Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Published by kc_studio, 2018-10-12 02:24:50

Description: กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

ข้อ ๕ หนว่ ยบรกิ ารทใี่ หก้ ารบรกิ ารทางการแพทยแ์ ผนไทยมสี ทิ ธเิ รยี กเกบ็ คา่ บรกิ ารจากหนว่ ยบรกิ ารประจำ� ครอบครัวของผมู้ ีสิทธิ หรือจากสำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ท่ีขึ้นทะเบยี นผมู้ ีสิทธิได้ในอตั ราดังตอ่ ไปนี้ (ก) การตรวจและการวนิ จิ ฉัยโรค ไมใ่ หเ้ รียกเกบ็ ค่าตรวจและวินจิ ฉัยโรค (ข) การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ให้เรียกเก็บในอัตราเหมาจ่ายสองร้อยบาท*ตอ่ ครงั้ ของการรับบรกิ าร ไม่วา่ ในครั้งนัน้ จะใหก้ ารบริการทางการแพทยแ์ ผนไทยหลายวธิ ีก็ตาม ข้อ ๖ หลักฐานในการเรียกเก็บค่าบริการทางการแพทย์แผนไทย ให้หน่วยบริการส่งหนังสือเรยี กเกบ็ ค่าบริการทางการแพทย์แผนไทยพร้อมด้วยหลกั ฐานดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) สำ� เนาบัตรประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ (ข) สำ� เนาหนังสอื ท่หี นว่ ยบรกิ ารส่งตวั ไปรับบรกิ าร ขอ้ ๗ ประกาศนใ้ี ห้มีผลใชบ้ ังคบั ต้ังแตว่ นั ที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๕ วนิ ัย วิรยิ ะกจิ จา ปลดั กระทรวงสาธารณสุข ประธานคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพ* “สองรอ้ ยบาท” ถกู แกไ้ ขโดยมติคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี ๓/๒๕๕๐ วนั ที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐36

ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เรือ่ ง ประเภทและขอบเขตของการบริการสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดประเภทและขอบเขตของการบริการสาธารณสุขที่บุคคลจะมีสิทธิไดร้ บั ตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสามแห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ก�ำหนดให้ยาต้านไวรัสเอดส์อยู่ในประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขท่ีผู้มีสิทธิจะมสี ทิ ธิไดร้ บั บริการจากหนว่ ยบริการ ข้อ ๒ ประกาศนใ้ี ห้มีผลใช้บงั คับต้ังแต่ วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ มงคล ณ สงขลา รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 37

ประกาศสำ� นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของการบริการสาธารณสขุ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ท่ีผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญัติหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) และมาตรา ๒๖ (๑๔)แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ในการประชมุ ครัง้ ท่ี ๑๑/๒๕๕๓ เมือ่ วนั ที่ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ สำ� นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติจงึ ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ กำ� หนดใหย้ าตามรายชอ่ื แนบทา้ ยประกาศน้ี อยใู่ นประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุทผ่ี มู้ ีสิทธจิ ะไดร้ ับตามพระราชบัญญตั ิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ข้อ ๒ ประกาศน้ีให้ใช้บงั คับ ตั้งแต่วนั ท่ี ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๓ วินยั สวัสดวิ ร เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ38

รายชอ่ื ยา แนบทา้ ยประกาศเรอื่ ง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2553 ลงวันท่ี 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 25531. กลมุ่ ยา Respiratory system จ�ำนวน 2 รายการคอืลำ� ดับ ช่ือยา รูปแบบยา บัญชี 1.1 Montelukast sodium Chewable tab (เฉพาะ 4 mg และ 5 mg), ค film coated tab (เฉพาะ 10 mg) บญั ชี ค เง่ือนไข ชนิด chewable tab เฉพาะ 4 mg ใช้ในเด็กอายตุ ง้ั แต่ 2-5 ขวบ ค�ำเตอื นและขอ้ ควรระวัง ควรติดตามอาการไมพ่ งึ ประสงค์ทาง neuropsychiatric จากการใชย้ าอย่างตอ่ เนือ่ งลำ� ดบั ชอ่ื ยา tab, cap รูปแบบยา 1.2 Codeine phosphate 10 mg + Glyceryl guaiacolate 100 mg2. กลมุ่ ยา Central nervous system ยาจิตเวช จำ� นวน 2 รายการคือล�ำดบั ชื่อยา รปู แบบยา บัญชี 2.1 Risperidone tab (ไมร่ วมชนิดละลายในปาก) ค เง่อื นไข (1) ไม่ควรใช้เป็นยาตัวแรกในการรกั ษา (2) ควรไดร้ บั การวนิ ิจฉัยและการรักษาเบอื้ งต้นโดยแพทย์ผเู้ ช่ียวชาญด้านจิตเวชศาสตร์ล�ำดับ ชื่อยา รูปแบบยา บญั ชี 2.2 Sertraline tab (เฉพาะ 50 mg) ค เง่ือนไข (1) ไม่ควรใชเ้ ป็นยาตวั แรกในการรกั ษา (2) ควรได้รบั การวินิจฉัยและการรักษาเบอื้ งต้นโดยแพทย์ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นจิตเวชศาสตร์ 39

3. กลมุ่ ยา Infections จำ� นวน 1 รายการคอืลำ� ดับ ช่อื ยา รูปแบบยา บัญชี 3.1 Levofloxacin hemihydrate tab (เฉพาะ 500 mg) ง เง่ือนไข (1) เปน็ second line drug ในการติดเชอ้ื Multidrug-resistant tuberculosis (MDR TB) (2) ใชส้ �ำหรบั รักษา moderate to severe community-acquired pneumonia และ lowerrespiratorytract infection ท่สี งสัย Drug Resistant S.Pneumoniae (DRSP) หรือ atypical pathogen (2.1) ใชเ้ ปน็ sequential therapy ต่อเนอ่ื งจากยาฉีด (switch therapy) (2.2) ใชร้ กั ษาผูป้ ว่ ยนอกกรณีท่ีใช้ macrolide ไม่ได้หรือไมไ่ ดผ้ ล (3) ใช้ส�ำหรบั รกั ษา acute bacterial rhinosinusitis ท่ีรักษาดว้ ย amoxicillin ขนาดสูงและกลุ่ม augmented penicillin หรอื cephalosporin หรือ macrolide ไมไ่ ดห้ รือไม่ได้ผล (ตรวจสอบ dose กอ่ นใช้) (4) ใช้กรณีพเิ ศษตามคำ� แนะนำ� ของแพทยผ์ ูเ้ ชย่ี วชาญด้านโรคตดิ เช้ือ4. กลุม่ ยา Endocrine system จำ� นวน 2 รายการคอืลำ� ดับ ชื่อยา รูปแบบยา บญั ชี 4.1 Diazoxide tab ง ยากำ� พรา้ เงอ่ื นไข (1) ใช้ส�ำหรับ persistent hyperinsulinemic hypoglycemia of infancy (PHHI หรือNesidioblastosis) (2) insulinoma ท่ีผา่ ตัดไม่ได้ลำ� ดับ ชื่อยา รูปแบบยา บัญชี 4.2 Hydrocortisone tab (as base), sterile pwdr (as sodium ก ชนิดเมด็ เปน็ ยากำ� พรา้ succinate), sterile susp (as acetate)5. กลุม่ ยา Nutrition and Blood 5.1 Whole Blood and blood products จ�ำนวน 7 รายการลำ� ดับ ช่อื ยา รปู แบบยา บัญชี 5.1.1 Packed red cell, leukocyte poor ก 5.1.2 Platelets concentrate, ก leukocyte depleted ก 5.1.3 Pooled platelets concentrate, leukocyte depleted, random donor40

ลำ� ดบั ชื่อยา รูปแบบยา บัญชี 5.1.4 Packed red cell, leukocyte ข depleted single donor 2 units เง่อื นไข ใช้เฉพาะผูป้ ว่ ยท่ีมีกลมุ่ เลือดหายาก Rh หรอื มคี วามจำ� เป็นต้องใช้เลอื ดเรง่ ด่วนแต่ขาดเลือดเทา่ นน้ัล�ำดับ ช่ือยา รปู แบบยา บัญชี 5.1.5 Platelets concentrate, leukocyte ข depleted, single donor เงอ่ื นไข ใช้เฉพาะผปู้ ว่ ยทม่ี ีกลมุ่ เลือดหายาก Rh หรือมคี วามจ�ำเป็นต้องใชเ้ ลือดเรง่ ด่วนแต่ขาดเลือดเท่านนั้ลำ� ดับ ชอ่ื ยา รปู แบบยา บัญชี 5.1.6 Packed red cell, leukocyte poor, ค irradiated เงอื่ นไข ใช้กบั ผู้ป่วยปลูกถา่ ยเซลลต์ น้ ก�ำเนิดเมด็ เลอื ดลำ� ดับ ชื่อยา รปู แบบยา บัญชี 5.1.7 Packed red cell, leukocyte depleted, ง irradiated เงอื่ นไข ใช้กบั ผูป้ ่วยปลกู ถ่ายเซลลต์ ้นก�ำเนดิ เมด็ เลอื ดท่ีเคยแพต้ ่อ Packed red cell, leukocyte poor,irradiated 5.2 Vitamin and mineral จ�ำนวน 5 รายการล�ำดับ ช่ือยา รปู แบบยา บัญชี 5.2.1 Folic acid tab (เฉพาะ 400 mcg และ 5 mg) ก 5.2.5 Potassium Iodide tab (เฉพาะ 150 mcg as iodine) ก เงอื่ นไข (1) ใช้สำ� หรบั เสริมไอโอดีนตลอดการตงั้ ครรภ์ (2) ใช้เสริมไอโอดนี ในช่วง 6 เดือนแรกของการให้นมบุตร (3) ห้ามใช้ในผูท้ ่ีมภี าวะไทรอยด์เป็นพิษ ค�ำเตอื นและข้อควรระวัง ควรติดตามเฝา้ ระวังภาวะไทรอยด์เป็นพิษ 41

ล�ำดับ ชอ่ื ยา รูปแบบยา บญั ชี 5.2.3 Ferrous salt + Folic acid tab (เฉพาะ 60 mg as iron + 400 mcg) ก บญั ชี เงื่อนไข ก ใชส้ �ำหรบั เสรมิ โฟเลทและธาตเุ หล็กตลอดการต้ังครรภ์ ค�ำเตือนและข้อควรระวงั บญั ชี ระมดั ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคธาลสั ซเี มีย กล�ำดบั ชื่อยา รูปแบบยา 5.2.4 Ferrous salt + Folic acid + tab (เฉพาะ 60 mg as iron + 400 mcg + Potassium Iodide 150 mcg as iodine) เง่อื นไข (1) ใชเ้ สริมธาตุเหล็ก โฟเลท และไอโอดนี ตลอดการต้งั ครรภ์ (2) หา้ มใชใ้ นผทู้ ม่ี ีภาวะไทรอยด์เป็นพษิ ค�ำเตอื นและข้อควรระวงั (1) ควรตดิ ตามเฝา้ ระวังภาวะไทรอยด์เป็นพิษ (2) ระมดั ระวงั การใช้ในผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียล�ำดับ ชอ่ื ยา รปู แบบยา 5.2.5 Iodine cap ค�ำเตอื นและขอ้ ควรระวงั (1) ควรใชเ้ ฉพาะในพน้ื ที่ทข่ี าดไอโอดนี สูงเท่านัน้ (2) อาจท�ำใหเ้ กิด iodine-induced thyrotoxicosis6. กลุ่มยา Ear, nose, oropharynx and oral cavity รายการยาสำ� หรบั การติดเชอ้ื ราในรหู ู (Drug used inotomycosis) จ�ำนวน 4 รายการคือล�ำดับ ชื่อยา รูปแบบยา บัญชี 6.1 Acetic acid ear drop (hosp) (เฉพาะ 2% in aqueous ก และ 2% in 70% alcohol) ก 6.2 3% Boric acid in 70% isopropyl alcohol ear drop (hosp) ก 6.3 Gentian violet solution (hosp) ข 6.4 Clotrimazole ear drop 42

7. กลมุ่ ยา Immunological products and vaccines จำ� นวน 2 รายการ คอืลำ� ดบั ชอื่ ยา Inj รูปแบบยา บัญชี 7.1 Diphtheria-Tetanus-Pertussis-Hepatitis Inj ก B vaccine ก 7.2 Influenza vaccine ชนิดวคั ซนี รวม 3 สายพันธุ์ (trivalent) เง่อื นไข (1) ผสู้ งู อายุท่ีมอี ายุมากกว่า 65 ปีทุกราย (2) ผู้ป่วยท่ีมีโรคเร้ือรังร่วมด้วย 7 โรค ได้แก่ โรคหอบหืด โรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง โรคไตวายโรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลอื ดสมอง และผูป้ ว่ ยมะเรง็ ทไี่ ดร้ บั การรกั ษาด้วยวิธีเคมบี ำ� บดั (3) บุคลากรดา้ นสาธารณสุขทม่ี คี วามเสีย่ งหมายเหตุ เง่ือนไข ค�ำเตือน และข้อควรระวัง ของรายการยา ก�ำหนดขึ้นเพ่ือให้สอดคล้องกับรูปแบบการประกาศบัญชียาหลักแห่งชาติ มใิ ห้ใช้เปน็ เหตผุ ลในการจำ� กดั สทิ ธิของผรู้ ับบริการ 43

ประกาศส�ำนักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เร่อื ง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ท่ีผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญัติหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) และมาตรา ๒๖ (๑๔) แห่งพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติในการประชุมคร้ังท่ี ๑/๒๕๕๔ เมอื่ วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๔ สำ� นักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ กำ� หนดใหย้ าตามรายชอื่ แนบทา้ ยประกาศนี้ อยใู่ นประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุทผ่ี ้มู สี ิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญตั หิ ลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใชบ้ ังคบั ตง้ั แตว่ ันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๔ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ วนิ ัย สวสั ดิวร เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ44

รายชอ่ื ยา แนบทา้ ยประกาศส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เร่อื ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวนั ท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔กลมุ่ ที่ ๑ ยาแผนไทยหรอื ยาแผนโบราณ ๑.๑ ยารกั ษากล่มุ อาการทางระบบไหลเวียนโลหติ (แกล้ ม) (๑) ยาหอมทพิ โอสถ ยาผง ยาเมด็ ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) (๒) ยาหอมเทพจิตร ยาผง ยาเม็ด ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) (๓) ยาหอมนวโกฐ ยาผง ยาเมด็ ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) (๔) ยาหอมบ�ำรงุ หวั ใจ ยาเมด็ (รพ.) ยาผง (รพ.) (๕) ยาหอมอินทจกั ร ์ ยาผง ยาเมด็ ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) ๑.๒ ยารักษากลมุ่ อาการทางระบบทางเดนิ อาหาร ๑.๒.๑ กล่มุ ยาขบั ลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ (๑) ยาธาตุบรรจบ* ยาแคปซลู ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.) (๒) ยาธาตุอบเชย ยาน้ำ� (รพ.) (๓) ยาเบญจกลู * ยาแคปซูล ยาชง ยาเมด็ ยาลกู กลอน ยาแคปซลู (รพ.) ยาชง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) (๔) ยาประสะกะเพรา ยาผง ยาเมด็ ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเมด็ (รพ.) (๕) ยาประสะกานพล ู ยาแคปซลู ยาผง ยาเมด็ ยาผง (รพ.) (๖) ยาประสะเจตพงั คี ยาแคปซลู ยาผง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) (๗) ยามันทธาตุ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) (๘) ยามหาจักรใหญ ่ ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเมด็ (รพ.) (๙) ยาวสิ มั พยาใหญ ่ ยาผง ยาลกู กลอน (๑๐) ยาอภยั สาล ี ยาแคปซูล ยาลกู กลอน ยาเม็ด 45

๑.๒.๒ กลมุ่ ยาบรรเทาทอ้ งผูก ยาแคปซูล ยาเมด็ (๑) ยาถา่ ยดีเกลอื ฝร่งั (๒) ยาธรณีสนั ฑะฆาต* ยาแคปซลู ยาผง ยาเมด็ ยาลูกกลอน ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ๑.๒.๓ กลุ่มยาแกท้ อ้ งเสยี (๑) ยาธาตบุ รรจบ* ยาแคปซูล ยาผง ยาลกู กลอน ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลกู กลอน (รพ.) (๒) ยาเหลอื งปิดสมทุ ร ยาเมด็ ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเมด็ (รพ.) ๑.๒.๔ กลมุ่ ยาบรรเทารดิ สีดวงทวารหนกั (๑) ยาผสมเพชรสังฆาต ยาแคปซูล ยาแคปซลู (รพ.) (๒) ยารดิ สดี วงมหากาฬ ยาแคปซูล ยาเมด็ ยาลกู กลอน ยาแคปซลู (รพ.) ๑.๓ ยารกั ษากลุ่มอาการทางสูตศิ าสตร์-นรเี วชวิทยา (๑) ยาประสะไพล ยาแคปซูล ยาผง ยาเมด็ ยาลกู กลอน ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.) (๒) ยาปลกู ไฟธาตุ* ยาแคปซลู (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.) (๓) ยาไฟประลยั กัลป์ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) (๔) ยาไฟห้ากอง ยาผง ยาเมด็ ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเมด็ (รพ.) (๕) ยาเลอื ดงาม ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) (๖) ยาสตรีหลงั คลอด ยาต้ม (รพ.) ๑.๔ ยาแก้ไข้ ยาผง (๑) ยาเขียวหอม ยาเมด็ (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาแคปซลู ยาผง ยาเมด็ (๒) ยาจนั ทนล์ ลี า ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเมด็ (รพ.) ยาแคปซลู ยาผง ยาเมด็ (๓) ยาประสะจันทน์แดง ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) ยาผง ยาเมด็ (๔) ยาประสะเปราะใหญ ่ ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) 46

(๕) ยามหานลิ แท่งทอง ยาเม็ด ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) (๖) ยาหา้ ราก ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ๑.๕ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดนิ หายใจ (๑) ยาแก้ไอผสมกานพล ู ยาลูกกลอน (รพ.) (๒) ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม ยาน�้ำ (รพ.) (๓) ยาแกไ้ อผสมมะนาวดอง ยาลกู กลอน (รพ.) (๔) ยาแกไ้ อพ้ืนบา้ นอีสาน ยานำ�้ (รพ.) (๕) ยาตรีผลา ยาชง ยาลูกกลอน ยาเมด็ ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.) (๖) ยาประสะมะแว้ง ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาลกู กลอน (รพ.) (๗) ยาปราบชมพทู วปี ยาแคปซูล (รพ.) ยาลกู กลอน (รพ.) (๘) ยาอ�ำมฤควาที ยาผง ยาลกู กลอน ยาผง (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.) ๑.๖ ยาบ�ำรงุ โลหติ ยาแคปซูล ยาผง ยาเมด็ (๑) ยาบำ� รุงโลหติ ยาแคปซลู (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) ๑.๗ ยารักษากลมุ่ อาการทางกลา้ มเนอื้ และกระดูก ๑) ยาสำ� หรบั รบั ประทาน (๑) ยากษัยเสน้ ยาลกู กลอน (รพ.) (๒) ยาแกล้ มอมั พฤกษ์ ยาผง (รพ.) (๓) ยาธรณสี ันฑะฆาต* ยาแคปซลู ยาผง ยาเมด็ ยาลกู กลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) (๔) ยาผสมโคคลาน ยาชง (รพ.) ยาต้ม (รพ.) (๕) ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ยาลูกกลอน (รพ.) (๖) ยาสหัศธารา ยาแคปซลู ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล (รพ.) ยาลกู กลอน (รพ.) ๒) ยาส�ำหรับใชภ้ ายนอก (๑) ยาข้ีผึ้งไพล ยาข้ีผง้ึ (รพ.) (๒) ยาประคบ ยาประคบสมนุ ไพร (สด/แห้ง) (รพ.) 47

๑.๘ ยาบ�ำรุงธาตุ ปรบั ธาตุ ยาชง (รพ.) (๑) ยาตรีเกสรมาศ ยาแคปซูล (รพ.) (๒) ยาตรีพิกัด ยาแคปซลู ยาผง ยาเม็ด ยาลกู กลอน (๓) ยาเบญจกลู * ยาแคปซลู (รพ.) ยาชง (รพ.) ยาเมด็ (รพ.) ยาแคปซูล (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.) (๔) ยาปลกู ไฟธาต*ุ กลุม่ ที่ ๒ ยาพัฒนาจากสมนุ ไพร ๒.๑ ยารกั ษากลมุ่ อาการของระบบทางเดินอาหาร (๑) ยากล้วย ยาผง (รพ.) (๒) ยาขมน้ิ ชนั ยาแคปซลู ยาแคปซูล (รพ.) ยาเมด็ (รพ.) (๓) ยาขิง ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล (รพ.) ยาผง (รพ.) ยาชง (รพ.) (๔) ยาชมุ เหด็ เทศ ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซลู (รพ.) ยาชง (รพ.) (๕) ยาฟ้าทะลายโจร* ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลกู กลอน ยาแคปซลู (รพ.) ยาลูกกลอน (รพ.) (๖) ยามะขามแขก ยาแคปซลู (รพ.) ยาชง (รพ.) ๒.๒ ยารกั ษากลมุ่ อาการของระบบทางเดนิ หายใจ (๑) ยาฟา้ ทะลายโจร* ยาแคปซลู ยาเมด็ ยาลูกกลอน ยาแคปซลู (รพ.) ยาลกู กลอน (รพ.) ๒.๓ ยารกั ษากลมุ่ อาการทางระบบผวิ หนัง ทิงเจอร์ (รพ.) (๑) ยาทิงเจอรท์ องพันชง่ั (๒) ยาทงิ เจอร์พล ู ทิงเจอร์ (รพ.) (๓) ยาบวั บก* ยาครีม ยาครีม (รพ.) (๔) ยาเปลอื กมังคดุ ยาน�ำ้ ใส (รพ.) (๕) ยาพญายอ ยาครมี ยาโลชัน สารละลาย (สำ� หรับป้ายปาก) ยาขีผ้ ้ึง (รพ.) ทิงเจอร์ (รพ.) สารละลาย (ส�ำหรับ ปา้ ยปาก) (รพ.) โลช่ัน (รพ.)48

๒.๔ ยารักษากลุม่ อาการทางกล้ามเน้ือและกระดูก ๑) ยาสำ� หรับรบั ประทาน (๑) ยาเถาวัลยเ์ ปรียง ยาแคปซูล (รพ.) ๒) ยาสำ� หรบั ใช้ภายนอก (๑) ยาพรกิ ยาเจล ยาครมี (รพ.) ยาเจล (รพ.) ยาข้ผี ้ึง (รพ.) (๒) ยาไพล ยาครีม (๓) ยาน้ำ� มันไพล ยานำ�้ มัน (รพ.) ๒.๕ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปสั สาวะ (๑) ยากระเจี๊ยบแดง ยาชง (รพ.) (๒) ยาหญ้าหนวดแมว ยาชง (รพ.) ๒.๖ ยาแกไ้ ข้ แก้ร้อนใน ยาแคปซลู (รพ.) ยาชง (รพ.) (๑) ยาบัวบก* ยาแคปซูล (รพ.) ยาชง (รพ.) (๒) ยามะระขีน้ ก ยาแคปซลู (รพ.) ยาชง (รพ.) (๓) ยาหญ้าปักก่ิง ๒.๗ ยาถอนพิษ เบอื่ เมา ยาแคปซลู (รพ.) ยาชง (รพ.) (๑) ยารางจืด ๒.๘ ยาลดความอยากบหุ ร่ี ยาชง (รพ.) (๑) ยาหญ้าดอกขาว หมายเหตุ ๑. รพ. หมายถึง เภสัชต�ำรับโรงพยาบาลจากสมุนไพร ๒. รูปแบบยา (รพ.) หมายถงึ รปู แบบยาทเี่ ป็นเภสชั ตำ� รับโรงพยาบาลจากสมนุ ไพร ๓. * เปน็ รายการยาทปี่ รากฏอยู่ในกลุ่มยาอื่นด้วย 49

ประกาศสำ� นกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ท่ีผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) และมาตรา ๒๖ (๑๔) แหง่ พระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ในการประชมุคร้ังท่ี ๑๑/๒๕๕๓ เม่ือวันท่ี ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ และคร้ังท่ี ๒/๒๕๕๔ เม่ือวันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔สำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยา Octreotide Sterile Solution อยู่ในประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขท่ผี ู้มีสทิ ธิจะไดร้ บั ตามพระราชบญั ญัตหิ ลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๒ ประกาศนใี้ ห้ใชบ้ ังคับ ตั้งแตว่ ันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ วนิ ยั สวสั ดิวร เลขาธิการสำ� นกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ50

ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เรือ่ ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ท่ีผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญัติหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) และมาตรา ๒๖ (๑๔) แหง่ พระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ในการประชมุครง้ั ท่ี ๒/๒๕๕๔ เมอื่ วนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ ครงั้ ที่ ๓/๒๕๕๔ เมอื่ วนั ท่ี ๑๔ มนี าคม ๒๕๕๔ และครงั้ ที่ ๕/๒๕๕๔เม่ือวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔ มอบหมายใหเ้ ลขาธกิ ารส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ท�ำหนา้ ท่แี ทนคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาตจิ งึ ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ให้บริการสาธารณสุขต่อไปนี้ อยู่ในประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขท่ีผู้มีสิทธิจะไดร้ ับตามพระราชบัญญัติหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๑) การปลกู ถา่ ยหวั ใจ (๒) การผ่าตดั ปลูกถ่ายตบั ในเด็กอายุไมเ่ กิน ๑๘ ปี ทม่ี ีภาวะตับวายจากภาวะทอ่ น้ำ� ดตี ับตีบตนัแตก่ ำ� เนิด หรอื ตบั วายจากโรคอน่ื ๆ ขอ้ ๒ ประกาศนใี้ หใ้ ช้บังคบั ต้งั แตว่ นั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ วนิ ัย สวัสดิวร เลขาธิการส�ำนกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ทำ� หน้าทีแ่ ทนคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ 51

ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ท่ีผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญัติหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) และมาตรา ๒๖ (๑๔) แหง่ พระราชบญั ญตั ิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในการประชมุ ครง้ั ที่ ๕/๒๕๕๓ เมอื่ วนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๓ และครั้งท่ี ๕/๒๕๕๔ เมอ่ื วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔มอบหมายให้เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ท�ำหน้าที่แทนคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ จึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ใหก้ ารรกั ษาผปู้ ว่ ยโรคจติ เวช กรณที ตี่ อ้ งรบั ไวร้ กั ษาเปน็ ผปู้ ว่ ยใน เกนิ กวา่ ๑๕ วนั อยใู่ นประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุ ทผี่ มู้ สี ทิ ธจิ ะไดร้ บั ตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๒ ประกาศนี้ใหใ้ ชบ้ ังคบั ตง้ั แตว่ ันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ วินัย สวัสดิวร เลขาธิการสำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ท�ำหน้าท่ีแทนคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ52

ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ท่ีผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) และมาตรา ๒๖ (๑๔) แหง่ พระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ในการประชมุคร้ังที่ ๙/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๕ ครั้งท่ี ๑๒/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ และคร้ังท่ี ๕/๒๕๕๔ เมื่อวันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔ มอบหมายให้เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติท�ำหน้าที่แทนคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ใหย้ าตามรายช่อื ยาฉบบั ท่ี ๑ และรายชือ่ ยาตามฉบบั ที่ ๒ แนบท้ายประกาศนี้ อยูใ่ นประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุ ทผี่ มู้ สี ทิ ธจิ ะไดร้ บั ตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๒ ยาตามรายชอื่ ยาฉบับท่ี ๑ แนบทา้ ยประกาศนี้ ใหใ้ ชบ้ ังคบั ตงั้ แตว่ ันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๕๕เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ยาตามรายชอ่ื ยาฉบบั ท่ี ๒ แนบทา้ ยประกาศนี้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ นั ที่ ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ วนิ ยั สวัสดวิ ร เลขาธิการสำ� นกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาต ิ ทำ� หน้าท่แี ทนคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 53

รายช่ือยาฉบับท่ี ๑ แนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอื่ ง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๖๑. กลุ่มยา Lipid – regulating drugsล�ำดับที่ ชื่อยา รปู แบบยา บญั ชี ๑ Atorvastatin Tab (เฉพาะ ๔๐ mg) ง เง่ือนไข ๑. ใช้ยา simvastatin ขนาด ๔๐ mg ติดต่อกัน ๖ เดือนแล้ว ยังไม่สามารถควบคุมระดับ LDL-Cได้ถงึ ค่าเป้าหมาย หรอื มีผลข้างเคียงก่อนครบเวลา ๖ เดือน หรอื ๒. ใชก้ บั ผู้ป่วยท่ีไม่สามารถใช้ simvastatin ได้๒. กลุม่ ยา Other antineoplastic drugsลำ� ดับท่ี ชอื่ ยา รปู แบบยา บญั ชี ๒ tretinoin (all-trans-Retinoic acid) cap งเ งอ่ื นไข : สำ� หรับการรกั ษาโรค acute promyelocytic leukemiaล�ำดบั ที่ ชื่อยา รูปแบบยา บญั ชี ๓ Tegafur-uracil cap : ๑๐๐ mg of tegafur and งเ งือ่ นไข : สำ� หรบั การรักษาผ้ปู ว่ ยมะเรง็ ล�ำไสใ้ หญ่ แบบ Adjuvant therapy ในระยะท่สี องล�ำดับที่ ชื่อยา รูปแบบยา บัญชี ๔ Thyrothropin alfa inj จ(๒) เงอ่ื นไข : ใชใ้ นภาวะ well differentiated thyroid cancer โดยมแี นวทางกำ� กบั การใชย้ าเปน็ ไปตามทบ่ี ญั ชยี าหลกัแห่งชาติกำ� หนดลำ� ดับที่ ชือ่ ยา รูปแบบยา บัญชี ๕ Oxaliplatin Sterile pwdr, sterile sol ง เงอ่ื นไข : รกั ษาผูป้ ว่ ยมะเรง็ ลำ� ไส้ใหญ่ แบบ Adjuvant therapy ใน ระยะทสี่ าม54

๓. กลมุ่ ยา non-antiretroviralsลำ� ดับที่ ช่อื ยา รปู แบบยา บัญชี ๖ Tenofovir disoproxil fumarate tab ง เง่อื นไข ส�ำหรบั ไวรัสตับอกั เสบบีเร้ือรงั กรณี - กรณี rescue ที่ด้ือต่อยาในกลุ่ม nucleoside analog (NRTI) โดยใช้เป็นยารักษาเสริมไมใ่ ชเ้ ปน็ ยาเดี่ยว - กรณีที่มี HBV DNA มากกว่า ๒,๐๐๐ copies/ml (๒๐๐ IU/ml) หลังรักษาด้วย NRTI๒๔ สัปดาห์๔. กลุ่มยา Other vasodilatorsลำ� ดบั ที่ ชอ่ื ยา รูปแบบยา บญั ชี ๗ Sildenafil tab ง เง่ือนไข ๑. ใช้สำ� หรบั PAH ที่เกดิ จากโรคหวั ใจแตก่ �ำเนิด (CHD) ชนิด systemic-to-pulmonary shunt หรือidiopathic pulmonary arterial hypertension (IPAH) หรอื PAH associated with onnective tissue disease(CNTD) และ ๒. อยู่ใน WHO Functional Clasificatin of PAH ตงั้ แต่ Class II และ ๓. ได้รบั การวนิ จิ ฉัยตามข้ันตอนวธิ ีทีป่ รากฏในเวชปฏบิ ัติ ๔. แนะน�ำให้หยุดยาเม่ือผลการประเมินทุก ๓ เดือน มีอาการทรุดลงอย่างต่อเน่ืองอย่างน้อย ๒ รอบการประเมิน เกณฑ์อาการทรดุ ลงหมายถงึ การตรวจพบอาการตอ่ ไปนี้อยา่ งน้อย ๒ ข้อ ๔.๑ progressive right heart failure ๔.๒ WHO functional classification เพ่ิมข้ึน ๔.๓ 6MWT ลดลงกวา่ เดิม ๒๕% ๔.๔ Echocardiography พบวา่ มีอาการทรุดลง๕. กลมุ่ ยารักษาอาการตดิ สุราล�ำดบั ท่ี ชื่อยา รูปแบบยา บัญชี ๘ Disulfuram tab ก๖. กลมุ่ ยา Viral Hepatitisลำ� ดบั ท่ี ชอ่ื ยา รูปแบบยา บัญชี ๙ Peginterferon alfa-2a sterile sol จ(๒) เงื่อนไข : ใช้รักษาโรคตับอักเสบเร้ือรังจากไวรัสตับอักเสบซี (genotype ๒, ๓) โดยมีแนวทางก�ำกับการใช้ยาเปน็ ไปตามทีบ่ ญั ชยี าหลกั แห่งชาติก�ำหนด 55

ล�ำดับท่ี ช่ือยา รปู แบบยา บัญชี ๑๐ Peginterferon alfa-2b sterile sol จ(๒) เงื่อนไข : ใชร้ กั ษาโรคตับอกั เสบเรือ้ รังจากไวรัสตับอกั เสบซี (genotype ๒,๓) โดยมแี นวทางก�ำกบั การใช้ยาเปน็ ไปตามทบ่ี ัญชียาหลกั แหง่ ชาติกำ� หนดล�ำดับที่ ชือ่ ยา รูปแบบยา บัญชี ๑๑ Ribavirin cap/tab ๒๐๐ mg จ(๒) เง่ือนไข : ใช้ร่วมกับ peginterferon ในการรักษาโรคตับอักเสบเรื้อรังจากไวรัสตับอักเสบซี(genotype ๒,๓) โดยมีแนวทางก�ำกบั การใชย้ าเป็นไปตามทบ่ี ญั ชยี าหลกั แห่งชาตกิ ำ� หนด๗. กลุม่ ยา antidotesลำ� ดบั ที่ ชอื่ ยา รูปแบบยา บญั ชี ๑๒ Polyvalent antivenom for hematotoxin inj ก ๑๓ Polyvalent antivenom for neurotoxin inj ก ๑๔ Dimercaprol inj ค เง่ือนไข : รักษาพษิ เฉียบพลันจากปรอท ทองแดง และสารหนูล�ำดับที่ ช่อื ยา รปู แบบยา บญั ชี ๑๕ Botulinum antitoxin inj ง เง่อื นไข : สำ� หรบั รักษาภาวะ botulismลำ� ดบั ที่ ช่อื ยา รปู แบบยา บัญชี ๑๖ Methylene blue inj ง เง่อื นไข : ใช้บำ� บัดภาวะ methemoglobinaemiaลำ� ดบั ที่ ช่ือยา รูปแบบยา บัญชี ๑๗ Succimer cap ง๘. กลุม่ ยา eyeลำ� ดับท่ี ชือ่ ยา รปู แบบยา บัญชี ๑๘ Bevacizumab sterile sol for inj จ(๒) เง่อื นไข : ๑. ใช้ในกรณี โรคจุดภาพชัดเสื่อมในคนสูงอายุชนิดเปียก (wet type of age-related macular degeneration, wet AMD) ๒. ใชใ้ นกรณี โรคจดุ ภาพชดั บวมน้�ำจากเบาหวาน (diabetic macular edema, DME)56

ล�ำดับท่ี ช่อื ยา รูปแบบยา บัญชี ๑๙ Cyclosporin Eye drop (hos) ง เงือ่ นไข : กรณตี าแหง้ รว่ มกับการอักเสบของพ้ืนผวิ กระจกตา๙. กลุ่มยา antifungal drugsล�ำดบั ท่ี ชอ่ื ยา รปู แบบยา บัญชี ๒๐ voriconazole tab จ(๒) ๒๑ voriconazole inj จ(๒) เงื่อนไข : ส�ำหรับการรักษาภาวะ invasive aspergillosis โดยมีแนวทางก�ำกับการใช้ยาเป็นไปตามบญั ชยี าหลกั แห่งชาติกำ� หนด๑๐. กลุ่มยา วัคซนีล�ำดับที่ ชอ่ื ยา รูปแบบยา บัญชี ๒๒ Influenza vaccine ชนดิ pandemic inj ก influenza สายพันธตุ์ ามท่ีองค์การอนามยั โลก ระบแุ ตล่ ะปี เงอื่ นไข : สำ� หรบั กรณที มี่ ีการระบาดของโรคลำ� ดบั ท่ี ชือ่ ยา รปู แบบยา บญั ชี ๒๓ Japanese Encephalitis vaccine inj ก ชนิด lived attenuated เง่ือนไข : กรณีท่ี Japanese Encephalitis vaccine ชนิด inactivated ขาดแคลนและเป็นไปตามขอ้ ก�ำหนดของ อย. และคณะกรรมการวคั ซนี แห่งชาติ๑๑. กลมุ่ ยา skinล�ำดับที่ ชอื่ ยา รูปแบบยา บญั ชี ๒๔ Permethrin 5% cream ก๑๒. กลุ่มยา Contraceptiveล�ำดับที่ ชอื่ ยา รปู แบบยา บัญชี ๒๕ Etonorgestrel Implant 68 mcg/rod ก๑๓. กลมุ่ ยา cardiolovascular systemลำ� ดับท่ี ชอื่ ยา รูปแบบยา บญั ชี ๒๖ Fondaparinux inj ง เงอ่ื นไข : ส�ำหรับรกั ษา Acute coronary syndrome ที่มแี ผนการรกั ษาแบบ conservative 57

รายช่ือยาฉบับที่ ๒ แนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เรอื่ ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุ (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖๑. กล่มุ ยา Drugs affecting the immune responseล�ำดบั ท่ี ชอื่ ยา รูปแบบยา บัญชี ๑ Antithymocyte immunoglobulin, Sterile powder, sterile inj จ(๒) rabbit (ATG) เงอื่ นไข ๑. ใชเ้ ปน็ first-line drug ในการรักษาภาวะ renal allograft acute rejection ๒. ใชก้ บั ผูป้ ว่ ยที่ไม่ตอบสนองต่อ pulse methylprednisolone ๓. ใช้เปน็ first-line drug ในการรักษา severe aplastic anaemia ๒. กลมุ่ ยา Metabolic disordersล�ำดับท่ี ชอ่ื ยา รูปแบบยา บัญชี ๒ lmiglucerase inj จ(๒) เง่อื นไข สำ� หรับโรค Gaucher’s disease type I เงอื่ นไขการส่งั ใช้ยาตามทบ่ี ญั ชียาหลักแห่งชาตกิ ำ� หนด๓. กล่มุ ยา Antibacterialล�ำดับท่ี ช่ือยา รูปแบบยา บัญชี ๓ Linezolid tab tab จ(๒) เงอ่ื นไข ส�ำหรับการักษาโรค โรคติดเชอื้ methicillin resistant S. aureus (MRSA) ที่ - ใชย้ า fusidic + rifampicin รกั ษาแล้ว เป็นเวลา ๒ สปั ดาห์ แล้วไม่ไดผ้ ลหรือ - มผี ลข้างเคียง vancomycin ท่ไี มส่ ามารถให้ยาตอ่ ไดแ้ ละไม่มียาอนื่ ทดแทนได้๔. กลมุ่ ยา antiretroviralsล�ำดบั ท่ี ชอ่ื ยา รปู แบบยา บัญชี ๔ Darunavir tab จ(๒) เง่ือนไข สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยเอชไอวี ทที่ นผลขา้ งเคยี งของ lopinavir+rotinavir ไมไ่ ด้ ตามรายละเอยี ดทคี่ ณะอนกุ รรมการดา้ นการพัฒนาและบรกิ ารผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ปว่ ยเอดส์ของสำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาตกิ �ำหนด58

๕. กลุ่มยา Malignant diseaseล�ำดบั ท่ี ชอ่ื ยา รูปแบบยา บญั ชี ๕ Docetaxel inj จ(๒) เงอ่ื นไข บญั ชี ๑. ส�ำหรับมะเร็งปอดชนดิ non-small cell ระยะลุกลาม ง ๒. ส�ำหรบั มะเร็งต่อมลกู หมากระยะแพรก่ ระจาย ๓. กรณีมะเรง็ เต้านมระยะแพร่กระจาย (metastatic breast cancer) บัญชี หรอื ระยะลุกลามเฉพาะที่ (locally advanced breast cancer) ก ๔. กรณีมะเรง็ เตา้ นมระยะเร่มิ ตน้ (Adjuvant therapy) ก ก๖. กล่มุ ยาต้านพิษท่ีบรหิ ารจดั การเปน็ ยาก�ำพรา้ ก ๖.๑ กลุ่มยา cardiolovascular system ก กล�ำดับที่ ชือ่ ยา รปู แบบยา ก ๖ Esmolol inj ก ก เงื่อนไข ส�ำหรบั รักษา Acute coronary syndrome ท่มี ีแผนการรกั ษาแบบ conservative๖.๒ กลมุ่ ยาต้านพิษงูลำ� ดบั ที่ ช่ือยา รปู แบบยา ๗ Polyvalent antivenum for hematotoxin inj ๘ Polyvalent antivenum for neurotoxin inj ๙ Serum แก้พิษ งเู ขยี วหางไหม ้ inj ๑๐ Serum แก้พษิ งกู ะปะ inj ๑๑ Serum แก้พิษ งูแมวเซา inj ๑๒ Serum แกพ้ ิษ งูจงอาง inj ๑๓ Serum แกพ้ ษิ งูเห่า inj ๑๔ Serum แก้พษิ งทู ับสมงิ คลา inj ๑๖ Serum แกพ้ ิษ งสู ามเหลี่ยม inj 59

ประกาศคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสุข (ฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข กรณีสิทธิการคลอดบุตร ทผี่ มู้ สี ทิ ธจิ ะได้รบั ตามพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) แหง่ พระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตกิ ารประชมุ คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี ๘/๒๕๕๘เมอ่ื วนั ท่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๕๘ จึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ให้การคลอดบุตรไม่จ�ำกัดจ�ำนวนครั้ง อยู่ในประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขที่ผู้มสี ิทธจิ ะไดร้ ับตามพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๒ ประกาศนี้ใหใ้ ชบ้ ังคับ ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๘ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ปิยะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ60

ประกาศคณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ท่ีผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญัตหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) แหง่ พระราชบญั ญัติหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตกิ ารประชมุ คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี ๑๐/๒๕๕๘เม่ือวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ จงึ ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ให้ยาตามรายชื่อแนบท้ายประกาศน้ี อยู่ในประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขทผี่ ้มู สี ิทธิจะไดร้ ับตามพระราชบญั ญัติหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๒ ประกาศนีใ้ หใ้ ชบ้ งั คับ ต้งั แต่วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๘ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 61

เอกสารแนบท้ายประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวันท่ี ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ล�ำดับ ชอ่ื ยา รปู แบบยา บญั ชี เงอื่ นไข ๑. Inactivated polio inj จ.๑ เป็นยาภายใต้โครงการกวาดล้างโปลิโอของประเทศไทย vaccine (IPV) oral sol, ตามนโยบายฉากสุดท้ายของการกวาดล้างโปลิโอในระดับ ๒. Poliomyelitis oral susp โลก พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓ โดยมีวิธีการใช้และการติดตาม cap ประเมนิ การใช้ยาเปน็ ไปตามที่กรมควบคมุ โรคกำ� หนด vaccine, live sterile ก เปน็ ยาภายใตโ้ ครงการกวาดลา้ งโปลโิ อของประเทศไทยตาม attenuated (OPV) pwdr นโยบายฉากสุดท้ายของการกวาดล้างโปลิโอในระดับโลก ชนดิ bivalent oral paste พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓ โดยมวี ธิ กี ารใชแ้ ละการตดิ ตามประเมนิ ๓. Procarbazine การใชย้ าเปน็ ไปตามทก่ี รมควบคุมโรคก�ำหนด ยากำ� พรา้ ง ๑. ใช้สำ� หรับ adjuvant / neo-adjuvant / recurrent ๔. Carmustine anaplastic oligodendroglioma ยาก�ำพร้า ๒. ใชใ้ นผู้ปว่ ย Hodgkin’s lymphoma ๕. Triamcinolone ง ใช้เป็นสว่ นประกอบของ conditioning regimen ในการ acetonide รักษา Hodgkin’s และ non-Hodgkin’s lymphoma ๖. Ispaghula Husk ดว้ ยวธิ ี hematopoietic stem cell transplantation (Psyllium Husk) ก ไมร่ ะบุ ๗. Permethrin ยากำ� พร้า granule ก ไมร่ ะบุ ๘. Permethrin ยากำ� พรา้ cream, ก ใชส้ �ำหรบั รักษาหิด และโลน ๙. Ivermectin lotion (๕%) ก ใชส้ �ำหรับรกั ษาเหา๑๐. Levetiracetam cream, ข รกั ษาโรคหิด ที่ใชย้ าทาไมไ่ ด้หรอื ไม่ได้ผล lotion (๑%) ง ๑. ไมใ่ ชเ้ ปน็ ยาตวั แรกในการรกั ษาตอ่ เนอื่ ง ยกเวน้ มปี ระวตั ิ๑๑. Phenol (Phenyl tab Alcohol) (ยาก�ำพรา้ ) concentrate แพย้ าหรอื ไมต่ อบสนองตอ่ ยาในกลมุ่ first generation คอื solution (for diazepam, lorazepam phenytoin sodium, pheno-๑๒. Alcohol (ethyl infusion barbital sodium และ sodium valproate alcohol) (ยาก�ำพรา้ ) ๕๐๐ mg/๕ ml. ๒. สั่งใชโ้ ดยแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญด้านประสาทวิทยาเทา่ นนั้ inj ง ใชใ้ นภาวะกล้ามเนอื้ หดเกร็ง (spasticity) inj ง ใชใ้ นกลา้ มเนอื้ เกรง็ ชนดิ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ภาวะกลา้ มเนอ้ื หดเกรง็ (spasticity), dystonia62

ลำ� ดับ ชอ่ื ยา รูปแบบยา บัญชี เงอ่ื นไข๑๓. Abacavir tab ง ๑. ใชใ้ นผปู้ ว่ ยทไ่ี มส่ ามารถใชย้ า tenofovir หรอื เกดิ ผลขา้ ง เคยี งตอ่ ไตทไี่ มส่ ามารถใชย้ าตอ่ ไปได้ (renal toxicity) หรอื มีผลตอ่ bone density ในเด็ก ๒. ใชใ้ นเด็กที่ตดิ เชอ้ื เอชไอวอี ายุ ๖ เดือนขึ้นไป ๓. มผี ลตรวจ HLA* ๕๗๐๑ เปน็ ลบ โดยมวี ธิ กี ารจา่ ยชดเชย ตามประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ๑๔. Rilpivirine tab ง ใชเ้ ปน็ ยาทางเลอื กในกรณที เี่ กดิ ผลขา้ งเคยี งทางจติ ประสาท ท่ีท�ำให้ไม่สามารถใช้ยา Efavirenz ได้ โดยมีวิธีการจ่าย ชดเชยตามประกาศสำ� นักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ๑๕. Tenofovir Disoproxil tab (๓๐๐+ ก ไม่ระบุ โดยมีวิธีการจ่ายชดเชยตามประกาศส�ำนักงานFumarate + ๒๐๐+๖๐๐ mg) หลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติEmtricitabine +Efavirenz๑๖. Tenofovir Disoproxil tab (๓๐๐+ ก ไม่ระบุ โดยมีวิธีการจ่ายชดเชยตามประกาศส�ำนักงานFumarate + ๒๐๐ mg) หลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติEmtricitabine๑๗. Abacavir + tab (๖๐๐+๓๐๐ ง ๑. ไมส่ ามารถใช้ยา tenofovir หรอื เกดิ ผลขา้ งเคียงตอ่ ไตLamivudine mg) ทีไ่ มส่ ามารถใชย้ าต่อไปได้ (renaltoxicity) ๒. มผี ลตรวจ HLA-B* ๕๗๐๑ เป็นลบ หมายเหตุ/ข้อแนะน�ำ ผู้ป่วยที่จะใช้ยาตัวนี้ควรมีค่า baseline viral load <๑๐๐,๐๐๐ HV-๑ RNA copies/ml (เน่ืองจากยาจะมีประสิทธิภาพน้อยกว่าเมื่อให้ในผู้ป่วยที่มี baseline viral load > ๑๐๐,๐๐๐ HIV-๑ RNA copies/ml) หรือเป็นไปตามแนวทางการตรวจรักษา และปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ เอชไอวใี นประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ ฉบบั พกพา โดยมีวธิ ีการจา่ ยชดเชยตามประกาศส�ำนักงาน หลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ๑๘. Triptorelin acetate inj ง รักษาผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมายระดับความเส่ียงปานกลาง๑๑.๒๕ mg หรอื (intermediate risk) ความเสย่ี งสงู และสงู มาก (high riskLeuprorelin acetate and very high risk) โดยมีแนวทางการส่ังใช้ตามท่ีเฉพาะขนาด ๑๑.๒๕ mg สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพประกาศไปพลางกอ่ นจนกวา่(DPS) หรอื ๒๒.๕ mg จะมีแนวทางก�ำกับการส่ังใช้จากคณะอนุกรรมการพัฒนา บญั ชยี าหลักแห่งชาติ 63

ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรื่อง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสขุ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ท่ีผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบญั ญัตหิ ลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสาม มาตรา ๑๘ (๓) (๑๔) และมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติในการประชมุ ครัง้ ท่ี ๑๑/๒๕๕๘ เมอ่ื วันท่ี ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘ จงึ ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศน้ี “สำ� นกั งาน” หมายความว่า ส�ำนักงานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ “คณะอนกุ รรมการ” หมายความวา่ คณะอนกุ รรมการทค่ี ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติแต่งตัง้ และมอบหมายใหป้ ฏบิ ัติหน้าทเี่ ก่ียวกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกนั โรค “การสร้างเสริมสุขภาพ” หมายความว่า บริการหรือกิจกรรมท่ีให้โดยตรงแก่บุคคล ครอบครัวหรอื กลุ่มบุคคล เพอ่ื สร้างเสริมความตระหนกั และขีดความสามารถของบคุ คลในการดแู ลสุขภาพของตนเอง “การป้องกันโรค” หมายความว่า บริการหรือกิจกรรมทางการแพทย์และสาธารณสขุ ท่ใี หโ้ ดยตรงแก่บคุ คล ครอบครัว หรอื กลุ่มบุคคล เพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ โรค ขอ้ ๒ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพและการปอ้ งกันโรค มขี อบเขตดงั น้ี (๑) การตรวจคัดกรองเพ่ือค้นหาภาวะเส่ียงต่อการเสียสุขภาพและศักยภาพท่ีเอื้ออ�ำนวยต่อการสรา้ งเสริมสุขภาพ (๒) การสร้างเสริมการปรับเปล่ียนพฤติกรรม การให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ การให้ความรู้และการสาธติ เพอื่ สรา้ งเสริมสุขภาพและปอ้ งกันโรค (๓) การสรา้ งเสริมภมู คิ ุม้ กัน การใช้ยา และการทำ� หตั ถการเพอ่ื สรา้ งเสริมสุขภาพและปอ้ งกนั โรค ท้ังนี้ไม่รวมถึงการเฝ้าระวังโรค และการป้องกันไม่ให้ผู้ท่ีป่วยมีอาการแทรกซ้อนหรือการชะลอความรุนแรงของการปว่ ย โดยใหถ้ ือวา่ บรกิ ารดังกล่าวเปน็ กิจกรรมดา้ นการรกั ษาพยาบาล ขอ้ ๓ ให้รายการบริการหรือกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ อยู่ในประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ที่ผู้มีสิทธิจะได้รับตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕64

ข้อ ๔ การเปลยี่ นแปลงรายการหรอื กจิ กรรมการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรคแนบทา้ ยประกาศนี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามท่คี ณะอนกุ รรมการหรือสำ� นกั งานประกาศกำ� หนด ข้อ ๕ ประกาศน้ี ให้ใช้บงั คับ ต้ังแต่บัดนี้ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ปยิ ะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 65

66 เอกสารแนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง ประเภทและขอบเขตของบรกิ ารสาธารณสขุ ฉบบั ที่ (๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันท่ี ๗ เมษายน ๒๕๕๙ รายการหรือกิจกรรมบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่ผู้มีสิทธิจะได้รับบริการ จัดแบ่งตามกลุ่มวัย ๕ กลมุ่ ประกอบด้วย กลมุ่ หญงิ ต้งั ครรภ์ กลุ่มเดก็ เลก็ อายุ ๐-๕ ปี กลมุ่ เด็กโตและวัยรนุ่ อายุ ๖-๒๔ ปี กลุ่มผู้ใหญ่อายุ ๒๕-๕๙ ปี และกล่มุ ผู้สงู อายุ ๖๐ ปขี ึ้นไป ท้ังนี้ การจัดบริการตามรายการบริการหรือกิจกรรมบริการ หน่วยบริการจะด�ำเนินการตามแนวทางหรือแนวเวชปฏิบัติ และมาตรฐานบริการที่ก�ำหนดโดยกรมวิชาการ ของกระทรวงสาธารณสุขหรือราชวิทยาลัยหรอื สมาคมวชิ าชพี ทเี่ กย่ี วขอ้ ง โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

๑. กล่มุ หญิงตั้งครรภ์ ลำ� ดับ รายการบรกิ าร กจิ กรรมส�ำคญั ทจ่ี ะได้รบั กลมุ่ เป้าหมาย ความถ่ี หมายเหตุ ๑ บรกิ ารฝากครรภค์ ุณภาพ - บริการฝากครรภ์คณุ ภาพตามแนวทางการดูแล หญิงตั้งครรภแ์ ละสามี - อยา่ งน้อย ๕ ครั้ง หญงิ ตัง้ ครรภ์แนวใหม่ขององคก์ ารอนามัยโลกหรอื (กรณีสามเี ฉพาะการคัด ๑) ครั้งท่ี ๑ อายคุ รรภ์ < ๑๒ สัปดาห์ ตามท่กี รมอนามัยแนะนำ� กรองและตรวจยนื ยนั โรค ๒) ครั้งที่ ๒ อายุครรภ์ ๑๓ - <๒๐ สปั ดาห์ - ประเมินความเสย่ี งตามเกณฑป์ ระเมินความเส่ยี ง โลหิตจางธาลัสซีเมยี และ ๓) ครั้งที่ ๓ อายคุ รรภ์ ๒๐ - <๒๖ สัปดาห์ ของหญงิ ตั้งครรภ์ (classifying form) เพ่อื พิจารณา การมสี ่วนรว่ มในการดแู ล ๔) ครั้งท่ี ๔ อายุครรภ์ ๒๖ - <๓๒ สัปดาห์ ใหด้ แู ลตามปกตหิ รือเป็นกรณพี ิเศษ ครรภ)์ ๕) ครงั้ ที่ ๕ อายคุ รรภ์ ๓๒ - ๔๐ สปั ดาห์ - การฝากครรภ์แต่ละครั้ง จะไดร้ บั บรกิ ารตามองค์ ขน้ึ ไป ประกอบพื้นฐานการดูแลหญิงตงั้ ครรภป์ ระกอบดว้ ย ๑) การทดสอบการตงั้ ครรภ์ ๒) การสอบถามขอ้ มูล ๓) การตรวจรา่ งกาย ๔) การประเมินสุขภาพจติ ๕) การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ๖) การประเมิน เพอ่ื การสง่ ตอ่ ๗) การใหก้ ารดแู ลรกั ษา ๘) การให้ ค�ำแนะนำ� ตอบค�ำถามและการนดั ครง้ั ตอ่ ไปและ ๙) การบนั ทึกข้อมูล ๑.๑ การทดสอบการต้ังครรภ์ - ตรวจปสั สาวะทดสอบการตง้ั ครรภ์ หญงิ ท่สี งสยั หรอื มอี าการ - อย่างน้อย ๑ คร้งั คลา้ ยต้ังครรภ์ ๑.๒ การสอบถามข้อมลู - สอบถามข้อมลู เก่ยี วกบั ประวตั สิ ว่ นตวั การเจ็บป่วย หญิงตั้งครรภ์ - ทุกครง้ั ที่เขา้ รับบรกิ าร ประวตั ทิ างสตู กิ รรม การตง้ั ครรภป์ จั จบุ ัน ๑.๓ การตรวจร่างกายและ - ช่ังน�ำ้ หนกั วัดสว่ นสูง วัดความดันโลหติ หญิงตั้งครรภ์ - ทุกคร้ังท่เี ข้ารบั บริการ การตรวจครรภ์ - ตรวจร่างกายทัว่ ไป ดูภาวะซีด อาการบวมและ - ทกุ ครง้ั ทเ่ี ขา้ รบั บรกิ าร อาการเตือนของโรคอื่นๆ - ตรวจครรภ์ วัดความสูงยอดมดลกู ประเมนิ อายคุ รรภ์ - ทุกครั้งที่เขา้ รับบรกิ าร67

68 ลำ� ดบั รายการบรกิ าร กจิ กรรมส�ำคัญทจี่ ะได้รบั กลุม่ เปา้ หมาย ความถ่ี - อยา่ งนอ้ ย ๑ ครง้ั - ตรวจสขุ ภาพช่องปาก ชว่ งฝากครรภค์ รง้ั ท่ี ๑ - อยา่ งน้อย ๑ ครั้ง - พบแพทยเ์ พ่อื ตรวจรา่ งกายทัว่ ไปและตรวจฟังเสยี ง - อยา่ งน้อย ๑ คร้งั การหายใจและเสยี งหายใจชว่ งฝากครรภค์ รัง้ ท่ี ๑ - ตรวจภายในเพอื่ ตรวจหาความผดิ ปกตแิ ละการ - อย่างนอ้ ย ๑ ครั้ง ตดิ เชื้อในชอ่ งคลอด เม่ือมีขอ้ บง่ ช้ีชว่ งฝากครรภ์ ครงั้ ท่ี ๑ หรอื ๒ - ทกุ ครัง้ ทเี่ ข้ารับบรกิ าร - ตรวจอลั ตราซาวด์ (ถา้ มี) เพือ่ ยนื ยนั อายุครรภ์ - อยา่ งน้อย ๕ ครัง้ จ�ำนวนทารก สัญญาณชีพ ช่วงฝากครรภ์ครั้งที่ ๑ หรือ ๒ - ๒ ครั้ง ๑.๔ การประเมนิ สุขภาพจติ - ประเมินความเครียด คัดกรองโรคซึมเศร้าและ หญิงตงั้ ครรภ์ - ๒ คร้งั ตามความสมคั รใจ ปญั หาการด่มื สุรา - ๑ ครงั้ ๑.๕ การตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิ - ตรวจปัสสาวะดว้ ยแถบตรวจ (multiple urine หญงิ ตงั้ ครรภ์ การที่จ�ำเปน็ dipstick) เพื่อตรวจหาการตดิ เช้อื แบคทเี รยี ในทาง เดนิ ปัสสาวะทไ่ี มม่ ีอาการไขข่ าว (โปรตนี ) และ น้�ำตาล - ตรวจคดั กรองโรคซิฟิลสิ (VDRL) ชว่ งฝากครรภ์ ครั้งที่ ๑ และ ๔ (อายคุ รรภ์ ๒๘ - ๓๒ สปั ดาห์) - ตรวจการติดเช้อื เอชไอวี (Anti-HIV) ช่วงฝากครรภ์ คร้งั ที่ ๑ และ ๔ - ตรวจคดั กรองการเป็นพาหะไวรัสตับอักเสบบี ชว่ งฝากครรภค์ รง้ั ที่ ๑

ลำ� ดบั รายการบรกิ าร กจิ กรรมส�ำคัญท่จี ะไดร้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย ความถ่ี หมายเหตุ ๑.๖ การใหก้ ารดูแล รักษา - อย่างนอ้ ย ๒ ครั้ง ปอ้ งกนั - ตรวจนับเมด็ เลอื ดอย่างสมบูรณ์ (CBC) หรือ - ๑ ครั้ง วัดระดบั ความเขม้ ข้นของเมด็ เลือดแดง (Hb) หรอื ปรมิ าตรเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (Hct) ชว่ งฝากครรภ์ - ๑ ครั้ง ครั้งที่ ๑ และ ๔ - ตรวจคัดกรองโรคโลหติ จากธาลสั ซีเมยี (MCV/ หญิงตง้ั ครรภ์และสามี - ๑ ครั้ง OF+DCIP) รายท่ีผลเปน็ บวกใหต้ รวจคัดกรองสามี - ๑ - ๓ ครง้ั แลว้ แต่กรณี ตอ่ ถา้ ผลเป็นบวกทัง้ คใู่ หส้ ่งเลือดตรวจยืนยัน Hb - ๑ ครั้ง typing/PCR เพ่อื ก�ำหนดคู่เสยี่ ง การตรวจวนิ จิ ฉัย69 ทารกในครรภแ์ ละยตุ กิ ารตั้งครรภ์ ช่วงฝากครรภ์ คร้งั ท่ี ๑ และ ๒ อยา่ งชา้ อายุครรภไ์ ม่เกิน ๒๔ สปั ดาห์ ท้ังนี้ตามแนวทางหรอื แนวเวชปฏิบตั ิท่ี ก�ำหนด - ตรวจคดั กรองภาวะดาวน์ รายทผี่ ลเปน็ บวกให้ หญิงต้ังครรภอ์ ายุ ตรวจวนิ ิจฉัยทารกในครรภแ์ ละยุติการต้ังครรภต์ าม ๓๕ ปีข้นึ ไป แนวทางเวชปฏบิ ตั ิชว่ งฝากครรภค์ รั้งท่ี ๑ และ ๒ อยา่ งชา้ อายุครรภ์ไม่เกิน ๒๔ สปั ดาห์ ทั้งนต้ี าม แนวทางหรอื แนวเวชปฏบิ ัติท่กี �ำหนด - ตรวจหมู่เลือด (ABO และ Rh) - ฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยกั (dT) ในรายทไ่ี ม่เคยได้ หญงิ ตง้ั ครรภ์ รบั วัดซนี น้ีมากอ่ น ฉดี ทันทที ฝี่ ากครรภ์คร้ังแรก โดยมรี ะยะห่าง ๐, ๑ และ ๖ เดอื นตามลำ� ดบั - ฉดี วคั ซนี ปอ้ งกันไขห้ วดั ใหญ่ตามฤดกู าลช่วงอายุ ครรภม์ ากกวา่ ๔ เดอื นข้ึนไป

70 ลำ� ดบั รายการบรกิ าร กจิ กรรมส�ำคัญทีจ่ ะไดร้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย ความถี่ หมายเหตุ - กนิ ยาเมด็ - รับยาเสรมิ ธาตุเหลก็ กรดโฟลิก ไอโอดนี กนิ ทุกวัน - กินทุกวนั ตลอดอายกุ ารต้ังครรภ์ ทมี่ ธี าตุเหลก็ ตลอดอายุการต้งั ครรภ์ - อยา่ งนอ้ ย ๑ คร้ัง elemental iron - ขัดและท�ำความสะอาดฟนั ช่วงฝากครรภค์ รงั้ ท่ี ๑ - ตามความจ�ำเปน็ ๖๐ มิลลกิ รมั หรอื ๒ (อายคุ รรภ์ไม่เกิน ๖ เดือน) กรดโฟลกิ ๔๐๐ - การดแู ลรกั ษาหากตรวจพบความผิดปกติรวมถึง ไมโครกรัม การแกไ้ ขภาวะทุพโภชนาการ ไอโอดีน ๑๕๐ ไมโครกรัม ๑.๗ การประเมนิ เพอ่ื การส่ง - ประเมนิ ความเสย่ี งตามเกณฑ์ ประเมินความเสี่ยง หญงิ ตัง้ ครรภ์ - ทกุ ครงั้ ที่เข้ารับบริการ ต่อ ของหญิงตงั้ ครรภ์ทุกครัง้ โดยพจิ ารณารว่ มกบั - ทกุ ครง้ั ท่ีเขา้ รบั บริการ หลกั ฐานที่พบจากการฝากครรภแ์ ตล่ ะครั้ง หากมี - อยา่ งนอ้ ย ๑ ครั้ง ความเส่ียงหรอื มีอาการผิดปกติท่เี กินขีดความ - ทุกครง้ั ทีเ่ ขา้ รับบรกิ าร สามารถของหน่วยบริการจะได้รบั การส่งไปต่อไปยัง - ทุกครั้งท่ีเข้ารบั บรกิ าร หนว่ ยบริการท่มี ีขดี ความสามารถสงู กวา่ ๑.๘ การใหค้ ำ� แนะน�ำตอบ - ค�ำแนะนำ� ทีจ่ �ำเปน็ สำ� หรับการดแู ลครรภ์และ หญิงต้งั ครรภแ์ ละสามี คำ� ถามและการนดั ครง้ั ต่อไป การคลอด การเลี้ยงลกู การวางแผนครอบครัว (เขา้ โรงเรยี นพอ่ แม่) - ค�ำปรึกษากอ่ น/หลงั การตรวจเลอื ดเอชไอวี โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ดาวน์ - คำ� แนะนำ� ส�ำหรับการตดิ ต่อกรณีมีเลือดออกปวด ทอ้ งหรือภาวะฉุกเฉนิ หรือต้องการค�ำแนะนำ� - ซักถามและตอบคำ� ถาม นดั ตรวจครัง้ ต่อไป

ลำ� ดบั รายการบริการ กจิ กรรมส�ำคัญท่จี ะได้รบั กลุม่ เปา้ หมาย ความถ่ี หมายเหตุ ๑.๙ การบนั ทกึ ขอ้ มูล - ๑ เลม่ - รบั สมุดบนั ทกึ สขุ ภาพแมแ่ ละเด็ก ๑ เลม่ และ หญิงตงั้ ครรภ์ - ทกุ ครั้ง ๒ บริการตรวจหลงั คลอด นำ� สมุดบันทกึ มาด้วยทกุ ครง้ั ทรี่ บั บรกิ าร - ตามแนวทางท่กี รมอนามัยก�ำหนด - ผู้ให้บริการบันทึกขอ้ มลู ในสมุดบันทกึ สุขภาพและ อย่างน้อย ๓ คร้งั ๓ บริการเยี่ยมบ้าน เวชระเบยี นให้ครบถ้วน ๑) ครง้ั ท่ี ๑ หลงั คลอดไม่เกิน ๗ วนั - บริการตรวจหลังคลอด หญงิ หลังคลอด ๒) ครั้งท่ี ๒ หลักคลอด ๘ - ๑๕ วนั ๓) ครัง้ ที่ ๓ หลังคลอด ๑๖ - ๔๒ วัน - การสอบถาม ชง่ั น้�ำหนัก วดั ความดนั โลหิตตรวจ - ทุกครง้ั ท่เี ข้ารบั บรกิ าร ร่างกายทวั่ ไปและตรวจภายในเฉพาะทมี่ ีข้อบ่งช้ี ทางคลนิ ิก - อย่างนอ้ ย ๑ ครง้ั - ตรวจคดั กรองโรคซมึ เศรา้ หลังคลอด - ตามความสมัครใจ - ค�ำแนะนำ� และบริการวางแผนครอบครัวตามความ สมคั รใจ (ยากนิ /ยาฉดี คมุ กำ� เนิด ห่วงอนามยั ยาฝงั - ทุกครง้ั ทีเ่ ขา้ รับบรกิ าร คมุ ก�ำเนิด การท�ำหมัน) - กนิ ทุกวันเปน็ เวลา ๖ เดือน - คำ� แนะนำ� การให้นมแม่และการเลีย้ งดลู ูก ตามแนวทางท่กี รมอนามัยหรอื ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง - ยาเสรมิ ธาตเุ หลก็ กรดโฟลกิ ไอโอดนี ทุกวนั ก�ำหนด หลงั คลอดเป็นเวลา ๖ เดอื น - บรกิ ารเยยี่ มบ้านหญงิ ตง้ั ครรภ์และหญิงหลังคลอด หญิงตง้ั ครรภแ์ ละ หลังคลอด71

72 ลำ� ดับ รายการบรกิ าร กจิ กรรมสำ� คญั ทีจ่ ะไดร้ บั กล่มุ เปา้ หมาย ความถี่ หมายเหตุ ๔ บรกิ ารสง่ เสรมิ การใหน้ มแม่ - บรกิ ารส่งเสริมการใหน้ มแม่ของหญงิ หลงั หญิงหลังคลอดบตุ รและ ตามแนวทางท่กี รมอนามัยหรอื ที่เกยี่ วข้อง ในสถานทีท่ �ำงาน คลอดบุตรเม่อื ต้องกลบั ไปทำ� งานอยา่ งนอ้ ย ๖ เดือน เจา้ ของสถานประกอบ กำ� หนด โดยประสานกับเจ้าของประกอบการหรือสถานที่ การหรือที่ทำ� งาน ท�ำงานจดั ให้มชี ว่ งเวลาพักระหวา่ งงานสำ� หรบั การให้ นมหรอื ปั๊มเก็บน้�ำนม รวมถึงการอ�ำนวยความสะดวก ดา้ นสถานที่และอปุ กรณ์ ๒. กลุ่มเด็กเล็กอายุ ๐ - ๕ ปี กิจกรรมสำ� คัญท่ีจะไดร้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย ความถี่ หมายเหตุ ล�ำดับ รายการบริการ - บรกิ ารคลินกิ สขุ ภาพเดก็ ประเมินสุขภาพและ เด็กแรกเกิด - ๕ ปี - ตามแนวทางปฏบิ ัติที่กรมวิชาการก�ำหนด ปญั หาทัว่ ไป ตรวจรา่ งกาย การวัดและประเมิน หรอื ตามกำ� หนดการดูแลสขุ ภาพเด็กไทย ๑ บรกิ ารส่งเสรมิ สุขภาพและ การเฝ้าระวังพฒั นาการและการคัดกรองทจี่ �ำเป็น โดยราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย ปอ้ งกนั โรคทั่วไป การแนะนำ� พ่อแม่ (การเล้ียงดสู ง่ เสรมิ ทกั ษะ ส่งเสริม พ.ศ. ๒๕๕๗ สุขนสิ ัยทดี่ ี การปอ้ งกันอุบัตเิ หตแุ ละลดความเสีย่ ง) ๒ บริการวติ ามินเค ซกั ถามและตอบคำ� ถาม/ช่นื ชมใหก้ �ำลงั ใจ นัดครงั้ ตอ่ ไป ๓ บริการคัดกรองภาวะพรอ่ ง - ฉดี หรอื กนิ วิตามนิ เค เด็กแรกเกดิ - อย่างน้อย ๑ ครั้ง - เจาะเลอื ดทารกแรกเกิดหลังคลอดอย่างนอ้ ย เด็กแรกเกิด - อยา่ งนอ้ ย ๑ ครัง้ ไทรอยดฮ์ อรโ์ มน ๔๘ ช่ัวโมง และสง่ ตรวจวัดระดบั ทเี อสเอช (TSH) - ตรวจยนื ยนั ๑ คร้ัง - รายทผ่ี ดิ ปกติได้รบั การตรวจวนิ ิจฉัยยืนยนั และ - ตรวจติดตามเปน็ ระยะ ได้รับการป้องกัน - ถ้าผดิ ปกติไดร้ ับการดแู ลติดตามต่อเน่อื งตาม แนวเวชปฏิบตั ิอยา่ งนอ้ ย ๓ ปี

ลำ� ดับ รายการบรกิ าร กิจกรรมส�ำคญั ทีจ่ ะได้รบั กล่มุ เป้าหมาย ความถ่ี หมายเหตุ ๔ บรกิ ารวคั ซีนป้องกันวณั โรค - ฉดี คร้ังเดียวเม่ือแรกเกิด เดก็ แรกเกิด - ๑ ครง้ั (BCG) ๕ บริการวัคซีนปอ้ งกันไวรสั ตบั - เขม็ ท่ี ๑ เมื่อแรกเกิด (ภายใน ๒๔ ชม.) เดก็ แรกเกดิ - ๑ เดือน - ๑ - ๒ คร้ังแลว้ แตก่ รณี อกั เสบบี (HB) - กรณที ีม่ ารดาเป็นพาหะตบั อักเสบบี ใหฉ้ ีดวคั ซีน HB แกเ่ ดก็ เพ่ิมอกี ๑ ครั้ง เม่อื อายุ ๑ เดอื น ๖ บรกิ ารวัคซนี ปอ้ งกนั คอตบี - เข็มท่ี ๑ เมื่ออายุ ๒ เดือน เดก็ อายุ ๒ เดือน - - ๓ ครัง้ บาดทะยกั และไอกรนชนิด - เขม็ ท่ี ๒ เมื่ออายุ ๔ เดือน ๖ เดือน ทงั้ เซลล์และตับอักเสบบี - เขม็ ท่ี ๓ เมื่ออายุ ๖ เดือน (DTwP-HB) บรกิ ารวคั ซีนปอ้ งกนั คอตีบ - กระตุ้นครง้ั ที่ ๑ เมอ่ื อายุ ๑๘ เดอื น เดก็ อายุ ๑๘ เดอื น - ๖ ปี - ๒ คร้ัง บาดทะยกั และไอกรนชนดิ - กระตุ้นครั้งท่ี ๒ เมือ่ อายุ ๔ - ๖ ปี ท้งั เซลล์ (DTwp) ๗ บรกิ ารวคั ซีนป้องกันโปลโิ อ - ครั้งที่ ๑ เมอ่ื อายุ ๒ เดือน เดก็ อายุ ๒ เดือน - ๖ ปี - ๕ ครง้ั ชนดิ กิน/ฉดี (OPV/IPV) - คร้ังที่ ๒ เมอ่ื อายุ ๔ เดือน และฉีดไอพวี ี ๑ เข็ม - ครงั้ ที่ ๓ เมอ่ื อายุ ๖ เดือน - กระตุ้นครั้งที่ ๑ เมื่ออายุ ๑๘ เดือน - กระตนุ้ ครั้งท่ี ๒ เมือ่ อายุ ๔-๖ ปี ๘ บรกิ ารวัคซนี ป้องกนั หดั - เข็มท่ี ๑ เม่อื อายุ ๙ - ๑๒ เดอื น เดก็ อายุ ๙ เดอื น - ๓ ปี - ๒ คร้งั หัดเยอรมัน และคางทูม - เขม็ ท่ี ๒ เมื่ออายุ ๒ ปี ๖ เดอื น (MMR)73

74 ลำ� ดบั รายการบรกิ าร กิจกรรมส�ำคญั ทจ่ี ะได้รับ กลุ่มเป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ ๙ บรกิ ารวคั ซนี ป้องกันไขส้ มอง กรณวี ัคซีน JE เช้อื ตาย เดก็ อายุ ๑๒ เดอื น - - ๒ - ๓ ครั้ง แล้วแตก่ รณี อกั เสบเจอี (JE) - เข็มที่ ๑ เมอ่ื อายุ ๑๒ เดือน ๓ ปี - เข็มที่ ๒ หา่ งจากเขม็ แรก ๔ สัปดาห์ - เขม็ ที่ ๓ เมือ่ อายุ ๒ ปี ๖ เดอื น กรณีวคั ซนี JE เชอ้ื เปน็ - เข็มท่ี ๑ เมือ่ อายุ ๑๒ เดอื น - เข็มที่ ๒ เมอื่ อายุ ๒ ปี ๖ เดอื น ๑๐ บรกิ ารวัคซนี ป้องกันไขห้ วัด - ฉีด ๒ ครง้ั หา่ งกันอย่างน้อย ๑ เดือนส�ำหรบั เดก็ ท่ี เดก็ อายุ ๖ เดือน - ๒ ปี - ๑ - ๒ ครงั้ แล้วแต่กรณี ใหญต่ ามฤดกู าล ไม่เคยฉีดมาก่อน - ฉดี ๑ คร้ังกรณีเคยฉดี ในปที ีผ่ ่านมา ๑๑ บรกิ ารคัดกรองโลหิตจาง - ตรวจนบั เมด็ เลือดอยา่ งสมบรู ณ์ (CBC) หรอื เด็กอายุ ๖ - ๑๒ เดือน - อยา่ งนอ้ ย ๑ ครั้งในแตล่ ะช่วงอายุ จากการขาดธาตุเหล็ก วัดระดับความเข้มขน้ ของเม็ดเลอื ดแดง (Hb) หรือ และอายุ ๓ - ๕ ปี - ๘ คร้ัง ปรมิ าตรเมด็ เลือดแดงอดั แนน่ (Hct) เด็กแรกเกิด - ๒ ปี - ตรวจครง้ั ที่ ๑ เมอ่ื อายุ ๖ - ๑๒ เดอื น - ตรวจคร้งั ท่ี ๒ เมือ่ อายุ ๓ - ๕ ปี - ดแู ลรกั ษาตอ่ เนอื่ งในรายท่ผี ดิ ปกติ ๑๒ บริการประเมินการเจริญ - วดั เสน้ รอบศีรษะทอ่ี ายแุ รกเกิด ๑, ๒, ๔, ๖, ๙, เติบโตของเดก็ จากการวัดเสน้ ๑๒, ๑๘ เดือน และ ๒ ปี รอบศีรษะเดก็

ล�ำดบั รายการบริการ กจิ กรรมสำ� คญั ทจี่ ะไดร้ บั กลุม่ เป้าหมาย ความถ่ี หมายเหตุ ๑๓ บริการตรวจคดั กรอง - อย่างน้อย ๑ คร้ังในแตล่ ะอายุ พอ่ แมจ่ ะได้รบั - ตรวจคัดกรองพัฒนาการเดก็ อายุ ๙, ๑๘, ๓๐ และ เด็กอายุ ๙, ๑๘, ๓๐ ค่มู ือเฝา้ ระวังและ พฒั นาการเด็ก ๔๒ เดือน และ ๔๒ เดือน - ๑ ครง้ั ตอ่ ปี สง่ เสริมพฒั นาการ - รายท่พี บว่ามีพัฒนาการช้าได้รบั การแก้ไขส่งเสริม เดก็ ปฐมวยั หรือ พัฒนาการตามแนวเวชปฏบิ ัติ คู่มอื ประเมินและ ส่งเสรมิ พัฒนาการ ๑๔ บรกิ ารคัดกรองภาวะสายตา - ตรวจคดั กรองการมองเห็นด้วยแผ่นวดั รูปภาพ เดก็ อายุ ๓ - ๕ ปี เด็กกลุ่มเสี่ยงแลว้ แต่กรณี ผดิ ปกติ ในเด็กอนบุ าล - สง่ ผลการตรวจคดั กรองไปทีส่ ถานพยาบาล ใกล้โรงเรียน - เด็กที่พบความผดิ ปกตขิ องการมองเห็นได้รบั การ นัดตรวจและรักษา ๑๕ บรกิ ารตรวจสุขภาพชอ่ งปาก - ตรวจสุขภาพชอ่ งปากและทาฟลูออไรด์วารน์ ซิ ใน เดก็ อายุ ๙ - ๖๐ เดือน - ๑ - ๒ ครัง้ ต่อปี แล้วแต่กรณี และการทาฟลูออไรด์วารน์ ิช เด็กกลมุ่ เสีย่ ง อายุ ๙, ๑๘, ๒๔, ๓๖ เดอื น ทุก ๖ เดือน และติดตามเดก็ จนถงึ อายุ ๖๐ เดือน - ๑ ครั้งตอ่ วันกรณี นน. < ๒,๕๐๐ กรัม ๑๖ บรกิ ารยานำ้� เสริมธาตุเหล็ก - เดก็ อายุตั้งแต่ ๒ เดือนทีน่ ้ำ� หนกั ตัวแรกคลอด เดก็ อายุ ๒ เดอื น - - ๑ ครั้งต่อสัปดาห์ กรณีอายุ ๖ เดอื น ข้ึนไป เพ่ือป้องกันโลหิตจางจากการ < ๒,๕๐๐ กรัมได้รับธาตเุ หลก็ ๑๒.๕ มิลลิกรมั /วัน ๕ ปี ขาดธาตุเหล็ก - เดก็ อายุ ๖ เดือน - ๒ ปี ไดร้ ับธาตเุ หลก็ ๑๒.๕ มิลลกิ รัม/สัปดาห์ - เด็กอายุ ๒ - ๕ ปี ไดร้ ับธาตุเหล็ก ๒๕ มลิ ลิกรมั / สัปดาห์75

76 ล�ำดบั รายการบริการ กิจกรรมสำ� คัญท่จี ะไดร้ ับ กลมุ่ เป้าหมาย ความถ่ี หมายเหตุ เดก็ แรกเกิด - - รบั ยาจนครบก�ำหนด หนว่ ยบรกิ ารขอรบั ๑๗ บริการยาตา้ นไวรัสเอดส์และ - รบั ยาต้านไวรสั เอดส์เพือ่ ปอ้ งกนั และรักษาในเด็ก ๑๘ เดอื น การสนับสนุนยา ตรวจการติดเชื้อเอชไอวี ทต่ี ดิ เช้อื และกลมุ่ เสี่ยงสูงที่คลอดจากแมท่ ่ตี ิดเชอ้ื และค่าใช้จ่ายได้ เอชไอวี - ตรวจอย่างนอ้ ย ๑ ครัง้ จากกองทนุ เอดส์ - ตรวจ พีซีอาร์ (PCR) ที่ ๑ เดือนและ ๒ เดือน - ๑ ครั้ง กรณรี กั ษาเบกิ ค่า - ตรวจการตดิ เชือ้ เอชไอวี เมอ่ื เด็กอายุ ๑๘ เดือน ใชจ้ า่ ยจากแต่ละ สิทธิการรักษา ๑๘ บริการนมผงทารกส�ำหรับ - รบั นมผงกินแทนนมแม่ กรณเี ด็กแรกเกิด เดก็ แรกเกิด - ๑๘ เดือน - ตามความต้องการจนถึงอายุ ๑๘ เดอื น หนว่ ยบรกิ ารขอรบั เด็กที่เกิดจากแมต่ ดิ เชือ้ ท่ีแม่ติดเชอ้ื เอชไอวี ทแ่ี มต่ ดิ เชอื้ ไอชไอวี การสนับสนนุ ได้ เอชไอวี - รับสมดุ บนั ทึกสุขภาพเดก็ (ใช้รว่ มกบั สมดุ บนั ทึก เด็กแรกเกิด - ๕ ป/ี - ๑ เล่ม จากกรมอนามัย สขุ ภาพแมแ่ ละเด็กสชี มพ)ู ผู้ปกครองเด็ก ผปู้ กครองและผู้ ๑๙ บรกิ ารสมดุ บนั ทึกสขุ ภาพ ใหบ้ ริการรว่ มกัน เดก็ บันทึกสุขภาพและ บรกิ ารสง่ เสรมิ ๒๐ บริการเยีย่ มบ้าน/ชมุ ชน - ให้บริการเย่ียมบ้าน/ชุมชน เด็กแรกเกิด - ๕ ปี ตามแนวทางทก่ี รมอนามยั หรือท่ีเก่ยี วขอ้ ง สขุ ภาพแลป้องกนั กำ� หนด โรคทีเ่ ด็กไดร้ บั อย่างต่อเนื่อง

๓. กล่มุ เด็กโตและวัยรุ่นอายุ ๖ - ๒๔ ปี ล�ำดับ รายการบรกิ าร กิจกรรมส�ำคัญทีจ่ ะได้รับ กลมุ่ เป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ ๑ บรกิ ารส่งเสรมิ สขุ ภาพและ - บริการซกั ประวัติ/สอบถาม ตรวจร่างกาย - เด็กโตและวยั รนุ่ ตามแนวทางปฏบิ ตั ิทก่ี รมวิชาการก�ำหนด ปอ้ งกนั โรคทัว่ ไป ประเมินสุขภาพกาย/สขุ ภาพจติ และปัญหาทัว่ ไป หรอื ตามก�ำหนดการดแู ลสขุ ภาพเด็กไทย ประเมนิ พฤติกรรมเสีย่ ง การคัดกรองท่จี �ำเปน็ โดยราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย การแนะนำ� พอ่ แม่ (การเลยี้ งดูส่งเสรมิ ทักษะ ส่งเสรมิ พ.ศ. ๒๕๕๗ สุขนสิ ยั ท่ดี ี การปอ้ งกนั อุบัตเิ หตแุ ละลดความเส่ยี ง) ซักถามและตอบคำ� ถาม/ชืน่ ชมให้ก�ำลังใจ ให้หมายเลข โทรศพั ทส์ ำ� หรบั ตดิ ตอ่ แกว่ ัยรนุ่ นดั ครง้ั ต่อไป ๒ บริการวัคซนี ป้องกนั วัณโรค - ฉีดวคั ซีนป้องกันวัณโรคในเดก็ อายุต่�ำกวา่ ๗ ปี - เด็ก ป.๑ หรืออายตุ ำ่� - ๑ ครัง้ (BCG) กวา่ ๗ ปีทไ่ี ม่เคยไดร้ ับ วัคซีนนี้ ๓ บริการวคั ซนี ปอ้ งกันคอตบี - ฉีดวัคซนี ป้องกันคอตีบ บาดทะยักในเดก็ อายุ - เดก็ อายุ ๑๒ ปี (ป.๖) - ๑ ครัง้ บาดทะยัก (dT) ๑๒-๑๖ ปี - กรณีเดก็ ป.๑ (อายุ ๖ - ๗ ป)ี ทไี่ มเ่ คยไดร้ บั วคั ซนี - เด็ก ป. ๑ (๖ - ๗ ปี) - แลว้ แตก่ รณี มากอ่ นหรอื ได้รับ DTwP ไม่ครบ ๕ ครง้ั ใหฉ้ ีด ท่ีไมเ่ คยได้รบั หรือไดร้ บั กระตุ้น ไม่ครบ ๔ บริการวดั ซีนป้องกนั โปลโิ อ - กรณีเด็ก ป.๑ (อายุ ๖ - ๗ ป)ี ทไี่ ม่เคยไดร้ บั หรอื ได้ - เด็ก ป. ๑ (๖ - ๗ ปี) - แล้วแต่กรณี ชนิดกิน (OPV) รับ OPV ไม่ครบ ๕ ครง้ั ให้กระตุ้น ทไ่ี ม่เคยได้รบั หรือไดร้ ับ ไม่ครบ ๕ บริการวัคซนี ปอ้ งกันหัด - กรณเี ด็ก ป.๑ (อายุ ๖ - ๗ ป)ี ที่ไมเ่ คยได้รับวัคซนี - เดก็ ป. ๑ (๖ - ๗ ปี) - แลว้ แตก่ รณี หดั เยอรมนั และคางทูม MMR หรอื ได้รับไมค่ รบ ๒ ครง้ั ใหฉ้ ีดกระต้นุ ท่ีไมเ่ คยได้รบั หรือได้รับ (MMR) ไมค่ รบ77

78 ลำ� ดับ รายการบริการ กิจกรรมสำ� คัญทจี่ ะไดร้ ับ กลุ่มเป้าหมาย ความถี่ หมายเหตุ ๖ บรกิ ารวัคซีนป้องกนั ไขห้ วัด - ฉีดวคั ซนี ปอ้ งกนั ไข้หวัดใหญ่ให้เดก็ โตและวัยรนุ่ - เดก็ โตและวัยรนุ่ ท่ีปว่ ย - ๑ - ๒ ครั้งแตป่ ีแลว้ แต่กรณี ใหญต่ ามฤดกู าล ท่ีปว่ ยด้วยโรคเรื้องรัง ด้วยโรคเรื้อรัง ๗ กลุม่ - เด็กอายตุ ำ�่ กว่า ๙ ปีท่ปี ่วยด้วยโรคเรือ้ รัง ถา้ ไมเ่ คย ไดแ้ ก่ เบาหวาน ไตวาย ฉดี มากอ่ น ฉีด ๒ คร้ังห่างกนั อย่างนอ้ ย ๑ เดือน ถา้ หอบหดื ปอดอดุ กน้ั เคยฉดี ปีท่ีผ่านมาแล้วให้ฉีด ๑ เข็ม เรอ้ื รงั หัวใจ หลอดเลือด - เด็กอายุ ๙ ปีขึน้ ไป ทป่ี ว่ ยดว้ ยโรคเรือ้ รัง สมอง และมะเรง็ ท่ไี ดร้ บั ฉีด ๑ คร้งั การรกั ษาดว้ ยเคมีบ�ำบดั ๗ บริการคดั กรองโลหิตจาง - ตรวจนบั เมด็ เลอื ดอย่างสมบูรณ์ (CBC) หรือตรวจ - เดก็ อายุ ๖ ปี (ถ้าไม่ได้ - อยา่ งนอ้ ย ๑ ครั้ง จากการขาดธาตุเหล็ก วัดระดบั ความเข้มข้นของเมด็ เลอื ดแดง (Hb) หรือ ตรวจเมื่ออายุ ๓ - ๕ ป)ี ปรมิ าตรเม็ดเลอื ดแดงอัดแนน่ (Hct) - วัยรุน่ หญิงทเ่ี รมิ่ มี - อย่างนอ้ ย ๑ ครง้ั - ดูแลรกั ษาต่อเน่อื งในรายทผี่ ิดปกติ ประจ�ำเดอื น (อายุ ๑๓ - ๒๔ ป)ี ๘ บริการคดั กรองสุขภาพ - ตรวจสุขภาพชอ่ งปากและแนะนำ� แกเ่ ดก็ - เดก็ ป.๑ - ป.๖ - อยา่ งน้อย ๑ คร้ังต่อปี ช่องปากในโรงเรยี น ในโรงเรยี น (อายุ ๖ - ๑๒ ป)ี - สง่ ต่อเพอ่ื ดแู ลรักษากรณีท่ีจ�ำเป็น ๙ บรกิ ารคดั กรองสายตา - ตรวจคัดกรองการมองเห็นในเดก็ ประถมศกึ ษา - เด็ก ป.๑ - ป.๖ - ๑ ครง้ั ตอ่ ปี ผิดปกติ ดว้ ยแผ่นวดั สายตา E chart หรอื แผนภมู สิ เนลเลน (อายุ ๖ - ๑๒ ปี) หรือแผน่ วดั ตวั เลข - ส่งผลการคัดกรองไปท่สี ถานพยาบาลใกลโ้ รงเรียน - เดก็ ทีพ่ บความผิดปกติของการมองเห็นได้รบั การ นัดตรวจและรกั ษา ๑๐ บรกิ ารคัดกรองความผิดปกติ - ตรวจความผดิ ปกติทางการได้ยนิ โดยใชเ้ สียง - เดก็ ป.๑ - ป.๖ - ๑ ครง้ั ตอ่ ปี ทางการได้ยนิ กระซบิ (whispered voice test) หรือใชน้ ว้ิ ถูกัน (อายุ ๖ - ๑๒ ปี)

ลำ� ดบั รายการบรกิ าร กจิ กรรมส�ำคัญท่จี ะได้รับ กลมุ่ เป้าหมาย ความถ่ี หมายเหตุ ๑๑ บรกิ ารประเมินการเจริญ - เด็กอายุ ๖ - ๑๘ ปี ช่ังน้�ำหนัก วัดส่วนสงู และ - เดก็ โตและวยั รนุ่ อายุ - อย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ คร้งั หรือทุกคร้ัง เติบโตและภาวะโภชนาการ เปรียบเทยี บกับเกณฑอ์ า้ งอิงการเจรญิ เติบโตเดก็ ของ ๖ - ๒๔ ปี ท่ีเข้ารับบรกิ าร ประเทศ - อายุ ๑๙ ปขี นึ้ ไป ประเมนิ ค่าดชั นมี วลกายและ เส้นรอบวงเอวทกุ คร้ังทเ่ี ข้ารบั การบริการ - ครูหรือเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขแนะน�ำการสง่ เสรมิ และปอ้ งกนั หากมภี าวะจำ� เปน็ ตอ้ งพบแพทย์ให้สง่ ต่อ ๑๒ บรกิ ารคัดกรองความเสย่ี ง - คดั กรองความเสี่ยงจากการสูบบหุ รี่ ดื่มเครื่องด่ืม ผู้มอี ายุ ๑๕ - ๒๔ ปี - ๑ ครั้งต่อปี จากการสบู บหุ ร่ี ด่มื เครอ่ื งดื่ม แอลกอฮอลล์และการเสพสารเสพตดิ ด้วยแบบ แอลกอฮอล์และการเสพสาร ประเมนิ ASSIST (Alcohol, smoking and เสพตดิ substance involvement screening test) พรอ้ ม กบั ใหค้ ำ� แนะน�ำอย่างสั้น (brief intervention) - ในรายที่มคี วามเสยี่ งระดบั ปานกลางข้ึนไป ผู้ใหค้ �ำ ปรึกษาจะส่งต่อพบแพทย์ เพื่อรบั การวนิ ิจฉยั และ พิจารณาการรกั ษาด้วยยาต่อไป ๑๓ บรกิ ารให้คำ� ปรึกษาและ - หน่วยบรกิ ารแจง้ บรกิ ารใหค้ �ำปรกึ ษาและการตรวจ ผมู้ ีอายุ ๖ - ๒๔ ปี - ตามพฤตกิ รรมเส่ยี งและดลุ ยพนิ ิจ คัดกรองการตดิ เช้อื เอชไอวี คดั กรองการติดเชือ้ เอชไอวีแกผ่ รู้ บั บรกิ ารทราบ และ ทสี่ มัครใจ ของแพทย์ บริการตรวจการติดเชอื้ เอชไอวีตามความสมคั รใจ ๑๔ บรกิ ารวัดความดนั โลหิต - ตรวจวัดความดันโลหิต ณ สถานพยาบาลหรือ ผูม้ ีอายุ ๑๕ - ๒๔ ปี - อย่างนอ้ ย ๑ ครั้งตอ่ ปหี รือทุกครงั้ ทเ่ี ข้ารบั ท่ชี มุ ชน บรกิ าร ๑๕ บริการยาเมด็ เสริมธาตเุ หล็ก - เดก็ อายุ ๖ - ๑๒ ปี ได้รบั ธาตเุ หลก็ ๖๐ มลิ ลิกรัม เดก็ อายุ ๖ - ๑๒ ปี - ๑ ครงั้ ต่อสปั ดาห์ เพื่อปอ้ งกันโลหติ จางจากการ ตอ่ สปั ดาห์ ขาดธาตุเหลก็ - วยั รนุ่ หญิงทีเ่ ริม่ มีประจำ� เดือน (วยั เจริญพนั ธ์)ุ ได้ วัยรุ่นหญิง ๑๓ - ๒๔ ปี - ๑ คร้ังต่อสปั ดาห์79

80 ล�ำดับ รายการบรกิ าร กจิ กรรมสำ� คญั ทจ่ี ะไดร้ ับ กลมุ่ เปา้ หมาย ความถ่ี หมายเหตุ รับธาตเุ หล็ก ๖๐ มลิ ลกิ รมั และกรดโฟลิก ๒.๘ มลิ ลกิ รมั ตอ่ สัปดาห์ ๑๖ บริการเคลือบฟลูออไรด์ - บริการเคลอื บฟนั ดว้ ยฟลอู อไรด์โดยใช้ เดก็ โตและวัยรุ่น (อายุ - ทุก ๖ เดอื น ฟลูออไรดค์ วามเข้มข้นสงู เฉพาะที่ ๖ - ๒๔ ป)ี ๑๗ บริการเคลอื บหลุมรอ่ งฟนั - บรกิ ารเคลือบหลมุ รอ่ งฟันส�ำหรบั ฟันกรามถาวรซที่ ่ี เดก็ โตและวยั ร่นุ อายุ - อย่างน้อยซลี่ ะ๑ ครง้ั ๖, ๗, ๔ และ ๕ โดยวสั ดุเคลือบหลุมร่องฟัน (sealant) ๖ - ๒๐ ปี ๑๘ บรกิ ารอนามยั เจริญพันธแ์ุ ละ - บรกิ ารคลนิ กิ อนามยั เจรญิ พันธุ์ คลินคิ วยั ร่นุ /เยาวชนหญิงและ - ตามความสมคั รใจ การปอ้ งกนั และควบคุมการ วยั รนุ่ และเยาวชน ชายวยั เจรญิ พนั ธุท์ ม่ี ีเพศ ตั้งครรภว์ ยั รุ่นและการ - ค�ำปรกึ ษา/แนะน�ำอนามัยเจริญพนั ธ์ุและบรกิ าร สัมพันธ์ ตง้ั ครรภ์ท่ไี มพ่ ึงประสงค์ วางแผนครอบครวั - บรกิ ารสง่ เสริมสขุ ภาพทวั่ ไปและป้องกันโรค คดั กรองความเสย่ี ง - บริการถงุ ยางอนามัย/ยาคมุ กำ� เนดิ ฉุกเฉินและค�ำ แนะน�ำการใชเ้ พ่อื ป้องกนั โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์ และตั้งครรภ์ - บรกิ ารปอ้ งกนั การยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ ไ่ี ม่ปลอดภยั - บรกิ ารวางแผนครอบครัวกง่ึ ถาวรเพอ่ื ป้องกนั การ ตั้งครรภ์ซ้ำ� ๑๙ บรกิ ารสมุดบันทึกสขุ ภาพ - นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ และมัธยมศึกษาปี เดก็ นักเรยี น ป.๕ และ - ๑ เลม่ ต่อคน (ใช้ ป.๕ - ๖ และ ม.๑ - ๖) นกั เรียน ที่ ๑ ได้รับสมดุ บนั ทึกสขุ ภาพ เพอื่ บนั ทกึ ดว้ ยตนเอง ม.๑ ๒๐ บริการเย่ยี มบา้ น/ชมุ ชน - ใหบ้ รกิ ารเย่ยี มบ้าน/ชุมชน ผดู้ ้อยโอกาส แมว่ ัยร่นุ ตามแนวทางท่กี รมอนามัยหรือท่เี กีย่ วข้อง ผู้พิการหรือมเี ง่ือนไข กำ� หนด จำ� เปน็

๔. กลุ่มผใู้ หญ่อายุ ๒๕ - ๕๙ ปี กิจกรรมสำ� คัญทจ่ี ะได้รบั กลมุ่ เป้าหมาย ความถ่ี หมายเหตุ ลำ� ดบั รายการบริการ ๑ บรกิ ารสง่ เสรมิ สขุ ภาพและ - บริการซกั ประวัติ/สอบถาม ตรวจรา่ งกายประเมิน - ผู้มอี ายุ ๒๕ - ๕๙ ปี ตามแนวทางปฏิบัติทก่ี รมวิชาการก�ำหนด ปอ้ งกันโรคทว่ั ไป สขุ ภาพกาย/สขุ ภาพจติ (ความเครียด/ซมึ เศร้า) และ หรอื ตามความจ�ำเปน็ ปญั หาท่วั ไป ประเมินพฤตกิ รรมเสย่ี ง การคดั กรอง ท่จี �ำเปน็ การให้สุขศกึ ษา ค�ำปรกึ ษาแนะน�ำ ซักถาม และตอบคำ� ถาม ๒ บรกิ ารวคั ซีนป้องกันคอตบี - ฉดี วคั ซนี ปอ้ งกันคอตีบและบาดทะยกั - ผมู้ ีอายุ ๒๕ ปขี น้ึ ไปที่ - ๑ ครั้งทุก ๑๐ ปี และบาดทะยกั (dT) ไมเ่ คยได้รับวัคซนี นี้ ในรอบ ๑๐ ปีทผ่ี า่ นมา ๓ บริการวัดซนี ป้องกนั ไขห้ วัด - ฉดี วัคซนี ไขห้ วัดใหญต่ ามฤดกู าล - ผู้มีอายุ ๒๕ - ๕๙ ปี ท่ี - ๑ คร้ังต่อปี ใหญ่ตามฤดูกาล ปว่ ยดว้ ยโรคเรือ้ รงั ๗ กลุม่ ไดแ้ ก่ เบาหวาน ไตวาย หอบหดื ปอดอดุ กน้ั เรือ้ รงั หวั ใจ หลอดเลือด สมอง และมะเร็งที่ไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยเคมบี ำ� บดั ๔ บริการคดั กรองความเสี่ยง - ตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสบู บุหร่กี ารดื่ม - ผมู้ ีอายุ ๒๕ - ๓๐ ปี - ๑ ครงั้ ตอ่ ปี ของการสบู บหุ รี่ ดื่มเครอื่ งดม่ื เคร่อื งด่มื แอลกอฮอลล์และการเสพสารเสพตดิ ทุกคน แอลกอฮอลลแ์ ละการเสพ ด้วยเครือ่ งมือ ASSIST พร้อมใหค้ ำ� แนะนำ� อยา่ งสัน้ - กรณผี มู้ อี ายุ ๓๐ - ๕๙ สารเสพติด - ในรายที่มคี วามเส่ียงระดบั ปานกลางขนึ้ ไปแนะนำ� ปี ตรวจคัดกรองเฉพาะ ให้รับบรกิ ารการให้คำ� ปรกึ ษาและพจิ ารณาการใช้ยา ผสู้ ูบบุหรีห่ รอื ดมื่ เครือ่ ง เลกิ บหุ รร่ี ว่ มดว้ ยในกรณจี ำ� เปน็ ดมื่ แอลกอฮอลลเ์ ท่านัน้81

82 ลำ� ดบั รายการบรกิ าร กจิ กรรมส�ำคัญท่ีจะได้รับ กลมุ่ เป้าหมาย ความถ่ี หมายเหตุ ๕ บรกิ ารวัดความดันโลหิต - ตรวจวดั ความดนั โลหิต ณ สถานพยาบาลหรือท่ี ผมู้ อี ายุ ๒๕ - ๕๙ ปี - อย่างน้อย ๑ ครง้ั ต่อปหี รอื ทกุ ครั้งที่เข้ารับ ๖ บริการคัดกรองเบาหวาน ชุมชน บรกิ าร - ตรวจวดั ระดับน้ำ� ตาลในเลือดภายหลงั การอด ผ้มู ีอายุ ๓๕ ปีขน้ึ ไป - ๑ ครง้ั ทุก ๑ - ๓ ปีแล้วแต่กรณี - กลุ่มเสยี่ ง ไดแ้ ก่ อาหาร ๘ ช่ัวโมง ด้วยการเจาะเลือดปลายน้วิ ทเ่ี ป็นกลุ่มเส่ยี ง ๑. ภาวะอว้ นทีม่ ี (Fasting Capillary Glucose : FCG) หรือจาก ดัชนมี วลกาย หลอดเลอื ดดำ� (Fasting Plasma Glucose : FPG) > ๒๕ กก./ม๒ และ / หรอื รอบ เอว > ๙๐ ซม. ใน ผู้ชาย หรือ > ๘๐ ซม. ในผหู้ ญงิ ๒. มีประวตั ญิ าติ สายตรง (บิดา มารดา พ่ีหรอื นอ้ ง เปน็ เบาหวาน) ๓. เปน็ โรคความ ดนั โลหิตสงู หรือ กำ� ลังกนิ ยาควบคมุ ความดนั โลหิต ๔. มรี ะดับไขมัน ในเลอื ดผดิ ปกติ หรือกำ� ลังกินยา ลดไขมันในเลอื ด ๕. มีประวตั ิ น้�ำตาลในเลอื ดสูง จากการตรวจเลอื ด หลงั อดอาหาร หรอื การตรวจ

ลำ� ดบั รายการบรกิ าร กิจกรรมส�ำคัญทจ่ี ะได้รบั กลมุ่ เปา้ หมาย ความถ่ี หมายเหตุ นำ้� ตาลในเลือด ๒ ซม. หลงั กิน กลโู คส ๗๕ กรมั ๖. ประวัติเปน็ เบาหวานขณะ ต้ังครรภ์หรือเคย คลอดบตุ รทีม่ ี น�ำ้ หนักแรกคลอด มากกวา่ ๔ กก. ๗ บริการคัดกรองปัจจยั เส่ียง - ประเมินโอกาสเส่ียงต่อการเกิดโรคหวั ใจและหลอด ผ้มู อี ายุ ๓๕ ปขี ้ึนไปทีม่ ี - ๑ คร้งั ทุก ๕ ปี ต่อการเกดิ โรคหัวใจและ เลือดโดยใชต้ ารางสีการประเมินโอกาสเส่ียงต่อโรค ความเสี่ยง หลอดเลอื ด หัวใจและหลอดเลือด (Thai ASCVD Score) - การให้คำ� ปรึกษาเพือ่ การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม รวมถึงการพิจารณาใหย้ าเพอ่ื ลดความเสย่ี งต่อการเกดิ โรคหวั ใจและ หลอดเลอื ด83

84 ล�ำดับ รายการบริการ กิจกรรมสำ� คัญทจี่ ะได้รบั กลุม่ เปา้ หมาย ความถี่ หมายเหตุ ความเสีย่ งสงู ๘ บรกิ ารคดั กรองมะเรง็ ปาก - ตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู ดว้ ยวธิ แี ป๊ปสเมียร์ - หญงิ อายุ ๓๐ - ๕๙ ปี - ๑ ครง้ั ทุก ๕ ปี ไดแ้ ก่ มีเพศ มดลกู (Pap Smear) ในหญิงอายุ ๓๐ - ๕๙ ปี หรือวิธี - และหญงิ อายุ < ๓๐ ปี สมั พันธ์ต้ังแต่อายุ วีไอเอ (VIA) ในหญงิ อายุ ๓๐ - ๔๕ ปี หากมคี วามเสย่ี งสูง น้อย มคี ู่นอน - กรณีผลคัดกรองผดิ ปกติ ไดร้ ับการดแู ล หลายคนไม่ใชถ้ งุ ต่อเนอื่ ง ยางอนามยั ๙ บรกิ ารให้คำ� ปรึกษาและ - หน่วยบรกิ ารแจ้งบรกิ ารให้ค�ำปรกึ ษาและการตรวจ - ผูม้ อี ายุ ๒๕ - ๕๙ ปี - ตามพฤติกรรมเส่ียงและดลุ ยพินจิ ของ คัดกรองการติดเชือ้ เอชไอวี คดั กรองการติดเชอื้ เอชไอวีแกผ่ รู้ บั บริการทราบ และ ที่สมัครใจ แพทย์ กลุ่มเส่ียงตอ่ โรค บริการตรวจการติดเชอื้ เอชไอวีตามความสมัครใจ ฟนั ผไุ ดแ้ ก่ ผู้ที่มี ๑๐ บริการให้ความร้เู รอ่ื งการ - การให้ความร้เู ร่อื งมะเรง็ เต้านมและแนะน�ำการ - หญงิ วยั เจริญพันธ์อุ ายุ - ๑ ครัง้ ต่อปี ภาวะน้�ำลายแหง้ คัดกรองมะเรง็ เตา้ นมด้วย ตรวจคลำ� เตา้ นมที่ถกู ตอ้ งด้วยตนเอง เพอื่ สร้างความ ๒๕ - ๕๙ ปี จากการรักษา การตรวจคล�ำเต้านมดว้ ย ตระหนกั มะเรง็ ด้วยการ ตนเอง ฉายแสงบริเวณ ๑๑ บรกิ ารยาเม็ดเสรมิ ธาตเุ หลก็ - รบั ยาเม็ดเสริมธาตเุ หลก็ ทปี่ ระกอบดว้ ยธาตุเหล็ก - หญงิ วยั เจริญพันธอ์ุ ายุ - ๑ ครงั้ ต่อสัปดาห์ ใบหน้าและลำ� คอ เพ่ือป้องกนั โลหติ จางจากการ ๖๐ มิลลกิ รมั และกรดโฟลิก ๒.๘ มลิ ลิกรัมตอ่ ๒๕ - ๔๕ ปี หรอื จากการกนิ ยา ขาดธาตุเหล็ก สปั ดาห์ รักษาโรคทาง ๑๒ บริการเคลอื บฟลอู อไรด์ - บรกิ ารทาฟลอู อไรด์ความเข้มขน้ สงู เฉพาะท่ี (ทา - ผู้มอี ายุ ๒๕ - ๕๙ ปี - ทุก ๖ เดอื น ฟลูออไรดว์ ารน์ ิชท่ีมปี ริมาณฟลอู อไรด์ ๒๒,๖๐๐ ppm) ทเ่ี ปน็ กล่มุ เส่ยี งตอ่ การ พร้อมใหค้ ำ� แนะน�ำการแปรงฟันดว้ ยยาสีฟนั ฟลอู อไรด์ เกิดโรคฟันผุ และการบ้วนปากด้วยนำ�้ ยาบว้ นปากผสมฟลอู อไรด์

ล�ำดับ รายการบรกิ าร กิจกรรมส�ำคัญทจี่ ะได้รับ กลมุ่ เปา้ หมาย ความถี่ หมายเหตุ ระบบทีส่ ่งผลให้ น�้ำลายแหง้ ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานาน หรอื สาเหตอุ ืน่ ๆ รวมทง้ั ผทู้ มี่ ีเหงอื ก รน่ รากฟนั โผล่ ที่ยากต่อการ ท�ำความสะอาด ๑๓ บริการอนามยั เจริญพันธแุ์ ละ - บริการให้ค�ำปรกึ ษาแนะน�ำอนามัยเจริญพันธแ์ุ ละ หญิงและชายวยั เจรญิ - ตามความสมคั รใจ การป้องกันและควบคมุ การ บรกิ ารวางแผนครอบครัว พันธ์ุ ต้งั ครรภท์ ไี่ ม่พึงประสงค์ - บริการส่งเสริมสุขภาพทวั่ ไปและป้องกันโรค คดั กรองความเส่ียง - บริการถงุ ยางอนามัย/ยาคุมก�ำเนิดฉกุ เฉินและค�ำ แนะนำ� การใช้เมื่อมเี พศสมั พันธ์เพอ่ื ป้องกันโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธแ์ ละการตง้ั ครรภ์ - บริการป้องกันการยตุ ิการตั้งครรภ์ท่ไี มป่ ลอดภยั - บริการวางแผนครอบครวั กง่ึ ถาวร เพ่อื ป้องกันการตงั้ ครรภ์ซ�้ำ ๑๔ บรกิ ารเยยี่ มบา้ น/ชุมชน - ให้บริการเยีย่ มบ้าน/ชุมชน ผูด้ อ้ ยโอกาส ผูพ้ ิการหรอื - ตามแนวทางทีก่ รมอนามัยหรือทเี่ กย่ี วขอ้ ง มีเง่อื นไขจำ� เป็น ก�ำหนด85