื่อสร้างเสรมิ สขุ ภาพ บริการควบคมุ ปอ้ งกนั โรค คุ้มครองผบู้ รโิ ภค และปัญหาทค่ี กุ คามสขุ ภาพ บรกิ ารรกั ษาพยาบาลและฟน้ื ฟสู ขุ ภาพ สนบั สนนุ การจดั การสขุ ภาพตนเองและครอบครวั การดแู ลสขุ ภาพทบี่ า้ น ชุมชน และหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ รวมทงั้ การรับส่งต่อ “หน่วยบริการ” หมายความวา่ สถานพยาบาลตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาล “หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ”ิ หมายความวา่ หนว่ ยบรกิ ารทไ่ี ดข้ น้ึ ทะเบยี นไวต้ ามทกี่ ระทรวงสาธารณสขุหรอื หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องประกาศกําหนด “เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ” หมายความว่า หน่วยบริการที่รวมตัวกันและข้ึนทะเบียนเป็นเครอื ข่ายหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมติ ามท่กี ระทรวงสาธารณสขุ หรือหนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ งประกาศกําหนด ข้อ ๔ สถานพยาบาลอื่นซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ ต้องมีลักษณะของสถานพยาบาล ดงั ต่อไปน้ี (ก) เป็นสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและต้องได้รับใบอนุญาตใหป้ ระกอบกิจการสถานพยาบาลและใบอนุญาตใหด้ ําเนนิ การสถานพยาบาล* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓๕ / ตอนพเิ ศษ ๗๑ ง / หนา้ ๑๕ / ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๑432

(ข) ต้องได้ขึ้นทะเบยี นเป็นหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิหรือเครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ (ค) ตอ้ งใหบ้ รกิ ารดา้ นการแพทยป์ ฐมภมู แิ ละบรกิ ารสาธารณสขุ เพมิ่ เตมิ จากบรกิ ารทไี่ ดร้ บัอนญุ าตจากกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาล ขอ้ ๕ สถานพยาบาลอ่ืนตามข้อ ๔ ท่ีได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิแล้ว ให้ผู้รับอนุญาตแจ้งผลการขึ้นทะเบียนให้ผู้อนุญาตทราบ และให้ถือว่าสถานพยาบาลอื่นนั้นได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั สิ ถานพยาบาล (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ เฉพาะหลกั เกณฑแ์ ละเงอื่ นไขทกี่ าํ หนดในขอ้ ๖ ตามประกาศฉบับนี้ การย่ืนแบบแจ้ง ในกรุงเทพมหานครให้ย่ืน ณ สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สําหรับในจังหวัดอ่ืนให้ย่ืน ณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ท้ังน้ี อาจจัดให้มีการยนื่ แบบแจ้งผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ดว้ ยก็ได้ แบบการแจง้ และแบบรับแจง้ ใหเ้ ป็นไปตามแบบท่แี นบท้ายประกาศนี้ ขอ้ ๖ สถานพยาบาลอื่นตามข้อ ๕ ต้องจัดบริการตามลักษณะและเง่ือนไขการให้บริการของหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิหรือเครือข่ายหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ ดงั ต่อไปน้ี (๑) จัดบริการด้านการแพทย์ปฐมภูมิและบริการสาธารณสุขตามประเภทและขอบเขตของการบรกิ ารตามทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ หรอื หน่วยงานตามที่กฎหมายอ่นื ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกําหนด (๒) ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานของหนว่ ยบรกิ ารในการใหบ้ รกิ ารการแพทย์ปฐมภมู ิและบรกิ ารสาธารณสุขตามทีก่ ระทรวงสาธารณสุขหรอื หน่วยงานตามท่ีกฎหมายอื่นที่เก่ียวขอ้ งกําหนด (๓) จัดทําระบบข้อมูลและการรายงานผลการให้บริการแพทย์ปฐมภูมิและบริการสาธารณสุขเพื่อการตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานและการบริการตามที่กระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานตามท่ีกฎหมายอ่ืนที่เก่ยี วขอ้ งกาํ หนด (๔) การออกให้บริการด้านการแพทย์ปฐมภูมิและบริการสาธารณสุขนอกสถานท่ี ต้องให้บริการกับผ้ปู ่วยหรือผู้รบั บรกิ ารทีไ่ ดข้ นึ้ ทะเบยี นกับหน่วยบรกิ ารปฐมภูมนิ น้ั ๆ ข้อ ๗ ในกรณสี ถานพยาบาลอน่ื ตามขอ้ ๕ ถกู สงั่ เพกิ ถอนการขน้ึ ทะเบยี นของหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้สถานพยาบาลน้ันระงับการให้บริการด้านการแพทย์ปฐมภูมิและบริการสาธารณสุข และให้ผู้รับอนุญาตแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับทราบคําสั่งเพิกถอนการข้นึ ทะเบยี นของหนว่ ยบริการปฐมภูมิหรอื เครือข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ ใหน้ ําความในขอ้ ๕ วรรคสองและวรรคสามมาใช้บังคบั โดยอนุโลม ข้อ ๘ สถานพยาบาลอื่นซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑ ซงึ่ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัติสถานพยาบาล (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามประกาศนี้ ไมเ่ ปน็ การตัดอํานาจของพนักงานเจ้าหน้าท่ีในการที่จะเข้าไปตรวจสอบและควบคุมสถานพยาบาลเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบญั ญัตดิ งั กล่าว 433

ขอ้ ๙ หากปรากฏในภายหลังว่าสถานพยาบาลอื่นที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับท่ี ๔)พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามประกาศนี้ มีการใหบ้ รกิ ารที่มลี กั ษณะอนั น่าจะกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายแก่ผ้ใู ช้บริการ พนกั งานเจ้าหน้าท่ีมีอํานาจส่ังให้แก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมหรือส่ังให้ระงับหรือปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาท่ีกําหนดให้ หากยังมีการฝ่าฝืนคําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ดังกล่าว ให้ผู้อนุญาตมีอํานาจออกคําส่ังปิดสถานพยาบาลเป็นการช่ัวคราวหรืออาจสั่งเพกิ ถอนสถานพยาบาลน้นั โดยรฐั มนตรปี ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ปิยะสกล สกลสตั ยาทร รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ434

แบบแจง้ สพ.อ. ๕ เลขรับที่ .................................... วันที่ .......................................... ลงช่อื ........................ ผูร้ บั คาํ ขอแบบแจง้ สถานพยาบาลอื่นทีม่ ีลักษณะเป็นหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมซิ งึ่ ได้รบั การยกเวน้ ไม่ต้องอยู่ในบังคับ ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล เขียนที่ ................................................................วนั ท่ี ................. เดือน ........................... พ.ศ. .................... ขา้ พเจ้า............................................ โดย นาย/นาง/นางสาว ........................................................................................................................................................................................................................................................อายุ ............ ปี .........สญั ชาติ ........................อยูเ่ ลขที่ ......................ซอย...............................ตรอก .......................ถนน ..................................หมู่ท่ี ....................ตําบล/แขวง .................................. อาํ เภอ/เขต .................................จังหวดั .............................................................. โทรศัพท์ .........................................................................................ขอแจง้ สถานพยาบาลประเภท............................................เปน็ สถานพยาบาลอน่ื ทไ่ี ดข้ นึ้ ทะเบยี นหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ....จาก.................................................................เมื่อวันที่....................................โดยสถานพยาบาล .....................................................................................................ต้ังอยู่ท่ี ....................................ซอย ............................................... ตรอก ............................................. ถนน ................................... หมทู่ ี่ .................ตาํ บล/แขวง ........................................................................ อําเภอ/เขต ...................................................................จงั หวัด .................................................................. โทรศัพท์ .....................................................................................โดยขา้ พเจา้ ขอรับรองวา่ มี ผ้ปู ระกอบวิชาชีพหรอื ผู้ประกอบโรคศลิ ปะที่ปฏิบตั ิงาน ๑. แพทย์ ........................................ คน ๒. พยาบาล ........................................... คน ๓. ทันตแพทย์ ................................ คน ๔. เภสชั กร ............................................ คน ๕. นักกายภาพบําบัด ..................... คน ๖. นักเทคนคิ การแพทย์ ........................ คน ๗. แพทย์แผนไทย .......................... คน - เวชกรรมไทย ...................... คน - เภสชั กรรมไทย ........................... คน - การผดงุ ครรภไทย .............. คน - การนวดไทย ............................... คน - การแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย ....... คน ๘. แพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ........... คน ๙. ผู้ประกอบโรคศลิ ปะ (๑) กิจกรรมบาํ บดั ................... คน (๒) การแกไ้ ขความผดิ ปกตขิ องการสอ่ื ความหมาย .......... คน (๓) เทคโนโลยหัวใจและทรวงอก ........ คน (๔) รงั สีเทคนิค ........................................ คน (๕) จิตวทิ ยาคลินิกอก .............. คน (๖) กายอปุ กรณ์ ...................................... คน (๗) การแพทย์แผนจนี .............. คน (๘) อื่นๆ .................................................. คนเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารและเปิดให้บรกิ ารเวลาระหวา่ ง .................................................. น. (ลายมือช่ือ) .......................................... ผ้ยู ืน่ คําขอ ( ...........................................) ผ้มู อี าํ นาจสงู สดุ ของหนว่ ยงานน้ัน 435