เอกสารแนบท้าย ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เรอื่ ง การสง่ ข้อมลู อเิ ล็คทรอนิกสเ์ พอื่ การเรยี กเก็บคา่ ใชจ้ า่ ยเพื่อบริการสาธารณสขุ (e-claim)หนว่ ยบรกิ ารที่สามารถสง่ ขอ้ มลู อิเล็คทรอนิกส์เพอ่ื การเรียกเกบ็ ค่าใช้จา่ ยเพ่อื บรกิ ารสาธารณสุข ๑. รพ.มหาราชนครราชสมี า จ.นครราชสมี า ๒. รพ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี ๓. รพ.พุทธชินราช จ.พิษณโุ ลก ๔. รพ.ขอนแก่น ๕. รพ.อุดรธานี ๖. รพ.เชยี งรายประชานุเคราะห์ ๗. รพ.สระบรุ ี ๘. รพ.สุราษฎรธ์ านี ๙. รพ.เจา้ พระยายมราช จ.สพุ รรณบรุ ี ๑๐. รพ.ชลบุรี ๑๑. รพ.อุตรดติ ถ์ ๑๒. รพ.ลำ� ปาง ๑๓. รพ.ราชบรุ ี ๑๔. รพ.มหาราชนครศรธี รรมราช ๑๕. รพ.หาดใหญ่ ๑๖. รพ.ระยอง ๑๗. รพ.สวรรคป์ ระชารักษ์ ๑๘. รพ.พระนครศรอี ยธุ ยา ๑๙. รพ.พระปกเกลา้ จ.จนั ทบุรี ๒๐. รพ.นครปฐม ๒๑. รพ.สรุ นิ ทร์ ๒๒. รพ.ยะลา ๒๓. รพ.ตรัง ๒๔. รพ.บรุ รี มั ย์ ๒๕. รพ.สมุทรปราการ ๒๖. รพ.พระนัง่ เกลา้ ๒๗. รพ.ปทมุ ธานี ๒๘. รพ.มหาราชเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ๒๙. รพ.ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหิดล ๓๐. รพ.สงขลานครนิ ทร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์286
๓๑. รพ.ศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยข์ อนแกน่ ๓๒. รพ.รามาธบิ ดี ๓๓. วทิ ยาลยั แพทย์ศาสตร์ (รพ.วชิรฯ) ๓๔. รพ.จุฬาลงกรณ์ ๓๕. รพ.นพรัตนราชธานี ๓๖. รพ.ราชวถิ ี ๓๗. สถาบันสุขภาพเดก็ แหง่ ชาติมหาราชนิ ี ๓๘. รพ.ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ๓๙. รพ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า ๔๐. รพ.พระมงกุฎเกลา้ ๔๑. รพ.ศรธี ัญญา ๔๒. รพ.สมเด็จเจ้าพระยา ๔๓. รพ.ตำ� รวจ ๔๔. รพ.ตากสิน ๔๕. สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ๔๖. ศนู ย์ควบคุมและป้องกันโรคมะเร็ง อบุ ลราชธานี ๔๗. ศูนยค์ วบคุมและปอ้ งกนั โรคมะเร็ง ชลบุรี ๔๘. ศนู ยค์ วบคมุ และปอ้ งกันโรคมะเร็ง ลพบรุ ี ๔๙. ศนู ย์ควบคมุ และปอ้ งกันโรคมะเร็ง สุราษฎรธ์ านี ๕๐. ศูนยค์ วบคมุ และปอ้ งกันโรคมะเร็ง ล�ำปาง ๕๑. ศนู ย์ควบคมุ และป้องกันโรคมะเรง็ อุดรธานี ๕๒. รพ.โรคทรวงอก 287
ประกาศส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรอื่ ง การสนบั สนนุ และให้ยากระตนุ้ การสร้างเม็ดเลือดแดงแก่ผู้ปว่ ยไตวายเรอ้ื รงั ระยะสุดทา้ ย พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงบัญชีรายการยา กรณีสนับสนุนยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง(Erythropoietin)แกผ่ ปู้ ว่ ยไตวายเรอื้ รงั ระยะสดุ ทา้ ยในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ทไี่ ดร้ บั การรกั ษาดว้ ยการล้างไตผ่านทางช่องท้อง (CAPD) หรือการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (HD) จากหนว่ ยบรกิ ารท่รี ว่ มให้บรกิ าร อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕ ประกอบข้อ ๖๗ ของเอกสารแนบท้ายประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์การด�ำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติส�ำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ และหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใชจ้ ่ายเพอ่ื บริการสาธารณสขุของหน่วยบรกิ าร ลงวนั ที่ ๒๖ กนั ยายน ๒๕๕๙ ส�ำนกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ยกเลกิ (๑) ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอื่ ง การสนบั สนนุ และใหย้ า Erythropoietinแก่ผู้ปว่ ยไตวายเรอ้ื รังระยะสุดทา้ ย พ.ศ. ๒๕๕ (๒) ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง การสนบั สนนุ และใหย้ า Erythropoietinแกผ่ ู้ป่วยไตวายเร้ือรังระยะสดุ ทา้ ย (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ ขอ้ ๒ ผปู้ ว่ ยไตวายเรอ้ื รงั ระยะสดุ ทา้ ยในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตทิ มี่ สี ทิ ธไิ ดร้ บั ยากระตนุ้การสรา้ งเมด็ เลอื ดแดง (Erythropoietin) ดังนี้ (๑) ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายท่ีมีสิทธิรับบริการทดแทนไตด้วยวิธีล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (CAPD) (๒) ผู้ป่วยไตวายเร้ือรังระยะสุดท้าย ที่มีสิทธิฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (HD) หรือผู้ป่วยทไี่ มส่ มคั รใจเขา้ รบั บรกิ ารทดแทนไตดว้ ยวธิ ี CAPD และประสงคจ์ ะรบั บรกิ ารดว้ ยวธิ ี HD โดยรบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ า่ ยเอง ท้ังนี้ ผู้ป่วยตาม (๑) และ (๒) มีสิทธิได้รับยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง (Erythropoietin)ตามความจำ� เป็นและขอ้ บ่งชีท้ างการแพทย์ รวมท้ังรายชอ่ื ในบญั ชี ตามเอกสารหมายเลข ๑ แนบท้ายประกาศน้ี ข้อ ๓ แนวทางการสนับสนุนยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง (Erythropoietin) ส�ำหรับผู้ป่วยไตวายเร้ือรังระยะสุดท้าย ตามข้อ ๒ ให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข ๒ แนบท้ายประกาศนี้ หรือท่ีส�ำนักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาตกิ �ำหนด 288
ขอ้ ๔ ใหห้ น่วยบริการท่ีเข้ารว่ มใหบ้ รกิ าร CAPD และ HD มสี ทิ ธเิ บกิ ยากระตุ้นการสรา้ งเม็ดเลือดแดง (Erythropoietin)ทใ่ี ชบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยไตวายเรอื้ รงั ระยะสดุ ทา้ ยในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตติ ามหลกั เกณฑ์ทกี่ ำ� หนดในขอ้ ๒ ผา่ นระบบ VMI ขององคก์ ารเภสชั กรรม โดยเบกิ ยาและสง่ ขอ้ มลู ทกุ เดอื นผา่ นระบบตามทสี่ ำ� นกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาตกิ �ำหนด ข้อ ๕ หน่วยบริการที่ให้ยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง (Erythropoietin) ชื่อยาใดยาหน่ึงตามบัญชีในเอกสารหมายเลข ๑ ควรใช้ต่อเน่ืองอย่างน้อยหนึ่งปี ยกเว้นมีเหตุจ�ำเป็นทางการแพทย์ก็สามารถเปลี่ยนช่ือยาอื่นได้และแจ้งส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติทราบ รวมทั้งติดตามระดับ Hematocrit (Hct)ของผูป้ ่วยอยา่ งน้อยทุก ๔ – ๘ สปั ดาห์ต่อครง้ั เพื่อเปน็ ขอ้ มูลประกอบการใหย้ าแกผ่ ้ปู ว่ ย ขอ้ ๖ การให้ยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง (Erythropoietin) แก่ผู้ป่วยที่รับบริการ CAPDและ HD ตอ้ งใหโ้ ดยบุคลากรทางการแพทยข์ องหนว่ ยบรกิ ารท่ีใหบ้ ริการผปู้ ว่ ยน้ันโดยตรง หรอื อาจสง่ ต่อให้บรกิ ารทีห่ นว่ ยบริการปฐมภมู ิในเครือขา่ ยทีอ่ ย่ใู กล้บ้าน โดยไม่ให้ผปู้ ว่ ยนำ� ยาไปฉีดเองท่บี า้ น ข้อ ๗ ประกาศนี้ ให้ใช้บังคับตงั้ แตว่ นั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ศักดิช์ ัย กาญจนวฒั นา รองเลขาธกิ าร รกั ษาการแทน เลขาธกิ ารสำ� นักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ 289
เอกสารหมายเลข ๑ แนบทา้ ยประกาศสำ� นกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติเรอ่ื ง การสนบั สนนุ และใหย้ ากระตนุ้ การสร้างเม็ดเลอื ดแดงแก่ผู้ป่วยไตวายเร้ือรังระยะสุดทา้ ย พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๙บัญชีรายการยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง ( Erythropoietin) ท่ีสนับสนุนแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ตามความจำ� เป็นและขอ้ บ่งชท้ี างการแพทย์ ดงั นี้ ชอ่ื ยา ขนาดยา ระดับ Hct ≤ 30 % ระดบั Hct › 30 % เบกิ ได้ตามจา่ ยจรงิ และไม่เกิน เบิกไดต้ ามจ่ายจรงิ และไมเ่ กนิEpiao 4,000 u 4,000 u x 8 ครั้งตอ่ เดือน 4,000 u x 4 คร้งั ต่อเดือนEporon 4,000 u 4,000 u x 8 คร้ังตอ่ เดอื น 4,000 u x 4 ครง้ั ต่อเดอื นRenogen 4,000 u 4,000 u x 8 ครง้ั ต่อเดอื น 4,000 u x 4 คร้งั ต่อเดือนHema-plus 4,000 u 4,000 u x 8 คร้งั ต่อเดอื น 4,000 u x 4 ครง้ั ตอ่ เดอื นEspogen 4,000 u 4,000 u x 8 ครงั้ ตอ่ เดอื น 4,000 u x 4 ครั้งต่อเดอื นRecombinant* 4,000 u 4,000 u x 8 ครง้ั ตอ่ เดอื น 4,000 u x 4 ครัง้ ตอ่ เดือนEritromax 4,000 u 4,000 u x 8 ครั้งต่อเดือน 4,000 u x 4 ครั้งต่อเดอื นHypercrit 4,000 u 4,000 u x 8 ครง้ั ต่อเดือน 4,000 u x 4 คร้ังต่อเดือน Epokine 4,000 u 4,000 u x 8 คร้ังตอ่ เดอื น 4,000 u x 4 ครั้งตอ่ เดือนหมายเหตุ : รายการยาอาจมกี ารเปลย่ี นแปลงในระหวา่ งปตี ามสถานการณท์ างตลาด และคณุ สมบตั ขิ องยาทม่ี ผี ลตอ่จดั หา และยา Recombinant ใชถ้ งึ วนั ที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๐290
เอกสารหมายเลข ๒ แนบทา้ ยประกาศส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เรอื่ ง การสนบั สนุนและใหย้ ากระตนุ้ การสรา้ งเม็ดเลอื ดแดงแกผ่ ูป้ ่วยไตวายเรื้อรงั ระยะสดุ ทา้ ย พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๙๑. แนวทางการสนบั สนุนยากระตนุ้ การสร้างเมด็ เลอื ดแดง ( Erythropoietin) ๑.๑ หน่วยบริการหรอื สถานบรกิ ารมสี ทิ ธิเบกิ ยา Erythropoietin ได้แก่ (๑) หน่วยบริการทีข่ ้ึนทะเบียนร่วมใหบ้ รกิ าร CAPD ทุกแหง่ (๒) หนว่ ยบรกิ ารที่รับการสง่ ตอ่ เฉพาะด้านบริการ HD ในระบบหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ๑.๒ หน่วยบริการที่ร่วมให้บริการ CAPD และ HD เมื่อให้บริการยา Erythropoietin ตามความจ�ำเป็นและขอ้ บง่ ชที้ างการแพทยแ์ ลว้ หลงั ใหบ้ รกิ าร หนว่ ยบรกิ ารหรอื สถานบรกิ ารดงั กลา่ วสามารถเบกิ ยาชดเชยผา่ นระบบVMI ขององค์การเภสัชกรรมตามรายช่ือยาและจ�ำนวนยาท่ีใช้จริง ไม่เกินอัตราที่ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาตปิ ระกาศก�ำหนด โดยหน่วยบริการแตล่ ะแห่งสามารถขอเบกิ ยาไดม้ ากกวา่ ๑ รายการช่ือยา ๑.๓ การสนับสนุนยา Erythropoietin สำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ จะสนบั สนุนยาเฉพาะรายการชอ่ื ยาทรี่ ะบใุ นประกาศเทา่ นนั้ กรณที หี่ นว่ ยบรกิ ารหรอื สถานบรกิ าร CAPD และHD ใชย้ าชอื่ อน่ื นอกเหนอื จากทรี่ ะบุอยูใ่ นประกาศจะไม่ไดร้ ับการสนบั สนุน ๑.๔ องค์การเภสชั กรรมจะจดั สง่ ยา Erythropoietin ตามระบบ VMI ใหห้ นว่ ยบรกิ ารทร่ี ว่ มให้บริการ CAPDและ HD เดอื นละ ๑ ครง้ั โดยแยกการจัดสง่ ยาสำ� หรบั ผู้ป่วย CAPD และ HD ออกจากกัน ๑.๕ การให้ยา Erythropoietin แก่ผู้ป่วยหน่วยบริการท่ีร่วมให้บริการ CAPD และ HD สามารถเลือกใช้ได้ตามความจ�ำเป็นและข้อบ่งช้ีทางการแพทย์แต่การใช้ยาตัวใดตัวหนึ่งกับผู้ป่วยควรใช้ต่อเนื่องอย่างน้อย ๑ ปียกเวน้ มคี วามจำ� เปน็ ทางการแพทยก์ ส็ ามารถเปลยี่ นเปน็ ตวั อน่ื ได้ โดยตอ้ งบนั ทกึ ในแบบฟอรม์ ทก่ี ำ� หนดและรายงานตอ่ สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตริ วมทงั้ ตอ้ งตดิ ตามระดบั Hematocrit (Hct) ของผปู้ ว่ ยอยา่ งนอ้ ยทกุ ๔ - ๘สัปดาห์ต่อครั้ง ๑.๖ การใหย้ า Erythropoietin แก่ผูป้ ่วยต้องให้โดยบุคลากรทางการแพทย์เทา่ นน้ั โดย (๑) ผู้ปว่ ย HD ต้องใหย้ าในหน่วยบรกิ ารทผ่ี ปู้ ่วยฟอกเลอื ดเท่านนั้ (๒) ผปู้ ว่ ย CAPD นอกจากใหย้ าในหนว่ ยบรกิ าร CAPD แลว้ สามารถสง่ ตอ่ ไปใหย้ าทห่ี นว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิในเครอื ขา่ ยที่อย่ใู กลบ้ า้ นผ้ปู ว่ ย โดยหน่วยบริการ CAPD ตอ้ งจดั ใหม้ กี ารสง่ ยาใหห้ น่วยบรกิ ารปฐมภูมิ โดยจะตอ้ งส่งยาดว้ ยระบบ Cold Chain และมใี บส่งตัวใหแ้ ก่หนว่ ยบริการปฐมภูมนิ น้ั ท้ังน้ีการให้ยา Erythropoietin หน่วยบริการหรือสถานบริการต้องบันทึกการให้บริการและเก็บข้อมูลเอกสารอ่ืนๆทีเ่ ก่ียวข้อง เพือ่ รอการตรวจสอบจากสำ� นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติหรือหน่วยงานท่สี ำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมอบหมาย กรณีผู้ป่วย HD จะต้องลงนามผู้ให้ยาพร้อมทั้งติดสต๊ิกเกอร์ก�ำกับลงในใบHemo sheet ทุกครั้ง หากไม่ด�ำเนินการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจะพิจารณาเรียกคืนยาหรอื เงนิ คา่ ยาได้ และกรณที ตี่ รวจสอบแลว้ พบวา่ ระดบั Hct ทต่ี รวจไดไ้ มต่ รงกบั ขอ้ มลู ทห่ี นว่ ยบรกิ าร HD หรอื CAPDบันทึกสง่ เบกิ กบั ส�ำนักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ จะพิจารณาเรียกคืนยาหรือเงนิ คา่ ยาได้ 291
๒. วธิ กี ารสนับสนนุ ยา Erythropoietin ๒.๑ หน่วยบริการ CAPD ๒.๑.๑ หนว่ ยบรกิ าร CAPD บนั ทึกการใชย้ าในโปรแกรม DMIS_CAPD โดยหน่วยบรกิ ารตอ้ งบนั ทกึ ขอ้ มูลการใชย้ าตามทใ่ี ชจ้ รงิ ในรอบเดอื นทผ่ี า่ นมา ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในวนั ที่ ๑๕ ของเดอื นถดั ไป หากไมด่ ำ� เนนิ การบนั ทกึ ขอ้ มลู การใช้ยาตามระยะเวลาที่ก�ำหนด จะท�ำการตัดยอดไปจ่ายในสิ้นปีครั้งเดียวเท่าน้ัน โดยมีรายละเอียดการบันทึกข้อมูลดงั น้ี (๑) รายการยาต้องเป็นช่ือยาท่ีระบุตามประกาศเท่านั้น กรณีไม่ใช้ยาตามรายการท่ีก�ำหนดสามารถ เลอื กบันทกึ ขอ้ มลู ในประเภทอืน่ ๆ เพือ่ เตมิ ได้ แต่ทั้งน้จี ะไมไ่ ด้รับการสนบั สนนุ ยา (๒) ปริมาณการใชใ้ หร้ ะบุ จำ� นวน Unit ของยาทใ่ี ชจ้ ริง (๓) ระดบั Hct ทต่ี รวจลา่ สดุ โดยต้องมีการตรวจระดบั Hct อยา่ งน้อยทุก ๔-๘ สัปดาหต์ ่อคร้งั ๒.๑.๒ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประมวลผลข้อมูลการใช้ยา Erythropoietin ในระบบDMIS_CAPD ทุกวันท่ี ๑๕ ของเดือนถดั ไป และสง่ ขอ้ มลู ความต้องการ การชดเชยใหอ้ งค์การเภสชั กรรม ๒.๑.๓ องค์การเภสัชกรรมส่งยาให้หน่วยบริการภายใน ๑๐ วันท�ำการภายหลังจากได้รับข้อมูลการเบกิ ยาจาก ส�ำนักงานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ ๒.๑.๔ หน่วยบรกิ าร ตรวจรับยาตามข้อมูลการไดร้ บั ชดเชยยา Erythropoietin Usage Report (EUR)ในโปรแกรม DMIS_CAPD ๒.๒ หน่วยบรกิ าร HD ๒.๒.๑ หนว่ ยบรกิ าร HD บนั ทกึ ขอ้ มลู การใชย้ าในโปรแกรมของสำ� นกั งานกลางสารสนเทศบรกิ ารสขุ ภาพ(สกส.) โดยบันทึกข้อมูลการใช้ยาตามจริงในรอบเดือนที่ผ่านมา ให้แล้วเสร็จภายวันที่ ๑๕ ของเดือนถัดไป โดยมีรายละเอียดการบันทกึ ข้อมลู ดงั นี้ (๑) รายการยาต้องเป็นช่ือยาท่ีระบุตามประกาศเท่าน้ัน กรณีไม่ใช้ยาตามรายการท่ีก�ำหนดสามารถ เลือกบนั ทกึ ข้อมลู ในประเภทอนื่ ๆเพอ่ื เตมิ ได้ แต่ทัง้ นจ้ี ะไม่ได้รับการสนบั สนนุ ยา (๒) ปริมาณการใชใ้ ห้ระบุ จำ� นวน Unit ของยาที่ใช้จรงิ (๓) ระดบั Hct ที่ตรวจลา่ สดุ โดยตอ้ งมกี ารตรวจระดับ Hct อย่างนอ้ ยทกุ เดือน ๒.๒.๒ ส�ำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.) ประมวลผลข้อมูลการใช้ยา Erythropoietinของเดือนท่ีผ่านมาทุกวันท่ี ๑๕ ของเดือนถัดไป และส่งข้อมูลให้องค์การเภสัชกรรม หากหน่วยบริการหรือสถานบรกิ ารบนั ทกึ การใชย้ าลา่ ชา้ จากเวลาทกี่ �ำหนดจะไมน่ �ำข้อมูลในรอบเดอื นนัน้ มาประมวลผลเพื่อพจิ ารณา ๒.๒.๓ องค์การเภสัชกรรม จัดส่งยาให้หน่วยบริการ ภายหลังจากได้รับข้อมูลการเบิกยาจากส�ำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.) ภายใน ๑๐ วัน ๒.๒.๔ หน่วยบริการตรวจรับยาตามรายงานสรุปยอดรวมการให้ยา Erythropoietin Usage Report(EUR) ของสำ� นกั งานกลางสารสนเทศบรกิ ารสุขภาพ (สกส.)๓. การอุทธรณ์ กรณีท่หี นว่ ยบริการ หรือสถานบริการ CAPD และ HD ได้รบั การสนบั สนนุ ยา Erythropoietin ไมค่ รบตามท่ีให้บริการจริง สามารถอุทธรณ์เข้ามาได้ท่ีส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ภายใน ๓๐ วัน หลังได้รับรายงานสรปุ ยอดรวมการให้ยา Erythropoietin Usage Report (EUR) ภายใต้หลกั เกณฑท์ ีก่ ำ� หนด292
ประกาศส�ำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ เรือ่ ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร เงือ่ นไขและอตั ราการจา่ ยค่าใช้จา่ ยเพือ่ บรกิ ารสาธารณสขุ ส�ำหรับบริการบ�ำบัดทดแทนไตดว้ ยการลา้ งไตผ่านทางชอ่ งท้องอย่างต่อเนอื่ ง (CAPD) พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยที่เป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไขและอัตราการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสขุ สำ� หรบั บรกิ ารบำ� บดั ทดแทนไตดว้ ยการลา้ งไตผา่ นทางชอ่ งทอ้ งอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง Continuous AmbulatoryPeritoneal Dialysis (CAPD) อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบข้อ ๖๗ ของเอกสารแนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์การด�ำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติส�ำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ และหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อื นไขการรบั คา่ ใช้จ่ายเพ่อื บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ลงวันท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ยกเลกิ ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอื่ งแนวทางการจา่ ยชดเชยคา่ บรกิ ารบ�ำบัดทดแทนไตดว้ ยการลา้ งไตผ่านทางชอ่ งทอ้ งอย่างต่อเนือ่ ง (CAPD) พ.ศ.๒๕๕๗ ลงวันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๗ ขอ้ ๒ ในประกาศนี้ “ส�ำนักงาน” หมายความวา่ ส�ำนกั งานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการเพ่ือสนับสนุนผู้ป่วยไตวายเร้ือรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติใหเ้ ข้าถงึ บริการทดแทนไตระดับเขต “หนว่ ยบรกิ าร” หมายความวา่ หนว่ ยบรกิ ารทสี่ ำ� นกั งานเหน็ ชอบใหเ้ ขา้ รว่ มโครงการบำ� บดั ทดแทนไตด้วยการล้างไตทางชอ่ งทอ้ งอย่างต่อเนอ่ื ง ขอ้ ๓ หลักเกณฑ์ วธิ ีการ เงอื่ นไขและอัตราการจา่ ยค่าใชจ้ า่ ยเพือ่ บริการสาธารณสุขส�ำหรับบรกิ ารบำ� บัดทดแทนไตด้วยการลา้ งไตผา่ นทางช่องทอ้ งอย่างต่อเนือ่ ง Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis(CAPD) ใหแ้ ก่หน่วยบรกิ าร ให้เปน็ ไปตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี ข้อ ๔ บรรดาประกาศ หลักเกณฑ์ หรือค�ำสั่งอื่นใด ท่ีก�ำหนดไว้แล้วซึ่งขัดหรือแย้งกับประกาศน้ีให้ใช้ประกาศนแี้ ทน ข้อ ๕ ประกาศนี้ ใหใ้ ช้บังคบั ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ศกั ดช์ิ ัย กาญจนวัฒนา รองเลขาธิการ รักษาการแทน เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ 293
เอกสารแนบท้ายประกาศส�ำนกั งานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง หลักเกณฑ์ วิธกี าร เงอื่ นไขและอัตราการจา่ ยคา่ ใช้จา่ ยเพ่ือบริการสาธารณสขุ สำ� หรับ บริการบำ� บัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผา่ นทางช่องท้องอย่างต่อเน่อื ง (CAPD) พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ สำ� นกั งานจะใหก้ ารสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั บรกิ ารบำ� บดั ทดแทนไตดว้ ยการลา้ งไตผา่ นทางชอ่ งทอ้ งอย่างต่อเน่ือง (CAPD) แกห่ น่วยบรกิ ารตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงือ่ นไขและอัตราการจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยดังน้ี๑. คณุ สมบัติหนว่ ยบรกิ าร หน่วยบริการที่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขส�ำหรับบริการบ�ำบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (CAPD) ต้องเข้าร่วมโครงการและผ่านการประเมินตามแบบประเมินหน่วยบริการลา้ งไตผา่ นทางชอ่ งท้องอยา่ งต่อเนอ่ื ง (CAPD)๒. คุณสมบตั ผิ ้ปู ่วยทจี่ ะได้รับสทิ ธใิ นโครงการ (๑) เป็นผู้มีสิทธหิ ลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ (๒) เปน็ ผปู้ ว่ ยโรคไตวายเรอ้ื รงั ระยะสดุ ทา้ ยทไี่ ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ ตอ้ งไดร้ บั การบำ� บดั ทดแทนไตตามขอ้ บง่ ช้ีของสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย (๓) ผา่ นการพจิ ารณาของคณะกรรมการวา่ เปน็ ผสู้ มควรไดร้ บั การรกั ษาโดยการลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ งอยา่ งตอ่ เนอื่ ง(CAPD) (๔) ได้รับการลงทะเบียนเป็นผู้ป่วยโครงการ CAPD จากหน่วยบริการ และมีการบันทึกข้อมูลการรักษาลงในโปรแกรม DMIS_CAPD หรอื โปรแกรมอน่ื ทสี่ ำ� นกั งานกำ� หนดรวมทง้ั บนั ทกึ การตดิ ตาม ตามทสี่ ำ� นกั งานกำ� หนด๓. การสนับสนนุ หน่วยบริการ หนว่ ยบริการจะไดร้ ับการสนบั สนุนจากส�ำนกั งาน ดงั น้ี ๓.๑ การสนับสนุนนำ้� ยาและเวชภัณฑ์ (๑) การสนบั สนุนน�ำ้ ยา CAPD สนบั สนนุ ใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ยโดยสำ� นกั งาน หรอื องคก์ ารเภสชั กรรม หรอื หนว่ ยงานของรฐั อน่ื ทไี่ ดร้ บั มอบหมายจะเปน็ ผจู้ ดั สง่ ใหห้ นว่ ยบรกิ าร หรอื สง่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยโดยตรง (ตามทห่ี นว่ ยบรกิ ารระบ)ุ หนว่ ยบรกิ ารสามารถสงั่ นำ�้ ยา CAPDผ่านโปรแกรม DMIS_CAPD หรือโปรแกรมอ่ืนที่ส�ำนักงานก�ำหนดให้แก่ผู้ป่วยได้ตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์คนละไมเ่ กิน ๔ ถงุ ตอ่ วัน กรณที มี่ คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใชน้ ำ�้ ยา CAPD เกนิ กวา่ ๔ ถงุ ตอ่ วนั ใหห้ นว่ ยบรกิ ารแจง้ สำ� นกั งานหลกั ประกนัสุขภาพแหง่ ชาติ เขต พจิ ารณาสนบั สนนุ เพม่ิ เปน็ รายกรณีไป (๒) การสนบั สนุนยา Erythropoietin สนบั สนนุ ใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ย โดยใชห้ ลกั เกณฑต์ ามประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการสนับสนุนและให้ยา Erythropoietin แกผ่ ู้ปว่ ยไตวายเรื้อรังระยะสุดทา้ ย294
(๓) การสนับสนนุ สาย Tenckhoff catheter สนับสนุนให้แก่ผู้ป่วย โดยหน่วยบริการสามารถส่ังผ่านโปรแกรม DMIS_CAPD หรือโปรแกรมอื่นท่ีสำ� นักงานก�ำหนด เพอื่ ใชก้ บั ผูป้ ว่ ยรายใหม่และรายทม่ี คี วามจ�ำเป็นตอ้ งเปลีย่ นไม่เกิน ๑ สายตอ่ ผู้ปว่ ย ๑ รายต่อปี ๓.๒ การสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการให้บรกิ าร จ่ายชดเชยค่าบริการให้แก่หน่วยบริการแบบเหมาจ่ายเพิ่มเติม (On top) ในอัตรา ๒,๕๐๐ บาทตอ่ ผปู้ ว่ ย ๑ รายตอ่ เดอื น สำ� หรบั หนว่ ยบรกิ ารในการใหบ้ รกิ ารประเมนิ สภาพรา่ งกายผปู้ ว่ ย การวางสาย Tenckhoffcatheter การบริการ CAPD แบบผู้ป่วยนอกหรือค่ายาพ้ืนฐาน และยารักษาโรคอ่ืนท่ีจ�ำเป็นและเกี่ยวข้องกับการบรกิ าร CAPD โดยตรง รวมถงึ การรกั ษาภาวะแทรกซอ้ นโดยตรงทเี่ กดิ จากการบรกิ าร CAPD ตามแนวทางเวชปฏบิ ตั ิทีส่ มาคมโรคไตแหง่ ประเทศไทยหรือตามทสี่ �ำนกั งานกำ� หนด กรณีที่มีการส่งต่อผู้ป่วยไปรักษายังหน่วยบริการหรือสถานบริการอื่นแบบผู้ป่วยนอก ให้หน่วยบริการที่รับลงทะเบียนหรือหน่วยบริการที่บันทึกติดตามผลการรักษา CAPD เป็นผู้ตามจ่ายค่ารักษาพยาบาล ที่เก่ียวข้องโดยตรงกบั การบรกิ าร CAPD ให้กับหนว่ ยบริการหรอื สถานบริการท่รี บั การส่งต่อ กรณีมีการส่งต่อหรือรักษาแบบผู้ป่วยใน และค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากการบริการ CAPD โดยตรงให้หน่วยบริการหรือสถานบริการท่ีรับการส่งต่อเบิกจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์การสง่ ต่อผู้ปว่ ยสิทธิหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ๓.๓ การสนับสนุนค่าใช้จ่ายกรณีอ่ืนนอกจากค่าใช้จ่ายตามข้อ ๓.๒ แล้ว ส�ำนักงานได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายกรณอี ่นื ไว้ ดังน้ี (๑) กรณผี ปู้ ว่ ยยา้ ยหนว่ ยบรกิ าร สำ� นกั งานจะจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในเดอื นนน้ั ๆ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารแหง่ ใหมท่ ใี่ หก้ ารรักษา (๒) กรณีผู้ป่วยใหม่ที่รอวางสายที่มีภาวะยูรีเมีย และผู้ป่วยเก่าท่ีมีความจ�ำเป็นต้องหยุดล้างไตผ่านทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (CAPD) เป็นการช่ัวคราว หากมีความจ�ำเป็นต้องฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียมชั่วคราว(Temporary HD) ส�ำนักงานจะจ่ายชดเชยค่าบริการในอัตรา ๑,๕๐๐ บาทต่อครั้ง จ�ำนวนไม่เกิน ๙๐ วัน ท้ังน้ีหากหน่วยบริการ CAPD ไม่สามารถให้บริการ HD ได้เอง และส่งผู้ป่วยไปรับบริการ HD ที่หน่วยฟอกเลือดอื่นทไ่ี มไ่ ดเ้ ป็นหน่วยบริการ CAPD ในกรณที ี่หน่วยฟอกเลือดเป็นสถานบริการของเอกชน หนว่ ยบริการ CAPD ที่สง่ ไปจะต้องรับผิดชอบค่าบริการในการฟอกเลือดให้กับสถานบริการน้ัน โดยหน่วยบริการ CAPD ท่ีส่งไปสามารถเบิกค่าบรกิ ารจากสำ� นักงานตามอัตราทส่ี �ำนกั งานกำ� หนด สำ� หรบั ในกรณหี นว่ ยท่ีรบั ฟอกเลอื ดเปน็ หน่วยบรกิ าร CAPDให้หน่วยท่ีรับฟอกเลือดท�ำการเบิกค่าใช้จ่ายในการฟอกเลือดจากส�ำนักงานโดยตรง โดยบันทึกข้อมูลบริการTemporary HD ในโปรแกรม DMIS_CAPD กรณมี คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งฟอกเลอื ดดว้ ยเครอ่ื งไตเทยี มชว่ั คราว (Temporary HD) มากกวา่ ๙๐ วนั ใหห้ นว่ ยบรกิ ารทำ� เร่อื งขอขยายระยะเวลาต่อคณะกรรมการหรือคณะทำ� งานที่คณะกรรมการมอบหมาย โดยขอขยายระยะเวลาได้๑ ครัง้ เปน็ ระยะเวลาไม่เกิน ๓๐ วนั (๓) กรณีท่ีไม่สามารถกลับมารักษาโดย CAPD ได้ต้องเปลี่ยนเป็นการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียมแบบถาวร ตอ้ งขออนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการหรอื คณะทำ� งานทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย และเมอื่ ไดร้ บั การอนมุ ตั แิ ลว้ส�ำนักงานจะจัดให้มีการลงทะเบียนและเบิกค่าใช้จ่ายตามประกาศส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไขและอัตราการจ่ายค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขส�ำหรับบริการผู้ป่วยไตวายเร้ือรังระยะสุดทา้ ยด้วยวธิ ีการฟอกเลอื ดด้วยเครอ่ื งไตเทียม (Hemodialysis : HD) 295
(๔) กรณีเจ็บป่วยอ่ืนๆ หรือภาวะแทรกซ้อนอ่ืนนอกเหนือจาก CAPD หน่วยบริการจะได้รับค่าใช้จ่ายเหมาจา่ ยรายหวั ผปู้ ว่ ยนอก (สำ� หรบั กรณบี รกิ ารแบบผปู้ ว่ ยในใชค้ า่ ใชจ้ า่ ยบรกิ ารผปู้ ว่ ยในทวั่ ไป) และอน่ื ๆ ตามแนวทางเวชปฏบิ ตั ิการขอรบั คา่ ใชจ้ า่ ยเพ่ือบริการสาธารณสขุ ของส�ำนกั งาน๔. การขอรบั การสนบั สนุนจากสำ� นกั งาน ๔.๑ การรบั การสนับสนนุ น�ำ้ ยา CAPD ยา Erythropoietin และ สาย Tenckhoff catheter (๑) หนว่ ยบรกิ ารบนั ทกึ ข้อมลู เบกิ จ่ายน้�ำยา CAPD ยา Erythropoietin และสาย Tenckhoff catheterและอุปกรณอ์ ืน่ ๆ เช่น Transfer set, out port clamp, minicap ผ่านโปรแกรม DMIS_CAPD หรือโปรแกรมอื่นท่สี ำ� นกั งานก�ำหนด (๒) สำ� นกั งานจะให้การสนับสนนุ ผ่านระบบการบริหารจัดการผลิตภัณฑต์ ามที่ส�ำนักงานก�ำหนด ๔.๒ การขอรบั คา่ ใช้จา่ ยในการใหบ้ ริการ การขอรบั คา่ ตอบแทนหนว่ ยบรกิ ารแบบเหมาจา่ ยเพมิ่ เตมิ (On top) ใหห้ นว่ ยบรกิ ารบนั ทกึ ขอ้ มลู การบรกิ ารและการนัดติดตามผู้ป่วยผา่ นโปรแกรม DMIS_CAPD หรือโปรแกรมอ่นื ท่สี ำ� นักงานก�ำหนดทุกเดือน โดยสำ� นกั งานจะตรวจสอบข้อมูลจ�ำนวนผู้ป่วยและการให้บริการและตอบแทนให้เป็นรายเดือนหรือตามที่ได้รับรายงานข้อมูลการใหบ้ ริการ๕. การอทุ ธรณห์ ลังการจ่าย กรณีท่ีหน่วยบริการ เห็นว่าการจ่ายค่าตอบแทนของส�ำนักงานไม่ถูกต้องตามประกาศน้ี หรือมีค่าใช้จ่ายในการใหบ้ ริการผู้ปว่ ย CAPD นอกเหนอื จากแนวทางที่สำ� นกั งานกำ� หนด และเป็นภาระอย่างมากหรืออาจกระทบตอ่ คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร หนว่ ยบรกิ ารมสี ทิ ธอิ ทุ ธรณต์ อ่ สำ� นกั งานภายใน ๓๐ วนั นบั จากวนั ทไ่ี ดร้ บั รายงานการจา่ ยเงนิ296
ประกาศสำ� นกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรือ่ ง เกณฑก์ ารพจิ ารณาจ่ายค่าใชจ้ า่ ยเพอ่ื บริการสาธารณสขุ ส�ำหรับบรกิ ารรักษา โรคหลอดเลอื ดโคโรนารีผา่ นสายสวนในระบบหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมเกณฑ์การพิจารณาจ่ายค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขส�ำหรับบรกิ ารรกั ษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี า่ นสายสวนในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ใหม้ คี วามเหมาะสมมากยง่ิ ขน้ึ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตพิ .ศ.๒๕๔๕ ประกอบกบั ขอ้ ๒ ของประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์การด�ำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐และหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขการรบั คา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสขุ ของหนว่ ยบรกิ าร ลงวนั ที่ ๒๖ กนั ยายน ๒๕๕๙ประกอบข้อ ๒๗.๑.๓ ของเอกสารแนบท้ายประกาศ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ยกเลกิ ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง เกณฑใ์ นการวนิ จิ ฉยั โรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี า่ นสายสวนและเกณฑก์ ารพจิ ารณาจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั บรกิ ารรกั ษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารีผ่านสายสวน ในระบบหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ขอ้ ๒ เกณฑใ์ นการวนิ จิ ฉยั โรคหลอดเลอื ดโคโรนารี และเกณฑก์ ารพจิ ารณาจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสุข สำ� หรบั บริการรกั ษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารีผ่านสายสวน ในระบบหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ใหเ้ ปน็ไปตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศฉบับน้ี ข้อ ๓ ให้เลขาธิการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีอ�ำนาจวินิจฉัยช้ีขาดปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ามประกาศน้ี ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับ ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ศกั ด์ชิ ยั กาญจนวฒั นา รองเลขาธกิ าร รกั ษาการแทน เลขาธกิ ารส�ำนกั งานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ 297
เอกสารแนบทา้ ยประกาศสำ� นักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เร่ือง เกณฑก์ ารพจิ ารณาจา่ ยค่าใช้จ่ายเพอ่ื บริการสาธารณสุข สำ� หรบั บริการรกั ษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน ในระบบหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ โรคหลอดเลอื ดแดงโคโรนารี (Coronary artery disease) หมายถึง โรคที่เกดิ จากหลอดเลือดแดงที่เล้ียงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน ส่วนใหญ่เกิดจากไขมันและเน้ือเย่ือสะสมอยู่ในผนังของหลอดเลือด มีผลให้เยื่อบุผนังหลอดเลือดชั้นในต�ำแหน่งนั้นหนาตัวขึ้น ผู้ป่วยจะมีอาการและอาการแสดงเมื่อหลอดเลือดหัวใจได้ตีบตันไปแล้วอย่างน้อยร้อยละ ๕๐ อาการส�ำคัญท่ีพบได้บ่อย เช่น อาการปวดเค้นอก (Angina) ใจส่ัน เหง่ือออก เหน่ือยขณะออกแรง เปน็ ลมหมดสติ หรอื เสยี ชวี ติ เฉยี บพลนั ลกั ษณะอาการปวดเคน้ อกของโรคหวั ใจขาดเลอื ดจะมลี กั ษณะเฉพาะ คอื อาการเจบ็ หนกั ๆ เหมอื นมอี ะไรมาทบั หรอื รดั บรเิ วณกลางหนา้ อกใตก้ ระดกู sternum อาจมรี า้ วไปบรเิ วณคอ กราม ไหล่ และแขนท้งั ๒ ขา้ งโดยเฉพาะขา้ งซา้ ย มักเป็นมากขน้ึ ขณะออกก�ำลัง จะมอี าการปวดเคน้ อกครง้ั ละ๒-๓ นาที เม่อื นงั่ พักหรืออมยา Nitroglycerin อาการจะทเุ ลาลง โดยสามารถแบง่ อาการทางคลินิกได้ ๒ กลุม่ คอื๑. ภาวะปวดเค้นอกคงที่ (Stable angina) หรอื ภาวะปวดเคน้ อกเรื้อรัง (Chronic stable angina) หมายถึง กลมุ่ อาการทีเ่ กิดจากโรคหวั ใจข าดเลือดเรื้อรงั (Chronic ischemic heart disease) โดยผู้ปว่ ยจะมีอาการปวดเค้นอกเป็นๆ หายๆ เป็นระยะเวลานานกวา่ ๒ เดอื นขน้ึ ไป๒. ภาวะหวั ใจขาดเลือดเฉยี บพลัน (Acute Coronary Syndrome: ACS) หมายถึง กล่มุ อาการโรคหวั ใจขาดเลอื ดทเี่ กิดขนึ้ เฉียบพลันประกอบดว้ ยอาการทสี่ ำ� คัญ คอื ปวดเคน้ อกรุนแรงเฉยี บพลัน หรือเจ็บขณะพัก (rest angina) นานกวา่ ๒๐ นาที หรือ ปวดเค้นอกซ่งึ เกดิ ข้ึนใหม่ หรอื รุนแรงขึน้ กว่าเดมิจ�ำแนกเปน็ ๒ ชนดิ ดังน้ี ๒.๑. ผู้ป่วยท่ีมีกล้ามเน้ือหัวใจตายเฉียบพลันชนิด ST segment ยกสูง (ST-elevation MI : STEMI) วินจิ ฉยั โดย ๒.๑.๑. EKG มีการยกขนึ้ (elevation) มากกว่า ๐.๑ mV ตงั้ แต่ ๒ lead ตดิ กันขน้ึ ไป หรือ ๐.๒ mV ใน lead V๑-V๓ หรือมลี ักษณะ Left Bundle Branch Block (LBBB) ทีเ่ กดิ ขึ้นใหม่ ๒.๑.๒. มีประวัติเจ็บปวดเค้นอกนานกว่า ๒๐ นาที ยกเว้น ในบางกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถบอกได้ เช่นผู้ป่วยท่ีมาด้วย Post cardiac arrest, Shock, Syncope หรือ Cardiogenic-dyspnea หรอื ผปู้ ่วยทม่ี ีภาวะโรคเบาหวานแทรกซอ้ น ๒.๑.๓. มีประวตั ิ ข้อใดข้อหน่ึง หรือทัง้ ๒ ข้อ ตอ่ ไปน้ี (ก) มีประวัติเจ็บแนน่ หน้าอกนานกว่า ๒๐ นาที (ข) มคี ่า Cardiac enzyme อยา่ งนอ้ ย ๑ ข้อใน ๓ ข้อ ต่อไปนี้ ● CK-MB มากกว่า หรอื เท่ากบั ๒ เทา่ ของคา่ Upper normal limit ของโรงพยาบาล นั้นๆ เฉพาะในกรณีที่ไม่มีผล CK-MB อนุโลมให้ใช้ค่า CK ได้ (โดยที่ CK มากกว่า หรอื เท่ากับ ๒ เท่าของคา่ Upper normal limit ของโรงพยาบาลน้ันๆ298
● Troponin T มากกว่า หรอื เทา่ กบั ๐.๑ ng/mL หรอื High Sensitivity Troponin T มากกวา่ หรือเทา่ กบั ๐.๐๑๓ ng/mL (หรอื ๙๙ percentile ของคา่ สูงสุดของแต่ละหอ้ ง ปฏบิ ัติการนั้นๆ) ● Troponin I มากกว่า หรือ เท่ากับ ๒.๐ ng/mL ๒.๒. ผ้ปู ว่ ยทีม่ กี ล้ามเน้ือหัวใจตายเฉียบพลนั ชนิด ST segment ไมย่ กสูง (Non ST-elevation MI : NSTEMI) วินจิ ฉัยโดย (มีทง้ั ๓ ขอ้ ) ๒.๒.๑. มกี ารเปลี่ยนแปลงของ EKG เปน็ แบบ ST depression หรือ Inverted T wave ๒.๒.๒. มีประวตั ิเจ็บแนน่ หนา้ อกนานกวา่ ๒๐ นาที ยกเว้น ในบางกรณีที่ผ้ปู ว่ ยไมส่ ามารถบอกได้ เชน่ ผู้ป่วยที่มาด้วย Post cardiac arrest, Shock, Syncope หรือ Cardiogenic dyspnea หรอื ผปู้ ว่ ยท่ีมภี าวะโรคเบาหวานแทรกซอ้ น ๒.๒.๓. มคี า่ Cardiac enzyme อยา่ งนอ้ ย ๑ ขอ้ ใน ๓ ข้อ ต่อไปน้ี ● CK-MB มากกวา่ หรอื เทา่ กบั ๒ เท่าของค่า Upper normal limit ของโรงพยาบาลนน้ั ๆ เฉพาะในกรณที ไ่ี ม่มผี ล CK-MB อนโุ ลมให้ใช้ค่า CK ได้ (โดยท่ี CK มากกวา่ หรอื เท่ากับ ๒ เทา่ ของค่า Upper normal limit ของ โรงพยาบาลนน้ั ๆ) ● Troponin T มากกว่า หรือ เท่ากับ ๐.๑ ng/mL หรือ High Sensitivity Troponin T มากกวา่ หรอื เทา่ กับ ๐.๐๑๓ ng/mL (หรือ ๙๙ percentile ของคา่ สูงสดุ ของแต่ละหอ้ ง ปฏิบตั กิ ารน้นั ๆ) ● Troponin I มากกว่า หรือ เท่ากบั ๒.๐ ng/mL ๒.๓. ภาวะปวดเคน้ อกไมค่ งท่ี (Unstable angina) กรณที ม่ี อี าการปวดเคน้ อกนอ้ ยกวา่ ๒๐ นาที และมแี นวทาง การวนิ จิ ฉัยโดย (ตอ้ งมที ัง้ ๓ ข้อ) ๒.๓.๑. EKG พบลักษณะอยา่ งหนึ่งอยา่ งใดต่อไปนี้ (๑) STsegment depression มากกวา่ หรือเทา่ กับ ๐.๕ mm (๐.๐๕ mV) ต้งั แต่ ๒ leads ขึ้นไป (๒) T wave inversion มากกวา่ หรอื เทา่ กบั ๑ mm. (๐.๑ mV) (๓) EKG normal ๒.๓.๒. มีประวัติเจบ็ แน่นหนา้ อกเข้าไดก้ ับข้อใดขอ้ หน่ึงต่อไปน้ี (๑) Angina at rest (อาการปวดเค้นอกแบบ Angina ทีเ่ กิดขน้ึ ขณะพกั ภายใน ๔๘ ชม.) (๒) Subacute angina (อาการปวดเค้นอกมากกว่า ๔๘ ชั่วโมงและภายใน ๒ สัปดาห์) มกี ารปวดเคน้ อก angina เพม่ิ มากขน้ึ โดยเพมิ่ ขนึ้ อยา่ งนอ้ ย ๑ CCS class หรอื มคี วามรนุ แรง อย่างน้อยเท่ากับ CCS class III ยกเว้นในบางกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถบอกได้ เช่น ผู้ป่วย ทีม่ าดว้ ย Post cardiac arrest, Shock, Syncope หรอื Cardiogenic dyspnea หรอื ผูป้ ่วย เบาหวาน (๓) New onset angina ของ Acceleration angina (ภายใน ๒ เดือน) อาการปวดเค้นอก แบบ angina ครั้งแรกที่เกิดข้ึนใหม่ภายในเวลาไม่เกิน ๒ เดือน โดยมีระดับความรุนแรง ของการเจ็บหน้าอกอย่างน้อยเทียบเท่ากับ Canadian Cardiovascular Society (CCS) class III (ตาราง ๑) 299
หมายเหตุ : อาการปวดเคน้ อกแบบ Angina (Typical angina chest pain) หมายถึง อาการปวดเค้นอกที่ระบุได้ชัดเจนว่าเกิดจาก Myocardial ischemia โดยมีอาการดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) เจ็บ แน่น บริเวณหนา้ อก กราม ไหล่ และแขน (ข) มสี ่ิงกระตุ้นท�ำใหเ้ กดิ อาการ เช่น การออกแรง ภาวะเครยี ด (ค) อาการจะทุเลาลงหรือดขี นึ้ เมือ่ หยดุ พกั หรือได้รับยา Nitroglycerin ๒.๓.๓. มคี า่ Cardiac enzyme อยใู่ นเกณฑ์ปกติตาม Criteria ท่ใี ช้ ทั้ง ๓ ข้อ ดงั ตอ่ ไปนี้ ● CK-MB นอ้ ยกวา่ ๒ เทา่ ของค่า Upper normal limit ของโรงพยาบาลนน้ั ๆ ในกรณีที่ ไม่มผี ล CK-MB อนุโลมใหใ้ ชค้ ่า CK ได้ โดยท่ี CK ตอ้ งนอ้ ยกวา่ ๒ เท่า ของค่า Upper normal limit ของโรงพยาบาลนน้ั ● Troponin T มากกว่า หรือ เทา่ กับ ๐.๑ ng/mL หรือ High Sensitivity Troponin T มากกวา่ หรอื เท่ากบั ๐.๐๑๓ ng/mL (หรอื ๙๙ percentile ของคา่ สูงสุดของแต่ละหอ้ ง ปฏิบัติงานนนั้ ๆ) ● Troponin I มากกวา่ หรือ เทา่ กับ ๒.๐ ng/mL หมายเหตุ : ๑. ผู้ป่วยที่มาด้วย Cardiogenic dyspnea (๑.หายใจล�ำบาก หอบ เหนื่อยขณะออกแรงหรือ ขณะพัก ๒.นอนราบไม่ได้ ต้องลุกนั่ง หรือนอนศีรษะสูงโดยใช้หมอน ๒ ใบ ๓.หายใจลำ� บากตอน กลางดึกต้องต่ืนลุกขึ้น เนื่องจากรู้สึกเหน่ือยและกระสับกระส่าย) ไม่มีอาการปวดเค้นอก แต่ EKG มี ST-T changes มี Cardiac marker ปกติและมี Document coronary arterydisease ชดั เจน จากผลการตรวจ Coronary angiogram ในกรณนี ้ีให้วินิจฉยั เป็น Unstable angina ๒. ผู้ป่วยท่ีไมไ่ ด้รบั การตรวจ CK,CK-MB หรอื Troponin T/I แต่ EKGมี ST-T change หรือ inverted T และมีอาการปวดเคน้ อกมากกว่า ๒๐ นาทีตารางที่ ๑ แสดงอาการปวดเคน้ อกท่แี บ่งตามเกณฑข์ อง Canadian Cardiac Society (CCS)Class I อาการปวดเค้นอกเกดิ เฉพาะเมือ่ ออกกำ� ลงั กายหนกั ๆ หรอื ออกก�ำลงั กายเป็นเวลานานClass II อาการปวดเคน้ อกเกิดเมอ่ื ออกแรงปานกลาง เชน่ เดินขึ้นบันไดไดม้ ากกว่า ๑ ช้นั ด้วยความเรว็ ปกติ หรอื เกิดขณะมีความเครียดทางอารมณ์Class III อาการปวดเคน้ อกเกดิ แม้เพียงทำ� กจิ วตั รประจ�ำวันท่เี บาๆ เชน่ เดนิ ขน้ึ บนั ไดได้เพียง ๑ ชน้ั เทา่ นัน้ หรือเดินไดร้ ะยะทาง นอ้ ยกวา่ ๑๐๐ เมตรClass IV อาการปวดเค้นอกเกดิ ขน้ึ แมข้ ณะพัก ไม่สามารถท�ำกิจกรรมเล็กๆ นอ้ ยๆ ได้300
เกณฑ์การพจิ ารณาจา่ ยคา่ ใช้จา่ ยเพ่อื บรกิ ารสาธารณสุขส�ำหรับบริการรกั ษา โรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี ่านสายสวน (Percutaneous Coronary Intervention; PCI) ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ก�ำหนดแนวทางและข้อมูลท่ีนน�ำมาประกอบการพิจารณาจากการบนั ทึกขอ้ มูลในเวชระเบียน ในประเด็นต่าง ๆ ดังน้ี (๑) อาการปวดเค้นอก (Anginal symptom) (๒) หลกั ฐานการบง่ ช้กี ารขาดเลอื ดของกลา้ มเนอื้ หัวใจ (Myocardial Ischemia) (๓) การใหก้ ารรักษาทางยาอย่างเตม็ ท่ี (Maximal anti-ischemic therapy) (๔) รอยโรคของหลอดเลือดโคโรนารี (Angiographic anatomy) (๕) มรี อยโรคของหลอดเลือดโคโรนารีท่เี คยรักษามาก่อน แลว้ มกี ารตีบซ้ำ� (Target vessel failure)อาการปวดเคน้ อก ( Angina symptom)๑. การทำ� PCI ในผปู้ ว่ ยทมี่ กี ลา้ มเนอื้ หวั ใจตายเฉยี บพลนั ชนดิ ST segment ยกสงู (ST-elevation MI : STEMI) ผปู้ ว่ ยทเี่ กดิ ภาวะ STEMI จำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การเปดิ หลอดเลอื ดโดยเรว็ ทส่ี ดุ นบั ตงั้ แตเ่ กดิ อาการดว้ ยการทำ� PCI ตามขอ้ บ่งชขี้ ้อใดขอ้ หน่งึ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑.๑. การทำ� primary PCI ควรทำ� ภายในเวลาไมเ่ กนิ ๑๒ ชว่ั โมง หลงั จากอาการปวดเคน้ อก (Onset-to-balloon นอ้ ยกวา่ ๑๒ ชว่ั โมง) ๑.๒. การส่งต่อเพ่ือท�ำ PCI ๑.๒.๑. Primary PCI ภายในเวลา ๙๐ นาที นับต้ังแต่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลแรก จนถึงโรงพยาบาล ทใี่ ห้บริการ PCI ๑.๒.๒. Transfer PCI ผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic agent และระยะเวลาไม่เกิน ๒๔ ชว่ั โมง หลังจากมอี าการ ๑.๓. ในรายที่เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว (Cardiogenic shock, Heart failure) หรือยังมีอาการปวดเค้นอก (Ischemic pain) ควรได้รับการทำ� PCI แมว้ ่า Symptom onset เกิน ๑๒ ชวั่ โมงนับตัง้ แตเ่ กดิ อาการ ๑.๔. ในผปู้ ว่ ยกลา้ มเนอื้ หวั ใจตายเฉยี บพลนั ทไี่ ดร้ บั การรกั ษาดว้ ยยาละลายลม่ิ เลอื ดและไมส่ ามารถเปดิ เสน้ เลอื ด ได้ส�ำเร็จภายหลังจากการบริหารยาไปแล้ว ๖๐-๙๐ นาที (Failed thrombolysis) ผู้ป่วยยังไม่หายจาก อาการปวดเค้นอก หรือการตรวจ EKG พบ ST-segment ท่ียกสูงไม่ลดลงหรือลดลงไม่ถึงคร่ึงหน่ึง หรอื ระดบั Cardiac maker ไมล่ ดลง ควรไดร้ บั การทำ� หตั ถการปฏบิ ตั ริ กั ษาหลอดเลอื ดหวั ใจดว้ ยการขยาย หลอดเลอื ดหัวใจดว้ ยบอลลนู (Rescue PCI) ภายใน ระยะเวลาไมเ่ กนิ ๒๔ ช่ัวโมงหลังเกดิ อาการ ๑.๕. ในผปู้ ว่ ยท่ไี ม่มอี าการปวดเค้นอกแล้ว (Angina symptom) สามารถใหก้ ารรักษาไดเ้ มอื่ มหี ลักฐานพบวา่ มกี ารขาดเลือดของกล้ามเนอ้ื หัวใจ (Delayed PCI) ๑.๖. กรณีผู้ป่วยเกิดอาการปวดเค้นอกซ้�ำขณะท่ีนอนอยู่ในโรงพยาบาลหลังให้การรักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ ขาดเลอื ด (Recurrent angina หรอื Recurrent Myocardial Infarction) 301
๒. การท�ำ PCI ในผูป้ ่วยทมี่ ีกลา้ มเนื้อหวั ใจตายเฉียบพลนั ชนดิ ST segment ไมย่ กสงู (NSTEMI) และผ้ปู ว่ ย ทมี่ ีกล้ามเนือ้ หวั ใจขาดเลือดชนดิ ปวดเคน้ อกไม่คงท่ี (Unstable angina) ๒.๑. ในผปู้ ว่ ยท่มี ีความเสี่ยงสงู (High risk) โดยก�ำหนดจากคา่ TIMI risk score (Thrombolysis in Myocardial Ischemia risk score) มากกว่าหรือเท่ากับ ๓ ผู้ป่วยมีความเสี่ยงที่จะมีความรุนแรงของโรคท�ำให้เกิด กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันหรือเสียชีวิต ควรจะได้รับการตรวจด้วยการฉีดสารทึบรังสี (Coronary angiography) รว่ มกบั การทำ� PCI ภายในเวลา ๗๒ ชวั่ โมงหลังเกดิ อาการ ๒.๒. ในผู้ป่วยที่ไม่มีอาการแล้วสามารถรักษาได้เมื่อมีหลักฐานว่ามีการขาดเลือดของกล้ามเนื้อหัวใจ (Elective PCI) เชน่ เดียวกบั ผปู้ ่วยท่ไี มม่ อี าการปวดเคน้ อก (Angina symptom) ในกรณี STEMI๓. การทำ� PCI ในผปู้ ่วยทมี่ กี ลา้ มเน้อื หัวใจขาดเลือดชนดิ ปวดเค้นอกคงที่ (Stable angina) ผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดปวดเค้นอกคงที่ (Stable angina) สามารถรักษาด้วยการท�ำ Elective PCI ได้เม่ือมีหลักฐานพบว่ามีการขาดเลือดของกล้ามเนื้อหัวใจหรือมีอาการปวดเค้นอกตามเกณฑ์ ของ Canadian Cardiovascular Society (CCS) อยา่ งใดอย่างหน่งึ ดงั ต่อไปนี้ ๓.๑. มอี าการปวดเคน้ อกแมอ้ อกแรงเพยี งเล็กนอ้ ยหรอื ขณะอยเู่ ฉยๆ (CCS III-IV) ๓.๒. มอี าการปวดเค้นอกขณะออกแรงในระดับปกติ หรอื ออกแรงในระดับท่ีนอ้ ยกวา่ ปกติ (CCS I-II) ในกลมุ่ น้ี ต้องพบหลกั ฐานว่ามหี ัวใจขาดเลือดชดั เจน ๓.๓. กรณที ไ่ี มเ่ คยเกดิ อาการปวดเคน้ อก (Asymptomatic) ในกลมุ่ นต้ี อ้ งพบหลกั ฐานวา่ มหี วั ใจขาดเลอื ดชดั เจน หรือมีอาการอนื่ ซ่งึ ตอ้ งสงสยั ว่าเกิดจากโรคหลอดเลือดโคโรนารี ไดแ้ ก่ หวั ใจวาย หอบเหนือ่ ยขณะออกแรง หรอื หวั ใจเต้นผดิ จังหวะรนุ แรงชวั่ คราว เชน่ Paroxysmal ventricular tachycardia/ fibrillation หมายเหตุ : ในกรณีทมี่ กี ารทำ� Ad hoc PCI ตอ้ งมขี ้อมลู สนับสนนุ (ขอ้ ใดข้อหนึง่ ) ดังตอ่ ไปน้ี ● Haemodynamically unstable patients (including cardiogenic shock) ● Culprit lesion in STEMI and NSTE-ACS ● Stable low-risk patients with single or double vessel disease (proximal LAD excluded) and favourable morphology (RCA, non-ostial LCx, mid or distal LAD) ● Non-recurrent restenotic lesions.302
หลกั ฐานการบง่ ชี้การขาดเลือดของกล้ามเนอื้ หัวใจ (Myocardial Ischemia)๑. การทดสอบสมรรถภาพหัวใจด้วยการวิ่งสายพาน (Exercise treadmill test) ไดค้ ะแนน Duke Treadmill score นอ้ ยกวา่ ๕ (Intermediate risk score ถึง High risk score)๒. Stress echocardiography ๒.๑ พบการบบี ตัวของหวั ใจห้องซา้ ยลา่ งน้อยกว่า ๓๕ % ๒.๒ พบวา่ มี Wall motion abnormality มากกว่า ๒ Segments ของกลา้ มเนื้อหัวใจ เกิดขนึ้ ท่ี low dose dobutamine (<๑๐ µg/kg/min) หรอื ทอ่ี ัตราการเต้นของหัวใจนอ้ ยกวา่ ๑๒๐ ครั้งตอ่ นาทีการให้การรกั ษาทางยา Anti-ischemic อย่างเตม็ ที่ (Maximal anti-ischemic therapy)ผ้ปู ่วยตอ้ งมปี ระวตั กิ ารรกั ษาดว้ ยยารักษากล้ามเนื้อหัวใจขาดเลอื ดในกรณดี ังต่อไปนี้● กรณีท่ีใช้ยาแลว้ ไมไ่ ดผ้ ล หรอื ไม่ดีขนึ้● ใช้ยาไปชว่ งระยะเวลาหนึ่งจนมีอาการดขี ึ้นแล้วกลบั มามีอาการของโรคอกี ครง้ัท้ังน้ี เพื่อป้องกันการท�ำ PCI ในผู้ป่วยที่มาตรวจประเมินสุขภาพโดยไม่มีอาการทางคลินิก ดังน้ันจึงต้องมีประวัติการใหก้ ารรกั ษาดว้ ยยาดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) Anti-ischemic therapy เป็นยาท่ีให้เพ่ือบรรเทาหรือป้องกันกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดโดยผู้ป่วยต้องได้ รับยาอย่างน้อย ๒ ขนาน ซึ่งเป็นยาท่ีมีกลไกหลักคือลดปริมาณ oxygen demand ของกล้ามเนื้อหัวใจ นอกจากน้ยี าบางตัวยงั มีฤทธข์ิ ยายหลอดเลือดหัวใจโดยตรง ไดแ้ ก่ ● Beta-blockers เช่น Metoprolol, Atenolol, Propanolol ● Calcium blockers ไดแ้ ก่ Verapamil, Diltiazem, Nifedipine ● Nitrates เช่น Nitroglycerin (Patch, Spray, Sublingual, Oral, Intravenous) ๒) ยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet agents) เป็นยาที่ออกฤทธ์ิยับย้ังกระบวนการกระตุ้นและเกาะกลุ่มกัน ของเกล็ดเลอื ด เช่น Aspirin, Aspent, Clopidogrel 303
๓) ยาตา้ นการเกดิ ลิม่ เลือด (Anticoagulants) เชน่ ● Unfractionated heparin (UFH) ● Low-molecular-weight heparin (LMWH) ● Direct thrombin inhibitor และ warfarin ● Low-molecular-weight heparin (LMWH) ได้แก่ Enoxaparin, Dalteparin, Fondaparinux ● Direct thrombin inhibitors ไดแ้ ก่ Bivalirudin ๔) ยาสลายล่มิ เลอื ด (Thrombolytics หรือ Fibrinolytics) ได้แก่ ● non-Fibrin specific thrombolytics: เช่น Streptokinase, Anistreplase ● Fibrin specific thrombolytics: เช่น Alteplase (Recombinant tissue plasminogen activator หรือ rtPA), Reteplase (r-PA), Tenecteplase (TNK-tPA) ๕) Angiotensin-converting enzyme inhibitors เชน่ Captopril, Enalapril, Ramiprilรอยโรคของหลอดเลอื ดโคโรนารี (Angiographic Coronary anatomy)การตรวจสอบรอยโรคของหลอดเลือดโคโรนารี พิจารณาจากผลการตรวจด้วยการฉีดสี (Coronary angiogram)โดยมีเกณฑด์ งั นี้ ๑) หลอดเลอื ดมกี ารตบี มากกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ของเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางของหลอดเลอื ด (diameter stenosis) ไดแ้ ก่ ● Single vessel - CAD with Proximal LAD ● Double vessel - CAD with Proximal LAD ● Triple vessel - CAD without LM ● Single – Double vessel - CAD without Proximal LAD ๒) หลอดเลอื ดใหญ่ด้านซ้าย (Left main coronary artery) ตีบมากกวา่ ร้อยละ ๕๐ ๓) มีเส้นเลือดอุดตันในระดับท่ีรุนแรง (Chronic total occlusion) ท่ียังมีหลักฐานว่าเลี้ยงกล้ามเน้ือหัวใจ ที่ไม่ตาย ไม่เคยเป็นโรคกล้ามเนอ้ื หวั ใจตายเดิม ๔) Isolated left main lesion ที่ Ostium หรอื mid-body ๕) Distal left main with single vessel disease (Base on SYNTAX study) * กรณีทีเ่ ป็น multi vessel disease จะตอ้ งมี SYNTAX score น้อยกว่า ๓๓304
ขอ้ บง่ ชใี้ นการใสส่ ายสวนหลอดเลอื ดโคโรนารี ดว้ ยขดลวดเคลอื บยาตา้ นการตบี ซำ้� (Drug-Eluting Stent; DES) ขดลวดค�ำ้ ยันชนิดเคลอื บยา (Drug eluting stent) ใชเ้ พือ่ ป้องกันการตบี ซำ้� ของเสน้ เลอื ดโคโรนารีในผ้ปู ว่ ยทม่ี ีอาการปวดเคน้ อก (Angina) หรอื มภี าวะกล้ามเนื้อหวั ใจขาดเลือด ท่มี ขี ้อบ่งช้ีดงั ต่อไปน้ี ๑) รอยโรคบรเิ วณทางแยกของเสน้ เลือด (Bifurcation lesions) ๒) ขนาดหลอดเลอื ดโคโรนารเ่ี ล็กกว่า ๒.๕ มลิ ลิเมตร (Small vessel, Vessel diameter < ๒.๕ mm) ๓) รอยโรคของหลอดเลอื ดมีขนาดยาวมากกวา่ ๒๐ มลิ ลเิ มตร (Long lesion length > ๒๐ mm) ๔) ผปู้ ว่ ยเบาหวาน (Diabetes) ๕) มีเสน้ เลอื ดอดุ ตนั ในระดบั ทร่ี ุนแรง มากกว่า ๓ เดอื น (Chronic total occlusion >๓ months) ๖) เกิดเสน้ เลอื ดตบี ซ�ำ้ หลงั จากรกั ษาดว้ ยการใสส่ ายสวนหัวใจ (In-stent restenotic lesion) ซึ่งเกดิ จากการ เพมิ่ จำ� นวน (Proliferation) อยา่ งผิดปกตขิ องผนงั หลอดเลือดชัน้ ใน เนื่องจากมี Injury ตอ่ ผนังหลอดเลอื ด ในขณะท่ีทำ� การขยายหลอดเลือด เรยี กวา่ Neointimal hyperplasia ซ่ึงพบไดป้ ระมาณ ๓๐ % ของการ ทห่ี ลอดเลือดตีบซ้ำ� (restenosis) ๗) ผู้ปว่ ยไตวายเรอื้ รงั (Chronic kidney disease: CKD) ท่ีมีการท�ำงานของไตบกพร่องอย่างรนุ แรง (CKD; CrCl < ๓๐ ml./min/๑.๗๓ m2 body surface area ) ๘) รอยโรคทีห่ ลอดเลือดแดงใหญแ่ ขนงซ้าย (Left main coronary artery ; Ostium หรอื Mid portion) ๙) รอยโรคบริเวณหลอดเลอื ด Aorta (Aorto-ostial lesion) ๑๐) รอยโรคท่เี คยท�ำ Bypass correction/surgery 305
แนวทางปฏบิ ัติในการขอรบั คา่ ใชจ้ ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสำ� หรับบริการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารผี ่านสายสวน ในระบบหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙๑. ผูม้ สี ทิ ธิ หมายถงึ ประชาชนผู้มสี ิทธิในระบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ และ ผปู้ ระกนั ตน (สทิ ธิประกนั สงั คม) ที่สง่ เงนิ สมทบไม่ครบ ๓ เดือน๒. หน่วยบริการที่สามารถเบิกชดเชยค่าบริการกรณีให้บริการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน (Percutaneous Coronary Intervention: PCI) ต้องเป็นหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การตรวจประเมิน และไดร้ บั การประกาศขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยบรกิ ารรบั สง่ ตอ่ เฉพาะดา้ นการทำ� หตั ถการรกั ษาโรคหลอดเลอื ด โคโรนารผี ่านสายสวนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยแบ่งเป็น ๒ ระดบั ดงั น้ี ๒.๑. หน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะด้านการท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน ระดับ ๑ หมายถงึ หนว่ ยบรกิ ารทใี่ หบ้ รกิ ารเตม็ รปู แบบ สามารถทำ� การตรวจสวนหวั ใจเพอ่ื การวนิ จิ ฉยั และทำ� หตั ถการ เพ่ือการรักษา โดยมีการบริการผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือด เพ่ือรองรับการผ่าตัดฉุกเฉินในกรณีที่เกิด ผลแทรกซ้อนจากการทำ� หตั ถการสวนหัวใจอยู่ในหน่วยบริการ ๒.๒. หน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะด้านการท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน ระดับ ๒ หมายถงึ หน่วยบรกิ ารทีส่ ามารถท�ำการตรวจสวนหัวใจและทำ� หัตถการเพื่อการรกั ษาตามเกณฑ์ท่ี สปสช. ก�ำหนด๓. หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะด้าน PCI ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ใหบ้ ริการทำ� หัตถการรักษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี ่านสายสวน ดังน้ี ๓.๑. ให้บรกิ ารผปู้ ่วยในพื้นทีร่ ับผดิ ชอบของตนเอง หรอื รบั ส่งตอ่ จากหนว่ ยบริการอนื่ ในเครอื ข่ายหนว่ ยบริการ ๓.๒. กรณกี ารใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยนอกพน้ื ทจ่ี งั หวดั ทห่ี นว่ ยบรกิ ารนนั้ ตง้ั อยู่ แตย่ งั อยภู่ ายในเขตรบั ผดิ ชอบของ สปสช.เขต ให้เป็นไปตามระบบส่งต่อภายในเขต หรือตามการพิจารณาของอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพเขต (อปสข.) พิจารณาตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม เพ่ือให้เกิดการเข้าถึงบริการของประชาชนในพื้นท่ี ตามระบบการสง่ ต่อภายในเขต ๓.๓. กรณกี ารใหบ้ รกิ ารกบั ผปู้ ว่ ยนอกพน้ื ทเ่ี ขตทห่ี นว่ ยบรกิ ารนนั้ ตงั้ อยู่ ใหเ้ ปน็ ไปตามระบบสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยขา้ มเขต โดย สปสช.เขตต้องสนับสนุนให้ประชาชนในพ้ืนท่ีขาดแคลนบริการ สามารถเข้าถึงบริการได้โดยสะดวก ตามเป้าหมายหรือจำ� นวนบรกิ ารทจ่ี ำ� เปน็ ในแต่ละพืน้ ที่๔. หน่วยบริการที่ข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะด้าน PCI ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ใหบ้ รกิ ารทำ� หตั ถการรกั ษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารผี า่ นสายสวน พรอ้ มจดั เกบ็ ขอ้ มลู การรกั ษาผปู้ ว่ ยในเวชระเบยี น ดังน้ี ๔.๑. มกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูลของผ้ปู ว่ ยแตล่ ะราย ๔.๒. มีการจัดเกบ็ ข้อมูลการทำ� หัตถการของแพทยแ์ ต่ละคน ๔.๓. มกี ารจัดเกบ็ สถิตผิ ลการรกั ษาและภาวะแทรกซอ้ นของหน่วยบรกิ ารอยา่ งเป็นระบบ ๔.๔. ตอ้ งส่งขอ้ มูลการให้บรกิ ารผูป้ ว่ ยเพือ่ การเบกิ จา่ ย ที่เปน็ ไปตามแนวทางท่ี สปสช.กำ� หนด ๔.๕. ต้องจัดเกบ็ ข้อมลู ทงั้ หมด เพอ่ื การตรวจสอบภายหลงั เปน็ ระยะเวลา ๕ ปี๕. หน่วยบริการส่งข้อมูลการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขในโปรแกรม e-Claim ภายในระยะเวลา ๓๐ วนั นับจากวันทีจ่ �ำหนา่ ยผปู้ ่วย (Discharge) ท้งั นี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามคู่มือแนวทางปฏิบัติในการขอรบั ค่าใช้จา่ ย ในการให้บรกิ ารสาธารณสขุ ที่ สปสช. กำ� หนด306
๖. การเบิกชดเชยค่าอวัยวะเทยี มและอุปกรณ์บ�ำบัดรักษา ๖.๑. การเบิกชดเชยค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์บ�ำบัดรักษา กรณีให้บริการท�ำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือด โคโรนารผี า่ นสายสวน (Percutaneous Coronary Intervention : PCI) ตามรายการที่ สปสช. กำ� หนด เบกิ ไดเ้ ฉพาะหน่วยบรกิ ารท่ีผา่ นการตรวจประเมนิ ศกั ยภาพตามประกาศฯ เท่าน้ัน ๖.๒. รายการ Stent รหัส ๔๓๐๔ สายสวนเพื่อการขยายหลอดเลือดโคโรนารด่ี ว้ ยขดลวด (Coronary stent) และ รหัส ๔๓๐๕ สายสวนเพื่อการขยายหลอดเลือดโคโรนารี่ด้วยขดลวดเคลือบยาต้านการตีบซ้�ำ (Drug - eluting stent) เบิกในระบบ VMI (Vendor Managed Inventory) เท่านั้น ๖.๓. รายการอวัยวะเทียมและอุปกรณบ์ ำ� บดั รักษาอน่ื ๆ เบิกในระบบโปรแกรม e-Claim๗. อัตราการจ่ายชดเชยค่าบริการสาธารณสุขตามตามระบบ DRGs และ ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์บ�ำบัดรักษา ตามคูม่ ือแนวทางปฏบิ ตั ิในการขอรับคา่ ใชจ้ า่ ย ในการให้บรกิ ารสาธารณสุขท่ี สปสช.ก�ำหนด๘. การอุทธรณ์ ในกรณีท่ีหน่วยบริการมีปัญหาไม่สามารถใช้อุปกรณ์สายสวนหัวใจ ท่ีส�ำรองไว้ในระบบ VMI รหสั ๔๓๐๔ และรหัส ๔๓๐๕ ให้อุทธรณต์ ามขั้นตอนดังนี้ ๘.๑. บันทึกข้อมูลการรักษา รหัสอุปกรณ์สายสวนหัวใจพร้อมทั้ง Serial Number ของอุปกรณ์และรายการ อุปกรณอ์ ่ืนๆ ทั้งหมดในโปรแกรม e-Claim ๘.๒. ท�ำหนังสืออุทธรณ์ไปที่ สปสช. ตามแบบฟอร์มการอุทธรณ์การขอรับค่าใช้จ่ายกรณีขดลวดค้ายันผนัง หลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ (Coronary Stent) โดยใชแ้ บบฟอรม์ ตามท่ี สปสช.ก�ำหนด๙. รายการเอกสารท่หี นว่ ยบรกิ ารต้องจัดเตรียมเพ่ือการขออทุ ธรณ์ ๙.๑. ส�ำเนาเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ๙.๒. สำ� เนาใบสรปุ การรกั ษาผู้ปว่ ยใน (Discharge summary) ๙.๓. สำ� เนาใบตรวจรา่ งกาย/ใบประเมินสภาพรา่ งกายแรกรบั /ส�ำเนาใบส่งตวั เพอื่ รบั การรกั ษาต่อ (ถ้ามี) ๙.๔. ส�ำเนาหลักฐานผลการตรวจเพื่อการวินิจฉัยท่ีส�ำคัญได้แก่ EKG ผลการตรวจสวนหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Artery Angiography: CAG) และอ่นื ๆที่เกี่ยวข้อง ๙.๕. ส�ำเนาหลักฐานบันทกึ การทำ� หตั ถการรักษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารีผ่านสายสวน ๙.๖. ส�ำเนาบนั ทกึ การรักษาของแพทย์ และบนั ทกึ ความก้าวหน้า (Doctor’s order sheet/ Progress note) ๙.๗. ส�ำเนาใบสรปุ คา่ รกั ษาและการเบิกอปุ กรณ์ ๙.๘. ส�ำเนาการตรวจสอบสทิ ธิการรกั ษา ๙.๙. เอกสารอ่นื ๆ ตามที่ สปสช.ได้แจ้งขอเพิ่มเตมิ ภายหลังเปน็ รายกรณี๑๐. กรณีหน่วยบริการอื่นท่ีมีความจ�ำเป็นต้องให้บริการด้วยการท�ำหัตถการ PCI เพ่ือเป็นการช่วยชีวิตในกรณี ฉุกเฉิน ให้ยื่นเอกสารพร้อมส�ำเนาเวชระเบียนเพื่อขออุทธรณ์มายัง สปสช.เพ่ือให้คณะกรรมการพิจารณา เป็นรายกรณี ทง้ั นี้ หากผ่านการพิจารณาแลว้ จงึ จะส่งขอ้ มลู เพ่ือเบกิ ชดเชยในโปรแกรม e-Claim ตอ่ ไป 307
รายการอุปกรณท์ ่ีหนว่ ยบริการมีสทิ ธิเบิกจ่ายค่าใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสุขส�ำหรบั บรกิ ารรักษาโรคหลอดเลอื ดโคโรนารีผ่านสายสวน (Percutaneous Coronary Intervention : PCI) แบง่ ตามระดับหน่วยบรกิ ารท่ีขึน้ ทะเบยี น ตามประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติล�ำดับ รหสั ประเภทอุปกรณ์ หนว่ ยบริการ ทม่ี ีสิทธเิ บิกจา่ ย ๑ ๔๓๐๑ สายสวนหลอดเลือดนำ� ทางเพอื่ การขยายหลอดเลอื ดโคโรนาร่ี ระดับ ๑, ๒ (Coronary guiding catheter) ๒ ๔๓๐๒ สายลวดนำ� สายสวนเพ่ือการขยายหลอดเลอื ดโคโรนาร่ี (PTCA guide wire) ระดบั ๑, ๒ ๓ ๔๓๐๓ สายสวนเพ่ือการขยายหลอดเลอื ดโคโรนารี่ดว้ ยบอลลนู ระดับ ๑, ๒ (Coronary balloon dilatation catheter หรือ PTCA balloon) ๔ ๔๓๐๔ สายสวนเพอ่ื การขยายหลอดเลือดโคโรนาร่ดี ้วยขดลวด (Coronary stent) ระดบั ๑, ๒ ๕ ๔๓๐๕ สายสวนเพือ่ การขยายหลอดเลือดโคโรนาร่ีด้วยขดลวดเคลือบยาตา้ นการตบี ซำ้� ระดับ ๑, ๒ (Drug - eluting stent) ๖ ๔๓๐๖ สายสวนเพื่อการขยายหลอดเลือดโคโรนารด่ี ว้ ยขดลวดหุ้มกราฟต์ ระดบั ๑, ๒ (Coronary stent graft) ๗ ๔๓๐๗ สายสวนเพื่อการขยายหลอดเลอื ดโคโรนารี่ด้วยหวั กรอกากเพชร ระดับ ๑ (Rotational atherectomy burr catheter) ๘ ๔๓๐๘ เครอื่ งกรอความถส่ี งู เพ่ือการขยายหลอดเลือดโคโรนารดี่ ้วยหัวกรอกากเพชร ระดบั ๑ (Rotational atherectomy advancer) ๙ ๔๓๐๙ สายสวนเพอื่ การขยายหลอดเลอื ดโคโรนาร่ีดว้ ยบอลลูนชนดิ ติดใบมีด ระดับ ๑ (Cutting balloon catheter) ๑๐ ๔๓๑๐ สายสวนเพือ่ การขยายหลอดเลอื ดโคโรนารด่ี ้วยการดดู ล่ิมเลอื ด ระดบั ๑, ๒ (Thrombectomy device/catheter) ๑๑ ๔๓๑๑ สายสวนเพอื่ การขยายหลอดเลือดโคโรนารี่ด้วยล�ำแสงเลเซอร์ ระดับ ๑ (Laser angioplasty catheter) ๑๒ ๔๓๑๒ สายสวนและอปุ กรณเ์ พือ่ ป้องกนั ล่ิมเลือดอดุ ตนั หลอดเลือดสว่ นปลาย ระดบั ๑ (Distal protection device) ๑๓ ๔๓๑๓ สายสวนเพื่อตรวจภายในหวั ใจหรอื หลอดเลอื ดดว้ ยการถ่ายภาพ ระดบั ๑ คลนื่ เสยี งสะทอ้ น (Intravascular or Intracardiac ultrasound) ๑๔ ๔๓๑๔ สายลวดเพือ่ วดั ความดันภายในหลอดเลือดโคโรนารี่ (Coronary pressure wire) ระดับ ๑, ๒ ๑๕ ๔๓๑๖ สายสวนหลอดเลอื ดอเนกประสงค์ (Multipurpose หรอื Transit catheter) ระดับ ๑308
ล�ำดบั รหัส ประเภทอุปกรณ์ หนว่ ยบริการ ทีม่ สี ทิ ธเิ บิกจ่าย ๑๖ ๔๔๐๔ สายสวนหลอดเลอื ดสำ� หรับวัดความดันเลอื ดในปอดชนดิ วดั ปรมิ าณเลอื ด ออกจากหัวใจ (Swan-Ganz catheter) ระดบั ๑, ๒ ๑๗ ๔๔๐๕ สายสวนหลอดเลอื ดสำ� หรบั วัดความดันเลือดในปอดชนดิ มีบอลลนู (Balloon-tip catheter) ระดับ ๑, ๒ ๑๘ ๔๔๐๖ สายลวดส�ำหรบั นำ� สายสวนหลอดเลือด (Diagnostic guide wire) ๑๙ ๔๔๐๗ สายสวนหลอดเลือดส�ำหรบั ฉดี สีหลอดเลือดโคโรนาร่ี ระดบั ๑, ๒ (Diagnostic coronary angiography catheter) ระดับ ๑, ๒ ๒๐ ๔๗๐๑ สายสวนนำ� เขา้ หลอดเลือด (Introducer sheath) ๒๑ ๔๗๐๒ อุปกรณซ์ อ่ มปดิ หลอดเลือด (Vascular closure device) ตามขอ้ บง่ ช้ ี ระดับ ๑, ๒ ระดับ ๑, ๒ 309
ประกาศส�ำนักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เร่อื ง แนวปฏบิ ัตสิ ำ� หรับการใหบ้ ริการผ่าตดั รกั ษาข้อเข่าเสอ่ื ม พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยท่ีเป็นการสมควรก�ำหนดแนวทางการให้บริการผ่าตัดรักษาข้อเข่าเส่ือม ในระบบหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ (๒) แห่งพระราชบัญญัติหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบข้อ ๒ ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การด�ำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ และหลักเกณฑ์วิธกี ารและเง่ือนไขการรับค่าใช้จา่ ยเพ่อื บรกิ ารสาธารณสขุ ของหนว่ ยบริการ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙ ส�ำนกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ จึงกำ� หนดแนวปฏบิ ตั ิส�ำหรบั การให้บรกิ ารผา่ ตดั รักษาข้อเขา่ เสอ่ื มไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ผูม้ ีสทิ ธริ บั บริการตามประกาศนี้ ตอ้ งมีคุณสมบตั ิและไม่มีลกั ษณะขอ้ ห้าม ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) เปน็ ผมู้ ีสทิ ธใิ นระบบหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ (๒) ได้รบั การวนิ ิจฉยั วา่ เป็นโรคขอ้ เข่าเสื่อม (Knee OA) (๓) มขี อ้ บง่ ชแี้ ละไมม่ ีลักษณะข้อห้ามในการผา่ ตัดเปลี่ยนขอ้ เข่าเทยี ม ตามขอ้ ๓ (๔) เขา้ รบั บรกิ ารในหนว่ ยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ โดยการสง่ ตอ่ จากหนว่ ยบรกิ ารประจำ� หรอื เครอื ขา่ ยหน่วยบรกิ ารประจำ� ของผมู้ ีสทิ ธิ ขอ้ ๒ หน่วยบรกิ ารทจ่ี ะให้บรกิ ารตามประกาศน้ี ต้องมคี ณุ สมบตั ิดังน้ี (๑) เป็นหนว่ ยบรกิ ารรบั สง่ ต่อท่ัวไป ในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (๒) มแี พทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญทไ่ี ดร้ บั หนงั สอื วฒุ บิ ตั รและหนงั สอื อนมุ ตั จิ ากแพทยสภา สาขาศลั ยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ซ่ึงปฏิบัติงานประจ�ำ (Full time) ตั้งแต่การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด การดูแลหลังผ่าตัดและการตดิ ตามการรักษาหลงั ผ่าตดั (๓) มแี พทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญทไ่ี ดร้ บั หนงั สอื วฒุ บิ ตั รและหนงั สอื อนมุ ตั จิ ากแพทยสภา สาขาวสิ ญั ญแี พทย์ซง่ึ ปฏิบัตงิ านประจำ� (Full time) หรือปฏบิ ตั งิ านบางเวลา (Part time) (๔) มแี พทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญทไี่ ดร้ บั หนงั สอื วฒุ บิ ตั รและหนงั สอื อนมุ ตั จิ ากแพทยสภา สาขาอายรุ แพทย์ท่ัวไป ซึ่งปฏิบตั งิ านประจำ� (Full time) หรือปฏิบตั งิ านบางเวลา (Part time) ตงั้ แต่การประเมินและเตรยี มผู้ปว่ ยก่อนผา่ ตดั ขณะผา่ ตัด และการดูแลผปู้ ว่ ยท่ีมีความเสยี่ งสูงหลงั ผา่ ตัด (๕) มสี ถานที่รองรบั บริการผปู้ ่วยนอก ผู้ป่วยใน ตามเกณฑก์ ารขึน้ ทะเบียนหน่วยบรกิ ารทร่ี บั การสง่ ตอ่ แผนกผปู้ ่วยนอก แผนกผปู้ ่วยใน (๖) มหี อ้ งผา่ ตดั พรอ้ มอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ทจ่ี ำ� เปน็ ตามเกณฑก์ ารขนึ้ ทะเบยี นหนว่ ยบรกิ ารทร่ี บัการสง่ ต่อ แผนกหอ้ งผ่าตัด310
(๗) มหี ้องผปู้ ่วยวิกฤต ตามเกณฑ์การขนึ้ ทะเบยี นหน่วยบรกิ ารท่รี บั การส่งต่อ แผนกผูป้ ่วยวกิ ฤตพรอ้ มรองรับผู้ปว่ ยในกรณฉี กุ เฉนิ (๘) มบี รกิ ารรงั สวี นิ จิ ฉยั ทไ่ี ดม้ าตรฐาน หรอื ตามเกณฑก์ ารขนึ้ ทะเบยี นหนว่ ยบรกิ ารทรี่ บั การสง่ ตอ่แผนกรงั สีวนิ ิจฉยั (๙) มแี พทยเ์ วชศาสตรฟ์ น้ื ฟหู รอื แพทยอ์ อรโ์ ธปดิ กิ ส์ หรอื นกั กายภาพบำ� บดั ใหบ้ รกิ ารกายภาพบำ� บดัหรอื ใหบ้ รกิ ารผู้ป่วยหลงั ผา่ ตัด หน่วยบริการที่จะร่วมให้บริการ ให้แจ้งความประสงค์และประเมินตนเอง พร้อมหลักฐานตามที่กำ� หนดกอ่ นเร่มิ ปีงบประมาณ หรอื ก่อนใหบ้ รกิ ารผ่าตดั รักษาขอ้ เข่าเสือ่ มในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาต ิ ข้อ ๓ ผู้มีสิทธิรบั บริการผา่ ตดั รักษาข้อเข่าเสอื่ ม ต้องมีขอ้ บ่งช้แี ละไมม่ ีลักษณะข้อหา้ ม ดังนี้ (๑) การผา่ ตัดเปล่ยี นขอ้ เขา่ เทยี มทั้งขอ้ (total knee arthroplasty, TKA) ต้องมีข้อบ่งชแี้ ละไมม่ ีลกั ษณะข้อห้าม ดังน้ี (ก) ผู้ป่วยอายุตง้ั แต่ ๕๕ ปี ขน้ึ ไป ต้องมขี อ้ บง่ ชี้ ดงั น้ี (๑) การเส่อื มของข้อเขา่ อย่างนอ้ ย ๒ compartment (at least bicompartmentalknee osteoarthritis) (๒) ภาพรงั สดี า้ นหนา้ -หลงั ทถ่ี า่ ยในทา่ ยนื ลงนำ�้ หนกั แสดงชอ่ งวา่ งของขอ้ เขา่ อยา่ งนอ้ ยดา้ นหนง่ึ แคบลงมากกว่า ๕๐% (Narrowing joint space more than ๕๐% of at least one compartmentof the knee from standing weight bearing antero-posterior view of knee radiograph) หรือภาพรงั สีแสดงข้อเข่าเส่ือมระยะ ๓ หรอื ๔ (Kellgren–Lawrence stage III or IV) (๓) ผู้ป่วยได้รับการรักษาข้อเข่าเสื่อมด้วยวิธีไม่ใช้ยาและวิธีใช้ยา และ/หรือ ฉีดยาสเตยี รอยดเ์ ข้าขอ้ แลว้ ไม่ไดผ้ ล เป็นระยะเวลาอย่างนอ้ ย ๓ เดอื น (failure of conservative treatment) (ข) ผูป้ ว่ ยอายนุ อ้ ยกว่า ๕๕ ปี ตอ้ งมขี อ้ บ่งชี้ ดงั นี้ (๑) การเสอ่ื มของขอ้ เข่าอยา่ งนอ้ ย ๒ compartment (at least bicompartmentalknee osteoarthritis) (๒) ภาพรงั สดี า้ นหนา้ -หลงั ทถี่ า่ ยในทา่ ยนื ลงนำ้� หนกั แสดงชอ่ งวา่ งของขอ้ เขา่ อยา่ งนอ้ ยดา้ นหนง่ึ หายไป (obliterated joint space of at least one compartment of the knee from standingweight bearing antero-posterior view of knee radiograph) (๓) ผู้ป่วยได้รับการรักษาข้อเข่าเส่ือมด้วยวิธีไม่ใช้ยา และวิธีใช้ยา และ/หรือ ฉีดยาสเตยี รอยด์เขา้ ขอ้ แล้วไมไ่ ดผ้ ล เปน็ ระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย ๖ เดอื น (failure of conservative treatment) (๔) มขี อ้ บง่ ชอี้ ย่างหนึง่ อย่างใด ดังตอ่ ไปน้ี (ก) 2nd Knee OA สาเหตุจากการติดเชือ้ (ข) 2nd Knee OA สาเหตุจากอุบัตเิ หตุ (ค) 2nd Knee OA สาเหตุจากโรคไขขอ้ อกั เสบ (inflammatory joint disease) (ง) 2 nd Knee OA สาเหตุจากกระดกู ตาย (osteonecrosis) (จ) ข้อเข่าผดิ รูปมาก โดยมมี มุ ขอ้ เข่า (Tibiofemoral angle) ในระนาบซ้าย-ขวา(Frontal plane) ผดิ จากปกตมิ ากกวา่ ๒๐ องศา 311
(ค) การผ่าตัดเปล่ียนข้อเข่าเทียมทั้งข้อในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ต้องไม่มีลักษณะข้อห้าม(contraindication) อยา่ งหนงึ่ อย่างใด ดังต่อไปน้ี (๑) มีการติดเชอื้ ที่ข้อเขา่ ที่ยงั ไม่ได้รับการรกั ษาใหห้ ายขาด (recent or current kneeinfection) (๒) มีการติดเชื้อท่ีต�ำแหน่งอ่ืนๆ ของร่างกายที่อาจก่อให้เกิดการแพร่กระจายมาติดขอ้ เข่า (remote source of ongoing infection) (๓) ระบบโครงสร้างท่ใี ชใ้ นการเหยียดขอ้ เข่าซึ่งประกอบด้วย กลา้ มเนื้อ quadricepsกระดกู สะบ้า และ patellar tendon ขาดความตอ่ เน่อื ง หรือระบบโครงสรา้ งเหล่าน้ี ไมส่ ามารถท�ำงานไดอ้ ย่างปกติ(extensor mechanism discontinuity or severe dysfunction) (๔) มีความผิดรูปของข้อเข่าในลักษณะแอ่น ซ่ึงเป็นผลมาจากกล้ามเน้ืออ่อนแรง(recurvatum deformity secondary to neuromuscular weakness) (ง) การผ่าตัดเปล่ียนข้อเข่าเทียมทั้งข้อ (total knee arthroplasty, TKA) ในผู้ป่วยอายุไมเ่ กนิ ๕๕ ปี ที่วินิจฉยั เปน็ ข้อเขา่ เส่อื มปฐมภูมิ หรอื ข้อเขา่ เสอื่ มไม่ทราบสาเหตุ (Primary or Unspecified KneeOA) ให้ด�ำเนนิ การขออนุมัตกิ อ่ นผา่ ตัด (Pre Authorized) ตามแนวทางท่ี สปสช. ก�ำหนด (๒) การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมบางส่วนด้านใน (medial unicompartmental kneearthroplasty, UKA) (ก) การผา่ ตดั เปลยี่ นขอ้ เขา่ เทียมบางส่วนดา้ นใน ตอ้ งมีขอ้ บง่ ชี้ ดงั ต่อไปน้ี (๑) ผวิ ขอ้ เขา่ เสอื่ มเฉพาะด้านในเท่านนั้ (๒) เอน็ ขอ้ เขา่ ท้งั หมดท�ำงานเป็นปกติ (๓) การเหยยี ดและการงอข้อเข่าดี (ข) การผา่ ตดั เปลยี่ นขอ้ เขา่ เทยี มบางสว่ นดา้ นใน ตอ้ งไมม่ ลี กั ษณะขอ้ หา้ ม (contraindication)อยา่ งหน่งึ อย่างใด ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) น�้ำหนกั มากกวา่ ๙๕ กิโลกรมั (๒) มีอาการปวดบริเวณลูกสะบ้า (patellofemoral pain) (๓) มีการเสื่อมของข้อเข่าด้านตรงข้าม (contralateral tibiofemoral jointinvolvement) (๔) ข้อเข่าเส่ือมที่มีสาเหตุมาจากโรคไขข้ออักเสบ เช่น โรครูมาตอยด์ โรคเก๊าท์(Inflammatory arthritis) (๕) มภี าวะขอ้ เขา่ ไมม่ นั่ คงจากเสน้ เอน็ ไขวห้ นา้ ฉกี ขาดหรอื หยอ่ น (symptomatic ACLinsufficiency) (๖) มีภาวะข้อเข่าไม่มั่นคงจากเอ็นประกบเข่าด้านข้างฉีกขาดหรือหย่อน (collateralligament insufficiency) (๗) มุมข้อเข่าผิดรูป ในแนว varus มากกว่า ๑๐ องศา (varus deformity > ๑๐degrees) (๘) ขอ้ เขา่ เหยียดไม่สดุ มกี ารตดิ หรอื ยึด มากกว่า ๑๐ องศา (flexion contracture >๑๐ degrees)312
(๓) การผา่ ตัดจัดแนวกระดกู หน้าแขง้ ด้านบน (high tibial osteotomy) (ก) การผา่ ตัดจัดแนวกระดูกหน้าแขง้ ดา้ นบน ตอ้ งมขี อ้ บ่งชี้ ดังต่อไปน้ี (๑) ผวิ ข้อเขา่ เส่อื มเพียงด้านใดด้านหนง่ึ เทา่ นัน้ (๒) เอ็นยึดข้อเขา่ และหมอนรองขอ้ เข่าท�ำงานเปน็ ปกติ (๓) พิสัยการขยบั ของข้อเขา่ มากกว่าหรือเท่ากับ ๙๐ องศา (๔) ไมม่ กี ารยึดตดิ ของขอ้ เข่า ท้งั การเหยียดและการงอ (ข) การผา่ ตดั จดั แนวกระดกู หนา้ แขง้ ดา้ นบน ตอ้ งไม่มลี กั ษณะข้อหา้ ม (contraindication)อยา่ งหนง่ึ อย่างใด ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ขอ้ เขา่ ท่ีมกี ารเส่อื มของผิวข้อเขา่ ทุกส่วน (diffuse arthritis) (๒) ขอ้ เขา่ เสอื่ มทมี่ กี ารเคลอ่ื นของแนวกระดกู หนา้ แขง้ ออกจากกระดกู ตน้ ขา เปน็ ระยะทางทมี่ าก (marked tibiofemoral subluxation) (๓) ข้อเขา่ เสื่อมทมี่ ีสาเหตุมาจากโรคไขขอ้ เขา่ อกั เสบ เช่น โรครมู าตอยด์โรคเกา๊ ท์ (inflammatory arthritis) (๔) ผปู้ ่วยเคยได้รบั การตัดหมอนรองกระดูกข้อเขา่ (Post meniscectomy) ขอ้ ๔ สปสช. จะจ่ายชดเชยคา่ ใช้จา่ ยในการให้บรกิ าร ดงั นี้ (๑) คา่ ใช้จา่ ยกรณผี า่ ตดั ท่ีมกี ารรกั ษาเป็นผู้ปว่ ยใน สปสช. จะจา่ ยชดเชยตามระบบกลมุ่ วนิ จิ ฉยั โรครว่ ม (DRGs) โดยใชค้ า่ นำ้� หนกั สมั พทั ธท์ ปี่ รบั คา่ ตามวันนอน (Adj.RW) ที่ได้จากการค�ำนวณ โดยอัตราท่ีได้รับต่อหน่ึงหน่วยสัมพัทธ์ขึ้นอยู่กับวงเงินระดับเขตและผลงานการสง่ ขอ้ มลู ผ้ปู ว่ ยในแต่ละเดือน (sent date) ภายใตร้ ะบบ DRGs with Global Budget (๒) คา่ ใชจ้ ่ายกรณีอุปกรณแ์ ละอวัยวะเทียม สปสช. จะจ่ายชดเชยให้หน่วยบริการตามค่าใช้จ่ายจริงท่ีหน่วยบริการเรียกเก็บ แต่ไม่เกินเพดานราคาชดเชยท่ี สปสช. ประกาศ และน�ำมาค�ำนวณอัตราจ่ายตามระบบ point system with global budgetโดยสว่ นตา่ งจากเงนิ เรยี กเกบ็ และเงนิ จา่ ยชดเชยคา่ อปุ กรณ์ หนว่ ยบรกิ ารไมส่ ามารถเรยี กเกบ็ จากผปู้ ว่ ยได้ และราคาและอปุ กรณท์ ่จี า่ ยชดเชย ใหเ้ ปน็ ไปตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ กรณที ่มี กี ารใชส้ ารยึดกระดกู (bone cement) ชนดิ ธรรมดา (รหัส ๗๔๐๑) หรือสารยึดกระดูก(bone cement) ชนิดมียาปฏชิ ีวนะผสม (รหสั ๗๔๐๒) สามารถเบกิ จ่ายชดเชยตามขอ้ บ่งช้แี ละเพดานราคาชดเชยในประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง รายการอปุ กรณอ์ วยั วะเทยี มและขอ้ บง่ ชใี้ นการบำ� บดั รกั ษาโรค ข้อ ๕ การส่งข้อมูลเพ่ือขอรับค่าใช้จ่าย ให้หน่วยบริการบันทึกข้อมูลการให้บริการด้วยโปรแกรมe-Claim เพ่ือขอรับค่าใช้จ่ายท้ังกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRGs) และค่าอุปกรณ์ทุกรายการ รวมท้ังข้อเข่าเทียมโดยต้องบนั ทึกข้อมูลและรหัสอปุ กรณส์ ่งไปยงั สปสช. ภายใน ๓๐ วัน หลังจากใหบ้ รกิ าร สปสช. จะตรวจสอบและจ่ายเงนิ ชดเชยค่าอปุ กรณท์ ุกรายการท่ีใช้ รวมทั้งค่าข้อเขา่ เทยี มในกรณีท่ีหนว่ ยบรกิ ารจดั ซอื้ เอง หากหนว่ ยบรกิ ารใชข้ อ้ เขา่ เทยี มในระบบ VMI (vendor managed inventory) จะไดร้ บั การจา่ ยเงนิ ชดเชยตามระบบกลมุ่ วนิ จิ ฉยั โรครว่ ม (DRGs) และอปุ กรณอ์ น่ื ทใ่ี ช้ แตไ่ มร่ วมคา่ ขอ้ เขา่ เทยี ม ทง้ั นี้ หนว่ ยบรกิ ารตอ้ งบันทกึ รหัสโครงการพเิ ศษ (project code) ทัง้ กรณที ่หี น่วยบริการจดั ซอ้ื เอง หรือใชข้ อ้ เข่าเทียมในระบบ VMI(vendor managed inventory) 313
ข้อ ๖ สปสช. จะตรวจสอบการให้บริการผ่าตัดรักษาข้อเข่าเส่ือม และหลักฐานการให้บริการข้อเข่าเทียม โดยหน่วยบริการจะต้องเก็บหลักฐานเอกสารเวชระเบียน และเอกสารการใช้อุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องเพอ่ื รองรบั การตรวจสอบ กรณที พี่ บวา่ การใหบ้ รกิ ารผา่ ตดั รกั ษาขอ้ เขา่ เสอ่ื ม ไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ก่ี ำ� หนด สปสช.จะด�ำเนินการตามข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยการบริหารจัดการกองทุนและการหักค่าใช้จา่ ย กรณีหน่วยบริการเรยี กเก็บคา่ ใชจ้ ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขเกนิ จริง พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๗ การก�ำกบั ตดิ ตามมาตรฐานคุณภาพการให้บรกิ ารผา่ ตดั รักษาข้อเข่าเสอ่ื ม เป็นดังนี้ (๑) สปสช. จะประเมนิ หนว่ ยบรกิ ารตามคณุ สมบตั แิ ละศกั ยภาพการใหบ้ รกิ าร กอ่ นเขา้ รว่ มใหบ้ รกิ ารและในระหวา่ งปงี บประมาณ สปสช. อาจสมุ่ ตรวจหนว่ ยบรกิ าร ตามคณุ สมบตั แิ ละศกั ยภาพของหนว่ ย โดยพจิ ารณารว่ มกับผลงานบรกิ ารในแตล่ ะชว่ งเวลาทงั้ ดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ (๒) การประเมนิ คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร สปสช. กำ� หนดใหม้ ตี วั ชว้ี ดั คณุ ภาพบรกิ ารผา่ ตดั ขอ้ เขา่ เสอื่ มจากอตั ราการเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นในการผา่ ตดั รกั ษาขอ้ เขา่ เส่ือม ได้แก่ (ก) อัตราการเกดิ ขอ้ เขา่ ติด Stiffness หลงั ผ่าตดั ๓ เดือน (ข) อัตราการเกิดภาวะติดเชอ้ื ในการผ่าตัดขอ้ เข่าเส่ือม (ค) อัตราการ re-admission ภายในสามเดือน โดยพจิ ารณาจากข้อมลู การบริการที่บันทึกในระบบการจ่ายชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ (e-Claim) (๓) การตรวจสอบมาตรฐานและคุณภาพบริการ (Quality audit) สปสช. จะประเมนิ ติดตามการให้บริการผ่าตดั รักษาข้อเข่าเส่ือม และผลลพั ธก์ ารผา่ ตัดรกั ษาขอ้ เขา่ เส่อื มตามทีก่ ำ� หนด เพือ่ ก�ำกับตดิ ตามคุณภาพการให้บริการ ขอ้ ๘ หากหน่วยบรกิ าร เหน็ วา่ การจา่ ยชดเชยไมถ่ กู ตอ้ งตามประกาศน้ี ใหย้ น่ื อุทธรณต์ ่อ สปสช.ภายใน ๓๐ วนั นบั จากวนั ทไี่ ดร้ บั แจง้ รายงานการจ่ายชดเชย (REP) ขอ้ ๙ ประกาศน้ี ใหม้ ีผลใช้บังคับตงั้ แต่วนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ศกั ดิ์ชัย กาญจนวัฒนา รองเลขาธกิ าร รกั ษาการแทน เลขาธกิ ารสำ� นักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ314
เอกสารแนบท้ายประกาศสำ� นักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง แนวปฏิบตั ิสำ� หรับการให้บรกิ ารผา่ ตัดรกั ษาขอ้ เข่าเสอ่ื ม พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวนั ที่ ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๕๙รหสั ประเภท หนว่ ย ราคากลาง (บาท) หมายเหตุ ข้อเขา่ เทยี มชนิดที่สว่ นรบั น�้ำหนักเคลื่อนไหวได้ (total knee ข้อละ ๕๐,๐๐๐ arthroplasty, TKA) ข้อบ่งช้ี ตามขอ้ ๓ (๑) ๕๐,๐๐๐ ๗๐๐๔ ข้อเข่าเทยี มชนิดท่สี ่วนรับนำ้� หนักเคลื่อนไหวได้ ข้อละ (unicompartmental knee arthroplasty, UKA) ๕๐,๐๐๐ ขอ้ บ่งช้ี ตามข้อ ๓ (๒) ๕๐,๐๐๐ ขอ้ เข่าเทียมชนิดทสี่ ่วนรบั น้�ำหนกั ไมส่ ามารถเคล่ือนไหวได้ ข้อละ (total knee arthroplasty, TKA) ข้อบง่ ช้ี ตามข้อ ๓ (๑) ๒๐,๐๐๐ ๗๐๐๕ ขอ้ เข่าเทยี มชนิดที่สว่ นรบั นำ้� หนักไมส่ ามารถเคล่อื นไหวได ้ ข้อละ ๒,๔๐๐ (unicompartmental knee arthroplasty, UKA) ข้อบ่งชี้ ตามขอ้ ๓ (๒) ๗๒๑๔ แผน่ โลหะดามกระดูก ชนิดมีหัวสกรูพยงุ (Lock plate) ชนิ้ ละ ขอ้ บง่ ช้ี ตามขอ้ ๓ (๓) ๗๓๐๑ สกรูยดึ แผ่นโลหะชนิดหวั ล็อก (Lock screw) ตัวละ ขอ้ บ่งช้ี ตามข้อ ๓ (๓) 315
ประกาศส�ำนกั งานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ เรื่อง หลกั เกณฑ์ วธิ ีการและเงอ่ื นไขการจา่ ยค่าใช้จ่ายเพ่อื บรกิ ารสาธารณสขุ กรณีหนว่ ยบรกิ ารใหบ้ รกิ ารผ่าตัดแบบวนั เดียวกลับ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยทเี่ ปน็ การสมควรกำ� หนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอื่ นไขการจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสขุกรณีหนว่ ยบรกิ ารให้การผ่าตัดแบบวันเดยี วกลบั หรอื การใหบ้ ริการผ่าตัดแบบไมค่ า้ งคนื (One Day Surgery : ODS) อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ (๒) แห่งพระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบขอ้ ๓ วรรคสอง และข้อ ๒๘ แห่งประกาศคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติเรอ่ื ง หลกั เกณฑก์ ารดำ� เนนิ งานและการบรหิ ารจดั การกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สำ� หรบั ผมู้ สี ทิ ธหิ ลกั ประกนัสุขภาพแหง่ ชาติ ปงี บประมาณ ๒๕๖๑ และหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงอ่ื นไขการจา่ ยค่าใช้จา่ ยเพือ่ บรกิ ารสาธารณสุขของหน่วยบรกิ าร ส�ำนกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติจงึ ออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ประกาศนเี้ รยี กว่า “ประกาศสำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เรอื่ ง หลกั เกณฑ์ วธิ ีการและเงอื่ นไขการจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสขุ กรณหี นว่ ยบรกิ ารใหบ้ รกิ ารผา่ ตดั แบบวนั เดยี วกลบั พ.ศ. ๒๕๖๑” ขอ้ ๒ ประกาศนใี้ ห้ใชบ้ ังคบั ต้งั แตว่ ันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๖๑ เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “สำ� นักงาน” หมายความว่า สำ� นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ “ส�ำนักงานเขต” หมายความว่า ส�ำนักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ สาขาเขต ข้อ ๔ หน่วยบริการท่ีมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขตามประกาศน้ีจะต้องให้บริการแก่ผูม้ สี ิทธิรับบริการ ดงั น้ี (๑) เปน็ ผมู้ ีสิทธใิ นระบบหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ (๒) ได้รับการวินิจฉัยโรคตามกลุ่มโรคหรือกลุ่มอาการท่ีก�ำหนดและมีการให้บริการผ่าตัดแบบวันเดยี วกลบั (One Day Surgery : ODS) ดงั น้ี (ก) โรคไส้เลอ่ื นขาหนีบ (Inguinal hernia) (ข) โรคถงุ นำ้� อณั ฑะ (Hydrocele) (ค) โรครดิ สีดวงทวาร (Hemorrhoid) (ง) ภาวะเลอื ดออกผดิ ปกตทิ างช่องคลอด (Vaginal bleeding) (จ) หลอดเลอื ดด�ำของหลอดอาหาร กระเพาะอาหารขอด (Esophageal varices, Gastricvarices) (ฉ) ภาวะหลอดอาหารตีบ (Esophageal stricture) (ช) โรคมะเรง็ หลอดอาหารระยะลกุ ลามทอ่ี ดุ ตนั (Obstructive esophageal cancer/tumor)316
(ซ) ต่ิงเน้อื งอกล�ำไสใ้ หญ่ (Colorectal polyp) (ฌ) นวิ่ ในท่อน้�ำดี (Bile duct stone) (ญ) นว่ิ ในท่อตบั อ่อน (Pancreatic duct stone) (ฎ) ภาวะท่อน�ำ้ ดีตบี (Bile duct stricture) (ฏ) ภาวะท่อตับออ่ นตบี (Pancreatic duct stricture) (ฐ) โรคหรอื ภาวะอนื่ ๆ ที่ส�ำนกั งานประกาศเพ่มิ เตมิ (๓) เป็นบรกิ ารผา่ ตดั เพอ่ื การรักษา ท่ีมีจ�ำนวนวนั นอนต้ังแต่สองชวั่ โมง แต่ไม่เกินยี่สิบสี่ชั่วโมง (๔) เฉพาะผู้ป่วยทไี่ ม่มีภาวะแทรกซ้อน และมชี นดิ การจ�ำหนา่ ยเปน็ หาย (Approval) (๕) มีกล่มุ โรค และหัตถการตามท่สี ำ� นกั งานก�ำหนด ขอ้ ๕ หน่วยบริการทจ่ี ะใหบ้ ริการตามประกาศน้ี ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิดงั ต่อไปน้ี (๑) เป็นหน่วยบรกิ ารท่รี บั การส่งต่อทัว่ ไปในระบบหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ (๒) ผ่านการประเมินศักยภาพจากคณะกรรมการตรวจเย่ียมและประเมินโครงการพัฒนาระบบบรกิ าร One Day Surgery (ODS) และการผา่ ตดั แผลเลก็ Minimally Invasive Surgery (MIS) ในโรงพยาบาลภายใตก้ รมการแพทย์ หรือคณะกรรมการที่สำ� นักงานกำ� หนด ข้อ ๖ การประเมนิ ศกั ยภาพหนว่ ยบรกิ ารตามขอ้ ๕ (๒) ให้หน่วยบรกิ ารแจ้งความประสงค์พร้อมแบบประเมนิ ตนเองแนบท้ายประกาศน้ี ไปยังกรมการแพทย์ เพอื่ ให้คณะกรรมการตรวจเยยี่ มและประเมนิ โครงการพัฒนาระบบบริการ One Day Surgery (ODS) และการผ่าตัดแผลเล็ก Minimally Invasive Surgery (MIS)ในโรงพยาบาลประเมินศกั ยภาพของหน่วยบริการ และแจ้งผลการพจิ ารณามาท่สี ำ� นกั งาน ให้ส�ำนักงานแจ้งผลให้หน่วยบริการทราบ และเมื่อหน่วยบริการได้รับการแจ้งผลการประเมินแล้วสามารถให้บริการและขอรบั คา่ ใช้จา่ ยได้ตามหลักเกณฑแ์ ละอตั ราท่กี �ำหนดในประกาศน้ี กรณีไม่อาจด�ำเนินการตามวรรคหนึ่งได้ ให้หน่วยบริการแจ้งความประสงค์ พร้อมแบบประเมินตนเองมายงั สำ� นกั งานหรอื สำ� นกั งานเขต เพอ่ื ใหค้ ณะกรรมการทส่ี ำ� นกั งานกำ� หนดประเมนิ ศกั ยภาพของหนว่ ยบรกิ าร ข้อ ๗ หน่วยบริการต้องบันทึกข้อมูลเก็บไว้เป็นหลักฐานในเวชระเบียนผู้ป่วย เพ่ือการตรวจสอบหลงั การจ่ายชดเชย (Post Audit) โดยการบนั ทึกขอ้ มลู อย่างนอ้ ยใหม้ ีรายละเอยี ด ดังนี้ (๑) การวนิ จิ ฉยั โรค (๒) หตั ถการท่ีท�ำ (๓) รายละเอยี ดสิง่ ตรวจพบ และหัตถการโดยสรปุ (๔) วธิ ีการทางวิสัญญี (๕) การดแู ลหลงั การท�ำหัตถการที่ห้องพักฟื้น (๖) สถานะผู้ปว่ ยหลงั ออกจากห้องพกั ฟื้น (๗) ข้อมูลการนดั ผู้ปว่ ยมาตดิ ตาม (๘) คำ� แนะนำ� เตรียมตัวก่อนการท�ำหัตถการ (๙) ค�ำแนะน�ำเตรยี มตัวหลังการทำ� หัตถการ (๑๐) เอกสารเพื่อแสดงความยินยอมของผู้ป่วยในการรับการรักษาตามโครงการการผ่าตัดแบบวนั เดียวกลับ (One Day Surgery : ODS) (ภายในยี่สิบสี่ชวั่ โมง) 317
ข้อ ๘ แนวทางการจดั เตรยี มและการตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานใหเ้ ปน็ ไปตามคมู่ อื วา่ ดว้ ยแนวทางการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุขร่วม ๓ กองทุน และคุณภาพบริการใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ นวทางท่ีกระทรวงสาธารณสุขก�ำหนด ข้อ ๙ กรณีตรวจพบว่าการให้บรกิ ารผ่าตดั แบบวันเดียวกลับ (One Day Surgery : ODS) ไมเ่ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขท่ีก�ำหนดในประกาศน้ี ส�ำนักงานจะด�ำเนินการตามข้อบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยการบริหารจัดการกองทุนและการหักค่าใช้จ่าย กรณีหน่วยบริการเรียกเก็บคา่ ใช้จา่ ยเพ่อื บรกิ ารสาธารณสขุ เกินจรงิ ขอ้ ๑๐ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารขอรบั คา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ บรกิ ารสาธารณสขุ โดยสง่ ขอ้ มลู เบกิ ในโปรแกรม e-Claimให้ส�ำนักงานภายในสามสิบวันหลังการให้บริการ โดยบันทึกข้อมูลรหัสการวินิจฉัยโรค (ICD๑๐) และรหัสการท�ำหัตถการ (ICD-๙CM) ให้ถกู ต้อง ขอ้ ๑๑ สำ� นกั งานจะจา่ ยชดเชยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสขุ ใหแ้ กห่ นว่ ยบรกิ ารทใี่ หบ้ รกิ ารผา่ ตดัแบบวนั เดียวกลับ ตามระบบกลุ่มวนิ ิจฉยั โรครว่ ม (DRGs) ค�ำนวณอตั ราจ่ายตามคา่ น้�ำหนักสัมพัทธ์ (RW) โดยจา่ ยจากกองทนุ ผ้ปู ่วยในระดับเขต ดังนี้ (๑) กรณีในเขต อัตราที่ได้รับต่อหน่ึงหน่วยสัมพัทธ์ ข้ึนอยู่กับวงเงินระดับเขตของแต่ละเขตและผลงานการส่งข้อมูลผู้ป่วย ในแต่ละเดือน (sent date) ภายใต้ระบบ DRGs with Global Budget ส�ำหรับหน่วยบริการของรัฐมกี ารปรบั ลดคา่ แรง (๒) กรณีนอกเขต หน่วยบริการทุกสังกัดที่ให้บริการจะได้รับค่าใช้จ่าย ด้วยอัตรา ๙,๖๐๐ บาทตอ่ หนึ่งหน่วย น�ำ้ หนกั สัมพัทธ์ (RW) โดยไมป่ รบั ลดค่าแรง ข้อ ๑๒ หากหน่วยบริการเห็นว่า การจ่ายชดเชยค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขไม่ถูกต้องตามประกาศน้ี ให้ย่ืนอุทธรณต์ ่อสำ� นกั งานภายในสามสิบวันนับจากวนั ท่ไี ดร้ ับการจ่ายชดเชย ประกาศ ณ วนั ท่ี ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ศักดช์ิ ัย กาญจนวัฒนา เลขาธกิ ารส�ำนกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ318
แบบประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment) ในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบบูรณาการ การผา่ ตดั แบบวนั เดยี วกลับ (One Day Surgery : ODS)ช่ือหน่วยบริการ ……………………………………… รหัสหนว่ ยบรกิ าร ………………….. เขต ..............................................ประเภทหน่วยบริการ โรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลศนู ย์ (A) โรงพยาบาลทวั่ ไป (S) โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่เทยี บเท่าโรงพยาบาลท่วั ไป (M๑) สถาบันเฉพาะทาง โรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลสังกดั กระทรวงกลาโหม อืน่ ๆ ระบุ) ………………………….วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ประเมนิ ความพรอ้ มเบอ้ื งตน้ ของหนว่ ยบรกิ ารในการเขา้ รว่ มโครงการพฒั นาระบบบรกิ ารการผา่ ตดั แบบวนั เดียวกลบั (One Day Surgery: ODS)คําอธิบาย เอกสารประกอบดว้ ย ๒ ส่วน ดงั นี้ สว่ นที่ ๑ ประเมนิ ตนเองในการให้บริการการผ่าตัดแบบวนั เดยี วกลบั (One Day Surgery : ODS) ส่วนที่ ๒ การประเมนิ ความพรอ้ มในการเข้าร่วมโครงการ ในช่วงระยะเวลา ๑ - ๕ ปีคําช้แี จง โปรดใสเ่ ครอ่ื งหมาย ✓ และกรอกขอ้ มลู ลงในชอ่ งวา่ ง สว่ นที่ ๑ ประเมนิ ตนเองในการให้บรกิ ารการผ่าตัดแบบวันเดยี วกลบั ประกอบดว้ ยคําถาม ๗ ขอ้ ดังน้ี๑. ปจั จบุ ันหน่วยบรกิ ารของทา่ นมกี ารใหบ้ รกิ ารการผ่าตดั แบบวนั เดียวกลับ (One Day Surgery : ODS) หรือไม่ มี ไม่มี๒. หน่วยบริการของท่านมีการให้บริการการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ (One Day Surgery : ODS) ในโรคดังต่อไปนี้ หรือไม่ และโปรดระบุสถานทใี่ นการใหบ้ รกิ าร (ถา้ มี) Diseases for One Day Surgery (ODS) ไม่มี มี สถานทท่ี ่ใี ช้ในการใหบ้ รกิ ารการรกั ษา๒.๑ Inguinal hernia, Femoral hernia หอ้ งผ่าตดั ห้องส่องกลอ้ ง อื่นๆ (โปรดระบ)ุ๒.๒ Hydrocele๒.๓ Hemorrhoid๒.๔ Vaginal bleeding๒.๕ Esophagogastric varices๒.๖ Esophageal stricture๒.๗ Esophagogastric cancer with obstraction๒.๘ Colorectal polyp๒.๙ Common bile duct stone๒.๑๐ Pancreatic duct stone๒.๑๑ Bile duct stricture๒.๑๒ Pancreatic duct stricture 319
๓. หน่วยบรกิ ารของทา่ นมีขน้ั ตอนในการประเมนิ ผปู้ ่วยก่อนการผ่าตดั แบบวันเดยี วกลับ (One Day Surgery : ODS) ทง่ี านผปู้ ่วยนอกหรือไม่ มี ไมม่ ี๔. การผ่าตัดแบบวนั เดียวกลับ (One Day Surgery: ODS) หน่วยบรกิ ารของทา่ นมีการติดตามผปู้ ่วยหลังการ ผ่าตดั หรือไม่ ม ี ไม่มี๕. ช่องทางติดต่อในภาวะฉุกเฉินในการรับผู้ป่วยท่ีมีปัญหาด่วนหลังการผ่าตัด (นอกเหนือจากห้องฉุกเฉิน ของโรงพยาบาล) ม ี ไม่มี อ่นื ๆ (ระบุ) ........................................๖. หน่วยบริการของท่านมีจุดพักฟื้นท่ีเป็นลักษณะ Ward/Unit (ท่ีไม่ใช่ Recovery Room) รองรับผู้ป่วย ในการผา่ ตดั แบบวันเดียวกลับ (One Day Surgery: ODS) ท่ีงานผู้ปว่ ยนอกหรอื ไม่ มี จาํ นวน ............. หอ้ ง .............. เตยี ง ไม่มี อ่ืน ๆ (ระบุ) ........................................๗. โปรดระบจุ ํานวนบคุ ลากรทใ่ี ่ ห้บริการผ่าตดั แบบวนั เดียวกลบั ในหนว่ ยบริการของทา่ น ทมี บุคลากรทีใ่ หบ้ รกิ ารการรกั ษาการผ่าตัด จํานวน (คน)๗.๑ ศลั ยแพทย์๗.๒ วิสัญญแี พทย์๗.๓ วิสญั ญีพยาบาล๗.๔ แพทยส์ ่องกลอ้ งทางเดินอาหาร๗.๕ พยาบาลสอ่ งกลอ้ งทางเดนิ อาหาร๗.๖ อืน่ ๆ (ระบ)ุ …………….……………………...............................320
สว่ นท่ี ๒ การประเมินความพรอ้ มในการดาํ เนินโครงการในช่วงระยะเวลา ๑-๕ ปี นับจากเริ่มดาํ เนนิ โครงการ๑. โปรดระบคุ วามพรอ้ มของหนว่ ยบรกิ ารในการใหบ้ รกิ ารผา่ ตดั แบบวนั เดยี วกลบั (One Day Surgery : ODS)Diseases for One Day Surgery (ODS) ไมไ่ ด้ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ได้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔๑.๑ Inguinal hernia, Femoral hernia๑.๒ Hydrocele๑.๓ Hemorrhoid๑.๔ Vaginal bleeding๑.๕ Esophagogastric varices๑.๖ Esophageal stricture๑.๗ Esophagogastric cancer with obstraction๑.๘ Colorectal polyp๑.๙ Common bile duct stone๑.๑๐ Pancreatic duct stone๑.๑๑ Bile duct stricture๑.๑๒ Pancreatic duct stricture โรคอ่ืน ๆ โปรดระบุ ……..................................................................................................................................๒. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนาระบบบริการการผา่ ตดั แบบวันเดยี วกลบั (One Day Surgery : ODS)..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ผู้ใหข้ อ้ มลู ช่ือ-นามสกลุ ............................................................................ ตำ� แหน่ง ...................................................โทรศพั ทท์ ท่ี �ำงาน …….................................. มือถือ ................................ E-mail ….....……………………...................... 321
ประกาศส�ำนกั งานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เรอื่ ง การบรหิ ารงบกองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ เพื่อให้การบริหารงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ และประชาชนเขา้ ถึงบรกิ ารสาธารณสุขท่จี ำ� เป็นได้อยา่ งเทา่ เทียมกัน ฉะนัน้ อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๖ แหง่ พระราชบญั ญตั ิหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตมิ มี ตใิ นการประชมุคร้งั ที่ ๗/๒๕๕๑ เมือ่ วนั ที่ ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๕๑ และครัง้ ท่ี ๘/๒๕๕๑ เมอ่ื วันที่ ๑๑ สงิ หาคม ๒๕๕๑ เลขาธิการส�ำนกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ จึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี ข้อ ๑ การบรหิ ารงบกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ และหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอื่ นไขในการจ่ายเงินให้แก่หน่วยบริการ เป็นค่าใช้จ่ายเพ่ือบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ให้เป็นไปตามเอกสาร“การบริหารงบลงทุนหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ ๒๕๕๒” แนบท้ายประกาศน้ี ขอ้ ๒ การเรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรกิ ารสาธารณสขุ ของหนว่ ยบรกิ าร ใหด้ ำ� เนนิ การสง่ ขอ้ มลู ในระยะเวลาทก่ี �ำหนดตามเอกสาร “มาตรการเพื่อรักษาวนิ ยั การเรียกเก็บค่าบริการ ในระบบหลกั ประกันสุขภาพถว้ นหน้า”แนบท้ายประกาศนี้ ขอ้ ๓ ประกาศนใ้ี หใ้ ช้บงั คบั ตงั้ แตว่ นั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๑ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประทปี ธนกจิ เจรญิ รองเลขาธกิ าร รกั ษาการแทน เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ322
มาตรการเพ่ือรกั ษาวนิ ยั การเรยี กเกบ็ คา่ บรกิ าร ในระบบหลักประกันสุขภาพถว้ นหน้า เพ่ือให้การบริหารงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพคณะกรรมการหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ จึงมมี ตเิ ม่อื วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ ก�ำหนดให้มี “มาตรการเพื่อรกั ษาวนิ ยั การเรยี กเกบ็ คา่ บรกิ าร ในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ ” ประกอบดว้ ยมาตรการลดอตั ราจา่ ย และมาตรการกำ� หนดวันปิดรับการแจ้งหน้ี ดงั นี้ ๑. การลดอัตราจา่ ย โดยก�ำหนดตามระยะเวลาทส่ี ง่ ข้อมลู แจง้ หนชี้ า้ จากวนั ท่ีก�ำหนดดงั น้ี กำ� หนดวนั ในการสรปุ ขอ้ มลู การบรกิ าร และสง่ ให้ สปสช. คอื ๑๐วนั ภายหลงั จากการจำ� หนา่ ยผู้ป่วยจากหนว่ ยบริการ กรณีผปู้ ว่ ยใน หรอื ภายหลงั การใหบ้ ริการกรณผี ปู้ ว่ ยนอก ๑.๑ ส่งช้าจากวันท่ีก�ำหนดไม่เกิน ๓๐ วัน จ่ายในอัตราร้อยละ ๙๕ ของอัตราท่ีจ่ายให้ของข้อมลู ที่มกี ารแจง้ หน้ภี ายในวันท่ีกำ� หนด ๑.๒ ส่งช้าจากวันท่ีก�ำหนดไม่เกิน ๖๐ วัน จ่ายในอัตราร้อยละ ๙๐ ของอัตราที่จ่ายให้ของข้อมลู ทม่ี ีการแจ้งหน้ีภายในวนั ทีก่ ำ� หนด ๑.๓ ส่งช้าจากวันที่ก�ำหนดไม่เกิน ๑๐๐ วัน จ่ายในอัตราร้อยละ ๘๐ ของอัตราท่ีจ่ายให้ของข้อมูลที่มีการแจ้งหนี้ภายในวันท่ีก�ำหนด ท้ังนี้อัตราน้ีจะเห็นไปตามวงเงินท่ีจัดไว้ส�ำหรับการส่งช้าตามวงเงินทเี่ หลืออยใู่ นลกั ษณะ Global Budget ๑.๔ ท้ังน้ีมาตรการการลดการจ่ายนใี้ ห้เร่ิมตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ เป็นตน้ ไป ๒. มาตรการกำ� หนดวนั ปดิ รบั ข้อมลู การแจ้งหนี้ ดังนี้ ๒.๑ ส�ำหรับการบริการปีงบประมาณ ๒๕๕๒ เป็นต้นไป จะส้ินสุดการเรียกเก็บ (แจ้งหนี้)ภายใน ๓๖๐วนั นับจากจ�ำหนา่ ยผูป้ ่วยจากหน่วยบรกิ ารกรณีผู้ปว่ ยใน หรอื ภายหลังการใหบ้ ริการกรณผี ปู้ ่วยนอกเชน่ ผู้ป่วยทีจ่ ำ� หนา่ ยในเดอื นตุลาคม ๒๕๕๑ จะปดิ รบั การแจ้งหนี้ในวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๒ และผู้ปว่ ยทีจ่ �ำหน่ายในเดือนกันยายน ๒๕๕๒ จะปดิ รับการแจง้ หนี้ในวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๓ ๒.๒ สำ� หรบั การบรกิ ารปงี บประมาณ ๒๕๕๑ จะสน้ิ สดุ การเรยี กเกบ็ (แจง้ หน)ี้ ณ เดอื นกนั ยายนของปี ๒๕๕๒ ๒.๓ สำ� หรบั การบรกิ ารปงี บประมาณ ๒๕๔๗ - ๒๕๕๐ กำ� หนดเวลาสน้ิ สดุ การเรยี กเกบ็ ภายในเดือนกันยายน ๒๕๕๑ ๒.๔ ทง้ั น้ขี ้อมลู ท่ีส่งหลงั จากท่ีกำ� หนด ถอื วา่ หน่วยบริการไมป่ ระสงค์ที่จะขอรบั ค่าใชจ้ ่าย 323
ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เรื่อง การกาํ หนดหลักเกณฑก์ ารดําเนินงานและบรหิ ารจัดการกองทุนฟ้นื ฟูสมรรถภาพ ท่ีจําเปน็ ตอ่ สขุ ภาพ ระดบั จงั หวดั พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยท่ีเป็นการสมควร กําหนดหลักเกณฑ์การดําเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทจ่ี าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพในระดบั จงั หวดั เพอื่ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ มสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งหลกั ประกนัสุขภาพให้กับบุคคลในพน้ื ทไี่ ด้อยา่ งครบวงจรและมปี ระสทิ ธภิ าพ อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๔๗ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕และเพื่อเป็นการสอดคล้องกับความในมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และประกาศคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารสนับสนุนขององคก์ ารบริหารส่วนจังหวดัเทศบาล และองค์การบริหารส่วนตําบล ในการให้บริการสาธารณสุข คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงมีมติในการประชุมคร้ังท่ี ๖/๒๕๕๔ เม่ือวันท่ี ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๔ กําหนดหลักเกณฑ์การดําเนินงานและการบรหิ ารจดั การกองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพทจ่ี าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพระดบั จงั หวดั และมตใิ นการประชมุ ครง้ั ท่ี ๕/๒๕๕๔เมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔ มอบหมายให้เลขาธิการสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทําหน้าท่ีแทนคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ในประกาศน้ี “องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ” หมายความวา่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ทมี่ คี วามพรอ้ ม และไดร้ บัการสนับสนุนใหด้ าํ เนนิ งานและบริหารจดั การกองทุนฟื้นฟสู มรรถภาพ “กองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพ” หมายความวา่ กองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพทจี่ าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพระดบั จงั หวดัท่ีองค์การบริหารส่วนจังหวัดร่วมกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจัดตั้งขึ้น เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จําเป็นต่อสุขภาพ ของหน่วยบริการ สถานบริการองคก์ ร และชมุ ชน “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการบริหารกองทนุ ฟ้ืนฟสู มรรถภาพ “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการในคณะกรรมการบริหารกองทุนฟน้ื ฟสู มรรถภาพ “คนพกิ าร” หมายความว่า คนพกิ ารตามพระราชบัญญัติสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ ารพ.ศ. ๒๕๕๐ “ผูส้ ูงอายุ” หมายความว่า บคุ คลซง่ึ อายุเกนิ กว่าหกสิบปีบริบูรณข์ ึน้ ไป324
“ผทู้ ่ีอยู่ในระยะท่จี ําเป็นตอ้ งไดร้ ับการฟ้นื ฟสู มรรถภาพ” หมายความว่า บุคคลทย่ี งั ไม่ถกู ประเมนิเป็นคนพกิ าร แต่มีข้อจํากดั ในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในชีวติ ประจําวนั เนอ่ื งจากมีความบกพรอ่ งทางการเห็น การได้ยินการเคล่ือนไหว การส่ือสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด จากภาวะสุขภาพอนามัย ซ่ึงจําเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูหรือช่วยเหลือให้มีสมรรถภาพด้านสุขภาพ เพ่ือให้ข้อจํากัดดังกล่าวลดลงหรอื หมดไป “องค์กรคนพิการ” หมายความว่า กลุ่มคนพิการที่รวมตัวกันเพ่ือดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันเพื่อเสรมิ สร้างใหเ้ กิดความเข้มแข็ง การช่วยเหลือซึง่ กันและกนั ในกล่มุ คนพิการ รวมทงั้ การดาํ เนินกิจกรรมเก่ียวกบัการฟืน้ ฟสู มรรถภาพทางการแพทยท์ ่ีจําเป็นต่อสขุ ภาพ ทงั้ น้ี ไมว่ ่าเป็นนิติบคุ คลหรอื ไม่กต็ าม “องค์กรผู้สูงอายุ” หมายความว่า กลุ่มผู้สูงอายุที่รวมตัวกันเพื่อดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันเพื่อเสริมสร้างให้เกิดความเข้มแข็ง การช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในกลุ่มผู้สูงอายุ รวมท้ังการดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับฟนื้ ฟสู มรรถภาพทางการแพทย์ที่จําเปน็ ต่อสุขภาพ ทงั้ นี้ ไมว่ า่ เป็นนิติบุคคลหรือไมก่ ็ตาม “องค์กรอ่ืน ๆ” หมายความว่า กลุ่มบุคคล ชมรม สมาคม องค์กร หรือมูลนิธิ ที่จัดต้ังข้ึนเพอ่ื ดาํ เนนิ กจิ กรรมเกย่ี วกบั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพทางการแพทยท์ จ่ี าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพของคนพกิ าร ผสู้ งู อายุ และผทู้ อ่ี ยู่ในระยะที่จําเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยมิใช่เป็นการแสวงกําไรและมีผลงาน เป็นท่ีประจักษ์มาไม่น้อยกวา่ หนงึ่ ปี ทง้ั น้ี ไมว่ ่าเปน็ นติ บิ ุคคลหรอื ไม่ก็ตาม ขอ้ ๒ บรรดาประกาศ คาํ สงั่ หรอื หลกั เกณฑอ์ นื่ ใด ซง่ึ ขดั หรอื แยง้ กบั ประกาศน้ี ใหใ้ ชป้ ระกาศนแ้ี ทน ขอ้ ๓ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ ใหด้ าํ เนนิ งานและบรหิ ารจดั การกองทนุ ฟน้ื ฟูสมรรถภาพ ต้องมีคุณสมบตั ดิ ังน้ี (๑) มคี วามประสงคเ์ ขา้ รว่ มบริหารจดั การกองทนุ ฟ้นื ฟสู มรรถภาพ (๒) มกี ารดาํ เนนิ กจิ กรรมฟน้ื ฟสู มรรถภาพทจ่ี าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพในพน้ื ทมี่ ากอ่ นแลว้ มกี ารจดั ทาํ แผนและดาํ เนินการกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต โดยการมสี ่วนรว่ มของภาคตี ่าง ๆ ในพ้ืนที่ (๓) มคี วามพรอ้ มในการสมทบงบประมาณตามอัตราสว่ นท่กี ําหนดตามขอ้ ๕ (๒) ขอ้ ๔ ให้กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งอยู่ภายใต้การกํากับดูแลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดมวี ัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี (๑) เพ่ือให้คนพิการ ผู้สงู อายุ ผ้ทู ี่อยใู่ นระยะท่จี ําเป็นต้องไดร้ บั การฟื้นฟสู มรรถภาพ ในเขตพ้นื ท่ีจังหวัด ได้รบั บรกิ ารฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ทจี่ าํ เป็นตอ่ สุขภาพจากหนว่ ยบริการ สถานบริการ หรอื องค์กรอนื่ ๆ รวมทงั้ ไดร้ บั เครอ่ื งชว่ ยกายอปุ กรณแ์ ละอปุ กรณท์ เ่ี กย่ี วกบั บรกิ ารทางการแพทย์ ในกรณที ม่ี ผี ลการตรวจวนิ จิ ฉยัหรือมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์และรายการท่ีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติประกาศกําหนด หรอื รายการอ่นื ทไี่ ดร้ ับความเห็นชอบจากคณะอนกุ รรมการหลกั ประกนั สุขภาพระดบั เขตพน้ื ท่ี (๒) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพของหน่วยบริการทุกระดับในจังหวัดนนั้ ใหส้ ามารถจดั บรกิ ารและอปุ กรณเ์ ครอื่ งชว่ ยความพกิ ารใหค้ รอบคลมุ และตอบสนองตอ่ ความจาํ เปน็ ของคนพกิ ารผู้สงู อายุ และผทู้ อี่ ยใู่ นระยะที่จําเปน็ ต้องได้รับการฟ้ืนฟสู มรรถภาพในทอ้ งถิน่ ชุมชนได้มากข้ึน (๓) เพอื่ สนับสนุนการพัฒนารูปแบบการดแู ล ชว่ ยเหลอื สนับสนุนและฟืน้ ฟูสมรรถภาพคนพกิ ารผู้สูงอายุ ผ้ทู ่ีอยใู่ นระยะทีจ่ าํ เปน็ ตอ้ งไดร้ ับการฟื้นฟสู มรรถภาพในระดับชมุ ชนและในครอบครัว ท่สี ามารถเชื่อมโยงกับระบบบริการของหนว่ ยบรกิ ารอย่างทัว่ ถงึ ในเขตจงั หวัดน้ัน 325
(๔) เพอื่ สนับสนุนการพฒั นาศักยภาพและความเขม้ แขง็ ขององคก์ รคนพิการ และองคก์ รผู้สงู อายุและองค์กรอ่ืน ๆ ใหส้ ามารถรว่ มมือกบั หนว่ ยบริการและมสี ่วนรว่ มดูแลสขุ ภาพช่วยเหลือคนพกิ าร ผสู้ งู อายแุ ละผูท้ ่ีอยูใ่ นระยะทีจ่ าํ เปน็ ตอ้ งได้รบั การฟนื้ ฟูสมรรถภาพด้วยกันเองไดใ้ นระยะยาว (๕) เพ่ือสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพให้มีประสิทธิภาพทงั้ นี้ ตอ้ งไมเ่ กินร้อยละ ๑๐ ของค่าใช้จ่ายทัง้ หมดของกองทุนฟืน้ ฟสู มรรถภาพในรอบปีงบประมาณน้นั ข้อ ๕ เงนิ หรอื ทรพั ย์สนิ ในกองทุนฟนื้ ฟูสมรรถภาพ ประกอบด้วย (๑) เงินท่ีได้รับจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในส่วนของการสนับสนุนระบบบริการฟน้ื ฟสู มรรถภาพทจี่ าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพ ทคี่ ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตหิ รอื สาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาตกิ าํ หนด (๒) เงินสมทบท่ีได้รับจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดในสัดส่วนท่ีเท่ากับหรือมากกว่าท่ีสํานักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาตจิ ดั สรรให้ (๓) เงินสมทบจากองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นอืน่ ชุมชน กองทุนชุมชนหรือประชาชนทใี่ ชบ้ ริการฟืน้ ฟูสมรรถภาพที่จําเป็นต่อสุขภาพ (๔) เงนิ หรือทรพั ยส์ ินทีม่ ผี บู้ ริจาคหรือมอบให้แกก่ องทุนฟืน้ ฟสู มรรถภาพ (๕) รายได้อน่ื ๆ หรอื ทรัพย์สนิ ท่ไี ดร้ บั มาในกจิ การของกองทนุ ฟื้นฟูสมรรถภาพ ขอ้ ๖ ใหม้ ีคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนฟืน้ ฟูสมรรถภาพ ประกอบดว้ ย (๑) ผวู้ า่ ราชการจังหวัด เปน็ ทปี่ รึกษา (๒) ผอู้ ํานวยการสํานักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ สาขาเขตพ้ืนท่ี เปน็ ทีป่ รึกษา (๓) นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั เป็นประธานกรรมการ (๔) ผอู้ ํานวยการสํานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เป็นรองประธานกรรมการ สาขาจังหวดั (๕) ท้องถิน่ จงั หวดั เปน็ กรรมการ (๖) พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัด เป็นกรรมการ (๗) ผทู้ รงคุณวุฒใิ นพืน้ ที่ จาํ นวน ๑ คน เป็นกรรมการ (๘) ผแู้ ทนสภาคนพกิ ารทกุ ประเภทหรือองค์กรหรอื เป็นกรรมการ ชมรมคนพิการในจงั หวดั จาํ นวน ๑ คน (๙) ผู้อาํ นวยการโรงพยาบาลศนู ย์หรือโรงพยาบาลทั่วไป จํานวน ๑ คน เปน็ กรรมการ (๑๐) ผ้อู าํ นวยการโรงพยาบาลชมุ ชน จาํ นวน ๑ คน เป็นกรรมการ (๑๑) ผู้อํานวยการหน่วยบรกิ ารประจํา เปน็ กรรมการ ทไ่ี ม่สงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ จํานวน ๑ คน (๑๒) แพทย์เวชศาสตร์ฟน้ื ฟู จาํ นวน ๑ คน เป็นกรรมการ (๑๓) นักกายภาพบําบัดหรือนกั กิจกรรมบาํ บดั เปน็ กรรมการ หรอื ผู้ประกอบโรคศลิ ปะทเี่ ก่ยี วข้องจํานวน ๑ คน (๑๔) นายกองค์การบริหารสว่ นตาํ บลจาํ นวน ๑ คน เปน็ กรรมการ (๑๕) นายกเทศมนตรี จํานวน ๑ คน เป็นกรรมการ326
(๑๖) ปลดั องค์การบริหารส่วนจังหวดั หรอื เจา้ หน้าทขี่ อง เป็นกรรมการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดทไี่ ด้รบั มอบหมาย และเลขานกุ าร (๑๗) เจา้ หนา้ ท่ีสาํ นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เป็นกรรมการ สาขาเขตพื้นท่ีท่ีผ้อู าํ นวยการสํานกั งานหลกั ประกัน และผู้ชว่ ยเลขานกุ าร สุขภาพแห่งชาติสาขาเขตพืน้ ท่มี อบหมาย (๑๘) เจ้าหน้าท่ีสํานักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เปน็ กรรมการ สาขาจังหวดั ทผ่ี อู้ ํานวยการสาํ นกั งานหลักประกนั และผู้ชว่ ยเลขานกุ าร สุขภาพแห่งชาติสาขาจงั หวดั มอบหมาย ข้อ ๗ ให้ผู้อํานวยการสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาจังหวัดเป็นผู้คัดเลือกกรรมการตามข้อ ๖ (๘) - (๑๓) และใหส้ าํ นกั งานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติสาขาจังหวดั ประสานงานท้องถ่นิ จังหวัด เพอ่ื ให้มีการดําเนนิ การคดั เลือกกนั เองเปน็ กรรมการตามขอ้ ๖ (๑๔) และ (๑๕) ให้กรรมการตามขอ้ ๖ (๓) - (๖) และ (๘) - (๑๘) ร่วมกนั พจิ ารณาคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิตามขอ้ ๖ (๗) ขอ้ ๘ เมื่อได้รายชื่อตามข้อ ๖ (๗) - (๑๕) แล้ว ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาจงั หวดั เสนอรายชอื่ ให้สาํ นักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เพอ่ื แตง่ ตั้งคณะกรรมการต่อไป ขอ้ ๙ ให้กรรมการทีม่ าจากการคัดเลือกตามขอ้ ๖ (๗) - (๑๕) มีวาระอยใู่ นตําแหนง่ คราวละสองปีนับแต่วันท่ไี ด้รบั แตง่ ตั้ง เม่ือครบกําหนดวาระตามวรรคหนึ่ง ให้มีการคัดเลือกกรรมการที่ครบวาระ ท้ังนี้ กรรมการท่ีครบวาระอาจไดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ปน็ กรรมการไดอ้ กี กรณที ย่ี งั มไิ ดม้ กี ารแตง่ ตงั้ กรรมการขน้ึ ใหม่ ใหก้ รรมการซงึ่ พน้ จากตําแหน่งตามวาระนั้นอยใู่ นตําแหนง่ เพอื่ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ตี ่อไป จนกว่ากรรมการซ่งึ ได้รบั การแตง่ ตั้งใหม่เขา้ รับหน้าท่ี ในกรณที ก่ี รรมการพน้ จากตาํ แหนง่ กอ่ นครบวาระ ใหม้ กี ารคดั เลอื กกรรมการแทนภายในสามสบิ วนันับแต่วันท่ีกรรมการพ้นจากตําแหน่ง เว้นแต่วาระของกรรมการท่ีพ้นจากตําแหน่งน้ันเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวันจะไม่ดําเนนิ การคัดเลือกกไ็ ด้ ผ้ทู ่ไี ด้รับการคดั เลอื กให้ดาํ รงตําแหนง่ แทน อยูใ่ นตําแหน่งเท่ากับวาระท่ีเหลอื อยูข่ องผู้ซ่ึงตนแทน ข้อ ๑๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามข้อ ๙ แล้ว ให้กรรมการพ้นจากตําแหน่งในกรณี ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) โดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้รับโทษจําคุก เว้นแต่โทษสําหรับความผิดท่ีได้กระทําโดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ (๔) เปน็ คนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ (๕) เป็นบุคคลลม้ ละลาย (๖) โดยคําส่งั สาํ นกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ข้อ ๑๑ คณะกรรมการมีอํานาจหนา้ ที่ ดังนี้ (๑) บริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตามวัตถุประสงค์ของกองทนุ ในขอ้ ๔ 327
(๒) จัดทําข้อมูลและแผนการพัฒนากองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยบูรณาการเช่ือมโยงกับภาคีที่เกี่ยวขอ้ งในพ้ืนที่ เช่น เทศบาล องค์การบริหารสว่ นตาํ บล กองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพในระดับท้องถ่ินหรอื พื้นท่ีหน่วยบริการปฐมภมู ิ องคก์ รคนพิการ สํานักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด เป็นตน้ (๓) ดําเนินการให้คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่อยู่ในระยะท่ีจําเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพในพืน้ ท่ีจังหวดั เขา้ ถึงบริการฟ้ืนฟสู มรรถภาพ อยา่ งท่วั ถึงและมปี ระสิทธภิ าพ (๔) รบั ผดิ ชอบการรบั เงนิ การจา่ ยเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการจดั ทาํ บญั ชี การเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิในกองทนุ ฟ้นื ฟูสมรรถภาพ ใหเ้ ป็นไปตามท่สี าํ นักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาตกิ าํ หนด (๕) จัดทําสรุปผลการดําเนินงาน รายงานการรับเงิน จ่ายเงิน และเงินคงเหลือของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ เสนอสาํ นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติตามแนวทางทีก่ าํ หนด (๖) แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการหรือคณะทํางานเพ่อื ดําเนนิ งานตามความจําเปน็ (๗) ปฏบิ ตั ิหน้าที่อนื่ ตามท่คี ณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาตหิ รือสํานกั งานหลักประกนัสุขภาพแหง่ ชาติ หรอื คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดบั เขตพ้นื ท่ี กาํ หนด ขอ้ ๑๒ ใหเ้ ลขาธกิ ารสาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ รกั ษาการตามประกาศน้ี และใหม้ อี าํ นาจวนิ จิ ฉยั ชขี้ าดปัญหาเกย่ี วกับการปฏิบัตติ ามประกาศนี้ กบั ให้มีอํานาจออกแนวทางปฏิบตั ทิ ่ีไม่ขัดตอ่ ประกาศนไ้ี ด้ ข้อ ๑๓ ประกาศนี้ ให้ใช้บงั คบั ต้งั แตบ่ ดั นี้ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ วินัย สวสั ดิวร เลขาธิการสาํ นกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ทาํ หนา้ ทีแ่ ทนคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ328
ประกาศคณะกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เรือ่ ง การกาํ หนดหลักเกณฑก์ ารดําเนนิ งานและบริหารจดั การกองทนุ ฟนื้ ฟูสมรรถภาพ ท่จี ําเป็นต่อสุขภาพ ระดับจงั หวัด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ หลกั เกณฑก์ ารดาํ เนนิ งานและการบรหิ ารจดั การกองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพที่จําเป็นต่อสุขภาพในระดับจังหวัด เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการสร้างหลักประกันสุขภาพให้กบั บุคคลในพน้ื ท่ีไดอ้ ยา่ งครบวงจรและมีประสิทธิภาพมากย่งิ ขน้ึ อาศยั อาํ นาจตามความใน มาตรา ๔๗ แหง่ พระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕และเพ่ือเป็นการสอดคล้องกับความในมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และประกาศคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนขององคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดัเทศบาล และองค์การบริหารส่วนตําบล ในการให้บริการสาธารณสุข คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงมีมติในการประชุมคร้ังที่ ๙/๒๕๕๕ เม่ือวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๕ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๔ (๕) ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเร่ือง การกําหนดหลักเกณฑ์การดําเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพท่ีจําเป็นต่อสุขภาพระดับจงั หวัด พ.ศ. ๒๕๕๔ และใหใ้ ชค้ วามดังตอ่ ไปน้เี ปน็ ข้อ ๔ (๕) และ (๖) “(๕) เพอ่ื สนบั สนนุ ใหค้ นพกิ าร ผสู้ งู อายุ ผทู้ อ่ี ยใู่ นระยะทจี่ าํ เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพไดร้ บั บริการข้นั พน้ื ฐานให้สามารถดาํ รงชวี ติ ประจําวันได้อยา่ งอิสระ (๖) เพอ่ื สนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารหรอื พฒั นากองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพทง้ั นี้ ต้องไมเ่ กินร้อยละ ๑๐ ของคา่ ใช้จา่ ยทัง้ หมดของกองทุนฟืน้ ฟูสมรรถภาพ ในรอบปงี บประมาณน้นั ” ขอ้ ๒ ประกาศน้ีใหม้ ผี ลใชบ้ งั คับ ต้ังแตว่ นั ที่ ๖ สงิ หาคม ๒๕๕๕ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ วิทยา บรุ ณศิริ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ 329
ประกาศสํานักงานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ เรือ่ ง แนวทางการรบั เงิน การจ่ายเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงิน และการจดั ทาํ บญั ชีเงินหรือทรัพย์สนิ ในกองทนุ ฟ้ืนฟสู มรรถภาพทีจ่ าํ เป็นต่อสขุ ภาพ ระดับจังหวดั พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยที่เป็นการสมควรกําหนดแนวทาง เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดดําเนินงานและบริหารจัดการกองทนุ ฟืน้ ฟสู มรรถภาพด้านสขุ ภาพทจ่ี ําเป็นตอ่ สขุ ภาพระดับจงั หวัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับความในข้อ ๑๑ (๔) แห่งประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกําหนดหลักเกณฑ์การดําเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพท่ีจําเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัดพ.ศ. ๒๕๕๔ สาํ นักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ในประกาศน้ี “องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ” หมายความวา่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ทมี่ คี วามพรอ้ ม และไดร้ บัการสนบั สนุนให้ดําเนนิ งานและบริหารจัดการกองทนุ ฟ้นื ฟูสมรรถภาพ “กองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพ” หมายความวา่ กองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพทจี่ าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพระดบั จงั หวดัท่ีองค์การบริหารส่วนจังหวัดร่วมกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจัดต้ังข้ึน เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุนส่งเสริม และพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จําเป็นต่อสุขภาพ ของหน่วยบริการ สถานบริการ องค์กรและชุมชน “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการบริหารกองทุนฟนื้ ฟูสมรรถภาพ “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการในคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนฟ้นื ฟสู มรรถภาพ ข้อ ๒ เงินหรือทรพั ย์สินในกองทุนฟน้ื ฟูสมรรถภาพ ประกอบดว้ ย (๑) เงินที่ได้รับจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในส่วนของการสนับสนุนระบบบริการฟน้ื ฟสู มรรถภาพทจี่ าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพ ทค่ี ณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตหิ รอื สาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ กาํ หนด (๒) เงินสมทบที่ได้รับจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดในสัดส่วนที่เท่ากับหรือมากกว่าที่สํานักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาตจิ ัดสรรให้ (๓) เงนิ สมทบจากองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ อืน่ ชุมชน กองทุนชุมชนหรือประชาชนทใ่ี ชบ้ ริการฟ้นื ฟสู มรรถภาพท่จี าํ เป็นตอ่ สุขภาพ (๔) เงนิ หรอื ทรพั ยส์ ินทีม่ ีผ้บู ริจาคหรอื มอบให้แกก่ องทนุ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพ (๕) รายได้อนื่ ๆ หรือทรัพย์สินทไ่ี ด้รบั มาในกจิ การของกองทนุ ฟืน้ ฟสู มรรถภาพ330
ข้อ ๓ บรรดาเงินรายรับในกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ให้นําส่งเข้าบัญชีกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัด......... ที่เปิดบัญชีไว้กับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ประเภทบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ข้อ ๔ การรับเงินเข้ากองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ให้รับเป็นเงินสด เช็ค ต๋ัวแลกเงิน ธนาณัติโอนเข้าบญั ชีทางธนาคารหรอื ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ หรือวธิ อี นื่ ตามทส่ี าํ นักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติกาํ หนด ข้อ ๕ การรับเงินกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ให้ออกใบเสร็จรับเงินในนามของคณะกรรมการให้แก่ผู้ชําระเงินทุกคร้ัง เว้นแต่การรับเงินอุดหนุนหรืองบประมาณท่ีได้รับจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือการรับเงินทางธนาคารให้ใช้สําเนาใบนําฝากเงินของธนาคารเป็นหลักฐาน หรือใช้หลักฐานอ่ืนท่ีคณะกรรมการเหน็ สมควรก็ได้ ข้อ ๖ ให้คณะกรรมการมอบหมายให้กรรมการคนใดคนหนึ่ง เป็นผู้รับผิดชอบในการรับเงินและนําส่งเงินเข้าบัญชีกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ จังหวัด.........ภายในวันนั้น กรณีนําฝากธนาคารไม่ทันให้เก็บรักษาในตนู้ ริ ภยั ขององค์การบริหารส่วนจงั หวัดและให้นําฝากธนาคารภายในวันทําการถดั ไป นับแต่วันท่ีไดร้ บั เงนิ ข้อ ๗ คณะกรรมการอาจส่ังจ่ายเงินท่ีได้รับตามข้อ ๒ ภายใต้กรอบแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรม ท่ีคณะกรรมการอนุมัติ ทั้งน้ี ตามวัตถุประสงค์กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพของข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง การกาํ หนดหลกั เกณฑก์ ารดาํ เนนิ งาน และการบรหิ ารจดั การกองทนุฟืน้ ฟสู มรรถภาพด้านสขุ ภาพระดบั จงั หวัด พ.ศ. ๒๕๕๔ ขอ้ ๘ วธิ กี ารจา่ ยเงินกองทนุ ฟน้ื ฟูสมรรถภาพ ให้จา่ ยได้ ดังน้ี (๑) จา่ ยเปน็ เงินสด หรอื เชค็ หรอื ต๋วั แลกเงิน หรือธนาณตั ิ (๒) จ่ายทางธนาคารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ รอื ทางอนื่ ทค่ี ณะกรรมการกําหนด ข้อ ๙ การจา่ ยเงนิ ตามขอ้ ๘ ใหจ้ า่ ยในนามของผมู้ สี ทิ ธริ บั เงนิ ถา้ ผมู้ สี ทิ ธริ บั เงนิ ไมส่ ามารถมารบั เงนิได้ดว้ ยตนเอง จะมอบอาํ นาจให้ผูอ้ ่ืนเป็นผ้รู ับเงนิ แทน ก็ใหก้ ระทาํ ได้ ขอ้ ๑๐ การจา่ ยเงนิ กองทุนฟน้ื ฟสู มรรถภาพ โดยปกตติ ้องมีหลกั ฐานการจา่ ยทเี่ ป็นใบเสร็จรับเงินหรอื หลกั ฐานการนาํ เงนิ เขา้ บญั ชเี งนิ ฝากทธ่ี นาคารของผมู้ สี ทิ ธริ บั เงนิ หรอื หลกั ฐานการรบั เงนิ อยา่ งอน่ื ทค่ี ณะกรรมการกําหนด เก็บไวใ้ ห้ตรวจสอบ ข้อ ๑๑ ในการเก็บรักษาเงิน ให้คณะกรรมการเปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ประเภทบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ โดยใช้ชื่อบัญชีว่า “กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัด...........” ข้อ ๑๒ การเปดิ บญั ชี ตามข้อ ๑๑ ให้คณะกรรมการมอบหมายใหป้ ระธานกรรมการและกรรมการอื่นอีก ๓ คน มีอํานาจลงนามร่วมกันในการเปิดบัญชี และเบิกจ่ายเงินจากบัญชีที่เปิดไว้กับธนาคารตามจํานวนท่คี ณะกรรมการอนุมัติ การเบิกจ่ายเงินตามวรรคหน่ึง ให้ประธานกรรมการและกรรมการอีก ๑ คน ท่ีมีอํานาจลงนามในการเปดิ บญั ชีเป็นผู้ลงนามในการเบกิ จา่ ย ข้อ ๑๓ กรณีท่ีมีความจําเป็น คณะกรรมการอาจมอบหมายให้ประธานกรรมการหรือกรรมการและเลขานุการ เก็บรักษาเงินสดไว้เพื่อสํารองจา่ ยภายในวงเงนิ ไมเ่ กิน ๑๐,๐๐๐ บาท (หน่ึงหมน่ื บาทถ้วน) ตอ่ วนั 331
ขอ้ ๑๔ การบันทกึ บัญชใี หใ้ ช้แนวทาง ดังต่อไปนี้ (๑) ให้บันทึกตามระบบบัญชีขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ถือปฏิบัติ แต่ให้แยกระบบบัญชีกองทุนฟ้นื ฟสู มรรถภาพ ออกจากระบบบัญชปี กติ เปน็ อกี ชุดหน่งึ ต่างหาก หรือตามทสี่ าํ นักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ กาํ หนด (๒) รอบระยะเวลาบัญชี ใหถ้ ือตามปีงบประมาณ (๓) การเริ่มระบบบัญชีให้เริ่ม ณ วันที่ได้รับเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและหรือได้รับเงนิ จากองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด ข้อ ๑๕ ให้คณะกรรมการจัดทํารายงานการรับเงิน - จ่ายเงิน และเงินคงเหลือประจําเดือนประจําไตรมาส และประจาํ ปีงบประมาณ ข้อ ๑๖ ให้คณะกรรมการนําเสนอรายงานการเงินต่อสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและองค์การบริหารส่วนจังหวัด ทุกไตรมาสภายใน ๓๐ วันนับจากวันสิ้นไตรมาส และส่งรายงานการเงินและการพัสดุเม่อื ส้นิ ปงี บประมาณภายในเดอื นธันวาคมของทุกปี ขอ้ ๑๗ รปู แบบรายงานทางการเงิน ให้เป็นไปตามท้ายประกาศนี้ ขอ้ ๑๘ ใหค้ ณะกรรมการ มอี าํ นาจวนิ จิ ฉยั ชขี้ าดปญั หาเกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ติ ามประกาศนี้ กบั ใหม้ อี าํ นาจออกแนวทางปฏบิ ัตทิ ไี่ มข่ ัดตอ่ ประกาศนีไ้ ด้ ข้อ ๑๙ ประกาศน้ใี หใ้ ชบ้ ังคับตง้ั แตบ่ ัดนี้ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ วนิ ัย สวัสดวิ ร เลขาธกิ ารสํานักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ332
ประกาศสํานักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เรอ่ื ง แนวทางการรบั เงิน การจ่ายเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการจัดทําบญั ชเี งนิ หรอื ทรัพยส์ นิ ในกองทุนฟนื้ ฟูสมรรถภาพทจ่ี ําเปน็ ตอ่ สขุ ภาพ ระดบั จงั หวดั (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุง แนวทางการรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน เพ่ือให้การดาํ เนนิ งานและบรหิ ารจัดการกองทนุ ฟ้นื ฟูสมรรถภาพที่จาํ เปน็ ต่อสขุ ภาพ ระดับจังหวดั มปี ระสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับความในข้อ ๑๑ (๔) ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ืองการกําหนดหลักเกณฑ์การดําเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพท่ีจําเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัดพ.ศ. ๒๕๕๔ และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เติม สาํ นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี ข้อ ๑ ให้ยกเลกิ ความในขอ้ ๗ ของประกาศสํานกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เร่อื ง แนวทางการรบั เงนิ การจ่ายเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการจดั ทาํ บัญชีเงนิ หรอื ทรัพย์สิน ในกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทจี่ ําเป็นต่อสุขภาพ ระดบั จงั หวดั พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใชค้ วามดงั ต่อไปนแ้ี ทน “ข้อ ๗ คณะกรรมการอาจสัง่ จ่ายเงนิ ทไี่ ดร้ บั ตามข้อ ๒ ภายใต้กรอบแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรม ท่ีคณะกรรมการอนุมัติ ทั้งน้ี ตามวัตถุประสงค์กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ของข้อ ๔ ของประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอื่ ง การกาํ หนดหลกั เกณฑก์ ารดาํ เนนิ งานและการบรหิ ารจดั การกองทนุฟ้ืนฟสู มรรถภาพท่จี าํ เปน็ ตอ่ สขุ ภาพระดบั จังหวัด พ.ศ. ๒๕๕๔ และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เติม ประธานกรรมการอาจสั่งจ่ายเงินค่าเบ้ียประชุมกรรมการที่เข้าประชุมคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพได้ไม่เกินคนละ ๕๐๐ บาทต่อคร้ัง ค่าพาหนะประจําทาง รถรับจ้าง ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด กรณีเดินทางโดยรถส่วนตัวให้เบิกจ่ายค่าเช้ือเพลิงได้ในอัตรากิโลเมตรละ ๔ บาท ส่วนค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการบริหารจัดการประเภทอ่ืน ๆ อัตราเบิกจ่ายให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการ โดยอนุโลม ทั้งนี้ภายใตว้ ตั ถปุ ระสงคก์ องทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพ ตามขอ้ ๔ (๖) ของประกาศคณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติเรอ่ื ง การกาํ หนดหลกั เกณฑ์การดาํ เนนิ งานและการบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟสู มรรถภาพทจี่ ําเปน็ ตอ่ สุขภาพระดบัจงั หวดั พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพมิ่ เตมิ ” ข้อ ๒ ให้เพิ่มความเปน็ ขอ้ ๗/๑ ของประกาศสํานกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เรอ่ื ง แนวทางการรบั เงิน การจ่ายเงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ และการจดั ทาํ บญั ชีเงนิ หรือทรัพย์สิน ในกองทนุ ฟ้นื ฟสู มรรถภาพทีจ่ าํ เป็นตอ่ สขุ ภาพ ระดับจงั หวัด พ.ศ. ๒๕๕๔ ดังต่อไปนี้ 333
“ขอ้ ๗/๑ กรณที มี่ คี วามจาํ เปน็ ตอ้ งใชจ้ า่ ยเงนิ กองทนุ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพ เพอื่ จดั ซอ้ื ครภุ ณั ฑห์ รอืจดั จ้างบุคคล ซึ่งเก่ียวกบั การดาํ เนินงานและบรหิ ารจดั การภายใต้วตั ถุประสงคข์ องกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพโดยตรงใหใ้ ชห้ ลกั เกณฑ์ วธิ กี าร จดั หาพสั ดรุ วมทงั้ การเกบ็ รกั ษาและจาํ หนา่ ยพสั ดุ ตามระเบยี บของทางราชการโดยอนโุ ลม” ข้อ ๓ ประกาศนใ้ี หใ้ ช้บังคับ ตง้ั แตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ วนิ ยั สวัสดิวร เลขาธิการสํานกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ334
ประกาศส�ำนักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ เร่ือง แนวทางการรบั เงนิ การจา่ ยเงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ และการจดั ท�ำบัญชเี งินหรือทรัพย์สนิ ในกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ สขุ ภาพ ระดบั จังหวดั (ฉบบั ท่ี ๓) โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ แนวทางการรบั เงนิ การจา่ ยเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ เพอื่ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานและบรหิ ารจัดการกองทนุ ฟ้นื ฟสู มรรถภาพท่จี �ำเป็นต่อสุขภาพ ระดับจังหวัด มปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึน้ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๖ (๑๔) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับความในข้อ ๑๑ (๔) ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการก�ำหนดหลักเกณฑ์การด�ำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพท่ีจ�ำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัดพ.ศ. ๒๕๔๕ และท่แี ก้ไขเพม่ิ เตมิ สำ� นกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ จึงออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ใหย้ กเลิกความในข้อ ๗ วรรคสอง ของประกาศสำ� นักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ เร่อื งแนวทางการรบั เงิน การจ่ายเงิน การเกบ็ รักษาเงิน และการจดั ท�ำบัญชีเงนิ หรอื ทรัพย์สนิ ในกองทุนฟ้ืนฟสู มรรถภาพท่ีจำ� เป็นต่อสุขภาพ ระดับจงั หวัด (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ และให้ใชค้ วามดังต่อไปน้แี ทน “ประธานกรรมการอาจสั่งจ่ายเงินค่าตอบแทนกรรมการท่ีเข้าประชุมได้ไม่เกินคนละ ๕๐๐ บาทตอ่ ครง้ั อนกุ รรมการหรอื คณะทำ� งานทคี่ ณะกรรมการแตง่ ตง้ั ไดไ้ มเ่ กนิ คนละ ๔๐๐ บาทตอ่ ครงั้ คา่ พาหนะประจำ� ทางรถรับจ้าง ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด กรณีเดินทางโดยรถส่วนตัวให้เบิกจ่ายค่าเช้ือเพลิงได้ในอัตรากิโลเมตรละ ๔ บาท ส่วนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบริหารจัดการประเภทอ่ืนๆ อัตราเบิกจ่ายให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการโดยอนุโลม ทั้งน้ีภายใต้วัตถุประสงค์กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ตามข้อ ๔(๖) ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง การก�ำหนดหลักเกณฑ์การด�ำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฟ้ืนฟูสมรรถภาพทจี่ ำ� เป็นต่อสุขภาพระดบั จงั หวัด พ.ศ. ๒๕๔๕ และทแี่ ก้ไขเพิ่มเตมิ ” ข้อ ๒ ประกาศนใี้ หใ้ ชบ้ ังคับ ต้ังแต่บดั น้ีเปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๖ วนิ ัย สวัสดวิ ร เลขาธิการส�ำนักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ 335
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 482
Pages: