Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Published by kc_studio, 2018-10-12 02:24:50

Description: กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

แบบแจง้ สพ.อ. ๖ แบบรบั แจ้งสถานพยาบาลอื่นที่มลี กั ษณะเป็นหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิหรือ เครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารปฐมภูมซิ ึ่งไดร้ บั การยกเวน้ ไม่ตอ้ งอยู่ในบังคบั ตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานพยาบาลใบรบั แจ้งเลขที่ / ใบรับแจง้ ฉบับนเี้ พ่ือแสดงว่า สถานพยาบาล .....................................................................................................................................................................................................................................................................................ต้ังอยู่เลขท่ี .................................... ซอย ......................................................ตรอก ...................................................ถนน .............................................. หมู่ท่ี ................... ตาํ บล/แขวง ..........................................................................อาํ เภอ/เขต .......................................... จงั หวัด .......................................................โทรศพั ท์ ...................................เป็นสถานพยาบาลอ่ืนที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภมูิโดยได้รับการยกเว้นไมตอ้ งอยใู่ นบังคับตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาล ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ เดือน พ.ศ. (ลายมือชอื่ ) ..................................................... ผรู้ ับแจ้ง ( ...................................................... )436

แบบแจ้ง สพ.อ. ๗ เลขรับที่ .................................... วันที่ .......................................... ลงช่อื ........................ ผู้รับคาํ ขอแบบแจ้งสถานพยาบาลอน่ื ท่ีถูกเพกิ ถอนจากการข้นึ ทะเบยี นเป็นหนว่ ยบริการปฐมภมู ิ หรอื เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เขียนท่ี ................................................................ วันท่ี ................. เดือน ........................... พ.ศ. .................... ข้าพเจ้า............................................ โดย นาย/นาง/นางสาว ........................................................................................................................................................................................................................................................อายุ ............ ปี .........สัญชาติ ........................อยเู่ ลขท่ี ......................ซอย...............................ตรอก .......................ถนน ..................................หม่ทู ่ี ....................ตาํ บล/แขวง .................................. อาํ เภอ/เขต .................................จังหวดั .............................................................. โทรศัพท์ .........................................................................................ขอแจง้ สถานพยาบาลประเภท............................................เปน็ สถานพยาบาลอนื่ ทไี่ ดข้ นึ้ ทะเบยี นหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ....จาก.................................................................เมื่อวันท่ี....................................โดยสถานพยาบาล .....................................................................................................ตัง้ อยทู่ ี่ ....................................ซอย ............................................... ตรอก ............................................. ถนน ................................... หมทู่ ่ี .................ตาํ บล/แขวง ........................................................................ อําเภอ/เขต ...................................................................จงั หวัด .................................................................. โทรศพั ท์ .....................................................................................โดยข้าพเจ้าขอแจ้งว่าสถานพยาบาล ............................................ ได้ถูกเพิกถอนจากการเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิหรือเครือขา่ ยหนว่ ยบริการปฐมภูมิ จาก ........................................ ตามหนังสอื /คาํ สง่ั ............................................. (ลายมอื ชอ่ื ) .......................................... ผ้แู จง้ ( ........................................... ) ผมู้ อี ํานําจสงู สุดของหน่วยงานน้ัน.........ทราบหมายเหตุ ................................................................. (ลายมอื ชือ่ ) .......................................... ผรู้ ับแจง้ ( .......................................... ) ผู้อนุญาต 437

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง สถานพยาบาลอน่ื ซง่ึ ไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งอยใู่ นบงั คบั ตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานพยาบาล โดยท่ีเป็นการสมควรกําหนดสถานพยาบาลอื่นซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัตสิ ถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั สิ ถานพยาบาล (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่งและวรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั สิ ถานพยาบาล (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ และมาตรา ๖ วรรคหนงึ่แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยคําแนะนําของคณะกรรมการสถานพยาบาล จึงออกประกาศไวด้ ังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ประกาศนเ้ี รยี กวา่ “ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง สถานพยาบาลอนื่ ซงึ่ ไดร้ บั การยกเวน้ไมต่ ้องอย่ใู นบงั คบั ตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาล” ข้อ ๒ ประกาศนใ้ี ห้ใชบ้ ังคบั ต้ังแต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป * ข้อ ๓ ใหย้ กเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) เรอ่ื ง หลกั เกณฑก์ ารยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่ตอ้ งอย่ใู นบงั คับของพระราชบญั ญัตสิ ถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ้ ๔ สถานพยาบาลอ่ืนซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ ต้องมีลักษณะของสถานพยาบาลอยา่ งหนง่ึ อย่างใด ดงั นี้ (๑) เปน็ สถานพยาบาลท่ไี มร่ บั ผปู้ ว่ ยไวค้ า้ งคนื ที่จดั ให้บริการด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสรมิและพฒั นาสขุ ภาพอนามยั และการควบคมุ และปอ้ งกนั โรค ในลกั ษณะทเี่ ปน็ การจดั สวสั ดกิ าร ใหแ้ กเ่ จา้ หนา้ ที่ พนกั งานลูกจา้ ง หรือบุคคลท่เี กย่ี วข้อง ได้แก่ (ก) สถานศึกษาของเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนหรือตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอดุ มศึกษาเอกชน (ข) นายจา้ งตามกฎหมายวา่ ด้วยการคุ้มครองแรงงาน (ค) เจา้ ของเรอื ตามกฎหมายวา่ ด้วยแรงงานทะเล (ง) ผใู้ ห้บริการขนสง่ ผโู้ ดยสารในยานพาหนะตา่ ง ๆ เชน่ เครือ่ งบินโดยสาร เรือเดนิ ทะเลรถขนส่งไฟฟา้ เป็นตน้ ท้ังนี้ ภายใต้เงื่อนไขให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลและใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาล และไม่ต้องชําระค่าธรรมเนียมรายปี แต่ทั้งน้ีหากมีผู้ประกอบวิชาชีพ* ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๓๕ / ตอนพเิ ศษ ๘๙ ง / หน้า ๑๑ / ๑๙ เมษายน ๒๕๖๑438

หรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะปฏบิ ตั งิ านตอ้ งจดั ใหม้ หี ลกั ฐานรายชอ่ื ผปู้ ระกอบวชิ าชพี หรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะ พรอ้ มสาํ เนาใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี หรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะ สมดุ ทะเบยี นผปู้ ว่ ย บนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ านทส่ี ามารถตรวจสอบได้และต้องแจ้งการประกอบกิจการสถานพยาบาล โดยผู้อนุญาตต้องออกแบบรับแจ้งให้ไว้เป็นหลักฐานตามแบบแนบทา้ ยประกาศนี้ (๒) เป็นสถานพยาบาลท่ีใช้ยานพาหนะในการออกไปให้บริการเคลื่อนที่ ณ สถานท่ีใดที่หนึ่งเป็นการชัว่ คราว และมวี ตั ถุประสงค์เพื่อชว่ ยเหลือหรอื สงเคราะห์ โดยไม่เรยี กเกบ็ คา่ บริการใด ๆ ไม่วา่ จะเป็นการจดัให้บริการขององค์กรการกุศลต่าง ๆ มูลนิธิ สถานพยาบาลหรือของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง โดยผู้ให้บริการต้องเป็นผปู้ ระกอบวชิ าชพี หรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะ ใหไ้ ดร้ บั การยกเวน้ ไมต่ อ้ งขอรบั ใบอนญุ าตประกอบกจิ การสถานพยาบาลและใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาล โดยไม่ต้องชําระค่าธรรมเนียมรายปี แต่ท้ังน้ี ต้องจัดให้มีหลักฐานรายชอ่ื ผ้ปู ระกอบวิชาชพี หรอื ผู้ประกอบโรคศลิ ปะ พรอ้ มสาํ เนาใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี หรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะสมุดทะเบียนผปู้ ว่ ย บันทึกการปฏบิ ตั งิ านทสี่ ามารถตรวจสอบได้ และตอ้ งแจ้ง วนั เวลา สถานท่แี ละช่อื ผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะท่ีออกไปให้บริการแก่ผู้อนุญาตทราบ ก่อนออกให้บริการอย่างน้อยห้าวันตามแบบแนบทา้ ยประกาศน้ี (๓) เป็นสถานพยาบาลเคล่ือนท่ีของสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ท่ีใช้ยานพาหนะ เป็นท่ีให้บริการและออกให้บริการไปยังหน่วยงานที่ร้องขอเพื่อการตรวจดูแลสุขภาพ รักษาพยาบาลการส่งเสริมหรือการป้องกันโรคแก่พนักงาน นักศึกษา ตามสัญญาประกันสุขภาพหรือการตรวจสุขภาพประจําปีระหว่างสถานพยาบาลกับหน่วยงานน้นั เชน่ (ก) รถเอกซเรย์เคลื่อนที่ ต้องมีเครื่องเอกซเรย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยพร้อมอุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายจากรงั สีที่ได้รบั อนญุ าตจากสาํ นกั งานปรมาณเู พ่ือสันตหิ รือหนว่ ยงานอ่ืนท่ีได้รับมอบหมาย และเป็นไปตามมาตรฐานท่ผี ูอ้ นญุ าตประกาศกาํ หนดโดยคําแนะนาํ ของคณะกรรมการสถานพยาบาล (ข) รถทันตกรรม ท่ีได้มาตรฐานตามที่ผู้อนุญาตประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการสถานพยาบาล (ค) รถปฏิบัติการชันสูตร ที่ได้มาตรฐานตามที่ผู้อนุญาตประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการสถานพยาบาล (ง) รถรกั ษาพยาบาลเคลอื่ นที่ ทไี่ ดม้ าตรฐานตามทผี่ อู้ นญุ าตประกาศกาํ หนด โดยคาํ แนะนาํของคณะกรรมการสถานพยาบาล ให้สถานพยาบาลเคลื่อนที่ตาม (ก) - (ง) ต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะท่ีออกไปให้บริการสอดคล้องกับมาตรฐานการบริการและมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ หรือการประกอบโรคศิลปะน้ัน ๆ ตามกฎหมาย ท้ังนี้ ภายใต้เงื่อนไขให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลและใบอนญุ าตใหด้ าํ เนนิ การสถานพยาบาล และไมต่ อ้ งชาํ ระคา่ ธรรมเนยี มรายปี แตต่ อ้ งจดั ใหม้ หี ลกั ฐาน สมดุ ทะเบยี นผู้ป่วยและบันทึกการปฏิบัติงาน โดยระบุ วัน เวลา สถานท่ีและชื่อผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะที่ออกไปให้บริการที่สามารถตรวจสอบได้และต้องแจ้งวัน เวลา สถานที่และช่ือผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะท่อี อกไปใหบ้ ริการแกผ่ ูอ้ นุญาตทราบก่อนออกให้บริการ อยา่ งนอ้ ยหา้ วันตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ 439

(๔) สถานพยาบาล ณ ที่พํานกั ของผู้ป่วยเปน็ การชัว่ คราวโดยไมไ่ ด้กระทําเป็นปกติธรุ ะ ซงึ่ ผู้ปว่ ยไม่สามารถมารับบรกิ ารท่ีสถานพยาบาลได้ เช่น ผู้ปว่ ยโรคเรอื้ รังทนี่ อนตดิ เตยี ง ผูป้ ่วยทีช่ ่วยเหลือตนเองไม่ได้ ผู้ป่วยชราหรือผู้ป่วยท่ีมีภาวะพ่ึงพิง เป็นต้น ทั้งน้ี ผู้ให้บริการต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะซง่ึ ใบอนญุ าตของผปู้ ระกอบวชิ าชพี หรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะนนั้ ยงั คงใชไ้ ดต้ ามกฎหมาย ไดร้ บั การยกเวน้ ไมต่ อ้ งขอรบัใบอนญุ าตประกอบกจิ การสถานพยาบาลและใบอนญุ าต ใหด้ าํ เนนิ การสถานพยาบาล และไมต่ อ้ งชาํ ระคา่ ธรรมเนยี มรายปี (๕) ยานพาหนะท่ีใชใ้ นการเคล่ือนยา้ ยผูป้ ว่ ย ทไ่ี ด้รบั อนุญาตตามกฎหมาย เช่น รถ เรอื หรอื เคร่อื งบนิขององค์กรเอกชนทช่ี ่วยเหลือผปู้ ่วยฉุกเฉินหรือรถฉุกเฉิน เปน็ ตน้ ได้รับการยกเวน้ ไม่ต้องขอรบั ใบอนญุ าตประกอบกจิ การสถานพยาบาลและใบอนุญาตให้ดาํ เนนิ การสถานพยาบาล และไมต่ ้องชําระค่าธรรมเนยี มรายปี ขอ้ ๕ สถานพยาบาลอื่นซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ ดังกล่าว ไม่เป็นการตัดอํานาจของพนักงานเจ้าหน้าท่ีในการที่จะเข้าไปตรวจสอบและควบคุมสถานพยาบาล เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติดังกล่าว ข้อ ๖ หากปรากฏในภายหลังว่าสถานพยาบาลท่ีได้รับการยกเว้นมีการให้บริการท่ีมีลักษณะอนั นา่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ าร พนกั งานเจา้ หนา้ ทม่ี อี าํ นาจสง่ั ใหแ้ กไ้ ขปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสม หรอื สงั่ ใหร้ ะงบัหรอื ปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ งภายในระยะเวลาทก่ี าํ หนด หากยงั มกี ารฝา่ ฝนื คาํ สงั่ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ทดี่ งั กลา่ ว ใหผ้ อู้ นญุ าตมีอํานาจออกคําส่ังปิดสถานพยาบาลเป็นการช่ัวคราวหรืออาจสั่งเพิกถอนสถานพยาบาลนั้น โดยรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข้อ ๗ การย่ืนแบบแจ้งการประกอบกิจการสถานพยาบาลตามประกาศกระทรวงฉบับน้ีในกรุงเทพมหานครให้ย่ืน ณ สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพสาํ หรบั ในจงั หวดั อนื่ ใหย้ นื่ ณ สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ทงั้ นี้ อาจจดั ใหม้ กี ารยน่ื แบบแจง้ ผา่ นระบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ด้วยก็ได้ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปยิ ะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข440

แบบแจ้ง สพ.อ. ๑ เลขรับท่ี .................................... วันที่ .......................................... ลงช่ือ ........................ ผู้รับคําขอแบบแจง้ การประกอบกจิ การสถานพยาบาลอืน่ ซ่ึงได้รบั การยกเวน้ ไม่ต้องอยู่ในบังคับ ตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาล เขียนที่ ................................................................วันที่ ................. เดอื น ........................... พ.ศ. .................... ข้าพเจ้า............................................ โดย นาย/นาง/นางสาว ........................................................................................................................................................................................................................................................อายุ ............ ปี .........สัญชาติ ........................อยเู่ ลขท่ี ......................ซอย...............................ตรอก .......................ถนน ..................................หมทู่ ี่ ....................ตําบล/แขวง .................................. อําเภอ/เขต .................................จังหวัด .............................................................. โทรศัพท์ .........................................................................................ขอแจง้ การประกอบกิจการสถานพยาบาลประเภททไี่ มร่ บั ผู้ปว่ ยไว้ค้างคืน เพ่อื เป็นสวสั ดกิ ารของเจ้าหน้าท่ี พนักงานลูกจ้างหรอื บุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ ง จาํ นวน ............................................................. คนณ สถานพยาบาล .....................................................................................................ต้งั อยูท่ ี่ ....................................ซอย ............................................... ตรอก ............................................. ถนน ................................... หมทู่ ่ี .................ตาํ บล/แขวง ........................................................................ อาํ เภอ/เขต ...................................................................จังหวดั .................................................................. โทรศพั ท์ .....................................................................................โดยขา้ พเจา้ ขอรบั รองว่ามี ผูป้ ระกอบวชิ าชีพหรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะท่ปี ฏิบตั ิงาน ๑. แพทย์ ........................................ คน ๒. พยาบาล ........................................... คน ๓. ทนั ตแพทย์ ................................ คน ๔. เภสชั กร ............................................ คน ๕. นักกายภาพบําบดั ..................... คน ๖. นกั เทคนคิ การแพทย์ ........................ คน ๗. แพทยแ์ ผนไทย .......................... คน - เวชกรรมไทย ...................... คน - เภสชั กรรมไทย ........................... คน - การผดุงครรภไ์ ทย .............. คน - การนวดไทย ............................... คน - การแพทยพ์ นื้ บ้านไทย ....... คน ๘. แพทย์แผนไทยประยุกต์ ........... คน ๙. ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะ (๑) กิจกรรมบาํ บดั ................... คน (๒) การแกไ้ ขความผดิ ปกตขิ องการสอ่ื ความหมาย .......... คน (๓) เทคโนโลยหี ัวใจและทรวงอก ........ คน (๔) รงั สีเทคนิค ........................................ คน (๕) จติ วิทยาคลินิกอก .............. คน (๖) กายอปุ กรณ์ ...................................... คน (๗) การแพทย์แผนจนี .............. คน (๘) อืน่ ๆ .................................................. คนเปน็ ผูใ้ ห้บรกิ ารและเปิดให้บริการเวลาระหวา่ ง .................................................. น. (ลายมือช่อื ) .......................................... ผยู้ ืน่ คําขอ ( ...........................................) ผมู้ ีอํานาจสงู สดุ ของหน่วยงานน้ัน 441

แบบแจง้ สพ.อ. ๒ แบบรบั แจ้งการประกอบกจิ การสถานพยาบาลอน่ื ประเภททไ่ี ม่รบั ผ้ปู ว่ ยไว้ค้างคืน ซง่ึ ได้รบั การยกเวน้ ไม่ตอ้ งอยู่ในบังคบั ตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาลใบรบั แจ้งเลขท่ี / ใบรบั แจง้ ฉบับน้เี พือ่ แสดงว่า สถานพยาบาล .....................................................................................................................................................................................................................................................................................ตงั้ อยูเ่ ลขที่ .................................... ซอย ......................................................ตรอก ...................................................ถนน .............................................. หมู่ท่ี ................... ตาํ บล/แขวง ..........................................................................อาํ เภอ/เขต .......................................... จงั หวดั .......................................................โทรศัพท์ ...................................เป็นสถานพยาบาลที่จัดตั้งขึ้นพื่อเป็นสวัสดิการแก่เจ้าหน้าที่พนักงาน ลูกจ้างหรือบุคคลที่เก่ียวข้อง โดยได้รับการยกเวน้ ไม่ต้องอยูใ่ นบังคบั ตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาล ให้ไว้ ณ วนั ท่ี เดอื น พ.ศ. (ลายมอื ชอื่ ) ..................................................... ผู้รบั แจ้ง ( ...................................................... )442

แบบแจง้ สพ.อ. ๓ เลขรบั ที่ .................................... วนั ท่ี .......................................... ลงช่ือ ........................ ผ้รู บั คําขอแบบแจง้ วนั เวลา สถานท่ีและชื่อผู้ประกอบวิชาชพี หรือผู้ประกอบโรคศลิ ปะที่ออกไปให้บรกิ าร ส�ำหรบั สถานพยาบาลทใี่ ชย้ านพาหนะในการออกไปใหบ้ รกิ ารเคลอ่ื นท่ี ซึ่งไดร้ บั การยกเวน้ ไมต่ ้องอยู่ในบังคับตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาล เขยี นที่ ................................................................ วันที่ ................. เดือน ........................... พ.ศ. .................... ข้าพเจา้ ............................................ โดย นาย/นาง/นางสาว ........................................................................................................................................................................................................................................................อายุ ............ ปี .........สัญชาติ ........................อยเู่ ลขท่ี ......................ซอย...............................ตรอก .......................ถนน ..................................หมูท่ ่ี ....................ตาํ บล/แขวง .................................. อาํ เภอ/เขต .................................จังหวัด ....................................................... โทรศัพท์ ..........................................................................................ขอแจง้ แจง้ วนั เวลา สถานทแี่ ละชอื่ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี หรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะทอี่ อกไปใหบ้ รกิ ารสาํ หรบั สถานพยาบาลที่ใชย้ านพาหนะในการออกไปให้บรกิ ารเคลือ่ นที่ ดังนี้ (๑) วัน เวลาในการออกให้บริการ ระหวา่ ง............................................ถงึ วันที.่ ......................................... (๒) สถานทใี่ นการออกให้บรกิ าร ณ ........................................................................................................... (๓) ผปู้ ระกอบวชิ าชีพหรือผูป้ ระกอบโรคศิลปะทอี่ อกไปใหบ้ ริการ ๓.๑ วชิ าชีพเวชกรรม.......................................................คน ได้แก่ (๑) ............................................................................. (๒) ............................................................................. (๓) ............................................................................. ๓.๒ วิชาชีพอ่นื ๆ .............................................................. คน ได้แก่ (๑) ............................................................................. (๒) ............................................................................. (๓) ............................................................................. ๓.๓ ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะ .................................................. คน ไดแ้ ก่ (๑) ............................................................................. (๒) ............................................................................. (๓) ............................................................................. (ลายมือชื่อ) .......................................... ผูแ้ จง้ ( ........................................... ) ผ้มู อี าํ นาจสูงสดุ ของหน่วยงานนน้ั (ลายมอื ชื่อ) .......................................... ผูร้ บั แจ้ง ( .......................................... ) ผู้อนุญาต 443

แบบแจ้ง สพ.อ. ๔ เลขรับที่ .................................... วันที่ .......................................... ลงช่อื ........................ ผูร้ บั คําขอ แบบแจง้ วนั เวลา สถานท่ีและชอ่ื ผูป้ ระกอบวชิ าชีพหรอื ผปู้ ระกอบโรคศิลปะที่ออกไปใหบ้ ริการ ส�ำหรบั สถานพยาบาลเคล่อื นทขี่ องสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลทีใ่ ชย้ านพาหนะ เปน็ ทใ่ี หบ้ ริการและออกใหบ้ รกิ ารไปยังหน่วยงานท่รี อ้ งขอเพอื่ การตรวจดูแลสขุ ภาพการส่งเสริมหรือการปอ้ งกนั โรคแก่พนักงาน นกั ศึกษา ตามสัญญาประกันสขุ ภาพหรือการตรวจสขุ ภาพประจาปีระหว่างสถานพยาบาลกับหนว่ ยงานนน้ั ซึง่ ได้รับการยกเวน้ ไมต่ อ้ งอยู่ในบังคบั ตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานพยาบาล เขียนที่ ................................................................ วันท่ี ................. เดอื น ........................... พ.ศ. .................... ขา้ พเจ้า............................................ โดย นาย/นาง/นางสาว ........................................................................................................................................................................................................................................................อายุ ............ ปี .........สัญชาติ ........................อยเู่ ลขท่ี ......................ซอย...............................ตรอก .......................ถนน ..................................หมู่ท่ี ....................ตาํ บล/แขวง .................................. อาํ เภอ/เขต .................................จังหวัด ....................................................... โทรศัพท์ ..........................................................................................ขอแจง้ แจง้ วนั เวลา สถานทแ่ี ละชอื่ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี หรอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะทอ่ี อกไปใหบ้ รกิ ารสาํ หรบั สถานพยาบาลเคลื่อนท่ี ของสถานพยาบาลประเภท.................................ท่ใี ช้ยานพาหนะ เป็นที่ใหบ้ รกิ ารและออกใหบ้ ริการไปยงัหน่วยงานท่ีรอ้ งขอ เพอ่ื การตรวจดูแลสขุ ภาพ รกั ษาพยาบาล การสง่ เสริมหรือการปอ้ งกนั โรคแกพ่ นักงาน นกั ศกึ ษาตามสัญญาประกนั สุขภาพ หรอื การตรวจสุขภาพประจาํ ปรี ะหว่างสถานพยาบาลกับหนว่ ยงานนัน้ ดังนี้ (๑) วัน เวลาในการออกใหบ้ ริการ ระหว่าง............................................ถงึ วนั ที.่ ........................................ (๒) สถานที่ในการออกใหบ้ รกิ าร ณ............................................................................................................. (๓) ผู้ประกอบวชิ าชพี หรือผปู้ ระกอบโรคศิลปะทีอ่ อกไปให้บรกิ าร ๓.๑ วชิ าชพี เวชกรรม.......................................................คน ได้แก่ (๑) ............................................................................. (๒) ............................................................................. (๓) ............................................................................. ๓.๒ วิชาชพี อน่ื ๆ .............................................................. คน ได้แก่ (๑) ............................................................................. (๒) ............................................................................. (๓) ............................................................................. ๓.๓ ผู้ประกอบโรคศิลปะ .................................................. คน ได้แก่ (๑) ............................................................................. (๒) ............................................................................. (๓) .............................................................................* หมายเหตุ หากมีการเปลี่ยนแปลงรายช่ือผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะ ให้นําใบที่แจ้งมาแสดงและแจง้ การเปล่ยี นแปลง ในวันทอี่ อกใหบ้ รกิ ารดว้ ย (ลายมอื ช่อื ) .......................................... ผู้ยนื่ ค�ำขอ ( ........................................... ) ผมู้ ีอาํ นาจสงู สุดของหนว่ ยงานน้ัน (ลายมือช่ือ) .......................................... ผูร้ บั แจง้ ( .......................................... ) ผู้อนุญาต444

ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การกาํ หนดลักษณะของสถานพยาบาลและมาตรฐานซง่ึ ไดร้ ับ การยกเว้นไมต่ ้องอยู่ในบงั คับตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาล อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ซง่ึ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั สิ ถานพยาบาล (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ และมาตรา ๖ วรรคหนง่ึ แหง่ พระราชบญั ญตั ิสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการสถานพยาบาลจึงออกประกาศไว้ดังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดลักษณะของสถานพยาบาลและมาตรฐานซงึ่ ได้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งอย่ใู นบังคบั ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล” ขอ้ ๒ ประกาศน้ใี หใ้ ช้บงั คับตัง้ แต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป * ข้อ ๓ ในประกาศฉบับนี้ “สถานพยาบาลประเภทท่ีไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน” หมายความว่า สถานพยาบาลประเภทคลินิกหรอื ทเี่ รยี กชอื่ อยา่ งอน่ื แตด่ าํ เนนิ งานลกั ษณะเดยี วกนั เชน่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาํ บล ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุศูนย์สขุ ภาพชมุ ชน เปน็ ตน้ “สถานพยาบาลประเภททรี่ ับผปู้ ว่ ยไว้คา้ งคืน” หมายความว่า สถานพยาบาลประเภทโรงพยาบาลหรอื ทเ่ี รยี กชอื่ อย่างอืน่ แต่ดาํ เนินงานลกั ษณะเดียวกนั เชน่ สถาบัน ศนู ย์ เป็นตน้ ขอ้ ๔ สถานพยาบาลซ่ึงได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑ ซึง่ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิสถานพยาบาล (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ หมายถงึ สถานพยาบาลซึง่ ดําเนนิ การโดยกระทรวง ทบวง กรม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ รัฐวสิ าหกิจ สถาบนั การศึกษาของรฐั หน่วยงานอนื่ของรัฐ สภากาชาดไทย ข้อ ๕ ให้สถานพยาบาลมีลักษณะโดยท่วั ไป และลักษณะการให้บริการ ดงั ต่อไปน้ี (๑) มคี วามปลอดภยั มคี วามสะดวก และเหมาะสมตอ่ ผใู้ หบ้ รกิ ารและผรู้ บั บรกิ าร ในการประกอบวิชาชพี ตามประเภทและสาขานัน้ ๆ (๒) ต้องปฏบิ ตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยควบคุมอาคาร (๓) ต้องปฏบิ ตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการสาธารณสขุ (๔) ต้องปฏิบัติให้เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการผงั เมอื ง (๕) ตอ้ งปฏบิ ตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสรมิ และรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม (๖) ต้องปฏบิ ัตใิ ห้เปน็ ไปตามกฎหมายอ่นื ท่เี กยี่ วขอ้ ง* ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๓๕ / ตอนพเิ ศษ ๘๙ ง / หน้า ๑๔ / ๑๙ เมษายน ๒๕๖๑ 445

ขอ้ ๖ สถานพยาบาลประเภททร่ี บั ผูป้ ่วยไวค้ า้ งคืน ตอ้ งได้มาตรฐาน ดังต่อไปน้ี (๑) จัดให้มีเครื่องมือ เคร่ืองใช้ ยาและเวชภัณฑ์ตามแต่ละแผนก หรือประเภทการให้บริการตามหมวด ๒ แห่งกฎกระทรวงกําหนดชนิดและจํานวนเคร่ืองมือ เครื่องใช้ ยา และเวชภัณฑ์ หรือยานพาหนะทจี่ าํ เปน็ ประจําสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๘ (๒) ผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ประกอบโรคศิลปะต้องได้มาตรฐานการประกอบวิชาชีพ หรือการประกอบโรคศลิ ปะทสี่ ภาวิชาชีพหรือคณะกรรมการวิชาชีพกาํ หนดหรอื ประกาศกระทรวงสาธารณสุขกําหนด ข้อ ๗ สถานพยาบาลประเภททร่ี บั ผปู้ ว่ ยไวค้ า้ งคนื ประเภททวั่ ไป ไดแ้ ก่ สถานพยาบาล ซงึ่ ใหบ้ รกิ ารด้านการรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วยด้วยโรคท่ัวไป มิได้จํากัดเฉพาะโรคใดโรคหนึ่ง โดยต้องประกอบด้วยหน่วยบริการและระบบสนับสนนุ การใหบ้ รกิ าร ดังตอ่ ไปน้ี (๑) แผนกเวชระเบยี น (๒) แผนกผปู้ ว่ ยนอก (๓) แผนกผู้ปว่ ยใน (๔) แผนกผ้ปู ว่ ยฉกุ เฉิน (๕) แผนกเภสัชกรรม (๖) ระบบรบั สง่ ผปู้ ว่ ยฉุกเฉนิ (๗) ระบบควบคมุ การตดิ เช้ือ (๘) ระบบไฟฟ้าสํารอง (๙) ระบบน้ำ� สาํ รอง (๑๐) จัดให้มีบรกิ ารชันสตู ร (๑๑) จดั ใหม้ บี รกิ ารรงั สีวิทยา (๑๒) แผนกบรกิ าร หรือหน่วยบริการ หรือระบบสนบั สนุนการให้บริการอน่ื ขอ้ ๘ สถานพยาบาลประเภททร่ี ับผปู้ ่วยไวค้ า้ งคืนประเภทเฉพาะทาง ได้แก่ สถานพยาบาล ที่จดัใหม้ กี ารประกอบวิชาชีพเฉพาะทางดา้ นเวชกรรม โดยผู้ประกอบวิชาชพี เวชกรรม และผปู้ ระกอบวิชาชพี นน้ั ตอ้ งได้รบั วุฒบิ ตั ร หรือหนงั สืออนุมัตบิ ัตรจากแพทยสภา เช่น โรงพยาบาลเฉพาะทางหู ตา คอ จมกู โรงพยาบาลเฉพาะทางทรวงอก โรงพยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง เป็นต้น โดยต้องประกอบด้วยหน่วยบริการและระบบสนับสนุนการให้บริการ ตามที่หน่วยงานกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษาของรัฐหนว่ ยงานอ่ืนของรัฐ สภากาชาดไทย ประกาศกาํ หนด ข้อ ๙ สถานพยาบาลประเภททรี่ บั ผปู้ ว่ ยไวค้ า้ งคนื ประเภทเฉพาะประเภทผปู้ ว่ ย ไดแ้ ก่ สถานพยาบาลที่จัดให้มีการประกอบวิชาชีพตามลักษณะเฉพาะประเภทผู้ป่วย ซ่ึงดําเนินการโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม เช่นผู้ป่วยเร้ือรัง ผู้ป่วยจิตเวช ผู้สูงอายุ แม่และเด็ก บําบัดยาเสพติด เป็นต้น โดยต้องประกอบด้วยหน่วยบริการและระบบสนับสนนุ การใหบ้ ริการ ตามที่หนว่ ยงานกระทรวง ทบวง กรม องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน รฐั วสิ าหกจิสถาบันการศกึ ษาของรฐั หนว่ ยงานอน่ื ของรัฐ สภากาชาดไทย ประกาศกําหนด ขอ้ ๑๐ สถานพยาบาลประเภททร่ี บั ผปู้ ว่ ยไวค้ า้ งคนื ประเภทเฉพาะดา้ นวชิ าชพี ไดแ้ ก่ สถานพยาบาลทจ่ี ดั ใหม้ ผี ปู้ ระกอบวชิ าชพี ตามดา้ นนน้ั ๆ เชน่ ทนั ตกรรม การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ กายภาพบาํ บดั การแพทย์แผนไทย เป็นต้น โดยต้องประกอบด้วยหน่วยบริการและระบบสนับสนุนการให้บริการ ตามท่ีหน่วยงานกระทรวง446

ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ รัฐวสิ าหกจิ สถาบันการศึกษาของรฐั หนว่ ยงานอ่ืนของรัฐ สภากาชาดไทยประกาศกาํ หนด ข้อ ๑๑ สถานพยาบาลประเภทท่ีไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ต้องจัดให้มีเครื่องมือ เคร่ืองใช้ ยาและเวชภัณฑท์ วั่ ไปที่จําเป็น ในจาํ นวนทเี่ หมาะสมและเพียงพอ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ตู้หรือชน้ั หรืออปุ กรณ์เก็บเวชระเบียนทมี่ น่ั คง ปลอดภยั และต้องจดั ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ สามารถค้นหาไดง้ ่าย หรอื ถ้าเป็นระบบคอมพวิ เตอร์ตอ้ งจัดใหม้ ีระบบขอ้ มลู สาํ รองเพ่ือป้องกันข้อมลู สูญหาย ซึ่งอาจจัดแยกเปน็ แผนกเวชระเบยี นโดยเฉพาะก็ได้ (๒) ตู้หรอื ชน้ั เก็บยาและเวชภัณฑอ์ น่ื (๓) เคร่ืองใช้ทั่วไปที่ใช้ในการตรวจรักษาและบริการ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ที่น่ังพักรอของผู้ป่วยเตยี งตรวจโรค และอา่ งฟอกมอื ชนิดท่ไี ม่ใช้มือเปิดปิดนำ้� (๔) เครื่องมืออุปกรณ์และเวชภัณฑ์สําหรับควบคุมการติดเชื้อในกรณีท่ีจําเป็นต้องใช้ เช่นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการทําความสะอาด หม้อต้ม หม้อนึ่ง ตู้ท่ีมิดชิดสําหรับเก็บเครื่องมือท่ีปราศจากเชื้อแล้วและมเี คร่ืองมือทีพ่ รอ้ มใชง้ าน เชน่ ภาชนะบรรจมุ ลู ฝอยทว่ั ไป และภาชนะบรรจุมลู ฝอยตดิ เชอื้ (๕) อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน ได้แก่ ถุงบีบลมเพ่ือช่วยหายใจพร้อมหน้ากากครอบช่วยการหายใจ ยาและเวชภณั ฑอ์ ืน่ ที่ใช้ในการรกั ษาและช่วยเหลือผ้ปู ว่ ยฉกุ เฉิน (๖) ชดุ ตรวจโรคและชดุ ให้การรกั ษาท่ัวไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชพี (๗) ยาและเวชภณั ฑอ์ นื่ ที่จาํ เป็น โดยมจี ํานวนรายการและปรมิ าณทเ่ี พียงพอ (๘) ตเู้ ย็นสาํ หรับเก็บยาหรอื เวชภัณฑอ์ นื่ (๙) ในกรณีท่ีมีวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษ ให้มีสถานที่หรือตู้เก็บท่มี ัน่ คงและปลอดภยั มีกุญแจปดิ และเปิดอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ข้อ ๑๒ สถานพยาบาล ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรฐั วสิ าหกิจ สถาบันการศึกษาของรัฐ หน่วยงานอืน่ ของรัฐ สภากาชาดไทย ต้องดาํ เนนิ การให้เป็นไปตามประกาศนี้ภายในหนงึ่ ปี นับแตว่ ันที่ประกาศฉบับนี้มีผลใชบ้ ังคบั และให้แจง้ อธบิ ดีกรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพทราบภายใน ๓๐ วนั ข้อ ๑๓ สถานพยาบาลประเภทท่ีรบั ผู้ปว่ ยไว้ค้างคืนประเภทเฉพาะทาง ประเภทเฉพาะประเภทผปู้ ่วยและประเภทเฉพาะด้านวชิ าชพี ซงึ่ ดาํ เนินการโดยกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิน่ รฐั วสิ าหกิจสถาบันการศึกษาของรัฐ หนว่ ยงานอื่นของรัฐ สภากาชาดไทย ตอ้ งดําเนินการ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศนี้ภายในสองปีนับแตว่ ันท่ปี ระกาศฉบบั นีม้ ีผลใช้บงั คบั และให้แจ้งอธิบดี กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพทราบภายใน ๓๐ วนั ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ 447

ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉ์ ุกเฉนิ เร่อื ง หลกั เกณฑ์การประเมินเพือ่ คดั แยกระดบั ความฉกุ เฉนิ และมาตรฐานการปฏบิ ตั ิการฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๔                    โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์การประเมินเพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉินและมาตรฐานการปฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ เพื่อใหห้ นว่ ยปฏบิ ัตกิ าร สถานพยาบาล และผ้ปู ฏิบัติการ ด�ำเนนิ การปฏบิ ัติการฉุกเฉนิ ในการใหค้ วามปลอดภัยของผูป้ ่วยฉุกเฉนิ   อาศัยอำ� นาจตามความในมาตรา ๑๑ (๑) และมาตรา ๒๙ แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารแพทย์ฉุกเฉินพ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับประกาศคณะกรรมการการแพทยฉ์ กุ เฉนิ เร่อื ง การลงนามในประกาศ ขอ้ บงั คบั ระเบียบหรอื ค�ำส่ัง ลงวันที่ ๒๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ คณะกรรมการการแพทย์ฉกุ เฉินไดม้ ีมติในการประชมุ ครัง้ ท่ี ๗/๒๕๕๔เมือ่ วนั ท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔ ใหอ้ อกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้  ขอ้ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉกุ เฉิน เร่อื ง หลกั เกณฑ์การประเมนิเพอ่ื คดั แยกผู้ปว่ ยฉกุ เฉนิ และมาตรฐานการปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ พ.ศ. ๒๕๕๔”  ขอ้ ๒ ประกาศน้ีให้ใชบ้ งั คับตงั้ แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป * ข้อ ๓ ในประกาศน้ี “ปฐมพยาบาล” หมายความว่า การปฏบิ ัติการฉกุ เฉินท่เี ริ่มตน้ กระทำ� เพ่ือรักษาชีวติ หรอื ช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินขณะรอคอยปฏิบัติการแพทย์จากผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ช่วยเวชกรรม ซ่ึงต้องไม่มีการท�ำหัตถการในรา่ งกายเว้นแต่การให้ยาสามญั ประจำ� บา้ นหรือยาของผปู้ ว่ ยตามท่ีแพทย์ส่งั ไว้ และหมายรวมถงึ การแจง้ การเจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ การปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทกี่ ระทำ� ตามคำ� แนะนำ� ของแพทยห์ รอื ผชู้ ว่ ยเวชกรรม และการชว่ ยบคุ ลากรสาธารณสขุทป่ี ฏิบัติการฉุกเฉิน ณ ทเี่ กดิ เหตุและขณะเคลือ่ นย้ายผปู้ ว่ ยฉกุ เฉิน รวมท้งั การกระทำ� อ่นื ใดท่ี กพฉ. ก�ำหนดเพมิ่ เติมให้เปน็ การปฐมพยาบาล “ปฏบิ ตั กิ ารแพทย”์  หมายความวา่ การปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทกี่ ระทำ� โดยตรงตอ่ ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ เกยี่ วกบัการประเมิน การดูแล การเคลื่อนย้ายหรือล�ำเลียง การน�ำส่งต่อ การตรวจวินิจฉัย และการบ�ำบัดรักษาพยาบาลรวมถึงการเจาะหรือผา่ ตัด การใชอ้ ุปกรณห์ รอื เครอ่ื งมือแพทย์ การให้หรอื บรหิ ารยาหรือสารอน่ื หรือการสอดใสว่ ตั ถุใด ๆ เข้าไปในร่างกายผู้ป่วยฉุกเฉิน และให้หมายรวมถึงการรับแจ้งและจ่ายงานให้ผู้ปฏิบัติการอ่ืนกระท�ำโดยตรงต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน รวมท้ังการปฏิบัติการฉุกเฉินที่ต้องกระท�ำตามค�ำส่ังการแพทย์ด้วย แต่ไม่รวมถึงการกระท�ำใดอนั เป็นการปฐมพยาบาล* ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๒๘ / ตอนพิเศษ ๑๓๑ ง / หนา้ ๓๒ / ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔448

“ปฏิบัตกิ ารแพทยข์ น้ั พน้ื ฐาน” หมายความวา่ ปฏบิ ัติการแพทยด์ ้วยการใช้อปุ กรณ์ หรือเครือ่ งมอืแพทย์และการบริหารยาพ้ืนฐาน โดยไม่ท�ำหัตถการในร่างกาย รวมท้ังการกระท�ำอ่ืนใดท่ี กพฉ. ก�ำหนดเพ่ิมเติมใหเ้ ปน็ ปฏบิ ัติการแพทยข์ น้ั พนื้ ฐาน “ปฏิบัติการแพทย์ข้ันสูง” หมายความว่า ปฏิบัติการแพทย์ซ่ึงต้องมีการบริหารยา การใช้อุปกรณ์การแพทย์ฉุกเฉินที่ซับซ้อน และการท�ำหัตถการในร่างกายซึ่งเป็นประโยชน์ยิ่งกว่าในการป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงข้ึนของการเจ็บป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินได้ แต่หากมีการกระท�ำอย่างไม่ถูกต้องหรือไม่เหมาะสมก็อาจก่ออันตรายตอ่ ผูป้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ไดย้ ิง่ กว่าด้วย “การบำ� บดั เจาะจง” หมายความวา่ การบำ� บดั รกั ษาอนั เปน็ ทย่ี อมรบั โดยทวั่ ไปของวชิ าชพี เวชกรรมว่าเป็นวิธีการเจาะจงท่ีท�ำให้ผู้ป่วยฉุกเฉินหายหรือพ้นจากภาวะผิดปกติภาวะใดภาวะหน่ึงหรือโรคใดโรคหน่ึงโดยเฉพาะตามหลักวิชาการของวิชาชีพเวชกรรม “ปฏบิ ตั กิ ารอำ� นวยการ” หมายความวา่ การปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทไ่ี มไ่ ดก้ ระทำ� โดยตรงตอ่ ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิประกอบด้วยการจัดการ การประสานงาน การควบคุมดูแล และการติดต่อสื่อสารอันมีความจ�ำเป็นเพ่ือให้ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉินได้รับการปฏิบตั ิการแพทยท์ ถ่ี กู ตอ้ ง สมบูรณ์ และทนั ท่วงที “ค�ำแนะน�ำ” หมายความว่า ค�ำชี้แจงให้เข้าใจและให้ท�ำตามเป็นล�ำดับขั้นตอนเพื่อผู้แจ้งการเจ็บปว่ ยฉกุ เฉินหรอื บคุ คลอ่ืนใดอาจปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉินตามได้ “ค�ำสั่งการแพทย์” หมายความว่า ค�ำช้ีแจงให้เข้าใจและสั่งให้ท�ำตามเป็นล�ำดับขั้นตอนเพื่อให้ผชู้ ่วยเวชกรรมปฏบิ ตั กิ ารแพทยต์ าม “บรกิ ารสาธารณสุข” หมายความวา่ บริการสาธารณสขุ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสขุ ภาพแหง่ ชาติ “บุคลากรสาธารณสุข” หมายความว่า ผู้ปฏิบัติการซึ่งเป็นบุคลากรด้านสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยสขุ ภาพแหง่ ชาติ “ผู้ประกอบวิชาชีพ” หมายความว่า ผู้ปฏิบัติการซ่ึงเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ซึง่ ปฏิบัติการแพทย์ตามอ�ำนาจหนา้ ที่ ขอบเขต ความรบั ผิดชอบ และขอ้ จำ� กัดตามกฎหมายว่าดว้ ยวชิ าชพี น้นั “ผู้ช่วยเวชกรรม” หมายความว่า ผู้ปฏิบัติการที่ได้รับมอบหมายให้ท�ำปฏิบัติการแพทย์โดยที่ไม่ได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ หรือเป็นผู้ประกอบวิชาชีพซ่ึงท�ำปฏิบัติการแพทย์นอกเหนืออ�ำนาจหน้าที่ ขอบเขตความรบั ผิดชอบ และขอ้ จ�ำกดั ตามกฎหมายวา่ ด้วยวชิ าชพี นั้น “ทรัพยากร” หมายความว่า สิ่งทีใ่ ชท้ างการแพทย์เพื่อการท�ำปฏิบัตกิ ารแพทย์ ตามเกณฑท์ ี่ สพฉ.ก�ำหนด “หตั ถการในรา่ งกาย” หมายความว่า กลวิธเี พอื่ การวินจิ ฉัยและบ�ำบัดรักษาผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ ซง่ึ ตอ้ งใช้อุปกรณ์หรือเคร่ืองมือแพทย์ เจาะหรือผ่าตัด หรือสอดใส่วัตถุใด ๆ เข้าไปในร่างกายมนุษย์ หรือการแทรกแซงกระบวนการสรีรวิทยาของร่างกายมนุษย์ และหมายรวมถึงการให้หรือบริหารยาหรือสารอื่นเข้าไปในร่างกายมนุษย์ด้วย แตไ่ มร่ วมถงึ การกระท�ำใดอนั เป็นการปฐมพยาบาลและปฏบิ ตั ิการแพทยข์ ั้นพืน้ ฐาน  ขอ้ ๔ ให้หน่วยปฏิบัติการและสถานพยาบาลจัดให้มีการตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินของผ้รู บั บรกิ ารสาธารณสขุ เปน็ ระดบั ต่าง ๆ ตามหลกั เกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี 449

(๑) ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤต ไดแ้ ก่ บคุ คลซงึ่ ไดร้ บั บาดเจบ็ หรอื มอี าการปว่ ยกะทนั หนั ซง่ึ มภี าวะคกุ คามต่อชีวิต ซ่ึงหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์ทันทีเพ่ือแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด หรือระบบประสาทแล้ว ผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง หรือท�ำให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินน้ันรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอ้ นข้ึนไดอ้ ยา่ งฉบั ไว ใหใ้ ช้สญั ลักษณ ์ “สแี ดง” ส�ำหรบั ผู้ปว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤต (๒) ผูป้ ่วยฉกุ เฉนิ เรง่ ดว่ น ไดแ้ ก่ บุคคลท่ีได้รับบาดเจ็บหรอื มีอาการป่วยซึ่งมภี าวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวดรุนแรงอันจ�ำเป็นต้องได้รับปฏิบัติการแพทย์อย่างรีบด่วน มิฉะน้ันจะท�ำให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉกุ เฉินน้นั รุนแรงขึ้นหรือเกดิ ภาวะแทรกซ้อนขน้ึ ซึ่งสง่ ผลให้เสียชีวติ หรอื พกิ ารในระยะต่อมาได้ ให้ใช้สัญลกั ษณ์ “สเี หลือง” สำ� หรบั ผปู้ ่วยฉุกเฉนิ เร่งด่วน (๓) ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง ได้แก่ บุคคลซ่ึงได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยซ่ึงมีภาวะเฉียบพลันไม่รุนแรง อาจรอรับปฏิบัติการแพทย์ได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งหรือเดินทางไปรับบริการสาธารณสุขด้วยตนเองได้แต่จ�ำเป็นต้องใช้ทรัพยากรและหากปล่อยไว้เกินเวลาอันสมควรแล้วจะท�ำให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ปว่ ยฉุกเฉนิ นัน้ รุนแรงขนึ้ หรอื เกดิ ภาวะแทรกซอ้ นขน้ึ ได้ ให้ใชส้ ัญลักษณ์ “สีเขยี ว” สำ� หรบั ผ้ปู ่วยฉกุ เฉินไมร่ นุ แรง (๔) ผปู้ ว่ ยทว่ั ไป ไดแ้ ก่ บคุ คลทเี่ จบ็ ปว่ ยแตไ่ มใ่ ชผ่ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ซงึ่ อาจรอรบั หรอื เลอื กสรรการบรกิ ารสาธารณสุขในเวลาท�ำการตามปกตไิ ด้ โดยไม่กอ่ ใหเ้ กดิ อาการท่รี ุนแรงขนึ้ หรือภาวะแทรกซอ้ นตามมา ใหใ้ ชส้ ัญลักษณ ์ “สขี าว” สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยท่ัวไป (๕) ผู้รับบริการสาธารณสุขอ่ืน ได้แก่ บุคคลซึ่งมารับบริการสาธารณสุขหรือบริการเพื่อผู้อื่นโดยไมจ่ �ำเป็นตอ้ งใชท้ รัพยากร ให้ใช้สญั ลกั ษณ์ “สดี �ำ” ส�ำหรับผ้รู บั บริการสาธารณสขุ อื่น  ขอ้ ๕ ให้หน่วยปฏิบัติการและสถานพยาบาลจัดให้มีบุคลากรสาธารณสุขเพื่อคัดแยกผู้รับบริการสาธารณสขุ ตามข้อ ๔ ตลอดเวลา รวมทัง้ ควบคุมและดูแลให้ผูป้ ฏบิ ตั กิ ารดำ� เนินการใหผ้ ู้ป่วยฉุกเฉินได้รบั การปฏบิ ัติการฉกุ เฉินตามล�ำดบั ความเรง่ ด่วน ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) จดั ใหผ้ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตตามขอ้ ๔ (๑) ไดร้ บั การปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทนั ที และจดั ใหไ้ ดร้ บั ปฏบิ ตั ิการแพทย์ขน้ั สงู โดยเร่งด่วนทีส่ ดุ (๒) จดั ใหผ้ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ เรง่ ดว่ นตามขอ้ ๔ (๒) ไดร้ บั การปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ถดั จากผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ วกิ ฤตตามข้อ ๔ (๑) และจัดให้ไดร้ ับปฏิบัตกิ ารแพทย์ข้ันสงู โดยเร็ว (๓) จัดให้ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรงตามข้อ ๔ (๓) ได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินถัดจากผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งดว่ นตามขอ้ ๔ (๒) และจดั ใหไ้ ดร้ ับปฏบิ ัติการแพทย์ตามความจ�ำเป็น (๔) เลอื กสรรหรอื จดั ใหผ้ ปู้ ว่ ยทว่ั ไปตามขอ้ ๔ (๔) ไดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ อนื่ ตามสมควรแกก่ รณีหรอื อาจอนโุ ลมใหใ้ ชท้ รพั ยากรไดเ้ ฉพาะในกรณจี ำ� เปน็ โดยใหไ้ ดร้ บั บรกิ ารถดั จากผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ไมร่ นุ แรงตามขอ้ ๔ (๓)หรอื เมือ่ ไม่มีผ้ปู ่วยฉุกเฉนิ (๕) จดั หรอื แนะนำ� ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ อนื่ ตามขอ้ ๔ (๕) ไดร้ บั บรกิ ารทปี่ ระสงคจ์ ากบคุ ลากรสาธารณสขุ อ่นื ในเวลาหรอื บริเวณอืน่ ซึ่งไมไ่ ด้จดั ไวเ้ พ่อื ปฏบิ ตั กิ ารแพทย์ ตามความเหมาะสม 450

ขอ้ ๖ นอกจากการจัดใหผ้ ปู้ ว่ ยฉุกเฉนิ ได้รบั การปฏิบัตกิ ารฉกุ เฉินตามขอ้ ๕ แล้ว หนว่ ยปฏิบัติการสถานพยาบาล และผู้ปฏิบัติการ มีอ�ำนาจ หน้าท่ี ขอบเขต ข้อจ�ำกัด และความรับผิดชอบตามมาตรา ๒๘และมาตรา ๒๙ แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทั้งการจัดให้ผู้ป่วยฉุกเฉินตามข้อ ๔ (๑)ขอ้ ๔ (๒) และขอ้ ๔ (๓) ไดร้ บั การบ�ำบดั เจาะจงอยา่ งทนั ทว่ งทดี ว้ ย ขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลในการปฏิบัติการฉุกเฉิน ให้ถือตามกฎหมาย กฎ ค�ำสั่ง และข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการจัดต้ังหรือการได้รับอนุญาต รวมท้ังการด�ำเนินการและภาระรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยปฏิบตั กิ ารหรอื สถานพยาบาลนนั้   ขอ้ ๗ มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน ท้ังการปฏิบัติการแพทย์และการปฏิบัติการอ�ำนวยการของหน่วยปฏิบัติการ สถานพยาบาล และผู้ปฏิบัติการ ให้ถือปฏิบัติโดยอนุโลมตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์และการสาธารณสุข หรือกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล หรือตามที่ กพฉ. ก�ำหนดเพ่ิมเติมแลว้ แตก่ รณี  ข้อ ๘ ให้เลขาธกิ ารสถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉนิ แห่งชาตริ ักษาการตามประกาศน้ี   ประกาศ ณ วันท่ี ๑๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ชาตร ี  เจริญชวี ะกุล เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉนิ แหง่ ชาติ ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีแทน ประธานกรรมการการแพทย์ฉุกเฉนิ 451

ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข วา่ ดว้ ยเงนิ บ�ำรงุ ของหน่วยบริการในสังกดั กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ แกไ้ ขระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ดว้ ยเงนิ บำ� รงุ ของหนว่ ยบรกิ ารในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๓๖ ระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ ว่าดว้ ยเงนิ บำ� รงุ ของหน่วยบริการในสงั กดักระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔ ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ และระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖ ให้เกิดความคล่องตัวและเกิดประโยชน์แก่การดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุขยิง่ ขน้ึ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๒๔ วรรคหา้ แหง่ พระราชบญั ญตั วิ ธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒และที่แก้ไขเพิ่มเติม กระทรวงสาธารณสุขโดยได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และผู้อ�ำนวยการสำ� นกั งบประมาณ จงึ วางระเบยี บไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบยี บนเี้ รยี กวา่ “ระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ดว้ ยเงนิ บ�ำรงุ ของหนว่ ยบรกิ ารในสังกดักระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๖๑” ขอ้ ๒ ระเบยี บนีใ้ ห้ใช้บงั คบั ตงั้ แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศเป็นต้นไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ (๑) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๓๖ (๒) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔ (๓) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ (๔) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖ บรรดาระเบยี บ ขอ้ บงั คบั หรอื คำ� สง่ั อนื่ ใดในสว่ นทกี่ ำ� หนดไวใ้ นระเบยี บนี้ หรอื ซงึ่ ขดั หรอื แยง้กบั ระเบยี บน้ี ใหใ้ ช้ระเบียบน้ีแทน ขอ้ ๔ วธิ ปี ฏบิ ตั อิ น่ื ใดซง่ึ มไิ ดก้ ำ� หนดไวใ้ นระเบยี บนี้ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของทางราชการโดยอนโุ ลม ขอ้ ๕ ในระเบยี บน้ี “เงนิ บำ� รุง” ได้แก่ (๑) เงนิ ทหี่ นว่ ยบรกิ ารไดร้ บั ไวเ้ ปน็ กรรมสทิ ธเ์ิ นอื่ งจากการดำ� เนนิ งานหรอื เพอื่ การดำ� เนนิ งานในกจิ การของหนว่ ยบรกิ าร ยกเวน้452

๑.๑ เงนิ งบประมาณรายจ่าย ๑.๒ เงินรายรบั อ่ืนทหี่ น่วยบริการได้รับหรอื จดั เก็บตามกฎหมายว่าด้วยการน้นั ๆ เชน่เงนิ ค่าธรรมเนียมใบอนญุ าตสาธารณสุข เงนิ คา่ ธรรมเนมี ยสมัครสอบ เงินค่าเปรียบเทยี บคดี เป็นตน้ (๒) เงนิ ทห่ี นว่ ยบริการไดร้ บั ในลักษณะหน่ึงลกั ษณะใด ดังตอ่ ไปนีด้ ว้ ย ๒.๑ เงินค่าบรกิ ารทไี่ ด้รับจากการให้ใชอ้ าคารสถานท่ีหรอื ทรัพย์สินของหนว่ ยบริการ ๒.๒ เงนิ ทไี่ ดร้ บั ชดใชค้ วามเสยี หายหรอื เงนิ ทไ่ี ดร้ บั จากการจำ� หนา่ ยจา่ ยโอนทรพั ยส์ นิของหนว่ ยบริการ ยกเว้นทรพั ย์สนิ ที่ได้มาจากเงนิ งบประมาณท้งั หมดหรือบางสว่ น ๒.๓ เงินท่ีได้รับชดใช้คืนเงินบ�ำรุงหรือเงินท่ีได้รับชดใช้เงินบ�ำรุงท่ีหน่วยบริการได้จ่ายเปน็ ค่ากระแสไฟฟา้ ค่าน้�ำประปา ซงึ่ หน่วยบริการไดบ้ รกิ ารให้แก่ผูท้ ่ีใช้หรือใชร้ ่วมกบั หนว่ ยบรกิ าร ๒.๔ เงนิ ทมี่ ผี บู้ รจิ าคหรอื มอบใหโ้ ดยระบวุ ตั ถปุ ระสงคห์ รอื ไมไ่ ดร้ ะบวุ ตั ถปุ ระสงค์ หรอืระบุวัตถปุ ระสงค์ไวไ้ มช่ ัดแจ้ง ๒.๕ เงินที่ได้จากการด�ำเนินงานของหน่วยบริการที่รับจัดท�ำ รับบริการ รับจ้างผลิตเพอ่ื จ�ำหนา่ ยตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่อื นไขท่ีปลดั กระทรวงสาธารณสุขกำ� หนด ๒.๖ เงินท่ีได้รับจากการแสดงหรือจัดกิจกรรมสาธารณสุขของหน่วยบริการตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขท่ีปลดั กระทรวงสาธารณสุขก�ำหนด ๒.๗ เงนิ ท่ไี ดร้ บั จากการจัดประชมุ อบรม สมั มนา ท่ีหน่วยบรกิ ารเปน็ ผู้จัด โดยใช้เงนิบำ� รงุ เพื่อประโยชน์ตอ่ การให้บริการสาธารณสุข ๒.๘ เงินท่ีได้รับจากการจัดบริการพิเศษให้แก่ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วย เช่น บริการรถรับส่งผู้ปว่ ย การใช้บริการเครอ่ื งถ่ายเอกสาร เปน็ ต้น ๒.๙ เงนิ ทไ่ี ดร้ บั จากการรบิ หลกั ประกนั หรอื เงนิ คา่ ปรบั เนอ่ื งจากการผดิ สญั ญาทด่ี ำ� เนนิ การโดยเงนิ บ�ำรุงท้ังหมด หรือใช้เงนิ บำ� รุงสมทบ ท้งั นี้ ให้เป็นไปตามสดั สว่ นของเงินบ�ำรงุ เท่านั้น ๒.๑๐ เงนิ ผลประโยชนท์ เ่ี กดิ จากทรพั ยส์ นิ ทไี่ ดม้ าดว้ ยเงนิ บำ� รงุ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทมี่ ผี บู้ รจิ าคใหห้ นว่ ยบรกิ ารเพอ่ื หาผลประโยชน์ โดยผบู้ รจิ าคทรี่ ะบวุ ตั ถปุ ระสงคห์ รอื ไมไ่ ดร้ ะบวุ ตั ถปุ ระสงค์ หรอื ระบวุ ตั ถปุ ระสงค์ไวไ้ ม่ชัดแจง้ เช่น ดอกเบ้ยี เงินฝากธนาคาร เป็นต้น ๒.๑๑ เงินสว่ นลดคา่ ใชบ้ รกิ ารโทรศพั ทส์ าธารณะ ๒.๑๒ เงนิ รายรบั จากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ และกองทุนประกันสงั คม หรอื กองทนุ อนื่ ที่จดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการนั้นๆ ๒.๑๓ เงนิ รายรบั อนื่ ทกี่ ระทรวงสาธารณสขุ กำ� หนดโดยความเหน็ ชอบจากรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลัง “หน่วยบรกิ าร” หมายความว่า (๑) โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติหรอื ทีเ่ รยี กชือ่ เปน็ อย่างอนื่ แตป่ ฏบิ ัติงานในลักษณะเดยี วกัน หรือ (๒) สำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สำ� นกั งานสาธารณสขุ อำ� เภอ หรอื หนว่ ยงานอนื่ ใดในสงั กดักระทรวงสาธารณสขุ ซง่ึ ดำ� เนนิ การและประสานงานเกยี่ วกบั การสาธารณสขุ ตามทป่ี ลดั กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศก�ำหนด 453

“การสาธารณสขุ ” ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การปอ้ งกนั ควบคมุ และกำ� จัดโรค การรกั ษาพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพ การศึกษาวิจัยค้นคว้าและพัฒนา การชันสูตรและการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ด้านระบบบริการสุขภาพ และด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพการอาชวี อนามยั และอนามยั สง่ิ แวดล้อม ทัง้ นี้ ใหร้ วมถึงการจดั ฝึกอบรมเก่ยี วกบั เรื่องดงั กลา่ ว ข้อ ๖ ให้หน่วยบริการเก็บรักษาเงินสดไว้เพื่อส�ำรองใช้จ่ายได้ภายในวงเงินที่กระทรวงสาธารณสุขก�ำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง นอกนั้นให้น�ำฝากกระทรวงการคลัง หรือส�ำนักงานคลังจังหวัดแลว้ แต่กรณี หรอื น�ำฝากธนาคารแหง่ ประเทศไทย หรอื ธนาคารพาณชิ ย์ทก่ี ระทรวงการคลังให้ความเหน็ ชอบ การนำ� ฝากธนาคารแหง่ ประเทศไทยหรอื ธนาคารพาณชิ ยจ์ ะตอ้ งไมเ่ กนิ วงเงนิ ทก่ี ระทรวงสาธารณสขุก�ำหนด โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั ข้อ ๗ การรบั เงิน หนว่ ยบริการจะตอ้ งออกใบเสร็จรบั เงินใหแ้ ก่ผู้ชะระเงินทกุ ครง้ั ทม่ี กี ารรบั เงิน ใบเสร็จรับเงินให้ใช้ใบเสร็จรับเงินตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับเงินและการออกใบเสร็จรับเงินของหน่วยบริการในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข ข้อ ๘ การรบั ชำ� ระเงนิ คา่ รกั ษาพยาบาล โดยใชบ้ รกิ ารบตั รเครดติ ใหอ้ ยใู่ นอำ� นาจของปลดั กระทรวงสาธารณสขุ หรอื ผ้ทู ีไ่ ด้รับมอบหมาย ท้งั น้ี ตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขท่ปี ลดั กระทรวงสาธารณสขุ กำ� หนด ข้อ ๙ เงินบ�ำรุงท่ีหน่วยบริการได้รับ จะน�ำไปก่อหน้ีผูกพันหรือจ่ายได้เพ่ือการปฏิบัติราชการของหน่วยบรกิ าร เงินบ�ำรุงท่ีหน่วยบริการได้รับส�ำหรับด�ำเนินการสร้างหลักประกันสุขภาพ ให้น�ำไปใช้จ่ายเพือ่ ด�ำเนนิ การด้านการส่งเสรมิ ระบบบรกิ ารและคุ้มครองสขุ ภาพของประชาชนใหม้ สี ุขภาพดีถ้วนหน้า การจ่ายเงินบ�ำรุงในกรณดี งั ตอ่ ไปนี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ บงั คับ ประกาศหรือหลกั เกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขท่ีปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ก�ำหนด คอื (๑) การจ่ายเงินบ�ำรุงเพ่อื ปฏิบตั ริ าชการของหน่วยบริการอ่ืน (๒) การจา่ ยเงนิ บำ� รงุ ในลกั ษณะเงนิ คา่ ตอบแทน หรอื เงนิ ตอบแทนพเิ ศษแกบ่ คุ คลทใ่ี หบ้ รกิ ารหรอื สนับสนุนบรกิ ารในงานดา้ นต่างๆ ดงั น้ี (ก) ด้านการรักษาพยาบาล (ข) ด้านการสาธารณสุข (ค) ด้านการชันสูตรพลกิ ศพ (ง) งานดา้ นอนื่ ทกี่ ฎหมายหรอื กระทรวงสาธารณสขุ กำ� หนดใหเ้ ปน็ หนา้ ทท่ี จี่ ะตอ้ งปฏบิ ตั ิ (๓) การจา่ ยเงนิ บำ� รงุ เพอ่ื เปน็ คา่ บรกิ ารทางการแพทยใ์ หแ้ กห่ นว่ ยบรกิ ารหรอื หนว่ ยงานอน่ืท้ังภาครัฐและภาคเอกชน กรณีส่งต่อ อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน การบริการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะและเน้ือเยื่อหรือจำ� เปน็ ตอ้ งได้รบั การรักษาต่อเนอ่ื งตามคำ� ส่ังของแพทย์ผู้รกั ษา (๔) การจา่ ยเงินบำ� รงุ เพ่ือเปน็ คา่ จ้างลกู จ้างชวั่ คราว หรอื ลูกจ้างรายคาบ (๕) การจ่ายเงนิ บ�ำรุงเพอ่ื เปน็ คา่ จ้างและค่าตอบแทนแกพ่ นกั งานกระทรวงสาธารณสขุ (๖) การจา่ ยเงินบำ� รุงเพือ่ สมทบกองทุนส�ำรองเลย้ี งชพี ของพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ (๗) การจ่ายเงินบ�ำรุงให้แก่พนักงานกระทรวงสาธารณสุขตามสิทธิประโยชน์ที่กระทรวงสาธารณสขุ กำ� หนด (๘) การจ่ายเงนิ บำ� รุงเปน็ คา่ ซอ่ มแซม ต่อเติม หรอื ปรับปรงุ บา้ นพัก หรอื อาคารทพี่ กั454

(๙) การจ่ายเงนิ บำ� รงุ เพ่อื ซ้ือครุภัณฑ์ ท่ดี ิน สิง่ กอ่ สร้าง และยานพาหนะ (๑๐) การจา่ ยเงนิ บำ� รงุ เพอื่ ชว่ ยเหลอื ใหแ้ กบ่ คุ ลากรดา้ นสาธารณสขุ ทไี่ ดร้ บั ความเสยี หายจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ (๑๑) การจ่ายเงินบ�ำรุงเพ่ือสนับสนุนการศึกษาในวิชาชีพที่ขาดแคลนตามแผนกรอบอัตรากำ� ลงั ทไ่ี ดร้ ับอนุมัตจิ าก อ.ก.พ.กระทรวงสาธารณสขุ หรอื ก.พ. แลว้ แต่กรณี (๑๒) การจ่ายเงินบำ� รงุ ตามทีก่ ฎหมาย ระเบยี บ หรอื มติคณะรัฐมนตรกี ำ� หนดใหจ้ ่ายไดจ้ ากเงินบำ� รงุ การจ่ายเงินบ�ำรุงเพื่อการอ่ืนนอกเหนือจากท่ีก�ำหนดในข้อ ๙ (๑) - ๙ (๑๒) ให้ขอท�ำความตกลงกบั กระทรวงการคลัง การจา่ ยเงนิ บำ� รงุ เพอ่ื ดำ� เนนิ การจากเงนิ ทมี่ ผี บู้ รจิ าคหรอื ผมู้ อบให้ โดยระบวุ ตั ถปุ ระสงค์ หรอืไม่ได้ระบุวัตถุประสงค์ หรือระบุวัตถุประสงค์ไว้ไม่ชัดแจ้ง รวมถึงเงินผลประโยชน์ที่เกิดจากทรัพย์สินท่ีได้รับจากผบู้ รจิ าคดังกลา่ วใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บทก่ี ระทรวงสาธารณสุขกำ� หนด โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง ข้อ ๑๐ การกำ� หนดกรอบอัตราและค่าจา้ งของลูกจ้างช่วั คราว หรือพนักงานกระทรวงสาธารณสุขจากเงนิ บ�ำรุง ตามข้อ ๙ วรรคสาม (๔) และ (๕) ตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลังก่อน การกำ� หนดอตั ราการจา่ ยเงนิ คา่ ตอบแทนหรอื เงินตอบแทนพเิ ศษ ตามขอ้ ๙ วรรคสาม (๒)หรอื การก�ำหนดค่าตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชน์แก่พนกั งานกระทรวงสาธารณสขุ ตามข้อ ๙ วรรคสาม (๕) และ (๗)ต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังก่อน ข้อ ๑๑ รายจา่ ยต่อไปน้ี หา้ มจ่ายจากเงนิ บำ� รงุ (๑) รายจ่ายในลักษณะบ�ำเหนจ็ บ�ำนาญ (๒) ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการตา่ งประเทศ (๓) รายจา่ ยเกี่ยวกบั สิง่ ก่อสรา้ งทีม่ วี งเงนิ แต่ละรายการเกินกวา่ ๓๐ ลา้ นบาท ในกรณที มี่ คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งจา่ ยตามรายการใน (๓) ใหข้ อทำ� ความตกลงกบั สำ� นกั งบประมาณ ข้อ ๑๒ อ�ำนาจในการอนุมัติการก่อหนี้ผูกพันให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และประกาศทเ่ี ก่ียวข้องของทางราชการ การกอ่ หนี้รายการคา่ ครภุ ณั ฑ์ ที่ดนิ และส่ิงกอ่ สรา้ งทเี่ กนิ กว่า ๑ ปี ให้ขอความเห็นชอบจากส�ำนกั งบประมาณกอ่ น และหากเปน็ รายการทีก่ อ่ หนผี้ กู พันเกินกวา่ ๑ ปี และมีวงเงนิ เกินกวา่ ๑๐๐ ลา้ นบาท ให้ขออนมุ ตั ติ อ่ คณะรฐั มนตรี ยกเวน้ กรณกี ารเพมิ่ บทบาทภาคเอกชนดา้ นการบรหิ ารจดั การทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุในรปู แบบความรว่ มมือระหวา่ งภาครัฐและเอกชน (PPPs) โดยถือปฏิบตั ิตามพระรชบญั ญตั กิ ารให้เอกชนรว่ มลงทนุในกจิ การของรฐั พ.ศ. ๒๕๕๖ สำ� หรับรายงานการเบกิ จา่ ยเงนิ บำ� รุงใหร้ ายงานต่อสำ� นักงบประมาณ กรมบัญชกี ลางและสำ� นักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน ท้งั น้ี เพื่อความโปร่งใสและตรวจสอบได้ จะประกาศต่อสาธารณชนด้วยก็ได้ อ�ำนาจในการอนุมัติการจ่ายเงินบ�ำรุงให้เป็นอ�ำนาจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าสังกัดหรอื ผทู้ ่ีหัวหนา้ ส่วนราชการเจา้ สังกัดมอบหมาย ขอ้ ๑๓ ระบบบญั ชเี งนิ บำ� รงุ ของหนว่ ยบรกิ าร ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามระบบบญั ชขี องสว่ นราชการโดยอนโุ ลมโดยใหจ้ ดั ทำ� ทะเบยี นคมุ เงนิ บำ� รงุ ทไ่ี ดร้ บั สำ� หรบั ดำ� เนนิ การสรา้ งหลกั ประกนั สขุ ภาพแยกตา่ งหากจากเงนิ บำ� รงุ ประเภทอนื่ เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากกระทรวงการคลงั ใหป้ ฏบิ ตั เิ ปน็ อยา่ งอนื่ และเมอื่ ปดิ บญั ชปี ระจำ� ปแี ลว้ ใหส้ ง่ งบการเงนิไปใหส้ �ำนักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ตรวจสอบรบั รองภายในเก้าสิบวนั นับแตว่ นั สิ้นปงี บประมาณ 455

เม่ือส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจสอบรับรองการเงินแล้วให้หน่วยบริการส่งงบการเงินที่รับรองแล้วให้กรมบัญชีกลางและส�ำนักงบประมาณทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ส�ำนักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ไดร้ บั รองงบการเงิน ข้อ ๑๔ เมอื่ ส้นิ เดอื นหนงึ่ ๆ ใหห้ น่วยบรกิ ารจดั ทำ� รายงานรับจ่ายเงินบำ� รงุ ในระหวา่ งเดอื นนั้นตามแบบทา้ ยระเบยี บน้ี พรอ้ มทงั้ รวบรวมใบสำ� คญั คจู่ า่ ยและเอกสารอนื่ อนั เปน็ หลกั ฐานแหง่ หนใี้ หเ้ สรจ็ ภายในวนั สน้ิ เดอื นถัดไป เพื่อเก็บไว้ให้ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจหรือส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจภูมิภาค แล้วแต่กรณีตรวจสอบ ข้อ ๑๕ ให้หน่วยบริการส่งส�ำเนารายงานการรับจ่ายเงินตามข้อ ๑๔ ประจ�ำเดือนมีนาคมและกันยายนให้กรมบญั ชกี ลางและส�ำนักงบประมาณทราบภายในวนั สิ้นเดอื นถัดไป ข้อ ๑๖ ส�ำหรับกรณีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลและสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติให้กระทรวงสาธารณสุขมอบหมายให้ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ ก�ำกับดูแลและให้ค�ำแนะน�ำในการจา่ ยเงินบำ� รงุ ใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบยี บ พรอ้ มทงั้ รายงานผลการดำ� เนนิ งานให้กระทรวงสาธารณสุขทราบดว้ ย ขอ้ ๑๗ ในกรณที ปี่ รากฎวา่ หนว่ ยบรกิ ารแหง่ ใดมเี งนิ บำ� รงุ เหลอื เกนิ ความจำ� เปน็ กระทรวงการคลงัจะกำ� หนดให้หน่วยบรกิ ารนำ� สง่ เปน็ เงินรายได้แผน่ ดินตามจำ� นวนทีเ่ ห็นสมควรได้ ข้อ ๑๘ ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอ�ำนาจออกข้อบงั คบั หรอื ค�ำสัง่ ในทางปฏบิ ัตแิ ต่ตอ้ งไม่ขดั หรอื แยง้ กันระเบยี บน้ี ข้อ ๑๙ บรรดาขอ้ บงั คับหรอื คำ� สง่ั ของกระทรวงสาธารณสขุ ซง่ึ ออกโดยอาศัยอ�ำนาจตามระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ดว้ ยเงนิ บำ� รงุ ของหนว่ ยบรกิ ารในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๓๖ ระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ดว้ ยเงนิ บำ� รงุ ของหนว่ ยบรกิ ารในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔ ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุข ว่าดว้ ยเงนิ บ�ำรงุ ของหนว่ ยบรกิ ารในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ และระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ ว่าดว้ ยเงนิ บำ� รงุ ของหน่วยบริการในสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖ ใหใ้ ช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบน้ี ท้ังนี้ จนกว่าจะมีข้อบังคับ ประกาศ หรือหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อื นไขทป่ี ลดั กระทรวงสาธารณสขุ ก�ำหนดใหอ้ อกตามระเบียบนี้ บรรดาหนังสือส่ังการหรืออนุญาตตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๖ ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔ ระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ ว่าด้วยเงินบำ� รุงของหนว่ ยบริการในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ และระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ดว้ ยเงินบ�ำรุงของหน่วยบริการในสังกดั กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖ ใช้ไดต้ อ่ ไปจนกว่าจะดำ� เนินการตามหนงั สือสง่ั การหรืออนุญาตแล้วเสรจ็ หรอื จนกว่าจะมหี นังสือสัง่ การหรอื อนญุ าตเป็นอยา่ งอ่ืน ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข456

หน่วยบรกิ าร ....................................................... รายงานการรับ - จา่ ยเงนิ บำ� รงุประจ�ำเดือน .......................................... พ.ศ. ............... รายการ เดือนน้ี แตต่ ้นปีเงนิ รายรับ บาท สต. บาท สต. คา่ ยา ค่าหอ้ งพิเศษ คา่ อาหาร เงินบรจิ าค ค่าดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร ค่าบำ� รุงฉดี วัคซนี คา่ ตรวจรกั ษาและบรกิ าร รายรับอ่ืน ......................... ......................... รวมรายรบัเงนิ รายจา่ ย คา่ จ้างช่ัวคราว ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าครภุ ัณฑ์ คา่ ทด่ี นิ และสิง่ กอ่ สรา้ ง รายจ่ายอืน่ ๆ ......................... ......................... รวมรายจา่ ย รายรับสงู กวา่ (ต�่ำกว่า) รายจ่ายบวก เงินบำ� รุงคงเหลือยกยอดมาจากเดือนกอ่ นเงนิ บ�ำรุงคงเหลอื ยกไป 457

รายการที่จะตอ้ งจา่ ยตามใบส่ังหรอื สญั ญา ................................................. บาท - คา่ วัสดุ ................................................. บาท - คา่ ครภุ ัณฑ์ ................................................. บาท - คา่ เวชภณั ฑแ์ ละเคมีภัณฑ ์ ................................................. บาท - คา่ ทด่ี นิ และสง่ิ กอ่ สร้าง ................................................. บาท - ค่าสาธารณปู การที่ไมอ่ าจเบิกจากงบประมาณ ................................................. บาท - ค่าไฟฟา้ ................................................. บาท - ค่าประปา ................................................. บาท - ค่าสง่ ไปรษณยี ์ ................................................. บาท - ค่ารักษาพยาบาลผู้มีรายได้น้อย ................................................. บาท - คา่ อน่ื ๆ ................................................. บาท ................................................... ................................................. บาท ................................................... ................................................. บาท รวม ที่........................../..........................เรียน ......................................................... พรอ้ มนี้ได้สง่ ใบส�ำคญั คจู่ ่ายมาดว้ ย ฉบบั เปน็ เงิน บาทตามรายละเอียดที่แนบ(หากมรี ายการอื่นโปรดเพ่ิมลงไปด้วย) ลงช่ือ .......................................................... เจ้าหนา้ ทกี่ ารเงนิ ลงชอ่ื .......................................................... หัวหนา้ หน่วยบรกิ าร458

บนั ทกึ 459

บันทกึ460

บนั ทกึ 461

บันทกึ462

บนั ทกึ 463

บันทกึ464

บนั ทกึ 465

บันทกึ466