Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Published by kc_studio, 2018-10-12 02:24:50

Description: กฏ ระเบียบ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

ประกาศส�ำนักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เร่ือง หลักสูตรและคุณสมบตั ขิ องผชู้ ว่ ยเหลือดแู ลผู้สูงอายทุ ่มี ีภาวะพ่ึงพงิ พ.ศ. ๒๕๕๙ เพอ่ื ประโยชนก์ ารดำ� เนนิ การและการเขา้ ถงึ บรกิ ารการดแู ลระยะยาวสำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพง่ึ พงิในระยะเรมิ่ แรกให้เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับข้อ ๒ และข้อ ๑๔ ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรอ่ื ง การกำ� หนดหลกั เกณฑเ์ พอ่ื สนบั สนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ดำ� เนนิ งานและบรหิ ารจดั การกองทนุ ประกนัสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ยกเลกิ ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอื่ งคณุ สมบตั ขิ องผเู้ ขา้ รบั การอบรมผชู้ ่วยเหลือดแู ลผสู้ งู อายุท่ีมภี าวะพ่งึ พิง (care giver) พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันท่ี ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ขอ้ ๒ ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงต้องผ่านการอบรมตามหลักสูตรของกรมอนามัยหรือหลักสูตรท่ีกรมอนามัยรับรอง หรือหลักสูตรท่ีเทียบเท่ากรมอนามัยของสถาบันการศึกษาท่ีมีอ�ำนาจด�ำเนินการตามกฎหมาย ท้งั นไ้ี มน่ อ้ ยกว่า ๗๐ ชั่วโมง ข้อ ๓ ผู้มีสิทธิเข้ารับการอบรมเป็นผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิงตามหลักสูตร ข้อ ๒ต้องมคี ุณสมบตั ดิ ังต่อไปน้ี (๑) อายไุ มต่ �ำ่ กว่า ๑๘ ปีบริบูรณ์ (๒) จบการศกึ ษาไม่ต่�ำกว่าระดบั ประถมศึกษา (๓) มคี วามพรอ้ มดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ และมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การดแู ลผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพงึ่ พงิ ขอ้ ๔ ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ต้องปฏิบัติงานภายใต้การก�ำกับดูแลของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข หรือผู้จัดการระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข (care manager) ส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงในพ้นื ท่ขี องกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาตใิ นระดบั ทอ้ งถ่นิ หรือพน้ื ท่ี ข้อ ๕ ประกาศน้ี ให้ใชบ้ งั คบั ตัง้ แตบ่ ดั นเี้ ปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ศกั ด์ิชัย กาญจนวัฒนา รองเลขาธกิ าร รักษาการแทน เลขาธิการส�ำนกั งานหลกั ประกนั สุขภาพ336

ประกาศสำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ เรือ่ ง หลกั เกณฑ์การสนับสนนุ และส่งเสริมศนู ยพ์ ฒั นาและฟืน้ ฟูคณุ ภาพชวี ิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรกำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ กจิ กรรมของศนู ยพ์ ฒั นาและฟน้ื ฟูคุณภาพชวี ติ ผู้สูงอายุและคนพิการ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบข้อ ๗ (๓) และขอ้ ๑๔ ของประกาศคณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เร่อื งการกำ� หนดหลกั เกณฑเ์ พอื่ สนบั สนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ดำ� เนนิ งานและบรหิ ารจดั การกองทนุ หลกั ประกนัสุขภาพในระดับท้องถ่ินหรือพ้ืนท่ี พ.ศ. ๒๕๕๗ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงออกประกาศไวด้ ังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ให้ศนู ยพ์ ัฒนาและฟื้นฟคู ณุ ภาพชวี ิตผสู้ ูงอายุและคนพิการ หรือศูนย์ชือ่ อน่ื ทีด่ �ำเนนิ กจิ กรรมเก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ท่ีมีสิทธิขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพ่ือด�ำเนินกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกต้องเป็นศูนยท์ ่ีมีคณุ ลกั ษณะ ดงั ต่อไปนี้ (๑) จดั ตัง้ และก�ำกบั หรือด�ำเนนิ การโดยองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หรือหนว่ ยงานของรฐั (๒) บริหารจัดการโดยคณะกรรมการ ซ่ึงอาจบริหารเป็นอิสระจากหน่วยงานที่จัดตั้งหรอื ดำ� เนนิ การกไ็ ด้ ทง้ั น้ี ใหค้ ณะกรรมการมอี งคป์ ระกอบจากภาคสว่ นตา่ งๆ ในทอ้ งถนิ่ หรอื พนื้ ท่ี เชน่ บคุ ลากรองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ อาสาสมคั ร ผ้สู ูงอายุ คนพกิ าร ผู้ทรงคณุ วุฒิ เปน็ ต้น (๓) มที ี่ทำ� การหรอื สถานทต่ี ิดตอ่ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการติดตอ่ ประสานงาน ขอ้ ๒ กรณศี นู ยต์ ามขอ้ ๑ ขอรบั การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ จดั บรกิ ารดแู ลระยะยาวดา้ นสาธารณสขุสำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพงึ่ พงิ ตามขอ้ ๗/๑ ของประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอื่ ง การกำ� หนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินด�ำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทอ้ งถ่นิ หรือพนื้ ท่ี พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม นอกจากมีคุณลักษณะตามข้อ ๑ แล้ว ตอ้ งมคี ุณลักษณะเพม่ิ เติม ดังต่อไปนี้ (๑) มผี จู้ ดั การระบบการดแู ลระยะยาวดา้ นสาธารณสขุ หรอื เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ของหนว่ ยบรกิ ารหรอื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ทม่ี คี วามรใู้ นการจดั ทำ� แผนการดแู ลรายบคุ คล มาชว่ ยปฏบิ ตั งิ านเปน็ ผจู้ ดั การระบบตามความเหมาะสม (๒) มีผ้ชู ว่ ยเหลือดูแลผสู้ ูงอายทุ ี่มภี าวะพึ่งพิง ในการใหบ้ รกิ ารดแู ลตามแผนการดูแลรายบคุ คล 337

ทงั้ นี้ ตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะอนกุ รรมการจดั บรกิ ารดแู ลระยะยาวสำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพงึ่ พงิ ใหเ้ ขา้ รว่ มจดั บรกิ ารดแู ลระยะยาวดา้ นสาธารณสขุ สำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพง่ึ พงิ เวน้ แต่ ศนู ยท์ จ่ี ดั ตงั้ โดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ขอ้ ๓ กรณีศนู ย์ตามข้อ ๑ ขอรบั การสนบั สนุนคา่ ใชจ้ ่ายตามข้อ ๗ (๓) ของประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง การกำ� หนดหลกั เกณฑเ์ พอื่ สนบั สนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ดำ� เนนิ งานและบริหารจดั การกองทุนหลกั ประกันสุขภาพในระดับท้องถ่นิ หรือพนื้ ที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ และท่ีแก้ไขเพิ่มเตมิ เพอ่ื จดั บรกิ ารดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขส�ำหรับผสู้ ูงอายุทมี่ ีภาวะพงึ่ พงิ ตอ้ งมคี ุณสมบัตเิ พ่มิ เตมิ ตามขอ้ ๒ (๑) และ (๒) ดว้ ย ข้อ ๔ ให้ศูนย์ทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายตามข้อ ๒ หรอื ขอ้ ๓ แลว้ แตก่ รณี มีหนา้ ท่ี (๑) ดำ� เนนิ งานตามแผนงานหรอื โครงการหรอื กจิ กรรมหรอื แผนการดแู ลรายบคุ คลทคี่ ณะกรรมการกองทุนอนุมตั ิ (๒) จดั ท�ำบัญชีพร้อมจัดเกบ็ หลักฐานการรบั เงนิ การจ่ายเงิน เพอ่ื รบั การตรวจสอบ ข้อ ๕ บรรดาหลักเกณฑ์ แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการท่ีออกโดยส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ให้ใชค้ วามในประกาศนบ้ี งั คบั แทน ขอ้ ๖ ประกาศนใ้ี หใ้ ช้บงั คับตง้ั แตบ่ ดั นีเ้ ป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๖๐ ชูชยั ศรชำ� น ิ รองเลขาธกิ าร รกั ษาการแทน เลขาธิการสำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพ338

ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เร่อื ง การก�ำหนดหลกั เกณฑ์เพื่อสนบั สนุนใหก้ รงุ เทพมหานคร ดำ� เนนิ งานและบรหิ ารจดั การระบบหลกั ประกันสขุ ภาพกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑                   โดยที่เป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครด�ำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับโครงสร้างและบริบทของกรงุ เทพมหานคร ซง่ึ เป็นองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นรูปแบบอ่นื ตามกฎหมาย  อาศัยอำ� นาจตามความในมาตรา ๑๘ (๔) (๘) (๙) และมาตรา ๔๗ แห่งพระราชบญั ญัติหลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งท่ี๑๓/๒๕๖๐ เมื่อวันท่ี ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ และในการประชุมคร้งั ที่ ๑๔/๒๕๖๐ เม่อื วนั ท่ี ๖ ธันวาคม ๒๕๖๐คณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี ้ ขอ้ ๑ ในประกาศน้ี “กรงุ เทพมหานคร” หมายความวา่ กรงุ เทพมหานครตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร “กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภมู ิเชงิ รกุ ทจ่ี ำ� เป็นตอ่ สขุ ภาพและการดำ� รงชีวิต “คณะกรรมการกองทนุ ” หมายความวา่ คณะกรรมการกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร “การจัดบริการสาธารณสุข” หมายความว่า การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคฟื้นฟูสมรรถภาพ และรกั ษาพยาบาลระดับปฐมภมู ิเชิงรุก ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ สุขภาพและการดำ� รงชวี ิต “การสร้างเสริมสุขภาพ” หมายความวา่ การใด ๆ ที่มุง่ กระท�ำให้บุคคลมสี ุขภาพทางกายและจิตใจท่แี ข็งแรง สมบรู ณ์ มีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดี “การปอ้ งกนั โรค” หมายความว่า การใด ๆ ที่มุ่งกระทำ� เพือ่ ไม่ใหเ้ กิดการเจ็บปว่ ยหรือเป็นโรคและการปอ้ งกนั ไม่ใหก้ ลบั เป็นซ�ำ้ ในกรณีทหี่ ายจากการเจ็บปว่ ยหรือเปน็ โรคแล้ว “การฟ้นื ฟูสมรรถภาพ” หมายความวา่ การใด ๆ ที่ม่งุ กระท�ำเพือ่ แก้ไขปญั หาความบกพรอ่ งของรา่ งกายและจิตใจ ที่ยงั ไม่มีหรือสูญเสียไปให้เกิดมขี ึ้น ให้สามารถเรียนรู้ มีคุณภาพชวี ติ ทดี่ ี และดำ� รงชวี ิตในสังคมได้ “การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก” หมายความว่า การจัดบริการหรือการจัดกิจกรรมสาธารณสขุ นอกหนว่ ยทตี่ งั้ ซงึ่ เปน็ การรกั ษาพยาบาลระดบั ปฐมภมู เิ บอื้ งตน้ ในชมุ ชนและนอกเหนอื จากการจดั บรกิ ารปกติของหนว่ ยบริการ เพ่อื ใหป้ ระชาชนในพื้นทเี่ ขา้ ถงึ บริการมากข้นึ 339

“สถานบรกิ าร” หมายความวา่ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ของเอกชน และของสภากาชาดไทยหนว่ ยบรกิ ารการประกอบโรคศลิ ปะสาขาตา่ ง ๆ และสถานบรกิ ารสาธารณสขุ อนื่ ทค่ี ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติกำ� หนดเพ่มิ เตมิ “หน่วยบริการ” หมายความว่า สถานบริการที่ได้ข้ึนทะเบียนไว้ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ “หน่วยงานสาธารณสุข” หมายความว่า หน่วยงานของกรุงเทพมหานครหรือหน่วยงานของรัฐท่ีมีภารกิจด้านการสาธารณสุขโดยตรงในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร แต่มิได้เป็นสถานบริการหรือหน่วยบริการเชน่ ส�ำนักอนามัย ส�ำนกั การแพทย์ เปน็ ตน้ “หน่วยงานอื่นของรัฐ” หมายความว่า หน่วยงานท่ีมิได้มีภารกิจด้านการสาธารณสุขโดยตรงแตอ่ าจดำ� เนนิ กจิ กรรมดา้ นสง่ เสรมิ สขุ ภาพหรอื การปอ้ งกนั โรคไดใ้ นขอบเขตหนง่ึ เชน่ สำ� นกั งานเขต โรงเรยี น สถาบนัการศึกษา วดั เปน็ ต้น “องค์กรหรือกลุ่มประชาชน” หมายความว่า องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน หรือภาคเอกชนหรือบุคคลที่มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ชมรม สมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรท่ีเรียกชื่ออ่ืนตั้งแต่ ๕ คนขึ้นไปทไ่ี มม่ วี ัตถุประสงค์เพือ่ แสวงหาผลก�ำไร  ทัง้ นี้ จะเป็นนติ ิบุคคลหรือไม่ก็ได้ “ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพง่ึ พงิ ” หมายความวา่ ผสู้ งู อายหุ รอื บคุ คลอน่ื ๆ ทมี่ คี ะแนนประเมนิ ความสามารถในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า ๑๑ คะแนนหรอื ตามทส่ี ำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตกิ ำ� หนด และมสี ทิ ธไิ ดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามประเภทและขอบเขตบริการด้านสาธารณสขุ “การบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขส�ำหรับผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง” หมายความว่าการบรกิ ารตามประเภทและขอบเขตบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ ทเ่ี ปน็ การใหบ้ รกิ าร ณ ครวั เรอื น หรอื ทศ่ี นู ยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หรือหน่วยบริการ หรือที่สถานบริการที่ให้บริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขส�ำหรับผู้สงู อายุทมี่ ภี าวะพ่งึ พิง โดยบุคลากรสาธารณสขุ หรือผชู้ ่วยเหลือดแู ลผสู้ ูงอายุทีม่ ีภาวะพึ่งพงิ “ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน” หมายความว่า ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ หรือศูนย์ที่มีชื่ออย่างอ่ืน ซึ่งจัดตั้งโดยกรุงเทพมหานคร หรือที่คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบรกิ ารดแู ลระยะยาวส�ำหรับผู้สงู อายทุ ีม่ ภี าวะพง่ึ พิงกรงุ เทพมหานคร เหน็ ชอบ “ผ้ชู ่วยเหลอื ดแู ลผสู้ ูงอายุท่มี ีภาวะพ่ึงพงิ (Caregiver)” หมายความวา่ บคุ คลทผี่ ่านการอบรมตามหลกั สตู รผชู้ ว่ ยเหลอื ดแู ลผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพงึ่ พงิ เกย่ี วกบั การพฒั นาระบบการดแู ลระยะยาวสำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพง่ึ พงิ ทก่ี รงุ เทพมหานครไดจ้ ดั ขน้ึ หรอื คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตหิ รอื สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาตเิ หน็ ชอบ  ข้อ ๒ กรุงเทพมหานครจะได้รับการสนับสนุนให้ด�ำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสขุ ภาพกรุงเทพมหานคร ภายใตเ้ งอ่ื นไข ดังตอ่ ไปน้ี (๑) มคี วามประสงคเ์ ข้ารว่ มบริหารจดั การกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร (๒) มกี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและการปอ้ งกนั โรคในพน้ื ทมี่ ากอ่ นแลว้  และมกี ารจัดทำ� แผนและด�ำเนินกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต โดยการมสี ว่ นร่วมของภาคีตา่ ง ๆ ในพืน้ ท่ี (๓) มคี วามพร้อมในการอดุ หนนุ เงินหรอื งบประมาณตามอตั ราสว่ นท่ีก�ำหนด 340

ข้อ ๓ ให้กรุงเทพมหานครเป็นผู้ด�ำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในกรุงเทพมหานครภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการกองทุน  ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์ในประกาศน้ีและมติคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ โดยใหม้ กี องทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่สนับสนนุ และส่งเสรมิ การจดั บริการสาธารณสขุ ของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหนว่ ยงานอนื่ ของรฐั หรอื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหอ้ งคก์ รหรอื กลมุ่ ประชาชนดำ� เนนิ กจิ กรรมดา้ นสาธารณสขุ ในพน้ื ท่ีเพื่อให้บุคคลในพ้ืนที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนรว่ มตามความพรอ้ ม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพน้ื ท ี่ ขอ้ ๔ เงินหรอื ทรพั ยส์ ินในกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย (๑) เงนิ ทไ่ี ดร้ บั จดั สรรแตล่ ะปจี ากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์การด�ำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาตปิ ระจ�ำปงี บประมาณนั้น ๆ (๒) เงินสมทบจากเงินอดุ หนุนหรอื งบประมาณท่ไี ด้รับจากกรุงเทพมหานคร (๓) เงนิ สมทบจากชุมชนหรอื กองทุนชุมชนอ่นื (๔) รายไดอ้ น่ื ๆ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทไี่ ดร้ บั มาในกจิ การของกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร นอกจากเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครตามวรรคหนึ่งกรุงเทพมหานครอาจได้รับเงินเพ่ิมจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในส่วนค่าบริการสาธารณสุขส�ำหรับผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพง่ึ พงิ ตามทค่ี ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตกิ ำ� หนด และใหถ้ อื วา่ เปน็ เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิในกองทุนหลักประกนั สุขภาพกรงุ เทพมหานคร  ข้อ ๕ กรงุ เทพมหานครตกลงสมทบเงนิ เขา้ กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครไมน่ อ้ ยกวา่อัตรารอ้ ยละ ๖๐ ของเงินท่ไี ด้รับจัดสรรจากกองทุนหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ตามข้อ ๔ (๑)  ข้อ ๖ เงนิ กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครตามขอ้ ๔ วรรคหนงึ่ ใหใ้ ชจ้ า่ ยเพอื่ สนบั สนนุหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ท่ีคณะกรรมการกองทุนหรือคณะอนุกรรมการทไ่ี ดร้ บั มอบหมายอนุมัติ ดงั ต่อไปนี้ (๑) เพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการหรือหนว่ ยงานสาธารณสขุ แกบ่ คุ คลในพน้ื ท่ี ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ และมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ (๒) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคท่ีจ�ำเป็นต่อสุขภาพและการด�ำรงชีวิตขององค์กรหรือกลุ่มประชาชนหรือหน่วยงานอื่นของรัฐแก่บุคคลในพื้นท่ี กรณีมีความจ�ำเป็นตอ้ งจดั ซือ้ ครุภณั ฑ์ให้สนบั สนนุ ไดใ้ นวงเงนิ ไมเ่ กิน ๒๐,๐๐๐ บาทตอ่ โครงการ (๓) เพื่อสนบั สนุนและสง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารสาธารณสุขของศูนย์เด็กเลก็ หรือศนู ย์ชอื่ อนื่ ทีด่ ำ� เนินกิจกรรมเก่ียวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการหรือศูนย์ชื่ออื่นท่ีด�ำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชนตามหลกั เกณฑท์ ี่ส�ำนกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติก�ำหนด (๔) เพอื่ สนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารหรอื พฒั นากองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครให้มีประสิทธิภาพ  ทั้งน้ี ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครตามขอ้ ๔ วรรคหนงึ่ ในแต่ละปีงบประมาณนั้น 341

(๕) กรณเี กดิ โรคระบาดหรอื ภยั พบิ ตั ใิ นพน้ื ท่ี ใหจ้ า่ ยเงนิ กองทนุ เพอ่ื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ กจิ กรรมในการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาสาธารณสุข ได้ตามความจำ� เป็น เหมาะสมและทนั ต่อสถานการณ์ได ้ ข้อ ๗ เงนิ กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร ตามขอ้ ๔ วรรคสอง ใหใ้ ชจ้ า่ ยเพอ่ื สนบั สนนุและส่งเสริมการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขส�ำหรับผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิงตามประเภทและขอบเขตบริการด้านสาธารณสุขและอัตราท่ีก�ำหนดในเอกสารหมายเลข ๑ แนบท้ายประกาศนี้ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผสู้ ูงอายุในชุมชน หรอื หนว่ ยบรกิ าร หรอื สถานบริการ ทีจ่ ดั บรกิ ารดูแลระยะยาวดา้ นสาธารณสุขสำ� หรับผสู้ งู อายุทีม่ ีภาวะพ่ึงพิงตามแผนงานหรอื โครงการหรือกจิ กรรมทีค่ ณะอนกุ รรมการทไี่ ด้รบั มอบหมายอนมุ ตั ิ  ข้อ ๘ ใหม้ ีคณะกรรมการกองทุนหลกั ประกนั สุขภาพกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย (๑) ผ้วู า่ ราชการกรุงเทพมหานคร เปน็ ประธานกรรมการ (๒) ปลดั กรงุ เทพมหานคร                                เป็นรองประธานกรรมการ (๓) ผแู้ ทนสำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาต ิ                       เป็นกรรมการ (๔) ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข                               เป็นกรรมการ เขตสขุ ภาพที่ ๑๓ กรงุ เทพมหานคร (๕) ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั การแพทย์ กรุงเทพมหานคร                    เปน็ กรรมการ (๖) ผอู้ �ำนวยการส�ำนักอนามยั กรงุ เทพมหานคร                       เปน็ กรรมการ (๗) ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพฒั นาสงั คม กรงุ เทพมหานคร                  เป็นกรรมการ (๘) ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั การคลงั กรงุ เทพมหานคร                     เปน็ กรรมการ (๙) ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งบประมาณกรุงเทพมหานคร                เปน็ กรรมการ กรุงเทพมหานคร (๑๐) ผูอ้ �ำนวยการส�ำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร                   เป็นกรรมการ (๑๑) ผ้อู �ำนวยการเขตทีเ่ ป็นประธานกล่มุ เขต กรุงเทพมหานคร        เปน็ กรรมการ (๑๒) ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักงานกฎหมายและคด ี                           เป็นกรรมการ สำ� นกั ปลดั กรงุ เทพมหานคร กรุงเทพมหานคร (๑๓) ผแู้ ทนอาสาสมัครสาธารณสขุ กรงุ เทพมหานคร                   เปน็ กรรมการ ทคี่ ัดเลอื กกันเอง จำ� นวนสองคน (๑๔) ผแู้ ทนศนู ยป์ ระสานงานหลกั ประกันสุขภาพประชาชน           เปน็ กรรมการ หรือหน่วยรับเรือ่ งรอ้ งเรียนอสิ ระในพื้นที่ ซ่ึงสรรหาโดย สำ� นักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ จ�ำนวนสองคน (๑๕) ผู้แทนองค์กรเอกชนซึ่งมวี ตั ถุประสงค์ที่มิใช่เป็น                  เป็นกรรมการ การแสวงหาผลกำ� ไรและดำ� เนนิ กิจกรรมดังต่อไปนี้ องคก์ รละหนง่ึ คน โดยการคดั เลอื กกันเองในแตล่ ะกลมุ่ ให้เหลอื กลมุ่ ละหนึง่ คน และให้ผู้แทนดงั กลา่ วคดั เลอื กกนั เอง ใหเ้ หลอื จ�ำนวนหา้ คน (ก) งานดา้ นเดก็ หรือเยาวชน (ข) งานด้านสตรี (ค) งานด้านผูส้ ูงอายุ342

(ง) งานด้านคนพกิ ารหรือผ้ปู ว่ ยจิตเวชหรอื ผดู้ ้อยโอกาส (จ) งานดา้ นผู้ติดเชือ้ เอชไอวีหรือผู้ปว่ ยเร้อื รังอ่นื (ฉ) งานด้านผ้ใู ชแ้ รงงาน (ช) งานดา้ นชมุ ชนแออดั (ซ) งานดา้ นเกษตรกร (ฌ) งานด้านชนกลมุ่ น้อย (๑๖) ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวนสองคน                                      เปน็ กรรมการ ซึ่งเป็นผทู้ ี่มีความเชี่ยวชาญด้านการแพทย์และสาธารณสขุ จ�ำนวนหน่งึ คน ด้านสังคมและการมสี ่วนรว่ ม จ�ำนวนหนึ่งคน (๑๗) รองผ้อู �ำนวยการสำ� นักอนามัย กรุงเทพมหานคร                 เปน็ กรรมการ ทไี่ ด้รบั มอบหมายจากผู้อำ� นวยการส�ำนักอนามยั                 และเลขานุการ (๑๘) ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานพฒั นาระบบสาธารณสขุ                   เป็นกรรมการ สำ� นกั อนามยั กรุงเทพมหานคร                            และผชู้ ว่ ยเลขานุการ (๑๙) เลขานกุ าร สำ� นกั อนามยั กรุงเทพมหานคร                       เป็นกรรมการ                                                             และผชู้ ่วยเลขานกุ าร การคัดเลือกกรรมการตาม (๑๓) และ (๑๕) ให้กรงุ เทพมหานครจดั ประชมุ เพือ่ ใหบ้ คุ คลในแตล่ ะกลมุ่ ไดค้ ดั เลอื กกันเองอย่างเปิดเผย ตามหลักเกณฑ์ทส่ี ำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาตกิ �ำหนดและใหส้ ามารถปรับใหส้ อดคล้องกบั บริบทของกรงุ เทพมหานคร การคัดเลือกกรรมการตาม (๑๖) ให้ประธานกรรมการด�ำเนินการสรรหาผู้ท่ีมีความเชี่ยวชาญเป็นกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิและเสนอให้คณะกรรมการกองทนุ รับทราบ ให้กรงุ เทพมหานครแจ้งรายช่ือ ผ้ทู ไ่ี ด้รับการคัดเลือกตาม (๑๓) และ (๑๕) และผู้ได้รับการสรรหาตาม (๑๖) เป็นกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร พร้อมบันทึกรายงานการประชุมคัดเลือกใหส้ ำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติทราบ เม่อื ได้รับรายชอื่ บคุ คลตามวรรคสแ่ี ละบุคคลตาม (๑๔) ใหส้ �ำนกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติแต่งต้ังเปน็ คณะกรรมการกองทุนต่อไป  ข้อ ๙ ใหก้ รรมการ ตามข้อ ๘ (๑๓) ถงึ (๑๖) มวี าระอยใู่ นตำ� แหนง่ คราวละสป่ี ีนับแตว่ นั ที่แตง่ ต้งั เมื่อครบก�ำหนดวาระตามวรรคหน่ึงแล้ว หากยังมิได้มีการคัดเลือกกรรมการตามข้อ ๘ (๑๓)และ (๑๕) หรอื สรรหากรรมการตามข้อ ๘ (๑๔) และ (๑๖) ขนึ้ ใหม่ ใหก้ รรมการซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระน้ันอยู่ในต�ำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่ากรรมการซ่ึงได้รับการคัดเลือกข้ึนใหม่เข้ารับหน้าท่ี แต่ต้องไม่เกินเก้าสิบวนั นับแตว่ นั ทกี่ รรมการพ้นจากตำ� แหน่งตามวาระนน้ั ในกรณที กี่ รรมการตามวรรคหนง่ึ พน้ จากตำ� แหนง่ กอ่ นครบวาระ ใหด้ ำ� เนนิ การคดั เลอื กหรอื สรรหากรรมการประเภทเดียวกันแทนภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีต�ำแหน่งกรรมการน้ันว่างลงและให้ผู้ได้รับการคัดเลือกอยู่ในตำ� แหนง่ เทา่ กับวาระทีเ่ หลอื ของกรรมการซึง่ ตนแทน  ข้อ ๑๐  กรรมการที่มาจากการคัดเลือกหรือการสรรหาตามข้อ ๘ (๑๓) ถึง (๑๖) นอกจากการพน้ จากตำ� แหนง่ ตามวาระแลว้ ใหพ้ น้ จากตำ� แหน่งในกรณี ดงั ต่อไปน้ี 343

(๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ย้ายไปดำ� รงต�ำแหน่งหรือไปประกอบวิชาชีพหรืออาชพี ในท้องถิ่นหรอื พ้นื ทีอ่ ่ืน (๔) เป็นคนไรค้ วามสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ (๕) เปน็ บคุ คลล้มละลาย (๖) ได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงท่ีสุดให้จ�ำคุก เว้นแต่โทษส�ำหรับความผิดท่ีได้กระท�ำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) พน้ จากความเปน็ สมาชกิ ภาพของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ผแู้ ทนศนู ยป์ ระสานงานหลกั ประกนัสุขภาพประชาชน หรือหน่วยรับเร่อื งร้องเรียนอิสระในพนื้ ท่ี หรอื ผูแ้ ทนองค์กรเอกชน (๘) ขาดประชมุ สามครั้งตดิ ตอ่ กัน โดยไม่มเี หตอุ ันสมควร ขอ้ ๑๑ การประชุมคณะกรรมการกองทุนต้องมีกรรมการมาประชมุ ไม่น้อยกว่าก่งึ หนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทงั้ หมด จงึ จะเปน็ องคป์ ระชมุ ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในทปี่ ระชมุ ถา้ ประธานกรรมการไมม่ าประชมุ หรือไม่อาจปฏิบัติหนา้ ท่ไี ด้ ใหร้ องประธานกรรมการทำ� หนา้ ท่ีประธานในทีป่ ระชมุ ถา้ รองประธานกรรมการไมม่ าประชมุ หรอื ไม่อาจปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีได้ ให้กรรมการทมี่ าประชมุ เลือกกรรมการคนหนึง่ ขึน้ ทำ� หนา้ ทีแ่ ทน ขอ้ ๑๒ คณะกรรมการกองทุนมอี �ำนาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) อนมุ ตั แิ ผนงานหรอื โครงการหรอื กจิ กรรม ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกองทนุ หลกั ประกนัสุขภาพกรงุ เทพมหานคร ตามข้อ ๖ (๒) จัดสรรกรอบวงเงินเพ่ือให้คณะอนุกรรมการที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้อนุมัติแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรม การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครเพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบรกิ ารสาธารณสขุ ให้บคุ คลในพนื้ ท่ขี องเขตนน้ั ๆ (๓) ออกระเบยี บหรอื ประกาศทจี่ ำ� เปน็ เพอื่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การกองทนุ หลกั ประกนัสขุ ภาพกรุงเทพมหานคร  ท้งั น้ี ต้องไมข่ ัดหรือแยง้ กบั ประกาศน้ี (๔) ควบคมุ และกำ� กบั ดแู ลการรบั เงนิ และการจา่ ยเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการจดั ทำ� บญั ชี หรอืทรพั ยส์ นิ ในกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ คี่ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติก�ำหนด ตามเอกสารหมายเลข ๒ แนบทา้ ยประกาศนี้ (๕) กำ� กับดูแลใหห้ น่วยงาน องค์กรหรอื กล่มุ ประชาชน ที่ได้รบั อนมุ ัตติ ามแผนงานหรอื โครงการหรอื กจิ กรรม ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข ๒ แนบทา้ ยประกาศนี้ (๖) สนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนกลมุ่ เปา้ หมายตา่ ง ๆ ในพนื้ ทสี่ ามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ทงั้ ทบ่ี า้ นในชุมชน หรือหน่วยบรกิ ารอย่างทัว่ ถึงและมปี ระสทิ ธภิ าพ (๗) ให้ค�ำแนะน�ำ ในการจัดท�ำข้อมูลและแผนด�ำเนินงานท่ีเกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุขของกลุ่มเป้าหมาย หนว่ ยบรกิ ารตา่ ง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งและกรงุ เทพมหานคร (๘) ใหค้ วามเห็นชอบการจัดทำ� สรปุ ผลการดำ� เนินงาน รายงานรายรับ รายจา่ ย และเงนิ คงเหลือของกองทนุ หลักประกนั สขุ ภาพกรุงเทพมหานคร เมอื่ สนิ้ ปงี บประมาณ 344

ขอ้ ๑๓ เพอื่ ประโยชนใ์ นการปฏบิ ตั ติ ามประกาศนี้ ใหค้ ณะกรรมการกองทนุ แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการและคณะทำ� งาน ดงั ต่อไปน้ี (๑) คณะอนกุ รรมการกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพเขต ซง่ึ มจี ำ� นวนตามความเหมาะสม ประกอบดว้ ยผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ี และสมาชิกสภาของกรุงเทพมหานคร ผู้แทนหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนภาคประชาชนผแู้ ทนองคก์ รเอกชน ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ในเขตพนื้ ทนี่ นั้ ๆ มหี นา้ ทอี่ นมุ ตั แิ ผนงานหรอื โครงการหรอื กจิ กรรม ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครตามขอ้ ๖ ภายใตก้ รอบวงเงนิ เพอ่ื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิการจดั บริการสาธารณสขุ ให้บุคคลในพืน้ ทข่ี องเขตนั้น ๆ ตามข้อ ๑๒ (๒) และหนา้ ทอ่ี น่ื ตามท่ีคณะกรรมการกองทนุมอบหมาย (๒) คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกรงุ เทพมหานคร ซง่ึ มจี ำ� นวนตามความเหมาะสมประกอบดว้ ย ผู้บรหิ ารและเจ้าหน้าทข่ี องกรงุ เทพมหานคร ผู้แทนหนว่ ยบรกิ าร ผชู้ ว่ ยเหลอื ดแู ลผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะพงึ่ พงิ ผทู้ รงคณุ วฒุ อิ นื่ มหี นา้ ทอี่ นมุ ตั แิ ผนงานหรอื โครงการหรอื กจิ กรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครตามข้อ ๗ และหน้าท่ีอ่ืนตามที่คณะกรรมการกองทุนมอบหมาย (๓) คณะอนุกรรมการและคณะท�ำงานอื่น ตามความจำ� เป็น ให้น�ำข้อ ๑๑ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการและคณะทำ� งานตามวรรคหน่ึงโดยอนุโลม ข้อ ๑๔ ให้กรรมการ อนุกรรมการ และคณะท�ำงาน ได้รับค่าตอบแทนในการประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทาง และคา่ ใช้จา่ ยอื่นในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ให้บุคคลภายนอกที่คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะท�ำงานมีหนังสือเชิญมาประชมุ และเจา้ หนา้ ทห่ี รอื ลกู จา้ งของกรงุ เทพมหานครทไี่ ดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี กยี่ วกบั การดำ� เนนิ งานและบรหิ ารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ มสี ิทธไิ ดร้ ับค่าตอบแทน หลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข ๒แนบท้ายประกาศนี ้  ท้ังน้ี ตอ้ งไม่เกนิ วงเงินของข้อ ๖ (๔) ข้อ ๑๕ เพ่ือให้กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมีการดำ� เนนิ งานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขนึ้ ใหส้ ำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต ๑๓ กรงุ เทพมหานคร ประสานกับสำ� นักงานตรวจสอบภายในกรุงเทพมหานคร ในการติดตาม ก�ำกับ และประเมินผลการด�ำเนนิ งานอย่างตอ่ เนอ่ื งและรายงานใหส้ �ำนกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติทราบ ข้อ ๑๖ กองทุนหลักประกนั สขุ ภาพกรุงเทพมหานคร ถ้าไมม่ ีเงนิ สมทบจากกรงุ เทพมหานครหรือไม่มีการด�ำเนินกิจกรรมใด ๆ ต่อเน่ืองต้ังแต่สองปีข้ึนไป ให้ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติประกาศยุบเลิกกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครได้ และให้โอนเงินหรือทรัพย์สินของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรงุ เทพมหานครเปน็ ของหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ขิ องรฐั ในพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานคร ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทสี่ ำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติก�ำหนด 345

ขอ้ ๑๗ ใหเ้ ลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตริ กั ษาการตามประกาศน ้ี และใหม้ อี ำ� นาจตีความ วนิ ิจฉยั ก�ำหนดหลกั เกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติ เพือ่ ให้เปน็ ไปตามประกาศน้ี ขอ้ ๑๘ การดำ� เนินงานใดตามประกาศนี้ หากยงั ไม่มี กฎ ระเบยี บ ประกาศ หรอื หลกั เกณฑท์ จี่ ะก�ำหนดข้ึนตามประกาศนี้ ให้น�ำกฎ ระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑ์ของกรุงเทพมหานคร ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องมาใช้บงั คับโดยอนุโลม ข้อ ๑๙ ประกาศน้ใี หใ้ ชบ้ งั คบั ต้ังแต่บัดนเี้ ป็นต้นไป  ประกาศ ณ วนั ท่ี ๘ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ปิยะสกล  สกลสตั ยาทร รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ346

เอกสารหมายเลข ๑ แนบท้ายประกาศคณะกรรมการหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เรอื่ ง การกำ� หนดหลกั เกณฑเ์ พือ่ สนับสนนุ ให้กรุงเทพมหานคร ด�ำเนนิ งานและบรหิ ารจดั การระบบหลักประกนั สขุ ภาพกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๘ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ประเภทและขอบเขตบริการด้านสาธารณสุขและอัตราการชดเชยค่าบริการด้านสาธารณสุขส�ำหรับผู้สูงอายุทมี่ ภี าวะพึง่ พงิ (เหมาจ่าย/ราย/ปี) ผ้สู งู อายุท่ีมภี าวะพง่ึ พิงแบ่งเปน็ ๔ กลมุ่ ตามความตอ้ งการการบรกิ ารดา้ นสาธารณสุข ประเภทและ กลุม่ ที่ ๑ กลุม่ ท่ี ๒ กลมุ่ ท่ี ๓ กลมุ่ ที่ ๔ขอบเขตบริการ เคล่อื นไหวได้บ้าง และ เหมือนกล่มุ ที่ ๑ เคล่ือนไหวเองไม่ได้ เหมอื นกล่มุ ที่ ๓ด้านสาธารณสุข อาจมีปญั หาการกิน แต่มีภาวะสบั สน และอาจมีปญั หาการกนิ และมอี าการเจ็บป่วย หรือการขับถา่ ย แตไ่ ม่มี หรอื การขับถา่ ย หรือมี รนุ แรง หรืออยู่ใน ภาวะสับสนทางสมอง ทางสมอง อาการเจ็บป่วยรุนแรง ระยะท้ายของชีวติ๑. ประเมินก่อนให้ ประเมินและวางแผน ประเมนิ และวางแผน ประเมนิ และวางแผน ประเมนิ และวางแผนบริการและวางแผน โดยเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ โดยเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ โดยเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข โดยเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุการดูแลระยะยาว และหรือ care manager และหรอื care manager และหรือ care manager และหรอื care managerด้านสาธารณสขุ ๑ ครง้ั /ปี ๑ ครั้ง/ปี ๑ คร้งั /ปี ๑ คร้ัง/ปี(Care Plan)๒. ให้บรกิ ารดูแล ความถขี่ องการให้บรกิ าร ความถี่ของการใหบ้ รกิ าร ความถ่ีของการให้บริการ ความถ่ขี องการให้บรกิ ารระยะยาวดา้ นสาธารณสขุ อย่างน้อย เดือนละ ๑ คร้ัง อยา่ งนอ้ ยเดือนละ ๑ ครงั้ อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ ๑ ครั้ง อยา่ งน้อยเดือนละ ๒ ครง้ัโดยบคุ ลากรสาธารณสุข ๒.๑ บริการดูแลที่บ้าน/ ๒.๑ บริการดูแลท่บี ้าน/ ๒.๑ บริการดูแลท่ีบา้ น/ ๒.๑ บรกิ ารดูแลท่ีบา้ น/(ทีมหมอครอบครัว) ชมุ ชน เพ่อื ให้บรกิ ารแก่ ชุมชน เพ่อื ใหบ้ รกิ ารแก่ ชุมชน เพอื่ ให้บรกิ ารแก่ ชมุ ชน เพ่อื ให้บริการแก่(กิจกรรม รูปแบบการ ผูส้ งู อายุฯให้คำ� แนะนำ� ผู้สงู อายฯุ ให้ค�ำแนะน�ำ ผสู้ ูงอายุฯใหค้ �ำแนะนำ� ผ้สู งู อายฯุ ใหค้ ำ� แนะน�ำใหบ้ ริการ และความถี่ และฝึกสอนแกญ่ าต/ิ และฝึกสอนแก่ญาต/ิ และฝกึ สอนแก่ญาติ/ และฝกึ สอนแก่ญาต/ิในการให้บรกิ ารขนึ้ อยู่ ผูด้ ูแล ได้แก่ ผู้ดแู ล ไดแ้ ก่ ผูด้ แู ล ได้แก่ ผ้ดู แู ล ไดแ้ ก่กับสภาพปญั หาของ ๒.๑.๑ การดูแลดา้ นการ ๒.๑.๑ การดูแลดา้ นการ ๒.๑.๑ การดแู ลด้านการ ๒.๑.๑ การดแู ลดา้ นการผ้สู ูงอายทุ ีม่ ภี าวะ พยาบาล เชน่ ประเมิน พยาบาล เชน่ ประเมิน พยาบาล เชน่ ประเมนิ พยาบาล เช่น ประเมนิพ่ึงพงิ แต่ละราย สภาวะสุขภาพ ให้ความรู้ สภาวะสขุ ภาพ ให้ความรู้ สภาวะสุขภาพ ให้ความรู้ สภาวะสขุ ภาพ ให้ความรู้เปน็ สำ� คัญ) เร่อื งโรคหรอื ความเจบ็ ป่วย เรื่องโรคหรอื ความเจ็บปว่ ย เรอื่ งโรคหรือความเจ็บปว่ ย เรื่องโรคหรือความเจ็บปว่ ย การใหก้ ารพยาบาลท่ัวไป การให้การพยาบาลทั่วไป การใหก้ ารพยาบาลท่วั ไป การให้การพยาบาลท่วั ไป การให้คำ� ปรึกษา การใหค้ �ำปรึกษา การใหค้ ำ� ปรกึ ษา การให้คำ� ปรกึ ษา การปอ้ งกันภาวะเสย่ี ง การปอ้ งกนั ภาวะเสยี่ ง การป้องกันภาวะเส่ยี ง การปอ้ งกนั ภาวะเส่ียง ตอ่ การเจ็บปว่ ย/หกล้ม ต่อการเจบ็ ป่วย/หกล้ม ต่อการเจบ็ ปว่ ย การป้องกัน ต่อการเจบ็ ป่วย ประเมนิ การปอ้ งกนั ภาวะสมอง ประเมนิ และป้องกนั ภาวะ ภาวะสมองเส่อื ม ประเมิน และป้องกันภาวะซมึ เศร้า เส่ือม ประเมินและป้องกัน ซมึ เศรา้ บริการสรา้ งเสริม และปอ้ งกนั ภาวะซมึ เศรา้ การใหบ้ ริการพยาบาล ภาวะซึมเศรา้ บริการสรา้ ง สุขภาพ การกระตุ้นความ บริการสร้างเสรมิ สุขภาพ เฉพาะรายเช่น การป้องกัน เสริมสขุ ภาพและการ ร้คู วามคิดความเข้าใจ การให้บริการพยาบาล เฝา้ ระวงั ภาวะแทรกซ้อน ออกก�ำลังกายทเ่ี หมาะสม (cognitive stimulation) เฉพาะรายเช่น การปอ้ งกัน การปอ้ งกนั และดูแลแผล เป็นตน้ การให้บรกิ ารพยาบาล เฝ้าระวงั ภาวะแทรกซอ้ น กดทบั การดูแลสายสวน 347

ผสู้ ูงอายทุ ีม่ ีภาวะพ่งึ พงิ แบ่งเปน็ ๔ กลุ่มตามความต้องการการบริการด้านสาธารณสขุ ประเภทและ กลมุ่ ท่ี ๑ กลุ่มที่ ๒ กล่มุ ที่ ๓ กลุ่มที่ ๔ขอบเขตบริการ เคลือ่ นไหวได้บา้ ง และ เหมือนกลุ่มท่ี ๑ เคลือ่ นไหวเองไมไ่ ด้ เหมือนกลุ่มท่ี ๓ดา้ นสาธารณสขุ อาจมปี ญั หาการกิน แต่มภี าวะสับสน และอาจมีปญั หาการกิน และมอี าการเจ็บปว่ ย หรือการขบั ถา่ ย แตไ่ มม่ ี หรอื การขับถ่าย หรือมี รนุ แรง หรอื อยูใ่ น ภาวะสบั สนทางสมอง ทางสมอง อาการเจ็บปว่ ยรุนแรง ระยะท้ายของชวี ิต ๒.๑.๒ การฟ้ืนฟูสภาพ เฉพาะราย ตามสภาวะ การป้องกันและดูแลแผล ตา่ งๆ การใหอ้ อกซิเจน ร่างกาย เชน่ การทำ� กายภาพ ความเจบ็ ปว่ ย เปน็ ต้น กดทบั การดูแลสายสวน การดูดเสมหะการประเมิน บ�ำบดั การท�ำกจิ กรรม ๒.๑.๒ การฟนื้ ฟูสภาพ ต่างๆ เป็นต้น และดูแลเพ่ือลดความ บ�ำบัด การกระตุ้นการกลนื รา่ งกาย เชน่ การท�ำกายภาพ ๒.๑.๒ การฟน้ื ฟสู ภาพ ทรมานจากความเจ็บปวด การใหบ้ รกิ ารแพทย์ บ�ำบัด การท�ำกิจกรรม ร่างกาย เชน่ การทำ� กายภาพ เป็นต้น แผนไทย/แพทยท์ างเลือก บำ� บัด การกระตนุ้ การกลนื บ�ำบัด การทำ� กจิ กรรม ๒.๑.๒ การฟื้นฟสู ภาพ การปอ้ งกนั การหกล้ม การให้บริการแพทย์ บ�ำบัด การกระตุน้ การกลืน รา่ งกาย เช่น การท�ำกายภาพ การป้องกนั ขอ้ ตดิ /ข้อขัด แผนไทย/แพทย์ทางเลอื ก การให้บรกิ ารแพทย์ บำ� บัด การทำ� กิจกรรม การฝึกผู้ดูแลในการ การปอ้ งกนั การหกล้ม แผนไทย/แพทย์ทางเลอื ก บำ� บัด การกระตุ้นการกลนื ชว่ ยเหลอื ผปู้ ว่ ย เป็นต้น การปอ้ งกันขอ้ ติด/ข้อขดั การปอ้ งกนั การตกเตยี ง การให้บริการแพทย์ ๒.๑.๓ การดูแลดา้ น การฝึกผ้ดู ูแลในการชว่ ย การป้องกนั ข้อติด/ข้อขัด แผนไทย/แพทย์ทางเลือก โภชนาการ เชน่ การประเมนิ เหลอื ผ้ปู ว่ ย เปน็ ต้น การฝกึ ผู้ดแู ลในการ การป้องกันการตกเตียง ความสามารถการบดเค้ียว ๒.๑.๓ การดแู ลด้าน เคลื่อนย้ายผู้ป่วย เป็นต้น การปอ้ งกนั ขอ้ ติด/ขอ้ ขดั การกลืนและภาวะ โภชนาการ เช่น การประเมิน ๒.๑.๓ การดแู ลด้าน การฝกึ ผู้ดูแลในการ โภชนาการ เพื่อ แนะน�ำ ความสามารถการบดเค้ียว โภชนาการ เช่น การประเมิน เคลอื่ นย้ายผู้ปว่ ย เป็นต้น สง่ เสรมิ และแก้ไขภาวะ การกลนื และภาวะ ความสามารถการบดเคย้ี ว ๒.๑.๓ การดแู ลด้าน โภชนาการท่ีเหมาะสม โภชนาการ เพ่ือแนะนำ� การกลนื และภาวะ โภชนาการ เชน่ การประเมนิ รายบุคคล การแนะน�ำ สง่ เสรมิ และแกไ้ ขภาวะ โภชนาการ เพอื่ แนะน�ำ ความสามารถการบดเคีย้ ว วางแผนและฝึกสอนการ โภชนาการที่เหมาะสม สง่ เสรมิ และแก้ไขภาวะ การกลืนและภาวะโภชนาการ เตรยี มอาหารทั่วไป/ รายบคุ คล การแนะน�ำ โภชนาการที่เหมาะสม เพือ่ แนะนำ� ส่งเสรมิ และ อาหารเสรมิ /อาหารพเิ ศษ วางแผนและฝกึ สอนการ รายบคุ คล การแนะน�ำ แกไ้ ขภาวะโภชนาการ ที่เหมาะสมรายบุคคล เตรียมอาหารทว่ั ไป/ วางแผนและฝึกสอน ที่เหมาะสมรายบุคคล ๒.๑.๔ การดูแลด้าน อาหารเสรมิ /อาหารพเิ ศษ การเตรยี มอาหารทัว่ ไป/ การแนะน�ำ วางแผนและ เภสัชกรรม เชน่ การประเมิน ทเ่ี หมาะสมรายบุคคล อาหารเสริม/อาหารพเิ ศษ ฝึกสอนการเตรยี มอาหาร ความจำ� เป็นและการใชย้ า ๒.๑.๔ การดูแลดา้ น ท่ีเหมาะสมรายบุคคล ทัว่ ไป/อาหารเสรมิ / ท่เี หมาะกับผู้สงู อายฯุ เภสัชกรรม เช่น การประเมนิ ๒.๑.๔ การดูแลด้าน อาหารพเิ ศษ ทเี่ หมาะสม การป้องกนั การใชย้ าผดิ ความจำ� เป็นและการใชย้ า เภสชั กรรม เชน่ การประเมิน รายบคุ คล เชน่ การให้ หรอื เกนิ ความจำ� เป็น ท่ีเหมาะกบั ผู้สงู อายุฯ ความจ�ำเปน็ และการใช้ยา อาหารปัน่ ทางสายยาง การป้องกนั และเฝ้าระวัง การป้องกันการใช้ยาผิด ทเี่ หมาะกับผู้สงู อายุฯ เปน็ ต้น ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ หรือเกนิ ความจ�ำเป็น การปอ้ งกันการใชย้ าผิด ๒.๑.๔ การดูแลด้าน ยา ใหค้ ำ� แนะน�ำ ปรกึ ษา การปอ้ งกันและเฝา้ ระวัง หรือเกินความจ�ำเป็น เภสัชกรรม เช่น การประเมนิ เรอ่ื งยา เวชภัณฑ์ และ ภาวะแทรกซอ้ นจากการใช้ การป้องกนั และเฝา้ ระวงั ความจ�ำเปน็ และการใช้ยา ผลิตภัณฑ์เสรมิ อาหาร ยา ให้ค�ำแนะนำ� ปรึกษา ภาวะแทรกซ้อนจากการ ทเ่ี หมาะกบั ผูส้ ูงอายฯุ ท่เี หมาะสมรายบุคคล เร่ืองยา เวชภณั ฑ์ และ ใชย้ า การป้องกนั การใช้ยา348

ผู้สูงอายุท่มี ีภาวะพ่ึงพิงแบง่ เปน็ ๔ กลุ่มตามความตอ้ งการการบรกิ ารดา้ นสาธารณสุข ประเภทและ กลุ่มที่ ๑ กลมุ่ ท่ี ๒ กล่มุ ท่ี ๓ กลมุ่ ที่ ๔ขอบเขตบรกิ าร เคลือ่ นไหวไดบ้ า้ ง และ เหมือนกลุ่มที่ ๑ เคลอื่ นไหวเองไมไ่ ด้ เหมอื นกลุ่มที่ ๓ด้านสาธารณสุข อาจมีปัญหาการกิน แต่มีภาวะสับสน และอาจมีปัญหาการกิน และมอี าการเจ็บปว่ ย หรือการขับถา่ ย แต่ไม่มี หรอื การขับถา่ ย หรอื มี รุนแรง หรอื อยู่ใน ภาวะสบั สนทางสมอง ทางสมอง อาการเจ็บป่วยรุนแรง ระยะทา้ ยของชีวติ ๒.๑.๕ การดูแลสขุ ภาพ ผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหาร ใหค้ ำ� แนะน�ำ ปรกึ ษาเร่ือง ผิดหรอื เกินความจ�ำเป็น ด้านอ่ืนๆ ตามความ ท่ีเหมาะสมรายบคุ คล ยา เวชภัณฑ์ และ การปอ้ งกนั และเฝา้ ระวัง จำ� เป็น เช่น การดแู ล ๒.๑.๕ การดูแลสขุ ภาพ ผลติ ภัณฑเ์ สรมิ อาหาร ภาวะแทรกซอ้ นจากการ สขุ ภาพช่องปาก การดแู ล ด้านอนื่ ๆ ตามความ ท่เี หมาะสมรายบคุ คล ใช้ยา ให้คำ� แนะนำ� ดา้ นสุขภาพจติ เปน็ ต้น จ�ำเปน็ เช่น การดูแล แนะนำ� ญาต/ิ ผู้ดแู ลในการ ปรึกษาเรอื่ งยา เวชภณั ฑ์ สขุ ภาพชอ่ งปาก การดูแล จดั เตรียม และการให้ยา และผลิตภณั ฑ์เสริมอาหาร ด้านสขุ ภาพจติ เปน็ ต้น อยา่ งเหมาะสมกบั ผปู้ ่วย ทเี่ หมาะสมรายบุคคล เฉพาะราย แนะน�ำญาต/ิ ผูด้ แู ลในการ ๒.๑.๕ การดแู ลสุขภาพ จัดเตรียมและการใหย้ า ดา้ นอ่นื ๆ ตามความ อยา่ งเหมาะสมกบั ผ้ปู ่วย จำ� เป็น เช่น การดแู ล เฉพาะราย การบรหิ าร สขุ ภาพช่องปาก การดแู ล จดั การเพ่อื การเขา้ ถงึ ดา้ นสขุ ภาพจติ เป็นตน้ ยาปวดอยา่ งเหมาะสม แกผ่ ปู้ ่วย ๒.๑.๕ การดูแลสุขภาพ ด้านอ่นื ๆ ตามความ จ�ำเปน็ เชน่ การดูแล สขุ ภาพชอ่ งปาก การดแู ล ดา้ นสุขภาพจิต เปน็ ตน้๓. บรกิ ารดูแลทบ่ี ้าน/ ความถ่ขี องการให้บริการ ความถขี่ องการใหบ้ ริการ ความถข่ี องการให้บริการ ความถี่ของการให้บรกิ ารชมุ ชนและให้ค�ำแนะน�ำ อย่างน้อยเดอื นละ ๒ ครงั้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ คร้ัง อย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ ๑ คร้ัง อย่างน้อยสัปดาหล์ ะ ๒ คร้งัแก่ญาตแิ ละผดู้ แู ล ๓.๑ การบรกิ ารสาธารณสขุ ๓.๑. การบรกิ ารสาธารณสขุ ๓.๑ การบริการสาธารณสุข ๓.๑ การบรกิ ารสาธารณสขุโดยผู้ชว่ ยเหลือดแู ล เบื้องต้น ท้ังดา้ นการ เบื้องต้น ท้ังด้านการ เบ้ืองตน้ ท้ังด้านการ เบอ้ื งตน้ ท้งั ดา้ นการผสู้ ูงอาย(ุ caregiver) พยาบาล การฟ้นื ฟสู ภาพ พยาบาล การฟน้ื ฟสู ภาพ พยาบาล การฟื้นฟสู ภาพ พยาบาล การฟน้ื ฟูสภาพหรือเครือข่ายสขุ ภาพ การท�ำกายภาพบ�ำบดั การทำ� กายภาพบ�ำบัด การทำ� กายภาพบำ� บดั การทำ� กายภาพบำ� บัดอนื่ ๆ หรอื อาสาสมัคร การดแู ลด้านยา การดูแล การดูแลดา้ นยา การดูแล การดูแลด้านยา การดแู ล การดูแลด้านยา การดแู ลจิตอาสา (กจิ กรรม โภชนาการ อาจรวมถึง โภชนาการ อาจรวมถึง โภชนาการ อาจรวมถงึ โภชนาการ อาจรวมถึงรูปแบบการใหบ้ รกิ าร การวดั สญั ญาณชีพ และ การวัดสญั ญาณชีพ การวัดสญั ญาณชพี การวัดสัญญาณชีพและความถใี่ นการให้ ตรวจคัดกรอง สุขภาพ การตรวจนำ้� ตาลในเลือด การทำ� แผล การดแู ล การท�ำแผล การดูแลบริการขน้ึ อยู่กบั สภาพ ตรวจน้�ำตาลในเลือด การปฐมพยาบาล สายสวน การตรวจน้ำ� ตาล สายสวน การตรวจน�้ำตาลปัญหาของผ้สู ูงอายุท่ีมี การปฐมพยาบาล การช่วยฟ้ืนคนื ชพี พื้นฐาน ในเลือด การปฐมพยาบาล ในเลอื ด การใหอ้ อกซเิ จนภาวะพงึ่ พงิ แต่ละราย การช่วยฟ้นื คนื ชีพพืน้ ฐาน เปน็ ตน้ การช่วยฟนื้ คนื ชพี พื้นฐาน การดูดเสมหะ การปฐมเป็นสำ� คัญ ตามค�ำ เปน็ ตน้ ๓.๒ การดูแลสุขภาพ เปน็ ตน้ พยาบาล การชว่ ยฟน้ืแนะน�ำ/มอบหมาย ๓.๒ การดแู ลสุขภาพ ข้ันพนื้ ฐาน เช่น การดแู ล ๓.๒ การดูแลสุขภาพ คนื ชพี พ้ืนฐาน เปน็ ต้น 349

ผู้สงู อายทุ ่ีมภี าวะพึ่งพิงแบ่งเปน็ ๔ กลุ่มตามความตอ้ งการการบรกิ ารด้านสาธารณสุข ประเภทและ กล่มุ ท่ี ๑ กลุ่มท่ี ๒ กลมุ่ ท่ี ๓ กลุม่ ท่ี ๔ขอบเขตบรกิ าร เคลือ่ นไหวได้บา้ ง และ เหมอื นกล่มุ ที่ ๑ เคลอ่ื นไหวเองไมไ่ ด้ เหมือนกลุม่ ท่ี ๓ดา้ นสาธารณสุข อาจมีปญั หาการกนิ แตม่ ภี าวะสบั สน และอาจมปี ญั หาการกิน และมอี าการเจบ็ ป่วย หรือการขับถา่ ย แตไ่ ม่มี หรือการขบั ถ่าย หรอื มี รนุ แรง หรืออยูใ่ น ภาวะสับสนทางสมอง ทางสมอง อาการเจบ็ ป่วยรุนแรง ระยะท้ายของชีวิตของบคุ คลากรวชิ าชีพ ขัน้ พนื้ ฐาน เช่น การดูแล ความสะอาดรา่ งกาย การ ขั้นพื้นฐาน เช่น การดูแล ๓.๒ การดแู ลสุขภาพขั้น ความสะอาดรา่ งกาย ดแู ลเร่ืองการกินยา ความสะอาดรา่ งกาย การ พน้ื ฐาน เชน่ การดแู ล การดแู ลเรอื่ งการกินยา การดแู ลเร่ืองการกนิ ดูแลเรื่องการกินยา ความสะอาดรา่ งกาย การดแู ลเรอ่ื งการกนิ อาหาร เป็นต้น การดแู ลเรือ่ งการกิน การดแู ลเรื่องการกินยา อาหาร เปน็ ตน้ ๓.๓ การจดั การสภาพ อาหาร เป็นตน้ การดูแลเรอ่ื งการกิน ๓.๓ การจัดการสภาพ แวดล้อม/บา้ น เพือ่ การ ๓.๓ การจัดการสภาพ อาหาร เปน็ ต้น แวดลอ้ ม/บา้ น เพ่ือการ ฟนื้ ฟูสภาพ ป้องกัน แวดลอ้ ม/บ้าน เพือ่ การ ๓.๓ การจัดการสภาพ ฟ้นื ฟูสภาพ ป้องกัน อบุ ตั เิ หตุ และการดูแล ฟน้ื ฟูสภาพและการดูแล แวดลอ้ ม/บ้าน เพื่อการ อบุ ตั ิเหตุ และการดูแล ระยะยาว/ผู้ปว่ ยสมอง ระยะยาว/ผูป้ ่วยนอน ฟืน้ ฟูสภาพ และการดแู ล ระยะยาว เสือ่ ม ติดเตียง ระยะยาว/ผ้ปู ่วยนอน ติดเตยี ง/ระยะสุดท้าย๔. จัดหาอุปกรณ์ จัดหาอปุ กรณ์การแพทย์ จัดหาอปุ กรณ์การแพทย์ จดั หาอุปกรณ์การแพทย์ท่ี จดั หาอุปกรณก์ ารแพทยท์ ่ีทางการแพทย์ และอุปกรณเ์ ครอื่ งช่วย และอุปกรณ์เครือ่ งชว่ ย จ�ำเปน็ ตามสภาพผทู้ ีอ่ ยใู่ น จ�ำเปน็ ตามสภาพผ้ทู ี่อยู่ใน(อุปกรณก์ ารแพทย์ ท่จี �ำเป็นตามสภาพ ทจ่ี ำ� เป็นตามสภาพ ภาวะพ่ึงพิง เช่น ทน่ี อนลม ภาวะพงึ่ พงิ เช่น ที่นอนลมและอุปกรณเ์ คร่อื ง ผูท้ ี่อยู่ในภาวะพึง่ พงิ ผู้ท่ีอยูใ่ นภาวะพง่ึ พิง ชุดออกซิเจน เตียงปรับ ชดุ ใหอ้ อกซิเจน เตยี งปรบัช่วยอาจไดร้ ับจาก ระดับ เป็นตน้ ระดับ ชุดดูดเสมหะ/สิทธิบรกิ ารอน่ื ๆ เชน่ ของเหลว เป็นตน้จาก กทม. หรอื สถานบรกิ ารสาธารณสขุหรือภาคเอกชน)๕. ประเมินผลการ โดยบคุ ลากรสาธารณสุข โดยบุคลากรสาธารณสุข โดยบคุ ลากรสาธารณสุข โดยบุคลากรสาธารณสขุดูแลและปรับแผนการ หรือ care manager หรือ care manager หรอื care manager หรอื care managerใหบ้ ริการ อย่างนอ้ ย ๖ เดือน/คร้ัง อย่างน้อย ๓ เดอื น/ครง้ั อยา่ งน้อย ๓ เดือน/ครงั้ อยา่ งน้อย ๑ เดอื น/คร้ังอัตราการชดเชยค่า ไม่เกิน ๔,๐๐๐ ๓,๐๐๐ – ๖,๐๐๐ บาท/ ๔,๐๐๐ – ๘,๐๐๐ ๕,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐บริการ บาท/คน/ปี คน/ปี บาท/คน/ปี(เหมาจา่ ย/คน/ปี) บาท/คน/ปี350

เอกสารหมายเลข ๒ แนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เรื่อง การก�ำหนดหลกั เกณฑ์เพอ่ื สนับสนุนใหก้ รงุ เทพมหานคร ดำ� เนินงานและบรหิ ารจัดการระบบหลักประกันสขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ หมวด ๑ การรับเงิน การเก็บรกั ษาเงิน การจา่ ยเงิน การจัดท�ำบัญชีและรายงาน ของกองทนุ หลักประกนั สุขภาพกรุงเทพมหานคร๑. การรบั เงินและการเก็บรักษาเงินกองทุนหลักประกนั สุขภาพกรุงเทพมหานคร ๑.๑ บรรดาเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ให้น�ำส่งเข้าบัญชีกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ที่เปิดบัญชีกับธนาคารกรุงไทย ประเภทบัญชี เงินฝากออมทรัพย์ โดยใช้ช่ือบัญชีว่า “กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร” แยกจากบัญชีของกรุงเทพมหานครโดยทั่วไปและเปิดบัญชเี งินฝากธนาคารกรุงไทย ประเภทกระแสรายวนั เป็นบญั ชคี จู่ า่ ย ใช้ชื่อบัญชีวา่ “กองทุนหลกั ประกนัสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ใหเ้ งนิ ทไ่ี ดร้ บั เพมิ่ จากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตใิ นสว่ นคา่ บรกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั ผสู้ งู อายุทม่ี ภี าวะพงึ่ พงิ เปดิ บญั ชกี บั ธนาคารกรงุ ไทย ประเภทบญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ย์ โดยใชช้ อ่ื บญั ชวี า่ “กองทนุ หลกั ประกนัสุขภาพกรุงเทพมหานครเพ่ือการดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง” แยกออกจากบัญชีกองทุนหลักประกันสุขภาพกรงุ เทพมหานคร และเปดิ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคารกรงุ ไทย ประเภทกระแสรายวนั เปน็ บญั ชคี จู่ า่ ย ใชช้ อื่ บญั ชวี า่ “กองทนุหลกั ประกันสุขภาพกรงุ เทพมหานครเพ่ือการดแู ลผู้สูงอายทุ ่มี ีภาวะพง่ึ พิง” ๑.๒ การรับเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครให้รับเป็นเงินสด เช็ค ตั๋วแลกเงินหรือธนาณัติก็ได้ และให้ออกใบเสร็จรับเงินในนามของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ตามแบบที่ คณะกรรมการกองทุนก�ำหนด ให้แก่ผู้ช�ำระเงินทุกครั้ง เว้นแต่การรับเงินท่ีได้รับการจัดสรรแต่ละปีจากกองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตติ ามทค่ี ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตกิ ำ� หนด โดยใหใ้ ชห้ ลกั ฐานการโอนเงนิผา่ นทางธนาคารเป็นหลกั ฐานอ้างองิ ในการบันทึกบัญชรี ายรับ ๑.๓ เงินสดท่ีกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครได้รับไว้ ให้น�ำฝากเข้าบัญชีออมทรัพย์ตาม ๑.๑ ภายในวันที่ได้รับเงิน หากไม่สามารถน�ำเงินดังกล่าวฝากเข้าบัญชีได้ทัน ให้คณะกรรมการรับหรือส่งเงินตามระเบยี บของกรงุ เทพมหานคร นำ� เงนิ สดจำ� นวนดงั กลา่ วเกบ็ รวมไวใ้ นซองหรอื หบี หอ่ ระบเุ งนิ กองทนุ หลกั ประกนัสุขภาพกรุงเทพมหานคร จ�ำนวนเงิน ปิดผนึก ลงลายมือช่ือคณะกรรมการรับหรือส่งเงิน และน�ำฝากไว้ท่ีตู้นิรภัยหรอื สถานทเ่ี กบ็ รกั ษาเงนิ ของหนว่ ยงานผรู้ บั เงนิ ของกรงุ เทพมหานคร แลว้ ใหน้ ำ� ฝากเขา้ บญั ชอี อมทรพั ยใ์ นวนั ทำ� การถดั ไป ๑.๔ การสมทบเงินจากกรุงเทพมหานคร ให้ด�ำเนินการโดยเร็วเมื่อเริ่มต้นปีงบประมาณ กรณีมีความจ�ำเปน็ ใหส้ มทบไดไ้ มเ่ กินปีงบประมาณที่สำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาตจิ ่ายเงนิ สนับสนุน ๑.๕ เงนิ กองทนุ หลักประกันสุขภาพกรงุ เทพมหานคร สามารถใช้ในปีงบประมาณถัด ๆ ไปได้ 351

๒. การจา่ ยเงินกองทุนหลักประกันสขุ ภาพกรุงเทพมหานคร ๒.๑ การจ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรอื บคุ คลทผ่ี วู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานครมอบหมาย เปน็ ผสู้ งั่ จา่ ยไดต้ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรุงเทพมหานคร ท้ังน้ี ภายใตแ้ ผนงานหรือโครงการ หรอื กิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุน หรอื คณะอนุกรรมการกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพเขต หรอื คณะอนกุ รรมการสนบั สนนุ การจดั บรกิ ารดแู ลระยะยาวสำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพึง่ พิงกรุงเทพมหานคร อนุมตั ิ แลว้ แต่กรณี ๒.๒ วิธกี ารจา่ ยเงินกองทนุ หลักประกันสุขภาพกรงุ เทพมหานคร ให้จ่ายได้ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) จ่ายเป็นเชค็ ขีดคร่อมหรอื ตัว๋ แลกเงนิ หรือธนาณตั ิ (๒) จ่ายทางธนาคารหรอื ทางอ่นื ตามทค่ี ณะกรรมการกองทนุ ก�ำหนด ๒.๓ การจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิรับเงินที่เป็นหน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุขหรอื หนว่ ยงานอื่นของรฐั ใหห้ วั หน้าของหน่วยบรกิ าร สถานบริการ หนว่ ยงานสาธารณสุข หรือหนว่ ยงานอ่ืนของรฐั น้ันเป็นผู้รับเงิน หากไม่สามารถมารับเงินได้ด้วยตนเองจะมอบอ�ำนาจให้ผู้อื่นเป็นผู้รับเงินแทนก็ให้กระท�ำได้ทงั้ นี้ ตอ้ งมหี นงั สือมอบอ�ำนาจทีช่ ัดเจน และปฏิบตั ิตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกองทุนก�ำหนด ๒.๔ การจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิรับเงินที่เป็นองค์กรหรือกลุ่มประชาชน ให้ผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจากองคก์ รหรอื กล่มุ ประชาชน ไม่น้อยกว่า ๒ คนขน้ึ ไปเปน็ ผรู้ ับเงิน ๒.๕ การจ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครต้องมีหลักฐานการจ่ายเป็นใบเสร็จรบั เงิน ใบส�ำคญั รบั เงนิ ตามแบบทีค่ ณะกรรมการกองทุนกำ� หนด หรือหลกั ฐานการน�ำเงนิ เข้าบญั ชีเงินฝากทธี่ นาคารของผมู้ ีสิทธริ บั เงนิ หรือหลักฐานการรับเงนิ อยา่ งอน่ื ตามทีค่ ณะกรรมการกองทนุ กำ� หนด เพ่ือเก็บไวใ้ ห้ตรวจสอบ๓. การจดั ทำ� บัญชแี ละรายงานของกองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพกรุงเทพมหานคร ๓.๑ การบนั ทกึ บัญชี ให้บนั ทกึ ตามรปู แบบท่ีสำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาตกิ �ำหนด ๓.๒ รอบระยะเวลาบัญชี ให้ถือตามปีงบประมาณ และการเร่ิมระบบบัญชีให้เริ่ม ณ วันที่ได้รับเงินจากกองทนุ หลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติหรอื จากกรงุ เทพมหานคร ๓.๓ ให้กรุงเทพมหานครจัดท�ำสรุปผลการด�ำเนินงาน รายงานการรับ การจ่าย และเงินคงเหลือประจ�ำเดือน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สารสนเทศ หรือระบบอ่ืน และจัดส่งสรุปผลการด�ำเนินงาน รายงานการรับการจา่ ย และเงินคงเหลือของกองทุนหลกั ประกนั สุขภาพกรุงเทพมหานคร ท่ีผา่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทนุ แลว้ ใหส้ ำ� นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เขต ๑๓ กรงุ เทพมหานคร ทุกไตรมาส โดยใหจ้ ดั ส่งภายในระยะเวลาหกสบิ วันนับจากวันส้นิ ไตรมาส ตามรูปแบบที่ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติกำ� หนด ทกุ สน้ิ ปงี บประมาณใหส้ �ำนักงานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๓ กรงุ เทพมหานคร ส�ำเนาส่งให้ส�ำนกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ และสำ� นักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ภายในเดือนมนี าคมของปถี ดั ไป352

หมวด ๒ การก�ำกับดูแลใหห้ น่วยงาน องคก์ รหรือกลุ่มประชาชน ทไี่ ดร้ บั เงินจากกองทุนหลักประกันสขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร ในการรับเงิน การเกบ็ รกั ษา และใชจ้ า่ ยเงนิ ตามวตั ถปุ ระสงค์๔. การจ่ายเงินกองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครของหนว่ ยงาน ๔.๑ หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ อาจเปิดบัญชีเงนิ ฝากเปน็ การเฉพาะแยกออกจากบญั ชที ว่ั ไปหรอื ใชบ้ ญั ชที ว่ั ไปสำ� หรบั เงนิ ตาม แผนงานหรอื โครงการหรอื กจิ กรรมทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการกองทนุ หรอื คณะอนกุ รรมการกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพเขต หรอื คณะอนกุ รรมการสนับสนนุ การจดั บริการดูแลระยะยาวสำ� หรบั ผู้สูงอายทุ ีม่ ภี าวะพึง่ พิงกรุงเทพมหานคร แลว้ แตก่ รณี ๔.๒ กรณีที่มีการจัดซ้ือจัดจ้างตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ และระเบียบที่เก่ียวข้อง เว้นแต่กรณีมีความจ�ำเป็นให้ใช้ราคาตลาดโดยท่ัวไปในขณะทีจ่ ัดซือ้ จัดจ้าง ๔.๓ ให้หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ เก็บหลักฐานการจา่ ยเงินจากบญั ชีไว้ เพอ่ื การตรวจสอบ ๔.๔ เม่อื เสรจ็ ส้นิ โครงการ ให้จัดทำ� รายงานผลการด�ำเนินงาน และรายงานการจ่ายเงนิ ตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมท่ีได้รับอนุมัติ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพ่ือให้คณะกรรมการกองทุน หรือคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต หรือคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวส�ำหรบั ผู้สงู อายุท่ีมีภาวะพง่ึ พงิ กรงุ เทพมหานคร แลว้ แตก่ รณรี ับทราบ และให้กรงุ เทพมหานครเก็บไว้เพอื่การตรวจสอบ กรณที มี่ เี งนิ เหลอื จากการดำ� เนนิ งาน ใหน้ ำ� เงนิ ทเ่ี หลอื สง่ คนื กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครภายในระยะเวลาหกสิบวัน๕. กรณีองค์กรหรือกลุ่มประชาชน ได้รับเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ให้ใช้จ่ายเงินตามรายการคา่ ใชจ้ า่ ยและอตั ราทก่ี ำ� หนดไวใ้ นแผนงานหรอื โครงการหรอื กจิ กรรม ทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการกองทนุหรือคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต หรือคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวส�ำหรับผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิงกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี ซ่ึงพิจารณาจากความเหมาะสมของลักษณะงานความยากง่าย และการใช้เวลาในการด�ำเนินการ แต่ส�ำหรับรายการค่าใช้จ่ายดังต่อไปน้ี ให้อยู่ภายใต้กรอบอัตราและเง่ือนไขการด�ำเนนิ การ ดังนี้ ๕.๑ ค่าตอบแทน คณะท�ำงานหรือบุคคลภายนอก ท่ีด�ำเนินงานตามแผนงาน หรือโครงการหรือกจิ กรรม ใหเ้ บกิ จา่ ยได้ไมเ่ กินอัตราทก่ี ำ� หนดตาม ๖ ของเอกสารแนบทา้ ยนี้ ๕.๒ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทาง เชน่ คา่ พาหนะเดนิ ทาง คา่ ทพ่ี กั ใหเ้ บกิ จา่ ยไดใ้ นอตั ราไมเ่ กนิ กฎ ระเบยี บของกรงุ เทพมหานครโดยอนุโลม 353

๕.๓ การจัดซ้ือจัดจ้างตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ให้ถือราคากลางตามระเบียบของทางราชการในขณะทจี่ ดั ซอ้ื จัดจ้างหรือราคาตลาดโดยทัว่ ไปในขณะที่จดั ซื้อจัดจา้ ง ๕.๔ เมื่อเสร็จส้ินโครงการ ให้จดั ท�ำรายงานผลการด�ำเนินงาน และรายงานการจา่ ยเงินตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมท่ีได้รับอนุมัติ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครเพื่อให้คณะกรรมการกองทุน หรือคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต หรือคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวส�ำหรบั ผสู้ ูงอายทุ ่ีมภี าวะพ่งึ พงิ กรุงเทพมหานคร แล้วแตก่ รณที ราบ และใหก้ รงุ เทพมหานครเกบ็ ไว้เพ่อื การตรวจสอบ กรณที มี่ เี งนิ เหลอื จากการดำ� เนนิ งาน ใหน้ ำ� เงนิ ทเี่ หลอื สง่ คนื กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครภายในระยะเวลาหกสิบวัน หมวด ๓ ค่าตอบแทนการประชมุ ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทาง และคา่ ใช้จ่ายอืน่ ในการปฏิบตั ิหน้าท่ี๖. เงนิ กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานครใหจ้ า่ ยเปน็ คา่ ตอบแทนของกรรมการ อนกุ รรมการ คณะทำ� งานและบคุ คลภายนอกทีม่ หี นงั สือเชิญมาประชมุ ดงั ต่อไปน้ี ๖.๑ ค่าตอบแทนในการประชุมส�ำหรับกรรมการ อนุกรรมการ คณะท�ำงาน ให้เบิกจ่ายได้ในอัตราไมเ่ กินกฎ ระเบยี บของกรุงเทพมหานครโดยอนุโลม ๖.๒ ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ รวมท้ังพนักงานจา้ งเหมา (ชั่วคราว) ของกองทนุ หลักประกันสขุ ภาพกรุงเทพมหานคร ใหเ้ บกิ จ่ายไดใ้ นอัตราไม่เกนิ ระเบยี บของทางราชการโดยอนุโลม ๖.๓ คา่ ใช้จา่ ยในการเดินทาง เชน่ คา่ พาหนะเดินทาง ค่าที่พกั ส�ำหรบั กรรมการ อนกุ รรมการ หรอืคณะท�ำงาน และเจ้าหนา้ ทีข่ องหนว่ ยงานรัฐ รวมท้ังพนกั งานจ้างเหมา(ชั่วคราว) ของกองทนุ ใหเ้ บกิ จ่ายไดใ้ นอัตราไมเ่ กินกฎ ระเบยี บของกรงุ เทพมหานครโดยอนุโลม ๖.๔ วงเงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยและคา่ ตอบแทนตาม ๖.๑ ๖.๒ และ ๖.๓ เมอื่ รวมกบั คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื เพอ่ื การบรหิ ารหรอื พัฒนางานของกองทนุ หลักประกันสขุ ภาพกรุงเทพมหานคร ต้องไม่เกินรอ้ ยละ ๑๕ ของเงนิ กองทุนหลักประกนัสุขภาพกรุงเทพมหานครตามข้อ ๖ (๔) แหง่ ประกาศนี้ หมวด ๔ หลกั เกณฑ์การกำ� หนดคา่ ตอบแทนผู้ช่วยเหลือดูแลผูส้ ูงอายุทม่ี ีภาวะพ่ึงพิง และบคุ ลากร ท่ีเกีย่ วข้องของหนว่ ยบรกิ าร๗. อตั ราคา่ ตอบแทนของผชู้ ่วยเหลือดูแลผู้สงู อายุท่มี ีภาวะพงึ่ พิง และบุคลากรทเ่ี กี่ยวขอ้ งของหนว่ ยบรกิ าร ๗.๑ คา่ ตอบแทนของผชู้ ว่ ยเหลอื ดแู ลผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพงึ่ พงิ จา่ ยในอตั ราทกี่ รงุ เทพมหานครกำ� หนด ๗.๒ ค่าตอบแทนบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องของหน่วยบริการ ให้จ่ายตามอัตราท่ีหน่วยบริการในสังกัดกรุงเทพมหานครถือปฏิบตั ิ354

ประกาศสำ� นักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เร่อื ง หลกั เกณฑก์ ารคัดเลอื กกรรมการในคณะกรรมการ กองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยทเี่ ปน็ การสมควรกำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารคดั เลอื กกรรมการในคณะกรรมการกองทนุ หลกั ประกนัสุขภาพกรุงเทพมหานคร อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๓๑ วรรคหนง่ึ และมาตรา ๓๖ (๒) แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนัสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบข้อ ๘ วรรคสอง แห่งประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเรอื่ งการกำ� หนดหลกั เกณฑเ์ พอ่ื สนบั สนนุ ใหก้ รงุ เทพมหานครดำ� เนนิ งานและบรหิ ารจดั การระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑ สำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติจึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง หลักเกณฑ์การคดั เลอื กกรรมการในคณะกรรมการกองทนุ หลักประกันสขุ ภาพกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑” ขอ้ ๒ ประกาศน้ีใหใ้ ช้บงั คบั ต้ังแตบ่ ดั น้ีเป็นต้นไป ขอ้ ๓ การคัดเลือกกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครที่มาจากอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ใหก้ รงุ เทพมหานครด�ำเนินการ ดงั น้ี (๑) จัดประชุมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในแต่ละเขต เพื่อให้คัดเลือกกันเองอย่างเปิดเผยใหไ้ ด้ผแู้ ทนอาสาสมคั รสาธารณสุขกรุงเทพมหานครในแตล่ ะเขต จำ� นวนเขตละหน่ึงคน (๒) เชิญผู้แทนอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครในแต่ละเขต ตาม (๑) และจัดให้มีการประชุมเพื่อให้คัดเลือกกันเองอย่างเปิดเผย ให้ได้ผู้แทนอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครจ�ำนวนสองคนเป็นกรรมการกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร ข้อ ๔ การคัดเลือกกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครที่มาจากองค์กรเอกชนให้กรงุ เทพมหานครด�ำเนินการ ดังน้ี (๑) ประชาสัมพันธ์ให้องค์กรเอกชนซึ่งมีวัตถุประสงค์ท่ีมิใช่เป็นการแสวงหาผลก�ำไรและด�ำเนินกจิ กรรมในเขตพื้นทก่ี รุงเทพมหานคร ดงั ตอ่ ไปน้ี สมัครเพอ่ื ใชส้ ทิ ธิเข้ารบั คัดเลอื กเปน็ กรรมการกองทุนหลกั ประกนัสขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร (ก) งานดา้ นเด็กหรอื เยาวชน (ข) งานด้านสตรี (ค) งานด้านผสู้ ูงอายุ (ง) งานดา้ นคนพิการหรอื ผ้ปู ว่ ยจิตเวชหรอื ผดู้ ้อยโอกาส (จ) งานด้านผู้ติดเชื้อเอชไอวีหรือผู้ป่วยเรอ้ื รงั อ่ืน 355

(ฉ) งานด้านผูใ้ ชแ้ รงงาน (ช) งานด้านชมุ ชนแออดั (ซ) งานดา้ นเกษตรกร (ฌ) งานดา้ นชนกลุ่มนอ้ ย (๒) จัดประชุมผู้แทนองค์กรเอกชน โดยแยกประชุมในแต่ละด้าน โดยให้ผู้แทนองค์กรเอกชนคัดเลอื กกนั เองในแตล่ ะกลุม่ ใหเ้ หลอื ผูแ้ ทนองค์กรเอกชนกลมุ่ ละหน่งึ คน (๓) จัดประชุมผู้แทนองค์กรเอกชนตาม (๒) เพ่ือคัดเลือกกันเองอย่างเปิดเผยให้เหลือจ�ำนวนหา้ คน เป็นกรรมการกองทนุ หลกั ประกันสุขภาพกรงุ เทพมหานคร ถ้าองค์กรเอกชนท่ีสมัครเข้ารับคัดเลือกกันเองในแต่ละกลุ่มใดที่มีการด�ำเนินกิจกรรมหลายด้านให้เลือกสมคั รด้านใดด้านหน่งึ ขอ้ ๕ องคก์ รเอกชนทีจ่ ะมีสทิ ธิเข้ารบั การคัดเลือกตามข้อ ๔ ต้องมีคณุ สมบัติ ดังนี้ (๑) มที ี่ตัง้ องค์กรและรายชือ่ กรรมการขององค์กร (๒) เป็นองค์กรที่เป็นนิติบุคคลหรือไม่เป็นนิติบุคคล ที่ได้ด�ำเนินกิจกรรมในงานด้านที่ขอสมัครมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ หนึ่งปี จนถงึ วันเปิดรบั สมัคร (๓) มรี ายงานการประชมุ หรอื รายงานผลการดำ� เนนิ งาน หรอื เอกสาร หรอื ภาพถา่ ยหรอื หลกั ฐานอน่ืท่ีแสดงถึงการดำ� เนินกจิ กรรมในงานด้านนัน้ มาแล้วไมน่ ้อยกวา่ หนึ่งปี จนถึงวันเปิดสมคั ร ขอ้ ๖ เม่ือได้รายชื่อผู้แทนอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครและผู้แทนองค์กรเอกชนตามข้อ ๓ และข้อ ๔ ครบถ้วนแล้ว ให้กรุงเทพมหานครแจ้งรายชื่อผู้ท่ีได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการกองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพกรงุ เทพมหานคร พรอ้ มบนั ทกึ รายงานการประชมุ การคดั เลอื ก ใหส้ ำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตอิ อกคำ� สงั่ แตง่ ตง้ั เปน็ กรรมการกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพกรงุ เทพมหานครตอ่ ไป ข้อ ๗ ใหเ้ ลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตริ กั ษาการตามประกาศนแ้ี ละใหม้ อี ำ� นาจวินิจฉยั ชีข้ าดปญั หาเก่ยี วกบั การปฏิบตั ิตามประกาศน้ี ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ศกั ดช์ิ ยั กาญจนวัฒนา เลขาธิการสำ� นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ356

ประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกนั โรค ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง การจัดบริการสาธารณสุขของกองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพในระดบั ทอ้ งถนิ่ หรือพนื้ ที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยทเี่ ปน็ การสมควรกาํ หนดรายละเอยี ดเกยี่ วกบั การจดั บรกิ ารสาธารณสขุ เพอ่ื ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นดําเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถ่ินหรือพ้ืนท่ี ให้มีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขน้ึ อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๒ ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ืองการกาํ หนดหลกั เกณฑเ์ พอื่ สนบั สนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ดาํ เนนิ งานและบรหิ ารจดั การกองทนุ หลกั ประกนัสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพ้ืนที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ ประกอบกับมติคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใตค้ ณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ จากการประชุมครง้ั ที่ ๑/๒๕๕๗ วนั ท่ี ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๗จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ การจัดบริการสาธารณสุข หมายถึง การจัดบริการและการจัดกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก เพ่ือให้กลุ่มแม่และเด็กกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเร้ือรัง รวมท้ังกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงที่อยู่ในพ้ืนท่ี สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างท่ัวถึง และมีประสิทธิภาพ โดยส่งเสริมกระบวนการมสี ่วนรว่ มตามความพร้อม ความเหมาะสม และ ความตอ้ งการในพื้นท่ี ดงั รายละเอยี ดตัวอย่างกิจกรรมตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ การจดั บรกิ ารสาธารณสขุ ตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ พระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพพ.ศ. ๒๕๔๔ และกฎหมายอ่ืน ๆ ที่เกีย่ วข้อง ข้อ ๒ ประกาศน้ใี หม้ ีผลใช้บงั คบั ต้งั แต่บัดน้เี ป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๕ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณรงค์ศกั ด์ิ อังคะสวุ พลา ประธานอนุกรรมการสง่ เสรมิ สุขภาพและปอ้ งกนั โรค ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ 357

ตวั อย่างกิจกรรมบรกิ ารสาธารณสุขตามกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ แนบทา้ ยประกาศคณะอนุกรรมการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค เรอ่ื ง การจดั บริการสาธารณสขุ ของกองทุนหลักประกนั สขุ ภาพในระดบั ท้องถ่ินหรือพน้ื ท่ี ลงวันที่ ๒๕ มนี าคม ๒๕๕๗ ๑. กลมุ่ หญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละหญงิ หลงั คลอด เพอ่ื ยกระดบั สขุ ภาพชวี ติ ของหญงิ ตงั้ ครรภ์ หญงิ คลอดและหลังคลอด โดยสร้างการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างเสมอภาค และสนับสนุนให้ได้รับชดุ สทิ ธปิ ระโยชนห์ ลักประกนั สุขภาพถ้วนหนา้ ดา้ นการสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั และเฝา้ ระวงั โรคอยา่ งทวั่ ถงึ เชน่ ๑.๑ การสาํ รวจ ค้นหา และจัดทาํ ทะเบียน หญงิ ตั้งครรภ์รายใหม่ ๑.๒ การประเมินภาวะโภชนาการ การเฝ้าระวัง และการแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ โภชนาการตำ�่ กว่าเกณฑ์ ๑.๓ การส่งเสรมิ สขุ ภาพช่องปากในหญงิ ตง้ั ครรภ์และหญิงหลังคลอด ๑.๔ การคดั กรองและป้องกันโรคโลหติ จางธาลัสซีเมียในหญิงตง้ั ครรภ์ ๑.๕ การควบคมุ และป้องกันภาวะโลหติ จางจากการขาดธาตุเหลก็ ในหญงิ ตัง้ ครรภ์ ๑.๖ การสง่ เสริมสนับสนุนเกลอื เสริมไอโอดีนและธาตุเหลก็ ในหญิงตงั้ ครรภ์ ๑.๗ การส่งเสริมสนบั สนนุ การเล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่ ๑.๘ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ โครงการสายใยรกั แหง่ ครอบครวั ในการใหค้ วามสาํ คญั สถาบนั ครอบครวั และการเลย้ี งดเู ดก็ และเยาวชนอยา่ งใกล้ชดิ ๑.๙ การเย่ียมบา้ นใหค้ วามรู้ ให้คําแนะนาํ และตดิ ตามดแู ลสุขภาพ กอ่ นคลอดและหลงั คลอด ๑.๑๐ การตดิ ตาม ค้นหา หญงิ ตงั้ ครรภแ์ ละหญิงหลงั คลอด ท่ขี าดนัด หรือมภี าวะเสย่ี ง ๑.๑๑ การใหค้ วามรแู้ ละคาํ แนะนาํ ในชมุ ชน โรงเรยี น หรอื หนว่ ยงานตา่ งๆ ในชมุ ชนแกห่ ญงิ ตง้ั ครรภ์ และหญิงหลังคลอด ในการเตรียมตวั การปฏบิ ัติ และการดูแลตวั เอง ๑.๑๒ การดูแลผ้ปู ว่ ยหญงิ หลงั คลอดดว้ ยการแพทยแ์ ผนไทย ๑.๑๓ การคดั กรองมะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้านมในหญิงวยั เจรญิ พันธุ์ ๒. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้กลุ่มเด็กแรกเกิด - เด็กเล็กได้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์อย่างครอบคลุม ทั่วถึง และเข้าถึงบริการอย่างเสมอภาค สร้างระบบในการดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิด-เด็กเล็ก อย่างมีคุณภาพ และบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชนเพอื่ เดก็ เจรญิ เตบิ โต มพี ฒั นาการสมวยั เปน็ คนเกง่ คนดี และมคี วามสขุ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม้ กี ารเจรญิ เตบิ โต สมองได้รับการเรียนรู้ตามช่วงวัยและมีพัฒนาการสมวัย และสร้างการมีส่วนร่วมในการเล้ียงดูเด็กอย่างองค์รวมจากครอบครัวส่ชู มุ ชนและศูนยเ์ ดก็ เล็ก เช่น ๒.๑ การสํารวจ คน้ หา และจดั ทําทะเบยี น เด็กเกิดใหม่ เดก็ ยา้ ยเขา้ - ยา้ ยออก ๒.๒ การซกั ประวตั ิ ประเมนิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ ตรวจรา่ งกาย และจดั ทาํ สมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพเดก็ เลก็ และเด็กกอ่ นวัยเรียน ๒.๓ การคดั กรอง ตรวจประเมนิ และตดิ ตามพัฒนาการเดก็ เล็กและเด็กก่อนวัยเรียน358

๒.๔ การส่งเสรมิ พัฒนาการและการเรยี นรู้ในเดก็ แรกเกิด เดก็ เล็ก และเด็กกอ่ นวยั เรียน ๒.๕ การประเมนิ ภาวะโภชนาการ การเฝา้ ระวงั และการแกไ้ ขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก และเดก็ ก่อนวยั เรียน ๒.๖ การสง่ เสริมสขุ ภาพช่องปากในเดก็ เล็กและเด็กกอ่ นวยั เรียน ๒.๗ การประเมินและจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ความฉลาดทางอารมณใ์ นเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรยี น ๒.๘ การติดตามความครอบคลุมของการไดร้ บั วัคซีนข้นั พื้นฐานในเดก็ เล็กและเด็กก่อนวยั เรียน ๒.๙ การดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนหลังได้รับวัคซีน และการติดตาม ค้นหา เด็กขาดนัด ขาดวัคซีน ๒.๑๐ การติดตามผลการรักษา การส่งต่อ - ส่งกลับ และการดูแลสุขภาพเด็กเล็กและเด็กก่อน วยั เรยี นอยา่ งต่อเน่ือง ๒.๑๑ การพัฒนาความรู้และทักษะการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน แก่ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง หรือครผู ดู้ แู ลเดก็ ในศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก ๒.๑๒ การสนบั สนนุ กจิ กรรมส่งเสริมสขุ ภาพเด็กดี ๒.๑๓ การส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ๓. กลมุ่ เดก็ วยั เรยี นและเยาวชน เพอ่ื ใหเ้ ดก็ วยั เรยี นมพี ฒั นาการทางรา่ งกายและจติ ใจสมวยั มสี ว่ นสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ไม่ต่�ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ได้รับวัคซีนในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ตามมาตรฐาน และมีสุขภาวะด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคมมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมที่เหมาะสม ป้องกันและลดปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศสัมพันธ์การต้ังครรภไ์ มพ่ ร้อม โรคเอดส์และโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มเป้าหมายวัยรนุ่ และเยาวชนทอ่ี ยใู่ นระบบการศกึ ษาและนอกระบบการศึกษา รวมท้ังชนบทหา่ งไกล ชุมชนแออัด สถานประกอบการ เด็กเร่รอ่ น ด้อยโอกาส และเดก็ พิเศษ ป้องกันไมใ่ ห้วัยรนุ่ และเยาวชนเข้าถงึ ยาสูบ เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ ยาเสพตดิ ไดง้ ่าย ให้วยั ร่นุ และเยาวชนกลุ่มเส่ยี งและกลุ่มทม่ี ีปญั หาดา้ นสุขภาพกาย จติ และสงั คม ได้รับการดูแล ช่วยเหลือ และบริการดา้ นสาธารณสุขอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เช่น ๓.๑ การซักประวัติ ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจร่างกาย และจัดทําสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก วยั เรยี นและเยาวชน ๓.๒ การคัดกรอง ตรวจประเมนิ และตดิ ตามพัฒนาการเดก็ วยั เรยี น ๓.๓ การประเมินภาวะโภชนาการ การเฝ้าระวัง และการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก วัยเรยี นและเยาวชน ๓.๔ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพช่องปากในเดก็ วยั เรียนและเยาวชน ๓.๕ การตรวจวัดและคัดกรอง ความผิดปกติหรือความบกพร่องทางการมองเห็นและการได้ยิน ในเด็กวยั เรยี นและเยาวชน ๓.๖ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การออกกาํ ลงั กายแกเ่ ดก็ วยั เรยี นและเยาวชนทงั้ ในโรงเรยี นและในชมุ ชน ๓.๗ การประเมินและจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความฉลาดทางอารมณ์ในเดก็ วัยเรียนและเยาวชน 359

๓.๘ การคัดกรอง การป้องกัน และการแก้ไขปัญหา ภาวะซึมเศร้าและผู้มีภาวะเส่ียงต่อการ ฆ่าตัวตาย ๓.๙ การป้องกันและแก้ไขปัญหา เรื่อง สารเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แก่เด็กวยั เรียนและเยาวชน ทั้งในโรงเรียนและในชุมชน ๓.๑๐ การส่งเสริมความปลอดภัยและปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตใุ นกลุ่มเดก็ วยั เรยี นและเยาวชน ๓.๑๑ การให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์/ การตั้งครรภ์ไมพ่ ร้อม แกเ่ ดก็ วยั เรียนและเยาวชน ๓.๑๒ การติดตามความครอบคลมุ ของการได้รบั วคั ซีนตามอายุของเด็กวยั เรียน ๓.๑๓ การดแู ลเด็กวยั เรียนหลงั ไดร้ ับวคั ซีน และการตดิ ตาม คน้ หา เดก็ ขาดนดั ขาดวคั ซนี ๓.๑๔ การติดตามผลการรักษา การสง่ ต่อ - สง่ กลับ และการดแู ลสุขภาพเดก็ วัยเรียนและเยาวชน อย่างตอ่ เน่ือง ๓.๑๕ การพัฒนาความรู้และทักษะการดูแลเดก็ วัยเรียนและเยาวชน แก่ พอ่ แม่ หรอื ผูป้ กครอง ๓.๑๖ การส่งเสริมสนบั สนนุ กิจกรรมโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ๔. กลมุ่ วยั ทาํ งาน เพอื่ ลดปจั จยั เสย่ี งจากการทาํ งาน สง่ เสรมิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพในกลมุ่ วยั ทาํ งานและการปรบั เปลีย่ นส่ิงแวดลอ้ มที่สง่ เสรมิ ความปลอดภยั ในการทํางาน ป้องกันและลดปญั หาสขุ ภาพและพฤติกรรมเสี่ยงดา้ นเพศสมั พันธ์ การตง้ั ครรภ์ไม่พึงประสงค์และการต้งั ครรภไ์ ม่พร้อม โรคเอดสแ์ ละโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์ในกลุ่มวยั รนุ่ และวัยทํางาน ปอ้ งกนั ไม่ให้กลุ่มวัยทาํ งานเข้าถงึ ยาสูบ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ ยาเสพติดไดง้ ่าย ใหก้ ล่มุเสย่ี งและกลมุ่ มปี ญั หาด้านสุขภาพกาย จิต และสังคม ไดร้ ับการดูแล ช่วยเหลือ และบรกิ ารด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ เชน่ ๔.๑ การซักประวัติ ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจร่างกาย วัดดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว และจัดทําสมุดบันทึกสุขภาพกลุ่มวัยทํางาน ๔.๒ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพชอ่ งปากในกลุ่มวัยทาํ งาน ๔.๓ การตรวจวัดและคัดกรอง ความผิดปกติหรือความบกพร่องทางการมองเห็นและการได้ยิน ในกลุ่มวยั ทาํ งานท่มี ีภาวะเสี่ยง ๔.๔ การปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมของกลุม่ วยั ทํางานทมี่ ีภาวะเสีย่ ง ๔.๕ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ นวตั กรรมการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพดว้ ยภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และศลิ ปวฒั นธรรม พืน้ บ้าน ๔.๖ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดแู ลสขุ ภาพกลุ่มวัยทํางานดว้ ยการแพทย์แผนไทย ๔.๗ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การออกกาํ ลงั กายในกลมุ่ วยั ทาํ งานและผทู้ มี่ ภี าวะเสยี่ งจากการทาํ งาน ๔.๘ การใหค้ วามรู้เร่ืองการดแู ลสขุ ภาพจิตแกก่ ล่มุ วยั ทํางานและผทู้ ่มี ภี าวะเสยี่ งจากการทาํ งาน ๔.๙ การคัดกรอง การป้องกนั และการแก้ไขปัญหา ภาวะซึมเศร้า สมองเสอื่ ม และผ้มู ีภาวะเสี่ยง ต่อการฆา่ ตัวตายในกลุ่มวยั ทาํ งาน ๔.๑๐ การป้องกันและแก้ไขปัญหาเร่ือง สารเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แกผ่ ้ทู ม่ี ภี าวะเสยี่ งในกลมุ่ วยั ทาํ งาน360

๕. กลมุ่ ผสู้ งู อายแุ ละผปู้ ว่ ยโรคเรอื้ รงั เพอื่ ลดปจั จยั เสยี่ งและลดการเกดิ โรคในกลมุ่ ทม่ี ภี าวะอว้ น/น�้ำหนักเกิน กลุ่มท่ีมีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและโรคท่ีเป็นปัญหาในชุมชน ลดภาวะแทรกซ้อนและลดความพิการในกลุ่มผู้ป่วย ส่งเสริมและปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่พึงประสงค์โดยผสมผสานมาตรฐานการดแู ลสขุ ภาพแบบองคร์ วมทงั้ สขุ ภาพกายและจติ สนบั สนนุ ระบบบรกิ ารดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายแุ ละผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงัให้มคี ณุ ภาพดว้ ยบรกิ ารเชงิ รกุ ในชมุ ชน สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ผ้สู งู อายแุ ละผปู้ ่วยโรคเรือ้ รงั เขา้ ถงึ บริการสุขภาพอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม และส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชน และท้องถ่ิน มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุและผปู้ ่วยโรคเรื้อรัง เช่น ๕.๑ การซักประวัติ ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจร่างกาย วัดดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว และจัดทาํ สมุดบันทึกสุขภาพกล่มุ ผ้สู งู อายแุ ละผ้ปู ว่ ยโรคเรอ้ื รงั ๕.๒ การคัดกรองและค้นหา ภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง และโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน เช่น โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคมะเร็งปากมดลกู โรคมะเรง็ เต้านม วัณโรค โรคเบาหวาน และความดนั โลหติ สูง เป็นตน้ ๕.๓ การส่งเสริมสขุ ภาพชอ่ งปากในกลุ่มผู้สูงอายุ ๕.๔ การตรวจวัดและคัดกรอง ความผิดปกติหรือความบกพร่องทางการมองเห็นและการได้ยิน ในกลมุ่ ที่มภี าวะเสยี่ งและผสู้ ูงอายุ ๕.๕ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกล่มุ เสยี่ งตามกลมุ่ โรคหรอื ปัญหาสขุ ภาพในทอ้ งถิ่น ๕.๖ การส่งเสรมิ สนับสนุน นวตั กรรมการสรา้ งเสริมสุขภาพดว้ ยภมู ิปญั ญาท้องถิน่ และวัฒนธรรม พน้ื บา้ น ๕.๗ การส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเร้ือรังด้วยการแพทย์ แผนไทย ๕.๘ การเยี่ยมบ้านให้ความรู้ ให้คําแนะนํา และติดตามดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ท่ีมีภาวะเสี่ยง และผู้ปว่ ยโรคเรอื้ รงั ๕.๙ การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การออกกาํ ลงั กายแกผ่ ูส้ ูงอายุ ผ้ทู ่มี ีภาวะเสยี่ ง และผู้ป่วยโรคเรือ้ รงั ๕.๑๐ การให้ความรู้เร่ืองการดูแลสขุ ภาพจติ แกผ่ ู้สูงอายุ ผทู้ มี่ ภี าวะเสยี่ ง และผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรัง ๕.๑๑ การคัดกรอง การป้องกัน และการแกไ้ ขปัญหา ภาวะซมึ เศร้า สมองเส่ือม และผมู้ ภี าวะเสยี่ ง ตอ่ การฆ่าตวั ตายในกลุ่มผสู้ ูงอายแุ ละผ้ปู ่วยโรคเร้ือรงั ๕.๑๒ การส่งเสริมสนบั สนุนภาคีเครอื ขา่ ยสุขภาพดแู ลผูส้ งู อายรุ ะยะยาว (Long Term Care) ๕.๑๓ การสรา้ งจิตอาสาดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผูส้ งู อายุในชุมชน ๕.๑๔ การตดิ ตามผลการรกั ษา การสง่ ตอ่ - ส่งกลบั และการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายุ ผ้ทู ่ีมภี าวะเส่ียง และผ้ปู ว่ ยโรคเรอ้ื รงั อยา่ งต่อเน่ือง ๕.๑๕ การสง่ เสริมสนับสนุนกจิ กรรมศูนยด์ ูแลผู้สูงอายุ 361

๖. กลมุ่ คนพกิ ารและทพุ พลภาพ เพอื่ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ นพกิ ารและทพุ พลภาพไดร้ บั บรกิ ารฟน้ื ฟสู มรรถภาพและอปุ กรณเ์ ครอ่ื งชว่ ย องคก์ รคนพกิ ารมกี ารพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการฟน้ื ฟสู มรรถภาพและรวมกลมุ่เกิดความเขม้ แขง็ สามารถรว่ มมอื กับสถานบรกิ าร ท้องถิน่ และมีสว่ นร่วมดูแลสุขภาพชว่ ยเหลอื คนพิการด้วยกนั เองรวมถึงส่งเสริมให้เกิดความร่วมมอื ในชุมชนระหวา่ งสถานบริการ องคก์ รคนพิการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชมุ ชน ในการดแู ลชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ และใหบ้ รกิ ารฟน้ื ฟสู มรรถภาพแกค่ นพกิ ารและทพุ พลภาพทมี่ คี วามจาํ เปน็ ตอ้ งไดร้ ับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ เช่น ๖.๑ การซกั ประวตั ิ ประเมนิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ ตรวจรา่ งกาย และจดั ทาํ สมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพคนพกิ าร และทุพพลภาพ ๖.๒ การสาํ รวจ คน้ หา ขน้ึ ทะเบยี นคนพกิ ารและทพุ พลภาพ และการรบั เอกสารรบั รองความพกิ าร รวมถึงการส่งต่อคนพิการและทพุ พลภาพใหไ้ ด้รับอุปกรณ์เคร่ืองชว่ ยความพิการ ๖.๓ การประเมนิ แก้ไขความพิการ และฟนื้ ฟูสมรรถภาพ แก่คนพิการและทุพพลภาพ ๖.๔ การบริการฟน้ื ฟสู มรรถภาพ และการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ น เชน่ กายภาพบาํ บดั การฝกึ สอนญาต/ิ ผดู้ ูแล และการอาชวี ะบําบดั เปน็ ตน้ ๖.๕ การพัฒนาระบบบริการดูแลสขุ ภาพคนพกิ ารและทุพพลภาพแบบองคร์ วมดว้ ยทีมสุขภาพ ๖.๖ การสง่ เสริมสนบั สนุนกายภาพบําบัดและกจิ กรรมบําบดั ส่ชู มุ ชนในพนื้ ที่ ๖.๗ การส่งเสริมสขุ ภาพช่องปากในกลุ่มคนพกิ ารและทุพพลภาพ ๖.๘ การเย่ียมบ้านให้ความรู้ ใหค้ ําแนะนาํ ตดิ ตามดูแลสขุ ภาพ และฟน้ื ฟูสมรรถภาพแกค่ นพิการ และทพุ พลภาพ ๖.๙ การสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตคนพิการและทพุ พลภาพในชุมชน ๖.๑๐ การสรา้ งและพัฒนาจิตอาสาดแู ลคนพิการและทพุ พลภาพในชมุ ชน ๖.๑๑ การตดิ ตามผลการบรกิ ารฟน้ื ฟสู มรรถภาพ การสง่ ตอ่ - สง่ กลบั และการดแู ลสขุ ภาพคนพกิ าร และทพุ พลภาพอย่างตอ่ เน่ือง ๖.๑๒ การสง่ เสริมสนบั สนุนการฟน้ื ฟูสภาพคนพกิ ารทางการเคลอ่ื นไหวด้วยการแพทย์แผนไทย ๖.๑๓ การพัฒนาศักยภาพชมรมคนพิการในชุมชน ๖.๑๔ การสง่ เสรมิ สนับสนนุ กจิ กรรมศนู ย์ดแู ลผ้พู กิ าร ๗. กลุ่มประชาชนท่ัวไปท่ีมีภาวะเส่ียง เพ่ือป้องกัน ควบคุมปัจจัยเส่ียง และส่งเสริมปัจจัยท่ีดีท่ีมีผลต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนโดยตรง ซ่ึงหากไม่ดําเนินการป้องกันหรือแก้ปัญหาอาจจะส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพและการดํารงชวี ิตของประชาชนในชมุ ชน ไดแ้ ก่ การดาํ เนินการหรอื จัดกจิ กรรมในดา้ นตา่ ง ๆ โดยจําแนกตามสาเหตแุ ละท่ีมาของปจั จยั ทท่ี าํ ใหเ้ กิดโรคหรือปัญหาสขุ ภาพ เช่น ๗.๑ พฤตกิ รรมเสยี่ งดา้ นสขุ ภาพ เพอื่ ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมและการปฏบิ ตั ติ นทไี่ มเ่ หมาะสมซง่ึ อาจ จะมีผลกระทบต่อสขุ ภาพ เช่น การไมอ่ อกกาํ ลงั กาย การรบั ประทานอาหารทไ่ี มม่ ีประโยชน์ การใชส้ ารเสพตดิ การสาํ สอ่ นทางเพศ การพกั ผอ่ นไมเ่ พยี งพอ การไมร่ ะวงั ปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ เชน่ ๗.๑.๑ การรณรงค์หรอื จัดกิจกรรมส่งเสริมการปลอดเหลา้ บหุ ร่ี และอบายมขุ ในชุมชน ๗.๑.๒ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา เรอ่ื ง สารเสพตดิ โรคเอดส์ และโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ ในชมุ ชน362

๗.๑.๓ การสง่ เสรมิ และพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และทกั ษะชวี ติ ตามช่วงวยั ตา่ ง ๆ ๗.๑.๔ การสง่ เสรมิ การออกกําลังกายในโรงเรียน ในสถานประกอบการ และในชมุ ชน ๗.๑.๕ การส่งเสริมสนับสนุนการออกกําลังกายและการสร้างเสริมสุขภาพด้วยภูมิปัญญา ท้องถนิ่ และวัฒนธรรมพนื้ บ้าน ๗.๑.๖ การสง่ เสริมสขุ ภาพจิตดว้ ยการปฏบิ ัตธิ รรม ๗.๑.๗ การส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันช่วงวัยต่าง ๆ ในโรงเรียน ในสถาน ประกอบการ และในชุมชน ๗.๑.๘ การส่งเสริมและพัฒนาบุคคลตน้ แบบในการสรา้ งเสริมสุขภาพ ๗.๑.๙ การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้นําชุมชน และผู้นํานักเรียน ด้านการ สร้างเสรมิ สุขภาพและการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ๗.๑.๑๐ การพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพ่ือการสร้างเสริมสุขภาพ และลดปจั จยั เส่ียงตอ่ สขุ ภาพ ๗.๒ การบริโภค เพื่อปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมการบริโภคท่ไี ม่เหมาะสม ทีอ่ าจเกดิ ความไม่ปลอดภัย หรอื เปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพ เชน่ ๗.๒.๑ การส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ในสถานประกอบการ และในชมุ ชน ๗.๒.๒ การรณรงค์การใชเ้ กลือผสมไอโอดนี เสริมปญั ญาในโรงเรยี นและในชุมชน ๗.๒.๓ การรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคอาหารปลอดสารพิษ พืชสมุนไพร และการ ปลูกผักกนิ เอง ๗.๒.๔ การสง่ เสริมพฤตกิ รรมการบริโภคทถี่ กู ต้องและปลอดภยั แก่ประชาชน ๗.๒.๕ การให้ความรู้และส่งเสริมพฤติกรรมท่ีถูกต้องแก่ประชาชน ด้านความปลอดภัยจาก การใชย้ า เวชภัณฑ์ ผลิตภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร และเคร่ืองสาํ อาง ๗.๒.๖ การสง่ เสรมิ การพฒั นารา้ นขายของชาํ และแผงลอยจาํ หนา่ ยอาหารในชมุ ชนเรอื่ งอาหาร และความปลอดภยั ในการบรโิ ภค ๗.๓ อุบัตเิ หตุ เพ่ือส่งเสรมิ พฤตกิ รรมการใชช้ วี ติ ประจําวันท่ีปลอดภยั ทงั้ ภายในบา้ น ในโรงเรยี น ในสถานประกอบการ และในชมุ ชน รวมถงึ การลดอบุ ตั เิ หตจุ ากการเดนิ ทางและการจราจร เชน่ ๗.๓.๑ การส่งเสริมการขับข่ีอย่างปลอดภัย ถูกกฎจราจร และลดความเสี่ยงจากอุบัติเหตุ ในการเดินทาง ๗.๓.๒ การส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมเมาไมข่ ับ ๗.๓.๓ การรณรงคป์ อ้ งกนั อุบัตเิ หตุบนทอ้ งถนนหรือการจราจรทางนำ้� ๗.๓.๔ การรณรงคป์ อ้ งกนั อบุ ตั เิ หตแุ ละสรา้ งความปลอดภยั ภายในบา้ น ในโรงเรยี น ในสถาน ประกอบการ และในชุมชน ๗.๔ สง่ิ แวดลอ้ ม เพอ่ื ใหเ้ กดิ การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มทปี่ ลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ ควบคมุ และปอ้ งกนั มลพษิ ในชุมชน เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน และส่งเสริมการมีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน รวมถึงส่งเสริมการมีส่วนร่วม ในการอนุรกั ษแ์ ละดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อมในชมุ ชนอย่างยง่ั ยนื เชน่ 363

๗.๔.๑ การรณรงค์อนุรักษแ์ ละดแู ลรักษาสิ่งแวดล้อมในชมุ ชนอย่างยง่ั ยืน ๗.๔.๒ การส่งเสริมการควบคมุ และปอ้ งกันมลพษิ ในชุมชน ๗.๔.๓ การสง่ เสรมิ การเกษตรปลอดสารเคมีและลดการใช้สารเคมี ๗.๔.๔ การตรวจคัดกรองระดับสารเคมีในเลือดแกป่ ระชาชนท่ีมีความเส่ียง ๗.๔.๕ การกําจดั และปอ้ งกันการเกิดลกู น�ำ้ ยุงลายเพ่ือปอ้ งกนั และควบคุมโรคไข้เลือดออก ๗.๔.๖ การรณรงค์ให้ประชาชนดแู ลรักษาท่อี ย่อู าศัยและชมุ ชนใหถ้ ูกสุขลักษณะ ๗.๔.๗ การสง่ เสริมการจัดการขยะอย่างถูกสขุ ลกั ษณะโดยชมุ ชน ๗.๔.๘ การป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง โรคหนอนพยาธิ และโรคท่ีเกิดจากอาหาร และน้�ำเป็นสอ่ื ในชุมชน ๗.๔.๙ การป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญส่ ายพนั ธ์ใุ หม่ ๗.๔.๑๐ การสรา้ งเครือข่ายการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั ควบคุมโรคและภยั สุขภาพในชุมชน ๗.๔.๑๑ การควบคุมป้องกันโรคและภยั คุกคามท่เี ปน็ ปัญหาในชมุ ชน ๗.๔.๑๒ การส่งเสริมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน ในสถานประกอบการ และในชุมชน364

ประกาศส�ำนักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เร่อื ง หลักเกณฑก์ ารคดั เลอื กกรรมการในคณะกรรมการกองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพ ระดับท้องถนิ่ หรือพื้นท่ี พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรกำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารคดั เลอื กกรรมการในคณะกรรมการกองทนุ หลกั ประกนัสขุ ภาพระดบั ทอ้ งถน่ิ หรอื พืน้ ที่ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ประกอบกบั ขอ้ ๘ ของคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอื่ งการกำ� หนดหลกั เกณฑเ์ พอื่ สนบั สนนุให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด�ำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถ่ินหรือพ้ืนท่ีพ.ศ. ๒๕๕๗ ส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ การคัดเลือกกรรมการท่ีมาจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้านในพ้ืนท่ี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเชิญอาสาสมัครประจ�ำหมู่บ้านหรือประจ�ำชุมชน เพื่อจัดให้มีการประชุมคัดเลือกกันเองโดยเปิดเผยและมีสว่ นรว่ ม ใหไ้ ดก้ รรมการทมี่ าจากอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจ�ำหม่บู ้านในพน้ื ที่ จำ� นวน ๒ คน ขอ้ ๒ การคดั เลอื กกรรมการทีม่ าจากผู้แทนหม่บู ้านหรอื ชมุ ชน ใหด้ �ำเนินการดงั น้ี (๑) ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ประสานกับผ้ใู หญบ่ ้านหรือผนู้ ำ� ชมุ ชนเพอ่ื จดั ให้มีการประชุมโดยเปิดเผยและมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในหมู่บา้ นหรือชมุ ชนแลว้ แต่กรณี ใหไ้ ด้ผแู้ ทนหมบู่ ้านหรือชุมชนละ ๑ คน (๒) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดให้มีการประชุมผู้แทนหมู่บ้านหรือผู้แทนชุมชนตาม (๑)เพ่อื คดั เลือกกันเอง ให้ได้กรรมการท่มี าจากผแู้ ทนหมูบ่ า้ นหรือชุมชน จำ� นวน ๕ คน ขอ้ ๓ การคดั เลอื กกรรมการทมี่ าจากหวั หนา้ หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ กรณใี นพน้ื ทขี่ องกงคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มหี นว่ ยบริการปฐมภมู มิ ากกวา่ ๒ แห่ง ให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ประสานกับหัวหน้าหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิทุกแห่ง เพ่ือจดั ใหม้ ีการประชุมหัวหนา้ หน่วยบริการปฐมภูมิคดั เลือกกันเอง ใหไ้ ดก้ รรมการที่มาจากหัวหน้าหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมใิ นพน้ื ที่ จำ� นวน ๒ คน ข้อ ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน แจ้งรายชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการพร้อมบันทึกรายงานการประชมุ คดั เลอื ก ใหส้ ำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตหิ รอื สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตเิ ขตออกค�ำสัง่ แต่งต้งั เปน็ คณะกรรมการกองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพระดับทอ้ งถิ่นหรอื พน้ื ท่ตี อ่ ไป ข้อ ๕ ประกาศน้ีให้มผี ลใชบ้ งั คับต้ังแต่ บัดนเี้ ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ วินัย สวสั ดิวร เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ 365



๖หมวด คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ



ประกาศคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑก์ ารข้นึ ทะเบยี นหนว่ ยรับเร่ืองรอ้ งเรียนอืน่ ทเ่ี ป็นอิสระจากผู้ถูกร้องเรยี น พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ แกไ้ ขหลกั เกณฑก์ ารขน้ึ ทะเบยี นหนว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นอน่ื ทเ่ี ปน็ อสิ ระจากผู้ถกู รอ้ งเรยี นใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕๐ (๕) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ จงึ ไดม้ มี ตใิ นการประชมุ ครง้ั ท่ี ๖/๒๕๖๐เมือ่ วนั ที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ออกประกาศไว้ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ใหย้ กเลกิ (๑) ประกาศคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เร่ือง หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหนว่ ยรับเรื่องร้องเรียนอ่นื ทเี่ ปน็ อิสระจากผู้ถูกร้องเรยี น (๒) ประกาศคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์การขนึ้ ทะเบียนหน่วยรบั เรือ่ งรอ้ งเรียนอ่ืนทเ่ี ปน็ อสิ ระจากผถู้ กู รอ้ งเรียน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอ้ ๒ ในประกาศนี้ “หน่วยงาน” หมายความรวมถึง องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ องคก์ รเอกชน มูลนิธิ สมาคม ชมรมหรือการรวมกลุ่มในรูปแบบอ่ืนทั้งท่ีเป็นนิติบุคคล หรือไม่เป็นนิติบุคคล ซ่ึงด�ำเนินงานด้านการคุ้มครองสิทธิ โดยมีวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีมิใชเ่ ปน็ การแสวงหาผลก�ำไร “หน่วยรับเรอื่ งร้องเรียน” หมายความว่า หนว่ ยรับเรือ่ งรอ้ งเรยี นอืน่ ท่เี ปน็ อิสระจากผู้ถกู รอ้ งเรียน “คณะอนุกรรมการ” หมายความว่า คณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ ระดับเขตพื้นท่ี “คณะกรรมการควบคุมคุณภาพ” หมายความว่า คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ “สำ� นกั งาน” หมายความวา่ สำ� นักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ข้อ ๓ หนว่ ยงานใดทป่ี ระสงคจ์ ะขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น ใหย้ น่ื คำ� ขอขนึ้ ทะเบยี นไดท้ ่ีสำ� นกั งานเขต ขอ้ ๔ หน่วยงานที่จะได้รับการขึ้นทะเบียนเปน็ หน่วยรบั เร่อื งร้องเรยี น ต้องมคี ุณสมบตั ิ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ไม่เป็นหน่วยบริการ หรือไม่เป็นหน่วยงานต้นสังกัด หรือไม่เป็นหน่วยงานในสังกัดของหน่วยบริการ (๒) มีสถานทีป่ ฏบิ ตั งิ านและประชาชนสามารถเขา้ ถึงไดโ้ ดยสะดวกและไมต่ ัง้ อย่ใู นหนว่ ยบรกิ าร (๓) ต้องด�ำเนนิ กิจกรรมท่ีเกย่ี วข้องกบั การรับเรื่องร้องเรียนมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่าสองปี 369

(๔) มีผูร้ ับผิดชอบของหน่วยงานซึ่งสามารถใหบ้ รกิ ารแก่ผู้มาติดตอ่ ไดต้ ลอดเวลาทำ� การ และต้องเคยผ่านการอบรมเก่ียวกับการให้ความรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและวิธีการด�ำเนินงานรับเรื่องร้องเรียนท่ีส�ำนักงานหรือส�ำนักงานสาขาเขตเป็นผู้จัดอบรมตามหลักสูตรท่ีคณะกรรมการควบคุมคุณภาพก�ำหนด ขอ้ ๕ ให้คณะอนุกรรมการท�ำหน้าที่ตรวจประเมินหน่วยงานที่ยื่นค�ำขอขึ้นทะเบียนตามคุณสมบัติท่ีกำ� หนดในขอ้ ๔ การจะมีหน่วยรับเรื่องร้องเรียนในพื้นท่ีมากน้อยเพียงใด ให้ค�ำนึงถึงความเหมาะสมหรือข้อจ�ำกัดในแต่ละพนื้ ท่ปี ระกอบด้วย กรณที คี่ ณะอนกุ รรมการตรวจประเมนิ แลว้ เหน็ วา่ หนว่ ยงานใดเหมาะสมทจี่ ะขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยรับเร่ืองรอ้ งเรียนใหเ้ สนอคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพพิจารณาประกาศขนึ้ ทะเบียนเป็นหน่วยรับเร่อื งร้องเรียน ข้อ ๖ ให้ส�ำนักงานสาขาเขต ท�ำหน้าท่ีตรวจประเมินหน่วยรับเรื่องร้องเรียนเป็นประจ�ำทุกปีและรายงานคณะอนกุ รรมการ และคณะกรรมการควบคุมคุณภาพทราบ ข้อ ๗ ใหห้ นว่ ยรบั เร่อื งรอ้ งเรียนท�ำหน้าทต่ี ามที่คณะกรรมการควบคุมคุณภาพก�ำหนด ข้อ ๘ กรณีทีต่ รวจพบว่า (๑) หนว่ ยรบั เรอื่ งรอ้ งเรยี นใดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามทค่ี ณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพกำ� หนด ใหค้ ณะอนกุ รรมการพิจารณาตักเตือน หรือเสนอคณะกรรมการควบคุมคุณภาพพิจารณาเพิกถอนการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยรับเร่ืองรอ้ งเรียน (๒) หนว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นใดมพี ฤตกิ ารณไ์ มส่ จุ รติ หรอื แสวงหาผลประโยชน์ ใหค้ ณะอนกุ รรมการเสนอคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพพจิ ารณาเพิกถอนการขึน้ ทะเบียนเปน็ หนว่ ยรับเร่ืองรอ้ งเรยี น ข้อ ๙ กรณีที่มีเหตุอันสมควรหรือมีเหตุอื่นใด ซึ่งท�ำให้ประชาชนไม่สามารถเสนอเร่ืองร้องเรียนต่อหน่วยรบั เรอ่ื งร้องเรยี นไดโ้ ดยสะดวก คณะกรรมการควบคุมคุณภาพอาจพจิ ารณาเพิกถอนการข้นึ ทะเบยี นหน่วยรับเรื่องร้องเรยี นนน้ั เมือ่ ใดกไ็ ด้ ขอ้ ๑๐ ใหส้ ำ� นกั งานจดั ทำ� แผนงบประมาณเพอ่ื สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานของหนว่ ยรบั เรอื่ งรอ้ งเรยี นเสนอคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาตพิ จิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ ขอ้ ๑๑ กรณที มี่ ปี ญั หาในการปฏบิ ตั ติ ามประกาศนี้ ใหค้ ณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพเปน็ ผวู้ นิ จิ ฉยั ชขี้ าด คำ� วินิจฉยั ช้ขี าดของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพให้เป็นท่ีสดุ ขอ้ ๑๒ ใหห้ นว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นทคี่ ณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพประกาศใหข้ น้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยรับเร่ืองร้องเรยี นตามประกาศคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เรือ่ ง หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยรับเรื่องร้องเรียนอื่นที่เป็นอิสระจากผู้ถูกร้องเรียน และประกาศคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารขนึ้ ทะเบยี นหนว่ ยรบั เรอื่ งรอ้ งเรยี นอนื่ ทเ่ี ปน็ อสิ ระจากผถู้ กู รอ้ งเรยี น(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นหน่วยรบั เร่ืองร้องเรียนตามประกาศน้ี ข้อ ๑๓ ประกาศนี้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้ังแตบ่ ดั นี้ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ชาตรี บานชื่น ประธานกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข370

ข้อบังคับคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขการรอ้ งเรยี นของผถู้ ูกละเมดิ สทิ ธจิ ากการใชบ้ ริการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ แกไ้ ขหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขการรอ้ งเรยี นของผถู้ กู ละเมดิ สทิ ธิจากการใช้บรกิ ารสาธารณสขุ ให้มปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงข้ึน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕๐ (๕) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบมตกิ ารประชมุ คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ครงั้ ท่ี ๓/๒๕๖๐เมอื่ วันที่ ๒๓ มนี าคม ๒๕๖๐ จงึ ออกขอ้ บงั คบั ไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ขอ้ บงั คบั นเ้ี รยี กวา่ “ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุวา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขการร้องเรยี นของผูถ้ ูกละเมดิ สิทธจิ ากการใชบ้ รกิ ารสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๐” ขอ้ ๒ ข้อบังคบั นี้ใหม้ ีผลใช้บังคับ ตั้งแตว่ ันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อบังคับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อื นไข การรอ้ งเรียนของผูถ้ ูกละเมดิ สิทธิจากการใช้บริการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ในขอ้ บังคับน้ี “ผถู้ กู ละเมดิ สทิ ธ”ิ หมายความวา่ ผถู้ กู ละเมดิ สทิ ธจิ ากการใชบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ตามพระราชบญั ญตั ิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “ผู้ร้องเรียน” หมายความว่า ผู้ถูกละเมิดสิทธิหรือผู้แทน และให้หมายความรวมถึง ผู้พบเห็นและอยูใ่ นเหตกุ ารณก์ ารละเมิดสทิ ธกิ ารใชบ้ ริการสาธารณสุขของผู้ถูกละเมิดสทิ ธิ ด้วย “เร่อื งร้องเรยี น” หมายความวา่ เรอ่ื งรอ้ งเรียนเกี่ยวกบั การละเมดิ สิทธกิ ารใชบ้ รกิ ารสาธารณสุข “คณะอนุกรรมการ” หมายความว่า คณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ “หนว่ ยรบั เรอื่ งรอ้ งเรยี น” หมายความวา่ สาํ นกั งาน หรอื หนว่ ยรบั เรอื่ งรอ้ งเรยี นอนื่ ซง่ึ คณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขประกาศกําหนด “สาํ นกั งาน” หมายความวา่ สาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ หรอื สาํ นกั งานสาขา แลว้ แตก่ รณี “หน่วยบริการ” หมายความว่า หน่วยบริการตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ ข้อ ๕ ผู้ร้องเรียนมีสิทธิร้องเรียนหน่วยบริการต่อหน่วยรับเรื่องร้องเรียนโดยทําเป็นหนังสือหรือมารอ้ งเรยี นดว้ ยตนเอง หรือร้องเรียนทางโทรศัพท์ หรือสง่ จดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ ขอ้ มลู การรอ้ งเรยี นตามวรรคหนงึ่ ประกอบดว้ ยชอ่ื นามสกลุ ทอ่ี ยปู่ จั จบุ นั ทส่ี ามารถตดิ ตอ่ ได้ เบอรโ์ ทรศพั ท์เบอร์โทรสาร และข้อเทจ็ จรงิ ในเร่อื งทรี่ อ้ งเรียนหรอื หลักฐานอืน่ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับเร่อื งร้องเรียนของผู้ถูกละเมิดสทิ ธิ 371

ขอ้ ๖ ให้หน่วยรับเรื่องร้องเรยี นมีอํานาจหน้าที่ ดงั น้ี (๑) รับและตรวจสอบเร่ืองรอ้ งเรยี น (๒) บนั ทึกข้อมลู การรอ้ งเรยี น และข้อเท็จจรงิ ต่าง ๆ (๓) รวบรวมพยานหลกั ฐานทเ่ี ก่ยี วข้อง (๔) ให้ข้อมลู ช้แี จงและแนะนํา ประสาน ไกลเ่ กลี่ย แก้ปัญหา และใหค้ วามช่วยเหลือในเบื้องตน้หากไม่สามารถยตุ เิ ร่อื งได้ ให้สง่ เรือ่ งน้นั พรอ้ มทั้งเอกสารหรือหลกั ฐานท่เี กี่ยวข้องให้สํานักงาน เพือ่ ดาํ เนินการต่อไป (๕) กรณเี รอื่ งรอ้ งเรยี นใดเปน็ การยนื่ ขอรบั เงนิ ชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้ ใหส้ ง่ เรอื่ งนน้ั ใหค้ ณะอนกุ รรมการทม่ี ีหนา้ ทพ่ี จิ ารณา (๖) จัดทํารายงานข้อมูลการร้องเรยี นเสนอคณะอนกุ รรมการทุกเดือน (๗) ปฏิบตั ิหน้าทอ่ี ่นื ตามทค่ี ณะอนุกรรมการมอบหมาย ขอ้ ๗ กรณที ห่ี นว่ ยรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นพบวา่ เรอ่ื งทไี่ ดร้ บั อยนู่ อกพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบ ใหส้ ง่ เรอ่ื งรอ้ งเรยี นนนั้ใหห้ น่วยรบั เรื่องร้องเรยี นทรี่ ับผิดชอบเพอื่ ดาํ เนนิ การ ข้อ ๘ การดําเนินการตามขอ้ ๖ (๑) (๒) (๓) และ (๔) ต้องกระทําให้แลว้ เสรจ็ ภายในสามสบิ วนัถ้ายังดําเนินการยังไม่แล้วเสร็จ ให้ขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินสามสิบวัน และถ้ายังดําเนินการไม่แล้วเสร็จอีกให้รายงานเหตผุ ลของการดาํ เนินการไมแ่ ล้วเสร็จให้คณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขเพื่อพจิ ารณา ข้อ ๙ ให้หน่วยรับเร่ืองร้องเรียนแจ้งผลการดําเนินการตามข้อ ๘ ต่อผู้ร้องเรียนและหน่วยบริการที่เก่ยี วขอ้ งกับเรื่องนนั้ ทราบภายในสบิ ห้าวนั นับจากวันทดี่ ําเนินการแลว้ เสรจ็ ข้อ ๑๐ ให้เลขาธิการสาํ นักงานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติรกั ษาการตามข้อบังคบั นแ้ี ละมีอาํ นาจในการวินิจฉยั ชี้ขาดเกีย่ วกบั การปฏบิ ัติตามขอ้ บงั คับนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ชาตรี บานชน่ื ประธานคณะกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ372

ประกาศคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ เร่อื ง หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข การคดั เลือกและแต่งต้งั คณะอนกุ รรมการควบคุมคุณภาพ และมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขระดับเขตพืน้ ที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข การคัดเลือกและแต่งตั้งคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข ระดับเขตพื้นท่ี เพื่อให้มีการพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ การควบคมุ กำ� กบั และสง่ เสรมิ คณุ ภาพ มาตรฐานหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารให้มคี วามเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขึน้ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕๑ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข ในการประชุมคร้ังท่ี ๙/๒๕๕๗เม่ือวันที่ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๕๗ คณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข จึงออกประกาศไว้ดงั ต่อไปน้ี ข้อ ๑ ให้ยกเลกิ (๑) ประกาศคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการคัดเลือกอนกุ รรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข ระดบั จังหวดั พ.ศ. ๒๕๕๐ (๒) ประกาศคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการคัดเลือกอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับจังหวัด (ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๕๔ ขอ้ ๒ ในประกาศน้ี “สำ� นกั งาน” หมายความวา่ สำ� นักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ “สำ� นกั งานสาขาเขตพ้นื ท”ี่ หมายความวา่ สำ� นกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติสาขาเขตพนื้ ที่ “อนุกรรมการ” หมายความว่า อนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพนื้ ท่ี “คณะอนุกรรมการ” หมายความว่า คณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพื้นท่ี และหมายรวมถึงคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขเขตพน้ื ท่กี รุงเทพมหานครดว้ ย “องคก์ รเอกชน” หมายความว่า องคก์ รทง้ั ทีเ่ ป็นและไมเ่ ปน็ นิติบคุ คล ได้แก่ ชมรม กล่มุ สมาคมมลู นธิ ิ หรอื ทเ่ี รยี กชอื่ อยา่ งอนื่ ซงึ่ มวี ตั ถปุ ระสงคท์ มี่ ใิ ชเ่ ปน็ การแสวงหาผลกำ� ไร และดำ� เนนิ กจิ กรรมอยา่ งเปน็ รปู ธรรมชดั เจนใน ดา้ นเดก็ หรอื เยาวชน ดา้ นสตรี ดา้ นผสู้ งู อายุ ดา้ นคนพกิ ารหรอื ผปู้ ว่ ยจติ เวช ดา้ นผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวหี รอื ผปู้ ว่ ยเร้ือรงั อนื่ ด้านผู้ใช้แรงงาน ดา้ นชุมชนแออดั ด้านเกษตรกร ดา้ นชนกลุ่มน้อย ในเขตพนื้ ทีน่ น้ั ๆ 373

ข้อ ๓ ใหม้ คี ณะอนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ระดบั เขตพนื้ ท่ี ๑ - ๑๒จ�ำนวนเขตละ ๒๖ คน ประกอบด้วย ผู้แทนหน่วยงานหรือองค์กรท่ีด�ำรงต�ำแหน่งหรือประกอบวิชาชีพ อาชีพหรอื มถี ิน่ ท่อี ยปู่ ระจำ� ในเขตพ้นื ทนี่ ้ัน ดงั นี้ (๑) ผู้แทนส�ำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข จ�ำนวน ๑ คน (๒) ผู้แทนโรงพยาบาลศูนยห์ รอื โรงพยาบาลทัว่ ไป จำ� นวน ๑ คน (๓) ผแู้ ทนโรงพยาบาลชุมชน จ�ำนวน ๑ คน (๔) ผแู้ ทนโรงพยาบาลเอกชนทีข่ ึ้นทะเบยี นเป็นหน่วยบรกิ าร จ�ำนวน ๑ คน (๕) ผู้แทนพนกั งานอยั การ สังกดั ส�ำนักงานคดีปกครอง จ�ำนวน ๑ คน (๖) ผู้ทรงคุณวุฒิจากราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทาง สาขาสูตินรีเวชกรรม สาขาศัลยกรรม สาขาอายุรกรรม สาขากมุ ารเวชกรรม และสาขาจิตเวช สาขาละ ๑ คน (๗) ผู้แทนสภาการพยาบาล ทันตแพทยสภา สภาเภสัชกรรม สภากายภาพบ�ำบัด สภาเทคนิค การแพทย์ สภาวชิ าชพี ละ ๑ คน (๘) ผู้แทนผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะ จำ� นวน ๒ คน (๙) ผ้แู ทนองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั เทศบาล องค์การบริหารสว่ นต�ำบล หนว่ ยงานละ ๑ คน (๑๐) ผู้แทนองค์กรเอกชน ๙ ด้าน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ จ�ำนวน ๖ คน ข้อ ๔ ให้มีคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำ� นวน ๒๗ คน ประกอบด้วย ผู้แทนหน่วยงานหรอื องค์กรทีด่ �ำรงตำ� แหน่งหรอื ประกอบวิชาชีพอาชพี หรอื มถี น่ิ ท่ีอยู่ประจ�ำ ในเขตพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานคร ดงั นี้ (๑) ผู้แทนโรงพยาบาลสังกดั มหาวิทยาลัย จำ� นวน ๑ คน (๒) ผแู้ ทนโรงพยาบาลสงั กดั กองทพั บก กองทพั เรอื กองทพั อากาศ หรอื สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ จ�ำนวน ๑ คน (๓) ผแู้ ทนโรงพยาบาลสงั กัดกรมการแพทย์ จ�ำนวน ๑ คน (๔) ผแู้ ทนโรงพยาบาลเอกชนท่ีข้ึนทะเบยี นเปน็ หน่วยบรกิ าร จ�ำนวน ๑ คน (๕) ผ้แู ทนคลนิ ิกชุมชนอบอ่นุ ที่ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หน่วยบริการ จำ� นวน ๑ คน (๖) ผู้แทนส�ำนกั สถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ จ�ำนวน ๑ คน (๗) ผแู้ ทนพนักงานอัยการ สงั กัดสำ� นักงานคดปี กครอง จ�ำนวน ๑ คน (๘) ผู้ทรงคุณวุฒิจากราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทาง สาขาสูตินรีเวชกรรม สาขาศัลยกรรม สาขาอายรุ กรรม สาขากุมารเวชกรรม และสาขาจติ เวช สาขาละ ๑ คน (๙) ผู้แทนสภาการพยาบาล ทันตแพทยสภา สภาเภสัชกรรม สภากายภาพบ�ำบัด สภาเทคนิค การแพทย์ สภาวิชาชพี ละ ๑ คน (๑๐) ผู้แทนผปู้ ระกอบโรคศิลปะ จ�ำนวน ๒ คน (๑๑) ผแู้ ทนสำ� นกั การแพทย์ จำ� นวน ๑ คน (๑๒) ผแู้ ทนส�ำนักอนามัย จ�ำนวน ๑ คน (๑๓) ผู้แทนองคก์ รเอกชน ๙ ดา้ น ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ จ�ำนวน ๖ คน374

ข้อ ๕ คณะอนกุ รรมการตามข้อ ๓ และข้อ ๔ มีอ�ำนาจและหนา้ ท่ี ดงั นี้ (๑) รบั ขอ้ มลู ผลการพจิ ารณาคำ� รอ้ ง กรณผี รู้ บั บรกิ ารไดร้ บั ความเสยี หายจากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุของหน่วยบริการในเขตพื้นท่ี สรุป วิเคราะห์ ข้อจ�ำกัดของระบบการให้บริการสาธารณสุข รวมท้ังจัดท�ำรายงานข้อเสนอเชงิ ป้องกนั แก้ไข ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพของหนว่ ยบริการในเขตพืน้ ที่ (๒) ควบคุมและก�ำกับคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ ตามมาตรา ๕๐ (๑) และ (๒) แหง่ พระราชบัญญัติหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๓) ก�ำหนดมาตรการควบคุมและส่งเสริมคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบรกิ าร ตามมาตรา ๕๐ (๓) แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๔) พจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นหนว่ ยบรกิ ารตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอื่ นไขทคี่ ณะกรรมการควบคมุคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขกำ� หนดตามมาตรา ๕๐ (๕) (๕) รายงานผลการตรวจตราและการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข พร้อมท้ังแจ้งหน่วยบริการและหน่วยงานต้นสังกัดเพ่ือปรับปรุงแก้ไขและติดตามประเมินผลในเรื่องการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรา ๕๐ (๖) แหง่ พระราชบญั ญัติหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๖) ส่งเสริมความเข้าใจและสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนตามมาตรา ๕๐ (๗) และ (๙)แหง่ พระราชบัญญัติหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๗) ปฏิบตั หิ น้าทอ่ี ่ืนตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ข้อ ๖ ใหส้ ำ� นกั งานขอรายชอ่ื ผแู้ ทนจากสำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ สำ� นกั งานอยั การสงู สดุราชวิทยาลยั สภาวชิ าชีพ ส�ำนกั สถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ เพื่อเป็นอนุกรรมการตามข้อ ๓ (๑) (๕)(๖) (๗) และ (๘) และขอ้ ๔ (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) ขอ้ ๗ ใหส้ ำ� นักงานสาขาเขตพื้นท่ี ยกเว้นสาขาเขตพนื้ ทก่ี รุงเทพมหานคร ด�ำเนนิ การดงั น้ี (๑) ขอรายชื่อผู้บริหารโรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลท่ัวไปหรือผู้แทนในระดับจังหวัดของโรงพยาบาลชุมชน ผู้แทนโรงพยาบาลเอกชนที่ข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการ ในเขตพ้ืนที่ เพ่ือให้มีการคัดเลือกกันเองเป็นอนกุ รรมการตามข้อ ๓ (๒) (๓) (๔) (๒) ขอรายชื่อผู้แทนผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนต�ำบลในระดับจงั หวดั จากส�ำนกั งานท้องถิ่นจังหวัด เพอ่ื ใหม้ กี ารคดั เลือกกนั เองเปน็ อนุกรรมการตามขอ้ ๓ (๙) ข้อ ๘ ให้ส�ำนักงานสาขาเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ขอรายชื่อผู้บริหารโรงพยาบาลหรือคลินิกเพื่อให้มีการคัดเลือกกันเองเป็นอนุกรรมการตามข้อ ๔ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) และขอรายชื่อผู้แทนส�ำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ ส�ำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ส�ำนักอนามัย กรุงเทพมหานครสำ� นกั งานอยั การสูงสุด เพอื่ ส่งชือ่ ผู้แทนเปน็ อนุกรรมการตามขอ้ ๔ (๖) (๗) (๑๑) และ (๑๒) ข้อ ๙ ใหส้ ำ� นกั งานสาขาเขตพนื้ ที่ จดั ใหม้ กี ารขนึ้ ทะเบยี นองคก์ รเอกชน ๙ ดา้ นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ทปี่ ระสงคใ์ ชส้ ทิ ธคิ ดั เลอื กอนกุ รรมการ ยนื่ คำ� ขอขน้ึ ทะเบยี น ณ สำ� นกั งานสาขาเขตพนื้ ท่ีทีอ่ งค์กรเอกชนนนั้ ต้ังอยู่ ซ่ึงหากองคก์ รใดด�ำเนินกจิ กรรมหลายด้านใหข้ ้นึ ทะเบียนเพือ่ ใชส้ ทิ ธิคัดเลอื กอนุกรรมการในงานดา้ นใดดา้ นหนง่ึ เทา่ น้ัน และให้แจ้งชอื่ ผ้แู ทนขององคก์ รหน่งึ คนไว้ในคำ� ขอข้ึนทะเบยี น 375

องค์กรเอกชนท่ีจะขึน้ ทะเบียนต้องมีคณุ สมบัติดังน้ี (๑) มที ี่ตง้ั องค์กรและรายชอ่ื กรรมการขององคก์ ร (๒) เป็นองค์กรท่ีด�ำเนินกิจกรรมในงานด้านที่ขอขึ้นทะเบียน มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี จนถึง วันย่ืนค�ำขอขึ้นทะเบียน (๓) มีรายงานผลการด�ำเนินงาน หรือเอกสาร หรือภาพถ่ายท่ีแสดงถึงกิจกรรมในงานด้านที่ขอ ขน้ึ ทะเบยี น (๔) มีสมุดบัญชีเงินฝากของธนาคารหรือสมุดบัญชีเงินฝากของสหกรณ์ หรือหลักฐานการเงินอื่น ในท�ำนองเดยี วกนั ใหส้ ำ� นกั งานสาขาเขตพนื้ ที่ ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานในการขอขนึ้ ทะเบยี นใหค้ รบถว้ น เพอ่ื ประกาศรบั ขนึ้ ทะเบยี นโดยเปดิ เผย กรณอี งคก์ รเอกชนหรอื บคุ คลใดไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั ผลการพจิ ารณาคำ� ขอขน้ึ ทะเบยี น ใหม้ สี ทิ ธิย่ืนหนังสือคัดค้านต่อส�ำนกั งานเขตพ้นื ทีภ่ ายในเจด็ วนั นับแต่วนั ท่ีประกาศขึ้นทะเบยี น ใหส้ ำ� นกั งานสาขาเขตพน้ื ที่ ประชาสมั พนั ธแ์ ละจดั ใหม้ กี ารประชมุ ผแู้ ทนองคก์ รเอกชนทขี่ นึ้ ทะเบยี นตามวรรคหนึ่ง เพอ่ื คดั เลอื กกนั เองใหเ้ หลอื ดา้ นละ ๑ คน และให้ผู้แทนดังกล่าวคัดเลือกกันเองให้เหลือจำ� นวน ๖ คนเพ่อื เป็นอนกุ รรมการ ตามข้อ ๓ (๑๐) หรอื ข้อ ๔ (๑๓) ขอ้ ๑๐ การคดั เลอื กอนกุ รรมการ ทตี่ อ้ งจดั ใหม้ กี ารคดั เลอื กกนั เองตามประกาศน้ี ใหส้ ำ� นกั งานสาขาเขตพน้ื ทีจ่ ดั ทำ� บัญชรี ายชื่อผแู้ ทนส�ำรองไว้ไมเ่ กิน ๒ คน โดยผู้แทนส�ำรองตอ้ งเปน็ ผ้ทู ่ไี ด้คะแนนถัดจากผ้ทู ไ่ี ดร้ บั การคัดเลอื กเปน็ อนกุ รรมการ ข้อ ๑๑ เม่ือได้รายช่ือผู้แทนหน่วยงานหรือผู้ได้รับการคัดเลือก เพ่ือเป็นอนุกรรมการตามข้อ ๓หรือข้อ ๔ ครบถ้วนแล้ว ให้ส�ำนักงานสาขาเขตพื้นที่เสนอรายชื่อต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เพอ่ื พจิ ารณาแตง่ ตัง้ เป็นอนุกรรมการ เมอื่ มคี ำ� สงั่ แตง่ ตง้ั แลว้ ใหอ้ นกุ รรมการประชมุ และเลอื กกนั เองใหค้ นหนงึ่ เปน็ ประธานอนกุ รรมการ ใหผ้ อู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานสาขาเขตพนื้ ท่ี เปน็ เลขานกุ าร และเจา้ หนา้ ทที่ ผี่ อู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานสาขาเขตพ้ืนทมี่ อบหมาย ๑ คน เปน็ ผู้ชว่ ยเลขานุการ ข้อ ๑๒ ให้อนุกรรมการมีวาระอยู่ในต�ำแหน่งเท่ากับวาระของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ทแ่ี ตง่ ตงั้ และอาจไดร้ บั เลอื กใหมอ่ กี ไดแ้ ตจ่ ะอยใู่ นตำ� แหนง่ เกนิ กวา่ สองวาระตดิ ตอ่ กนัไม่ได้ เมื่อครบก�ำหนดวาระตามวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งต้ังอนุกรรมการขึ้นใหม่ ให้อนุกรรมการซ่ึงพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระน้ัน อยู่ในต�ำแหน่งเพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีต่อไป จนกว่าอนุกรรมการซึ่งได้รับคัดเลือกใหม่เข้ารับหน้าที่ กรณีอนกุ รรมการพ้นจากต�ำแหนง่ กอ่ นครบวาระ ให้ส�ำนกั งานสาขาเขตพน้ื ท่ีเสนอช่ือผแู้ ทนส�ำรองท่ีคัดเลือกไว้ตามข้อ ๑๐ ให้ประธานกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขพิจารณาแต่งต้ังเปน็ อนุกรรมการแทน376

ข้อ ๑๓ นอกจากการพ้นตำ� แหนง่ ตามวาระตามขอ้ ๑๒ แล้ว ใหอ้ นกุ รรมการพ้นจากต�ำแหนง่ เม่ือ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เป็นบคุ คลล้มละลาย (๔) เปน็ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (๕) ได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดให้จ�ำคุก เว้นแต่โทษส�ำหรับความผิดท่ีได้กระท�ำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๖) ยา้ ยไปดำ� รงตำ� แหนง่ หรอื ประกอบวชิ าชพี หรอื อาชพี ในเขตอนื่ หรอื ยา้ ยถน่ิ ทอี่ ยอู่ าศยั ไปเขตอน่ื (๗) เป็นอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดบั เขตพน้ื ที่ ข้อ ๑๔ ให้ประธานกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข รักษาการตามประกาศนแี้ ละมีอ�ำนาจวนิ ิจฉัยชข้ี าดปญั หาเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ามประกาศนี้ ข้อ ๑๕ ประกาศนใ้ี หใ้ ช้บงั คับ ตง้ั แต่วนั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ประสบศรี องึ้ ถาวร ประธานกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข 377

ประกาศคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ เร่อื ง หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไข การคัดเลือกและแต่งต้ังคณะอนุกรรมการควบคุมคณุ ภาพ และมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขระดบั เขตพ้นื ที่ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามที่อนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพ้ืนที่ ได้พ้นวาระตามขอ้ ๑๒ ของประกาศคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข เรื่อง หลกั เกณฑ์ วิธกี ารและเง่ือนไข การคัดเลือกและแต่งตั้งคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพน้ื ที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ แล้วนน้ั เพือ่ ให้การทำ� หน้าท่ขี องอนุกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพนื้ ที่ เป็นไปอย่างต่อเน่ือง อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕๑ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ประกอบกับมติคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขในการประชุมคร้ังที่ ๒/๒๕๕๙เม่ือวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๙ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข จึงออกประกาศไว้ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ให้ยกเวน้ การใช้บงั คับ ข้อ ๗ ขอ้ ๘ และขอ้ ๙ ของประกาศคณะกรรมการควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ เรื่อง หลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไข การคัดเลือกและแตง่ ต้งั คณะอนกุ รรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุขระดบั เขตพนื้ ท่ี พ.ศ. ๒๕๕๗ การยกเว้นตามวรรคหนึ่ง ไม่ใช้บังคับกับการคัดเลือกอนุกรรมการแทนอนุกรรมการท่ีพ้นต�ำแหน่งก่อนครบวาระ ข้อ ๒ ใหค้ ณะอนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ระดบั เขตพนื้ ที่ ทป่ี ฏบิ ตั ิหนา้ ท่อี ยูใ่ นวนั ท่ปี ระกาศนม้ี ผี ลใชบ้ ังคับ เปน็ คณะอนุกรรมการต่อไปอีกหนงึ่ วาระ ข้อ ๓ ประกาศน้ี ใหใ้ ชบ้ ังคบั ต้ังแต่บดั นี้ จนถึงวนั ท่ี ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ โดยใหค้ ณะอนุกรรมการตามขอ้ ๒ ปฏิบัตหิ น้าท่ตี ่อไปจนกวา่ คณะอนกุ รรมการซึ่งได้รบั การคดั เลือกใหม่เขา้ รบั หน้าท่ี ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ชาตรี บานชื่น ประธานกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข378

ประกาศคณะกรรมการควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เรื่อง หลกั เกณฑ์ วธี ีการ และเงือ่ นไข การคดั เลอื กและแต่งตง้ั คณะอนุกรรมการควบคุมคณุ ภาพ และมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพืน้ ท่ี (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยทเี่ ปน็ การสมควรแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ อำ� นาจหนา้ ทขี่ องคณะอนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพื้นท่ี เพ่ือให้การท�ำหน้าที่ของคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดบั เขตพ้ืนท่ีมปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ขนึ้ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕๑ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ประกอบกับมติการประชุมคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข คร้ังท่ี ๓/๒๕๖๐เมอ่ื วันที่ ๒๓ มนี าคม ๒๕๖๐ จึงออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ ของประกาศคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การคัดเลือกและแต่งตั้งคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสขุ ระดับเขตพ้นื ที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ และใช้ความตอ่ ไปน้แี ทน “ข้อ ๕ คณะอนกุ รรมการมีอำ� นาจหนา้ ที่ ดังน้ี (๑) น�ำข้อมูลการร้องเรียน ข้อมูลการพิจารณาการจ่ายเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้น และข้อมูลอ่ืนๆในเขตพน้ื ทท่ี ี่รับผดิ ชอบไปสรปุ วิเคราะหป์ ญั หา ข้อจ�ำกดั ของระบบการใหบ้ ริการสาธารณสขุ รวมท้ังจัดท�ำข้อเสนอเชงิ ปอ้ งกนั แก้ไข และพฒั นากลไกการจดั การเรื่องร้องเรยี นให้เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบบรกิ ารให้สอดคลอ้ งกบัสภาพหน่วยบริการในเขตพื้นท่ี (๒) ควบคมุ และกำ� กบั คณุ ภาพและมาตรฐานหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารในเขตพนื้ ท่ีที่รบั ผิดชอบ (๓) กำ� หนดมาตรการควบคมุ และสง่ เสรมิ คณุ ภาพมาตรฐานหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารในเขตพื้นท่ีท่รี ับผิดชอบ (๔) ตรวจตราคณุ ภาพและมาตรฐานหนว่ ยบรกิ ารและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารในเขตพนื้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบพร้อมทั้งแจ้งหน่วยบริการและหน่วยงานต้นสังกัดเพ่ือปรับปรุงแก้ไขและติดตามประเมินผลในเร่ืองการปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐาน 379

(๕) ส่งเสริมความเข้าใจและสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตพ้ืนที่ท่ีรับผิดชอบในการตรวจตราและการควบคมุ ก�ำกบั หน่วยบรกิ ารและเครอื ข่ายหน่วยบริการ (๖) รายงานผลการปฏิบตั ิงานให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขทราบเป็นประจ�ำทกุ ปี (๗) แตง่ ต้งั คณะทำ� งานได้ตามความจำ� เปน็ และเหมาะสม (๘) ปฏบิ ตั หิ น้าที่อน่ื ตามท่ีได้รบั มอบหมาย ข้อ ๒ ประกาศน้ี ให้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แตบ่ ดั น้ี เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ชาตรี บานช่ืน ประธานกรรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข380

๗หมวดพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี



ระเบยี บส�ำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ว่าดว้ ย วธิ ปี ฏบิ ัตงิ านของพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าท่ีให้เป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคลอ่ งตัว อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๕๔ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข จึงมีมติในการประชุมคร้ังท่ี ๒/๒๕๔๗ เม่ือวันท่ี๑๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๗ ให้ออกระเบียบไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ระเบียบนเี้ รยี กวา่ ระเบยี บสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ย วธิ ีปฏิบตั งิ านของพนกั งานเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ้ ๒ ระเบียบนใ้ี ห้ใชบ้ ังคับต้งั แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศราชกิจจานเุ บกษา เป็นต้นไป ขอ้ ๓ ในระเบียบน้ี “หน่วยบริการ” หมายความว่า สถานบริการท่ีได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “เครือข่ายหน่วยบริการ” หมายความว่า หน่วยบริการท่ีรวมตัวกันและขึ้นทะเบียนเป็นเครือข่ายหนว่ ยบริการตามพระราชบัญญตั หิ ลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังโดยค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ หรอื คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสุข แลว้ แต่กรณี “เลขาธกิ าร” หมายความว่า เลขาธกิ ารสำ� นักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ “ยดึ ” หมายความวา่ การน�ำวัสดุ หลักฐานเอกสารหรอื ของกลาง เพอื่ เปน็ หลักฐานประกอบในการด�ำเนินการตามกฎหมาย มาเก็บไว้ท่ีส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขา หรอื สถานทอี่ ืน่ ท่ีเลขาธกิ ารก�ำหนด “อายดั ” หมายความวา่ การเกบ็ รกั ษาวตั ถุ หลกั ฐานเอกสาร หรอื ของกลางเพอื่ เปน็ หลกั ฐานประกอบในการดำ� เนนิ การตามกฎหมาย โดยมอบใหเ้ จา้ ของ หรอื ผคู้ รอบครองเปน็ ผเู้ กบ็ รกั ษาโดยมเี งอื่ นไขวา่ ใหอ้ ยสู่ ภาพเดมิห้ามเคล่ือนย้าย ห้ามน�ำไปจ�ำหน่าย จ่าย โอน แลกเปล่ียน ให้ ห้ามท�ำลาย ซ่อนเร้น ท�ำให้ขาดเสียหายช�ำรุดลบเครอื่ งหมายที่พนกั งานเจา้ หน้าทไ่ี ด้ทำ� ไว้ ทงั้ น้จี นกวา่ จะได้มคี ำ� สงั่ เปลี่ยนแปลงเปน็ อยา่ งอืน่ “เวลาทำ� การ” หมายความวา่ ระหวา่ งเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทติ ย์ตก หรือในระหว่างเวลาทำ� การของหน่วยบริการ หรอื เครือขา่ ยหนว่ ยบริการ ข้อ ๔ ในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี ใหพ้ นกั งานเจ้าหนา้ ทดี่ ำ� เนินการ ดงั น้ี (๑) พนกั งานเจา้ หนา้ ทที่ เ่ี ปน็ เจา้ หนา้ ทใี่ นสงั กดั สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ใหข้ ออนมุ ตั ิต่อเลขาธิการ เว้นแต่เปน็ กรณีเรง่ ดว่ น ใหด้ �ำเนนิ การไปกอ่ นแล้วรายงานให้ทราบโดยเรว็ 383

(๒) พนกั งานเจา้ หนา้ ทที่ เ่ี ปน็ เจา้ หนา้ ทใ่ี นกลมุ่ งานประกนั สขุ ภาพ ของสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติสาขา ให้ขออนุมัติต่อผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขา เว้นแต่เป็นกรณีเร่งด่วนให้ดำ� เนนิ การไปกอ่ นแล้วรายงานใหท้ ราบโดยเรว็ (๓) พนกั งานเจา้ หนา้ ทท่ี เี่ ปน็ กรรมการสอบสวนใหแ้ จง้ ประธานคณะกรรมการสอบสวน กอ่ นปฏบิ ตั ิหน้าท่ี เว้นแต่เป็นกรณีเร่งดว่ น ใหด้ ำ� เนนิ การไปก่อนแล้วรายงานให้ทราบโดยเร็ว (๔) พนกั งานเจา้ หนา้ ทท่ี เี่ ปน็ อนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ระดบัจังหวัด ให้แจ้งประธานคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับจังหวัดก่อนปฏิบัติหน้าท่ี เวน้ แต่เป็นกรณีเรง่ ด่วน ใหด้ ำ� เนินการไปกอ่ นแลว้ รายงานให้ทราบโดยเรว็ (๕) แสดงบตั รประจ�ำตัวพนักงานเจา้ หน้าทที่ ุกคร้ังแก่บุคคลที่เก่ียวข้อง เมอื่ พนกั งานเจา้ ทไี่ ดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทแี่ ลว้ ใหจ้ ดั ทำ� รายงานสง่ ใหเ้ ลขาธกิ ารหรอื ประธานคณะกรรมการสอบสวน หรอื ประธานคณะอนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ระดบั จงั หวดั หรอื ผอู้ ำ� นวยการส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาตสิ าขา แล้วแตก่ รณที ราบภายในสบิ ห้าวนั นบั แต่วันทไ่ี ดป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่ ขอ้ ๕ การเขา้ ไปในสถานทีห่ น่วยบรกิ ารหรือเครอื ขา่ ยหนว่ ยบริการ ใหพ้ นักงานเจา้ หน้าท่ี ค�ำนงึ ถงึศักดศิ์ รคี วามเปน็ มนุษย์ สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ข้อ ๖ การตรวจสอบ สอบถามข้อเท็จจริง ตรวจสอบทรัพย์สิน หรือน�ำเอกสานที่เกี่ยวข้องไปตรวจสอบ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทบี่ นั ทกึ ไวท้ กุ ครงั้ และใหผ้ รู้ บั อนญุ าตดำ� เนนิ การหรอื บคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งลงนามในบนั ทกึดงั กล่าวดว้ ย ข้อ ๗ พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะด�ำเนินการ ค้นหน่วยบริการหรือเครือข่ายหน่วยบริการมิได้ เว้นแต่จะขอให้ศาลท่ีมเี ขตอ�ำนาจออกหมายคน้ กอ่ น ขอ้ ๘ เมื่อศาลที่มีเขตอ�ำนาจ ออกหมายค้นหน่วยบริการหรือเครือข่ายหน่วยบริการให้แล้วใหพ้ นักงานเจ้าหน้าทป่ี ฏบิ ตั ิดงั นี้ (๑) กอ่ นลงมอื คน้ ใหแ้ สดงความบรสิ ทุ ธเิ์ สยี กอ่ น และใหค้ น้ ตอ่ หนา้ ผรู้ บั อนญุ าต หรอื ผทู้ ด่ี ำ� เนนิ การหน่วยบรกิ าร ถา้ หาตวั บคุ คลดังกลา่ วไม่พบ ใหค้ น้ ตอ่ หนา้ บคุ คลอื่นอย่างนอ้ ยสองคน ซง่ึ พนกั งานเจา้ หนา้ ทไ่ี ดร้ อ้ งขอมาให้เป็นพยาน และหากด�ำเนินการค้นไม่แล้วเสร็จภายในเวลาท�ำการก็ให้สามารถด�ำเนินการต่อไปได้จนกว่าจะแล้วเสรจ็ (๒) เม่ือค้นแล้วให้ท�ำรายงานบันทึกรายละเอียดแห่งการค้นแจ้งให้เลขาธิการหรือประธานคณะกรรมการสอบสวน หรอื ประธานคณะอนกุ รรมการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ระดบั จงั หวดัหรือผูอ้ ำ� นวยการสำ� นกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาตสิ าขาทราบ ภายในสามวันนับแตว่ ันท่คี น้ ข้อ ๙ ในกรณที พี่ นกั งานเจา้ หนา้ ทพี่ บการกระทำ� ผดิ พนกั งานเจา้ หนา้ ทมี่ อี ำ� นาจยดึ หรอื อายดั เอกสารหลกั ฐาน ทรพั ยส์ นิ หรอื สง่ิ ของเพอ่ื ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานในการพจิ ารณาตอ่ ไป ทงั้ นี้ ในการยดึ หรอื อายดั สง่ิ ใดไวใ้ หพ้ จิ ารณาจากความจ�ำเป็นที่จะต้องยึดหรืออายัดและให้พิจารณาจากสภาพของของกลาง ความสะดวกในการขนย้ายและเหตุอนื่ ๆ ประกอบด้วย ขอ้ ๑๐ การดำ� เนนิ การเกีย่ วกบั การยดึ หรือการอายัด ณ หนว่ ยบรกิ ารหรอื เครือขา่ ยหนว่ ยบรกิ าร (๑) การยึดหรือการอายัดจะต้องกระท�ำต่อหน้าผู้รับอนุญาต ผู้ด�ำเนินการหรือผู้ครอบครองหรือตัวแทนโดยท�ำบันทึกไว้เป็นหลักฐานทุกครั้งและมีพยานอ่ืนรู้เห็นอย่างน้อยหนึ่งคนนอกเหนือจากพนักงานเจา้ หนา้ ท่ี384

(๒) ส่ิงท่ีจะยึดหรืออายัดให้ห่อหรือบรรจุหีบห่อและปิดผนึกให้เรียบร้อย ของที่ไม่สามารถห่อหรอื บรรจุหบี ห่อไดใ้ ห้เขยี นหรือทำ� เครอ่ื งหมายไว้ท่ขี องน้นั (๓) ใหร้ ะบุข้อความตอ่ ไปนที้ ีห่ ีบหอ่ ทุกหอ่ ก. ช่ือและที่ตั้งสถานที่ของผู้รับอนุญาต ผู้ด�ำเนินการ ของหน่วยบริการหรือเครือข่ายหน่วยบริการนนั้ ข. ชือ่ สง่ิ ของทีย่ ึดหรอื อายดั พร้อมทงั้ วนั ที่ยดึ หรอื อายดั ค. ให้ผรู้ ับอนญุ าต ผู้ด�ำเนนิ การ ผคู้ รอบครองหรอื ตวั แทนและพยานลงช่อื ก�ำกับไวท้ ีห่ บี หอ่สิง่ ของที่ยดึ หรืออายดั และให้พนักงานเจา้ หน้าที่ผู้ท�ำการยึดหรอื อายดั ลงช่ือก�ำกับทีห่ ีบหอ่ อยา่ งน้อย ๒ คน (๔) ให้บันทึกยึดหรืออายัด และมอบส�ำเนาบันทึกดังกล่าวให้แก่ผู้รับอนุญาต ผู้ด�ำเนินการหรอื ผู้ครอบครองหรอื ตัวแทน ๑ ชดุ (๕) ให้บันทึกข้อความดังต่อไปน้ีไว้ในบันทึกการอายัด คือให้รักษาสิ่งของท่ีถูกอายัดน้ีไว้ให้อยู่ในสภาพเดิม ห้ามเคล่ือนย้าย ห้ามจ�ำหน่าย จ่าย แจก เอาไปเสียท�ำลาย หรือท�ำให้สูญหาย หรือท�ำให้เส่ือมค่าหรือไรป้ ระโยชน์ และหา้ มทำ� ใหข้ าดเสยี หาย ชำ� รดุ หรอื ลบซง่ึ เครอ่ื งหมายหรอื ตำ� หนิ ทพี่ นกั งานเจา้ หนา้ ทที่ ำ� ไว้ ทง้ั นจี้ นกวา่จะได้มคี ำ� ส่ังให้เปลี่ยนแปลงเป็นอยา่ งอื่น (๖) การท�ำบันทึก ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี ท�ำบันทึกการยึดหรืออายัดตามแบบฟอร์มที่ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติก�ำหนดและให้ผู้เป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองหรือตัวแทนที่สิ่งของน้ันถูกยึดหรืออายัดทราบขอ้ ความในบนั ทกึ นน้ั แลว้ ลงลายมอื ชอื่ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานกรณบี คุ คลดงั กลา่ วไมย่ อมลงชอ่ื รบั รองบนั ทกึ ทท่ี ำ� ขน้ึ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีจดบันทึกต่อท้ายบันทึกการยึดหรืออายัดระบุว่าไม่ยอมลงช่ือแล้วให้พนักงานเจ้าหน้าที่ลงชื่อเป็นพยานไม่นอ้ ยกว่า ๒ คน (๗) การยึด ให้น�ำของกลางมาเก็บไว้ที่ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือส�ำนักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาตสิ าขา หรือสถานทอี่ นื่ ทีเ่ ลขาธิการกำ� หนด (๘) การอายัด ให้ท�ำการอายดั ไวท้ ่สี ถานทหี่ น่วยบริการหรอื เครอื ข่ายหนว่ ยบรกิ าร  ข้อ ๑๑ การถอนการยึด ถอนการอายัด ใหป้ ฏิบตั ดิ งั นี้ (๑) ให้ผู้เป็นเจ้าของหรือผู้รับใบอนุญาตเก่ียวกับสิ่งของที่ถูกยึดหรืออายัดแจ้งขอถอนการยึดหรืออายดั เปน็ หนงั สอื ต่อส�ำนกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติหรอื สำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติสาขา (๒) ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาจะอนุมัติให้ถอนการยึดหรืออายัดได้ต่อเม่ือ สาเหตุแห่งการถูกยึดหรืออายัดน้ันสิ้นสุดลง หรือเป็นเร่ืองไม่ร้ายแรงและไมน่ า่ จะกระทบสทิ ธหิ รอื สง่ ผลรา้ ยตอ่ ประชาชน และเหน็ วา่ สาเหตนุ น้ั ไดร้ บั การแกไ้ ขโดยถกู ตอ้ งตามกฎหมายแลว้ (๓) ในกรณที ใี่ หม้ กี ารแกไ้ ขสาเหตขุ องการถกู ยึด หรืออายดั ไดใ้ หป้ ฏบิ ตั ิดังน้ี กรณยี ดึ อายดั ณ สถานทป่ี ระกอบกจิ การของหนว่ ยบรกิ าร หรอื เครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารใหพ้ นกั งานเจ้าหน้าที่ไปควบคุมการแก้ไข การเคลอ่ื นย้าย ตลอดจนการตรวจสอบจ�ำนวนและสภาพความเรียบร้อยประการอ่ืนเม่ือถูกต้องแล้วให้เสนอส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาเพอื่ พิจารณาสั่งการตาม ข้อ ๑๑ (๒)  ขอ้ ๑๒  ใหเ้ ลขาธกิ าร หรือประธานคณะกรรมการสอบสวน หรอื ประธานคณะกรรมการควบคมุคณุ ภาพและมาตรฐานบรกิ ารสาธารณสขุ ระดบั จงั หวดั หรอื ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตสิ าขาแล้วแต่กรณี เป็นผู้กำ� กบั ดูแลการปฏิบตั หิ นา้ ที่ของพนักงานเจ้าหนา้ ท่ ี 385