Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Published by kc_studio, 2018-10-12 02:24:50

Description: กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

๕หมวดหนว่ ยบรกิ ารและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข



ข้อบงั คับคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไข การข้นึ ทะเบียนเป็นหนว่ ยบริการและเครอื ข่ายหนว่ ยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไข การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร รวมทง้ั วธิ กี ารประชาสมั พนั ธ์ เพอื่ ใหบ้ คุ คลผมู้ สี ทิ ธไิ ดล้ งทะเบยี นเลอื กเปน็ หนว่ ยบรกิ ารประจำ� อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๘ และมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติคร้ังท่ี ๑๑/๒๕๕๗เม่ือวันที่ ๘ ธนั วาคม ๒๕๕๗ คณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาตจิ งึ ออกข้อบงั คับไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงอ่ื นไข การขึ้นทะเบียนเปน็ หน่วยบริการและเครือข่ายหนว่ ยบริการ พ.ศ. ๒๕๕๘” ขอ้ ๒ ขอ้ บงั คับน้ีใหใ้ ชบ้ ังคบั ต้งั แตบ่ ัดนี้เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก ข้อบังคับส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อื นไข การข้ึนทะเบยี นเป็นหน่วยบริการและเครือขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ในข้อบังคับนี้ “สถานบรกิ าร” หมายความวา่ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ของเอกชนและของสภากาชาดไทยหรอื หนว่ ยบรกิ ารการประกอบโรคศลิ ปะสาขาตา่ งๆ และสถานบรกิ ารสาธารณสขุ อน่ื ทคี่ ณะกรรมการกำ� หนดเพมิ่ เตมิ “หน่วยบรกิ าร” หมายความว่า สถานบรกิ ารทไ่ี ด้ขน้ึ ทะเบยี นไวต้ ามข้อบังคบั น้ี “หน่วยบริการประจ�ำ” หมายความว่า สถานบริการหรือกลุ่มสถานบริการที่ได้ข้ึนทะเบียนเป็นหนว่ ยบรกิ ารประจำ� ซง่ึ สามารถจดั บรกิ ารสาธารณสขุ ระดบั ปฐมภมู ทิ จี่ ำ� เปน็ ตอ่ สขุ ภาพและการดำ� รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งเปน็องคร์ วม ทง้ั การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค การตรวจวนิ จิ ฉยั โรค การรกั ษาพยาบาลและการฟน้ื ฟสู มรรถภาพโดยต้องให้บริการด้านเวชกรรมด้วยตนเอง และมีเครือข่ายหน่วยบริการเพ่ือการส่งต่อผู้รับบริการไปรับบริการสาธารณสขุ ในกรณีทเ่ี กนิ ขดี ความสามารถ ซ่ึงผมู้ สี ิทธสิ ามารถเลือกลงทะเบยี นเป็นหนว่ ยบรกิ ารประจ�ำของตน ทัง้ นี้หน่วยบริการประจ�ำมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อการสาธารณสุขในลักษณะเหมาจ่ายรายหัวและค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขอน่ื จากกองทุนตามที่คณะกรรมการก�ำหนด “หน่วยบริการปฐมภูมิ” หมายความว่าสถานบริการที่ได้ข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายของหน่วยบริการประจ�ำ ซ่ึงสามารถจัดบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิได้อย่างเป็นองค์รวมท้ังการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยผู้มีสิทธิของหน่วยบริการประจ�ำดังกล่าวสามารถใช้บริการสาธารณสุข ณ หน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายได้ ท้ังนี้หน่วยบริการปฐมภูมิมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการประจ�ำหรือจากกองทุน ตามที่คณะกรรมการกำ� หนด 239

“หน่วยบรกิ ารท่ีรับการสง่ ตอ่ ” หมายความวา่ สถานบรกิ ารทไี่ ดข้ ึน้ ทะเบียนเปน็ หน่วยบรกิ ารท่รี ับการส่งต่อทั่วไปหรอื หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ เฉพาะด้าน ซึ่งสามารถจดั บริการสาธารณสุขระดบั ทุติยภูมิ ตติยภมู ิหรือเฉพาะด้าน โดยผู้มีสิทธิสามารถใช้บริการสาธารณสุข ณ หน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อได้ เม่ือได้รับการส่งต่อหรือได้รับความเห็นชอบจากหน่วยบริการประจ�ำหรือส�ำนักงาน ท้ังน้ีหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ มีสิทธิได้รับคา่ ใชจ้ ่ายเพ่ือบรกิ ารสาธารณสขุ จากหนว่ ยบริการประจ�ำหรอื จากกองทนุ ตามทค่ี ณะกรรมการกำ� หนด “หน่วยบริการร่วมให้บริการ” หมายความว่า สถานบริการท่ีจัดบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิเฉพาะด้าน ตามเกณฑ์ท่ีส�ำนักงานก�ำหนด และได้ข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการ โดยมีข้อตกลงเป็นหนงั สอื กบั หนว่ ยบรกิ ารประจำ� หรอื สำ� นกั งาน ในการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ แกผ่ มู้ สี ทิ ธทิ ง้ั นห้ี นว่ ยบรกิ ารรว่ มใหบ้ รกิ ารมสี ทิ ธไิ ดร้ ับคา่ ใช้จา่ ยเพอ่ื บริการสาธารณสุขจากหนว่ ยบรกิ ารประจ�ำหรือจากกองทนุ ตามท่คี ณะกรรมการกำ� หนด “เครือข่ายหนว่ ยบรกิ าร” หมายความวา่ หน่วยบริการท่ีรวมตัวกนั โดยประกอบด้วยหน่วยบรกิ ารประจ�ำหน่ึงหน่วยเป็นแกนกลาง รวมตัวกับหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อและหน่วยบริการปฐมภูมิท้ังน้ีอาจมีหน่วยบริการร่วมให้บริการเข้าร่วมก็ได้ และได้ข้ึนทะเบียนเป็นเครือข่ายหน่วยบริการตามท่ีส�ำนักงานประกาศท้ังนี้เครือข่ายหน่วยบริการมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการประจ�ำหรือจากกองทุนตามทคี่ ณะกรรมการก�ำหนด “กองทนุ ” หมายความว่า กองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ “ส�ำนักงาน”หมายความวา่ ส�ำนักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ “สำ� นกั งานสาขา” หมายความวา่ สำ� นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติสาขา “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ขอ้ ๕ ประเภทของหน่วยบรกิ ารท่รี ับขน้ึ ทะเบยี นมี ๔ ประเภท ดังน้ี (๑) หน่วยบรกิ ารประจำ� (๒) หนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิ (๓) หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การส่งต่อ (๔) หนว่ ยบริการรว่ มให้บริการ เกณฑก์ ารตรวจประเมินเพื่อข้ึนทะเบยี นเป็นหนว่ ยบรกิ าร ให้เป็นไปตามทสี่ �ำนกั งานกำ� หนด ขอ้ ๖ สถานบริการอื่นนอกจากสถานบริการของรัฐและของสภากาชาดไทย ซึ่งประสงค์จะข้ึนทะเบียนเป็นหนว่ ยบริการตามขอ้ ๕ ใหย้ ื่นค�ำขอตอ่ ส�ำนกั งานหรอื สำ� นกั งานสาขา ขอ้ ๗ ให้ส�ำนักงานหรือส�ำนักงานสาขา ตรวจประเมินสถานบริการที่ยื่นค�ำขอขึ้นทะเบียนและสถานบริการของรัฐและของสภากาชาดไทย ตามเกณฑก์ ารตรวจประเมนิ ในข้อ ๕ วรรคสอง สถานบริการที่ยื่นค�ำขอตามข้อ ๖ แล้วผ่านเกณฑ์การตรวจประเมินตามวรรคหน่ึงให้ส�ำนักงานพจิ ารณาประกาศรับการขน้ึ ทะเบียนเป็นหนว่ ยบรกิ ารแตล่ ะประเภท และประชาสัมพนั ธใ์ หป้ ระชาชนทราบ ขอ้ ๘ หน่วยบริการปฐมภูมิอาจรวมกันเข้าเป็นกลุ่ม ตามหลักเกณฑ์ท่ีส�ำนักงานกำ� หนดเพื่อขอข้ึนทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารประจำ� หรอื อาจจดั ใหม้ ีหน่วยบริการรว่ มให้บรกิ ารเพ่อื ใหผ้ ้มู ีสทิ ธิไดร้ ับบรกิ ารสาธารณสขุอยา่ งสะดวกและรวดเร็วย่ิงข้ึน ท้ังนห้ี น่วยบรกิ ารดังกล่าวต้องประชาสมั พันธ์ใหป้ ระชาชนไดท้ ราบ240

ข้อ ๙ หน่วยบริการประจ�ำแต่ละหน่วยอาจเป็นแกนกลางในการรวมตัวกับหน่วยบริการท่ีรับการสง่ ตอ่ และหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิ เพ่อื ขอข้นึ ทะเบียนเป็นเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร ตอ่ ส�ำนกั งานหรือสำ� นักงานสาขา ให้ส�ำนักงานพิจารณาประกาศรับขึ้นทะเบียนเป็นเครือข่ายหน่วยบริการตามวรรคหน่ึงและประชาสัมพนั ธ์ให้ประชาชนทราบ ท้งั นกี้ ารประกาศรบั ขึ้นทะเบยี น ให้ส�ำนักงานค�ำนงึ ถึงลักษณะทางภมู ิศาสตร์ศักยภาพของหนว่ ยบริการและความสะดวกในการเข้าถึงบรกิ ารของประชาชน เพอื่ ประโยชน์ในการจัดบรกิ ารสาธารณสขุ ในพ้นื ท่ี ส�ำนกั งานอาจประกาศกำ� หนดให้หนว่ ยบรกิ ารประจ�ำ หน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ และหน่วยบรกิ ารท่รี ับการสง่ ต่อ เปน็ เครอื ขา่ ยหน่วยบริการไดต้ ามทีเ่ หน็ สมควร ข้อ ๑๐ หน่วยบริการต้องประชาสัมพันธ์เก่ียวกับการเป็นหน่วยบริการ ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ ท้งั นีต้ ามที่สำ� นักงานกำ� หนด การประชาสัมพันธ์ของสำ� นักงานตามข้อ ๗ ข้อ ๙ ขอ้ ๑๑ และขอ้ ๑๒ ใหส้ ำ� นกั งานหรือส�ำนกั งานสาขาด�ำเนินการผ่านสื่อมวลชน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือส่ืออื่นๆ ตามที่เห็นสมควรทั้งนี้เพ่ือให้ประชาชนได้ทราบอยา่ งแพร่หลาย ข้อ ๑๑ ให้ส�ำนักงานหรอื ส�ำนักงานสาขา ตรวจประเมินหนว่ ยบริการ ตามเกณฑก์ ารข้ึนทะเบยี นในข้อ ๕ อย่างนอ้ ยปงี บประมาณละหน่งึ ครัง้ ในกรณีที่ผลการตรวจประเมินพบว่า ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนดไว้ ให้ส�ำนักงานหรือส�ำนักงานสาขามหี นงั สอื แนะนำ� ตกั เตอื นใหห้ นว่ ยบรกิ ารปฏบิ ตั ติ ามเกณฑภ์ ายในระยะเวลาทก่ี ำ� หนด หากพน้ กำ� หนดระยะเวลาดังกล่าวแล้ว ให้ส�ำนักงานหรือส�ำนักงานสาขาตรวจประเมินอีกคร้ังหน่ึง หากผลการตรวจประเมินยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด และเป็นกรณีที่มีผลโดยตรงต่อมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการอย่างชัดเจนซึ่งหน่วยบริการไม่สามารถปรับปรุงแก้ไขได้ให้ส�ำนักงานพิจารณาประกาศยกเลิกการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและประชาสมั พันธใ์ ห้ประชาชนทราบ ข้อ ๑๒ ให้หน่วยบริการที่ได้ข้ึนทะเบียนไว้แล้ว และเกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่ส�ำนักงานประกาศก�ำหนดไว้แล้ว ตามข้อบังคับส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการและเง่ือนไข การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ พ.ศ. ๒๕๔๗เปน็ หนว่ ยบรกิ ารและเปน็ เกณฑก์ ารตรวจประเมนิ ตามขอ้ บงั คบั น้ี จนกวา่ สำ� นกั งานจะกำ� หนดเกณฑก์ ารตรวจประเมนิเพ่ือขึน้ ทะเบยี นตามข้อบงั คบั นี้ ข้อ ๑๓ ให้เลขาธิการส�ำนกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติรักษาการตามขอ้ บงั คับนี้ ประกาศ ณ วันท่ี ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ศาสตราจารย์รชั ตะ รชั ตะนาวิน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ 241

ประกาศส�ำนกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง เกณฑ์การตรวจประเมินเพอ่ื ขึน้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบริการ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารตรวจประเมนิ เพอื่ ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาต ิ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับข้อ ๕ วรรคสองของข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตาม พ.ศ. ๒๕๕๘ ส�ำนกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ืองเกณฑ์การตรวจประเมินเพอ่ื ขึ้นทะเบยี นเปน็ หน่วยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อ ๒ ในประกาศน้ี “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ “กองทนุ ” หมายความว่า กองทุนหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ “ส�ำนักงาน” หมายความว่า สำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ “ส�ำนกั งานสาขา” หมายความวา่ ส�ำนกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขา “สถานบรกิ าร” หมายความวา่ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ของเอกชน และของสภากาชาดไทยหนว่ ยบรกิ ารประกอบโรคศิลปะสาขาตา่ งๆ และสถานบริการสาธารณสุขอ่ืนท่ีคณะกรรมการก�ำหนด “สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ” หมายความวา่ ส่วนงานหรือหน่วยงานภายในของสว่ นราชการรฐั วสิ าหกจิ หรอื หนว่ ยงานของรฐั ทมี่ กี ฎหมายหรอื กฎกำ� หนดหนา้ ทใี่ หบ้ รกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ รวมทง้ัการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก เพอื่ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค การตรวจวนิ จิ ฉยั โรค การรกั ษาพยาบาล การฟ้ืนฟูสมรรถภาพการหนง่ึ การใด หรือสถานบริการสาธารณสุขของรัฐอ่นื ท่คี ณะกรรมการกำ� หนด “สถานบริการสาธารณสุขของเอกชน” หมายความว่า สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลหรือสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของเอกชนที่คณะกรรมการก�ำหนด “หน่วยบริการ” หมายความว่า สถานบริการท่ีได้ข้ึนทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ “ผู้มีสิทธิ” หมายความว่า บุคคลท่ีมีสิทธิรับบริการสาธารณสุขตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “ผู้มีสิทธิในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ” หมายความว่า ผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจ�ำและหน่วยบรกิ ารปฐมภูมใิ นเครือข่ายของหน่วยบรกิ ารประจำ� นน้ั242

ข้อ ๓ ใหส้ �ำนักงานหรอื สำ� นกั งานสาขา ใชเ้ กณฑ์การตรวจประเมนิ ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ตรวจประเมินสถานบริการตามประเภทท่ีประสงค์ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ขอ้ ๔ สถานบรกิ ารของเอกชน ทป่ี ระสงคจ์ ะขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ าร ใหย้ นื่ คำ� ขอตอ่ สำ� นกั งานหรือส�ำนักงานสาขา เพ่ือรับการตรวจประเมินและขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการตามเกณฑ์การตรวจการประเมินตามขอ้ ๓ สถานบริการของรัฐหรือสภากาชาดไทย ซ่ึงประสงค์จะข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการให้ส�ำนักงานหรือส�ำนักงานสาขาตรวจประเมนิ และจัดประเภทหนว่ ยบรกิ ารตามเกณฑ์การตรวจประเมินตามข้อ ๓ สถานบริการที่ได้รับการตรวจประเมิน หากไม่เห็นด้วยกับผลการตรวจประเมิน มีสิทธิอุทธรณ์ผลการตรวจประเมิน โดยยน่ื อทุ ธรณ์เป็นหนังสือตอ่ ส�ำนกั งานภายใน ๓๐ วนั นับแตว่ นั ทีท่ ราบผลการตรวจประเมิน ข้อ ๕ แบบข้ึนขอทะเบียน แบบวิธีการตรวจประเมิน ก�ำหนดระยะเวลาการข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบรกิ าร แบบสัญญาหรอื ขอ้ ตกลงใหบ้ ริการสาธารณสุข และหลกั ประกันการเป็นหน่วยบริการใหเ้ ปน็ ไปตามที่สำ� นักงานก�ำหนด ให้สถานบรกิ ารหรือหนว่ ยบริการ สง่ ขอ้ มลู พ้ืนฐานและแสดงผลการด�ำเนนิ งานทส่ี ำ� นกั งานก�ำหนดเพ่ือประกอบการพิจารณาตรวจประเมิน ข้อ ๖ หน่วยบริการท่ีได้ข้ึนทะเบียนก่อนประกาศน้ีใช้บังคับ ให้ถือว่าได้รับการตรวจประเมินผ่านเกณฑก์ ารตรวจประเมนิ ตามประกาศน้โี ดยอนุโลม ข้อ ๗ ให้เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีอ�ำนาจวินิจฉัยช้ีขาดปัญหาเก่ียวกับการปฏบิ ัติตามประกาศน้ี ข้อ ๘ ประกาศนใี้ หใ้ ช้บงั คบั นับแตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป * ประกาศ ณ วนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ศกั ดช์ิ ยั กาญจนวัฒนา เลขาธิการส�ำนกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ* ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ / ตอนพเิ ศษ ๘๒ ง / หน้า ๒๓ / ๙ เมษายน ๒๕๕๘ 243

เอกสารแนบท้ายประกาศสำ� นักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง เกณฑ์การตรวจประเมนิ เพื่อขนึ้ ทะเบยี นเป็นหน่วยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๖๐ หมวด ๑ เกณฑ์การตรวจประเมนิ เพือ่ ขนึ้ ทะเบียนเปน็ หน่วยบรกิ ารประจำ� ๑. สถานบรกิ ารที่ขอข้ึนทะเบียนเปน็ หนว่ ยบรกิ ารประจ�ำ ตอ้ งมีศกั ยภาพในการจดั ระบบบรกิ ารเพอ่ื ใหม้ หี นว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ ทม่ี คี วามพรอ้ มดา้ นบคุ ลากร มศี กั ยภาพและคณุ ภาพในการใหบ้ รกิ าร กระจายครอบคลมุพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบซง่ึ ผ้มู สี ิทธิเขา้ ถึงบรกิ ารไดอ้ ยา่ งสะดวก ดังต่อไปนี้ ๑.๑ มีการจัดเครือข่ายบริการปฐมภูมิ และระบบส่งต่อ เพื่อให้ผู้มีสิทธิเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างเหมาะสม ๑.๒ ต้องจัดให้มีหน่วยบริการปฐมภูมิที่มีแพทย์ปฏิบัติงานประจ�ำร่วมกับทีมสหวิชาชีพและมีศักยภาพครบถ้วนตามเกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้บริการสาธารณสุขในพื้นท่ีรบั ผิดชอบทีจ่ ัดบริการดว้ ยตนเองอย่างน้อย ๑ แหง่ หนว่ ยบรกิ ารใด ทผ่ี ูม้ สี ทิ ธทิ ่ีลงทะเบยี นเลอื กเปน็ หนว่ ยบริการประจ�ำ มากกว่า ๑๐,๐๐๐ คนหน่วยบริการน้ัน ต้องจัดให้มีหน่วยบริการปฐมภูมิที่มีศักยภาพตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนดเพ่ิมข้ึน เพื่อให้ผู้มีสิทธิสามารถเดินทางเข้าถึงได้สะดวก โดยหน่วยบริการปฐมภูมิแต่ละแห่ง สามารถให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิในพื้นที่รับผิดชอบไดไ้ มเ่ กนิ ๑๐,๐๐๐ และอาจมีหนว่ ยบริการรว่ มใหบ้ รกิ ารดว้ ยกไ็ ด้ ๒. สถานบรกิ ารทข่ี อขนึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารประจำ� ตอ้ งใหบ้ รกิ ารดา้ นเวชกรรมดว้ ยตนเองและสนับสนุนให้หน่วยบริการปฐมภูมิ และ/หรือหน่วยบริการร่วมให้บริการ สามารถจัดระบบบริการได้อย่างครอบคลุมประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข ตามท่ีคณะกรรมการก�ำหนด ทั้งด้านสร้างเสริมสุขภาพและการปอ้ งกนั การเจบ็ ปว่ ย การตรวจวนิ จิ ฉยั โรค รกั ษาพยาบาล และฟน้ื ฟสู มรรถภาพ รวมถงึ การดแู ลระยะสดุ ทา้ ยของชีวิต ตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว และเวชศาสตร์ชุมชน ให้ผู้มีสิทธิได้รับการดูแลสุขภาพอย่างองค์รวมและตอ่ เนื่อง ๓. สถานบรกิ ารทขี่ อขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารประจำ� ตอ้ งมหี รอื จดั ใหม้ บี คุ ลากรทมี่ ศี กั ยภาพทำ� หนา้ ทใ่ี หบ้ รกิ ารระดบั ปฐมภมู โิ ดยเฉพาะ รวมทง้ั สนบั สนนุ การจดั บรกิ ารปฐมภมู ิ ของหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ใิ นเครอื ขา่ ยโดยมอบหมายความรับผิดชอบต่อผมู้ สี ิทธิในลักษณะแพทย์ประจ�ำครอบครวั ซึง่ มีจ�ำนวนบุคลากรดังต่อไปนี้ ๓.๑ จดั ใหม้ แี พทยห์ รอื แพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั อยา่ งนอ้ ย ๑ คน ตอ่ ผมู้ สี ทิ ธทิ ลี่ งทะเบยี นเลอื กเปน็ หน่วยบรกิ ารประจำ� ไมเ่ กิน ๑๐,๐๐๐ คน โดยมแี พทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั ปฏบิ ัตงิ านประจ�ำอยา่ งนอ้ ย๑ คน ต่อหน่วยบรกิ ารประจ�ำ ๓.๒ จดั ใหม้ พี ยาบาลวชิ าชพี หรอื พยาบาลเวชปฏบิ ตั ทิ วั่ ไป/เวชศาสตรค์ รอบครวั ปฏบิ ตั งิ านประจ�ำอยา่ งนอ้ ย ๑ คน ตอ่ ผู้มีสิทธทิ ่ลี งทะเบยี นเลอื กเปน็ หนว่ ยบรกิ ารประจำ� ไม่เกนิ ๒,๕๐๐ คน โดยมพี ยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปหรอื เวชศาสตรค์ รอบครัว ปฏิบัติงานประจำ� หนว่ ยบริการปฐมภมู ิอยา่ งนอ้ ยแหง่ ละ ๑ คน244

๓.๓ จัดให้มีบุคลากรด้านสาธารณสุข ได้แก่ ผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะ และ/หรือสาขาด้านวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพอนื่ ท่มี ีสมรรถนะดา้ นเวชศาสตรค์ รอบครัว ปฏบิ ตั ิงานประจ�ำหนว่ ยบริการปฐมภมู ิ จำ� นวน ๓ คนต่อผู้มีสิทธทิ ี่ลงทะเบียนไม่เกิน ๕,๐๐๐ คน ๓.๔ จัดให้มีทันตแพทย์ รับผิดชอบงานบริการทันตกรรม อย่างน้อย ๑ คน ต่อผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนไม่เกนิ ๓๐,๐๐๐ คน ๓.๕ จดั ใหม้ เี ภสชั กร รบั ผดิ ชอบบรกิ ารเภสชั กรรม อยา่ งนอ้ ย ๑ คน ตอ่ ผมู้ สี ทิ ธทิ ลี่ งทะเบยี นไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ คน ๓.๖ จัดให้มีนักกายภาพบ�ำบัด รับผิดชอบงานบริการกายภาพบ�ำบัดอย่างน้อย ๑ คนต่อผ้มู ีสทิ ธิท่ีลงทะเบยี นไมเ่ กนิ ๓๐,๐๐๐ คน ๓.๗ หากจัดให้มีการบริการแพทย์แผนไทยต้องจัดให้มีแพทย์แผนไทยอย่างน้อย ๑ คนปฏิบตั ิงานประจำ� ต่อหนว่ ยบรกิ ารประจำ� ๔. สถานบริการที่ขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจ�ำ ต้องมีการบริหารจัดการ ที่มีศักยภาพโดยการมสี ่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ย ดังตอ่ ไปน้ี ๔.๑ จดั ใหม้ คี ณะกรรมการบรกิ ารจดั การหนว่ ยบรกิ ารประจำ� โดยอาจมผี แู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ภาคประชาชน และผรู้ บั บรกิ าร รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยในพนื้ ท่ี มหี นา้ ทกี่ ำ� หนดนโยบายและกำ� กบั ตดิ ตามหนว่ ยบรกิ ารประจำ� หน่วยบริการปฐมภมู ิ และหน่วยบรกิ ารรว่ มให้บริการ ใหม้ ีคุณภาพและประสทิ ธภิ าพ ๔.๒ มีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม เป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ แผนงานและโครงการทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาวะสขุ ภาพของผมู้ สี ทิ ธิ และบรบิ ทของพน้ื ที่ ทร่ี ะบเุ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรอยา่ งชดั เจน ๔.๓ มีระบบจัดการเรื่องร้องเรียน และรับฟังความคิดเห็น เพ่ือปรับปรุงระบบบริการและ/หรอื การบริหารจดั การ ๔.๔ มีการบริหารจัดการระบบส่งต่อ เพื่อให้สามารถจัดการบริการสาธารณสุขได้ตามมาตรฐานทีก่ �ำหนดดงั ตอ่ ไปน้ี ๔.๔.๑ มกี ารจดั ระบบการสง่ ตอ่ และรบั กลบั และมแี นวทางหรอื คูม่ ือในการดำ� เนนิงานทง้ั ภายในและภายนอกเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร ๔.๔.๒ สามารถส่งต่อจากหน่วยบริการปฐมภูมิ ไปยังหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อภายในระยะเวลาไมเ่ กิน ๖๐ นาที ๔.๔.๓ จัดให้มียานพาหนะในการรับส่งผู้ป่วย โดยเฉพาะในกรณีอุบัติเหตุ กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉนิ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๔.๔.๔ มกี ารอำ� นวยความสะดวกในการบรกิ ารสง่ ตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร ทงั้ สง่ ไปและรบั กลบัเพ่อื การฟ้ืนฟสู มรรถภาพภายในเครอื ขา่ ยบริการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรภาคที ีเ่ ก่ยี วข้อง ๔.๔.๕ มีการส่งต่อข้อมูล การส่งต่อ-รับกลับ ผู้รับบริการท้ังภายในและภายนอกเครือข่ายหนว่ ยบรกิ าร ๔.๕ มีระบบการสนับสนุน เพื่อให้หน่วยบริการประจ�ำ และเครือข่าย สามารถจัดบริการสาธารณสุขได้ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานทก่ี �ำหนด ดงั ตอ่ ไปน้ี ๔.๕.๑ มรี ะบบสนบั สนนุ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ มจี ำ� นวนและประเภทบคุ ลากรทใี่ ห้บริการในหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ ครบตามเกณฑ์ท่ีกำ� หนด (ประเมินเฉพาะหน่วยเดิม และมีส่วนขาด) 245

๔.๕.๒ มีระบบการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรของหน่วยบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการร่วมให้บริการ ท่ีร่วมให้บริการสาธารณสุข ให้มีความรู้และทักษะในการให้บริการด้านสาธารณสขุ ท่ีจำ� เปน็ เพยี งพอ เหมาะสมกับบริบทของพนื้ ท่ี ตลอดจนพัฒนาขวัญกำ� ลงั ใจ ชื่นชม ยกย่องเชดิ ชูผลงานหรอื บคุ ลากรท่ีแสดงผลสมั ฤทธิ์ของหน่วยบริการปฐมภูมิ ในเครอื ข่าย ๔.๕.๓ มีระบบสนับสนุนให้หน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่าย มีสถานท่ี ยา วัสดุอปุ กรณ์ และเครอ่ื งมอื ตา่ งๆ ท่เี พียงพอ ๔.๕.๔ มรี ะบบการตดิ ตอ่ สอื่ สารทหี่ นว่ ยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละหนว่ ยบรกิ ารรว่ มใหบ้ รกิ ารสามารถขอรับค�ำปรึกษาจากภายในเครอื ข่ายหน่วยบรกิ ารไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ๔.๕.๕ มีระบบข้อมูลและสารสนเทศ ที่ใช้ในการบริหารจัดการ ที่เช่ือมโยงภายในเครือข่ายหนว่ ยบรกิ าร และเครอื ข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของส�ำนกั งาน ทีพ่ ร้อมใช้งาน มีการวิเคราะห์ข้อมลู เพื่อกำ� กบั ติดตามและพัฒนางาน และสง่ ขอ้ มลู /รายงานใหส้ �ำนักงาน ตามทกี่ �ำหนด ๔.๕.๖ มีระบบการติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานทั้งในระดับหน่วยบริการปฐมภูมแิ ละในภาพรวมหนว่ ยบริการประจำ� ๔.๖ มรี ะบบสนบั สนนุ การพฒั นาคณุ ภาพหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละหนว่ ยบรกิ ารรว่ มใหบ้ รกิ ารดังตอ่ ไปนี้ ๔.๖.๑ มกี ารจดั หา รวบรวม หรือพฒั นาแนวปฏบิ ตั กิ ารสาธารณสขุ ทเี่ ปน็ มาตรฐานและแนวปฏิบตั ทิ ี่อ้างองิ ได้ ใหห้ น่วยบรกิ ารปฐมภูมิ ใชใ้ นการจดั บรกิ าร ท่ีสอดคล้องปญั หาและบริบทของพน้ื ที่ ๔.๖.๓ มีระบบการจัดการด้านความปลอดภัยและส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้หน่วยบริการปฐมภมู ิและหนว่ ยบริการร่วมใหบ้ ริการ มีคณุ ภาพและมาตรฐาน ๔.๖.๔ มีระบบการจัดการควบคุมและป้องกันการติดเช้ือ เพ่ือให้หน่วยบริการปฐมภมู ิและเครอื ข่าย มมี าตรฐานตามทก่ี ำ� หนด ๔.๖.๕ สนับสนุนให้หน่วยบริการปฐมภูมิ และเครือข่ายให้มีการพัฒนาวิชาการของงานบรกิ ารในรปู แบบใดรปู แบบหนง่ึ เชน่ งานวจิ ยั นวตั กรรม จดั แลกเปลย่ี นความรู้ หรอื ถอดบทเรยี น ทส่ี อดคลอ้ งกบั ปญั หาและบรบิ ทของพน้ื ที่ ๔.๗ มีการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ชุมชน เอกชนและภาคเี ครือขา่ ยในพนื้ ที่ ๔.๘ มีผู้รับผิดชอบด้านงานประกันสุขภาพ การลงทะเบียนผู้มีสิทธิ การเบิกจ่ายชดเชยคา่ บริการ หมวด ๒ เกณฑ์การตรวจประเมนิ เพ่อื ข้นึ ทะเบียนเป็นหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิ ๕. สถานบริการท่ีขอข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ต้องสามารถด�ำเนินการให้ผู้มีสิทธิเข้าถงึ บรกิ ารได้ดังตอ่ ไปน้ี ๕.๑ ตั้งอยู่ในพื้นที่ท่ีสะดวกต่อการเข้ารับบริการ โดยผู้รับบริการสามารถเดินทางใช้เวลาเฉลยี่ ไม่เกิน ๓๐ นาที246

๕.๒ ใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ แกผ่ มู้ สี ทิ ธใิ นพนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบไมเ่ กนิ ๑๐,๐๐๐ คนตอ่ หนงึ่ หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ ๕.๓ เปิดให้บรกิ ารสาธารณสุข แกผ่ มู้ ีสิทธใิ นพ้นื ทีร่ ับผิดชอบทกุ วนั และรวมเวลาให้บรกิ ารแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๕๖ ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ โดยพจิ ารณาเปดิ ใหบ้ รกิ ารในชว่ งเวลาทผี่ มู้ สี ทิ ธสิ ามารถเขา้ รบั บรกิ ารไดส้ ะดวกตามบริบทของพืน้ ท่ี ๕.๔ ติดประกาศเวลาให้บริการตามท่ีตกลงกับส�ำนักงาน ไว้ในพ้ืนท่ีเปิดเผยให้เห็นได้อย่างชัดเจน และมีประกาศรายช่ือเครือข่ายหน่วยบริการและหมายเลขโทรศัพท์ท่ีใช้ในการติดต่อ ให้ผู้มีสิทธิเกิดความมั่นใจในการท่ีจะได้รับการสง่ ต่อไปรับบริการสาธารณสขุ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๖. สถานบริการท่ีขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ต้องสามารถจัดบริบทตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสขุ แก่ผมู้ สี ทิ ธิใหไ้ ด้รบั การดูแลสุขภาพอย่างองคร์ วมและต่อเนอื่ ง ดงั ตอ่ ไปน้ี ๖.๑ บรกิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั การเจบ็ ปว่ ยตามหลกั เวชศาสตรค์ รอบครวั /เวชศาสตร์ชุมชนได้อยา่ งครบถว้ น โดยจดั ให้มีบริการท้งั ภายในหนว่ ยบรกิ ารและในชุมชน ๖.๒ บริการตรวจวินิจฉัยโรค รักษาพยาบาลตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัวได้อย่างเป็นองค์รวมโดยผสมผสานร่วมกับการสร้างเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมถึงการดูแลระยะสุดท้ายของชีวิตโดยอาจจัดให้มีบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และจัดให้มีการประสานเชื่อมโยงกับเครือข่ายหน่วยบริการ เพื่อให้สามารถให้การดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนจัดให้มีบริการรองรับกรณีอุบัติเหตุหรอื กรณีเจ็บปว่ ยฉุกเฉนิ ได้ ทงั้ ในและนอกเวลาทำ� การ ๖.๓ บรกิ ารเยย่ี มบ้านกลุม่ เปา้ หมาย การตดิ ตามดูแลผูป้ ่วย ผู้สูงอายุ และคนพิการ รวมถึงการดูแลระยะสดุ ท้ายของชวี ิตทบ่ี ้าน ตามหลักเวชศาสตร์ครอบครวั และบริการเชิงรุกในพืน้ ท่อี ยา่ งนอ้ ย ๑๒ ช่วั โมงต่อสปั ดาห์ ๖.๔ บรกิ ารทนั ตกรรม ครอบคลมุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค การรกั ษาพยาบาลและการฟืน้ ฟูสมรรถภาพ โดยอาจจดั ใหม้ ีบรกิ ารภายในหน่วยบรกิ าร ในชมุ ชน และ/หรอื ในเครือข่ายหน่วยบริการ ๖.๕ บรกิ ารเภสัชกรรมปฐมภมู ิ ซง่ึ ประกอบด้วย ด้านการบริหารเวชภณั ฑ์ ดา้ นการบริหารเภสัชกรรมและการให้ค�ำปรึกษาและแก้ปัญหาด้านการใช้ยา ด้านการบริบาลเภสัชกรรมระดับบุคคล ครอบครัวและในชุมชน ๖.๖ บรกิ ารภายภาพบำ� บดั โดยการใชก้ ระบวนการทางกายภาพบำ� บดั คลอบคลมุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทั้งในหน่วยบริการและบริการเชิงรุกในชุมชนและ/หรอื ในเครอื ขา่ ยบริการ ๖.๗ บริการทางห้องปฏิบัติการท่ีมีระบบประกันคุณภาพโดยวิชาชีพ และ/หรือมีระบบส่งต่อไปยังสถานบริการอน่ื ท่ีผ่านการรับรองคณุ ภาพห้องปฏิบตั กิ ารได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ ๖.๘ มรี ะบบบรกิ ารอนื่ ๆ รวมถงึ การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ซงึ่ อาจะเปน็ การจัดบรกิ ารภายในหน่วยบริการ/หรอื การบรกิ ารเชงิ รุกในชุมชน ตามความจ�ำเปน็ ของผมู้ สี ิทธใิ นพน้ื ที่ ๗. สถานบริการท่ีขอข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ต้องมีหรือจัดให้มีบคุลากร เพื่อท�ำหน้าท่ีใหบ้ รกิ ารระดับปฐมภูมโิ ดยพาะ และมอบหมายความรับผดิ ชอบในลักษณะแพทย์ประจ�ำครอบครวั ดงั ตอ่ ไปน้ี 247

๗.๑ จัดให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวหรือแพทย์ท่ีมีสมรรถนะด้านเวชศาสตร์ครอบครัวอย่างนอ้ ย ๑ คน ต่อผมู้ สี ิทธใิ นพน้ื ที่รับผดิ ชอบไมเ่ กิน ๑๐,๐๐๐ คน ท�ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบดูแลสขุ ภาพผมู้ ีสิทธิรว่ มกบับุคลากรอน่ื ๆ ในหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิโดยเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ าร กำ� กบั ดูแลคณุ ภาพ และให้คำ� ปรกึ ษา ๗.๒ มีพยาบาลวชิ าชพี หรอื เวชปฏบิ ตั ิทั่วไป หรอื พยาบาลเวชศาสตรค์ รอบครวั ปฏิบตั งิ านประจ�ำที่บริการปฐมภูมิอย่างน้อย ๑ คน ต่อผู้มีสิทธิในความรับผิดชอบไม่เกิน ๒,๕๐๐ คน โดยต้องเป็นพยาบาลเวชปฏบิ ตั ิทว่ั ไป หรือพยาบาลเวชศาสตร์ครอบครัวอยา่ งน้อย ๑ คน ๗.๓ มีบุคลากรสาธารณสุข ได้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน ผู้ประกอบโรคศลิ ปะและ/หรอื สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพท่ีมสี มรรถนะด้านเวชศาสตรค์ รอบครวั ปฏิบตั ิงานประจำ� อย่างนอ้ ย ๓ คนต่อผู้มสี ิทธิในความรบั ผิดชอบไมเ่ กนิ ๕,๐๐๐ คน ๗.๔ จัดให้มีทันตแพทย์ ให้บรกิ ารทันตกรรมครอบคลุมการสร้างเสรมิ สุขภาพ ปอ้ งกนั โรคการรกั ษาพยาบาลและฟน้ื ฟสู มรรถภาพทางทนั ตกรรม ตลอดจนใหค้ ำ� ปรกึ ษาอยา่ งนอ้ ย ๑ คน ตอ่ ผมู้ สี ทิ ธทิ ล่ี งทะเบยี นไมเ่ กนิ ๓๐,๐๐๐ คน ๗.๕ จดั ใหม้ ีเภสชั กรอยา่ งน้อย ๑ คน ต่อผู้มีสิทธใิ นพื้นทีร่ บั ผดิ ชอบไม่เกนิ ๓๐,๐๐๐ คนร่วมใหบ้ ริการ หรอื สนับสนุนการจดั บรกิ ารเภสชั กรและให้ค�ำปรึกษาแก่หน่วยบริการปฐมภูมิ ๗.๖ จดั ใหม้ นี กั กายภาพบำ� บดั รว่ มใหบ้ รกิ าร หรอื สนบั สนนุ การจดั บรกิ าร และใหค้ ำ� ปรกึ ษาแก่หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู อิ ย่างน้อย ๑ คน ตอ่ ผู้มสี ิทธทิ ่ีลงทะเบยี นไมเ่ กนิ ๓๐,๐๐๐ คน ๗.๗ อาจจัดให้มีแพทย์แผนไทยและ/หรือบุคลากรวิชาชีพอื่นท่ีสอดคล้องกับบริการสาธารณสขุ อน่ื ๆ ท่จี �ำเป็นตอ่ ผู้มีสทิ ธิในพื้นท่ี ๘. สถานบริการทีข่ ึน้ ทะเบียนเปน็ หน่วยบริการปฐมภมู ิ ตอ้ งมีการบรหิ ารจัดการดงั ต่อไปนี้ ๘.๑ มีผู้จัดการหรือผู้รับผิดชอบในหน่วยงาน และอาจมีคณะกรรมการบริการจัดการโดยอาจมีผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน/ภาคประชาชน และผ้รู ับบริการร่วมกบั ภาคีเครือข่ายในพื้นท่ี ท�ำหน้าที่ก�ำหนดนโยบายและก�ำกับตดิ ตาม การบรกิ าร ใหม้ คี ณุ ภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ ๘.๒ มแี ผนงาน ทีส่ อดคล้องกับแผนงานของหนว่ ยบรกิ ารประจำ� และสอดคล้องกบั สภาวะสุขภาพของผมู้ สี ิทธิ ท่รี ะบเุ ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรอยา่ งชัดเจน ๘.๓ มีระบบจัดการเร่ืองร้องเรียน หรือรับฟังความคิดเห็น เพ่ือปรับปรุงระบบบริการและ/หรือการบรหิ ารจดั การ ๘.๔ มีระบบการติดต่อส่ือสาร ท่ีสามารถขอรับค�ำปรึกษาจากหน่วยบริการประจ�ำและ/หรือหน่วยบริการที่รับการสง่ ตอ่ ได้อยา่ งรวดเร็ว มีประสิทธภิ าพ ๘.๕ มรี ะบบขอ้ มลู และสารสนเทศ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั บรกิ ารและการบรกิ ารจดั การทสี่ ามารถเชอ่ื มโยงภายในเครอื ขา่ ยบรกิ าร และเครอื ขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศของสำ� นกั งานได้ พรอ้ มทงั้ สามารถสง่ ขอ้ มลู หรอืรายงานใหห้ นว่ ยบรกิ ารประจำ� ตามทสี่ �ำนักงานกำ� หนด ๘.๖ มกี ารพฒั นาคณุ ภาพหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ ตามมาตรฐานทอี่ งคก์ รวชิ าชพี หรอื สำ� นกั งานกำ� หนดรายงานให้หน่วยบริการประจ�ำ ตามสำ� นกั งานกำ� หนด ดงั ต่อไปนี้ ๘.๖.๑ มีการบรหิ ารจัดการคุณภาพ ๘.๖.๒ มกี ารจดั การดา้ นความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ มทงั้ ภายในและภายนอกอาคาร ๘.๖.๓ มกี ารจัดการปอ้ งกนั และควบคุมการติดเช้อื ในสถานบรกิ าร248

๘.๖.๔ มีการพฒั นาวชิ าการของงานบริการ ในรปู แบบใดรูปแบบหน่งึ เช่น งานวิจยัหรือนวตั กรรม ท่ีสอดคล้องกับปญั หาและบรบิ ทของพืน้ ท่ี ๘.๗ มีการพัฒนาสุขภาพชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ชุมชนเอกชนและภาคีเครือขา่ ยในพ้นื ท่ี ๙. สถานบริการที่ขอขน้ึ ทะเบยี นเป็นหนว่ ยบริการปฐมภูมิ ต้องมสี ถานท่ี อุปกรณ์ และเคร่อื งมอือยา่ งน้อยดังต่อไปน้ี ๙.๑ มีการจัดสถานที่เป็นสัดส่วน สะอาด ปลอดภัย และมีพ้ืนท่ีให้บริการอย่างพอเพียงเหมาะสมกบั การจดั บรกิ ารแตล่ ะดา้ น ๙.๒ จัดให้มีอุปกรณ์ เคร่ืองมือ ยาและเวชภัณฑ์ท่ีจ�ำเป็นพร้อมใช้งาน เพ่ือการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันการเจ็บป่วย การตรวจวินิจฉัยโรค และการรักษาพยาบาล ตามรายการท่ีส�ำนักงานก�ำหนดกรณีท่ีให้บริการทันตกรรม ตรวจทางห้องปฏิบัติการ เภสัชกรรมปฐมภูมิ กายภาพบ�ำบัดหรือบริการเวชกรรมไทยภายในหน่วยบริการปฐมภูมิ ต้องมีอุปกรณ์ เคร่ืองมือ ยาและเวชภัณฑ์ ตามรายการที่ก�ำหนดในกฎกระทรวงตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาล และ/หรอื ตามท่สี �ำนกั งานกำ� หนด หมวด ๓ เกณฑก์ ารตรวจประเมินเพอื่ ข้นึ ทะเบียนเป็นหนว่ ยบรกิ ารรว่ มให้บรกิ าร ๑๐. สถานบรกิ ารทข่ี อขนึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารรว่ มใหบ้ รกิ าร ตอ้ งมศี กั ยภาพในการจดั บรกิ ารสาธารณสุขระดับปฐมภูมิเฉพาะด้านที่ส�ำนักงานก�ำหนด ทั้งน้ีอาจขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการในเครือข่ายของหน่วยบริการประจำ� และ/หรือหน่วยบริการในระบบหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ โดยมลี ักษณะดังตอ่ ไปนี้ ๑๐.๑ จดั บรกิ ารสาธารณสขุ ระดบั ปฐมภมู เิ ฉพาะดา้ นทใี่ หบ้ รกิ าร และแสดงวนั เวลาในการให้บริการตามทต่ี กลงกบั หนว่ ยบรกิ ารประจำ� ส�ำนกั งานหรือสำ� นกั งานสาขาไว้ในทีเ่ ปดิ เผยให้เหน็ ได้อย่างชดั เจน ๑๐.๒ ตงั้ อยูใ่ นพืน้ ทที่ ่สี ะดวกตอ่ การเข้ารบั บริการของผู้มสี ิทธิ ๑๐.๓ มรี ะบบการตดิ ตอ่ สอื่ สารทส่ี ามารถขอรบั คำ� ปรกึ ษา ระบบการรบั สง่ ตอ่ และการประสานงานเชื่อมโยงบริการกับหน่วยบริการประจ�ำและ/หรือหน่วยบริการที่รับการส่งต่อในพื้นท่ีได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ ๑๐.๔ มีระบบข้อมูลและสารสนเทศ ท่ีใช้ในการบริหารจัดการ ท่ีเชื่อมโยงภายในเครือข่ายหน่วยบริการ และ/หรือเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของส�ำนักงาน ท่ีพร้อมใช้งาน มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพอื่ กำ� กบั ตดิ ตามและพฒั นางาน และสง่ ขอ้ มลู หรอื รายงานตามทส่ี ำ� นกั งานกำ� หนด และดำ� เนนิ การภายใตก้ ารจดั การรกั ษาความลับของขอ้ มลู สุขภาพสว่ นบคุ คล ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองขอ้ มลู ส่วนบุคคล ๑๐.๕ มรี ะบบการจัดการเร่อื งร้องเรียน ๑๐.๖ มผี ู้รับผดิ ชอบในการประสานงานด้านระบบหลกั ประกันสขุ ภาพ ๑๑. สถานบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการต้องจัดบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมเิ ฉพาะดา้ นตามทข่ี อขึ้นทะเบียน โดยมีคุณลกั ษณะด้านบุคลากร สถานที่ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ ยาและเวชภัณฑ์และรายละเอียดอืน่ ท่จี �ำเป็น ตามที่สำ� นกั งานก�ำหนด 249

หมวด ๔ เกณฑ์การตรวจประเมนิ เพ่อื ข้นึ ทะเบียนเปน็ หน่วยบรกิ ารท่ีรับการสง่ ต่อทั่วไป ๑๒. สถานบริการที่ขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อทั่วไป ต้องมีศักยภาพในการรองรบั การใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ตามทหี่ นว่ ยบรกิ ารประจำ� แจง้ ความประสงคจ์ ะสง่ ตอ่ ผมู้ สี ทิ ธทิ ลี่ งทะเบยี นเลอื กเปน็หนว่ ยบริการประจำ� มารับบริการ ดังต่อไปนี้ ๑๒.๑ มหี อ้ งอบุ ตั เิ หตแุ ละฉกุ เฉนิ ทไี่ ดม้ าตรฐานพรอ้ มใหบ้ รกิ าร พรอ้ มทงั้ มเี ตยี งสำ� หรบั ผปู้ ว่ ยท่อี ยู่ในสภาพใชก้ ูฟ้ ืน้ คนื ชพี ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ เตยี ง ๑๒.๒ ตอ้ งมจี ำ� นวนเตียงรับผู้ปว่ ยในอย่างเพียงพอ เพื่อรองรับผ้มู ีสทิ ธิ ในสัดสว่ นทส่ี �ำนกั งานก�ำหนด ท้ังน้ีข้นึ กับสภาพพ้นื ท่ีและศกั ยภาพท่มี ีอย่ทู ีด่ ที ่สี ดุ ๑๒.๓ มีห้องผา่ ตดั ที่ไดม้ าตรฐานพรอ้ มใหบ้ รกิ าร อย่างน้อย ๑ ห้อง กรณโี รงพยาบาลขนาดตำ�่ กว่าหรือเทา่ กับ ๓๐ เตียง อาจไมจ่ ดั บริการดว้ ยตนเองและต้องมรี ะบบการส่งตอ่ ๑๒.๔ มหี อผปู้ ว่ ยหนกั ใหบ้ รกิ ารอยา่ งนอ้ ย ๒ เตยี ง กรณโี รงพยาบาลขนาดตำ�่ กวา่ หรอื เทา่ กบั๙๐ เตยี ง อาจไม่จดั บรกิ ารด้วยตนเองและต้องมรี ะบบการส่งตอ่ ๑๒.๕ มีระบบการรับ/ส่งต่อ และรับ/ส่งกลับ ครอบคลุมทงั้ เครือข่ายการสง่ ตอ่ เพอื่ การดูแลผู้ปว่ ยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๑๓. สถานบริการที่ขอขึ้นทะเบียนเป็หน่วยบริการที่รับการส่งต่อทั่วไป ต้องสามารถให้บริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิ หรือตติยภูมิ ท่ีเป็นไปตามมาตราฐานการให้บริการสาธารณสุข ได้ตลอด ๒๔ ช่ัวโมงดงั ต่อไปน้ี ๑๓.๑ มรี ะบบรองรบั การใหบ้ รกิ ารกรณเี กดิ อบุ ตั เิ หตหุ มแู่ ละเจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ ในโรงพยาบาลได้อยา่ งรวดเร็ว และมปี ระสทิ ธิภาพ ตลอด ๒๔ ชวั่ โมง ๑๓.๒ มีการจัดบริการแยกเป็นแผนกบริการตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนดตามระดับขีดความสามารถของการบริการแตล่ ะระดบั ๑๓.๓ มีระบบประสานงาน และให้ค�ำปรึกษาแก่หน่วยบริการที่ส่งต่อผู้ป่วยและมีระบบการส่งต่อผู้ป่วยพร้อมข้อมูลและแผนการรักษา เพ่ือกลับไปรับบริการต่อเนื่องยังหน่วยบริการที่ส่งต่อหรือหน่วยบริการประจ�ำ ๑๔. สถานบริการท่ขี อข้นึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบริการท่รี ับการส่งต่อทัว่ ไป ต้องมีหรอื จัดใหม้ ี ๑๔.๑ การจัดอัตราก�ำลังส�ำหรับการปฏิบัติงานของหน่วยบริการ ต้องค�ำนึงถึงความเหมาะสมเพียงพอ โดยยึดหลักคุณภาพและมาตรฐาน ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลหรือตามที่องค์กรวิชาชีพก�ำหนดโดยอตั รากำ� ลงั สำ� หรบั ขนึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ ตอ้ งแยกตา่ งหากจากอตั รากำ� ลงั ทขี่ อขนึ้ ทะเบยี นเป็นหนว่ ยบริการประเภทอน่ื ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑๔.๑.๑ มีการจัดบุคลากรปฏิบัติงานประจ�ำ แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน แผนกผู้ป่วยใน แผนกหอ้ งคลอด แผนกหอ้ งผา่ ตัด แผนกเภสัชกรรม แผนกเทคนคิ การแพทย์ แผนกรงั สวี นิ จิ ฉยั และแผนกหอผ้ปู ่วยหนกั /เวชบำ� บัดวกิ ฤตทใี่ ห้บริการ ในลักษณะของเวรผลัดได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง อยา่ งเพยี งพอและเหมาะสมกับปรมิ าณงาน250

๑๔.๑.๒ มแี พทยป์ ฏบิ ตั งิ านประจำ� ในสดั สว่ นจำ� นวนแพทยอ์ ยา่ งนอ้ ย ๑ คน ตอ่ ผมู้ สี ทิ ธิท่ีลงทะเบียนเลือกเป็นหน่วยบริการประจ�ำท่ีแจ้งความประสงค์จะส่งต่อผู้ป่วยมารับบริการไม่เกิน ๑๕,๐๐๐ คนโดยคดิ จากอตั รากำ� ลงั ทข่ี อขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารประเภทอน่ื และกรณหี นว่ ยบรกิ ารทม่ี ขี นาด ๙๐ เตยี งขน้ึ ไปต้องจัดให้มีแพทย์ผู้เช่ียวชาญอย่างน้อย ๔ สาขา คือ อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินารีเวชกรรมและกุมารเวชกรรมและมแี พทยแ์ ต่ละสาขาให้ค�ำปรึกษาและพร้อมปฏิบตั งิ านตลอด ๒๔ ช่วั โมง ๑๔.๑.๓ มีทันตแพทย์อย่างเพียงพอกับการให้บริการ และกรณีหน่วยบริการใดมขี นาด ๙๐ เตียงขนึ้ ไป ต้องมที ันตแพทย์ผูเ้ ชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ที่ผา่ นการอบรมหลังปริญญาปฏิบตั ิงานประจำ�ไมน่ ้อยกวา่ ๑ คน และสอดคล้องกบั การใหบ้ รกิ าร ๑๔.๑.๔ มพี ยาบาลวชิ าชพี ประจำ� ทกุ แผนกในสดั สว่ นทเ่ี พยี งพอ เหมาะสมกบั ปรมิ าณงานตามท่อี งคก์ รวชิ าชีพกำ� หนด ๑๔.๑.๕ มีเภสัชกรปฏิบัติงานประจ�ำในสัดส่วนจ�ำนวนเภสัชกรอย่างน้อย ๑ คน ต่อจำ� นวนเตยี งท่ีเปิดใหบ้ รกิ ารไม่เกิน ๓๐ เตยี ง ตามทีอ่ งค์กรวิชาชพี กำ� หนด ๑๔.๑.๖ มีเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติงานประจ�ำ ในสัดส่วนจ�ำนวนเทคนิคการแพทย์อย่างน้อย ๑ คนต่อจ�ำนวนเตยี งที่เปดิ ใหบ้ รกิ ารไม่เกิน ๓๐ เตยี ง ตามทอ่ี งค์กรวชิ าชีพกำ� หนด ๑๔.๑.๗ มีนักกายภาพบ�ำบัดปฏิบัติงานประจ�ำ ในสัดส่วนจ�ำนวนนักกายภาพอย่างน้อย ๑ คนต่อจ�ำนวนเตียงทเ่ี ปดิ ให้บรกิ ารไม่เกนิ ๓๐ เตยี ง ตามทอี่ งค์กรวิชาชีพก�ำหนด ๑๔.๑.๘ มีนักรังสีเทคนิคปฏิบัติงานประจ�ำ ในสัดส่วนจ�ำนวนนักรังสีเทคนิคอยา่ งน้อย ๑ คน ต่อจ�ำนวนเตยี งที่เปดิ ให้บรกิ ารไมเ่ กิน ๓๐ เตยี ง ตามที่องคก์ รวิชาชพี ก�ำหนด ๑๔.๒ มีการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ในหน่วยบริการ ให้มีการศักยภาพท่ีเพียงพอในการให้บรกิ าร ๑๕. สถานบรกิ ารทข่ี อขนึ้ ทะเบยี นหนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ ทว่ั ไป ตอ้ งมกี ารบรหิ ารจดั การองคก์ รอย่างนอ้ ยดังตอ่ ไปนี้ ๑๕.๑ มีระบบประกนั คณุ ภาพทง้ั องคก์ ร ๑๕.๒ มรี ะบบขอ้ มลู และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทสี่ ามารถสอ่ื สารเชอ่ื มตอ่ เขา้ ถงึ และสง่ ขอ้ มลูตามทส่ี ำ� นกั งานก�ำหนดและ/หรือกับหน่วยบรกิ ารประจ�ำไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งครบถว้ นและทนั เวลา ๑๕.๓ มรี ะบบการคมุ้ ครองสทิ ธอิ ยา่ งครอบคลุมและทั่วถึงทั้งองค์กร ๑๕.๔ มรี ะบบบริหารความเสีย่ งทางด้านคลนิ ิก และความเสย่ี งทั่วไป ๑๕.๕ มีระบบการควบคมุ และปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื ในหนว่ ยบริการ ๑๕.๖ มรี ะบบเวชระเบียนทีไ่ ด้มาตรฐาน และมเี วชระเบียนพร้อมใหส้ �ำนกั งานตรวจสอบ ๑๖. สถานบริการที่ขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อทั่วไป ต้องมีอาคาร สถานที่สงิ่ แวดล้อมและความปลอดภยั ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑๖.๑ มีลักษณะของอาคาร สถานที่อย่างน้อยเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลโดยเหมาะสมกับบริบทของพ้ืนที่ และมีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับ คนพิการ ผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีอุปสรรคอื่นในการเขา้ รบั บรกิ าร 251

๑๖.๒ มกี ารจดั สถานทเ่ี ปน็ สดั สว่ นเหมาะสมกบั การจดั บรกิ ารในแตล่ ะแผนกบรกิ าร ทเ่ี ปน็ ไปตามมาตรฐานและเกณฑ์การบรกิ ารนัน้ ๆ ๑๖.๓ มกี ารจดั สถานทอ่ี ำ� นวยความสะดวก สะอาดและปลอดภยั สำ� หรบั ผใู้ หแ้ ละผรู้ บั บรกิ ารทงั้ ภายในและภายนอกอาคาร ๑๖.๔ มรี ะบบการปอ้ งกนั และเตรยี มความพรอ้ มดา้ นอคั คภี ยั และ/หรอื ภยั ธรรมชาตอิ น่ื และระบบการดูแลความปลอดภัยด้านชีวติ และทรัพยส์ นิ ท่ีเพยี งพอและเหมาะสม ๑๖.๕ มีระบบสาธารณูปโภคที่เพียงพอและเหมาะสม พร้อมระบบส�ำรองเพ่ือรองรับสถานการณห์ รอื เหตุการณฉ์ กุ เฉิน ๑๖.๖ มีระบบการกำ� จดั ของเสยี ทีเ่ หมาะสม โดยมผี ลการรบั รอง จากหน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง ๑๗. สถานบรกิ ารทีข่ อขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หน่วยบรกิ ารที่รบั การสง่ ตอ่ ทั่วไป ตอ้ งมีอปุ กรณ์ เครอ่ื งมือยาและเวชภัณฑท์ ่ใี หบ้ รกิ าร ดังตอ่ ไปนี้ ๑๗.๑ มอี ปุ กรณต์ รวจวดั เฝา้ ระวงั สญั ญาณชพี อปุ กรณช์ ว่ ยชวี ติ ฉกุ เฉนิ พรอ้ มยาและเวชภณั ฑ์ท่ีจ�ำเป็นอยู่ประจ�ำอย่างน้อยในแผนกหรือห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน หรือห้องสังเกตอาการ (ถ้ามี) หอผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนกั หอ้ งคลอด และหอ้ งผา่ ตดั หรือบรเิ วณที่จัดบรกิ ารเฉพาะด้าน ตามเกณฑ์ท่กี �ำหนด ๑๗.๒ มีรถพยาบาลฉุกเฉิน พร้อมยา เวชภัณฑ์ บุคลากร อุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉินและอปุ กรณส์ อื่ สาร มีสภาพพร้อมใชง้ าน เพยี งพอ สามารถให้บรกิ ารไดต้ ลอด ๒๔ ชวั่ โมง ๑๗.๓ มีอปุ กรณ์ เคร่อื งมอื อืน่ ๆ ในการใหบ้ ริการไดต้ ามมาตรฐาน ๑๗.๔ มีอุปกรณส์ ื่อสารภายในและภายนอกหนว่ ยบริการ พรอ้ มใช้งานตลอด ๒๔ ชว่ั โมง ๑๗.๕ มีระบบการดแู ล สอบเทยี บ รักษาอปุ กรณ์เคร่อื งมือและการซอ่ มบำ� รุง ๑๗.๖ มีระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑท์ ีไ่ ด้มาตรฐาน ๑๗.๗ มีเคร่ืองมือในการตรวจทางเทคนิคการแพทย์ และเครื่องมือทางรังสีวินิจฉัยท่ีไดม้ าตรฐานและพร้อมใชง้ านตลอด ๒๔ ชั่วโมง หมวด ๕ เกณฑ์การตรวจประเมินเพอ่ื ข้นึ ทะเบียนเปน็ หนว่ ยบริการทีร่ บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ น ๑๘. สถานบริการท่ีขอข้ึนทะเบียนหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้าน ต้องมีศักยภาพเป็นไปตามประกาศเกณฑข์ น้ึ ทะเบยี นหนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นทขี่ อรบั การขนึ้ ทะเบยี น ตามทส่ี ำ� นกั งานกำ� หนด กรณสี ถานบรกิ ารทข่ี น้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ น ทเ่ี ปน็ หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บัการส่งต่อทั่วไปด้วย ให้เป็นไปตามเกณฑ์การตรวจประเมินหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อทั่วไปและหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านที่ขอขึ้นทะเบียน แต่ส�ำหรับหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้าน ท่ีไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อทั่วไป ให้เป็นไปตามเกณฑ์การตรวจประเมินหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านทข่ี อขนึ้ ทะเบียน การใหบ้ ริการสาธารณสขุ แก่ผมู้ ีสิทธิเจบ็ ป่วยฉุกเฉิน หน่วยบริการที่รบั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นทไ่ี มไ่ ด้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อท่ัวไป มีหน้าที่ให้บริการสาธารณสุขกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินเฉพาะด้านทข่ี ้นึ ทะเบยี น252

ประกาศสำ� นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง เกณฑ์การตรวจประเมินเพอื่ ขนึ้ ทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่รี บั การสง่ ต่อเฉพาะด้าน การรกั ษาโรคหัวใจและหลอดเลอื ดด้วยวธิ ีการผา่ ตดั ในระบบหลักประกันสขุ ภาพ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมเกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งตอ่ เฉพาะดา้ นการรกั ษาโรคหัวใจและหลอดเลอื ดดว้ ยวีการผ่าตดั ในระบบหลักประกนั สุขภาพ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับข้อ ๕ วรรคสองของข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการพ.ศ. ๒๕๕๘ ส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติจึงออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ยกเลิกประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องเกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อขนึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ ระดบั ตตยิ ภมู เิ ฉพาะทางศลั ยกรรมหวั ใจ ลงวนั ที่ ๑๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ้ ๒ ให้ส�ำนักงานหรือส�ำนักงานสาขาใช้เกณฑ์การตรวจประเมินตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ตรวจประเมินสถานบริการท่ีประสงค์ข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับส่งต่อเฉพาะด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลอื ดดว้ ยวิธีการผา่ ตดั ในระบบหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ ๓ สถานบริการของเอกชนหรือหน่วยงานภายในสถานบริการของเอกชนที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ที่ประสงค์จะข้ึนทะเบียนเป็นเกณฑ์การตรวจประเมินเพ่ือข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยวิธีการผ่าตัดในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้ย่ืนค�ำร้องต่อส�ำนักงานหรือส�ำนักงานสาขา เพื่อตรวจประเมินและขึน้ ทะเบยี นเป็นหน่วยบริการ สถานบรกิ ารของรฐั หรอื สภากาชาดไทย หรอื สว่ นงานภายในสถานบรกิ ารของรฐั หรอื สภากาชาดไทยซง่ึ ประสงคจ์ ะขน้ึ ทะเบยี นเปน็ เกณฑก์ ารตรวจประเมนิ เพอ่ื ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นการรกั ษาโรคหวั ใจและหลอดเลอื ดดว้ ยวธิ กี ารผา่ ตดั ในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ใหแ้ จง้ สำ� นกั งานหรอื สำ� นกั งานสาขาเพอื่ ตรวจประเมินและข้ึนทะเบียนเปน็ หนว่ ยบรกิ าร สถานบริการท่ีได้รับการตรวจประเมิน หากไม่เห็นด้วยกับผลการตรวจประเมิน ให้มีสิทธิอุทธรณ์ผลการตรวจประเมนิ โดยยน่ื อทุ ธรณเ์ ปน็ หนงั สอื ตอ่ สำ� นกั งานภายใน ๓๐ วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั แจง้ ผลการตรวจประเมนิ ข้อ ๔ กำ� หนดระยะเวลาการขนึ้ ทะเบยี น แบบคำ� ขอขนึ้ ทะเบยี น แบบสญั ญา หรอื ขอ้ ตกลงใหบ้ รกิ ารสาธารณสุข หลกั ประกันการเป็นหนว่ ยบริการ และแบบการตรวจประเมินให้เปน็ ไปตามท่สี �ำนักงานก�ำหนด 253

ขอ้ ๕ สถานบรกิ ารทไี่ ดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ ระดบั ตตยิ ภมู เิ ฉพาะทางศลั ยกรรมหัวใจ ตามประกาศสำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เร่ือง เกณฑ์การตรวจประเมนิ เพ่อื ขึน้ ทะเบียนเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ ระดบั ตตยิ ภมู เิ ฉพาะทางศลั ยกรรมหวั ใจ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใหส้ นิ้ สดุ การเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทรี่ ับการสง่ ตอ่ ระดบั ตตยิ ภูมิเฉพาะทางศัลยกรรมหัวใจ ตัง้ แตว่ นั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ เป็นตน้ ไป และหากประสงค์เป็นหน่วยบรกิ ารตามประกาศน้ี ให้ด�ำเนนิ การตามขอ้ ๓ ขอ้ ๖ ประกาศนใี้ ห้ใช้บงั คับนบั แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป * ประกาศ ณ วนั ที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ศกั ด์ิชยั กาญจนวัฒนา เลขาธิการสำ� นกั งานหลักประกันสุขภาพ* ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๓๔ / ตอนพิเศษ ๑๔๖ ง / หน้า ๒๘ / ๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๐254

เอกสารแนบทา้ ยประกาศสำ� นักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เกณฑ์การตรวจประเมนิ เพ่อื ข้นึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ น การรักษาโรคหัวใจและหลอดเลอื ดดว้ ยวธิ กี ารผ่าตดั ในระบบหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ คุณสมบัติของหน่วยบริการท่ีข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านการรักษาโรคหวั ใจและหลอดเลอื ดดว้ ยวธิ กี ารผ่าตดั ในระบบหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ หนว่ ยบรกิ ารตอ้ งผา่ นการรบั รองคณุ ภาพทงั้ ระบบ (Hospital Accrediatation, ISO ๙๐๐๐:๒๐๐๐หรอื มาตรฐานอนื่ ๆ) และมคี วามสามารถในการใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาลผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมดา้ นหวั ใจตลอดเวลา ทงั้ ภาวะปกตแิ ละภาวะวิกฤติฉกุ เฉิน ดงั รายละเอยี ดดังต่อไปนี้ ๑. มาตรฐานด้านสถานที่และอปุ กรณ์ ๑.๑ ตอ้ งมหี อ้ งผา่ ตดั ทส่ี ามารถทำ� การผา่ หวั ใจไดอ้ ยา่ งปลอดภยั อปุ กรณต์ อ้ งครบถว้ นสามารถ เคล่ือนย้ายผปู้ ่วยจากหอ้ งผา่ ตัดไปหอ้ ง ICU ไดอ้ ยา่ งปลอดภัย ๑.๒ มเี ตยี งรบั ผปู้ ว่ ยผา่ ตดั หวั ใจอยา่ งนอ้ ย ๒ เตยี ง ในหอผปู้ ว่ ยวกิ ฤติ (Intensive care unit: ICU) หรอื หอผู้ปว่ ยวิกฤตหิ ัวใจและหลอดเลอื ด (CCU) พรอ้ มอปุ กรณม์ าตรฐานในการ ดแู ลผปู้ ว่ ยหลังผา่ ตัดหัวใจครบถ้วน ๑.๓ มีเครือ่ งหัวใจและปอดเทยี ม (Heart-Lung Machine) ประจำ� หอ้ งผ่าตัดและสามารถ ใชง้ านได้ตลอด ๒๔ ชวั่ โมง ๑.๔ หน่วยบริการที่ท�ำการผ่าตัดหัวใจผู้ใหญ่ ต้องมีเครื่องพยุงการท�ำงานของหัวใจ (Intra-Aortic Ballon Pump : IABP) อย่างนอ้ ย ๑ เครื่อง ๑.๕ มเี ครื่องตรวจหัวใจด้วยคลนื่ เสียงสะท้อนความถ่สี งู ชนิดเคล่อื นท่ไี ด้ (Echo) อยา่ งน้อย ๑ เครอื่ ง ๑.๖ กรณีหน่วยบริการท่ีไม่มีห้องสวนหัวใจ ต้องมีหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้าน การท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน ที่รองรับส�ำหรับการ ส่งต่อผู้ป่วยท่ีมขี ้อบ่งชี้ ๑.๗ มีเครื่องติดตามตรวจสอบสญั ญาณชพี (Monitoring) ตลอดเวลาการผา่ ตดั ๑.๘ มเี ครอ่ื งติดตามตรวจสอบสญั ญาณชีพ ขณะขนยา้ ยผูป้ ่วย (Transfer Monitoring) ๑.๙ มีเคร่ืองกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า (Defibrillator) แบบ Internal ประจ�ำห้องผ่าตัด ขณะผ่าตัดหวั ใจ และแบบ External ประจ�ำใน ICU ๑.๑๐ มเี ครือ่ งวดั ความแข็งตวั ของเลือด Activated Clotting Time (ACT) ๑.๑๑ มีชุดเคร่ืองมือผ่าตัดที่สามารถเปิดผ่าตัดหัวใจ (Open Heart Surgery) อย่างน้อย ๒ ชุด ๑.๑๒ มเี คร่ืองตรวจ Blood Gas Analysis (ABG) และสามารถสง่ ตรวจได้ตลอด ๒๔ ชม. ๑.๑๓ มคี ลังเลอื ดสำ� รอง Blood Component อยา่ งเพยี งพอสำ� หรบั การท�ำผ่าตดั หวั ใจ ๑.๑๔ มีระบบบริการบ�ำบดั ทดแทนไต 255

๒. มาตรฐานด้านบุคลากร ๒.๑ แพทย์เฉพาะทางศัลยกรรมเฉพาะทางศัลยกรรมหัวใจ หลอดเลือดและทรวงอก (Cardiovascular and Thoracic Surgeon : CVT) ๒.๑.๑ ปฏบิ ตั งิ านประจำ� (Full time : ปฏิบตั ิงานในเวลาราชการ) อยา่ งน้อย ๑ คน ๒.๑.๒ ให้มแี พทย์พรอ้ มปฏิบัตงิ านได้ตลอด ๒๔ ชว่ั โมง ๒.๑.๓ ได้รับวุฒิหรืออนุมัติบัตรแสดงความรู้ความช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม สาขาศลั ยแพทย์ทรวงอก จากแพทยสภา ๒.๑.๔ กรณีแพทย์ผู้ได้รับวุฒิบัตรฯ จากสถาบันต่างประเทศ แพทย์จะต้องได้รับการ รับรองจากสมาคมศัลยแพทยท์ รวงอกแห่งประเทศไทย ๒.๒ อายุรแพทยโ์ รคหัวใจ (Cardiologist) ๒.๒.๑ ปฏิบตั ิงานประจำ� (Full time : ปฏิบัติงานในเวลาราชการ) อยา่ งนอ้ ย ๑ คน ๒.๒.๒ ใหม้ ีแพทย์พรอ้ มปฏบิ ัติงานได้ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง ๒.๒.๓ ไดร้ ับวฒุ บิ ัตรแสดงความรคู้ วามช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขา อายุรศาสตรโ์ รคหวั ใจ ๒.๓ วิสัญญแี พทย์ (General Anesthesiologist) ๒.๓.๑ ปฏบิ ตั ิงานประจำ� (Full time : ปฏิบตั งิ านในเวลาราชการ) อย่างนอ้ ย ๑ คน ๒.๓.๒ สามารถใหบ้ ริการร่วมทมี ผา่ ตัดได้ตลอด ๒๔ ชัว่ โมง ๒.๓.๓ ได้รับวุฒิหรืออนุมัติบัตรแสดงความรู้ความช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม อนุสาขาวิสัญญีวิทยาส�ำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก หรือได้รับวุฒิบัตรหรือนุมัติบัตร สาขาวิสัญญีวิทยา ท่ีผ่านการ อบรมดา้ นวิสัญญวี ิทยา ส�ำหรับการผา่ ตัดหวั ใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก จากสถาบนั ทีร่ บั รองโดยราชวทิ ยาลยั วิสญั ญีแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย ๒.๔ กมุ ารแพทยโ์ รคหวั ใจ (Pediatric cardiologist) (ในกรณที มี่ กี ารผา่ ตดั หวั ใจในเดก็ ) ๒.๔.๑ ปฏบิ ตั ิงานประจำ� (Full time : ปฏบิ ัติงานในเวลาราชการ) อยา่ งน้อย ๑ คน ๒.๔.๒ ใหม้ ีแพทยพ์ รอ้ มปฏิบัตงิ านไดต้ ลอด ๒๔ ชวั่ โมง ๒.๔.๓ ได้รับวุฒิหรืออนุมัติบัตรแสดงความรู้ความช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม อนุสาขากุมารเวชศาสตรโ์ รคหัวใจ ๒.๕ นกั เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก (Perfusionist) ๒.๕.๑ ปฏิบัตงิ านประจำ� (Full time : ปฏิบัตงิ านในเวลาราชการ) อยา่ งน้อย ๑ คน ๒.๕.๒ สามารถให้บริการรว่ มทีมผา่ ตัดหัวใจได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ๒.๕.๓ มีใบอนุญาตประกอบวิชาชพี เวชกรรม สาขาเทคโนโลยีหวั ใจและทรวงอก ๒.๖ วิสัญญพี ยาบาล (Nurse Anestheist) ๒.๖.๑ ปฏิบัติงานประจำ� (Full time : ปฏบิ ตั งิ านในเวลาราชการ) อยา่ งน้อย ๑ คน ๒.๖.๒ มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เป็นผู้ประกอบ วชิ าชพี การพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชัน้ หนึง่ ๒.๖.๓ ผา่ นการฝกึ อบรมวสิ ญั ญวี ทิ ยาสำ� หรบั วสิ ญั ญพี ยาบาล จากสถาบนั ทรี่ บั รองโดย ราชวิทยาลัยวสิ ญั ญีแพทยแ์ ห่งประเทศ (หลกั สูตร ๑ ปี)256

๒.๗ พยาบาลผู้ปว่ ยวกิ ฤติ (ICU Nurse) ๒.๗.๑ มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เป็นผู้ประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภช์ นั้ หนึง่ ๒.๗.๒ มีพยาบาลดูแลผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจหลังผ่าตัดใน ICU ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง โดยพยาบาล ๑ คน ต่อผู้ป่วย ๑ คนในระยะวกิ ฤติ ๓. มาตรฐานด้านการจดั การ ๓.๑ ตอ้ งมีท่ปี รกึ ษาดำ� เนนิ การด้านการผา่ ตดั หวั ใจ (Cardiac Surgery Supervisor) ๓.๑.๑ คุณสมบัติของท่ีปรึกษาการด�ำเนินการด้านการผ่าตัดหัวใจ (Cardiac Surgery Supervisor) ๓.๑.๑.๑ ไดร้ บั วฒุ บิ ตั หิ รอื อนมุ ตั บิ ตั รแสดงความรคู้ วามชำ� นาญในการประกอบ วชิ าชีพเวชกรรม สาขาศัลยกรรมทรวงอก จากแพทยสภา ๓.๑.๑.๒ มปี ระสบการณ์ท�ำผ่าตดั มาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ ๕๐๐ ราย ๓.๑.๒ บทบาทหน้าที่ของที่ปรึกษาการด�ำเนินการด้านการผ่าตัดหัวใจ (Cardiac Surgery Supervisor) ๓.๑.๒.๑ รับผิดชอบในการควบคุมก�ำกบั คุณภาพบริการ ใหม้ ีการนำ� หัตถการ ตามข้อบ่งชี้ที่ สปสช. ก�ำหนด ตลอดจนผลลัพธ์การท�ำหัตถการ อตั ราปว่ ย (Mobidity rate) และอตั ราการตาย (Mortality rate) ๓.๑.๒.๒ ตรวจสอบและรับรองรายงานอุบัติการณ์ (Occurrence report) อยา่ งสม�ำ่ เสมอ ๓.๑.๒.๓ เป็นที่ปรึกษาและผู้ควบคุมการท�ำหัตถการของแพทย์ผู้น�ำหัตถการ ในกรณที ค่ี ณุ สมบตั แิ ละประสบการณย์ งั ไมค่ รบตามท่ี สปสช. กำ� หนด ๔. มาตรฐานด้านการใหบ้ รกิ าร ๔.๑ ในกรณีที่สมาคมศัลยแพทย์ทรวงอกแห่งประเทศไทยมีการก�ำหนดแนวเวชปฏิบัติ ด้านการรกั ษาโรคหวั ใจโดยวิธีการผา่ ตัดใหย้ ดึ ถือเปน็ มาตรฐานในการบริการ ๔.๒ มกี ารบนั ทกึ ทบทวนและรายงาน Morality/Morbidity/Occureence report ทเี่ กดิ ขน้ึ อย่างสมำ่� เสมอตอ่ เน่อื ง และมีหลักฐานเพ่ือการตรวจสอบด้านคุณภาพการให้บริการ ๔.๓ หนว่ ยบรกิ ารจะตอ้ งใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยตามศกั ยภาพของหนว่ ยบรกิ ารในทกุ กรณี หา้ มปฏเิ สธ ผู้ป่วย ในกรณีที่เกินศักยภาพของหน่วยบริการ ให้ปฏิบัติตามแนวทางการส่งต่อ และดำ� เนินงานตามแนวทางที่ สปสช. กำ� หนด ๔.๔ หน่วยบริการจะต้องดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดจนปลอดภัยและสามารถจ�ำหน่ายผู้ป่วย กลบั บา้ นได้ ๔.๕ กรณีผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด หน่วยบริการต้องรับผิดชอบดูแลผู้ป่วย จนปลอดภยั และสามารถจำ� หน่ายผปู้ ่วยกลบั บา้ นได้ หรือสง่ ตอ่ ตามแนวทางการส่งตอ่ ๕. มาตรฐานดา้ นการจัดการขอ้ มูล ๕.๑ มีการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ของผ้ปู ่วยแตล่ ะราย ๕.๒ มีการจัดเก็บและรายงานสถิติผลการรักษาและภาวะแทรกซ้อนของหน่วยบริการ อย่างเปน็ ระบบ ตามท่ี สปสช. กำ� หนด 257

ประกาศสำ� นักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เร่ือง เกณฑก์ ารตรวจประเมนิ เพ่อื ข้ึนทะเบียนเป็นหนว่ ยบริการทีร่ บั การส่งต่อเฉพาะดา้ น การรักษาโรคหัวใจและหลอดเลอื ดดว้ ยวิธีการผา่ ตดั ในระบบหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยที่เป็นการสมควรขยายเวลาการปฏบัติตามเกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยวิธีการผ่าตัดในระบบหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารทใ่ี หบ้ รกิ ารดา้ นดงั กลา่ วแกป่ ระชาชนอยแู่ ลว้ ไดม้ เี วลาเตรยี มการใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การตรวจประเมนิ ใหมแ่ ละมใิ หห้ น่วยบริการท่ใี ห้บริการอยเู่ ดมิ ต้องยตุ กิ ารให้บรกิ าร ซงึ่ จะมผี ลกระทบตอ่ ประชาชน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับข้อ ๕ วรรคสองแห่งข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขการข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการพ.ศ. ๒๕๕๘ สำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ืองเกณฑ์การตรวจประเมินเพ่ือข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยวิธีการผ่าตัดในระบบหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ และใหใ้ ชค้ วามดงั ต่อไปน้ีแทน “ข้อ ๕ ให้ถือว่าหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อและให้บริการเฉพาะด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยวิธีผ่าตัดท่ีได้ย่ืนค�ำขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการตามประกาศนี้ไว้ก่อนวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐เป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านการรักษาโรคหัวใจ และหลอดเลือดด้วยวิธีการผ่าตัด จนถึงวันท่ี ๓๐กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๑” ข้อ ๒ ประกาศนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคบั ตง้ั แต่บดั นี้เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ศกั ดิ์ชัย กาญจนวฒั นา เลขาธิการสำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ258

ประกาศส�ำนักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง เกณฑ์การตรวจประเมินเพอ่ื ข้ึนทะเบียนเปน็ หน่วยบรกิ ารท่รี ับการส่งต่อเฉพาะด้านบริการ ปลูกถา่ ยเซลล์ตน้ ก�ำเนิดเม็ดโลหติ (Hematopoietic Stem Cell Transplantation : HSCT) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดเกณฑ์การตรวจประเมินเพ่ือขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งตอ่ เฉพาะดา้ นบริการปลูกถา่ ยเซลลต์ น้ ก�ำเนดิ เมด็ โลหิตในระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ อาศยั ความตามมาตรา ๒๖ มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั ข้อ ๕ วรรคสอง ของขอ้ บงั คับคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาตวิ ่าด้วยหลกั เกณฑ์ วีธกี ารและเง่ือนไข การข้นึ ทะเบียนเปน็ หนว่ ยบรกิ ารและเครอื ข่ายหน่วยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๘ ส�ำนกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ในประกาศนี้ “สำ� นักงาน” หมายความวา่ สำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ขอ้ ๒ หนว่ ยบรกิ ารหรอื สถานบริการท่จี ะเขา้ ร่วมให้บริการตามประกาศน้ี ไดแ้ ก่ (๑) หน่วยบริการทรี่ บั การส่งตอ่ ในระบบหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ (๒) สถานพยาบาลตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาล คุณสมบัติของหน่วยบริการหรือสถานบริการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข ๑แนบท้ายประกาศนี้ ข้อ ๓ หน่วยบริการหรือสถานบริการท่ีประสงค์จะข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการตามประกาศนี้ให้ย่นื คำ� ขอพรอ้ มส่งข้อมูลพ้นื ฐานและผลการดำ� เนนิ งานตอ่ ส�ำนักงาน หรอื สำ� นักงานเขต ขอ้ ๔ แบบประเมนิ และใบสมคั รขอขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ าร ใหเ้ ปน็ ไปตามเอกสารหมายเลข ๒และ ๓ แนบทา้ ยประกาศนี้ กรณีหน่วยบริการหรือสถานบริการท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจประเมิน มีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือตอ่ สำ� นักงานภายใน ๓๐ วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั แจง้ ผลการตรวจประเมิน ขอ้ ๕ หนว่ ยบรกิ ารหรอื สถานบรกิ ารทผ่ี า่ นการตรวจประเมนิ จะไดร้ บั การประกาศขน้ึ ทะเบยี นเปน็หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นบรกิ ารปลกู ถา่ ยเซลลต์ น้ กำ� เนดิ เมด็ โลหติ และมสี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสขุ จากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขทคี่ ณะกรรมการหลกั ประกนัสขุ ภาพแหง่ ชาตกิ �ำหนด ข้อ ๖ ประกาศน้ี ใหม้ ผี ลใช้บงั คบั ตัง้ แตว่ ันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ศกั ดชิ์ ัย กาญจนวฒั นา รองเลขาธิการ รกั ษาการแทน เลขาธกิ ารส�ำนักงานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 259

ประกาศส�ำนกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เรื่อง เกณฑ์การตรวจประเมินเพือ่ ข้ึนทะเบยี นเปน็ หน่วยบริการทรี่ ับการสง่ ต่อเฉพาะด้านเทคนคิ การแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยที่เป็นการสมควรก�ำหนดเกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเทคนิคการแพทย์ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับข้อ ๕ วรรคสอง ของข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติว่าดว้ ยหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงือ่ นไข การขนึ้ ทะเบียนเป็นหนว่ ยบริการและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบริการพ.ศ. ๒๕๕๘ ส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ในประกาศน้ี “เทคนคิ การแพทย”์ หมายความว่า การกระท�ำตอ่ มนุษยเ์ พื่อให้ไดส้ งิ่ ตวั อย่างทางการแพทย์ และการด�ำเนินการโดยวิธีทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการตรวจทดสอบ วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลการตรวจเพือ่ การวนิ จิ ฉัย การตดิ ตามการรักษา การพยากรณ์โรค และการป้องกนั โรคหรือเพ่ือการประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ “ห้องปฏิบัติการ” หมายความว่า ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์สาขาต่างๆ เช่น โลหิตวิทยาจลุ ทรรศนศาสตร์คลนิ ิก เคมคี ลนิ ิก ภูมิคุม้ กันวิทยาคลนิ กิ จลุ ชีววิทยาคลนิ ิก ประสิตวทิ ยา ธนาคารเลือด โลหิตวทิ ยาภมู คิ มุ้ กนั พษิ วทิ ยา นติ วิ ทิ ยาศาสตร์ ชวี วทิ ยาระดบั โมเลกลุ และมนษุ ยพ์ นั ธศุ าสตร์ เทคโนโลยเี กย่ี วกบั เซลลต์ น้ กำ� เนดิ(Stem cell) เทคโนโลยกี ารเจริญพนั ธขุ์ องมนุษย์ การทดสอบทางสรีรวทิ ยา และการทดสอบทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการอื่นทีเ่ กี่ยวขอ้ งหรือมลี ักษณะคล้ายกับงานที่กลา่ วข้างตน้ ทีม่ ชี อ่ื เรยี กเป็นอย่างอ่นื “ส�ำนักงาน” หมายความว่า ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต ข้อ ๒ สถานบริการที่จะข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านเทคนิคการแพทย์ต้องมีคุณสมบัติดังน้ี (๑) เป็นสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ของสภากาชาดไทยหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล (๒) สามารถให้บริการตรวจทดสอบ วิเคราะห์ ส่ิงส่งตรวจแก่ผู้มีสิทธิที่ได้รับการส่งต่อจากหน่วยบริการประจ�ำหรือส�ำนักงาน หรือตรวจทดสอบ วิเคราะห์ สิ่งส่งตรวจจากหน่วยบริการโดยแสดงวันเวลาการเปดิ ใหบ้ รกิ ารตามท่ีตกลงกบั หน่วยบรกิ ารประจำ� หรือสำ� นักงาน ในทเ่ี ปดิ เผยให้ประชาชนมองเหน็ ไดช้ ัดเจน (๓) มรี ะบบการบนั ทกึ และจดั เกบ็ ขอ้ มลู ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และการจดั การเพอ่ื รกั ษาความลบั ของข้อมูลสุขภาพสว่ นบคุ คล260

(๔) มรี ะบบสารสนเทศทใ่ี ชใ้ นการบรหิ ารจดั การและตดิ ตอ่ สอื่ สาร เชอ่ื มโยงกบั หนว่ ยบรกิ ารประจำ�และสำ� นกั งาน พรอ้ มรายงานผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแกห่ นว่ ยบรกิ ารทงั้ ในภาวะปกตแิ ละเรง่ ดว่ น และสามารถส่งรายงานตามท่ีสำ� นักงานกำ� หนด (๕) มีระบบการจดั การเรื่องร้องเรียนจากผรู้ บั บรกิ าร (๖) มีผู้รบั ผิดชอบในการประสานงานกับหนว่ ยบรกิ ารประจำ� และส�ำนักงาน (๗) มีมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ ตามมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ของสภาเทคนิคการแพทย์ (Laboratory Accreditation) หรือมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ISO ๑๕๑๘๙ของกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข หรือมาตรฐานราชวิทยาลยั พยาธิแพทย์แหง่ ประเทศไทย ข้อ ๓ สถานบริการที่จะข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการตามประกาศน้ี ให้ย่ืนค�ำขอต่อส�ำนักงานโดยส่งขอ้ มลู พื้นฐานและแสดงผลการด�ำเนินงานตามทส่ี ำ� นักงานก�ำหนดเพ่อื ประกอบการพิจารณาตรวจประเมิน ขอ้ ๔ สถานบรกิ ารทไี่ มเ่ หน็ ดว้ ยกบั ผลการตรวจประเมนิ ใหม้ สี ทิ ธอิ ทุ ธรณ์ โดยยนื่ อทุ ธรณเ์ ปน็ หนงั สอืตอ่ ส�ำนักงานภายใน ๓๐ วนั นบั แต่วนั ทที่ ราบผลการตรวจประเมิน ข้อ ๕ ประกาศนใ้ี ห้มผี ลใชบ้ ังคบั ต้ังแต่วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ประทีป ธนกจิ เจรญิ รองเลขาธิการ รกั ษาการแทน เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 261

ประกาศส�ำนักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง เกณฑก์ ารตรวจประเมนิ เพ่อื ขึน้ ทะเบยี นเป็นหน่วยบริการท่รี บั การสง่ ต่อ เฉพาะดา้ นเทคนคิ การแพทย์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมเกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการสง่ ตอ่ เฉพาะด้านเทคนิคการแพทย์ ให้มีความเหมาะสมมากย่ิงข้นึ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ ประกอบกับข้อ ๕ วรรคสอง ของข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าดว้ ยหลักเกณฑ์ วธิ กี ารและเงื่อนไข การขึน้ ทะเบยี นเปน็ หน่วยบริการและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบริการพ.ศ. ๒๕๕๘ ส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ยกเลิกความในข้อ (๗) ของข้อ ๒ ของประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง เกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านเทคนิคการแพทย์พ.ศ. ๒๕๕๙ และใช้ความต่อไปนแ้ี ทน “(๗) มมี าตรฐานงานเทคนคิ การแพทย์ ตามมาตรา ISO ๑๕๑๘๙ หรือมาตรฐานห้องปฏบิ ัติการทางการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ทดี่ ำ� เนนิ การรับรองโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรอื มาตรฐานงานเทคนคิการแพทย์ โดยสภาเทคนคิ การแพทย์ (Laboratory Accreditation) หรอื มาตรฐานทางวชิ าการของหอ้ งปฏิบัตกิ ารโดยราชวทิ ยาลยั พยาธแิ พทยแ์ ห่งประเทศไทย หรือมาตรฐานอ่ืนทเ่ี ทยี บเคยี งได้ในระดับเดยี วกัน” ขอ้ ๒ ประกาศน้ี ใหม้ ีผลใชบ้ งั คับต้ังแตบ่ ัดน้ีเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ วรี ะวัฒน์ พนั ธค์ รฑุ รองเลขาธิการ รกั ษาการแทน เลขาธิการส�ำนักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ262

ประกาศสำ� นักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรอื่ ง การตรวจประเมนิ เพื่อขึ้นทะเบยี นเป็นหน่วยบรกิ ารท่ีรับการสง่ ต่อ เฉพาะดา้ นบรกิ ารฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทยี ม พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดเกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะดา้ นบริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทยี ม อาศยั ความตามในมาตรา มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๖ และมาตรา ๔๕ แหง่ พระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั ข้อ ๕ วรรคสอง ของข้อบงั คบั คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ พ.ศ. ๒๕๕๘สำ� นักงานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ การบริการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียม หมายถึง การรักษาผู้ป่วยโดยวิธีการกรองของเสียหรอื สารพษิ จากเลอื ดโดยใหเ้ ลอื ดจากหลอดเลอื ดของผปู้ ว่ ยผา่ นเขา้ ไปในทอ่ ฝอย ซงึ่ มเี ปน็ จำ� นวนมากในตวั กรองเลอื ดเพอื่ ใหข้ องเสยี หรอื สารพษิ ในเลอื ดซมึ ผา่ นผนงั ทอ่ ฝอยออกไปในนำ้� ยาทหี่ ลอ่ อยรู่ อบนอกของทอ่ ฝอยในตวั กรองเลอื ดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าดว้ ยมาตรฐานให้บรกิ ารการฟอกเลอื ดดว้ ยเคร่ืองไตเทยี มในสถานพยาบาล ขอ้ ๒ สถานบรกิ ารทจี่ ะขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นการบรกิ ารฟอกเลอื ดดว้ ยเครอ่ื งไตเทียม ในระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ติ ามทส่ี �ำนักงานกำ� หนด ดงั นี้ (๑) เป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือสถานพยาบาลตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาล (๒) จัดบริการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียม แก่ประชาชนผู้มีสิทธิ และต้องได้รับการรับรองมาตรฐานการรักษาโดยการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียม จากคณะอนุกรรมการตรวจรับรองมาตรฐานการรักษาโดยการฟอกเลอื ดดว้ ยเครอ่ื งไตเทยี ม (ตรต.) หรอื ตามทส่ี ำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ กำ� หนดในคมู่ อื บรหิ ารกองทุนในแต่ละปี (๓) มีระบบสารสนเทศท่ีใช้ในการจัดเก็บความลับของข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลและเช่ือมโยงสง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ กบั หนว่ ยบรกิ ารอนื่ ในเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารหรอื ตามทส่ี ำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตกิ ำ� หนด ข้อ ๓ หนว่ ยบรกิ ารในระบบหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ หรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ท่ีประสงค์จะข้ึนทะเบียนหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านการบริการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียม ให้ยื่นค�ำขอต่อส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต เพ่ือเสนอต่อท่ีประชุมคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติระดับเขต (อปสข.) พิจารณาความจ�ำเป็นในการเพ่ิมหน่วยบริการภายในพื้นที่ 263

โดยให้ค�ำนึงถึงปริมาณผู้ป่วยที่รอคิว ระยะเวลาในการรอคอย การกระจายตัวของหน่วยบริการเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงบริการและมีคุณสมบัติของหน่วยบริการหรือสถานบริการที่ขอข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการสง่ ต่อเฉพาะด้านการบริการฟอกเลอื ดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม ตามข้อ ๒ หน่วยบริการและสถานบริการที่ได้รับการตรวจประเมิน หากไม่เห็นด้วยกับผลการตรวจประเมินมีสิทธิอุทธรณ์ผลการตรวจประเมิน โดยให้ย่ืนอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อส�ำนักงานภายใน ๓๐ วันนับแต่วันท่ีทราบผลการตรวจประเมนิ ข้อ ๔ ก�ำหนดระยะเวลาในการขึ้นทะเบียน แบบค�ำขอขึ้นทะเบียน แบบการตรวจประเมินแบบสญั ญาหรือข้อตกลงให้บริการสาธารณสขุ และหลกั ประกนั สัญญา ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีส�ำนกั งานกำ� หนด ให้สถานบริการหรือหน่วยบริการ ส่งข้อมูลพ้ืนฐานและผลการด�ำเนินงานตามที่ส�ำนักงานก�ำหนดเพอื่ ประกอบการพจิ ารณาตรวจประเมนิ ขอ้ ๕ ให้เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีอ�ำนาจวินิจฉัยช้ีขาดปัญหาเก่ียวกับการปฏบิ ตั ติ ามประกาศน้ี ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใชบ้ งั คับตงั้ แต่วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ศกั ดิช์ ยั กาญจนวฒั นา รองเลขาธกิ าร รกั ษาการแทน เลขาธิการสำ� นักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ264

ประกาศส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง เกณฑ์การตรวจประเมนิ เพอ่ื ขึน้ ทะเบียนเป็นหน่วยบริการทรี่ บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ น การทำ� หตั ถการรักษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารีผา่ นสายสวน พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงเกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านการท�ำหัตถการรกั ษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผา่ นสายสวน ในระบบหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ (๒) แห่งพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั ขอ้ ๕ วรรคสอง แหง่ ขอ้ บงั คับคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไข การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๘ และขอ้ ๑๘ของเอกสารแนบทา้ ยประกาศสำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง เกณฑก์ ารตรวจประเมินเพอื่ ข้ึนทะเบยี นเปน็ หน่วยบริการ พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�ำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง เกณฑ์การตรวจประเมินเพ่ือข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะด้านการท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผา่ นสายสวน พ.ศ. ๒๕๖๑” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใชบ้ งั คับต้งั แตว่ ันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ เป็นตน้ ไป ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง เกณฑ์การตรวจประเมินเพอ่ื ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นการทำ� หตั ถการรกั ษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี า่ นสายสวนในระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวนั ที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ขอ้ ๔ ในประกาศน้ี “สำ� นักงาน” หมายความวา่ ส�ำนักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ “สำ� นกั งานสาขา” หมายความว่า สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาตสิ าขา เขต ข้อ ๕ ใหส้ ำ� นกั งานหรอื สำ� นกั งานสาขา ใชเ้ กณฑก์ ารตรวจประเมนิ ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศน้ีตรวจประเมนิ สถานบรกิ ารทป่ี ระสงคข์ น้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นการทำ� หตั ถการรกั ษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผา่ นสายสวน ข้อ ๖ สถานบริการของเอกชนหรือหน่วยงานภายในสถานบริการของเอกชนท่ีได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ท่ีประสงค์จะข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านการท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน ให้ยื่นค�ำขอต่อส�ำนักงานหรอื สำ� นกั งานสาขา เพอ่ื รับการตรวจประเมินและขึน้ ทะเบยี นเปน็ หน่วยบริการตามเกณฑก์ ารตรวจประเมนิ ตามข้อ ๕ 265

สถานบรกิ ารของรฐั หรอื สภากาชาดไทย หรอื สว่ นงานภายในสถานบรกิ ารของรฐั หรอื สภากาชาดไทยซึ่งประสงค์จะข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านการท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผา่ นสายสวน ใหส้ ำ� นกั งานหรอื สำ� นกั งานสาขา ตรวจประเมนิ และจดั ประเภทหนว่ ยบรกิ ารตามเกณฑก์ ารตรวจประเมนิตามขอ้ ๕ สถานบริการท่ีได้รับการตรวจประเมิน หากไม่เห็นด้วยกับผลการตรวจประเมิน มีสิทธิอุทธรณ์ผลการตรวจประเมนิ โดยย่ืนอุทธรณเ์ ปน็ หนังสอื ตอ่ สำ� นกั งานภายในสามสิบวนั นับแต่วนั ทีท่ ราบผลการตรวจประเมิน ข้อ ๗ แบบค�ำขอขึ้นทะเบียน แบบวิธีการตรวจประเมิน ก�ำหนดระยะเวลาการข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการ แบบสัญญาหรือข้อตกลงใหบ้ รกิ ารสาธารณสุข และหลกั ประกันการเป็นหน่วยบรกิ ารใหเ้ ป็นไปตามที่สำ� นักงานกำ� หนด ใหส้ ถานบรกิ าร สง่ ขอ้ มูลพื้นฐานและแสดงผลการด�ำเนนิ งานตามท่ีสำ� นักงานกำ� หนดเพื่อประกอบการพจิ ารณาตรวจประเมิน ข้อ ๘ สถานบรกิ ารทผี่ า่ นการตรวจประเมนิ จะไดร้ บั การประกาศขนึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บัการสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นการทำ� หตั ถการรกั ษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี า่ นสายสวน และมสี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสุขจากหนว่ ยบริการประจ�ำหรือจากกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ตามท่ีคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาตกิ �ำหนด ข้อ ๙ ให้หน่วยบริการท่ีได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว ตามประกาศสำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเร่ือง เกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการส่งต่อเฉพาะด้านการท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี า่ นสายสวนในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ เปน็ หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่เฉพาะดา้ นการทำ� หตั ถการรกั ษาโรคหลอดเลือดโคโรนารผี า่ นสายสวน ตามประกาศน้ี ขอ้ ๑๐ ให้เลขาธกิ ารสำ� นักงานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติเปน็ ผู้รักษาการตามประกาศนี้ และให้มีอ�ำนาจวนิ ิจฉัยชขี้ าดปญั หาเกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ติ ามประกาศน้ี ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ศักดิช์ ัย กาญจนวฒั นา เลขาธิการสำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ266

เอกสารแนบท้ายประกาศส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เร่อื ง เกณฑ์การตรวจประเมินเพอ่ื ขึ้นทะเบยี นเป็นหนว่ ยบรกิ ารท่รี บั การสง่ ตอ่ เฉพาะด้าน การทำ� หัตถการรักษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารีผ่านสายสวน พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ศกั ยภาพของสถานบรกิ ารทขี่ นึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นการทำ� หตั ถการรกั ษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน๑. ศกั ยภาพด้านบริการ แบ่งตามศักยภาพของการให้บรกิ าร เป็น ๒ ประเภท ดังนี้ ๑.๑ หน่วยบริการหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน ระดับท่ี ๑ หมายถึง หน่วยบริการ ท่ีให้บริการเต็มรูปแบบ คือสามารถท�ำการตรวจสวนหัวใจเพ่ือการวินิจฉัยและท�ำหัตถการเพ่ือการรักษา โดยมกี ารบรกิ ารผา่ ตดั หวั ใจและหลอดเลอื ด เพอ่ื รองรบั การผา่ ตดั ฉกุ เฉนิ ในกรณที เ่ี กดิ ผลแทรกซอ้ นจากการ ท�ำหตั ถการสวนหัวใจอยูใ่ นหน่วยบริการ โดยหนว่ ยบริการในระดบั ท่ี ๑ จะตอ้ งมบี รกิ าร ดังน้ี ๑.๑.๑ ต้องมีบริการตรวจวินิจฉัยทางรังสีหรือภาพทางการแพทย์ส�ำหรับวินิจฉัยภาวะกล้ามเน้ือหัวใจ ขาดเลอื ด เช่น การทดสอบสมรรถภาพหัวใจด้วยการออกกำ� ลงั (exercise stress test) การตรวจ หวั ใจดว้ ยคลนื่ เสยี ง (echocardiogram) การตรวจด้วยเอกซเรยค์ อมพิวเตอร์ (Cardiac CT scan) การตรวจภาพทางการแพทย์ด้วยคลื่นแม่เหล็ก (Cardiac MRI) การตรวจหัวใจทางเวชศาสตร์ นิวเคลียร์ ในกรณีที่ไม่มีการตรวจพิเศษที่มีต้นทุนสูงบางรายการ ต้องแสดงหลักฐานบันทึก ความตกลงร่วมกนั ในการให้บริการกับโรงพยาบาลท่ีมีศักยภาพสูงกว่า ๑.๑.๒ ตอ้ งมหี ้องผปู้ ว่ ยวกิ ฤตทิ างโรคหัวใจทีท่ ันสมยั ให้บริการได้ ๑.๑.๓ ต้องมบี ริการรับปรึกษาดา้ นโลหิตวทิ ยา และมีบรกิ ารธนาคารเลือด ๑.๑.๔ ตอ้ งมีบริการรบั ปรึกษาโรคทางไต และบริการลา้ งไต ๑.๑.๕ ต้องมีบริการรบั ปรกึ ษาดา้ นประสาทวทิ ยา ๑.๑.๖ ตอ้ งมกี ารเตรยี มหอ้ งผ่าตัดหัวใจเพ่ือรองรบั กรณีฉกุ เฉินตลอดเวลาที่ทำ� หตั ถการเพอื่ การรกั ษา ๑.๑.๗ ต้องมีศัลยแพทย์หัวใจและทีมเตรียมพร้อมให้บริการผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือดเพ่ือรองรับ กรณฉี กุ เฉนิ ตลอดเวลาทที่ ำ� หตั ถการเพอ่ื การรกั ษา หรอื เขา้ มาใหบ้ รกิ ารในเวลาฉกุ เฉนิ ไดต้ ลอดเวลา ๑.๑.๘ ตอ้ งมบี รกิ ารวสิ ญั ญวี ทิ ยาดา้ นหวั ใจและหลอดเลอื ด เพอ่ื รองรบั กรณฉี กุ เฉนิ ตลอดเวลาทท่ี ำ� หตั ถการ เพ่อื การรักษา ๑.๑.๙ ตอ้ งมกี ารทบทวนภาพถา่ ยรงั สหี ลอดเลอื ดหวั ใจระหวา่ งศลั ยแพทยห์ วั ใจ และอายรุ แพทยโ์ รคหวั ใจ ผูท้ �ำหัตถการ เพือ่ วางแผนการรกั ษากอ่ นการทำ� หตั ถการ ๑.๒ หนว่ ยบรกิ ารหตั ถการรกั ษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี า่ นสายสวน ระดบั ท่ี ๒ หมายถงึ หนว่ ยบรกิ ารทส่ี ามารถ ท�ำการตรวจสวนหัวใจเพอื่ การวินจิ ฉยั และมากกว่า ๔๘๐ รายต่อปีและท�ำหัตถการเพอื่ การรกั ษามากกว่า ๒๐๐ รายตอ่ ปี และบรกิ าร Primary PCI มากกวา่ ๓๖ รายตอ่ ปี และมผี ลการรกั ษาทดี่ ี แตไ่ มม่ บี รกิ ารผา่ ตดั หัวใจและหลอดเลือด เพ่ือรองรับการผ่าตัดฉุกเฉินในกรณีท่ีเกิดผลแทรกซ้อนจากการท�ำหัตถการสวนหัวใจ อย่ใู นหนว่ ยบรกิ ารนนั้ โดยหน่วยบรกิ ารในระดบั ท่ี ๒ จะตอ้ งมีบริการ ดังนี้ 267

๑.๒.๑ ต้องมีบริการตรวจวินิจฉัยทางรังสีหรือภาพทางการแพทย์ส�ำหรับวินิจฉัยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ ขาดเลือด เชน่ การทดสอบสมรรถภาพหวั ใจดว้ ยการออกกำ� ลงั (exercise stress test) การตรวจ หัวใจดว้ ยคลน่ื เสียง (echocardiogram) ๑.๒.๒ ตอ้ งมีห้องผ้ปู ่วยวกิ ฤตทิ างโรคหัวใจทท่ี ันสมยั ใหบ้ รกิ ารได้ ๑.๒.๓ ต้องมีบรกิ ารธนาคารเลอื ด ๑.๒.๔ ต้องมีบรกิ ารรบั ปรกึ ษาโรคทางไต และบริการล้างไต ๑.๒.๕ มีหน่วยบริการที่ให้บริการผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือดรองรับการผ่าตัดฉุกเฉินในกรณีที่เกิด ผลแทรกซอ้ นจากการทำ� หัตถการสวนหวั ใจเป็นลายลักษณอ์ ักษรว่าจะรว่ มกนั ดแู ลโดยศัลยแพทย์ หวั ใจและทมี พรอ้ มปฏบิ ตั งิ านตลอดเวลาทท่ี ำ� หตั ถการเพอื่ การรกั ษา และสามารถเรม่ิ ทำ� การผา่ ตดั ไดภ้ ายใน ๙๐ นาที นับตงั้ แตเ่ กดิ ภาวะแทรกซ้อนจากการทำ� หตั ถการเพือ่ รกั ษา ๑.๒.๖ ตอ้ งสามารถใหม้ กี ารทบทวนภาพถา่ ยรงั สหี ลอดเลอื ดหวั ใจระหวา่ งศลั ยแพทยห์ วั ใจและอายรุ แพทย์ ผ้ทู ำ� หัตถการ เพือ่ วางแผนการรักษากอ่ นการท�ำหัตถการ๒. ศักยภาพดา้ นอุปกรณ์ ๒.๑ ต้องมีเคร่ืองเอกซเรย์ฟลูโอโรสโคปี้ระบบดิจิตัล หรือเคร่ืองเอกซเรย์หลอดเลือดระบบดิจิตัลที่สามารถ ปรับขยายภาพได้หลายระดับ และมีระบบเก็บภาพแบบออนไลน์ และสามารถเรียกดูได้จากระบบ จัดเกบ็ ภาพ (archiving system) ๒.๒ มีเครื่องติดตามการท�ำงานของหัวใจแบบหลายช่อง (อย่างน้อย ๒ ช่อง ส�ำหรับวัดความดันและ ๓ ช่อง ส�ำหรับคลื่นไฟฟ้าหัวใจ) ท่ีมีการท�ำงานแบบเรียลไทม์ และสามารถวัด cardiacoutput ได้โดยวิธีการ ของ Fick หรอื วธิ ี Thermodilution ๒.๓ ต้องมีความพร้อมของอุปกรณ์ที่ใช้ในการท�ำหัตถการเพ่ือการรักษา ได้แก่ สายสวนหลอดเลือดน�ำทาง เพื่อการขยายหลอดเลือดโคโรนารี่ (coronary guiding catheter) สายลวดน�ำสายสวนเพื่อการขยาย หลอดเลือดโคโรนาร่ี (coronary guide wire) สายสวนเพ่ือการขยายหลอดเลือดโคโรนาร่ี ด้วยบอลลูน (coronary balloons dilatation catheter) สายสวนเพ่ือการขยายหลอดเลือดโคโรนารี่ด้วยขดลวด (coronary stent) ตลอดจนอปุ กรณอ์ นื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งตามความเหมาะสมของผปู้ ว่ ยแตล่ ะราย เชน่ coronary stent graft ๒.๔ ต้องมีอุปกรณ์ส�ำหรับช่วยฟื้นคืนชีพตลอดจนอุปกรณ์เพื่อพยุงการท�ำงานของหัวใจที่ใช้งานได้ทันที ภายในห้องท�ำหัตถการเพื่อการรักษา ประกอบด้วย อุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพพ้ืนฐาน ตลอดจนยาต่างๆ ท่ีใชใ้ นการชว่ ยฟ้นื คนื ชีพ เคร่ืองกระตกุ หัวใจชนดิ ไบเฟสิก (biphasic defibrillator) เครอ่ื งกระตุ้นหัวใจ สำ� รองชวั่ คราว (temporary transvenous pacemakers) เครอื่ งพยงุ หวั ใจและระบบไหลเวยี นดว้ ยบอลลนู ในหลอดเลือดแดงใหญ่ (intra-aortic balloon pump) อุปกรณ์ส�ำหรับเจาระบายช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardiocentesis)๓. ศักยภาพด้านความปลอดภัยจากรงั สี ๓.๑ ตอ้ งผา่ นการตรวจสภาพการทำ� งานของเครอ่ื งกำ� เนดิ รงั สี และเครอื่ งหรอื อปุ กรณท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั รงั สใี นสภาพ การท�ำงานท่ีปลอดภัยและขออนุญาตผลิตมีไว้ครอบครองหรือใช้ซ่ึงพลังงานปรมาณูตามกฎหมายว่าด้วย พลงั งานนวิ เคลียร์เพ่ือสนั ติ268

๓.๒ ต้องมีการตรวจประเมินปริมาณรังสีท่ีผู้ปฏิบัติงานได้รับโดยใช้เคร่ืองบันทึกปริมาณรังสีประจ�ำบุคคล (X-Ray badge, OSL) อยา่ งนอ้ ย ๓ เดอื นตอ่ ครง้ั จากหนว่ ยงานทม่ี มี าตรฐานเปน็ ทยี่ อมรบั ของสำ� นกั ปรมาณู เพอ่ื สนั ติ ๓.๓ ต้องมีเคร่ืองใช้อันจ�ำเป็นเพ่ือป้องกันอันตรายจากรังสี อาทิเช่น ชุดตะกั่ว วัสดุก�ำบังรังสี มีการตรวจสอบ ใหอ้ ยใู่ นสภาพใช้งานไดด้ อี ย่างน้อยปีละ ๑ คร้งั ๓.๔ มีการตรวจสุขภาพของผ้ปู ฏบิ ัตงิ านทางรังสีเปน็ ประจำ� ทกุ ปี ๓.๕ ส�ำหรับแพทย์ผู้ท�ำหัตถการควรมีเคร่ืองบันทึกปริมาณรังสีบุคคลอย่างน้อย ๒ ชิ้น ส�ำหรับวัดปริมาณรังสี ทร่ี า่ งกายไดร้ ับภายในกับภายนอกเสือ้ ตะก่ัว๔. ศกั ยภาพด้านการจดั การ ๔.๑ คุณสมบัตขิ องผรู้ ับผิดชอบการด�ำเนินการของหอ้ งปฏิบตั กิ ารตรวจสวนหวั ใจ (Cath lab Director) ๔.๑.๑ หน่วยบรกิ ารหัตถการรกั ษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวนระดบั ท่ี ๑ ผรู้ บั ผดิ ชอบการด�ำเนนิ การของห้องปฏิบัตกิ ารตรวจสวนหัวใจ ตอ้ งได้รับประกาศนยี บัตรผ่านการ ฝึกอบรมอย่างน้อย ๑๒ เดือน ด้านหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด จากสถาบัน ท่ีฝึกอบรมอายุรแพทย์โรคหัวใจต่อยอดอนุสาขาหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด ตามทร่ี าชวทิ ยาลัยอายรุ แพทย์แหง่ ประเทศไทยรับรอง หรือสถาบันอนื่ ๆ ที่ผ่านการพจิ ารณาของ สำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาตเิ ป็นกรณเี ฉพาะ และต้องมปี ระสบการณใ์ นการท�ำหัตถการ ปฏบิ ตั ริ ักษาโรคหัวใจและหลอดเลอื ดมากกว่า ๕ ปี และไมน่ อ้ ยกวา่ ๕๐๐ ราย ๔.๑.๒ หนว่ ยบริการหัตถการรกั ษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวนระดบั ท่ี ๒ ผู้รับผิดชอบการด�ำเนินการของห้องปฏิบัติการตรวจสวนหัวใจต้องได้รับประกาศนียบัตรผ่านการ ฝึกอบรมอย่างน้อย ๑๒ เดือน ด้านหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด จากสถาบัน ท่ีฝึกอบรมอายุรแพทย์โรคหัวใจต่อยอดอนุสาขาหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด ตามทรี่ าชวิทยาลัยอายรุ แพทยแ์ ห่งประเทศไทยรบั รอง หรือสถาบันอ่ืนๆ ท่ีผ่านการพจิ ารณาของ สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตเิ ปน็ กรณเี ฉพาะ และตอ้ งมปี ระสบการณใ์ นการทำ� หตั ถการ ปฏิบตั ิรกั ษาโรคหวั ใจและหลอดเลือดมากกวา่ ๒๐๐ ราย ๔.๒ บทบาทหนา้ ท่ีของผู้รบั ผิดชอบการดำ� เนินการของห้องปฏบิ ัตกิ ารตรวจสวนหวั ใจ (Cath lab Director) ๔.๒.๑ รับผิดชอบในการควบคุมคุณภาพการบริการ ให้มีการท�ำหัตถการตามข้อบ่งช้ีที่ส�ำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติก�ำหนด ตลอดจนผลลัพธ์การท�ำหัตถการ อัตราตาย และอัตราการ เกิดภาวะ แทรกซ้อนจากการทำ� หัตถการ ๔.๒.๒ เป็นที่ปรึกษาและผู้ควบคุมการท�ำหัตถการของแพทย์ผู้ท�ำหัตถการ ในกรณีท่ีคุณสมบัติ และประสบการณ์ยงั ไมค่ รบตามทสี่ ำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติก�ำหนด ๔.๒.๓ เปน็ ผวู้ างแผนพฒั นาคุณภาพบรกิ าร พัฒนาบุคลากร ตลอดจนครภุ ัณฑอ์ ุปกรณต์ า่ งๆ ใหใ้ ชง้ านได้ เหมาะสมกับการบรกิ าร ๔.๒.๔ รวบรวมและรายงานอุบัติการณ์ (Occurrence report) วิเคราะห์ และหาแนวทางแก้ไข อย่างสม�ำ่ เสมอ 269

๔.๒.๕ เปน็ ผู้ควบคมุ ใหม้ กี ารจัดทำ� การทบทวน morbidity-mortality conference หรอื interesting case conference อย่างสม่ำ� เสมอ ๔.๒.๖ การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการท�ำหัตถการตามมาตรฐานแนวทางการบันทึก และตรวจประเมิน คณุ ภาพการบนั ทกึ เวชระเบยี น (Medical Record Audit Guideline) ๔.๓ หน่วยบริการ ๔.๓.๑ ไมป่ ฏิเสธผปู้ ่วยในทุกกรณี เช่น กรณี ST Elevation Acute Coronary Syndrome ๔.๓.๒ ในกรณเี ตยี งเตม็ จะตอ้ งควบคมุ การปฏเิ สธรบั ผปู้ ว่ ยจากโรงพยาบาลในเครอื ทม่ี กี ารทำ� ความตกลงไว้ ไมเ่ กินรอ้ ยละ ๑๐๕. ศักยภาพดา้ นแพทยผ์ ูท้ �ำหัตถการ ต้องมีแพทย์ผู้ทำ� หัตถการ อยา่ งน้อย ๒ คน เพ่ือให้บรกิ าร วันละ ๒๔ ชวั่ โมง ทกุ วัน โดยไมม่ ีวนั หยุด โดยแพทย์ผ้ทู �ำหตั ถการต้องมคี ณุ สมบัติ ดงั น้ี ๕.๑ ต้องได้รับประกาศนียบัตรผ่านการฝึกอบรมอย่างน้อย ๑๒ เดือน ด้านหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจ และหลอดเลอื ด จากสถาบนั ทฝ่ี กึ อบรมอายรุ แพทยโ์ รคหวั ใจตอ่ ยอดอนสุ าขาหตั ถการปฏบิ ตั ริ กั ษาโรคหวั ใจ และหลอดเลอื ด ตามทรี่ าชวทิ ยาลยั อายรุ แพทยแ์ หง่ ประเทศไทยรบั รอง หรอื สถาบนั อน่ื ๆ ทผ่ี า่ นการพจิ ารณา ของส�ำนกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาตเิ ป็นกรณีเฉพาะ ๕.๒ ตอ้ งมีประสบการณใ์ นการท�ำหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดผา่ นสายสวน ณ หนว่ ยบรกิ าร ทีข่ อข้ึนทะเบียนมากกว่า ๗๕ รายต่อปี หากมปี ระสบการณน์ อ้ ยกว่า ๗๕ ราย ตอ่ ปี ต้องมรี ะบบปรึกษา แพทย์ผู้ท่ีมีประสบการณ์ในการท�ำหัตถการเพ่ือการรักษามากกว่า ๑๕๐ รายต่อปี เพื่อให้ค�ำแนะน�ำ หรอื กำ� กับการท�ำหตั ถการการรกั ษาอยา่ งเปน็ รปู ธรรม๖. ศกั ยภาพด้านผู้ชว่ ยแพทย์ผทู้ �ำหัตถการ ๖.๑ เป็นแพทย์ผู้ท่ีได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพจากแพทยสภา หรือ เป็นพยาบาลวิชาชีพผู้ได้รับอนุญาต ใหป้ ระกอบวชิ าชพี จากสภาพยาบาล และผา่ นการอบรมด้านพยาบาลตรวจสวนหัวใจ ๖.๒ บุคลากรในห้องปฏิบัติการตรวจสวนหัวใจ ต้องผ่านการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงท่ีพร้อมปฏิบัติงาน ทนั ที และต้องทบทวนการฝกึ อบรม (renewal ทุก ๒ ปี)๗. ศกั ยภาพดา้ นการรักษาพยาบาล ต้องให้บริการท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีตามแนวเวชปฏิบัติบริการสาธารณสุขหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน ของสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และชมรมมัณฑนากรหัวใจและหลอดเลือดแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๑ หรือตามแนวทางท่ีส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาตกิ ำ� หนด ดังน้ี ๗.๑ หน่วยบริการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวนระดับที่ ๑ สามารถให้การรักษาโรคหลอดเลือด หัวใจตบี ตนั ทุกประเภท ทงั้ Complex and High risk Intervention Patient (CHIP) และ High Risk patients ๗.๒ หน่วยบริการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวนระดับที่ ๒ สามารถให้การรักษาโรคหลอดเลือด หัวใจตบี ตนั ที่ไมใ่ ช่ Complex and High risk Intervention Patient (CHIP) และ High Risk patients270

หมายเหตุ : กรณีวิกฤตฉุกเฉิน หน่วยบริการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวนระดับท่ี ๒ สามารถ ให้การรักษา Complex and High risk Intervention Patient (CHIP)และ High Risk patients โดยการทำ� หตั ถการครงั้ นน้ั จะตอ้ งทำ� หตั ถการโดยแพทยท์ ม่ี ปี ระสบการณท์ ำ� หตั ถการปฏบิ ตั ริ กั ษา โรคหวั ใจและหลอดเลอื ดมากกวา่ ๕ ปี และไมน่ อ้ ยกว่า ๕๐๐ ราย คำ� จำ� กัดความ : Complex and High risk Intervention Patient (CHIP) ประกอบดว้ ย (๑) Left Main lesion (๒) Bifurcation with large side branch lesion (๓) Chronic total occlusion (CTO) intervention (๔) Heavy calcified lesion (๕) Degenerative Saphenous venous grafts (SVG) ค�ำจำ� กดั ความ : High Risk patients ประกอบด้วย (๑) Decompensated CHF (Killip Class 3 - 4) (๒) Recent (< 8 weeks) cerebrovascular accident (๓) Known bleeding disorder (๔) Left ventricular ejection fraction < 30% (๕) Glomerular Filtration Rate (GFR) < 30 ml/min (๖) Serious ongoing ventricular arrhythmias๘. ศกั ยภาพดา้ นข้อมูล ๘.๑ ต้องมีการจัดเก็บข้อมูลของผ้ปู ว่ ยแตล่ ะราย ๘.๒ ตอ้ งมีการจดั เก็บขอ้ มลู การทำ� หตั ถการของแพทยแ์ ต่ละคน ๘.๓ ต้องมีการจัดเกบ็ สถติ ผิ ลการรักษาและภาวะแทรกซอ้ นของหน่วยบริการอย่างเป็นระบบ ๘.๔ ต้องส่งข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยเพ่ือการเบิกจ่ายที่เป็นไปตามแนวทางท่ีส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติกำ� หนด ๘.๕ ตอ้ งจดั เก็บข้อมลู ท้งั หมดเพือ่ การตรวจสอบย้อนหลงั เป็นระยะเวลา ๕ ปี 271

ประกาศส�ำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เรอื่ ง เกณฑ์การตรวจประเมินเพ่อื ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หน่วยบริการ ท่ีรบั การสง่ ต่อเฉพาะด้านรงั สีรักษาสำ� หรับผูป้ ว่ ยโรคมะเร็ง พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงเกณฑ์การตรวจประเมินเพ่ือข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการท่ีรับการสง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นรงั สรี กั ษาส�ำหรบั ผูป้ ่วยโรคมะเร็ง ในระบบหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ อาศัยอำ� นาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ (๒) แหง่ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับข้อ ๕ วรรคสอง แห่งข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ พ.ศ. ๒๕๕๘และข้อ ๑๘ ของเอกสารแนบท้ายประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง เกณฑ์การตรวจประเมินเพอื่ ข้นึ ทะเบียนเป็นหนว่ ยบรกิ าร พ.ศ. ๒๕๖๐ ส�ำนกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ จึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง เกณฑ์การตรวจประเมินเพื่อขึน้ ทะเบียนเปน็ หนว่ ยบริการท่รี ับการส่งตอ่ เฉพาะดา้ นรังสีรกั ษาสำ� หรบั ผ้ปู ่วยโรคมะเรง็ พ.ศ. ๒๕๖๑” ข้อ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใช้บงั คบั ตง้ั แต่วันถัดจากวนั ประกาศเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง เกณฑ์การตรวจประเมินเพือ่ ข้ึนทะเบียนเป็นหนว่ ยบริการท่รี ับการส่งต่อระดบั ตตยิ ภูมิเฉพาะด้านรังสีรกั ษา ลงวนั ท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๔๘ ข้อ ๔ ในประกาศน้ี “ส�ำนกั งาน” หมายความวา่ สำ� นกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ “ส�ำนกั งานเขต” หมายความว่า ส�ำนกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เขต “สถานบรกิ าร” หมายความวา่ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ของเอกชน และของสภากาชาดไทยหนว่ ยบริการการประกอบโรคศลิ ปะสาขาต่าง ๆ และสถานบรกิ ารสาธารณสขุ อนื่ ทค่ี ณะกรรมการกำ� หนดเพ่มิ เติม ข้อ ๕ สถานบริการซึ่งประสงคจ์ ะข้ึนทะเบียนเปน็ หนว่ ยบริการท่รี ับการส่งตอ่ เฉพาะด้านรงั สีรกั ษาสำ� หรับผูป้ ว่ ยโรคมะเรง็ ตอ้ งมศี ักยภาพ ดงั น้ี ๕.๑ เป็นสถานบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพสถานบริการ ท้ังระบบ จากมาตรฐาน HAหรอื ISO 9001:2015 หรอื มาตรฐานอนื่ ๆ ทไ่ี ดร้ บั รองจาก ISQua และมคี วามสามารถในการใหบ้ รกิ ารรงั สรี กั ษาสำ� หรบัผปู้ ่วยโรคมะเรง็ ๕.๒ มีความพรอ้ มด้านสถานท่ี ประกอบด้วย (๑) มีห้องจ�ำลองการฉายรังสีและห้องควบคุม ที่ผ่านการประเมินความปลอดภัยทางรงั สจี ากสำ� นักงานปรมาณูเพ่อื สนั ติ จำ� นวนอย่างน้อยหน่งึ หอ้ ง272

(๒) มหี อ้ งฉายรงั สรี ะยะไกลและหอ้ งควบคมุ ทผ่ี า่ นการประเมนิ ความปลอดภยั ทางรงั สีจากสำ� นักงานปรมาณูเพือ่ สันติ จ�ำนวนอย่างนอ้ ยหนงึ่ ห้อง (๓) มีห้องให้รังสีระยะใกล้ และมีห้องใส่เคร่ืองมือรังสีระยะใกล้ ท่ีผ่านการประเมินความปลอดภยั ทางรงั สีจากสำ� นักงานปรมาณเู พอ่ื สนั ติ จำ� นวนอยา่ งนอ้ ยหนึง่ ห้อง ท้ังนี้ หากสถานบริการใดไม่มีหอ้ งดงั กล่าว ต้องมีระบบการประสานสง่ ต่อกรณที ีม่ ผี ปู้ ว่ ยตอ้ งรบั การรกั ษาดว้ ยรงั สีระยะใกล้ (๔) มหี อ้ งวางแผนทางฟิสิกส์รงั สรี กั ษา จำ� นวนอย่างนอ้ ยหน่ึงห้อง (๕) มหี ้องคอมพวิ เตอรค์ วบคมุ ระบบและหอ้ งเก็บเคร่อื งมอื จำ� นวนอยา่ งนอ้ ยหน่ึงห้อง (๖) มีห้องตรวจผู้ป่วยนอก เป็นไปตามเกณฑ์การตรวจประเมินเพ่ือข้ึนทะเบียนหนว่ ยบรกิ ารรับสง่ ตอ่ ทั่วไป แผนกผปู้ ว่ ยนอก ของส�ำนกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ๕.๓ มีความพรอ้ มด้านเคร่ืองมือ ประกอบดว้ ย (๑) มี CT simulator หรือเทียบเท่า หรือมี conventional simulator จ�ำนวนอยา่ งนอ้ ยหนึง่ เคร่อื ง (๒) มีเครื่อง LINAC with MLC (photon และอาจมี electron beam) จ�ำนวนอยา่ งน้อยหน่ึงเคร่ือง (๓) มีเคร่ือง High dose rate brachytherapy system (หากมบี ริการ) (๔) มีชุดอุปกรณ์เครื่องวัดและควบคุมคุณภาพรังสี QA verification ตามเทคนิคการฉายรังสี (๕) มีระบบคอมพิวเตอร์ฐานข้อมูลทางฟสิ กิ ส์รังสีรกั ษา ๕.๔ มีความพรอ้ มดา้ นบุคลากร ประกอบดว้ ย (๑) มแี พทยร์ งั สรี กั ษาทสี่ ามารถใหบ้ รกิ ารและคำ� ปรกึ ษา ปฏบิ ตั งิ านประจำ� ตลอดเวลาราชการ จ�ำนวนอย่างน้อยหนึ่งคน ตอ่ หน่วยบริการ (๒) มนี กั รงั สกี ารแพทย์ ซง่ึ ไดร้ บั วฒุ กิ ารศกึ ษาเปน็ วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาฟสิ กิ ส์การแพทย์ ทส่ี ามารถใหบ้ รกิ าร ปฏิบัตงิ านประจำ� ตลอดเวลาราชการ จ�ำนวนอย่างนอ้ ยหน่งึ คน (๓) มีนักรังสีการแพทย์ ซ่ึงได้รับวุฒิการศึกษาเป็นวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขารังสีเทคนคิ ปฏบิ ตั ิงานทางรงั สรี ักษา ปฏิบตั ิงานประจำ� ตลอดเวลาราชการ ดงั น้ี (ก) จ�ำนวนอย่างน้อยสองคนต่อการจ�ำลองการฉายรังสี (conventional/CT /MRI- simulator และ C-Arm) (ข) จำ� นวนอยา่ งน้อยสองคนตอ่ การฉายรังสเี ทคนคิ 2D, 3D-CRT (ค) จ�ำนวนอย่างน้อยสามคน ตอ่ การฉายรังสเี ทคนคิ IMRT, VMAT, SRS/SRT/ SBRT (๔) มีพยาบาลรังสีรักษาผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลรังสีวิทยา หรือหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง จ�ำนวนอย่างน้อยสองคนต่อหนว่ ยบรกิ าร 273

กรณที ่ีหนว่ ยบริการมีบุคลากรตาม (๒) และ (๓) ซ่ึงไม่อาจปฏบิ ตั งิ านประจ�ำตลอดเวลาราชการได้ครบตามจำ� นวน หน่วยบริการน้ันต้องจัดให้มีบุคลากรปฏิบัติงานไม่เต็มเวลาทดแทนบุคลากรปฏิบัติงานประจำ� ตลอดเวลาราชการ โดยใหน้ บั บคุ ลากรผปู้ ฏบิ ตั งิ านไมเ่ ตม็ เวลาจำ� นวนสองคนทปี่ ฏบิ ตั งิ านจรงิ รวมจำ� นวนชว่ั โมงทง้ั หมดหนึง่ ร้อยหกสบิ ชัว่ โมงต่อเดือนเทา่ กับบคุ ลากรปฏิบตั งิ านประจ�ำตลอดเวลาราชการจำ� นวนหนึ่งคน ขอ้ ๖ สถานบริการซึ่งประสงค์จะขึน้ ทะเบียนเปน็ หนว่ ยบริการทีร่ ับการส่งต่อเฉพาะด้านรงั สรี กั ษาส�ำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง ให้ย่ืนค�ำขอขึ้นทะเบียน และย่ืนแบบประเมินศักยภาพตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ีต่อส�ำนักงานหรือส�ำนักงานเขต เพอ่ื ตรวจประเมินและขึ้นทะเบียนเป็นหนว่ ยบริการ ขอ้ ๗ สถานบรกิ ารทไี่ ดร้ บั การตรวจประเมนิ หากไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั ผลการตรวจประเมนิ มสี ทิ ธอิ ทุ ธรณ์ผลการตรวจประเมนิ โดยใหย้ นื่ อทุ ธรณเ์ ปน็ หนงั สอื ตอ่ สำ� นกั งานภายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ทท่ี ราบผลการตรวจประเมนิ ขอ้ ๘ สถานบรกิ ารทผ่ี า่ นการตรวจประเมนิ จะไดร้ บั การประกาศขนึ้ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารทร่ี บัการส่งต่อเฉพาะด้านรังสีรักษาส�ำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง และมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขทคี่ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตกิ ำ� หนด ขอ้ ๙ ให้เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นผู้รักษาการตามประกาศน้ี และให้มีอำ� นาจวินจิ ฉัยชขี้ าดปญั หาเก่ียวกบั การปฏบิ ตั ิตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ศกั ด์ิชัย กาญจนวฒั นา เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ274

เอกสารแนบทา้ ยประกาศส�ำนกั งานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติเร่ือง เกณฑก์ ารตรวจประเมินเพ่ือขึ้นทะเบยี นเป็นหนว่ ยบริการท่ีรับการสง่ ต่อเฉพาะดา้ นรงั สีรักษา ส�ำหรับผปู้ ่วยโรคมะเร็ง พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๒๙ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑ แบบประเมนิ ศักยภาพของสถานบริการตามเกณฑ์การตรวจประเมนิ เพอ่ื ขึน้ ทะเบียนเปน็ หน่วยบริการทรี่ บั การสง่ ต่อเฉพาะด้านรังสีรักษาส�ำหรับผ้ปู ว่ ยโรคมะเร็ง พ.ศ. ๒๕๖๑ชือ่ สถานบริการ .......................................................................... รหสั สถานบรกิ าร .................................................สถานท่ีตั้ง ......................... เลขท่ี ........................ ถนน ............................ อ�ำเภอ ...................................................จงั หวดั .................................... รหสั ไปรษณีย์ ..................... โทรศัพท์ ........................... โทรสาร ............................ล�ำดับ รายการ การประเมิน ๑ เปน็ สถานบริการที่ผา่ นการรับรองคุณภาพสถานบริการท้งั ระบบ เป็นไป ไมเ่ ปน็ ไป หมายเหตุ จากมาตรฐาน HA หรอื ISO 9001:2015 หรือมาตรฐานอน่ื ๆ ที่ได้รับรองจาก ISQua และมีความสามารถในการให้บริการ ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ รงั สรี ักษาส�ำหรับผ้ปู ว่ ยโรคมะเรง็ หมายเหตุ แสดงหลกั ฐาน ณ วันเวลาทไ่ี ด้รบั การประเมนิ ฯ โดย สปสช.ขยายเวลาให้ ๑๘๐ วนั หลงั วันหมดอายุ ๒ ความพร้อมด้านสถานที่ ๒.๑ มหี ้องจำ� ลองการฉายรงั สแี ละห้องควบคุม ทีผ่ ่านการประเมิน ความปลอดภัยทางรังสจี ากสำ� นักงานปรมาณูเพื่อสนั ติ จำ� นวนไมน่ ้อยกว่า ๑ หอ้ ง ๒.๒ มหี ้องฉายรงั สรี ะยะไกลและห้องควบคมุ ท่ีผา่ นการประเมิน ความปลอดภยั ทางรงั สจี ากส�ำนักงานปรมาณเู พอื่ สนั ติ จ�ำนวนไมน่ ้อยกว่า ๑ หอ้ ง ๒.๓ มีหอ้ งใหร้ งั สรี ะยะใกล้ และมีห้องใส่เครือ่ งมือรงั สีระยะใกล้ ที่ผา่ นการประเมินความปลอดภัยทางรงั สีจากสำ� นักงานปรมาณู เพ่อื สันติ จ�ำนวนไมน่ อ้ ยกว่า ๑ หอ้ ง (ทง้ั น้ี หากสถานบริการใด ไม่มหี ้องดงั กลา่ ว ตอ้ งมรี ะบบการประสานส่งต่อกรณีทีม่ ีผูป้ ่วย ตอ้ งรบั การรกั ษาดว้ ยรังสีระยะใกล)้ ๒.๔ มหี อ้ งวางแผนทางฟิสกิ ส์รังสรี กั ษา จำ� นวนไม่น้อยกว่า ๑ หอ้ ง 275

ล�ำดบั รายการ การประเมิน หมายเหตุ ๒.๕ มีห้องคอมพิวเตอร์ควบคุมระบบและหอ้ งเกบ็ เครอ่ื งมอื จ�ำนวนไมน่ อ้ ยกว่า ๑ หอ้ ง เป็นไป ไมเ่ ปน็ ไป ๒.๖ มหี ้องตรวจผู้ปว่ ยนอก เป็นไปตามเกณฑก์ ารตรวจประเมนิ ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ เพ่อื ข้นึ ทะเบียนหน่วยบรกิ ารรบั ส่งตอ่ ท่ัวไป แผนกผูป้ ่วยนอก ของสำ� นักงานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ๓. ความพร้อมดา้ นเคร่ืองมือ ๓.๑ มี CT simulator หรือเทียบเท่า หรอื conventional simulator อยา่ งนอ้ ย ๑ เครื่อง ๓.๒ มเี คร่อื ง LINAC with MLC ( photon and อาจมี electron beam ) อยา่ งนอ้ ย ๑ เครื่อง ๓.๓ มเี คร่อื ง High dose rate brachytherapy system (หากมีบรกิ าร) ๓.๔ มชี ดุ อปุ กรณ์เครื่องวดั และควบคุมคณุ ภาพรังสี QA verification ตามเทคนคิ การฉายรังสี ๓.๕ มรี ะบบคอมพวิ เตอรฐ์ านข้อมลู ทางฟิสิกสร์ งั สรี กั ษา ๔. ความพรอ้ มดา้ นบุคลากร ๔.๑ มีแพทยร์ ังสรี ักษาทีส่ ามารถให้บรกิ ารและคำ� ปรกึ ษา ปฏบิ ตั ิงาน ประจำ� ตลอดเวลาราชการ อยา่ งน้อย ๑ คน ต่อหนว่ ยบริการ ๔.๒ มนี กั รังสกี ารแพทย์ ซ่ึงได้รบั วุฒกิ ารศึกษาเปน็ วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาฟิสกิ สก์ ารแพทย์ ท่ีสามารถใหบ้ รกิ ารปฏบิ ตั ิงานประจ�ำ ตลอดเวลาราชการ อยา่ งน้อย ๑ คน ต่อหน่วยบรกิ าร ๔.๓ มีนักรังสีการแพทย์ ซ่ึงไดร้ บั วุฒิการศกึ ษาเปน็ วิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขารังสเี ทคนคิ ปฏบิ ตั งิ านทางรังสรี กั ษา ปฏิบตั งิ านประจ�ำ ตลอดเวลาราชการ ดังน้ี • อย่างน้อย ๒ คน ตอ่ การจำ� ลองการฉายรังสี (conventional/CT/MRI- simulator และ C-Arm) • อย่างน้อย ๒ คน ตอ่ การฉายรงั สเี ทคนคิ 2D, 3D-CRT • อยา่ งนอ้ ย ๓ คน ต่อ การฉายรังสีเทคนิค IMRT, VMAT, SRS/SRT/SBRT หรอื สูงกว่า276

การประเมนิลำ� ดบั รายการ เปน็ ไป ไม่เป็นไป หมายเหตุ ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ ๔.๔ มีพยาบาลรงั สีรกั ษาผา่ นการอบรมหลักสตู รการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง หรอื หลักสตู รการพยาบาลรังสีวทิ ยา ๔ เดอื น ตอ่ หนว่ ยบรกิ าร จ�ำนวนอย่างน้อย ๒ คนหมายเหตุ กรณที ห่ี นว่ ยบรกิ ารมบี คุ ลากรตามลำ� ดบั ท่ี ๔.๒ และ ๔.๓ ซงึ่ ไมอ่ าจปฏบิ ตั งิ านประจำ� ตลอดเวลาราชการได้ครบตามจ�ำนวน หนว่ ยบรกิ ารน้นั ต้องจัดให้มบี คุ ลากรปฏบิ ัตงิ านไม่เต็มเวลาทดแทนบคุ ลากรปฏบิ ัตงิ านประจำ�ตลอดเวลาราชการ โดยให้นับบุคลากรผู้ปฏิบัติงานไม่เต็มเวลาจ�ำนวนสองคนที่ปฏิบัติงานจริงรวมจ�ำนวนช่ัวโมงทั้งหมดหนง่ึ รอ้ ยหกสิบชวั่ โมงตอ่ เดอื นเทา่ กบั บคุ ลากรปฏิบัติงานประจำ� ตลอดเวลาราชการจ�ำนวนหน่ึงคน ลงชื่อ........................................................................... (.........................................................................) ผปู้ ระเมิน วันทปี่ ระเมนิ ................................................................ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา.........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ความเหน็ ของผ้ปู ระเมนิ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 277

สรปุ ผลการประเมนิ ไม่ผา่ น ผา่ น ผ่านแบบมีเงอื่ นไขประเมินซ�ำ้ ๖ เดอื น๑ ……………………………………………………………… ๒ ……………………………………………………………… (ผ้ตู รวจประเมนิ ) (ผู้ตรวจประเมิน)๓ ……………………………………………………………… ๔ ……………………………………………………………… (ผู้ตรวจประเมิน) (ผู้ตรวจประเมิน) ๕ ................................................................ (ผตู้ รวจประเมนิ )************************************************************************************************** รบั ทราบผลการประเมิน ลงชือ่ ...................................................................... (....................................................................) ตำ� แหน่ง ................................................................. วันท่ีรับทราบผลการประเมนิ ..............................................278

ประกาศสาํ นักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง อัตราค่าพาหนะในการรบั สง่ ผู้ป่วยในระบบหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงอัตราค่าพาหนะในการรับส่งผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเหมาะสมมากยง่ิ ขนึ้ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติมีมตใิ นการประชมุ ครง้ั ท่ี ๗/๒๕๕๒เมอื่ วนั ที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๒ และครง้ั ที่ ๙/๒๕๕๒ เมอ่ื วนั ที่ ๑๔ กนั ยายน ๒๕๕๒ เลขาธกิ ารสาํ นกั งานหลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ใหย้ กเลกิ ประกาศสาํ นักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เรือ่ ง อตั ราคา่ พาหนะในการรับส่งผูป้ ่วยในระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ลงวนั ท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ ข้อ ๒ อัตราค่าพาหนะในการรับส่งต่อผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการ แนบท้ายประกาศนี้ ขอ้ ๓ ประกาศน้ใี หม้ ผี ลใชบ้ ังคับต้ังแตว่ ันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๒ วนิ ัย สวัสดวิ ร เลขาธกิ ารสาํ นักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ 279

รายละเอียดหลกั เกณฑ์และวิธีการเบกิ จา่ ยอัตราค่าพาหนะในการรับสง่ ต่อผปู้ ่วย ในระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ (แนบทา้ ยประกาศสํานักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ลงวันท่ี ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๒)หลกั เกณฑ์และเงอื่ นไขการเบกิ คา่ พาหนะ พาหนะในการรับส่งต่อผู้ป่วยหมายถึงพาหนะท่ีใช้ทางบก ทางน�้ำ ทางอากาศ หรือพาหนะอื่นใดทไ่ี ดร้ บั การออกแบบสรา้ งหรอื ดดั แปลง โดยพาหนะดงั กลา่ วจะตอ้ งจดั ใหม้ ยี า เวชภณั ฑ์ และบคุ คลกร ทางสาธารณสขุเพอื่ การลำ� เลยี งและดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยในระหวา่ งการเคลอื่ นยา้ ยหรอื เดนิ ทาง ซง่ึ อตั ราการเบกิ จา่ ยคา่ พาหนะ ตอ้ งเปน็ไปตามเงอื่ นไขดังตอ่ ไปนี้ ๑ เป็นการส่งต่อผู้ป่วยในจากหน่วยบริการต้นทางจนถึงหน่วยบริการปลายทาง ซ่ึงหมายความรวมถงึ การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยไปยงั หนว่ ยบรกิ ารทม่ี ศี กั ยภาพสงู กวา่ รวมถงึ การรบั ผปู้ ว่ ยเพอื่ นอนรกั ษาตอ่ เนอื่ งทห่ี นว่ ยบรกิ ารทม่ี ีศกั ยภาพต�ำ่ กว่าด้วย ๒ เป็นการส่งต่อผู้ปว่ ยนอกกรณอี บุ ัติเหตุ เจ็บปว่ ยฉกุ เฉนิ ข้ามจงั หวดั ๓ มาตรฐานการส่งต่อให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๕)เร่ืองมาตรฐานการสง่ ต่อผู้ป่วย ท้งั นี้เพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชพี และผูป้ ว่ ยได้รับบริการทด่ี ี ๔ การสง่ ต่อไม่นับรวมการสง่ ไปตรวจพเิ ศษระหวา่ งการนอนรกั ษาตวั เป็นผปู้ ว่ ยในอัตราการเบิกจา่ ยคา่ พาหนะทางบก ๑ ระยะทางไม่เกิน ๕๐ กิโลเมตร ให้เบิกจ่ายตามค่าใช้จ่ายจริงในอัตราไม่เกิน ๕๐๐ บาท(รหสั การบนั ทึก S๑๘๐๑) ๒ ระยะทางมากกวา่ ๕๐ กิโลเมตร ข้นึ ไป ให้เบิกจ่ายค่าชดเชย ครัง้ ละ ๕๐๐ บาท และให้ไดร้ บัค่าชดเชยเพม่ิ อกี กโิ ลเมตรละ ๔ บาท x ระยะทางจากหน่วยบรกิ ารต้นทางถงึ หนว่ ยบรกิ ารปลายทาง โดยอา้ งองิ ตามระยะทางของกรมทางหลวงในเสน้ ทางที่ส้นั และตรงท่สี ดุ (รหสั การบันทึก S๑๘๐๒)280

อัตราการเบกิ จา่ ยคา่ พาหนะทางน�้ำ ระยะทาง ไป-กลบั ประเภทของพาหนะ อตั ราการจา่ ยคา่ ใช้จ่าย รหัสการบนั ทกึ (กิโลเมตร) เรอื หางยาวเรว็ ตามจริงไม่เกนิ /ต่อคร้ัง (บาท) เรือเร็ว ๑,๒๐๐ บาท S๑๘๐๓A ไมเ่ กนิ ๑๕ กโิ ลเมตร เรือเร็ว ๒ เครอ่ื งยนต์ ๒,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓B เรอื หางยาวเร็ว ๕,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓C เรือเร็ว ๓,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓D มากกวา่ ๑๕ กิโลเมตร เรอื เร็ว ๒ เครอ่ื งยนต์ ๕,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓E ข้นึ ไป ถึง ๕๐ กิโลเมตร เรอื หางยาวเร็ว ๓๕,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓F เรอื เรว็ มากกว่า ๕๐ กโิ ลเมตร เรอื เรว็ ๒ เครอ่ื งยนต ์ ๔,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓G ขน้ึ ไป ถึง ๑๐๐ กิโลเมตร เรือเรว็ ๑๐,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓H เรอื เรว็ ๒ เคร่อื งยนต์ ๓๕,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓I มากกวา่ ๑๐๐ กโิ ลเมตร ข้นึ ไป แพขนานยนต ์ ๓๕,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓J ๓๕,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓K ไม่จ�ำกดั ระยะทาง ๕,๐๐๐ บาท S๑๘๐๓Lหมายเหตุ กรณีที่มีการใช้พาหนะทางน�้ำไม่เป็นไปตามประเภทข้างต้น ให้อนุโลมใช้ประเภทท่ีใกล้เคียงตามอัตราการเบิกคา่ ใช้จ่ายตามจรงิ ไม่เกนิ อัตราท่ีก�ำหนดในพาหนะทางน้�ำแต่ละประเภทอัตราการเบกิ จ่ายกรณเี ฮลคิ อปเตอร์ เปน็ การเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ยทม่ี ภี าวะวกิ ฤตแิ ละเรง่ ดว่ นจากหนว่ ยบรกิ ารทใี่ หก้ ารรกั ษาไปยงั หนว่ ยบรกิ ารทม่ี ีศักยภาพทส่ี ูงกวา่ กรณที เ่ี ปน็ ความประสงคข์ องผปู้ ว่ ยหรอื ญาติ โดยทแ่ี พทยว์ นิ จิ ฉยั แลว้ วา่ อาการผปู้ ว่ ยไมอ่ ยใู่ นภาวะวิกฤติ ไม่เข้าหลักเกณฑ์และเงอ่ื นไขในการเบิกจ่าย รัศมกี ารบิน ชนิดของอากาศยาน อัตราการจา่ ยชดเชย รหัสการเบกิ ไม่เกิน ๑๕๐ กโิ ลเมตร เฮลิคอปเตอร ์ ๔๐,๐๐๐ บาท S๑๘๐๔ เกิน ๑๕๐ กิโลเมตร เฮลิคอปเตอร ์ ๖๐,๐๐๐ บาทการบันทึกขอ้ มลู เพ่ือเบิกคา่ ใช้จา่ ย (เฉพาะค่ารถและค่าเรือ) หน่วยบริการต้องบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรม E-Claim รายละเอียดตามหนังสือคู่มือการขอรับคา่ ใช้จ่ายเพอื่ บริการสาธารณสขุ ปงี บประมาณ ๒๕๕๓ 281

ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เร่ือง อัตราค่าพาหนะในการรบั สง่ ผู้ปว่ ยในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงอัตราค่าพาหนะในการรับส่งผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้มคี วามเหมาะสมมากยง่ิ ข้นึ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ คร้ังที่ ๒/๒๕๕๖เมื่อวันท่ี ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ สาํ นักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ให้ยกเลิกความในส่วนของอัตราการเบิกจ่ายกรณีเฮลิคอปเตอร์ ในเอกสารแนบท้ายประกาศสาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง อตั ราคา่ พาหนะในการรบั สง่ ผปู้ ว่ ยในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ และใชค้ วามตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้แทน ข้อ ๒ ประกาศนี้ใหใ้ ช้บังคับตงั้ แต่วนั ท่ี ๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ วนิ ยั สวสั ดิวร เลขาธิการสาํ นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ282

เอกสารแนบทา้ ยประกาศสาํ นักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เร่อื ง อตั ราค่าพาหนะในการรบั สง่ ผปู้ ่วยในระบบหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖อตั ราการเบกิ จ่ายคา่ พาหนะทางอากาศ การเคลอื่ นยา้ ยผปู้ ว่ ย ทม่ี ภี าวะวกิ ฤตแิ ละเรง่ ดว่ นจากหนว่ ยบรกิ ารทใี่ หก้ ารรกั ษา ไปยงั หนว่ ยบรกิ ารทม่ี ศี กั ยภาพสูงกว่า ให้เบกิ จ่ายตามอัตรา ดงั น้ี ๑. เฮลิคอปเตอร์ หรือเคร่อื งบินปีกตรึง ขนาด ๑ เครื่องยนต์ จ่ายตามจรงิ แต่ไมเ่ กินช่ัวโมงบินละ๔๐,๐๐๐ บาท เศษของช่วั โมงคิดเปน็ นาที ๒. เฮลิคอปเตอร์ หรอื เครอ่ื งบนิ ปีกตรึง ขนาด ๒ เครอื่ งยนต์ จา่ ยตามจรงิ แต่ไม่เกินชวั่ โมงบนิ ละ๘๐,๐๐๐ บาท เศษของชั่วโมงคิดเปน็ นาที ๓. เฮลิคอปเตอร์ หรือเครอ่ื งบินปกี ตรึง ขนาด ๓ เคร่ืองยนต์ จ่ายตามจรงิ แต่ไม่เกนิ ชัว่ โมงบนิ ละ๑๒๐,๐๐๐ บาท เศษของชั่วโมงคิดเป็นนาที ๔. เฮลคิ อปเตอร์ หรอื เครอื่ งบนิ ปีกตรงึ ขนาด ๔ เครอื่ งยนต์ จ่ายตามจรงิ แตไ่ ม่เกนิ ช่วั โมงบินละ๑๖๐,๐๐๐ บาท เศษของช่ัวโมงคิดเปน็ นาที กรณที เี่ ปน็ ความประสงคข์ องผปู้ ว่ ย หรอื ญาติ โดยทแ่ี พทยว์ นิ จิ ฉยั แลว้ วา่ อาการผปู้ ว่ ยไมอ่ ยใู่ นภาวะวิกฤติ ไม่เข้าหลกั เกณฑ์และเงื่อนไขในการเบกิ จา่ ยตามประกาศน้ี 283

ประกาศคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรือ่ ง การคาํ นวณกลุ่มวนิ จิ ฉยั โรคร่วม (Diagnosis Related Group : DRG) พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงราคากลางสําหรับกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม เพื่อให้การคํานวณค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นไปด้วยความเหมาะสมและสอดคล้องกบั สถานการณป์ ัจจบุ นั อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๘ และมาตรา ๔๖ วรรคสอง (๑) แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยข้อเสนอแนะของคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ ได้มมี ติในการประชุมครง้ั ท่ี ๔/๒๕๕๕ เม่อื วนั ท่ี ๕ มนี าคม ๒๕๕๕ให้ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ให้ยกเลิก ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง ราคากลางสําหรับกล่มุ วนิ จิ ฉัยโรครว่ ม (Diagnosis Related Group : DRGs) พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๒ ให้ใช้ข้อมูลในหนังสือ “การจัดกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมและน�้ำหนักสัมพัทธ์ ฉบับท่ี ๕.๐พ.ศ. ๒๕๕๔” และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ เปน็ ขอ้ มลู ในการคาํ นวณกลมุ่ วนิ จิ ฉยั โรครว่ ม (Diagnosis Related Group : DRG)เพื่อจ่ายค่าใช้จา่ ยเพ่ือบริการสาธารณสุข ข้อ ๓ ประกาศน้ี ใหใ้ ชบ้ งั คับต้ังแตว่ นั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ วิทยา บรุ ณศริ ิ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ284

ประกาศสำ� นกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง การสง่ ข้อมูลอิเลค็ ทรอนกิ สเ์ พือ่ การเรยี กเก็บค่าใช้จา่ ยเพื่อบรกิ ารสาธารณสุข (e-claim) โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ หลกั เกณฑก์ ารสง่ หลกั ฐานประกอบการเรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสขุ กรณีอบุ ตั ิเหตุ เจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉิน หรอื กรณีที่มคี ่าใชจ้ า่ ยสงู จากส�ำนักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉะน้ัน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ โดยคำ� แนะนำ� ของคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติในการประชมุ ครง้ั ที่ ๕(๒)/๒๕๔๖ เมอ่ื วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๖ จึงออกประกาศไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ในการเรียกเก็บคา่ ใชจ้ า่ ยเพือ่ บรกิ ารสาธารณสุข กรณีอบุ ตั เิ หตุ เจ็บปว่ ยฉกุ เฉิน หรอื กรณีท่มี ีค่าใช้จ่ายสูงของหน่วยบรกิ าร ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ เรื่อง หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการเรยี กเก็บค่าบรกิ ารทางการแพทย์ ลงวนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๕ นัน้ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ีสามารถสง่ ขอ้ มลู การเรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสขุ เปน็ ขอ้ มลู อเิ ลค็ ทรอนกิ ส์ (e-claim) ทง้ั นต้ี ามรปู แบบและวิธกี ารท่สี �ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติกำ� หนด ข้อ ๒ หน่วยบริการนอกเหนือไปจากท่ีก�ำหนดไว้ท้ายประกาศนี้ หากมีความประสงค์จะส่งข้อมูลอเิ ล็คทรอนิกส์ (e-claim) ใหแ้ จง้ ความพร้อมมายังสำ� นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เพอ่ื พิจารณาและใหค้ วามเห็นชอบก่อนด�ำเนนิ การตามข้อ ๑ ข้อ ๓ หนว่ ยบรกิ ารตามขอ้ ๑ และขอ้ ๒ ต้องจัดทำ� เอกสารหลกั ฐาน ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไขการเรียกเก็บค่าบริการทางการแพทย์ ลงวนั ที่ ๑ ตลุ าคม๒๕๔๕ และเกบ็ รักษาไว้ ณ หนว่ ยบรกิ ารเพื่อการตรวจสอบดว้ ย ประกาศ ณ วันท่ี ๑๓ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๖ สงวน นติ ยารัมภพ์ งศ์ เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ 285